141
การแข่งเรอื พ้ืนบ้าน แตโ่ บราณทีท่ าสืบกันมาส่วนใหญ่จะนิยมแข่งขนั กันมาก ในงานเทศกาลหรือประเพณี
ของท้องถ่ิน
ภาพท่ี 8.4 การแข่งเรือยาวจังหวัดเพชรบรุ ี
(ฐานข้อมูลองค์ความรแู้ ม่นา้ เพชรบรุ ี, 2021)
(4) ชกั เยอ่ การเลน่ ชกั เย่อ ถ้าเป็นการเล่นของเด็กจะเล่นได้ทุกโอกาส สว่ นการเล่นชกั เย่อของผู้ใหญ่นิยม
เลน่ เฉพาะในเทศกาลสงกรานต์ และนิยมเลน่ ในเวลาเย็นหลังจากกินข้าวอาบน้าเสร็จ กจ็ ะมาชุมนุมกันท้ังชายหญิง
หนุม่ สาวเฒา่ แกเ่ ดก็ ๆ อาจจะรว่ มเล่นด้วยกนั กไ็ ด้
วิธเี ล่น จะแบง่ กูเล่นเป็น 2 ฝา่ ยชายและฝ่ายหญิง จานวนอาจไมเ่ ทา่ กนั กไ็ ด้ เพราะฝ่ายชายแข็งแรงกว่าจึง
ควรใช้จานวนน้อยกว่า เป็นการต่อให้ฝ่ายหญิง ให้ทั้งสองฝ่ายจับปลายเชือกคนละด้าน ที่ตรงกลางเชือกจะมี
กรรมการตัดสิน กรรมการจะขีดเส้นแบ่งแดนแล้วกรรมการจะให้สัญญาณทั้งสองฝ่ายดึงเชือก ก่อนจะดึงเชือกกัน
จริงๆ ตง้ั ฝา่ ยจะชักเชือกสลับกันกลับไปกลับมา พรอ้ มทั้งร้องเพลงเป็นทานองโตต้ อบ หรอื เก้ียวพาราสกี ันใช้ถ้อยคา
สองแง่สองง่าม ก่อนจะดึงเชือกจะร้องพร้อมกันว่า เอาละเหวย จากนั้นจะชักเย่อกันถ้าฝ่ายใดแพ้ต้องนาเชือกมา
วางเป็นวงกลมให้ฝา่ ยแพ้เขา้ ไปอยขู่ า้ งใน แลว้ ผชู้ นะจะร้องเพลงให้ฝา่ ยแพร้ าวงกนั แล้วจงึ เร่มิ เลน่ ใหม่
ตัวอย่าง เพลงชกั เย่อ(สานกั นายกรัฐมนตรี, 2542 ช : 127 -128 )
(หัวหนา้ ชาย)
ชา้ งเอยช้างชา้ ง ชา้ งมาหักเอาใบมะนาว
มาเจอแม่สาว(หอื ) ยาวชักให้เสมอกันเอย
(หวั หนา้ หญิง)
ช้างเอย๋ ชา้ งชกั ชา้ งมาหักเอาใบสะเดา
มาเจอเจ้าหนุ่มกระบวนยาว มาชักเอย๊ ใหเ้ สมอกนั เลย
142
(ลกู คู่รับ)
เจา้ หนา้ นวลชวนชัก ยอดท่ีรักชักเยอ่
ชักให้เสมอกันเอย ชกั กันเถอะเนอ้ เยอ่
ชกั กันเถอะหนอ ผา้ สนี วลหอ้ ยคอ รักกนั ก็ออ๋
(ลอ่ ) เอาเลย (พรอ้ มแล้วกอ็ ๋อกนั เลย)
ใบตะโกมาเจอแม่สาวนมโต (บางทีกร็ ้องว่า มาเจอ แมส่ าวหอื โต)
ยอดรกั เอย๋ เรามาชกั เอย๋ กันคะเยอ่ ชักให้เสมอกันเอย
(5) ลูกชว่ ง การเล่นลกู ช่วง เปน็ การละเลน่ พน้ื บา้ น ทน่ี ยิ มเล่นเกอื บทุกภูมิภาคการเลน่ ลูกช่วงในภูมิภาคน้ี
ถ้าเป็นคนท้องถิ่นที่ใกล้กับภาคกลางจะมีรูปแบบการเล่น เริ่มจากการเล่นลูกช่วงซึ่งทาจากผ้าขาวม้าม้วนเป็นลูก
กลม เมื่อเริ่มต้นจะแบ่งเปน็ ฝ่ายชายพวกหน่ึง ฝ่ายหญิงพวกหนึง่ ยืนห่างกันประมาณ 10 เมตร ฝ่ายแรกจะโยนลกู
