The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปนักพัฒน์ 32 .ใช้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by arisa.26, 2022-05-18 06:15:45

สรุปนักพัฒน์ 32 .ใช้

สรุปนักพัฒน์ 32 .ใช้

46

3) ข้อมูลแต่ละเรอ่ ื งแต่ละประเภท สามารถได้รายละเอียดเพ่ิมเติม หรอื ความสัมพันธท์ ี่
เชอ่ื มโยงกันจากการได้สอบถามพูดคุย กับบุคคลที่อยู่ในชุมชน ท่ีเก่ียวข้อง หากมีความสนิทสนมคุ้นเคย อาจ
ทาให้สามารถได้รบั ข้อมูลเชิงลึก เช่น ประวัติความเป็นมา ปัญหาอุปสรรค ความต้องการในการขอความ
ชว่ ยเหลือ หรอื อาจเป็นคาแนะนาในการเดินทางไปในจุดอ่ืน ๆ เปน็ ต้น

4) การลงพื้นท่ี การพูดคุยสัมภาษณ์ สอบถาม ควรใชค้ วามสุภาพ ความอ่อนน้อม ความ
เป็นกันเอง แสดงออกถึงความจรงิ ใจ และเป็นมิตร ซึ่งถือเป็นคุณสมบัติท่ีดีและเป็นเอกลักษณ์สาคัญของ
พัฒนากร หรอื นักพัฒนาทุกคน ซงึ่ ถือเป็นเรอ่ ื งสาคัญมากในการจะทาให้คนในชุมชนให้ความรว่ มมือในการให้
ข้อมูลด้วยดี

5) การเดินสารวจ อาจมีผู้นาชุมชนท่ีเป็นผู้ที่มีความเกี่ยวข้องกับชุมชนน้ัน ๆ เป็นผู้รว่ ม
เดินทางไปด้วย เพื่อให้เกิดความเช่ือใจของคนในชุมชน ในการสอบถามพุดคุย หรอื การพูดคุยขอข้อมูล
รายละเอียดเพิ่มเติมในขณะเดินทาง จะทาให้ได้ข้อมูลมีรายละเอียดเพ่ิมเติมมากขึ้น

6) การเขียนสัญลักษณ์ของส่ิงท่ีเป็นข้อมูลในแผนที่ เพ่ือให้ทราบชดั เจนว่าภาพในแผนที่
คืออะไร แสดงถึงอะไร เนื่องจากข้อมูลบางเรอ่ ื งอาจไม่สามารถวาดเป็นภาพ หรอื เขียนข้อมูลท่ชี ดั เจนลงไปใน
แผนที่ได้ท้ังหมด เชน่ รูปวงกลม แทน ป่าชุมชน หรอื รูปดาว แทน ลานออกกาลังกายของผู้สูงอายุ เป็นต้น
หากเปน็ ไปได้อาจมีการกาหนดมาตรส่วนลงไปด้วยก็ได้ (ส่วนนี้อาจต้องมีเครอ่ ื งมือในการกาหนดที่แน่นอน)

ท้ังนี้ แผนท่ีเดินดิน อาจมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลต่าง ๆ ไปตามกาลเวลา เช่น บ้าน
ผู้ใหญ่บา้ น อาจมีการเปลี่ยนเม่ือมีการเลือกตั้งใหม่ บา้ นประธานกลุ่มอาชพี อาจมีการเปล่ียนตัวประธาน หรอื
อาจมีการย้ายถ่ิน เป็นต้น ซึ่งข้อมูลอาจเกิดขึ้นได้ ทั้งการเปลี่ยนแปลง การเพ่ิมข้ึน หรอื การลดลง หาก
ต้องการใชป้ ระโยชน์จรงิ ๆ ควรมีการทาให้เป็นแผนท่ีเดินดินท่มี ีการปรบั ข้อมูลให้เปน็ ปัจจุบนั อยา่ งต่อเน่ือง

หลังจากน้ันวทิ ยากรมอบหมายให้ผู้เข้าอบรมทง้ั 4 กลุ่ม ลงพ้ืนท่ีศึกษาชุมชน ด้วยวธิ เี ดินเท้า
และมีผู้นาชุมชน 1 ท่านรว่ มเดินทางไปด้วย โดยให้ทุกกลุ่มลงพ้ืนที่ศึกษาชุมชนภายในพื้นท่ีหมู่ 6 บ้านหนอง
สาหรา่ ย โดยให้ผู้นาชุมชนแต่ละท่าน นาไปตามจุดที่กาหนด หลังจากนั้นแต่ละกลุ่มนาข้อมูลท่ไี ด้จากลงสารวจ
ศึกษาพ้ืนที่ มาเขียนแผนท่ีเดินดินของตนเอง และมอบหมายตัวแทนกลุ่มนาเสนอข้อมูลต่าง ๆ โดยจะให้ผู้นา
ชุมชนเป็นผู้พิจารณาความถูกต้อง สรุป และเติมเต็มให้ข้อเสนอแนะ เมื่อมอบภารกิจแล้ววทิ ยากร ทบทวน
แนวทางเพ่ือความเข้าใจท่ีตรงกัน นัดหมายเวลา และสรุปจบในช่วงบ่ายหลังจากที่แต่ละกลุ่มลงพื้นที่ศึกษา
ชุมชนเรยี บรอ้ ยแล้ว

สรุปผลการเรยี นรู้ จากการสังเกตพบว่ามีความรูค้ วามเข้าใจในเรอ่ ื งเครอ่ ื งมือนักพัฒนา
(แผนที่เดินดิน) เป็นอย่างดี โดยผู้เข้าอบรมมีความสนใจเน้ือหาความรูอ้ ย่างมาก เน่ืองจากเป็นเรอ่ ื งใกล้ตัว
เป็นประโยชน์ และสามารถนาไปปรบั ใชใ้ นการปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี มีการสอบถามข้อมูล มีความกระตือ
ลือรน้ ที่จะได้ลงพื้นที่เดินสารวจชุมชน มีการวางแผนมอบหมายทีมงานในกลุ่ม และเตรยี มความพรอ้ มในการ
เดินทางเป็นอย่างดี ส่วนในการนาเสนองานท่ีได้รบั มอบหมาย พบว่าทุกกลุ่มสามารถดาเนินการต ามที่
มอบหมายได้เป็นอย่างดี ได้ภาพแผนที่เดินดินที่มีความสวยงาม ครบถ้วนแบบเกินความคาดหมาย มีการ
นาเสนอที่สนุกสนาน ได้สาระ จากการสังเกต พบว่าสมาชิกในกลุ่มทุกคนมีความรว่ มมือรว่ มใจกันในการ
ชว่ ยกันนาข้อมูลจากการสารวจ มาวาดและเขียนลงในแผนท่ีของตนเองอย่างตั้งใจ และร่วมกันนาเสนอโดย
แบ่งหน้าท่ีกันได้เป็นอย่างดี รวมท้ังได้รบั การเติมเต็มข้อมูลที่ได้จากผู้นาชุมชนในบางส่วน จงึ ทาให้กิจกรรม
สาเรจ็ ได้อย่างสมบูรณ์ พรอ้ มสาหรบั การนาไปเป็นเครอ่ ื งมือในการฝึกปฏิบัติการลงพ้ืนท่ีศึกษาชุมชนใน
กิจกรรมทเี่ ก่ียวข้องในวันต่อไป

สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

47

ชว่ งบ่าย
กิจกรรมสานสัมพันธค์ รวั เรอื นรบั รองก่อนเข้าพักค้างในพน้ื ท่ี โดย นางขวญั ตา พ่วงทอง
ผู้ชว่ ยผู้อานวยการศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุร ีจะให้ผู้เข้ารบั การฝกึ อบรมสรา้ งความค้นุ เคย
พบปะพูดคุยสานสัมพันธก์ ับครวั เรอื นรบั รอง ก่อนเข้าพกั ค้างในพื้นที่

สานสัมพันธค์ รวั เรอื นรบั รองก่อนเข้าพกั ค้างในพ้ืนที่

สรุปผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

48
วนั ท่ี 16 ธนั วาคม 2564

กิจกรรมการลงพื้นที่ภาคสนามพักค้างกับครวั เรอื นรบั รอง ของผู้เข้ารบั การฝกึ อบรม โดย
ได้ศึกษาชุมชน แบง่ หน้าท่ีออกสารวจพื้นที่และสารวจทนุ ชุมชน เพื่อจดั ทาแผนทเ่ี ดินดิน และสรา้ ง
ความสัมพันธช์ ุมชน ออกแบบรปู แบบการจดั เวที และจดั เตรยี มข้อมูลจากการศึกษาชุมชน
“แผนท่เี ดินดิน” เพื่อนาข้อมูล ทไ่ี ด้จากการศึกษาชุมชน ป้อนกลับเข้าสู่เวทีประชาคมเพ่ือสรา้ งการ
เรยี นรูแ้ ละเพื่อค้นหาความต้องการท่ีแท้จรงิ ของชุมชน ในสถานการณ์จรงิ

ภาพกิจกรรมการลงพ้ืนทีภ่ าคสนาม (ศึกษาชุมชน)

กิจกรรมการลงพ้ืนที่ผู้เข้ารบั การฝึกอบรม แบ่งหน้าทก่ี ันและชว่ ยกันออกแบบรูปแบบการ
จดั เวที และจดั เตรยี มข้อมูลจากการศึกษาชุมชน “แผนทีเ่ ดินดิน” เพ่ือนาข้อมูล ทไี่ ด้จากการศึกษา
ชุมชนปอ้ นกลับเข้าสู่เวทปี ระชาคมเพ่ือสรา้ งการเรยี นรู้

ภาพกิจกรรมการลงพื้นทีภ่ าคสนาม (จดั เวทีประชาคม)

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

49

การจดั เวทปี ระชาคม เพ่ือตรวจสอบและรบั รองความถกู ต้องของข้อมูลโดยคนในชุมชน
และรว่ มกันกาหนดโครงการ/กิจกรรมการพัฒนาโดยใชท้ นุ ชุมชน/ศักยภาพชุมชนในการขับเคล่ือนการ
ดาเนินงาน

ภาพกิจกรรมการลงพ้ืนที่ภาคสนาม (นาเสนอผลงาน)

วันท่ี 17 ธนั วาคม 2664

17. นักพัฒนาผู้นาการเปล่ียนแปลงสู่ชุมชน

วทิ ยากรหลัก

นายอนสุ รณ์ กาญจนวณิชย์ ผู้ชว่ ยผู้อานวยการศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุร ี

นางสาววาสนา ยึดเหนี่ยว นักวชิ าการพัฒนาชุมชนชานาญการ

และคณะศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุร ี

สรุปผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

50
วัตถปุ ระสงค์

เพื่อให้ผเู้ ข้าอบรม มีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าทรี่ าชการ มีจติ บรกิ ารของการ
ทางานภาครฐั การทางานทมี่ ุ่งผลสัมฤทธิ์ และการบูรณาการการทางานกับหน่วยงานภาคีเครอื ข่าย
ขอบเขตเนื้อหา

1. บทบาทหน้าที่ของข้าราชการ
2. ภารกิจงานในความรบั ผิดชอบ
3. สถานการณ์ความเปลี่ยนแปลงของโลก
4. วกิ ฤตสังคม
5. เศรษฐกิจพอเพียงทางรอดสังคมไทย
6. ศาสตรพ์ ระราชา โคก หนอง นาโมเดล
7. การบูรณาการและขยายผลเศรษฐกิจพอเพียงสรา้ งตาบลเข้มแข็ง
รูปแบบ/ขั้นตอนดาเนินการ
1. บรรยายให้ความรู้
2. แลกเปล่ียนเรยี นรู้ ตอบข้อซกั ถาม

แนวทางการสรุปเนื้อหา พบวา่ ผู้เข้ารบั การฝกึ อบรม สามารถแสดงความคิดเหน็ ในการ
นาเสนอข้อมูลจากส่ิงทไ่ี ด้พบเห็นจากชุมชน สามารถปรบั ใชเ้ ครอ่ ื งมือส่งเสรมิ การมสี ่วนรว่ มของชุมชน

มาใชใ้ นการจดั เวทปี ระชาคมหมู่บา้ นได้อย่างมีประสิทธภิ าพ รวมถึงผู้เข้ารบั การฝกึ อบรมสามารถสรา้ ง
การยอมรบั ได้เป็นอย่างดีจากผู้เข้ารว่ มเวทปี ระชาคม และสามารถสรา้ งโครงการสาหรบั ขบั เคลื่อนการ
พัฒนาชุมชนอันเหมาะสมกับพื้นท่ี ซงึ่ ได้มาจากการมีส่วนรว่ มของชุมชนผ่านเวทีประชาคม

ภาพกิจกรรมนักพัฒนาผู้นาการเปล่ียนแปลง

สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

51

วนั ที่ 18 ธนั วาคม 2564
เวลา 05.30 – 06.30 น. กิจกรรมสาธารณประโยชน์
เวลา 08.00 – 08.30 น. กิจกรรมหน้าเสาธง
เวลา 08.30 – 09.00 น. กิจกรรมหน้าชน้ั เรยี น / กล่าวนาทศั นะ

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

52

18. กิจกรรม Wrap up

เวลา 08.30 – 10.30 น.

วทิ ยากรหลัก

นางวาสนา ไขว้พันธุ์ ผู้อานวยการศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุร ี

วตั ถุประสงค์

1. เพ่ือสรา้ งอุดมการณ์การทางานพัฒนาชุมชน

2. เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจในปรชั ญา หลักการและกระบวนการพัฒนาชุมชนแบบมีส่วนรว่ ม

3. เพ่ือให้มีหลักคิดอย่างนักพัฒนาชุมชน

ขอบเขตเน้ือหา

1. ความเปน็ มาของการพัฒนาชุมชนยุคต่าง ๆ

2. อุดมการณ์ และหลักคิดของนักพัฒนาชุมชน / คุณค่าของนักพัฒนาชุมชน

3. แรงบนั ดาลใจนักพัฒนา(อาชพี )

4. ปรชั ญา หลักการ กระบวนการพัฒนาชุมชนท่ียึดการมีส่วนรว่ มของประชาชน

การประเมิน
1. แบบประเมินความรู้ ความเข้าใจ
2. การสังเกตพฤติกรรม

17. การถอดบทเรยี นและสรปุ ผลการเรยี นรู้

เวลา 10.30 – 13.00 น.