ช่วงให้อีกฝา่ ยหนึง่ รบั ถ้ารับได้จะใชล้ ูกช่วงขวา้ งอีกฝา่ ยหนึ่ง ถ้าถูกคนใด คนนั้นจะตกเป็นเชลย ต้องไปอยู่ฝ่ายตรง
ข้ามเมื่อได้เชลยมากพอสมควรแล้ว ก็จะมารวมกันปรับให้ฝ่ายแพ้หรือเชลย ลองเล่นเพลงพวงมาลัย หรือเพลง
ระบา หรอื ราวง แล้วก็เรม่ิ เล่นใหม่
ถ้าเป็นการเล่นลูกช่วงทางแถบจังหวัดตาก โดยเฉพาะชนชาวม้ง ก็จะมีประวัติความเป็นมาของการ
เล่นอีกรูปแบบหนึ่ง (สานักนายกรัฐมนตรี, 2542 ช : 128) กล่าวคือในสมัยก่อนผู้หญิงจะทอผ้า และเย็บผ้าใช้เอง
ยามว่างเม่อื ถึงเทศกาลขึ้นปีใหมจ่ ะนาเศษผ้ามาห่อรวมกนั ขนาดเท่ากาป้ัน และเยบ็ เปน็ แบบลูกฟุตบอล นาออกมา
โยนเลน่ กนั
วิธีเล่น ผู้หญิงจะนาลูกช่วง ซึ่งทาจากเศษผ้าเย็บอย่างเรียบร้อยหุ้มด้วยผ้าสีดา ไปมอบให้กับผู้ชายท่ี
ตนพอใจจะเล่น (แตต่ อ้ งไม่ใช่ญาติกนั ) จากนัน้ ท้งั คกู่ ย็ นื หนั หนา้ เข้าหากันห่างกันประมาณ 3 เมตร (ตลอดเทศกาล)
โอกาสในวันขึ้นปีใหม่ของชาวเขาเผ่าม้งราวเดือนธันวาคมเป็นการเล่นของหนุ่มสาวเพื่อให้รู้จักกั น ผู้เล่น ลูก
ช่วงหนึ่งลูกต่อคนสองคน และในสนามนั้นจะเล่นกี่คู่ก็ได้ไม่จากัดจานวน การเล่นลูกช่วงในเทศกาลนี้ นอกจากจะ
เป็นการพบปะของคนในหมู่บ้าน เพื่อการสังสรรค์แล้ว ยังเปิดโอกาสให้หนุ่มสาวได้มาพบปะศึกษานิสัยใจคอว่ารกั
ชอบพอกนั เปน็ การเลือกคคู่ รองในอนาคต
(6) โล้ชิงช้า การเล่น โล้ชิงช้าในภูมิภาคนี้ที่น่าสนใจคือการเล่น โล้ชิงช้าของชาวเขาเผ่าอีก้อ (สานัก
นายกรฐั มนตรี, 2542 ช : 128) เปน็ การลดชงิ ชา้ เพอ่ื แสดงความกลา้ หาญของชายหนุ่มเผา่ อีก้อ โดยจะตอ้ งโล้ชิงช้า
ให้สูงที่สุดและสร้างความหวาดเสียวให้กับผู้ชม จึงจะถือว่า เป็นผู้กล้าแห่งเผ่า ต่อมาได้นามาทาเป็นชิงช้าให้
ลกู หลานน่งั ไดห้ ลายๆคนและสาหรับให้หนมุ่ สาวนงั่ คยุ กนั ในงานเทศกาลปีใหม่ของท้องถิ่น และเป็นทพ่ี บปะของคน
หนุ่มสาวในการเลือกคู่ครอง
143
วิธีเล่น โล้ชิงช้า มีทั้งการเล่น โล้คนเดียว และโล้หลายๆคน ถ้าโล้ชิงช้าคนเดียว ผู้โล้จะไปยืนบนไม้ท่ี
มดั เชือกตรงกลางแลว้ โยนตวั ใหเ้ ชือกเหว่ียงตวั ไปมาให้สูงและหมนุ รอบๆ ถา้ โลช้ งิ ช้าแบบเป็นกลุ่มหรือหลายคนจะ
ใช้เชือก 2 เส้น มัดท่อนไม้ขนาดใหญ่พอจะให้หนุ่มสาวมานั่งเรียงกันและแกร่งขึ้นไปมา การเล่น โล้ชิงช้าของชาว
เผ่าอีก้อยังนยิ มเล่นถอื เป็นประเพณีสืบต่อกนั มาจนถึงปัจจบุ นั
สรปุ
เพลงและการละเล่นพื้นบ้านภาคตะวันตก มีลักษณะแตกต่างกันไป ตามกลุ่มชนที่อาศัยในท้องถ่ิน
วัฒนธรรมการละเล่นเพลงและการแสดงพื้นบา้ นทางฝ่ังภาคตะวันตกตอนเหนือ ของจังหวัดตาก ในบริเวณที่มีเขต
ติดกับภาคเหนือยังมีการละเล่นที่เป็นวัฒนธรรมของภาคเหนือ ภาคตะวันตกมีทิวเขาแบ่งกั้นพรมแดนกับประเทศ
สหภาพพม่า จึงมีวัฒนธรรมการละเล่นของชาวไทยใหญ่ มอญ ชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง ส่วนที่เป็นที่ราบลุ่มแม่น้าแม่
กลองมีชาวเขา ชาวมอญ ชาวจีน ลาวโซง่ และไทยกลางอยู่อาศยั วฒั นธรรมการละเลน่ จงึ เปน็ อีกรูปแบบหนึ่ง การ
ท่ีมีกลุ่มไทยกลางอยูใ่ นภูมิภาคน้ี การละเล่นสว่ นใหญจ่ ะเหมอื นการละเล่นของภาคกลาง
เพลงพืน้ บา้ นที่นิยมเลน่ อยูใ่ นภมู ภิ าคนี้ได้แกเ่ พลงคา่ ว เพลงจ๊อย ซอพืน้ เมอื ง เพลงฉอ่ ย เพลงปรบไก่ เพลง
พวงมาลยั และเพลงระบาชาวไร่
การละเลน่ พนื้ บา้ นซ่งึ แบ่งออกเป็น 4 ประเภทคอื
การแสดงเพอ่ื ความบันเทิงทเี่ รยี กว่า ราและระบา ไดแ้ ก่ ราโทน เลน่ คอนฟ้อนแคน รามอญ การเตน้ ละคร
กะเหรยี่ งท่แี สดงเปน็ เร่ืองราว ได้แก่ ละครเมืองเพชร หนงั ใหญ่ หนงั ตะลุง ลเิ ก และโขนสด
การแสดงที่เป็นพิธีกรรม ที่มีทั้ง ราระบา และการละเล่นที่ดาเนินเป็นเรื่อง ได้แก่ ราตง เต้นแคน และ
ละครชาตรเี มอื งเพชร
ศิลปะของการต่อสู้ ไดแ้ ก่ ฟอ้ นเจิง ฟ้อนดาบ และกระบก่ี ระบอง
กีฬาพื้นบ้าน ได้แก่ การแข่งเรือยาว การเล่นชักเย่อ การเล่นสะบ้า การเล่นลูกช่วงและการแข่งวัวเทียม
เกวียน เป็นตน้
เพลงและการละเล่นพื้นบ้านของภาคตะวันตกดังกล่าวแล้ว จะมีลักษณะผสมผสานมีการเลือดไหลทาง
วัฒนธรรม ในเขตติดต่อกับภาคเหนือและชายแดนติดกับประเทศสหภาพพม่า ซึ่งมีชนกลุ่มน้อยอาศัยอยู่ ได้แก่
พม่า มอญ ลาว จีน กะเหรย่ี ง และกล่มุ ไทยกลางจึงทาให้การเลน่ เพลงพ้นื บ้าน และการละเล่นตา่ งๆ ได้แก่ การเลน่
เพื่อความบันเทิง การเล่นที่เกี่ยวกับพิธีกรรม ศิลปะการต่อสู้ และกีฬาพื้นบ้าน ที่มีความหลากหลายและมี
เอกลักษณ์เฉพาะตามวัฒนธรรมประเพณีในเทศกาลต่างๆของกลุ่มชน
144
เอกสารอ้างอิง
คณะกรรมการประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, สานักนายกรัฐมนตรี. (2542 ก). วัฒนธรรมพัฒนาการทาง
ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดกาญจนบุรี. กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ
กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม
2542).