วทิ ยากรหลัก

นางสาววาสนา ยดึ เหนี่ยว นักวชิ าการพฒั นาชุมชนชานาญการ

และคณะศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุร ี

วัตถุประสงค์

1. เพื่อให้เกิดทกั ษะ และเรยี นรกู้ ารถอดบทเรยี นด้วยเครอ่ ื งมือ AAR

2. เพื่อให้เกิดการวเิ คราะห์ สงั เคราะห์กระบวนการฝกึ อบรม

สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

53

ขอบเขตเน้ือหา

1. การใชเ้ ครอ่ ื งมือ AAR (After Action Review) ในการจดั เก็บข้อมูลจากการฝกึ ปฏิบตั ิ

ภาคสนาม และกระบวนการเรยี นรทู้ ี่เกิดข้ึน

2. การนาองค์ความรู้ ทกั ษะ ไปปรบั ใชใ้ นการปฏิบัติงานในพ้ืนที่ต่อไป

กระบวนการเรยี นรู้

1. แบง่ กลุ่มถอดบทเรยี นผลการศึกษาภาคสนามด้วยเทคนิค AAR

2. นาเสนอผลการถอดบทเรยี นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ และเติมเต็ม โดย ทีมวทิ ยากร

จากศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุร ี

เทคนิค/วธิ กี าร
1. สรุปกิจกรรมการลงพืน้ ท่ฝี ึกปฏบิ ัติ โดยใชเ้ คร่ืองมือ AAR (After Action Review)
2. การเติมเตม็ ให้ข้อคดิ และขอ้ เสนอแนะ เพือ่ การนาความรู้ ทักษะไปปรับใช้ในการ

ปฏิบัตงิ าน

สรปุ ผลการดาเนนิ การและผลการเรยี นรู้
วิทยากรพูดคุย สอบถามการลงพ้ืนท่ีฝึกปฏิบัติในภาคสนามท่ีผ่านมา แต่ละกลุ่ม ครัวเรือนอุปถัมภ์
แต่ละครัวเรือนเป็นอย่างไรบ้าง รู้สึกอย่างไรบ้าง หลังจากน้ันพูดคุยถึงการทางานของพัฒนากรของกรมการ
พัฒนาชุมชน ที่ต้องมีการลงพื้นท่ีเพื่อปฏิบัติงานในภาคสนามเช่นน้ีเหมือนกัน ซึ่งหากผ่านกระบวนการเหล่านี้
ไปแล้ว จะทาให้เข้าใจความเป็นชุมชน และเข้าใจบทบาทภารกิจของตนเองในการทางานมากขึ้น ซ่ึงในคร้ังน้ี
เชื่อว่าหลายท่านได้เรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ ร่วมกันมากมายหลายเรื่อง ท่ีสามารถนาไปปรับใช้ในการทางาน
และการปฏิบัติหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมาย รวมท้ังการทางานร่วมกับหน่วยงานองค์กรอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข้องได้เป็น
อยา่ งดถี ือวา่ ครงั้ นี้อาจเปน็ ประสบการณ์สาคญั สาหรบั ทุก ๆ คนก็เปน็ ได้
ในการลงพื้นทีฝ่ ึกปฏิบัติงานคร้ังนี้เป็นเรื่องราวและกจิ กรรมทสี่ าคัญของการฝึกอบรมในหลักสูตรนี้ ซ่งึ
จะต้องมีการถอดบทเรียนในการลงพ้ืนท่ี เพื่อให้เกิดได้เห็นภาพรายละเอียดในมุมมองต่าง ๆ ชัดเจนข้ึน ทา
เพื่อให้เกิดการรับรู้ข้อมูลที่แตกต่างกันไป รวมท้ังเกิดการแลกเปล่ียนการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จากการถอด
บทเรียน โดยครั้งน้ีเราใช้เคร่ืองมือ AAR มาเป็นเครื่องมือในการเปรียบเทียบสิ่งท่ีคาดหวัง กับสิ่งที่เกิดข้ึนจริง
โดยแต่ละกลุ่มอาจจะมีข้อมูลท่ีเหมือนหรือคล้ายกัน หรืออาจแตกต่างกัน ซึ่งความคาดหวังก็คือเร่ืองสืบ
เน่ืองจากความคาดหวังของทุกท่านก่อนลงพ้ืนท่ีน่ันเอง เมื่อลงพื้นที่ไปแล้ว สิ่งท่ีเกิดขึ้น หรือได้พบเจอจริง ๆ
คอื อะไรเราจึงต้องมาถอดบทเรยี นกนั เพ่ือใหเ้ ห็นความชัดเจนมากขน้ึ
ซ่ึงจากการลงพ้นื ท่ฝี ึกปฏบิ ัติภาคสนามทผี่ ่านมาน้นั จะเห็นได้วา่ เราไม่สามารถร้ไู ดเ้ ลยว่าจะตอ้ งพบเจอ
กับอะไรบ้าง และไมส่ ามารถไปปรับเปลี่ยนวิถีชวี ิตของชุมชนและประชาชนใหเ้ ป็นอย่างทเ่ี ราชอบหรือเป็นแบบ
ที่ใจเราต้องการได้ ดังนั้นถา้ เรามีโอกาสได้กลบั ไปทีแ่ ห่งน้นั อีกคร้งั เราจะทาให้ดขี ้นึ .. หรือดีกวา่ นี้อีกได้อย่างไร
บา้ ง...? โดยกาหนดประเด็นการถอดบทเรียน 3 ประเด็น โดยใช้เครื่องมือ AAR ดงั น้ี
1) การสานสัมพนั ธ์ครวั เรือนรบั รอง (อปุ ถัมภ)์
2) การศกึ ษาชุมชน
3) การจัดเวทีประชาคม
สรุปผลการเรียนรู้ พบว่าผู้เข้าอบรมสามารถแสดงความคิดเห็นในการนาเสนอข้อมูลจากสิ่งที่ได้
มอบหมาย โดยสามารถอธิบายถึงสิ่งทเ่ี ปน็ วิธีการ เหตผุ ลของการกระทา ต้งั คาถามและตอบอธบิ ายความหมาย
ในสิ่งที่เป็น การตั้งเป้าหมายในการพัฒนาสิ่งท่ีเกิดข้ึน เพ่ือนาไปปรับประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน ซ่ึงใน
ภาพรวม ผู้เข้าอบรมมีความตั้งใจท่ีจะศึกษาเรียนรู้สงิ่ ตา่ ง ๆ และได้แสดงให้เห็นว่าการฝึกปฏิบัติภาคสนามเปน็

สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

54

เร่ืองสาคัญที่ จะสามารถนาไปปรับใช้ได้จริง บางเรื่องอาจเป็นสิ่งที่ได้รับจากชุมชนแบบเกินความคาดหมาย
บางเรื่องอาจเป็นปัญหาและต้องแก้ไขหรือจัดการกับปัญหานั้นอย่างไร ซึ่งในการสรุปข้อมูลถอดบทเรียนจาก
ภาคสนาม ซึ่งเป็นการระดมความคิดของสมาชิกทุกคนในกลุ่มท่ีได้สัมผัสประสบการณ์จากการฝึกภาคสนาม
ครงั้ น้ี สรปุ ข้อมลู ได้ ดงั นี้

ประเด็นการสานสัมพันธ์ครัวเรือนฯ ผู้เข้าอบรมและครัวเรือนได้รับและแสดงออกถึงการมี
ความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน เช่นการต้อนรับท่ีดี ความรู้สึกอบอุ่นเป็นกันเอง มีความสะดวก สะอาดและปลอดภัย
การอยู่ร่วมกับครัวเรือน การได้เรียนรู้วัฒนธรรมความเป็นอยู่ การร่วมกันทากิจกรรมต่าง ๆ เช่น กวาดบ้าน
รดน้าต้นไม้ ทาอาหาร รับประทานอาหารซ่ึงเป็นพื้นถิ่นร่วมกัน ความสุภาพ อ่อนน้อม ความเกรงใจ และ
มารยาทในการอยู่ร่วมกัน เป็นส่ิงท่ีทาให้สามารถอยูร่ ว่ มกับครัวเรือนได้เปน็ อยา่ งดี

ประเด็นการศึกษาชุมชน แสดงถึงการได้รับรู้ข้อมูลของชุมชนอย่างครบถ้วน ความร่วมมือของคนใน
ชุมชน การวางแผนประสานงานขอความร่วมมือผเู้ ก่ยี วข้องและผูใ้ ห้การสนบั สนุนช่วยเหลือในการจัดเก็บข้อมูล
ลักณะของการแสดงออกถึงความเป็นมิตร ความเป็นกันเอง อ่อนน้อมถ่อมตนในการพูดคุยและสอบถามข้อมูล
ความสัมพันธข์ องระยะเวลากบั ขนาดของพืน้ ที่และข้อมูล

ประเด็นการจดั เวทีประชาคม แสดงถึงการวางแผนการดาเนินการ และมอบหมายงานให้สมาชกิ กล่มุ
การประสานการดาเนินการต่าง ๆ เช่นการใช้สถานที่ การเตรียมข้อมลู และประเดน็ หัวข้อในการจัดเวที เตรยี ม
วสั ดอุ ปุ กรณ/์ กิจกรรม การกาหนดชว่ งเวลาที่เหมาะสมสาหรบั พืน้ ท่ี การใช้เครอ่ื งมือส่งเสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของ
ชุมชน การประชาสัมพันธ์ การต้อนรับและการสร้างบรรยากาศความเป็นกันเองระหว่างผู้จัดเวทีและผู้ร่วมเวที
การแก้ไขปญั หาเฉพาะหน้าในการดาเนินกจิ กรรมในเวที

สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

55

19. บรรยายพิเศษนักพฒั นาผู้นาการเปลี่ยนแปลงสู่ชุมชน
เวลา 13.00 – 15.00 น.
วทิ ยากรหลัก

นายสมคิด จนั ทมฤก อธบิ ดีกรมการพัฒนาชุมชน
วตั ถปุ ระสงค์

เพื่อให้ผเู้ ข้าอบรม มีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าทีร่ าชการ มีจติ บรกิ ารของการ
ทางานภาครฐั การทางานที่ม่งุ ผลสัมฤทธ์ิ และการบูรณาการการทางานกับหน่วยงานภาคีเครอื ข่าย
ขอบข่ายเนื้อหา

1. บทบาทหน้าทีข่ องข้าราชการ
2. ภารกิจงานในความรบั ผิดชอบ
3. สถานการณ์ความเปลี่ยนแปลงของโลก
4. วกิ ฤตสังคมไทย
5. เศรษฐกิจพอเพียงทางรอดของสงั คมไทย
6. ศาสตรพ์ ระราชา โคก หนอง นา โมเดล
7. การบูรณาการและขยายผลเศรษฐกิจพอเพียงสรา้ งตาบลเข้มแข็ง
การประเมิน
1. แบบประเมินความรู้ ความเข้าใจ
2. สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนรว่ ม
สรปุ เนื้อหา
กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถิ่น เป็นส่วนราชการในสังกัดกระทรวงมหาดไทย มีภารกิจ
ในความรบั ผิดชอบ คือ การส่งเสรมิ และสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความเข้มแข็ง
มีศักยภาพในการให้บรกิ ารสาธารณะ โดยการพัฒนาและ ให้คาปรกึ ษาแนะนาองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นในด้านการบรหิ ารงานบุคคล การจัดทาแผนพัฒนาท้องถ่ินและการบรหิ ารจัดการ
ให้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง กรมส่งเสรมิ การปกครองส่วนท้องถ่ินมีบทบาท
หน้าท่ี คือ เข้ารว่ มสนับสนุนและทาตามนโยบายของรฐั บาล ผ่านการทางานภายใต้การบรหิ ารราชการ
ส่วนภูมิภาค คือ จังหวัดและอาเภอ อีกทั้ง มีหน้าที่สาคัญในการทางานใกล้ชดิ กับตัวแทนของพ่ีน้อง
ประชาชน ซ่ึงได้แก่ นายก อปท. และสมาชิก อปท. ในการท่ีจะพัฒนายกระดับสิ่งท่ีจะเป็นเป้าหมาย
สูงสุด คือ การให้พี่น้องประชาชนทกุ ตาบลทกุ หมู่บ้านสามารถดูแลชวี ติ ความเป็นอยูไ่ ด้ด้วยตนเอง ตาม
ห ลั ก ข อ ง ก า ร ป ก ค ร อ ง ใ น ร ะ บ อ บ ป ร ะ ช า ธิป ไ ต ย อั น มี พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ร ยิ ์ ท ร ง เ ป็ น ป ร ะ มุ ข
การดาเนินงานตามวสิ ัยทัศน์ของกระทรวง การบาบัดทุกข์ บารุงสุข ให้กับประชาชน
มีคุณภาพชีวติ ที่ดี มีความสุข โดยเรม่ ิ จาก การตั้งใจทาหน้าท่ี มีทัศนคติท่ีดีในการทางานราชการ
รูจ้ กั บทบาทของตัวเองรบั ใชพ้ ่ีน้องประชาชนเสมือนญาติมิตร มีอัธยาศัยพูดจาทักทายดี มีใจให้บรกิ าร
และคาแนะนาที่ดี การทางานขององค์กรการปกครองส่วนท้องถ่ิน และ ข้าราชการของกรมการพัฒนา
ชุมชน มีเป้าหมายท่ีสาคัญเหมือนกัน คือ ต้องการประชาชนมีคุณภาพชีวติ ที่ดีขึ้น ถึงแม้ว่าระเบียบ
การบรหิ ารราชการแผ่นดินกาหนดให้มีการแบ่งภารกิจกันทา แต่เวลาปฏิบัติงานจรงิ ต้องมีการบูรณา
การรว่ มกัน และในสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลกทาให้เกิดวกิ ฤตต่าง ๆ เชน่ วกิ ฤตพลังงาน