__________. (2542 ช). วฒั นธรรมพฒั นาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดตาก.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธนั วาคม 2542).
__________. (2542 ท). วฒั นธรรมพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์. กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาส
พระราช พธิ มี หามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2542).
__________. (2542 น). วัฒนธรรมพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดเพชรบุรี.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2542).
__________. (2542 ฝ). วฒั นธรรมพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดราชบุรี.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลมิ พระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2542).
145
บรรณานกุ รม
การทหารปืนใหญ่, ศูนย์ค่ายพหลโยธิน จังหวัดลพบุรี. (2540). อนุสรณ์ครบรอบ 100 ปี ฯพณฯ จอมพล ป.
พิบลู สงคราม 14 กรกฎาคม 2540. กรมทหารปืนใหญ.่
กฤษณา คงยิ้ม. (2539). การวิเคราะห์เพลงประกอบการเล่นเพลงพื้นบ้าน จากตาบลเขาทอง อาเภอพยุหะคีรี
จงั หวดั นครสวรรค.์ สถาบนั ราชภฏั นครสวรรค์.
คณะกรรมการประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, สานักนายกรัฐมนตรี. (2542 ก). วัฒนธรรมพัฒนาการทาง
ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดกาญจนบุรี. กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ
กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม
2542).
__________. (2542 ข). วัฒนธรรมพฒั นาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดกระบ่ี.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2542).
__________. (2542 ค). วฒั นธรรมพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดจันทบุรี.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธนั วาคม 2542).
__________. (2542 ง). วฒั นธรรมพัฒนาการทาง ประวตั ิศาสตร์ เอกลกั ษณแ์ ละภูมปิ ญั ญา จงั หวดั ชัยนาท.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศกึ ษาธิการ กรมศิลปากร. (จดั พมิ พ์เนื่องในโอกาสพระราช พ ิ ธ ี ม ห า ม ง ค ล
เฉลมิ พระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2542).
__________. (2542 จ). วฒั นธรรมพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลกั ษณแ์ ละภมู ิปญั ญา จงั หวัด ช ุ ม พ ร .
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศกึ ษาธิการ กรมศิลปากร. (จดั พมิ พเ์ นอื่ งในโอกาสพระราชพธิ ี มหามงคลเฉลิม
พระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธนั วาคม 2542).
__________. (2542 ฉ). วฒั นธรรมพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัด
เชียงใหม่. กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราช
พิธมี หามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธนั วาคม 2542).
146
__________. (2542 ช). วฒั นธรรมพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดตาก.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลมิ พระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธนั วาคม 2542).
คณะกรรมการประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, สานักนายกรัฐมนตรี. (2542 ซ). วัฒนธรรมพัฒนาการทาง
ประวัติศาสตร์ เอกลกั ษณ์และภมู ปิ ญั ญา จังหวดั ตรัง. กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศกึ ษาธิการ ก ร ม
ศิลปากร. (จัดพมิ พ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธมี หามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2542).
__________. (2542 ฌ). วฒั นธรรมพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดตราด.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2542).
__________. (2542 ญ). วฒั นธรรมพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดนนทบุรี.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธนั วาคม 2542).
__________. (2542 ฎ). วัฒนธรรมพฒั นาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดนครราช-
สีมา. กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธี
มหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธนั วาคม 2542).
__________. (2542 ด). วัฒนธรรมพฒั นาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวั ด
นครนายก. กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราช
พิธมี หามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2542).
__________. (2542 ต). วัฒนธรรมพฒั นาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัด
นครสวรรค์. กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราช
พิธีมหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2542).
__________. (2542 ถ). วัฒนธรรมพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดปัตตานี.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธนั วาคม 2542).
147
คณะกรรมการประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, สานักนายกรัฐมนตรี. (2542 ท). วัฒนธรรมพัฒนาการทาง
ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์. กระทรวงมหาดไทย
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กรมศลิ ปากร. (จัดพิมพเ์ น่อื งในโอกาส พระราช พิธมี หามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา
5 รอบ 5 ธนั วาคม 2542).
__________. (2542 ธ). วฒั นธรรมพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปั ญญา จังหวั ด
ปราจีนบุรี. กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราช
พิธีมหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2542).
__________. (2542 น). วัฒนธรรมพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดเพชรบุรี.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธนั วาคม 2542).
__________. (2542 บ). วัฒนธรรมพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดแพร่.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลมิ พระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธนั วาคม 2542).
__________. (2542 ป). วฒั นธรรมพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัด
แม่ฮ่องสอน. กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราช
พิธีมหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธนั วาคม 2542).
__________. (2542 ผ). วฒั นธรรมพฒั นาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดระยอง.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2542).
__________. (2542 ฝ). วัฒนธรรมพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดราชบุรี.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2542).
__________. (2542 พ). วฒั นธรรมพฒั นาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดร้อยเอ็ด.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลมิ พระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2542).
148
คณะกรรมการประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, สานักนายกรัฐมนตรี. (2542 ฟ). วัฒนธรรมพัฒนาการทาง
ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดลพบุรี. กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ
กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม
2542).
__________. (2542 ภ). วัฒนธรรมพฒั นาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดลาพูน.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธนั วาคม 2542).
__________. (2542 ม). วัฒนธรรมพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวั ด
สกลนคร. กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราช
พิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2542).
__________. (2542 ย). วฒั นธรรมพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดสุพรรณบุรี.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธนั วาคม 2542).
__________. (2542 ร). วฒั นธรรมพฒั นาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดสตูล.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธนั วาคม 2542).
__________. (2542 ล). วัฒนธรรมพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดสระแก้ว.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธนั วาคม 2542).
__________. (2542 ว). วัฒนธรรมพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดอ่างทอง.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2542).
__________. (2542 ศ). วฒั นธรรมพฒั นาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดอุตรดิตถ์.
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กรมศิลปากร. (จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล
เฉลมิ พระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2542).
149
คณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาต,ิ สานกั งาน. (ม.ป.ป.). ศิลปะมวยไทย. กระทรวงศึกษาธิการ.
__________. (2538). ชวี ติ ไทยชดุ บชู าพญาแถน. กระทรวงศกึ ษาธิการ.
เครือจติ ศรบี ญุ นาค. (2534). การฟ้อนราเพลงและการละเลน่ พ้ืนบา้ นอสี าน. วิทยาลยั ครสู รุ นิ ทร.์
จักรพรรณ์ อาบครบุรี และภัครมัย โปตระนันท์. (2546). ทวี แี มกกาซีน ฉบบั พิเศษละครทวี .ี แอนเิ มท กรปุ๊ .
เฉลิม มากนวล. (2541). “ซิละ”, ลกั ษณะไทย เลม่ 3. ไทยวัฒนาพานชิ .
__________. (2541). “ลเิ กฮูลู”, ลักษณะไทย เล่ม 3. ไทยวฒั นาพานชิ .
__________. (2541). “รองเงง็ ”, ลกั ษณะไทย เลม่ 3. ไทยวัฒนาพานิช.
__________. (2541). “มะโย่ง, ลกั ษณะไทย เล่ม 3. ไทยวฒั นาพานิช.
ชวน เพชรแก้ว, เด่นดวง พุ่มศิริ, ธิดา โมสิกรัตน์, ปรียา หอรัญประดิษฐ์, สุกัญญา ภัทราชัย, จาตุรงค์
มนตรีศาสตร์ และธีรยุทธ ยวงศรี. (2542). “การแสดงพื้นบ้านภาคต่าง ๆ” ศิลปะการละเล่นและการ
แสดงพ้ืนบา้ นไทย หน่วยท่ี 11. (พมิ พค์ รั้งที่ 3). มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช.