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

56

ภาวะโลกรอ้ น ปัญหาทรพั ยากรธรรมชาติ สภาพอากาศแปรปรวน สังคมผู้สูงอายุ ขยะล้นโลก นาไปสู่
วกิ ฤตสังคมไทย เชน่ หนี้สินภาคครวั เรอื น ความยากจนความเหลื่อมล้า ตกงานและว่างงาน ปัญหายา
เสพติด และสังคมผู้สูงอายุ และเม่ือเกิดวกิ ฤตซอ้ นวกิ ฤต covid – 19 วกิ ฤตต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึน ตามคา
เตือนจาก ส.ค.ส. พระราชทาน พ.ศ. 2547 แสดงให้เห็นถึงการล่มสลายของระบบการค้า และมีระเบิด
4 ลูก อยู่รอบประเทศไทย ดังนี้ วกิ ฤตสิ่งแวดล้อม อาทิ ภัยธรรมชาติ โรคระบาด วกิ ฤตสังคม
อาทิ โรคเสื่อมคุณธรรม ภัยสังคม ยาเสพติด อาชญากรรม ปัญหาเยาวชน ปัญหาคอ รร์ บั ชัน ฯลฯ
วกิ ฤตเศรษฐกิจ ปัญหาข้าวยากหมากแพงจากการท่ีสังคม บรโิ ภคนิยม เงนิ นิยม บันเทิงนิยม สุขนิยม
วกิ ฤตความขัดแย้ง ทางการเมือง การปกครองที่เกิดขึ้นทางแนวคิดของชว่ งวัย พรอ้ มได้พระราชทาน
ทางออก “สามัคคีเป็นพลังค้าจุนแผ่นดินไทย”

การพัฒนามนุษย์ ในทฤษฎีเตาหลอมเหล็ก โดยการสรา้ งจิตสานึกจากคนที่ “ไรว้ นิ ัย ทา
อะไรไม่เป็น หาจุดเด่นไม่เจอ เพ้อไปตามกระแสตะวันตก” เข้ามาเรยี นรูผ้ ่านหลักสูตรครูวธิ กี ารเรยี นรู้
ทฤษฎีเตาหลอมเหล็ก หล่อหลอมรว่ มกับเครอ่ ื งมือ สภาพแวดล้อมใชเ้ ง่อื นเวลาจนได้ “คนดี มีวนิ ัย รกั
ชาติ เป็นงานมีความถนัดของตน มีความรบั ผิดชอบ” และต่อยอดสรา้ งองค์ความรูผ้ ่านการปฏิบัติสู่
ความย้ังยืน โดยการน้อมนาหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ทางรอดสังคมไทย ซง่ึ เป็นการดาเนินการ
ระดับท่ีสาคัญท่ีสุด ประกอบด้วย ระดับครวั เรอื น โดยมีเป้าหมายดาเนินการในทุกครวั เรอื นในพื้นที่
เป้าหมาย ครอบคลุมกิจกรรมใน 3 ส่วน คือ การสรา้ งความม่ันคงทางอาหาร อาทิ การปลูกผัก การ
เล้ียงสัตว์ การแปรรูป การสรา้ งส่ิงแวดล้อมให้ยั่งยืน เชน่ การบรหิ ารจดั การขยะ การจดั สุขลักษณะใน
บ้าน การใชท้ รพั ยากรอยา่ งคุ้มค่า และการสรา้ งภูมิคุ้มกันทางสังคม เชน่ การปฏิบัติศาสนกิจ การออก
กาลังกาย การเข้ารว่ มกิจกรรมสาธารณะประโยชน์ เน้นการบูรณาการการทางานกับทุกหน่วยงาน
โดยอาศัยศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเป็นหน่วยสนับสนุนสาคัญ สรา้ งตาบลเข้มแข็ง
ระดับครวั เรอื น เพื่อการ “พออยู่ พอกิน” ระดับกลุ่ม ส่งเสรมิ และพัฒนากลุ่มอาชพี เพ่ือสรา้ งรายได้ให้
“อยู่ดี มีสุข” ระดับชุมชน ส่งเสรมิ ความรว่ มมือพัฒนาชุมชนให้มีกิจกรรม สรา้ งหลักประกันสวัสดิการ
ความสัมพันธใ์ นชุมชน สรา้ งคุณภาพชวี ติ ประชาชนหลากหลายและยงั่ ยนื

การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง จะเป็นไปในลักษณะเครอื ข่ายและระดมพลังจากทุกภาค
ส่วน และเป็นการเสรมิ พลังให้ประเทศสามารถพัฒนาไปได้อย่างมั่นคงและย่ังยืน โดยให้ความสาคัญ
กับการสรา้ งฐานรากทางเศรษฐกิจและสังคมให้เข้มแข็ง สรา้ งระบบโครงสรา้ งสังคมพัฒนา “ชุมชนใหม่”
โดยการเติมความรูใ้ ห้คน ในเรอ่ ื งของภูมิปัญญา ศาสตรพ์ ระราชา นวัตกรรมที่เหมาะสม ส่งคนกลับไป
พัฒนาบ้านเกิด เพื่อฟ้ ืนฟูดิน น้า ป่า วถิ ีวัฒนธรรม นาไปสู่กลไกสรา้ งความสามัคคี ก่อเกิด “จติ อาสา
พัฒนาชุมชน” และบรรลุสู่เปา้ หมาย “พอมี พอกิน” ครอบครวั ชุมชน สังคมและประเทศ
การขับเคลื่อนสังคมสู้ความพอเพียง ต้องพัฒนามนุษย์ด้วยปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ฟ้ ืนฟู
ประเทศด้วยศาสตรพ์ ระราชา พัฒนาคนให้มีความรูค้ ู่คุณธรรม โดยมีเป้าหมาย ในการสรา้ งฐาน
ทรพั ยากรสรา้ งคนภาคการผลิตสรา้ งรายได้ ชุมชนแข็งแรง สุขภาพดี ฟ้ ืนฟูทรพั ยากร ตามหลัก
เศรษฐกิจพอเพียง มั่งคง ม่ังคั่ง ย่งั ยนื

โคก หนอง นา โมเดล คือ การจดั การพ้ืนที่ซง่ึ เหมาะกับพื้นที่การเกษตร ซ่ึงเป็นผสมผสาน
เกษตรทฤษฎีใหม่ เข้ากับภูมิปญั ญาพ้ืนบา้ นท่ีอยูอ่ ย่างสอดคล้องกับธรรมชาติในพ้ืนทีน่ ้ัน ๆ โคก หนอง
นา โมเดล เป็นการท่ีให้ธรรมชาติจัดการตัวมันเองโดยมี มนุษย์เป็นส่วนส่งเสรมิ ให้มันสาเรจ็ เรว็ ข้ึน

สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

57

อย่างเป็นระบบ โคก หนอง นา โมเดล ซึง่ เป็นแนวทางท าเกษตรอินทรยี ์และการสรา้ งชวี ติ ที่ย่ังยืน
โดยมีองค์ประกอบดังน้ี

1. โคก : พื้นท่ีสูง
1.1 ดินท่ีขุดท าหนองน้าน้ันให้นามาทาโคก บนโคกปลูก "ป่า 3 อย่าง

ประโยชน์ 4 อย่าง” ตามแนวทางพระราชดาร ิ
1.2 ปลูกพืช ผัก สวนครวั เล้ียงหมู เลี้ยงไก่ เล้ียงปลา ทาให้พออยู่ พอกิน

พอใชพ้ อรม่ เย็น เป็นเศรษฐกิจพอเพียงขั้นพ้ืนฐาน ก่อนเข้าสู่ข้ันก้าวหน้า คือ ทาบุญ ทาทาน เก็บรกั ษา
ค้าขายและ เชอื่ มโยงเป็นเครอื ข่าย

1.3 ปลูกท่ีอยู่อาศัยให้สอดคล้องกับสภาพภูมิประเทศ และภูมิอากาศ
2. หนอง : หนองน้าหรอื แหล่งนา้

2.1 ขุดหนองเพื่อกักเก็บนา้ ไว้ใชย้ ามหน้าแล้งหรอื จาเปน็ และเปน็ ที่รบั นา้
ยามน้าท่วม (หลุมขนมครก)

2.2 ขุด "คลองไส้ไก่” หรอื คลองระบายน้ารอบพ้ืนท่ีตามภูมิปัญญา
ชาวบา้ น โดยขุดให้ คดเคี้ยวไปตามพื้นทเี่ พื่อให้น้ากระจายเต็มพ้ืนที่เพ่ิมความชุม่ ชน้ื ลดพลังงานในการ
รดนา้ ต้นไม้

2.3 ทาฝายทดน้าเพื่อเก็บน้าเข้าไว้ในพื้นที่ให้มากที่สุด โดยเฉพาะเมื่อ
พื้นท่โี ดยรอบไม่มี การกักเก็บน้ า น้าจะหลากลงมายงั หนองนา้ และคลองไส้ไก่ ให้ท าฝายทดน้าเก็บไว้
ใชย้ ามหน้าแล้ง

2.3 พัฒนาแหล่งน้าในพ้ืนท่ี ทัง้ การขุดลอก หนอง คู คลอง เพ่ือกักเก็บน้
าไว้ใชย้ าม หน้าแล้ง และเพิ่มการระบายนา้ ยามนา้ หลาก

3. นา้ :
3.1 พื้นท่ีนาน้ันให้ปลูกข้าวอินทรยี พ์ ้ืนบ้าน โดยเรม่ ิ จากการฟ้ ืนฟูดิน ด้วย

การทาเกษตร อินทรยี ย์ งั่ ยนื คืนชวี ติ เล็กๆ หรอื จุลินทรยี ์กลับคืนแผ่นดินใชก้ ารควบคมุ ปรมิ าณน้าในนา
เพ่ือคุมหญ้า ทาให้ปลอดสารเคมีได้ ปลอดภัยทงั้ คนปลูก คนกิน

3.2 ยกคันนาให้มีความสูงและกว้าง เพ่ือใชเ้ ป็นท่ีรบั น้ายามน้าท่วม ปลูก
พืชอาหารตามคันนา โดยกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ได้มีการขับเคล่ือนโครงการ ตาม
แนวทาง “โคก หนอง นา โมเดล”

การทางานของพวกเราชาวนักพัฒนาชุมชน กรมส่งเสรมิ การปกครองส่วนท้องถ่ิน
และพัฒนากร กรมการพัฒนาชุมชนน้ัน มีภารกิจหน้าท่ีค่อยสนับสนุนงานตามเป้าประสงค์ท่ีสาคัญ และจะ
สาเรจ็ ได้ก็ต่อเมื่อการดาเนินการของแต่ละองค์ประกอบภายในระบบการจดั การผลการดาเนินการ มีความ
เชอ่ื มโยงกันเป็นหนึ่งเดียวอย่างสมบูรณ์ เป็นการบูรณางานอย่างเข้มแข้ง สู่การขยายผลเศรษฐกิจพอเพียง
สรา้ งตาบลเข้มแข็ง น้ันคือ ทางรอดของประเทศ และทาให้ “ประชาชนมีคุณภาพชวี ติ ทดี่ ีขึ้น มีความสุข”

สรุปผลการเรยี นรู้ จากการสังเกตพฤติกรรมของผู้เข้ารบั การฝึกอบรมพบว่า ผู้เข้ารับการ
ฝึกอบรมมีความ ต้ังใจ สนใจในเน้ือหาที่วิทยากรให้ความรู้อย่างมาก มีการจดบันทึกเนื้อหา กระตือรือร้น
มีความเข้าใจในเน้ือหา สามารถโต้ตอบ ตอบคาถามจากวิทยากรท่ีให้ความรู้ได้เป็นอย่างดี มีการแสดงการมี
ส่วนร่วมในการเรียนรู้ รวมท้ังผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะสามารถนาไปปรับประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่าง
สอดคลอ้ งกับพื้นท่ีบริบทของตนเองไดใ้ นโอกาสต่อไป

สรุปผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

58

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

59

20. กิจกรรม “พี่บอก น้องถาม”

เวลา 18.00 – 19.00 น.

วทิ ยากรหลัก

นางสาวอัญชษิ ฐา สิงห์สุทศั น์ นักทรพั ยากรบุคคลชานาญการ

กิจกรรมน้ีเป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมได้แลกเปลี่ยนเรยี นรูป้ ระสบการณ์การ

ทางานระหว่างรุ่นพ่ีนักพัฒนาชุมชนท่ีมีประสบการณ์การทางานก่อนมาถ่ายทอดให้กับรุน่ น้อง

นักพัฒนาชุมชนที่เข้ามาปฏิบตั ิงานใหม่ ซง่ึ วทิ ยากรให้ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมนง่ั แบง่ เปน็ 2 ฝ่ งั แยกรนุ่ พี่

รุน่ น้อง โดยให้รุน่ พ่ีนั่งอยู่ฝ่ ังซา้ ยและรุน่ น้องน่ังอยู่ฝ่ ังขวา ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้ซกั ถามและไขข้อ

สงสัยในการทางาน ระหว่างกันและกัน เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานในพ้ืนที่ให้ถูกต้องตาม

ระเบยี บของทางราชการรวมถึงให้กาลังใจและปรบั ทัศนคติในการเป็นนักพัฒนาชุมชนทดี่ ี และหลังจาก

นั้นวทิ ยากร โดย นางสาวอัญชษิ ฐา สิงห์สุทัศน์ นักทรพั ยากรบุคคลชานาญการ สรุปผลภาพรวมของ

หลักสูตรและการมอบข้อคิดดี ๆ ในการพัฒนาและนาไปปรบั ใชใ้ นการทางานให้กับนักพัฒนาชุมชน รนุ่

ท่ี 32 เพ่ือนาไปประยุกต์ใชใ้ นการปฏิบัติงานต่อไป

21. กิจกกรม Mentor 3 กวา่ จะถึงวันน้ี
เวลา 19.00 – 20.30 น.

สรุปผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

60

วทิ ยากรหลัก
พ่ีเลี้ยงประจากลุ่ม กว.