ดารงราชนุภาพ, สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยา. (2507). ตานาอเิ หนา. พระจนั ทร.์
ทองคณู หงส์พนั ธ.์ (2541). “นาฏศิลปพ์ ้นื เมืองอีสานเหนอื ” ลักษณะไทยเลม่ 3. ไทยวฒั นาพานิช
ทัศนีย์ ทานตวณิช. (2523). การศึกษาและรวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้านภาคตะวันตก (ระยะที่ 2). มหาวิทยาลัย
ศรนี ครนิ ทรว์ โิ รฒ.
ทินกร อัตไพบูลย์. (2546). ผู้อานวยการสานักศิลปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี, สัมภาษณ์.
ทวี แี มกกาซนี . หน้า 2.
ธวัช ปุณโณทก. (2542). “วรรณกรรมพื้นบ้านไทยกับศิลปะการละเล่น และการแสดงพื้นบ้านของไทย” ศิลปะ
การละเลน่ และการแสดงพื้นบา้ นไทย หน่วยที่ 9. (พิมพค์ รั้งท่ี 3). มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช.
ธิดา โมสิกรัตน์. (2542). “การละเล่นพื้นบ้านไทย” ศิลปะการละเล่นและการแสดงพื้นบ้าน หน่วยที่ 12.
มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช.
นครสวรรค,์ วทิ ยาลยั ครู. (2543). จงั หวดั นครสวรรค.์ วิทยาลยั ครนู ครสวรรค์.
น้อย เพง็ บญุ สม. (วทิ ยากรเพลงกล่อมเด็กภาคตะวนั ออก, บ้านเลขที่ 8 หมู่ 5 ตาบลหันทราย อาเภอ อ รั ญ
ประเทศ จังหวดั สระแก้ว). สมั ภาษณ์ (20 กรกฎาคม 2546).
นาฏดรุ ิยางค,์ สถาบนั . (2542). วิพธิ ทัศนา. กรมศลิ ปากร
150
บรุ รี ตั น์ สามัตถิยะ. (2542). ชุด” ร้เู ร่ืองเมืองไทย” ภาคกลาง. ไทยวฒั นาพานชิ .
__________. (2542). ชดุ ” รเู้ รื่องเมอื งไทย” ภาคตะวันออก. ไทยวฒั นาพานชิ .
__________. (2542). ชดุ ” รู้เรอื่ งเมอื งไทย” ภาคตันออกเฉียงเหนอื . ไทยวฒั นาพานชิ .
__________. (2542). ชดุ ” รู้เรื่องเมืองไทย” ภาคใต้. ไทยวัฒนาพานิช.
__________. (2542). ชดุ ” รูเ้ ร่อื งเมืองไทย” ภาคเหนือ. ไทยวฒั นาพานิช.
บุญศิริ นิยมศักดิ์. (2543). รามอญเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี. [วิทยานิพนธ์ศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต
คณะศิลปกรรมศาสตร,์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ].
ประเภทเพลงโคราช. (2547). สืบค้น มกราคม 2547. http://www.karatinfo.com/samapi/koratsong/ koratsng2.htm.
ผะอบ โปษะกฤษณะ และคณะ. (2522). เพลงกล่อมเด็กและเพลงประกอบการละเล่นของเด็กภาคกลาง
16 จังหวดั . สานักงานคณะกรรมการการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ.
พรี ะพงศ์ บุญศิริ. (2536). การละเล่นพื้นบ้านล้านนา. วทิ ยาลัยครูเชยี งใหม.่
ไพบูลย์ ดวงจนั ทร์. (2541). “ซมั เปง” ลกั ษณะไทย เล่ม 3. ไทยวัฒนาพานชิ .
ภิญโญ จิตต์ธรรม. (2541). “โนรา” ลักษณะไทย เลม่ 3. ไทยวัฒนาพานิช.
__________. (2519). โนรา. (พิมพค์ ร้ังที่ 2). วทิ ยาลยั ครสู งขลา.
มนตรี ตราโมท. (2526). “ละครชาตร”ี ปกิณกะเกยี่ วกับนาฏศิลป์และการละเล่นของไทย. เจรญิ วทิ ย์การพิมพ.์
ยงยุทธ์ ธรี ศิลป์. (2541). “นาฏศลิ ปพ์ นื้ เมืองภาคเหนอื ” ลักษณะไทย เลม่ 3. ไทยวฒั นาพานชิ .