ขอบเขตเน้ือหา
กิจกรรม 3 รจู้ กั ชวี ติ ความเปน็ อยู่ของแต่ละคน

ส่ือ/เครอ่ ื งมือ
วธิ กี าร/ขั้นตอน

- พี่เล้ียง ให้ทกุ คนน่ังเป็นวงกลม โดยใชส้ ุนทรยี สนทนา บอกกติกาวา่ พ่ีจะมีลูกบอลอยู่
ในมือถ้าโยนไปให้ใคร เมื่อคนนั้นรบั จะต้องแนะนาตัวเองให้เพ่ือนรูจ้ ักชีวติ ส่วนตัว เช่น บ้านเกิด
สถานศึกษา สถานภาพ ฯลฯ ให้เวลาคนละ 2 นาที คนในวงให้รบั ฟังอย่างตั้งใจโดยไม่ซกั ถาม จากน้ัน
โยนลูกบอลต่อไปให้เพื่อนในวง ทาเชน่ น้ีจนครบทุกคน

- พี่เล้ียง ต้ังประเด็นให้ผู้เข้าอบรมคิดทบทวนว่าชีวติ ของตนเองที่ผ่านมาและที่จะ
ดาเนินต่อไป เปรยี บได้กับอะไร

- ผู้เข้าอบรมคิดทบทวนตามประเด็นแล้ววาดความคิดของตนให้เป็นภาพลงกระดาษ
A4 (5 นาที)

- ให้เจา้ ของภาพ อธบิ ายภาพพรอ้ มเหตุผลให้เพ่ือนฟัง
- พ่ีเล้ียงสรุป ดังน้ี
(1) ทุกคนมีมุมมอง ทัศนะ และความคิดเป็นของตนเอง ซ่ึงได้หล่อหลอมจาก
ประสบการณ์ชีวติ ที่ผ่านมากลายเป็นกรอบความคิด หรอื รูปแบบความคิด แต่อย่าลืมว่ารูปแบบ
ความคิดหรอื กรอบความคิด ย่อมส่งผลต่อชะตาชวี ติ เป็นกฎธรรมชาติ และอิทธพิ ลของกรอบความคิด
มีผลต่อการตัดสินใจ ซงึ่ จะส่งผลถึงชะตาชวี ติ
ดังคาคมของของ Rolph Waldo Emerson ทวี่ ่า
ปลูกความคิด ผลที่ได้คือการกระทา Sow a thought reap an action;
ปลูกการกระทา ผลที่ได้คืออุปนิสัย Sow an action, reap a habit;
ปลูกอุปนิสัย ผลทไี่ ด้คือคุณลักษณะ Sow a habit, reap a character;
ปลูกคุณลักษณะ ผลทีไ่ ด้คือชะตาชวี ติ Sow a character, reap a destiny
- พี่เล้ียง ให้คาแนะนาเพิ่มเติมสาหรบั น้องท่ีมีทัศนะต่อชีวติ ในทางท่ีเป็นลบว่าชวี ติ ยังต้อง
ผ่านประสบการณ์และต้องเรยี นรูช้ ีวติ ความคิดต่าง ๆ ก็ยังปรบั เปลี่ยนได้ “ความคิดเปลี่ยน ชีวติ
เปล่ียน”
- พี่เล้ียง ให้ทุกคนนั่งเป็นวงกลม ใช้ลูกบอลอีกครงั้ ให้น้องผลัดกันเล่าประสบการณ์ หรอื
บทเรยี นในชวี ติ ทีน่ ่าจาจด คนละ 1 เรอ่ ื งๆ ไม่เกิน 3 นาที
- พ่ีเลี้ยงสรุป เติมเต็ม คนทุกคนต่างท่ีมา ต่างพ่อ ต่างแม่ อยู่คนละท่ีล้วนผ่านประสบการณ์
มาบ้าง ทั้งท่ีเป็นเรอ่ ื งดี ไม่ดี แต่ชวี ติ เรม่ ิ ต้นได้ใหม่เสมอ ปัจจุบันน้องคือ พัฒนาชุมชน เป็นข้าราชการ
ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขอให้ใช้ประสบการณ์มาเป็นบทเรยี นในการทางานเพื่อการเป็น
ข้าราชการที่ดี / มีใครอยากพูดอะไรอีก หรอื เพิ่มเติม ขอลูกบอลจากพี่เล้ียงได้อีก

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

61

วนั ท่ี 19 ธนั วาคม 2564
เวลา 05.30 – 06.30 น. สุขภาพนักพัฒนา
เวลา 08.00 – 08.30 น. กิจกรรมหน้าเสาธง
เวลา 08.30 – 09.00 น. กิจกรรมหน้าชน้ั เรยี น / กล่าวนาทศั นะ

สรุปผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

62

22. กิจกรรม “ปณิธานนักพฒั นา”

เวลา 13.00 – 15.00 น.

วทิ ยากรหลัก

นางขวัญตา พ่วงทอง ผู้ชว่ ยผู้อานวยการศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุร ี

การสรา้ งแรงบันดาลใจ และสรา้ งความตระหนักในภารกิจหน้าที่ของข้าราชการในฐานะ

นักพัฒนาชุมชนด้วยการขัดกิจกรรม “ต้ังปณิธานรว่ มกันทาความดีของนักพัฒนาชุมชน รุน่ ที่ 32”

ในการเปน็ ข้าราชการทดี่ ีแสดงเจตจานงอันแน่วแน่ในการดารงตนเปน็ ข้ารบั ใชแ้ ผ่นดินต่อไป

ถ่ายภาพรว่ มกัน และเข้าสู่พิธปี ดิ ต่อไป

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

23. พิธปี ดิ ภาคฝึกปฏิบัติ 63
เวลา 15.00 – 17.00 น.
ผู้อานวยการศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุร ี
วทิ ยากรหลัก และคณะวทิ ยากรของศูนย์ศึกษาและพัฒนา
นางวาสนา ไขวพ้ ันธุ์ ชุมชนเพชรบุร ี

สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

64

ส่วนที่ 3

การประเมินผลโครงการ
กรมการพัฒนาชุมชน โดยสถาบันการพัฒนาชุมชน ได้มอบหมายให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน

เพชรบุร ี ดาเนินการฝึกอบตามโครงการฝึกอบรม หลักสูตรนักพัฒนาชุมชน รุน่ ที่ 32 ซง่ึ เป็นหลักสูตรความ
รว่ มมือระหว่างกรมส่งเสรมิ การปกครองส่วนท้องถ่ิน กรมการพัฒนาชุมชน และมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
หลักสูตรนี้จดั ข้ึนเพ่ือให้ผู้ดารงตาแหน่งนักพัฒนาชุมชน เป็นผู้มีสมรรถนะสูงในการทางานให้กับองค์กร และ
สามารถทาหน้าท่ีเป็นกลไกขับเคลื่อนงานพัฒนาชุมชนและยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ จานวน 1 รุน่
ระยะเวลา 10 วัน ระหว่างวันที่ 11 -20 ธนั วาคม 2564 ณ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเพชบุร ี อาเภอชะอา
จงั หวัดเพชรบุร ีจานวน 40 คน แบง่ ออกเปน็ นักพัฒนาชุมชนปฏิบัติการ 23 คน และนักพัฒนาชุมชนชานาญ
การ 17 คน

3.1 รปู แบบและวธิ กี ารประเมิน
การประเมินผลโครงการฝึกอบรม หลักสูตรนักพัฒนาชุมชน รุน่ ท่ี 32 ครงั้ นี้ ผู้ประเมินได้ประเมิน

โดยยึดจุดมุ่งหมาย (Gold Based Model) การประเมินในรูปแบบนี้ เป็นการประเมินผล โดยใช้แบบ
ประเมินผลออนไลน์ ให้ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมเขาไปประเมินผลเองโดยตรง การประเมินผลในรูปแบบนี้เป็น
การประเมินผลโดยยดึ วัตถปุ ระสงค์ของโครงการครอบคลุมถึงด้านเนื้อหาวชิ าการ ความรคู้ วามเข้าใจก่อนและ
หลังการฝึกอบรม วทิ ยากร หลักสูตร สื่อประกอบการเรยี นรู้ บรรยากาศการเรยี นรู้ อาคารสถานที่ ความ
เหมาะสมของอาหารและเครอ่ ื งด่ืม ประโยชน์ท่ีได้รบั จากการฝึกอบรม และข้อเสนอแนะ วธิ กี ารประเมินได้
กล่าวถึงวธิ กี ารและอุปกรณ์ แนวคิดในการวเิ คราะห์ กลุ่มเป้าหมาย เครอ่ ื งมือที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล
การวเิ คราะห์ข้อมูล และสถิติในการวเิ คราะห์ข้อมูล แบง่ ออกเปน็ 4 ส่วน พอสรปุ ได้ดังนี้
ส่ วนท่ี 1 ข้ อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 40 คน เป็นคาถามปลาปิด ประกอบด้วย
เพศ ตาแหน่ง อายุ และวฒุ ิการศึกษาชนั้ สูงสุด

ส่วนท่ี 2 ความคิดเห็นต่อโครงการ
2.1 การบรรลุวัตถปุ ระสงค์ของโครงการ
2.2 ความเข้าใจและทกั ษะก่อนฝกึ อบรม
2.3 ความรคู้ วามเข้าใจหลังฝกึ อบรม
2.4 ประโยชน์ของหัวข้อวชิ าต่อการนาความรไู้ ปปรบั ใชใ้ นการปฏิบัติงาน
2.5 ความพึงพอใจต่อภาพรวมโครงการ
2.5.1 ด้านวทิ ยากร
2.5.2 ด้านเจา้ หน้าที่บรกิ าร
2.5.3 ด้านสถานทแี่ ละส่ิงอานวยความสะดวก
2.5.4 ด้านคุณภาพ

ส่วนท่ี 3 กรมการพัฒนาชุมชนควรเพ่ิมเติมความรเู้ รอ่ ื งใด หรอื ฝกึ ทกั ษะด้านใดให้แก่ท่าน
เพ่ือประโยชน์ในการปฏิบตั ิงาน นอกเหนือจากที่ท่านได้รบั จากการฝกึ อบรมหลักสูตรนี้

ส่วนที่ 4 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ
ในการประเมินมีลักษณะเป็นมาตราประมาณค่า (Rating Scales) และกาหนดค่าความห่างของชว่ งชนั้ โดยใช้
สูตร
การหาอันตรภาคชน้ั ได้กาหนดค่าเกณฑ์การประเมิน 1 เกณฑ์ ดังน้ี

สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

65

ค่าเกณฑ์การประเมิน มากท่ีสุด
5= มาก
4= ปานกลาง
3= น้อย
2= น้อยทส่ี ุด
1=

เกณฑ์การวัดผล มากที่สุด
ได้กาหนดเกณฑ์การวดั ผล 5 ระดับ ดังนี้ ดีมาก
ค่าคะแนนเฉลี่ย 4.51 - 5.00

ค่าคะแนนเฉลี่ย 3.51 - 4.50

ค่าคะแนนเฉลี่ย 2.51 - 3.50 ปานกลาง

ค่าคะแนนเฉล่ีย 1.51 - 2.50 น้อย

ค่าคะแนนเฉล่ีย 1.00 - 1.50 น้อยทสี่ ุด

3.2 การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูล โดยผู้ข้ารว่ มโครงการฝึกอบรม หลักสูตรนักพัฒนาชุมชน รนุ่ ที่ 32 ตอบแบบ

ประเมินออนไลน์ เมื่อจบโครงการ โดยผู้ดูแลระบบการประเมินผลออนไลน์ จดั ส่งแบบประเมินเข้าไปในกลุ่ม
ของผู้เข้ารบั การฝึกอบรม เพ่ือให้ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมได้เข้าไปประเมินผลและส่งผลให้ผู้บรหิ าร และ
ผู้รบั ผิดชอบโครงการฯ ทราบทันที แล้วนามาแปรผลเพ่ือจัดทารายงานผล ส่งสถาบันการพัฒนาเบ้ืองต้น
และจดั ทาเอกสารรายงานผลการฝกึ อบรมต่อไป
3.3 การวเิ คราะห์ข้อมูล

สถิติท่ีใชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมลู ดาเนินการวเิ คราะห์ข้อมูลด้วยเครอ่ ื งคอมพิวเตอร์ โดยใชโ้ ปรแกรม
SPSS for Windows (Statistical Package for the Social Sciences) วเิ คราะห์หาค่ารอ้ ยละ ค่าเฉล่ีย
ทัง้ นี้
ผู้ประเมินได้กาหนดคะแนนเพ่ือจดั หาระดับความเห็นในแต่ละคาถาม ดังน้ี

3.4 เกณฑ์การประเมินผล แบง่ ออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้

ค่าเฉลี่ย ความหมาย

4.51 – 5.00 มากท่สี ุด/พอใจมากท่ีสุด

3.51 – 4.50 ดีมาก /พอใจมาก

2.51 – 3.50 ปานกลาง /พอใจปานกลาง

1.51 – 2.50 น้อย /ไมพ่ อใจ

1.00 – 1.50 น้อยทสี่ ุด /ไม่พอใจมาก

สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

66

3.5 ผลการประเมิน
โครงการฝกึ อบรม หลกั สูตรนักพัฒนาชุมชน รนุ่ ท่ี 32 จานวน 1 รนุ่ ระยะเวลา 10 วัน ระหว่างวนั ที่

11 -20 ธนั วาคม 2564 ณ ศูนย์ศึกษาและพฒั นาชุมชนเพชบุร ีจานวน 40 คน แบ่งออกเปน็ นักพฒั นา
ชุมชนปฏิบตั ิการ 23 คน และนักพัฒนาชุมชนชานาญการ 17 คน ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ดังนี้

ส่วนที่ 1 การประเมินผลโครงการ
ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่วั ไป จาแนกตามปจั จยั ส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ ตาแหนง่ อายุ วฒุ ิการศึกษา

ตารางท่ี 1 แสดงข้อมูลทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ดังนี้
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป (จานวนผู้ตอบแบบประเมิน 40 คน)

ส่วนที่ 1 ข้อมูลท่วั ไป

ประเด็น จานวน รอ้ ยละ

1) เพศ

- ชาย 10 25.00

- หญิง 30 75.00

2) ตาแหน่ง

- นักพัฒนาชุมชนปฏิบตั ิการ 23 57.50

- นักพัฒนาชุมชนชานาญการ 17 42.50

3) อายุ 0 0.00
- ตา่ กว่า 25 ปี 3 7.50
- ชว่ งอายุ 25-30 ปี 18 45.00
- ชว่ งอายุ 31-40 ปี 18 45.00
- ชว่ งอายุ 41-50 ปี 1 2.50
- อายุ 51 ปขี ึ้นไป
4) วฒุ ิการศึกษา 20 50.00
- ปรญิ ญาตร ี 20 50.00
- สูงกวา่ ปรญิ ญาตร ี

จากตารางท่ี 1 พบว่า ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมท้ังหมดจานวน 40 คน ตอบแบบสอบถามออนไลน์ คิด
เป็นรอ้ ยล่ะ 100 แบ่งเป็นชาย จานวน 10 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 25.00 และหญิง จานวน 30 คน คิดเปน็ รอ้ ย
ละ 75.00

ข้อมูลตาแหน่ง โดยส่วนใหญ่มีตาแหน่งนักพัฒนาชุมชนปฏิบัติการ จานวน 23 คน คิดเป็นรอ้ ยละ
57.50 ตาแหน่งนักพัฒนาชุมชนชานาญการ จานวน 30 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 42.50

สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

67

ข้อมูลอายุ โดยส่วนใหญ่มีชว่ งอายุ 41-50 ปี จานวน 18 คน และชว่ งอายุ 31-40 ปี คิดเป็นรอ้ ยละ
45.00 รองลงมาชว่ งอายุ 25-30 ปี จานวน 3 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 7.50 และอายุ 51 ปีข้ึนไป จานวน 1 คน
คิดเป็นรอ้ ยล่ะ 2.50 ข้อมูลวุฒิการศึกษาสูงสุด พบว่าจบการศึกษาระดับปรญิ ญาตร ี จานวน 20 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 50.00 และสูงกว่าระดับปรญิ ญาตร ีจานวน 20 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 50.00 ตามลาดับ

ส่วนที่ 2 ความคิดเห็นต่อโครงการ

2.1 การบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ (จานวนผู้ตอบแบบประเมิน 40 คน)

มากทีส่ ุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยท่ีสุด คา่ เฉลย่ี แปล
ความ
วัตถุประสงค์
รอ้ ย รอ้ ย
จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ละ จานวน ละ จานวน รอ้ ยละ

1. มีความรคู้ วาม

เขา้ ใจและทักษะ

การเป็นวทิ ยากร

กระบวนการ

สามารถใชเ้ ครอื ง 24 60.00 14 35.00 2 5.00 0 0.00 0 0.00 4.55 มาก
มอื สง่ เสรมิ การ ที่สุด

เรยี นรแู้ ละการมี

ส่วนรว่ มของ

ชุมชนได้อยา่ งมี

ประสิทธภิ าพ

2.ฝึกปฏิบตั ิการ

ใชเ้ ทคนิคและ

เครอ่ ื งมอื ส่งเสรมิ

ในพื้นที่เป้าหมาย

เพื่อเพิม่ พูล 23 57.50 15 37.50 2 5.00 0 0.00 0 0.00 4.53 มาก
ทกั ษะ ทส่ี ุด
ประสบการณก์ าร

ปฏิบตั ิงานใน

บทบาทผ้เู อื้อ

อานวยการ

พัฒนา

รวมค่าเฉลี่ย 4.54 มาก
ทส่ี ุด

จากตารางที่ 2.1 พบว่า ผลการบรรลุวัตถปุ ระสงค์ของโครงการจากการตอบแบบสอบถามพบวา่ ผู้เข้าอบรมที่
ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีระดับการบรรลุวัตถุประสงค์อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าคะแนนเฉล่ีย 4.54 อยู่ในระดับ
มากท่ีสุด โดยแบ่งเป็น 1) มีความรูค้ วามเข้าใจและทักษะการเป็นวทิ ยากรกระบวนการสามารถใชเ้ คร่อื งมือส่งเสรมิ
การเรยี นรูแ้ ละการมีส่วนรว่ มของชุมชนได้อย่างมีประสิทธภิ าพ มีค่าคะแนนเฉล่ีย 4.55 อยู่ในระดับมากที่สุด 2)ฝึก
ปฏิบัติการใชเ้ ทคนิคและเครอ่ ื งมือส่งเสรมิ ในพ้ืนท่ีเป้าหมาย เพ่ือเพ่ิมพูนทักษะประสบการณ์การปฏิบัติงานในบทบาท
ผู้เอ้ืออานวยการพัฒนา ม่ีค่าคะแนนเฉล่ีย 4.53 อยู่ในระดับมากท่สี ุด ตามลาดับ

สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

68

ส่วนท่ี 2 ความคิดเห็นต่อโครงการ
2.2.1 ความรคู้ วามเข้าใจและทกั ษะก่อนฝกึ อบรม (จานวนผู้ตอบแบบประเมิน 40 คน)

มากท่สี ุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยทส่ี ุด แปล
จานวน รอ้ ยละ ความ
หัวข้อวชิ า ค่าเฉลีย่

จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ

1.ทกั ษะการ 8 20.00 8 20.00 17 42.50 5 12.50 2 5.00 3.38 ปาน
พูดในทช่ี ุมชน 5 15.00 3 กลาง
2.กิจกรรม 6
กลุ่มสัมพันธ์ 6 12.50 12 30.00 14 35.00 6 7.50 3.25 ปาน
(เวยี นฐาน กลาง
เรยี นร)ู้ 6
3.การพฒั นา 8 15.00 11 27.50 15 37.50 5 12.50 3 7.50 3.30 ปาน
ชุมชนในบรบิ ท กลาง
สถานการณ์
เปลย่ี นแปลง 15.00 10 25.00 16 40.00 8 20.00 0 0.00 3.35 ปาน
4.วทิ ยากร กลาง
กระบวนการ
และทกั ษะการ 15.00 10 25.00 16 40.00 8 20.00 0 0.00 3.35 ปาน
ใชเ้ ครอ่ ื งมือ กลาง
สง่ เสรมิ การมี
ส่วนรว่ มชุมชน 20.00 8 20.00 17 42.50 7 17.50 0 0.00 3.43 ปาน
5.การวางแผน 15.00 9 22.50 16 40.00 8 20.00 1 2.50 3.28 กลาง
กลยทุ ธแ์ ละ 20.00 0 0.00 3.38 ปาน
เทคนิคการ กลาง
เขยี นโครงการ 12.50 1
ท่ีมี ปาน
ประสิทธภิ าพ 12.50 1 กลาง
6.คณุ ลกั ษณะ 20.00 0
ผนู้ า

7.เวทีเสวนา 6

8.นักพฒั นา 7 17.50 9 22.50 16 40.00 8
ผูน้ าการ 6
เปลยี่ นแปลง 6 15.00 11 27.50 17 42.50 5 2.50 3.40 ปาน
9.สัมมนา 7 กลาง
แลกเปล่ียน
เรยี นรู้ 15.00 10 25.00 18 45.00 5 2.50 3.38 ปาน
10.ถอด 0.00 3.45 กลาง
บทเรยี นการ 17.50 12 30.00 13 32.50 8
เรยี นรภู้ าพรวม 3.36 ปาน
11.ปณธิ าน กลาง
นักพัฒนา
ปาน
รวมคา่ เฉล่ีย กลาง

สรุปผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

69

จากตาราง 2.2.1 พบว่า ผลการประเมินความรู้ ความเข้าใจในเน้ือหาวชิ าและทักษะ (ก่อนการฝกึ อบรม)
ค่าคะแนนเฉล่ีย 3.36 อยู่ในระดับปานกลาง โดยมีกิจกรรมปณิธานนักพัฒนา มีค่าคะแนนเฉลี่ย 3.45 อยู่ใน
ระดับปานกลาง รองลงมาวชิ าสัมมนาแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ มีค่าคะแนนเฉล่ีย 3.40 อยู่ในระดับปานกลาง วชิ าถอด
บทเรยี นการเรยี นรภู้ าพรวม มีค่าคะแนนเฉล่ีย 3.38 อยู่ในระดับปานกลาง วชิ าคุณลักษณะผู้นามีค่าคะแนนเฉลยี่
3.43 อยู่ในระดับ ปานกลาง ทักษะการพูดในท่ีชุมชน มีค่าคะแนนเฉลี่ย 3.38 อยู่ในระดับ ปานกลาง วชิ า
นักพัฒนาผู้นาการเปลี่ยนแปลง มีค่าคะแนนเฉลี่ย 3.38 อยู่ในระดับปานกลาง วชิ าสัมมนาแลกเปล่ียนเรยี นรู้ มี
ค่าคะแนนเฉล่ีย 3.35 อยู่ในระดับปานกลาง วชิ าการวางแผนกลยุทธ์และเทคนิคการเขียนโครงการที่มี
ประสิทธภิ าพ ค่าคะแนนเฉล่ีย 3.35 อยู่ในระดับ ปานกลาง วชิ าวทิ ยากรกระบวนการและทักษะการใช้
เครอ่ ื งมือส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ มชุมชน มีค่าคะแนนเฉล่ีย 3.35 อยู่ในระดับปานกลาง วชิ าการพัฒนาชุมชนใน
บรบิ ทสถานการณ์เปลี่ยนแปลง มีค่าคะแนนเฉล่ีย 3.30 อยู่ในระดับปานกลาง วชิ าเวทีเสวนา มีค่าคะแนนเฉล่ีย
3.28 อยู่ในระดับปานกลาง และกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ (เวยี นฐานเรยี นรู)้ มีค่าคะแนนเฉล่ีย 3.25 อยู่ในระดับ
ปานกลาง ตามลาดับ

ส่วนท่ี 2 ความคิดเห็นต่อโครงการ
2.2.2 ความรคู้ วามเข้าใจและทกั ษะหลังฝกึ อบรม (จานวนผู้ตอบแบบประเมิน 40 คน)

หัวข้อวชิ า มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด คา่ เฉลี่ย แปลความ
จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ

1.ทกั ษะการ 34 85.00 6 15.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 4.85 มากทส่ี ุด
พดู ในที่ 29 72.50 11 27.50 0 0.00 0
ชุมชน 29 72.50 10 25.00 1 2.50 0 0.00 0 0.00 4.73 มากทีส่ ุด
2.กิจกรรม
กลมุ่ สัมพันธ์ 30 75.00 10 25.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 4.70 มากทส่ี ุด
(เวยี นฐาน
เรยี นร)ู้ 29 72.50 11 27.50 0 0.00 0 0.00 0 0.00 4.75 มากทีส่ ุด
3.การพัฒนา
ชุมชนใน 0.00 0 0.00 4.73 มากทสี่ ุด
บรบิ ท
สถานการณ์
เปลี่ยนแปลง
4.วทิ ยากร
กระบวนการ
และทักษะ
การใช้
เครอ่ ื งมือ
สง่ เสรมิ การ
มสี ่วนรว่ ม
ชุมชน
5.การ
วางแผนกล
ยุทธแ์ ละ
เทคนิคการ
เขียน

สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

70

โครงการทม่ี ี
ประสิทธภิ าพ

6. 33 82.50 7 17.50 0 0.00 0 0.00 0 0.00 4.83 มากที่สุด
คณุ ลกั ษณะ 4.73 มากทส่ี ุด
ผู้นา 4.68 มากที่สุด
4.78 มากที่สุด
7.เวทีเสวนา 30 75.00 9 22.50 1 2.50 0 0.00 0 0.00
4.70 มากทสี่ ุด
8.นักพัฒนา 28 70.00 11 27.50 1 2.50 0 0.00 0 0.00
ผู้นาการ 31 77.50 9 22.50 0 0.00 คา่ เฉลี่ย แปลความ
เปลยี่ นแปลง 29 72.50 10 25.00 1 2.50 0 0.00 0 0.00 4.65 มากท่ีสุด
9.สัมมนา 4.74 มากท่สี ุด
แลกเปล่ยี น 0 0.00 0 0.00
เรยี นรู้
10.ถอด
บทเรยี นการ
เรยี นรู้
ภาพรวม

มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยท่ีสุด
จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ
หัวข้อวชิ า

จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ

11.ปณิธาน 28 70.00 10 25.00 2 5.00 0 0.00 0 0.00
นักพัฒนา

ค่าเฉลย่ี รวม

จากตารางที่ 2.2.2 พบว่า ผลการประเมินความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาวชิ าและทักษะ (หลังการ
ฝึกอบรม) ค่าคะแนนเฉล่ีย 4.74 อยู่ในระดับมากท่ีสุด โดยมีวชิ าทักษะการพูดในที่ชุมชน มีค่าคะแนนเฉล่ีย
4.85 อยูใ่ นระดับมากทีส่ ุด วชิ าคุณลักษณะผู้นามีค่าคะแนนเฉล่ีย 4.83 อยู่ในระดับมากท่ีสุด กิจกรรมสัมมนา
แลกเปล่ียนเรยี นรู้ มีค่าคะแนนเฉล่ีย 4.78 อยู่ในระดับมากที่สุด วชิ าวทิ ยากรกระบวนการและทักษะการใช้
เครอ่ ื งมือส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ มชุมชน มีค่าคะแนนเฉลี่ย 4.75 อยู่ในระดับมากที่สุด กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
(เวยี นฐานเรยี นรู)้ มีค่าคะแนนเฉล่ีย 4.73อยู่ในระดับมากท่ีสุด วชิ าการวางแผนกลยุทธแ์ ละเทคนิคการเขียน
โครงการที่มีประสิทธภิ าพ มีค่าคะแนนเฉล่ีย 4.73 อยู่ในระดับมากที่สุด วชิ าเวทีเสวนา มีค่าคะแนนเฉล่ีย
4.73 อยู่ในระดับมากที่สุด วชิ าการพัฒนาชุมชนในบรบิ ทสถานการณ์เปลี่ยนแปลง ค่าคะแนนเฉลี่ย 4.70
อยู่ในระดับมากท่ีสุด วชิ าถอดบทเรยี นการเรยี นรูภ้ าพรวมการ มีค่าคะแนนเฉล่ีย 4.70 อยู่ในระดับมากท่ีสุด
และวชิ าปณิธานนักพัฒนา มีค่าคะแนนเฉล่ีย 4.65 อยูใ่ นระดับมากทสี่ ุด ตามลาดับ

2.3 ประโยชน์ของหัวข้อวชิ าต่อการนาความรไู้ ปปรบั ใชใ้ นการปฏิบัติงาน

มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยทสี่ ุด คา่ เฉล่ี แปล
ย ควา
หัวข้อวชิ า จานว จานว รอ้ ย จานว รอ้ ย รอ้ ย จานว รอ้ ย ม
น น ละ น ละ ละ น ละ
รอ้ ยละ จานวน

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

71

1.ทักษะการ 15.0 มาก
0 ที่สุด
พูดในท่ี 34 85.00 6 0 0.00 0 0.00 0 0.00 4.85

ชุมชน

2.กิจกรรม

กลุ่มสัมพันธ์ 29 72.50 11 27.5 0 0.00 0 0.00 0 0.00 4.73 มาก
(เวยี นฐาน 0 ทส่ี ุด

เรยี นร)ู้

3.การพฒั นา

ชุมชนใน

บรบิ ท 29 72.50 10 25.0 1 2.50 0 0.00 0 0.00 4.70 มาก
สถานการณ์ 0 ทส่ี ุด

เปล่ยี นแปล



4.วทิ ยากร

กระบวนการ

และทักษะ

การใช้ 30 75.00 10 25.0 0 0.00 0 0.00 0 0.00 4.75 มาก
เครอ่ ื งมือ 0 ทส่ี ุด

ส่งเสรมิ การ

มสี ่วนรว่ ม

ชุมชน

5.การ

วางแผนกล

ยุทธแ์ ละ

เทคนิคการ 29 72.50 11 27.5 0 0.00 0 0.00 0 0.00 4.73 มาก
เขยี น 0 ท่สี ุด

โครงการทมี่ ี

ประสิทธภิ า



มากท่ีสุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยท่สี ุด แปล
จานวน รอ้ ยละ ควา
หัวข้อวชิ า คา่ เฉล่ี ม

จานว จานว จานว รอ้ ย รอ้ ย
น รอ้ ยละ น รอ้ ยละ น ละ จานวน ละ

6. 33 82.50 7 17.5 0 0.00 0 0.00 0 0.00 4.83 มาก
คณุ ลกั ษณะ 0 ท่สี ุด
ผู้นา

7.เวทเี สวนา 30 75.00 9 22.5 1 2.50 0 0.00 0 0.00 4.73 มาก
0 ทส่ี ุด

8.นักพฒั นา

ผูน้ าการ 28 70.00 11 27.5 1 2.50 0 0.00 0 0.00 4.68 มาก
เปลีย่ นแปล 0 ทส่ี ุด



9.สัมมนา 31 77.50 9 22.5 0 0.00 0 0.00 0 0.00 4.78 มาก
แลกเปลยี่ น 0 ที่สุด
เรยี นรู้

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

72

10.ถอด

บทเรยี นการ 29 72.50 10 25.0 1 2.50 0 0.00 0 0.00 4.70 มาก
เรยี นรู้ 0 ที่สุด

ภาพรวม

11.ปณิธาน 28 70.00 10 25.0 2 5.00 0 0.00 0 0.00 4.65 มาก
นักพฒั นา 0 ท่ีสุด

คา่ เฉลย่ี รวม 4.74 มาก
ที่สุด

จากตารางท่ี 2.3 พบว่า ประโยชน์ของหัวข้อวชิ าต่อการนาความรูไ้ ปปรบั ใช้ในการปฏิบัติงาน มีค่า

คะแนนเฉลี่ย 4.74 อยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีวชิ าทักษะการพูดในทชี่ ุมชน มีค่าคะแนนเฉลี่ย 4.85 อยู่ในระดับ

มากท่ีสุด รองลงมาวชิ าทักษะการพูดในที่ชุมชน มีค่าระดับคะแนน 4.83 อยู่ในระดับมากที่สุด กิจกรรมสัมมนา

แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ มีค่าคะแนนเฉลี่ย 4.78 อยู่ในระดับมากที่สุด วชิ าวทิ ยากรกระบวนการและทักษะการใช้

เครอ่ ื งมือส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ มชุมชน มีค่าระดับคะแนน 4.75 อยู่ในระดับมากท่ีสุด กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ (เวยี น

ฐานเรยี นร)ู้ มีค่าระดับคะแนน 4.73 อยูใ่ นระดับมากท่สี ุด วชิ าการวางแผนกลยุทธแ์ ละเทคนิคการเขียนโครงการ

ที่มีประสิทธภิ าพ มีค่าคะแนนเฉล่ีย 4.73 อยู่ในระดับมากที่สุด กิจกรรมเวทีเสวนา มีค่าคะแนนเฉล่ีย 4.73 อยู่

ในระดับมากที่สุด วชิ าการพัฒนาชุมชนในบรบิ ทสถานการณ์เปล่ียนแปลง มีค่าระดับคะแนน 4.70 อยู่ในระดับ

มากท่ีสุด วชิ าถอดบทเรยี นการเรยี นรูภ้ าพรวม มีค่าคะแนนเฉล่ีย 4.70 อยู่ในระดับมากที่สุด วชิ านักพัฒนาผู้นา

การเปลี่ยนแปลง มีค่าระดับคะแนน 4.68 อยู่ในระดับมากที่สุด และวชิ าปณิธานนักพัฒนา มีค่าระดับคะแนน

4.65 อยูใ่ นระดับมากที่สุด ตามลาดับ

2.4 ความพึงพอใจด้านการบรหิ ารโครงการ

มากทส่ี ุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยทสี่ ุด คา่ เฉลี่ แปล
ย ความ
รายละเอียด จานว จานว จานว จานว
น น น น 4.63 มาก
รอ้ ยละ รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ 4.33 ท่ีสุด

2.4.1 กระบวนการ ขน้ั ตอนการให้บรกิ าร (ของหน่วยงานท่ีจดั : ศพช.เพชรบุร)ี ดีมาก

1. ความ 26 65.0 13 32.5 1 2.50 0 0.00 0 0.00
เหมาะสมของ 0 0
สถานท่ี

2. ความ 16 40.0 21 52.5 3 7.50 0 0.00 0 0.00
เหมาะสมของ 0 0
ระยะเวลา

รายละเอยี ด มากทส่ี ุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยทส่ี ุด ค่าเฉล่ี แปล
ย ความ
3. ความ จานว รอ้ ยละ จานว รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานว รอ้ ยละ จานว รอ้ ยละ ดีมาก
เหมาะสมของ น น น น 4.28
ชว่ งเวลา ดีมาก
4. การ 16 40.0 19 47.5 5 12.50 0 0.00 0 0.00 4.50
จดั ลาดับ 0 0
ขน้ั ตอนของ
การจดั 22 55.0 16 40.0 2 5.00 0 0.00 0 0.00
กิจกรรม 0 0

คา่ เฉล่ยี รวม 4.43 ดีมาก

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

73

2.4.2 วทิ ยากร (ของหน่วยงานท่จี ดั : ศพช.เพชรบุร)ี

1. ความรอบรู้ 29 72.5 11 27.5 0 0.00 0 0.00 0 0.00 4.73 มาก
ในเน้ือหาของ 29 0 0 ท่สี ุด
วทิ ยากร 30
2. 29 72.5 10 25.0 1 2.50 0 0.00 0 0.00 4.70 มาก
ความสามารถ 0 0 ที่สุด
ในการ
ถ่ายทอด 75.0 10 25.0 0 0.00 0 0.00 0 0.00 4.75 มาก
ความรู้ 0 0 ที่สุด
3. การเปิด
โอกาสให้ 72.5 9 22.5 2 5.00 0 0.00 0 0.00 4.68 มาก
ซกั ถามแสดง 0 0 ทส่ี ุด
ความคดิ เห็น
4. การสรา้ ง
บรรยากาศ
การเรยี นรู้

คา่ เฉลย่ี รวม 4.71 มาก
ท่สี ุด

2.4.3 เจา้ หน้าทผ่ี ู้ให้บรกิ าร/ผปู้ ระสานงาน (ของหน่วยงานทีจ่ ดั : ศพช.เพชรบุร)ี

1. การแต่ง 33 82.5 6 15.0 1 2.50 0 0.00 0 0.00 4.80 มาก
กาย 0 8 0 0 0.00 0 0.00 4.80 ที่สุด
2. ความ 8 0 0.00 0 0.00 4.80 มาก
สุภาพ 32 80.0 8 20.0 0 0.00 0 0.00 0 0.00 4.75 ที่สุด
3. การตอบ 0 0 4.79 มาก
คาถาม ที่สุด
4. การ 32 80.0 20.0 0 0.00 มาก
ประสานงาน 0 0 ทส่ี ุด
มาก
31 77.5 20.0 1 2.50 ท่สี ุด
0 0

ค่าเฉล่ยี รวม

2.4.4 การอานวยความสะดวก (ของหน่วยงานที่จดั : ศพช.เพชรบุร ี และจุดดาเนินการ)

1. เอกสาร 20 50.0 18 45.0 2 5.00 0 0.00 0 0.00 4.45 มาก
และส่ือ 26 0 0 ที่สุด
ประกอบการ
อบรม 65.0 14 35.0 0 0.00 0 0.00 0 0.00 4.65 มาก
2. 0 0 ทส่ี ุด
โสตทศั นปู กร
ณ์ (การ
ส่ือสาร ระบบ
สัญญาณภาพ
และเสียง)

มากทสี่ ุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยท่ีสุด คา่ เฉล่ี แปล

รายละเอียด จานว จานว จานว จานว ย ความ
น น น น
รอ้ ยละ รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

74

3. เจา้ หน้าที่ 30 75.0 9 22.5 1 2.50 0 0.00 0 0.00 4.73 มาก
สนับสนุน 26 0 0 2.50 0 0.00 0 ที่สุด
(จนท.
โครงการ) 65.0 13 32.5 1 0.00 4.63 มาก
4. ความ 0 0 4.61 ท่ีสุด
คมุ้ ค่าของการ
ฝึกอบรม มาก
ทส่ี ุด
คา่ เฉลยี่ รวม

2.4.5 คุณภาพการให้บรกิ าร (ของหน่วยงานท่จี ดั : ศพช.เพชรบุร)ี

1. ทา่ นได้รบั

ความรู้

แนวคิด

ทักษะและ 33 82.5 7 17.5 0 0.00 0 0.00 0 0.00 4.83 มาก
ประสบการณ์ 0 0 ทส่ี ุด

ใหม่ๆจาก

โครงการ/

กิจกรรมนี้

2.ทา่ น

สามารถนาสิ่ง

ทไ่ี ด้รบั จาก

โครงการ/ 33 82.5 6 15.0 1 2.50 0 0.00 0 0.00 4.80 มาก
กิจกรรมน้ีไป 0 0 ที่สุด

ใชใ้ นการ

เรยี น/

3. สิ่งทีท่ า่ น

ได้รบั จาก

โครงการ/

กิจกรรมครง้ั

นี้ตรงตาม 29 72.5 10 25.0 1 2.50 0 0.00 0 0.00 4.70 มาก
ความ 0 0 ทส่ี ุด

คาดหวงั ของ

ทา่ นหรอื ไม่

4. สัดส่วน

ระหวา่ ง

ฝึกอบรม

ภาคทฤษฎี

กับ 26 65.0 14 35.0 0 0.00 0 0.00 0 0.00 4.65 มาก
ภาคปฏิบตั ิ มี 0 0 ทีส่ ุด

ความ

เหมาะสม

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

75

5.ประโยชน์ที่

ทา่ นได้รบั จาก

โครงการ/ 34 85.0 6 15.0 0 0.00 0 0.00 0 0.00 4.85 มาก
กิจกรรม 0 0 ท่ีสุด

ค่าเฉลี่ยรวม 4.77 มาก
ท่ีสุด

2.4.6 ความพึงพอใจของท่านต่อภาพรวมของโครงการ

1. ความพึง

พอใจของ 28 70.0 12 30.0 0 0.00 0 0.00 0 0.00 4.70 มาก
ท่านต่อ 0 0 ทีส่ ุด
ภาพรวมของ

โครงการ

ค่าเฉล่ียรวม 4.70 มาก
ท่สี ุด

จากตารงที่ 2.4 ความพึงพอใจด้านการบรหิ ารโครงการ พบว่า ความพึงพอใจต่อการบรหิ ารโครงการ

4 ด้าน กับ 1 ความพึงพอใจภาพรวมของโครงการ ดังนี้

1.กระบวนการ ข้ันตอนการให้บรกิ าร (ของหน่วยงานที่จดั : ศพช.เพชรบุร)ี

ความเหมาะสมของสถานท่ี ความเหมาะสมของระยะเวลา ความเหมาะสมของช่วงเวลา และการ

จดั ลาดับขั้นตอนของการจดั กิจกรรม คะแนนเฉล่ียรวม 4.43 อยูใ่ นระดับดีมาก

2. วทิ ยากร (ของหน่วยงานทจี่ ดั : ศพช.เพชรบุร)ี

ความรอบรู้ ในเนื้อหาของวทิ ยากร, ความสามารถในการถ่ายทอดความรู,้ การเปิดโอกาศให้ซกั ถาม

แสดงความคิดเห็น และการสรา้ งบรรยากาศการเรยี นรู้ มีค่าคะแนนเฉล่ียรวม 4.71 อยูใ่ นระดับมากท่สี ุด

3. เจา้ หน้าท่ีผู้ให้บรกิ าร/ผู้ประสานงาน: (ของหน่วยงานทจ่ี ดั ศพช.เพชรบุร)ี

การแต่งกาย ความสุภาพ การตอบคาถาม และการประสานงาน มีค่าคะแนนเฉล่ีย 4.79 อยู่ในระดับ

มากทสี่ ุด

4. การอานวยความสะดวก (ของหน่วยงานทจ่ี ดั : ศพช.เพชรบุร ีและจุดดาเนินการ)

เอกสาร และสื่อประกอบการอบรม โสตทัศนูปกรณ์ (การสื่อสาร ระบบสัญญาณภาพและเสียง)

เจา้ หน้าท่ีสนับสนนุ (จนท.โครงการ ) ความค้มุ ค่าของการฝึกอบรม มีค่าคะแนนเฉลี่ย 4.61 อยู่ในระดับมากที่สุด

5 คุณภาพการให้บรกิ าร (ของหน่วยงานที่จดั : ศพช.เพชรบุร)ี

ได้รบั ความรู้ แนวคิด ทักษะและประสบการณ์ใหม่ๆจากโครงการ/กิจกรรมน้ี สามารถนาส่ิงท่ีได้รบั จาก

โครงการกิจกรรมนี้ไปใชใ้ นการเรยี น ส่ิงท่ีท่านได้รบั จากโครงการ/กิจกรรมครงั้ น้ีตรงตามความคาดหวังของท่าน

หรอื ไม่ สัดส่วนระหว่างฝึกอบรมภาคทฤษฎีกับภาคปฏิบัติ มีความเหมาะสม และประโยชน์ที่ท่านได้รบั จาก

โครงการ/กิจกรรม มีค่าคะแนนอยูท่ ่ี 4.77 อยูใ่ นระดับมากท่ีสุด

6 ความพึงพอใจของท่านต่อภาพรวมของโครงการ มีค่าคะแนนเฉล่ีย 4.70 อยใู่ นระดับมากท่ีสุด

2.5 ข้อเสนอแนะ
2.5.1 ส่ิงที่ทา่ นพึงพอใจในการรว่ มโครงการ/กิจกรรมครง้ั นี้

-อาหารอรอ่ ย เจา้ หน้าท่ใี ห้ความเป็นกันเองเหมือนบา้ น
-เทคนิคการพูดในชุมชน

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

76

-มีความรเู้ พ่ิมมากขึ้น และได้เครอื ข่ายในการทางาน
-เจา้ หน้าถ่ายทอดความรู้ และประสบการณ์ใหม่ๆ
-กิจกรรม/อาหาร/สถานท่ี
-อาหารอรอ่ ยมาก
-เจา้ หน้าทที่ เี่ ก่ียวข้องทกุ คน
-วทิ ยากรถ่ายทอดความรไู้ ด้ดีเป็นกันเอง