เยาวเรศ สิริเกียรติ. (2521). เพลงกล่อมเด็ก. [ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย
ศรนี ครินทร์วิโรฒ].
ราชนครินทร์, สถาบันราชภัฏ, สานักศิลปวัฒนธรรม. เอกสารราชภัฏวัฒนธรรม 2 สัมผัสวัฒนธรรมพื้นบ้าน
จงั หวัดฉะเชิงเทรา. สถาบันราชภัฏราชนครินทร.์
ราชบณั ฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542. นานมบี ุกสพ์ บั ลิเคชัน่ ส์
__________. (2521). อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เล่ม 1. (พิมพ์ครั้งที่ 2).
ราชบัณฑิตยสถาน
ลี ดวงสัมฤทธิ์ (วิทยากรเพลงกล่อมเด็กภาคตะวันออก, บ้านเลขที่ 61 หมู่ 7 ตาบลบ้านด่าน อาเภอ
อรญั ประเทศ จังหวัดสระแก้ว). สัมภาษณ์ (20 กรกฎาคม 2546).
วฒั นธรรมจังหวดั อบุ ลราชธาน,ี ศูนย.์ (2529). ราตังหวาย. วทิ ยาลยั ครอู บุ ลราชธานี.
151
วีระวชั ร์ ปิ่นเขยี น. (2525). วรรณกรรมของชาวจอมบงึ จงั หวัดราชบรุ ี คร้ังที่ 2. วทิ ยาลยั ครูหมูบ่ ้านจอมบงึ .
ศิลปากร, กรม. (2514). ราวง. กรมศลิ ปากร.
__________. (2542). วพิ ิธทศั นา. กรมศลิ ปากร.
ศูนย์การทหารปืนใหญ่ ค่ายพหลโยธิน จังหวัดลพบุรี. (2540). อนุสรณ์ครบรอบ 100 ปี ฯพณฯ จอมพล
ป. พบิ ลู สงคราม 15 กรกฎาคม 2540. กรมทหารปนื ใหญ.่
ไศลรัตน์ ดลอารมณ์, นพวรรณ เลาหบุตร และพวริศรา เชนะโยธิน. (2543). งานวิจัยเรื่อง วัฒนธรรมพื้นบ้าน
ตาบลหัวสาโรง. สถาบนั ราชภฏั ราชนครนิ ทร์.
สงบ บญุ คลอ้ ย (2541). “กะโนบ๊ ตงิ ตอง” ลักษณะไทย เล่ม 3. ไทยวัฒนาพานิช.
สนทิ บญุ ฤทธ์ิ. (2540). เพลงเรือแหลมโพธ์ิจงั หวดั สงขลา. สถาบันราชภฏั สงขลา.
สมพงษ์ เกรยี งไกร. (2537). บนั ทกึ ประเพณีไทย ภาคเหนือ. ดอกหญ้า.
สวาท เสราณรงค์ และวไิ ลเฉิด ทวสี ิน. (2542). รายวชิ า ส 503 สังคมศกึ ษา. (พิมพค์ รงั้ ที่ 8). อกั ษรเจริญทศั น.์
สทุ ธิพงศ์ พงษ์ไพบูลย.์ (2541). “หนงั ตะลงุ ” ลักษณะไทย เลม่ 3. ไทยวัฒนาพานิช.
สุภร โอเจริญ. (2538). “เจ้าพ่อเจ้าแม่เมืองแหล่งปากน้าโพ” ชีวิตไทยชุดบรรพบุรุษของเรา. สานักงาน
คณะกรรมการวฒั นธรรมแห่งชาติ.
สุมามาลย์ เรืองเดช. (2517). เพลงพื้นเมืองจากตาบลพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี. [ปริญญานิพนธ์
การศึกษามหาบณั ฑติ , มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทร์วิโรฒ].