2.5.2 สิ่งท่ีควรเสนอแนะนาไปพัฒนาการจดั โครงการ/กิจกรรมครงั้ ต่อไป
-ควรจดั เวลาให้เหมาะสมมากกวา่ นี้ กิจกรรมเลกิ ดึกเกินไป
-ควรทาใบประกาศให้ผู้ที่มีผลการเรยี นยอดเยีย่ มด้วย
-ควรมีเวลาให้ทากิจกรรมรว่ มกันมากกว่านี้
-ควรเพิ่มโต๊ะเขียนหนงั สือ หรอื จดั โต๊ะเปน็ กลุ่ม เพ่ือความสะดวก สบายในการน่งั เรยี นเปน็ ระยะ

เวลานานๆ
-ควรปรบั เวลาให้เหมาะสมมากกว่าน้ี เลิกดึกเกินไป
-กระชบั เวลาชว่ งคา่ ให้สั้นลง เพราะต้องต่ืนเชา้ มาก
-เอกสารประกอบควรมีรายละเอียดมากกวา่ นี้
-ควรกาหนดระยะเวลาการเรยี นที่เหมาะสมไม่ควรมีภาควชิ าในตอนค่าเพราะนักศึกษามีความเหน่ือย

ล้าจากการเรยี นควรให้มีเวลาพักผ่อนบา้ งซง่ึ
-อยากให้เพม่ิ จานวนวนั ในการฝึกอบรมท่ี ศพช.เพชรบุร ี 10 วัน น้อยไปนิดนงึ ค่ะ ถ้าได้ฝึกมากกว่าน้ี

น่าจะดี
-ควรมีการไปศึกษาดงู าน
-ควรเพ่ิมระยะเวลาภาคปฏิบตั ิท่ีจาเป็นสาหรบั ตาแหน่งโดยเฉพาะให้มากข้ึนและควรเน้นวชิ าท่ีใช้

บอ่ ยใชม้ ากจงึ จะเหมาะสมมากย่งิ ข้ึน

สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

77

ประเมินผลภาพรวมโครงการฝึกอบรม
หลักสูตรนักพฒั นาชุม รนุ่ ที่ 32 ระหวา่ งวนั ท่ี 11 -20 ธนั วาคม 2564

ณ ศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนเพชบุร ีอาเภอชะอา จงั หวดั เพชรบุร ี
ผู้เข้าอบรมทัง้ หมด 40 คน จานวนผู้ตอบแบบประเมิน 40 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100

ส่วนท่ี 1 ข้อมูลทั่วไป จานวน รอ้ ยละ
ประเด็น
10 25.00
1) เพศ 30 75.00
- ชาย
- หญิง 23 57.50
2) ตาแหน่ง 17 42.50
- นักพัฒนาชุมชนปฏิบตั ิการ
- นักพัฒนาชุมชนชานาญการ

3) อายุ 0 0.00
- ตา่ กว่า 25 ปี 3 7.50
- ชว่ งอายุ 25-30 ปี 18 45.00
- ชว่ งอายุ 31-40 ปี 18 45.00
- ชว่ งอายุ 41-50 ปี 1 2.50
- อายุ 51 ปีขึ้นไป
4) วฒุ ิการศึกษา 20 50.00
- ปรญิ ญาตร ี 20 50.00
- สูงกว่าปรญิ ญาตร ี

สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

78

ส่วนที่ 2 ความคิดเห็นต่อโครงการ
2.1 การบรรลุวัตถปุ ระสงค์

มากท่สี ุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยทสี่ ุด แปล
จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ ความ
วตั ถุประสงค์ รอ้ ย 0 0.00 คา่ เฉลี่ย
ละ
จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน 0 0.00

1. มคี วามรูค้ วาม 24 60.00 14 35.00 2 5.00 0 0.00 4.55 มากที่สุด
เขา้ ใจและทกั ษะการ 23 57.50 15
เปน็ วทิ ยากร 37.50 2 5.00 0 0.00 4.53 มากที่สุด
กระบวนการสามารถ
ใชเ้ ครอื งมอื ส่งเสรมิ
การเรยี นรแู้ ละการมี
ส่วนรว่ มของชุมชนได้
อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
2.ฝกึ ปฏบิ ตั ิการใช้
เทคนิคและเครอ่ ื งมอื
ส่งเสรมิ ในพื้นที่
เปา้ หมาย เพ่ือ
เพิ่มพูลทกั ษะ
ประสบการณ์การ
ปฏิบตั ิงานในบทบาท
ผเู้ อื้ออานวยการ
พัฒนา

รวมคา่ เฉลี่ย 4.54 มาก
ท่สี ุด

2.2 ความรคู้ วามเข้าใจและทกั ษะก่อนฝกึ อบรม

มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยทีส่ ุด แปล
จานวน รอ้ ยละ ความ
หัวข้อวชิ า 8 20.00 รอ้ ย ค่าเฉล่ยี
5 12.50 ละ
1.ทกั ษะการ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน
พูดในที่ชุมชน 6 15.00
2.กิจกรรม 8 20.00 17 42.50 5 12.50 2 5.00 3.38 ปานกลาง
กล่มุ สัมพันธ์ 6 15.00
(เวยี นฐาน 12 30.00 14 35.00 6 15.00 3 7.50 3.25 ปานกลาง
เรยี นร)ู้
3.การพัฒนา 11 27.50 15 37.50 5 12.50 3 7.50 3.30 ปานกลาง
ชุมชนใน
บรบิ ท 10 25.00 16 40.00 8 20.00 0 0.00 3.35 ปานกลาง
สถานการณ์
เปลยี่ นแปลง
4.วทิ ยากร
กระบวนการ
และทกั ษะการ
ใชเ้ ครอ่ ื งมอื
สง่ เสรมิ การมี
ส่วนรว่ มชุมชน

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

79

5.การวางแผน 6 15.00 10 25.00 16 40.00 8 20.00 0 0.00 3.35 ปานกลาง
กลยุทธแ์ ละ 8
เทคนิคการ 20.00 8 20.00 17 42.50 7 17.50 0 0.00 3.43 ปานกลาง
เขยี นโครงการ 15.00 9 22.50 16 40.00 8 20.00 1 2.50 3.28 ปานกลาง
ท่ีมี 17.50 9 20.00 0 0.00 3.38 ปานกลาง
ประสิทธภิ าพ
6.คณุ ลกั ษณะ
ผู้นา

7.เวทีเสวนา 6

8.นักพฒั นา 7 22.50 16 40.00 8
ผนู้ าการ 6
เปลย่ี นแปลง 6 15.00 11 27.50 17 42.50 5 12.50 1 2.50 3.40 ปานกลาง
9.สัมมนา 7
แลกเปล่ยี น 15.00 10 25.00 18 45.00 5 12.50 1 2.50 3.38 ปานกลาง
เรยี นรู้
10.ถอด 17.50 12 30.00 13 32.50 8 20.00 0 0.00 3.45 ปานกลาง
บทเรยี นการ
เรยี นรู้
ภาพรวม
11.ปณิธาน
นักพัฒนา

รวมค่าเฉลี่ย 3.36 ปาน
กลาง

ความรคู้ วามเข้าใจและทักษะหลังฝกึ อบรม

มากทส่ี ุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยทส่ี ุด
จานวน รอ้ ยละ
หัวข้อวชิ า 34 85.00 จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ย จานวน รอ้ ย จานวน รอ้ ย คา่ เฉลย่ี แปลความ
29 72.50 ละ ละ ละ 4.85 มากทีส่ ุด
1.ทกั ษะการ 4.73 มากที่สุด
พดู ในที่ชุมชน 29 72.50 6 15.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 4.70 มากที่สุด
2.กิจกรรม
กลมุ่ สัมพันธ์ 30 75.00 11 27.50 0 0.00 0 0.00 0 0.00 4.75 มากทส่ี ุด
(เวยี นฐาน
เรยี นร)ู้ 10 25.00 1 2.50 0 0.00 0 0.00
3.การพัฒนา
ชุมชนใน 10 25.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
บรบิ ท
สถานการณ์
เปลี่ยนแปลง
4.วทิ ยากร
กระบวนการ
และทกั ษะ
การใช้
เครอ่ ื งมอื
ส่งเสรมิ การมี

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

80

ส่วนรว่ ม
ชุมชน

5.การ 29 72.50 11 27.50 0 0.00 0 0.00 0 0.00 4.73 มากทีส่ ุด
วางแผนกล
ยทุ ธแ์ ละ 33 82.50 7 17.50 0 0.00 0 0.00 0 0.00 4.83 มากทส่ี ุด
เทคนิคการ 30 75.00 9 22.50 1 2.50 0 0.00 0 0.00 4.73 มากที่สุด
เขยี น 28 70.00 11 27.50 1 2.50 0 0.00 0 0.00 4.68 มากทส่ี ุด
โครงการทม่ี ี 31 77.50 9
ประสิทธภิ าพ 29 72.50 10 22.50 0 0.00 0 0.00 0 0.00 4.78 มากท่ีสุด
6. 28 70.00 10
คุณลกั ษณะ 25.00 1 2.50 0 0.00 0 0.00 4.70 มากที่สุด
ผู้นา
25.00 2 5.00 0 0.00 0 0.00 4.65 มากที่สุด
7.เวทีเสวนา 4.74 มากท่สี ุด

8.นักพฒั นา
ผ้นู าการ
เปล่ียนแปลง
9.สัมมนา
แลกเปล่ยี น
เรยี นรู้
10.ถอด
บทเรยี นการ
เรยี นรู้
ภาพรวม
11.ปณิธาน
นักพัฒนา

คา่ เฉล่ียรวม

2.3 ประโยชน์ของหัวข้อวชิ าต่อการนาความรไู้ ปปรบั ใชใ้ นการปฏิบตั ิงาน

มากทส่ี ุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยท่สี ุด
จานวน รอ้ ยละ
หัวข้อวชิ า จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ย จานวน รอ้ ย จานวน รอ้ ย คา่ เฉล่ีย แปลความ
34 85.00 ละ ละ ละ 4.85 มากท่ีสุด
1.ทักษะการ 29 72.50 4.73 มากทส่ี ุด
พูดในท่ี 6 15.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
ชุมชน 29 72.50 4. 70 มากท่สี ุด
2.กิจกรรม 11 27.50 0 0.00 0 0.00 0 0.00
กลุ่มสัมพนั ธ์
(เวยี นฐาน 10 25.00 1 2.50 0 0.00 0 0.00
เรยี นร)ู้
3.การพฒั นา
ชุมชนใน
บรบิ ท
สถานการณ์
เปลีย่ นแปลง

สรุปผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

81

4.วทิ ยากร

กระบวนการ

และทักษะ

การใช้ 30 75.00 10 25.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 4.75 มากที่สุด
เครอ่ ื งมือ

ส่งเสรมิ การ

มสี ่วนรว่ ม

ชุมชน

5.การ

วางแผนกล

ยุทธแ์ ละ

เทคนิคการ 29 72.50 11 27.50 0 0.00 0 0.00 0 0.00 4.73 มากทส่ี ุด

เขยี น

โครงการทมี่ ี

ประสิทธภิ าพ

6.

คณุ ลักษณะ 33 82.50 7 17.50 0 0.00 0 0.00 0 0.00 4.83 มากท่ีสุด

ผู้นา

7.เวทีเสวนา 30 75.00 9 22.50 1 2.50 0 0.00 0 0.00 4.73 มากท่สี ุด

8.นักพัฒนา

ผู้นาการ 28 70.00 11 27.50 1 2.50 0 0.00 0 0.00 4.68 มากทีส่ ุด

เปลี่ยนแปลง

9.สัมมนา

แลกเปลย่ี น 31 77.50 9 22.50 0 0.00 0 0.00 0 0.00 4.78 มากท่สี ุด

เรยี นรู้

10.ถอด

บทเรยี นการ 29 72.50 10 25.00 1 2.50 0 0.00 0 0.00 4.70 มากทสี่ ุด
เรยี นรู้

ภาพรวม

11.ปณธิ าน 28 70.00 10 25.00 2 5.00 0 0.00 0 0.00 4.65 มากที่สุด
นักพัฒนา

ค่าเฉล่ยี รวม 4.74 มากท่สี ุด

สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

82

2.4 ความพึงพอใจด้านการบรหิ ารโครงการ

มากทสี่ ุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยทส่ี ุด
จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ
รายละเอียด รอ้ ย รอ้ ย ค่าเฉล่ีย แปลความ
ละ ละ
จานวน รอ้ ยละ จานวน จานวน

2.4.1 กระบวนการ ขน้ั ตอนการให้บรกิ าร (ของหน่วยงานที่จดั : ศพช.เพชรบุร)ี

1. ความ

เหมาะสมของ 26 65.00 13 32.50 1 2.50 0 0.00 0 0.00 4. 63 มากทส่ี ุด

สถานที่

2. ความ

เหมาะสมของ 16 40.00 21 52.50 3 7.50 0 0.00 0 0.00 4.33 ดีมาก

ระยะเวลา

3. ความ

เหมาะสมของ 16 40.00 19 47.50 5 12.50 0 0.00 0 0.00 4.28 ดีมาก

ชว่ งเวลา

4. การจดั ลาดับ

ขัน้ ตอนของ 22 55.00 16 40.00 2 5.00 0 0.00 0 0.00 4.50 ดีมาก

การจดั กิจกรรม

คา่ เฉล่ยี รวม 4.43 ดีมาก

2.4.2 วทิ ยากร (ของหน่วยงานที่จดั : ศพช.เพชรบุร)ี

1. ความรอบรู้ 29 72.50 11 27.50 0 0.00 0 0.00 0 0.00 4.73 มากที่สุด
ในเน้ือหาของ 29 72.50 10 25.00 1
วทิ ยากร 30 75.00 10 25.00 0 2.50 0 0.00 0 0.00 4.70 มากที่สุด
2. 29 72.50 9 22.50 2
ความสามารถ 0.00 0 0.00 0 0.00 4.75 มากทีส่ ุด
ในการถา่ ยทอด
ความรู้ 5.00 0 0.00 0 0.00 4.68 มากทส่ี ุด
3. การเปิด
โอกาสให้
ซกั ถามแสดง
ความคิดเห็น
4. การสรา้ ง
บรรยากาศการ
เรยี นรู้

คา่ เฉลยี่ รวม 4.71 มากทส่ี ุด

2.4.3 เจา้ หน้าท่ผี ูใ้ ห้บรกิ าร/ผ้ปู ระสานงาน (ของหน่วยงานท่ีจดั : ศพช.เพชรบุร)ี

1. การแต่งกาย 33 82.50 6 15.00 1 2.50 0 0.00 0 0.00 4.80 มากทส่ี ุด
0.00 0 0.00 4.80 มากที่สุด
2. ความสุภาพ 32 80.00 8 20.00 0 0.00 0 0.00 0
0.00 0
3. การตอบ 32 80.00 8 20.00 0 0.00 0 0.00 4.80 มากท่ีสุด
คาถาม 31 77.50 8 20.00 1 2.50 0
4. การ 0.00 4.75 มากท่สี ุด
ประสานงาน

สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

83

คา่ เฉลย่ี รวม 4.79 มากที่สุด
0.00 4.45 มากท่ีสุด
2.4.4 การอานวยความสะดวก (ของหน่วยงานที่จดั : ศพช.เพชรบุร ี และจุดดาเนินการ) 0.00 4.65 มากทส่ี ุด
0.00 4.73 มากที่สุด
1. เอกสาร และ 20 50.00 18 45.00 2 5.00 0 0.00 0 0.00 4.63 มากทส่ี ุด
ส่ือ 26 65.00 14 35.00 0 0.00 0 0.00 0
ประกอบการ 30 75.00 9 22.50 1 2.50 0 0.00 0 4.61 มากท่สี ุด
อบรม 26 65.00 13 32.50 1 2.50 0 0.00 0
2. 0.00 4.83 มากทีส่ ุด
โสตทัศนูปกรณ์
(การส่ือสาร 0.00 4.80 มากที่สุด
ระบบสัญญาณ
ภาพและเสียง) 0.00 4.70 มากที่สุด
3. เจา้ หน้าที่
สนับสนนุ
(จนท.โครงการ
และครูพาทา)
4. ความคมุ้ คา่
ของการ
ฝึกอบรม

คา่ เฉลี่ยรวม

2.4.5 คุณภาพการให้บรกิ าร (ของหน่วยงานทจี่ ดั : ศพช.เพชรบรุ )ี

1. ท่านได้รบั

ความรู้ แนวคดิ

ทักษะและ

ประสบการณ์ 33 82.50 7 17.50 0 0.00 0 0.00 0
1 2.50 0 0.00 0
ใหมๆ่ จาก 1 2.50 0 0.00 0

โครงการ/

กิจกรรมนี้

2.ท่านสามารถ

นาสง่ิ ทไี่ ด้รบั

จากโครงการ/ 33 82.50 6 15.00

กิจกรรมนี้ไปใช้

ในการเรยี น/

3. สง่ิ ท่ีท่าน

ได้รบั จาก

โครงการ/

กิจกรรมครงั้ น้ี

ตรงตามความ 29 72.50 10 25.00

คาดหวังของ

ทา่ นหรอื ไม่

4. สัดส่วน

ระหว่าง 26 65.00 14 35.00 0 0.00 0 0.00 0 0. 4.65 มากทสี่ ุด
ฝึกอบรม 00

ภาคทฤษฎีกับ

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

84

ภาคปฏิบตั ิ มี
ความเหมาะสม

5.ประโยชน์ท่ี 34 85.00 6 15.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00 4.85 มากที่สุด
ทา่ นได้รบั จาก
โครงการ/
กิจกรรม

ค่าเฉลีย่ รวม 4.77 มากทส่ี ุด
0.00 4.70 มากท่สี ุด
2.4.6 ความพึงพอใจของทา่ นต่อภาพรวมของโครงการ
4.70 มากท่ีสุด
1. ความพงึ 28 70.00 12 30.00 0 0.00 0 0.00 0
พอใจของท่าน
ต่อภาพรวม
ของโครงการ

ค่าเฉล่ียรวม

2.5 ข้อเสนอแนะ
2.5.1 ส่ิงทที่ ่านพึงพอใจในการรว่ มโครงการ/กิจกรรมครงั้ น้ี

-อาหารอรอ่ ย เจา้ หน้าท่ีให้ความเป็นกันเองเหมือนบ้าน
-เทคนิคการพูดในชุมชน
-มีความรเู้ พ่ิมมากขึ้น และได้เครอื ข่ายในการทางาน
-เจา้ หน้าถ่ายทอดความรู้ และประสบการณ์ใหม่ๆ
-กิจกรรม/อาหาร/สถานท่ี
-อาหารอรอ่ ยมากกกก
-เจา้ หน้าท่ีทเ่ี ก่ียวข้องทกุ คน
-วทิ ยากรถ่ายทอดความรไู้ ด้ดีเป็นกันเอง

2.5.2 ส่ิงที่ควรเสนอแนะนาไปพัฒนาการจดั โครงการ/กิจกรรมครงั้ ต่อไป สบายในการนั่งเรยี นเป็นระยะ
-กิจกรรมตอนเยน็ ไม่ควรจดั เน่ืองจากต้องให้เวลาของผู้เข้าเรยี น
-ควรจดั เวลาให้เหมาะสมมากกวา่ น้ี กิจกรรมเลกิ ดึกเกินไป
-ควรทาใบประกาศให้ผู้ทีม่ ีผลการเรยี นยอดเยย่ี มด้วย
-ควรมีเวลาให้ทากิจกรรมรว่ มกันมากกวา่ น้ี
-ควรเพิ่มโต๊ะเขียนหนงั สือ หรอื จดั โต๊ะเปน็ กลุ่ม เพ่ือความสะดวก

เวลานานๆ
-ควรปรบั เวลาให้เหมาะสมมากกว่าน้ี เลิกดึกเกินไป
-กระชบั เวลาชว่ งค่าให้สั้นลง เพราะต้องต่ืนเชา้ มาก
-เอกสารประกอบควรมีรายละเอียดมากกว่าน้ี

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

85
-ควรกาหนดระยะเวลาการเรยี นทเ่ี หมาะสมไม่ควรมีภาควชิ าในตอนคา่ เพราะนักศึกษามีความเหนื่อย
ล้าจากการเรยี นควรให้มีเวลาพักผ่อนบ้างซง่ึ
-อยากให้เพิม่ จานวนวนั ในการฝึกอบรมท่ี ศพช.เพชรบุร ี 10 วัน น้อยไปนิดนึงค่ะ ถ้าได้ฝึกมากกว่านี้
น่าจะดี
-ควรมีการไปศึกษาดงู าน
-ห้องเสียงก้อง ลาโพวด้านหลังไม่ค่อยดัง
-ควรเพิ่มระยะเวลาภาคปฏิบตั ิท่ีจาเป็นสาหรบั ตาแหนง่ โดยเฉพาะให้มากข้ึนและควรเน้นวชิ าทใี่ ช้
บอ่ ยใชม้ ากจงึ จะเหมาะสมมากยง่ิ ขึ้น

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

86

แบบประเมินรายวชิ า โครงการฝกึ อบรมหลกั สูตร นักพฒั นาชุมชน รนุ่ ที่ 32

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

87

๓. ส่ิงทท่ี า่ นประทบั ใจในวทิ ยากร
1) เปน็ กันเอง มีความรคู้ วามสามารถ
2) วทิ ยากรให้ความรดู้ ีมากได้ประโยชน์นาไปใชไ้ ด้จรงิ
3) ถ่ายทอดการทาน้าหมักได้ดีมาก ชดั เจน
4) ตั้งใจถ่ายทอด มีความรจู้ รงิ
5) มีความเชย่ี วชาญทกุ ฐาน
6) ให้ความรดู้ ีนาไปปรบั ใชไ้ ด้
7) ดีแลว้ คะ
8) มีความรจู้ รงิ ในเรอ่ ื งทถ่ี ่ายทอด
9) อยากได้ให้มเี วลาแต่ละฐานมากกว่านี้
10) ดีมากนาไปใชป้ ระโยชน์ได้จรงิ
11) วทิ ยากรเก่งทกุ คน
12) นาไปใชป้ ระโยชน์ได้ทกุ ทานขอชนื่ ชม
13) ยอดเยี่ยม
14) ถ่ายทอดดี ความรแู้ น่น เชยี่ วชาญทกุ คน
15) สนุกสนานและได้ความรทู้ เี่ ปน็ ประโชยชน์
16) วทิ ยากรเก่ง สุดยอดทกุ คน

๔. ส่ิงทว่ี ทิ ยากรควรปรบั ปรุง
- ไม่มี -

๕. ขอ้ เสนอแนะเพิม่ เติมอ่ืนๆ
- ไม่มี -

สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

88

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

89

๓. ส่ิงท่ีทา่ นประทบั ใจในวทิ ยากร
1) วทิ ยากรมีความรคู้ วามสามารถ เปน็ กันเอง
2) น่ารกั คะ
3) สุดยอดแล้ว
4) สมบูรณ์ยอดเยี่ยม
5) ดีแล้ว
6) ดีทกุ อย่าง
7) พดู เสียงดังฟังชดั น่าฟัง เปน็ กันเอง
8) เสียงดังฟังชดั ต้ังใจถ่ายทอด เปน็ กันเอง
9) เปน็ กันเอง พูดจาดี เสียงดังไม่งว่ ง
10) เปน็ วทิ ยากรทนี่ ่ารกั ใจดี เปน็ กันเอง
11) สรา่ งบรรยากาศได้ดี ไม่งว่ งเปน็ กันเอง
12) สรปุ จบได้ดี เห็นภาพชดั เจน เปน็ กันเอง
13) ถ่ายทอดดี สื่อดี เปน็ กันเอง น่ารกั
14) เปน็ กันเอง พูดเสียงดังฟังชดั ไม่ถือตัว
15) สรปุ บทเรยี นเชอื่ มโยงได้ดี เปน็ กันเอง
16) สรุปบทเรยี นได้ดี เสียงกังไม่งว่ ง เปน็ กันเอง
17) ไม่มีคะยอดเยยี่ ม
18) ยอดเยี่ยม มีสิ่งดีๆมาแบง่ ปนั
19) ยอดเยี่ยม
20) ได้เห็นอุดมการณ์นักพฒั นาอย่างชดั เจน
21) ชอบส่ือมากเห็นภาพชดั เจน วทิ ยากรถ่ายทอดดี
22) ได้เห็นอุดมการณ์ของคนต้ังใจทางาน เกิดแรงบันดาลใจ
23) สื่อดีมากๆ สรุปได้เห็นภาพชวี ติ นักพฒั นา ผู้มีอุดมดารณ์ม่ังม่ัน
24) สามารถไปเชอ่ื มโยงได้ดีมาก
25) เนื้อกาสุดยอดสรุปเขื่อมโยงเก่ง เก็บประเด็นครบ

๔. ส่ิงทวี่ ทิ ยากรควรปรบั ปรุง
- ไม่มี-

๕. ข้อเสนอแนะเพิม่ เติมอ่ืนๆ
–ไม่มี-

สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

90

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

91

๑. ความคิดเห็นเกี่ยวกับเน้ือหาวชิ าการ 4.89 มากทีส่ ุด

๒. ความพึงพอใจต่อวทิ ยากร 4.91 มากทีส่ ุด
๓. สิ่งทท่ี า่ นประทบั ใจในวทิ ยากร

1) สอนเขา้ ใจงา่ ย นาไปใชไ้ ด้จรงิ

2) วทิ ยากรให้คาแนะนาดี

3) สอนเขา้ ใจงา่ ย สอนอย่างละเอียด เข้าใจงา่ ย

4) ถ่ายทอดได้ชดั เจน เสียงดังฟังชดั เปน็ กันเอง แนะนาแต่ส่ิงทดี่ ีๆ
5) ตั้งใจถ่ายทอด

6) ให้ความรูดีมากได้ประโยชน์

7) ถ่ายทอดดี ได้ฝกึ ปฏิบตั ิ

8) พูดเก่ง ชอบทุกคนเลย ชอบมาก

9) ตั้งใจถ่ายทอด พดู เพราะ ชดั เจน

10) มีความรแู้ น่นถ่ายทอดดี

11) เปน็ ตัวอย่างทดี่ ี

12) ชดั เจน

13) ดีมากได้ประโยชน์กับคนอบรมทส่ี ุด

14) อยากมาอบรมอีกชอบมาก

15) นาไปปรบั ปรุงตัวเองได้ ชอบ

16) นาไปใชก้ ับตัวเองได้

17) ได้หลักการพูดเพอื่ พฒั นาตัวเอง

18) ได้ประโยชน์มาก

๔. สิ่งท่วี ทิ ยากรควรปรบั ปรุง
- ไม่มี -

๕. ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมอ่ืนๆ
- ไม่มี -

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

92

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

93

๓. สิ่งทท่ี า่ นประทบั ใจในวทิ ยากร
1) เก่งมากรนั กระบวนได้ดีสรา้ งบรรยากาศได้ดี
เปน็ กันเอง สรา้ งบรรยากาศดีนาไปใชป้ ระโยช์
2) ได้จรงิ
3) สรา้ งบรรยากาศดี ไม่เบอื่
4) ชดั เจน รนั กระบวนได้ดี สรา้ งบรรยากาศดี
เปน็ กันเอง สรา้ งบรรยากาศได้ดี
5) มาก
6) สุดยอดคะ
7) นาไปใชป้ ระโยชน์ได้จรงิ
8) ยอดเยี่ยม
9) ประทบั ใจ

๔. ส่ิงทวี่ ทิ ยากรควรปรบั ปรงุ
- ไม่มี -

๕. ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติมอ่ืนๆ
- ไม่มี -

สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

94

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

95

๓. สิ่งทท่ี า่ นประทบั ใจในวทิ ยากร
1) สอนดีเข้าใจงา่ ย
2) มีความต้ังใจในการถ่ายทอด
3) ความต้ังใจของวทิ ยากร เปน็ กันเอง
4) มีความต้ังใจ ใจดี พูดเพราะ
5) เปน็ กันเอง ยิ้มตลอดการสอน
6) ยอดเย่ยี ม
7) เปน็ กันเอง
8) ตั้งใจถ่ายทอดความรู้
9) ความต้ังใจในการให้ความรู้
10) ใชป้ ระโยชน์ในการปฏิบัติงานได้จรงิ
11) สุดยอดครบั
12) เกินเวลาแต่ได้ประโยชน์

๔. สิ่งทวี่ ทิ ยากรควรปรบั ปรุง
- เนื้อหายากเกินไป

๕. ข้อเสนอแนะเพ่มิ เติมอื่นๆ
- ไม่มี -

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32


Click to View FlipBook Version