__________. (2520). เพลงกล่อมเดก็ ไทย. เอกสารอดั สาเนา เนื่องในวันครบรอบสถาปนาวทิ ยาลยั ครพู ระนคร.
สรุ พล วริ ฬุ รักษ.์ (2538). ลิเก. สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาต.ิ
อมรา กลา่ เจรญิ . (2537). งานวจิ ยั เร่ืองละครชาตรจี ังหวดั พระนครศรีอยุธยา. จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
__________. งานวิจัยเรอ่ื งเพลงเรอื อยธุ ยา. สถาบันราชภัฏพระนครศรอี ยุธยา.
อมรา กล่าเจริญ. (2542). งานวิจยั เรือ่ งระบาบ้านไร่ ศึกษาเฉพาะกรณี จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา. สถาบันราชภฏั
พระนครศรีอยุธยา.
__________. (2542). สุนทรียนาฏศลิ ป์ไทย. (พมิ พ์ครงั้ ท่ี 3). โอเดยี นสโตร์.
อภิชาติ ทวีโภคา. (2545). ประสารทสด๊กก๊อกธม : ประวัติศาสตร์และอารธรรมขอม สระแก้ว บันเตียเมียนเจย.
ช.ดารงชยั การพิมพ์.
อรณุ เวชสุวรรณ. (2543). พระราชชายา เจา้ ดารารัศมกี ับการรวมหวั เมืองภาคเหนอื . อรุณวิทยา.
152
อุดม รุ่งเรืองศรี, ชวน เพชรแก้ว, ธิดา โมสิกรัตน์ และจารุวรรณ ธรรมวัตร. (2542). “ภาษาถิ่นพื้นบ้าน”
ศิลปะการละเล่นและการแสดงพื้นบา้ นไทย หนว่ ยที่ 11. (พมิ พค์ รงั้ ที่ 3). มหาวทิ ยาลยั สุขยั ธรรมาธริ าช.
อดุ ม หนทู อง. (2541). “ลเิ กปา่ ” ลักษณะไทย เลม่ 3. ไทยวฒั นาพานิช.
อเนก นาวกิ มลู . (2523). เพลงนอกศตวรรษ. สานกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ.
__________. (2531). คนเพลงและเพลงพ้นื บ้านภาคกลาง. สานกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแห่งชาติ.
__________. (2542). “เพลงพื้นบ้านภาคต่าง ๆ” ศิลปะการละเล่นและการแสดงพื้นบ้านไทย หน่วยที่ 11.
(พมิ พค์ รั้งท่ี 3) มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช.
__________. (2542). “ซอ” ศิลปะการละเล่นและการแสดงพื้นบ้าน หน่วยที่ 8. (พิมพ์ครั้งที่ 3).
มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช.
153
รายชื่อผูจ้ ัดทา
นายกฤษณพงศ์ จงเทพ รหสั 6281163002
นายอนศุ ร สเี คน รหัส 6281163011
นางสาวนิศารัตน์ เพง็ โอ รหสั 6281163027
นายสรญั วุฐิ คานึง รหสั 6281163036
นายยุทธนา บัณฑิตย์ รหสั 6281163038
นายจักรกฤษณ์ โสดารตั น์ รหสั 6281163041
นายณัฐนนั ท์ สันทา รหัส 6281163049
นางสาวธดิ ารตั น์ ปนั้ สงิ หโ์ ต รหัส 6281163053
นายณฐั ภัทร อินทร์แกว้ รหัส 6281163057
นางสาวฉนั ทิกา พรมศร รหสั 6281163071
นายเกยี รตศิ ักดิ์ นาทสีทา รหสั 6281163072
นางสาวสุวนันท์ หีบไธสง รหัส 6281163073
นางสาวอรยา หนูชว่ ย รหัส 6281163076
นางสาวรงุ่ ธวิ า คาแก้ว รหัส 6281163078
นางสาวฐติ ิมา เพช็ รสม รหสั 6281163081
นางสาวกรุ สิ ลา กลบี รกั ซ้อน รหัส 6281163083
นางสาวธิดารตั น์ ศรีวะอุไร รหสั 6281163084
นายจิรพัฒน์ เหมอื นสังข์ดี รหัส 6281163085
นางสาวสพุ รรษา สงิ ห์เงนิ รหสั 6281163086
นางสาวอจั จมิ า ผิวออ่ น รหสั 6281163089
นกั ศกึ ษาชนั้ ปีที่ 2 สาขานาฎยศิลปศ์ ึกษา (ค.บ. 4 ปี)
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏบา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา