The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปนักพัฒน์ 32 .ใช้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by arisa.26, 2022-05-18 06:15:45

สรุปนักพัฒน์ 32 .ใช้

สรุปนักพัฒน์ 32 .ใช้

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

คานา
สถาบันการพัฒนาชุมชน เป็นหน่วยงานในสังกัดกรมการพัฒนาชุมชน มีหน้าที่ในการเสรมิ สรา้ ง
สมรรถนะข้าราชการทุกระดับ ให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธภิ าพ เพ่ือให้ข้าราชการได้เข้าใจถึง
สภาพแวดล้อมการทางานในหน่วยงานรว่ มกับภาคีเครอื ข่าย โดยส่งเสรมิ การเรยี นรูด้ ้วยตนเอง ภายใต้หลักสูตร
“นักพัฒนาชุมชน (ประเภทวชิ าการ ระดับปฏิบัติการ/ระดับชานาญการ)” เพื่อปลูกฝังปรชั ญาการประพฤติปฏิบัติตน
ให้เป็นข้าราชการท่ีดี เสรมิ สรา้ งสมรรถนะและทักษะท่ีจาเป็นสาหรบั การปฏิบัติราชการ ส่งเสรมิ คุณธรรม
จรยิ ธรรม การทางานเป็นทีมและพัฒนาเครอื ข่ายการทางาน สรา้ งสัมพันธท์ ี่ดี แลกเปล่ียนความคิดเห็นซงึ่ กัน
และกัน โดยการเรยี นรูจ้ ากประสบการณ์และการลงมือปฏิบัติจรงิ รว่ มกับสถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถ่ิน กรม
ส่งเสรมิ การปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย และศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาแห่งคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
สถาบันการพัฒนาชุมชน จงึ ได้มอบหมายให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุร ีดาเนินการ
อบรมสัมมนารว่ มกัน ภายใต้การฝึกอบรมตามโครงการนักพัฒนาชุมชน (ประเภทวชิ าการ ระดับปฏิบัติการ/
ระดับชานาญการ) โดยแบ่งเป็น 3 ส่วน ดังนี้ การปฐมนิเทศ ชี้แจงแนวทางการเตรยี มความพรอ้ มเข้ารบั
การฝึกอบรม การเรยี นรูใ้ นสภาพพื้นที่การปฏิบตั ิงานจรงิ และการอบรมสัมมนารว่ มกัน เพื่อพัฒนาผู้เข้ารบั
การฝึกอบรม ให้มีความรู ้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ ของตนเอง และเป้าหมายขององค์กร มี
พฤติกรรมที่เหมาะสม ในการเป็นข้าราชการยุคใหม่ที่มีอุดมการณ์และจติ วญิ ญาณของนักพัฒนา รวมท้ัง
มีสมรรถนะ ในการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศไปสู่
การพัฒนาที่ย่ังยืนอย่างมีประสิทธภิ าพ

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุร ี
มกราคม 2565

สรุปผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

สารบญั

เรอ่ ื ง หน้า
คานา
สารบัญ 1
2
ส่วนที่ 1 เก่ียวกับโครงการ 2
ความเปน็ มา 2
1. ทมี่ า 2
2. วตั ถุประสงค์ 2
3. กลุม่ เปา้ หมาย 2
4. รูปแบบ และระยะเวลา สถานที่
5. หลกั สูตรการฝกึ อบรม ประกอบด้วยเน้ือหาวชิ า 4
6. งบประมาณ 5
7. ผลทค่ี าดว่าจะได้รบั 10
15
ส่วนท่ี 2 สรปุ สาระสาคัญในภาควชิ าการและกิจกรรมการฝึกอบรม 16
กระบวนการดาเนินกระบวนการดาเนินงานและเนื้อหาวชิ า 18
ปฐมนิเทศ 25
กิจกรรมนันทนาการ/ละลายพฤติกรรม/กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ 27
การพัฒนาชุมชนในบรบิ ทสถานการณ์ทเี่ ปล่ียนแปลง 36
Mentor 1 40
Wrap Up 42
ทกั ษะการพูดในทชี่ ุมชน 43
Mentor 2
วทิ ยากรกระบวนการและทกั ษะการใชเ้ ครอ่ ื งมือส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ มชุมชน
การวางแผนกลยุทธแ์ ละเทคนิคการเขยี นโครงการทม่ี ีประสิทธภิ าพ
คุณลกั ษณะผู้นา
ชแี้ จงภารกิจการลงพ้นื ทภ่ี าคสนาม
กิจกรรมภาคสนาม

สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

สารบัญ (ต่อ)

กิจกรรมสาธารณประโยชน์ หน้า

ถอดบทเรยี น/การเรยี นรภู้ าพรวม 51

บรรยายพิเศษนักพฒั นาผู้นาการเปลย่ี นแปลงสู่ชุมชน 52
เวทแี ลกเปล่ียนเรยี นรู้ “พี่บอก น้องถาม”
Mentor 3 55
ปณิธานนักพฒั นา 59
พธิ ปี ดิ การฝกึ อบรมภาคปฏิบตั ิ 59
62
ส่วนท่ี 3 การประเมินโครงการ 63
3.1 รปู แบบและวธิ กี ารประเมิน
3.2 การเก็บรวมรวมข้อมูล 64
3.3 การวเิ คราะห์ข้อมูล 65
3.4 เกณฑก์ ารประเมิน 65
3.5 ผลการประเมิณ 65
ประเมินผลภาพรวมโครงการฝกึ อบรม 69
ประเมินรายวชิ าโครงการฝึกอบรม 77
86

ภาคผนวก

ตารางฝึกอบรม
ทะเบียนรายชอ่ื ผู้เขา้ ฝึกอบรม
แบบประเมินโครงการ

………………………………………………………………………………

สรุปผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

1

ส่วนที่ 1
ความเปน็ มา

ความเปน็ มา
1. ทมี่ า
1.1 กระทรวงมหาดไทย โดยสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ได้มอบหมายให้สถาบนั พัฒนาบุคลากร

ท้องถ่ิน รว่ มกับสถาบันการพัฒนาชุมชน รา่ งหลักสูตรฝกึ อบรมนักพัฒนาชุมชนขององค์กรปกครอง ส่วนทอ้ งถ่ิน เพ่ือ
สรา้ งเครอื ข่ายความรว่ มมือระหว่างกรมส่งเสรมิ การปกครองส่วนท้องถ่ิน และกรมการพัฒนาชุมชน ในการพัฒนา
ศักยภาพนักพัฒนาชุมชนของเทศบาล และองค์การบรหิ ารส่วนตาบลทั่วประเทศ โดยกรมการพัฒนาชุมชน และ
กรมส่งเสรมิ การปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ได้ดาเนินการฝกึ อบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” ภายใต้ความรว่ มมือ
3 หน่วยงาน (กรมส่งเสรมิ การปกครองส่วนท้องถิ่น กรมการพัฒนาชุมชน และมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร)์
แล้วจานวน 11 รุน่ ต้ังแต่รุน่ 21 ถึงรุน่ ท่ี 31 ดาเนินการ ณ วทิ ยาลัยการพัฒนาชุมชน อาเภอบางละมุง
จงั หวัดชลบุร ีและฝึกภาคสนาม ณ พ้ืนที่จงั หวดั ท่ีกาหนด

1.2 กรมการพัฒนาชุมชนรว่ มกับสถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น และคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ โดยศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาแห่งคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ กาหนดดาเนินการ
จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รุน่ ท่ี 32 ระหว่างวันท่ี 1 – 10 ธันวาคม 2564
จานวน 1 รุน่ มีเป้าหมาย 44 คน ณ สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถ่ิน ตาบลคลองหน่ึง อาเภอคลองหลวง
จงั หวัดปทุมธานี จงั หวัดเพชรบุร ีในส่วนกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย รบั ผิดชอบฝึกภาคปฏิบัติ
และลงพื้นทภ่ี าคสนาม รนุ่ ท่ี 32 ในวนั ที่ 11 – 20 ธนั วาคม 2564 ณ จงั หวัดกาญจนบุร ี

1.3 สถาบันการพัฒนาชุมชน กาหนดให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเป็นหน่วยดาเนินการโครงการ
ฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รุน่ ที่ 32 ระหว่างวันท่ี 11 – 20 ธันวาคม 2564 ณ ศูนย์ศึกษา
และพัฒนาชุมชนเพชรบุร ี

๒. วัตถุประสงค์

วทิ ยาลัยการพัฒนาชุมชน และศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุร ีได้ออกแบบหลักสูตร
นักพัฒนาชุมชน (ประเภทวชิ าการระดับปฏิบัติการ/ระดับชานาญการ) โดยเน้นหนักในด้านการฝึกปฏิบัติ
เรยี นรจู้ ากประสบการณ์จรงิ (Experiential Learning) มีวัตถุประสงค์สาคัญ ดังนี้

๒.๑ สรา้ งความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการเป็นวทิ ยากระบวนการ โดยใชเ้ ครอ่ ื งมือส่งเสรมิ
การเรยี นรแู้ ละการมีส่วนรว่ มของชุมชนได้อย่างมีประสิทธภิ าพ

สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

2

๒.๒ ฝึกปฏิบัติ การใช้เทคนิคและเคร่อื งมือในพื้นท่ีเป้าหมาย เพื่อเพ่ิมพูนทักษะ/
ประสบการณ์การปฏิบตั ิงานในบทบาทของผู้เอื้ออานวยการพัฒนา
๓. กลุ่มเป้าหมาย

นักพัฒนาชุมชน ประเภทวชิ าการ ระดับปฏิบัติการ / ระดับชานาญการ จากเทศบาล
และองค์การบรหิ ารส่วนตาบล จานวน 44 คน
๔. รปู แบบ และระยะเวลา สถานท่ี

๔.๑ ฝกึ อบรมภาควชิ าการและฝึกปฏิบัติ ระยะเวลา ๔ วัน
๔.๒ ลงพ้ืนทีภ่ าคสนาม ระยะเวลา ๓ วนั
๔.๓ ภาคสรปุ ระยะเวลา ๒ วัน
โดยกาหนดดาเนินการ รุน่ ที่32 ระหว่างวันท่ี 11 – 20 ธนั วาคม 2564 ณ ศูนย์ศึกษา
และพัฒนาชุมชนเพชรบุร ีอาเภอชะอา จงั หวดั เพชรบุร ีและอาเภอพนมทวน จงั หวัดกาญจนบุร ี
5. หลักสูตรการฝึกอบรม ประกอบด้วยเน้ือหาวชิ า
หมวดท่ี 1 ความรูค้ ู่นักพัฒนาชุมชน ประกอบด้วยวชิ าการพัฒนาชุมชนในบรบิ ทสถานการณ์
วชิ าทักษะการพูดในท่ีชุมชน วชิ าวทิ ยากรกระบวนการและทักษะการใชเ้ ครอ่ ื งมือส่งเสรมิ การมีส่ วนรว่ มของ
ชุมชน เทคนิคการเขียนโครงการ
หมวดท่ี 2 การศึกษาเรยี นรงู้ านพัฒนาชุมชนและการฝึกปฏิบตั ิงานพัฒนาชุมชน (ภาคสนาม)
ประกอบด้วย การเรยี นรกู้ ิจกรรมงานพัฒนาชุมชนในหมู่บา้ นเรยี นรู้ ฝกึ ปฏิบตั ิงานกระบวนการพัฒนาชุมชน
หมวดท่ี 3 การเรยี นรจู้ ากการปฏิบัติจรงิ ด้วยการถอดบทเรยี นภาคสนาม และภาพรวมของ
หลักสูตรการฝกึ อบรม
6. งบประมาณ
ใชง้ บประมาณจากศูนย์ฝึกอบรมและคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ คณะสังคมสงเคราะห์
ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
7. ผลที่คาดว่าจะได้รบั
7.1 ผ่านการฝึกอบรมมีความรคู้ วามเข้าใจและทักษะการเปน็ วทิ ยากรกระบวนการสามารถใช้
เครอ่ ื งมือส่งเสรมิ การเรยี นรแู้ ละการมีส่วนรว่ มของชุมชนได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
7.2 ผ่านการฝกึ อบรมมีความรู้ ทักษะ และสมรรถนะทเี่ หมาะสมกับการดารงตาแหน่ง

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

3

ส่วนที่ 2

กระบวนการดาเนินงานและเน้ือหาวชิ า
โครงการฝกึ อบรมหลักสูตรนักพัฒนาชุมชน รุน่ ท่ี 32

ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

วันที่ 11 ธนั วาคม 2564

เวลา 10.30 น. ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุร ี ได้ต้อนรบั และรบั การรายงานตัว

นักพัฒนาชุมชน รุน่ ที่ 32 เข้ารบั การฝึกอบรมตามโครงการฝึกอบรมหลักสูตรนักพัฒนาชุมชนขององค์กร

ปกครองส่วนท้องถ่ิน ประเภทวชิ าการระดับปฏิบัติการ/ระดับชานาญการ ระหว่างวันที่ 11 - 19 ธนั วาคม

2564 และดาเนินการตามกระบวนการฝึกอบรมเรม่ ิ ต้นจากการเปิดตัวหลักสูตร และปฐมนิเทศชี้แจง

กระบวนการฝกึ อบรม

1. การสักการะสิ่งศักดิ์สิทธใ์ิ นบรเิ วณศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุร ี

เวลา 09.30 – 11.00 น.

นาทีมโดยนางวาสนา ไขว้พันธุ์ ผู้อานวยการศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุร ีและคณะ

ทมี วทิ ยากร 9 คน ได้แก่

1) นางขวญั ตา พว่ งทอง ผู้ชว่ ยผู้อานวยการศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุร ี

2) นายอนสุ รณ์ กาญจนวณิชย์ นักทรพั ยากรบุคคลชานาญการ

3) นางสาวอัญชษิ ฐา สิงห์สุทศั น์ นักทรพั ยากรบุคคลชานาญการ

4) นางสาววาสนา ยดึ เหน่ียว นักวชิ าการพัฒนาชุมชนชานาญการ

5) นางชนิตา พารเวยี ไอเนน นักทรพั ยากรบุคคลชานาญการ

6) นางสาวววิ รรณ์ โสมากุล นักทรพั ยากรบุคคลปฏิบตั ิการ

7) จ.ส.อ.ภัธภาม ทองมีสิทธ์ิ เจา้ พนักงานโสตทศั นศึกษาชานาญงาน

8) นายวเิ ชษฐ์ เพชรรตั น์ พนักงานราชการทั่วไป (นักทรพั ยากรบุคคล)

9) นางรติกร รตั นบงกต พนักงานราชการทวั่ ไป (นักทรพั ยากรบุคคล)

สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

4

2. การตอนรบั /พบปะพูดคยุ ผู้เข้ารบั การอบรมหลักสูตรพัฒนาชุมชน รนุ่ ที่ 32

เวลา 11.00 – 11.30 น.

วทิ ยากรหลัก

นางวาสนา ไขว้พันธุ์ ผู้อานวยการศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุร ี

3. การปฐมนิเทศผู้เข้ารบั การอบรมหลักสูตรพัฒนาชุมชน รุน่ ที่ 32

เวลา 11.30 – 12.00 น.

วทิ ยากรหลัก

นางขวญั ตา พ่วงทอง ผู้ชว่ ยผู้อานวยการศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุร ี

วัตถปุ ระสงค์

เพื่อชแ้ี นะแนวทางการปฏิบตั ิเบื้องต้นเก่ียวกับการฝกึ อบรม รวมถึงแนะนาเจา้ หน้าท่ี

โครงการ อาคาร สถานที่ และกฎระเบียบการอยูร่ วมกันตลอดระยะเวลาการฝกึ อบรม

รูปแบบ/เครอ่ ื งมือ

บรรยายถ่ายทอดเนื้อหารายละเอียด โดยใชส้ ่ือทศั นปู กรณ์สาหรบั นาเสนอ

สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

5

4. กิจกรรมสรา้ งสานสัมพันธน์ ักพัฒนาชุมชน

เวลา 13.00 – 14.00 น.

วทิ ยากรหลัก

จ.ส.อ.ภัธภาม ทองมีสิทธ์ิ เจา้ พนักงานโสตทัศนศึกษาชานาญงาน

วัตถปุ ระสงค์

1. เพ่ือสรา้ งความสัมพันธ์ รจู้ กั กัน ชว่ ยเหลือเก้ือกูลกันความสามัคคี การมีส่วนรว่ มการ

ทางานเป็นทีม

2. เพื่อสรา้ งบรรยากาศการอบรมให้มีความสนุกสนานเปน็ กันเอง

3. เพ่ือเตรยี มความพรอ้ มเข้าสู่การฝึกอบรม

สรปุ เนื้อหา

กิจกรรมนันทนาการทาความรจู้ กั สรา้ งความสัมพันธ์ รอ้ งเพลง ปรมมือสัญลกั ษณ์ ใส่รหัส

นักพัฒนาชุมชน ใส่รหัสสวสั ดี ใส่รหัสขอบคณุ และแบง่ กลุ่มผู้เข้ารบั การฝึกอบรม

การประเมิน
สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนรวม

รายละเอียดการดาเนินกิจกรรม
กิจกรรมนันทนาการทาความรูจ้ กั สรา้ งความสัมพันธ์ รอ้ งเพลง ปรบมือสัญลักษณ์ Lucky

number, Dangerous number, Dead count และแบ่งกลุ่มผู้เข้ารบั การฝึกอบรม การประเมิน สังเกต
การมีส่วนรว่ มและพฤติกรรม รายละเอียดการดาเนินกิจกรรม เรม่ ิ ด้วยกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ โดยการสรา้ ง
ความรจู้ กั สรา้ งความค้นุ เคย ละลายพฤติกรรม โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย ได้สรา้ งความสัมพันธ์
รูจ้ กั กัน ชว่ ยเหลือเก้ือกูลกัน สรา้ งความสามัคคี การมีส่วนรว่ ม การทางานเป็นทมี มีการวางแผนงานและเพ่ือ
เตรยี มความพรอ้ มเข้าสู่กระบวนการฝึกอบรมที่จะมีต่อไปอยา่ งต่อเนื่อง

เมื่อเข้าสู่ห้องฝึกอบรม วทิ ยากรเรม่ ิ ด้วยกิจกรรมสันทนาการ การปรบมือสัญลักษณ์ของ
นักพัฒนาชุมชน รุน่ ที่ 32 โดยผู้นาจะกล่าวว่า ปรมมือนักพัฒนาชุมชน และกิจกรรมเกมส์เพลงเพ่ือสรา้ ง
บรรยากาศให้สนุกสนาน จากนั้นได้ นาเข้าสู่กระบวนการละลายพฤติกรรมแบบเต็มรูปแบบ โดยเรม่ ิ จาก การ
เตรยี มความพรอ้ มกลุ่มใหญ่ด้วยการปรบมือในรปู แบบต่าง ๆ เพ่ือให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความพรอ้ มที่จะเข้าสู่
กระบวนการเรยี นรู้ ต่อด้วยกิจกรรมการทาความรูจ้ กั และสรา้ งความคุ้นเคย โดยใชเ้ กมส์จบั คู่ “สวัสดี สวัสดี
วนั นี้เรามาเจอกัน เธอกับฉันพบกันสวสั ดี สวสั ดีครบั /สวัสดีค่ะ” (โดยไม่ให้ผู้เข้าอบรมถูกเน้ือต้องตัวกัน) และ
สลับคู่สวัสดีไปเรอ่ ื ย ๆ ต่อด้วยการเล่นเกมส์ จับคู่เป่ายิ้งฉุบหาผู้ชนะ จนเหลือผู้ชนะคนสุดท้าย ต่อด้วย
กิจกรรมการแบง่ กลุ่มสี ทีถ่ กู คละชอื่ คละอายุ คละสี จานวน 4 กลุ่ม กว. กลุ่มที่ 1 สีแดง 2.สีเหลือง 3.สีเขียว
และ 5.สีส้ม เพ่ือให้เกิดการเรยี นรูร้ ว่ มกันตลอดการบวนการของการฝึกอบรม และให้ทุกกลุ่มได้ต้ังชื่อ
คาขวญั ประจากลุ่ม เพลงพรอ้ มทา่ เต้นแล้วนาเสนอหลังจากชว่ งพักเบรก

หลังจากพักเบรกแล้ว เข้าสู่กิจกรรมในชว่ งท่ี 2 โดยการเตรยี มความพรอ้ ม กลุ่มย่อย โดยใช้
เกมส์/เพลง เม่ือผู้เข้ารบั การอบรมมีความพรอ้ มแล้ว เรม่ ิ จากการนาเสนอ ชอ่ื กลุ่ม คาขวัญประจากลุ่ม เพลง
พรอ้ มท่าเต้น ครบทุกกลุ่ม จงึ สู่กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ โดยใชเ้ กมส์ เพื่อสรา้ งความสัมพันธแ์ ละการทางาน
เป็นทีม โดยอาจมีรางวลั จากวทิ ยากรเป็นสิ่งล่อใจและเป็นแรงจูงใจให้กับทีมเกิดการแข่งขันและทาภารกิจ ได้
สาเรจ็ จากน้ันวทิ ยากรสรุปสิ่งท่ีได้จากการเรยี นรู้ และกระบวนการทางานในรูปแบบกลุ่ม/ทมี

สรุปผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

6

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

7

5. ฝึกปฏิบตั ิฐานการเรยี นรตู้ ามหลักการประยุกต์ใชข้ องเศรษฐกิจพอเพียง 4 ฐานการเรยี นรู้

เวลา 14.00 – 15.00 น.

วทิ ยากรหลัก

1. นางขวัญตา พ่วงทอง ผู้ชว่ ยผู้อานวยการศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุร ี

2. นางสาววาสนา ยึดเหน่ียว นักวชิ าการพฒั นาชุมชนชานาญการ

3. นางสาวววิ รรณ์ โสมากุล นักทรพั ยากรบุคคลปฏิบัติการ

4. นายจรลั ม่วงไหมทอง พนักงานประจา

วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่ือสรา้ งการเรยี นรตู้ ามหลักการประยุกต์ใชข้ องเศรษฐกิจพอเพียง
2. เพื่อสรา้ งความสัมพันธ์ รจู้ กั กัน ความสามัคคี การมีส่วนรว่ มการทางานเป็นทมี

สรุปเน้ือหา
กิจกรรมเป็นการฝกึ ปฏิบัติการลงสนาม สรา้ งการเรยี นรตู้ ามหลักการประยุกต์ใชข้ อง

เศรษฐกิจพอเพียง โดยการเรยี นรตู้ ามฐานการเรยี นรู้ 4 ฐานการเรยี นรู้ ประกอบด้วย

1. ฐานจุลินทรยี ์สังเคราะห์แสง
2. ฐานคนรกั ษ์แม่ธรณี
3. ฐาน EM-boll
4. ฐานนา้ หมักรสจดื

การประเมิน

สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนรวม

รายละเอียดการดาเนินกิจกรรม
เรม่ ิ ด้วยกลุ่ม กว. 4 กลุ่ม เข้ากลุ่มฐานการเรยี นรแู้ ละฝึกปฏิบตั ิฐานการเรยี นรูต้ ามหลกั การ

ประยุกต์ใชข้ องเศรษฐกิจพอเพียง จานวน 4 ฐานการเรยี นรู้ ประกอบด้วย
1. ฐานจุลินทรยี ์สังเคราะห์แสง
2. ฐานคนรกั ษ์แม่ธรณี
3. ฐาน EM-boll
4. ฐานน้าหมักรสจดื

โดยมีเวลาให้ฐานการเรยี นรูก้ ลุ่มละ 30 นาที เม่ือหมดเวลา 30 นาที ทุกกลุ่ม กว. ต้องหมุด
เวยี นฐานเพื่อฝึกปฏิบัติฐานการเรยี นรูต้ ่อไป จนครบทั้ง 4 ฐาน และก่อนการเรยี นรู้ หัวหน้ากลุ่มรายงานตัว
บอก ชื่อ คาขวัญ เพลงพรอ้ มท่าเต้นประจากลุ่ม สมาชิกในกลุ่มพรอ้ มรบั การเรยี นรูแ้ ล้วครบั /ค่ะ และให้
สมาชิกในกลุ่มใส่รหัสสวัสดี วทิ ยากรประจาฐานก็จะสวัสดีและแนะนาตัว บอกถึง อุปกรณ์ / ขั้นตอน /
กระบวนการวธิ ที า เมื่อวทิ ยากรสอนเสรจ็ สิ้นกระบวนการเรยี นรู้ หัวหน้ากลุ่มก็จะให้สัญญาณให้สมาชกิ ใส่รหัส
ขอบคุณ และมุ่งหน้าสู้ฐานการเรยี นรู้ ต่อไป

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

8

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

9

6. กิจกรรมหาอยู่ หากิน

เวลา 15.00 – 18.00 น.

วทิ ยากรหลัก

จ.ส.อ.ภัธภาม ทองมีสิทธ์ิ เจา้ พนักงานโสตทศั นศึกษาชานาญงาน

สรุปเน้ือหา

กิจกรรมฝึก “หาอยู่ หากิน” ให้ใชช้ วี ติ อยู่ได้ด้วยหลักกสิกรรมธรรมชาติ หาส่ิงท่ีอยู่รอบข้าง

กินอยา่ งประหยัดพรอ้ มรบั กับภัยพิบัติต่าง ๆ ทจี่ ะเกิดข้ึน ทาให้ทุกกคนเกิดความสามัคคี ความรกั ในหมู่คณะ

การประเมิน

สังเกตการมีส่วนรว่ ม และพฤติกรรม

รายละเอียดการดาเนินกิจกรรม
เป็นกิจกรรมท่ีฝึกการหาอยู่หากิน โดยการจาลองเหตุการณ์ เม่ือเกิดวกิ ฤตภัยพิบัติต่าง ๆ

เกิดการขาดแคลนอาหารหาสิ่งที่อยู่รอบข้างกินอย่างประหยัดพรอ้ มรบั กับวกิ ฤตภัยพิบัติต่าง ๆ ท่ีจะเกิดข้ึน
โดยกลุ่ม กว.ทั้ง 4 กลุ่ม ซงึ่ มีสมาชกิ กลุ่มละ 10 คน ชว่ ยกันหุงหาอาหาร หาส่ิงทอี่ ยู่รอบข้างกินอยา่ งประหยัด
และแบ่งหน้าที่กัน กลุ่มล่ะ 8 คน เพ่ือออกไปรอ้ งเพลงพรอ้ มท่าเต้นประกอบ เพ่ือไปแลกกับวัตถุดิบในการ
ประกอบอาหาร ที่ทีมวทิ ยากรได้จดั เตรยี มให้ และอีก 2 คน จะค่อยเตรยี มวัตถุดิบอุปกรณ์ไว้ในกลุ่ม เม่ือได้
วัตถุดิบครบแล้ว ทุกคนในกลุ่มต้องชว่ ยกันประกอบอาหาร กลุ่มละ 3 อย่าง จากนั้นวทิ ยากรสรุปสิ่งท่ีได้จาก
การเรยี นรู้ และกระบวนการทางานในรปู แบบกลุ่ม/ทีม

สรุปผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

10

7. การพัฒนาชุมชนในบรบิ ทสถานการณ์ความเปลี่ยนแปลง

เวลา 18.00 – 19.00 น.

วทิ ยากรหลัก

นางขวญั ตา พ่วงทอง ผู้ชว่ ยผู้อานวยการศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุร ี

วตั ถุประสงค์

1. เพ่ือแลกเปลี่ยนประสบการณ์ วธิ กี าร และกระบวนการทางานพัฒนาชุมชน

2. เพ่ือเชอ่ื มโยงสถานการณ์ในปจั จุบนั กับงานพัฒนาชุมชนในพ้ืนท่ี

ขอบเขตเน้ือหา

1. สถานการณ์ ประเทศ สังคม ชุมชน และครอบครวั

2. สรา้ งกระบวนการคิดเชอื่ มโยงจากภายนอกสู่ภายในและงานพฒั นาชุมชน

3. เรยี นรสู้ ถานการณ์ทีเ่ ปล่ียนแปลงของสังคมและเชอื่ มโยงงานพัฒนาชุมชน

4. ฝกึ ปฏิบัติ Work shop

การประเมิน

1. แบบประเมินความรู้ ความเข้าใจ

2. การสังเกตพฤติกรรม

กระบวนการเรยี นรู้

1. เปิดคลิป VDO จานวน 2 เรอ่ ื ง ได้แก่ เสี่ยงกู่จากครูใหญ่ และอ้ายสาคร

2. ถอดบทเรยี นจากการชมภาพยนตร์ โดยแบ่งกลุ่มระดมความคิด เวลา 45 นาที

(แบ่งกระดานเปน็ 2 ด้าน ถอดบทเรยี น 2 เรอ่ ื ง และชว่ ยกันเติมเต็ม)

3. ผู้แทนกลุ่มนาเสนอกลุ่มละ 10 นาที

4. วทิ ยากรเติมเต็มความรู้

สรปุ เน้ือหา

การพัฒนาชุมชนเปน็ กระบวนการที่ต้องเรม่ ิ จากการสรา้ งทศั นคติทด่ี ีต่องานพัฒนาชุมชนการ

อุทิศตน เสียสละประโยชน์ส่วนตนเพื่อส่วนรวม และสรา้ งความศรทั ธาให้เกิดขึ้นต่อประชาชนในทุกระดับ ซงึ่

แสดงออก ในรูปแบบของการกระทามากกว่าคาพูดท่ีสวยงาม ผ่านการทางานหนักอันถือว่าเป็นดอกไม้ของ

ชวี ติ ผลลัพธท์ ี่ออกมาจะเปน็ สิ่งรบั ประกันถึงความสาเรจ็ ของสิ่งทปี่ รารถนา ผลการเรยี นรแู้ ละนาไปปรบั ใช(้ ผล

การเรยี นรูส้ ่งผลอย่างไรต่อผู้เข้าฝึกอบรม เช่น ได้เรยี นรูแ้ ล้ว สามารถนามาปรบั ใช้กับงานพัฒนาชุมชน

อย่างไร) สามารถนาตัวอย่างความมุ่งมั่น เสียสละ อุทิศตนและความเป็นแบบอย่างที่ดีมาปรบั ใชใ้ ห้เหมาะสม

กับการทางานพัฒนาชุมชนในพ้ืนท่ี ได้แก่ 1. ความมุ่งมั่นต้ังใจจรงิ เพื่อให้งานสัมฤทธผ์ิ ลที่ต้ังไว้ 2. การสรา้ ง

ศรทั ธาให้เกิดขึ้นกับกลุ่มเป้าหมาย 3. เน้นการกระทาให้เห็นเป็นตัวอย่าง รวมถึงสรา้ งผลลัพธท์ ี่กระตุ้นให้

กลุ่มเปา้ หมายเห็นถึงความสาคัญของการพ่ึงพาตนเอง

"เสียงกู่จากครูใหญ่" เป็นเรอ่ ื งราวชวี ติ จรงิ ของครูใหญ่ผู้หน่ึง ซ่ึงได้อุทิศตนไปทางานเพ่ือ

พัฒนาชุมชนในโรงเรยี น ณ ชนบทแห่งหน่ึง ท่ามกลางขุนเขาใกล้ชายแดน ซง่ึ ห่างไกลความเจรญิ โรงเรยี น

แห่งน้ีไม่มีครใู หญ่ ครใู หญ่นักพัฒนาท่านน้ีจงึ ได้รบั อาสาไปสอนท่โี รงเรยี นแห่งน้ี ข้าราชการหรอื นักพัฒนาน้ัน

ต้องเป็นผู้ทางานด้วยความเสียสละ ไม่เรยี กรอ้ งความดี ความชอบ หรอื ผลประโยชน์ใด ๆ เปน็ พิเศษตอบแทน

สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

11

“อ้ายสาคร” เล่าเรอ่ ื งราวของหน่ึงในพนักงานมิตรผล ตาแหน่งพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน
โดยหน้าที่ของสาครคือการพัฒนาชวี ติ และความเป็นอยู่ของชาวบ้านในชุมชน ด้วยการให้ความรูเ้ รอ่ ื งเกษตร
แบบผสมผสาน แต่หลายครง้ั ที่สาครต้องถูกตัดสินจากภายนอก กว่าจะได้รบั การยอมรบั จากชาวบ้านต้องใช้
เวลาในการทุม่ เท พิสูจน์ตัวเอง

เปรยี บเสมือนการพัฒนาชุมชนที่ต้องเรม่ ิ จากการสรา้ งทัศนคติ อุทิศตนเสียสละประโยชน์
ส่วนตนเพ่ือส่วนรวม และสรา้ งความศรทั ธาให้เกิดขึ้นต่อประชาชนในทุกระดับ ซงึ่ แสดงออกในรูปแบบของ
การกระทามากกว่าคาพูด ผ่านการทางานหนักอันถือว่าเป็นดอกไม้ของชีวติ ผลลัพธ์ที่ออกมาจะเป็น
ความสาเรจ็ และส่ิงท่ีปรารถนา

ประเด็นคาถาม
1. ท่านได้ข้อคิดอะไรจากการชมภาพยนตร์ 2 เรอ่ ื ง (เสียงกู่จากครูใหญ่ / อ้ายสาคร)
2. ข้อคิดทไี่ ด้อยู่ในชว่ งไหน? ฉากไหน? ตอนไหน? ของภาพยนตร์

ผลการเรยี นรสู้ ่งผลอยา่ งไรต่อผู้เข้าฝกึ อบรม ได้เรยี นรแู้ ล้วสามารถนาไปปรบั ใชก้ ับงานพัฒนาชุมชนอยา่ งไร
ประเด็น คาตอบ

กว.1 เสียงกู่จากครูใหญ่
ข้อคิด
1) ภาพลักษณ์ภายนอก การแต่งกาย (สรา้ งศรทั ธา วาทศิลป)์
2) การวางแผนการทางาน โดยจดั ประชุมสรา้ งความเข้าใจรว่ มกัน
3) การกาหนดเปา้ หมาย / วสิ ัยทศั น์ในการทางาน (การทางานหนักคือดอกไม้งามของชวี ติ )
4) การทางานแบบพ่ึงตนเอง
5) ความอดทนและเพียรพยายามและอาศัยการทางานแบบมีส่วนรว่ ม
6) การพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยงั่ ยืน
ฉากไหน
1) ฉากตอนลงจากรถและแบกสัมภาระ
2) ฉากเรยี กประชุมระหวา่ งครูใหญ่กับครูน้อย
3) ฉากที่คิดคาขวญั และให้นกั เรยี นนาไปติดทบี่ ้าน
4) ฉากครใู หญ่เตรยี มพื้นที่ก่อสรา้ งอาคารเรยี น
5) ฉากชว่ ยกันสรา้ งโรงเรยี น
6) ฉากเลี้ยงไก่ เลี้ยงผึง้ ปลูกผัก เล้ียงววั

กว.1 อ้ายสาคร
ฉากไหน
1) ฉากหัวหน้าให้โอกาสสาครเข้าทางาน
2) ฉากเดินเคาะคนในหมู่บ้าน ให้เข้ารว่ มกิจกรรม
3) ฉากตาส้มตาและรบั ประทานอาหาร รว่ มกับน้องยม้ิ และคณุ ตา

สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

12

4) ฉากท่ีตาน้องยิ้ม นาใบปลวิ ไปให้ ผู้ใหญ่บ้านชว่ ยประชาสัมพันธ์
5) ฉากทีบ่ ้านตาน้องยิ้มทาเกษตรแบบผสมผสาน
ข้อคิด
1) การให้โอกาสผู้อ่ืนได้แสดงศักยภาพ
2) มีความเพียร พยายาม มุ่งมั่น ในการพัฒนา
3) มีความจรงิ ใจ ทาด้วยใจ ทมุ่ เทในงาน เพ่ือให้สาเรจ็ ลุล่วง
4) แสวงหาบุคคลท่ีน่าเชอื่ ถือชว่ ยเหลือ
5) นาบุคคลต้นแบบหรอื ปราชญ์ชาวบา้ น มาเปน็ ทนุ ชุมชน

กว.2 เสียงกู่จากครใู หญ่
ฉาก
1) ฉากลงรถ
2) ฉากรองเทา้ ขาด
3) ฉากมองเห็นเด็กเดินทางไปเรยี น ม. อ่ืน
4) ฉากเรม่ ิ ลงมือสรา้ ง รร.
5) ฉากจุดเปล่ียนสรา้ ง รร. สาเรจ็
ตอนไหน
1) เดินทางโดยรอคนมารบั /ชว่ ย
2) ตอนท่ีคนมารบั พบครใู หญ่
3) สารวจพ้ืนท่ีเพ่ือจะสรา้ งโรงเรยี น
4) ประชุมแต่ได้รบั การปฎิเสธ
5) สรา้ งคน/การศึกษา/ความรู้
6) สรา้ งอาชพี /สรา้ งรายได้
ข้อคิด
1) พ่ึงตนเอง
2) ความมุง่ มั่น
3) ความอดทน/เสียสละ
4) ถ้าสรา้ งความศรทั ธา
5) การพูดโน้มน้าว/ศิลปะในการสื่อสาร
6) ศึกษาชุมชน / วเิ คราะห์ชุมชนค้นพบเพราะการศึกษา คอื รากฐานการพฒั นา
7) ทุนทางสังคม
8) ลงมือทา ทาให้เห็น โดยมคี วามเชอื่ ว่า “การทางานหนักคือดอกไม้ของชวี ติ ”
9) ต่อเน่ือง, ไม่รอรฐั บาล
10) สรา้ งสานึก ทกุ คนรบั ผลประโยชน์รว่ มทาให้ความรสู้ ึกเปน็ เจา้ ของ

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

13

กว.2 อ้ายสาคร
ฉาก
1) ฉากสัมภาษณ์
2) ฉากเข้าหมู้บ้านเคาะประตู
3) ฉากคุยกับเด็ก
4) ฉากพบผใู้ หญ่บา้ น
ข้อคิด
1) การยอมรบั ตัวเอง/เชอื่ ม่ันในตนเอง
2) ความเสมอภาค/โอกาส
3) มีความมงุ่ ม่ัน
4) สรา้ งความสัมพันธ/์ จรงิ ใจ
5) สภาพปญั หา/ทนุ ทางสังคม
6) การมีส่วนรว่ มของชุมชน
7) วธิ กี าร

กว.3 เสียงกู่จากครใู หญ่
ฉาก
1) ฉากนงั้ รมิ น้าคิดถึงอดีตของตนเอง
2) ฉากทีค่ รูใหญ่ปว่ ยแล้วนักเรยี นและผู้ปกครองมาชว่ ยกันทางานจนสาเรจ็
3) ฉากที่นักเรยี นชว่ ยกันก่อสรา้ งโรงเรยี นการเลี้ยงไก่ เล้ียงผ้ึง และเลี้ยงวัว ฯลฯ.
ข้อคิด
1) การสรา้ งขวญั กาลังใจให้กับตนเอง เพื่อกาหนดเปา้ หมายของตนเอง
2) ฉากนงั้ รมิ นา้ คิดถึงอดีตของตนเอง
3) การสรา้ งความสาเรจ็ ด้วยความรว่ มมือและการมีส่วนรว่ มจากทุกคน

กว.3 อ้ายสาคร
ฉาก
1) สัมภาษณง์ าน
2) ฉากที่ติดป้ายประชาสัมพันธใ์ นชุมชน คุณสาครมีความพยายาม แม้จะไม่ได้รบั ความรว่ มมือจากชาวบ้าน
จนคุณสาครใชค้ วามเปน็ ตัวของตัวเอง เปล่ียนแปลงความคิดชาวบา้ นจากประสบการณ์ทเ่ี จอด้วยตัวเอง
3) ฉากรอบกองไฟ ที่คุณสาครตอบคาถามคุณตาหนูยิ้มว่าทาไมถึงอยากให้ชาวบ้านทาเกษตรผสมผสาน
เพราะประสบด้วยตนเองจากสวนคณุ ตา เลยอยากให้ชุมชนพ่ึงพาตนเองได้
4) ฉากบนเวที ทกุ อยา่ งทพี่ ยายามทาด้วยใจ ต้ังใจ สุดท้ายก็จะประสบความสาเรจ็ ได้
ข้อคิด
1) ความพยายามไม่ท้อถอย
2) การพึง่ พาตนเอง
3) ตั้งใจจนประสบความสาเรจ็

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

14

กว.4 เสียงกู่จากครูใหญ่
1) ฉากทคี่ รูใหญ่เดินทางข้ึนมา เขามารบั ตาแหน่งที่ รร.
2) ฉากสรา้ ง รร. ด้วยตนเอง
3) ฉากการเลี้ยงสัตว์
4) ฉากการปลูกต้นไม้ ปลูกผกั
5) ฉากการท่คี รูใหญ่ได้รบั รางวลั แลว้ นาเงนิ รางวัลมาสรา้ งศาลาประชาคม
6) ฉากมอบใบประกาศและมอบเงนิ ออมคืนเด็ก
7) ฉากแข่งกีฬาทุกคนมีส่วนรว่ ม
ข้อคิด
- การพ่ึงตนเอง สรา้ งศรทั ธา ความเสียสละ ความสามัคคี วางแผนเปน็ ข้ันตอน

กว.4 อ้ายสาคร

ฉาก

1) ฉากสัมภาษณ์

2) ฉากเคาะประตูบา้ น เพ่ือเชญิ ชวนชาวบ้านมารบั ฟัง แต่ไม่มีใครมาฟังจงึ ต้องทาซา้ หลาย ๆ ครง้ั

3) ฉากตาส้มตาใหเด็กกิน การสรา้ งความไวเ้ นื้อเชอื่ ใจ

ข้อคิด

1) ความมานะอดทน ความพยายาม ความมุ่งมั่น และรจู้ กั ใชว้ ธิ แี ก้ปัญหา

2) ความเท่าเทยี มและความหลากหลายทางเพศ

สรุปผลการเรยี นรู้

- ประเด็นการรบั ชมภาพยนตร์ เร่อื งเสียงกู่จากครูใหญ่ จากการสังเกตพฤติกรรมของผู้เข้ารบั

การฝึกอบรม มีความกระตือลือรน้ สนใจเน้ือหา มีความเข้าใจ มีการโต้ตอบ สอบถามข้อมูลเพ่ิมเติม

จากวทิ ยากร และมีความประทับใจในฉากหลายๆ ฉาก อาทิ 1) ฉากตอนลงจากรถและแบกสัมภาระ

2) ฉากเรยี กประชุมระหว่างครูใหญ่กับครนู ้อย 3) ฉากท่คี ิดคาขวญั และให้นักเรยี นนาไปติดทบี่ า้ น 4)

ฉากครูใหญ่เตรยี มพื้นท่ีก่อสรา้ งอาคารเรยี น 5) ฉากชว่ ยกันสรา้ งโรงเรยี น 6) การพัฒนาอย่างต่อเน่ืองและ

ย่งั ยนื ซง่ึ เป็นฉากท่ีสามารถสรา้ งแรงบันดาลใจให้ข้อคิดดีๆ ในการนาไปประยุกต์และปรบั ใชใ้ นการปฏิบัติงาน

และการพัฒนางานอยา่ งต่อเน่ืองและยง่ั ยืน

- ประเด็นการรบั ชมภาพยนตร์ เรอ่ ื งอ้ายสาคร จากการสังเกตพฤติกรรมของผู้เข้ารบั การฝึกอบรม

มีความตั้งใจ สนใจเนื้อหา มีการจดบันทึกเทคนิคการเข้าชุมชนจากตัวละครอ้ายสาคร โดยได้ข้อคิดดี ๆ เชน่

ความมานะอดทน ความพยายาม ความมุ่งมั่น และรูจ้ กั ใชว้ ธิ แี ก้ปัญหา ความเท่าเทียมและความหลากหลาย

ทางเพศ ซงึ่ ได้แง่คิดและเทคนิคการเข้าชุมชนที่ดี สามารถสรา้ งแรงบันดาลใจ ในการทางานและเป็นพลังให้

ขับเคลื่อนผลงานการดาเนินงานได้อย่างสรา้ งสรรค์ตามพ้ืนที่บรบิ ทในการปฏิบัติงานของตนเองได้ในโอกาส

ต่อไป

สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

15

8. กิจกรรม Mentor 1 ด้วยเรารกั กัน/ผูกพันมั่นคง
เวลา 19.00 – 20.30 น.
วทิ ยากรหลัก

พี่เลี้ยงประจากลุ่ม กว.
ขอบเขตเนื้อหา

ทาความรจู้ กั กัน ยอมรบั ซง่ึ กันและกันด้วยบรรยายกาศทปี่ ลอดภัยและสรา้ งสรรค์
การประเมิน

1. แบบประเมินความรู้ ความเข้าใจ
2. การสังเกตพฤติกรรม
กระบวนการเรยี นรู้
ทกุ คนแนะนาตัว ทักทาย และทาความรจู้ กั กัน ทวนชอ่ื ตนเองและทวนชอ่ื ของเพื่อนวนไปจน
ครบทกุ คน ให้แต่ละคนบอกขอ้ ดีข้อด้อยของตนเองอย่างละ 1 ข้อ รว่ มกันพิจารณาถึงขอ้ ดีข้อด้อยให้แต่ละ
คนเขียน ส่ิงท่ีควรทา (DO) และสงิ่ ทีไ่ ม่ควรทา (Don,t) ลงในบตั รคา (แยกสี) จากนั้นหาข้อสรปุ รว่ มกันเขียน
ลงในกระดาษฟลิปชารท์

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

16

วันที่ 12 ธนั วาคม 2564
เวลา 05.30 – 06.30 น. กิจกรรมสุขภาพของนักพัฒนา
เวลา 08.00 – 08.30 น. กิจกรรมหน้าเสาธง/กล่าวนาทัศนะ

สรุปผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

17

9. กิจกรรม Wrap up

เวลา 08.30 – 09.30 น.

วทิ ยากรหลัก

นางวาสนา ไขว้พันธุ์ ผู้อานวยการศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุร ี

วัตถุประสงค์

1. เพ่ือสรา้ งอุดมการณ์การทางานพัฒนาชุมชน

2. เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจในปรชั ญา หลักการและกระบวนการพัฒนาชุมชนแบบมีส่วนรว่ ม

3. เพ่ือให้มีหลักคิดอยา่ งนักพัฒนาชุมชน

ขอบเขตเน้ือหา

1. ความเปน็ มาของการพฒั นาชุมชนยุคต่าง ๆ

2. อุดมการณ์ และหลักคิดของนักพัฒนาชุมชน / คุณค่าของนักพัฒนาชุมชน

3. แรงบนั ดาลใจนักพัฒนา(อาชพี )

4. ปรชั ญา หลกั การ กระบวนการพัฒนาชุมชนท่ียึดการมีส่วนรว่ มของประชาชน

การประเมิน

1. แบบประเมินความรู้ ความเข้าใจ

2. การสังเกตพฤติกรรม

สรปุ ผลการเรยี นรู้ จากการสงั เกตพบว่า ผู้เขา้ อบรมมีความสนใจเน้ือหาท่ีวิทยากรให้ความรอู้ ย่างมาก รวมทงั้ มี
การโต้ตอบ สอบถามข้อมูลเพิ่มเตมิ มีการแสดงการมสี ว่ นรว่ มในการเรยี นรู้ และใหค้ วามร่วมมอื ในกจิ กรรมที่
ขอให้รว่ มกนั ปฏิบตั เิ ป็นอยา่ งดี

สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

18

10. ทกั ษะการพูดในทช่ี ุมชน

เวลา 09.30 – 17.00 น.

เวลา 18.00 – 20.00 น.

วทิ ยากรหลัก

นางสาววาสนา ยดึ เหนย่ี ว นักวชิ าการพัฒนาชุมชนชานาญการ

วัตถุประสงค์

1. เพ่ือให้ผู้อบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลกั การสื่อสารท่ีมีประสิทธภิ าพและทกั ษะการพูดในท่ี

ชุมชนด้วยหลักการต่าง ๆ

2. เพ่ือให้ผู้อบรมมีทักษะการพูดในทช่ี ุมชนโดยใชห้ ลักการต่าง ๆ เพ่ือสรา้ งความเข้าใจอนั ดีต่อกันกับ

สมาชกิ ให้เกิดการยอมรบั กาดาเนินงานด้วยความเต็มใจ

3. เพ่ือให้ผู้อบรมมีบุคลิกภาพ การแต่งกายที่เหมาะสม และเสรมิ สรา้ งภาพลักษณ์ทดี่ ี

ระยะเวลา บรรยาย 2 ชวั่ โมง 30 นาที (09.30 น. – 12.00 น.)

ฝกึ ปฏิบัติ ชว่ งเวลา 13.00 น.– 17.00 น. และ ชว่ งเวลา 18.00 น. – 20.00 น.

ประเด็นเน้ือหาวชิ า
เทคนิค/วธิ กี าร

1. การใชส้ ื่อ Power point
2 การใชค้ ลิป Video
3. การเติมเต็มให้ข้อคิด และข้อเสนอแนะ

สรปุ ผลการดาเนินการและผลการเรยี นรู้
วทิ ยากรแนะนาตัวพูดคุยสรา้ งบรรยากาศให้เกิดความเป็นกันเอง หลังจากนั้นเรม่ ิ เปิดคลิป VOD

การพูดของน้องนักเรยี น คณุ โน้ตอุดม คณุ เบส และพูดเชอื่ มโยงเข้าสู่กระบวนการเรยี นรตู้ ามลาดับ ดังน้ี
“จรติ ” หมายถึง ความประพฤติกิรยิ าอาการ โดยจรติ ในพระพุทธศาสนามี ๖ ประการ ได้แก่

ราคะจรติ หมายถึง รกั สวยรกั งาม
โทสะจรติ หมายถึง ใจรอ้ นหงดุ หงดิ
โมหะจรติ หมายถงึ โง่เขลางมงาย
สัทธาจรติ หมายถึง ซาบซงึ้ เล่ือมใส
พุทธจรติ หมายถึง มีความคิดพิจารณา
วติ กจรติ หมายถึง มีความคิดฟุ้งซา่ น จบั จด

หากพิจารณาพ้ืนเพของจรติ ตามหลักพุทธศาสนาทั้ง ๖ ประการ จะเห็นวา่ เปน็ บทสรปุ ถึงอุปนิสัย
ความ ประพฤติทเ่ี คยชนิ ซงึ่ มีท้ังดีและไม่ดีปะปนกันอยู่ จรติ เป็นการแสดงออกเป็นไปตามสภาพพื้นเพของ
จรติ และสรรี ะของผู้นั้น แต่สังคมมีวัฒนธรรมประเพณีที่แตกต่างกัน ออกไปโดยเฉพาะมีววิ ฒั นาการใหม่ๆ ที่
แทรกซอ้ นเข้ามาในสังคมนั้นได้อย่างดีตามสิทธแิ ละหน้าที่ หากผ้ใู ดปล่อย จติ ปล่อยกายให้เป็นไปตาม
ธรรมชาติขาดการควบคมุ ดูแล ผู้นั้นก็คงจะตกยุค ตกสมัย ตกทนี่ ่ังลาบาก อยูร่ ว่ มใน สงั คมน้ัน ๆ ไม่ได้
แน่นอน

“จรติ นักพัฒนา” จงึ หมายถึง ศิลปะการปรุงแต่งชวี ติ ของนักพัฒนา ให้ดีงาม อย่างรเู้ ท่าทนั จรติ หรอื
การดัดจรติ โดยสิ่งที่ไม่ดีจะถกู พัฒนาเปล่ียนแปลงปรบั ปรงุ ให้ดีต่อไปได้ยงิ่ ๆ ข้ึน ดังน้ันคาวา่ “ดัดจรติ ” จงึ

สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

19

อาจไม่ใชก่ ารมีความหมายในเชงิ การต่อว่า หรอื การส่อเสียด แต่เปน็ ใชศ้ ิลปะในการพฒั นาความประพฤติ
หรอื การแสดงออกทไี่ ม่ดี ให้ดีขึ้น และสามารถใชช้ วี ติ และทาหน้าท่ีของตนเองในสังคมได้อย่างมีความสุข

การพูดในท่ีชุมชน เป็นบุคลิกภาพภายนอกท่ีผู้นาชุมชนทุกคนต้องปฏิบัติ เพ่ือสรา้ งความรู้
ความเข้าใจและเปน็ ผู้นาในชุมชน

ความสาคัญของการพูด
การพูด  เป็นเครอ่ ื งมือส่ือสารทม่ี ีอนภุ าพท่ีสุดในโลก
การพูด  เป็นสัญลกั ษณ์แห่งความเข้าใจระหว่างมนุษยก์ ับมนษุ ย์
การพูด  เปน็ ประตูไปสู่ความสาเรจ็ หรอื ล้มเหลว
พ้ืนฐานและการพัฒนาการพูด หรอื กระบวนการบนั ได 4 ขั้น ประกอบด้วย
1. ฐาน 4 ประกอบด้วย น้าเสียง ภาษา สายตา ทา่ ทาง
2. วาทศิลป์ ใชห้ ลักการ ข้ึนต้นให้ตื่นเต้น ตอนกลางให้กลมกลืม สรุปจบให้จบั ใจ
3. การสรา้ งภูมิค้มุ กันการผิดพลาด โดยการวางแผนการถ่ายทอดให้ดี
4. การมีปฏิภาณไหวพรบิ ในการพูดทีอ่ าจเกิดเรอ่ ื งต่างๆทเ่ี ราไม่สามารถคาดเดาได้
หลักการพูดที่ดี ต้องให้ผู้ฟังรูส้ ึกสบายหู ดูสบายตา พาสบายใจ โดยพื้นฐาน คือ การใชฐ้ าน 4 ประกอบด้วย
นา้ เสียง ภาษา สายตา ท่าทาง

หลักฐาน 4

1. นา้ เสียง ความสาคัญเก่ียวกับน้าเสียง มี 2 ประการ
1) คล่ืนเสียงหรอื น้าหนักสงู ต่าของเสียง
2) พลังของนา้ เสียง
- การฝึกหายใจให้ถูกหลัก เพ่ือให้การออกเสียงมีพลัง โดยหายใจเข้าให้สูดลมเข้าไป

อยู่ในชอ่ งทอ้ ง (ทอ้ งจะปอ่ ง) หายใจออกโดยค่อยๆ ปล่อยลมหายใจออกจากชอ่ งท้อง (ทอ้ งจะแฟบ)
- การฝึกเปล่งเสียง โดยให้ผู้เข้าอบรมยนื ตัวตรง แล้วหายใจเข้าลึก ๆ ให้สุดปอด แล้ว

ค่อยๆ ผ่อนลมหายใจออกชา้ ๆ จากนั้นให้ฝึกเปล่งเสียง...อี... , เปล่งเสียง...เออ... และเปล่งเสียง...อา... ให้
สอดคล้องกับจงั หวะหายใจ ซง่ึ สามารถฝกึ ได้ทกุ ที่

2. สายตา “สายตาเป็นหน้าต่างหัวใจ” สายตาเป็นส่ือภาษาที่สามารถส่ือความหมายได้
มากมาย ทั้งมีความลึกซง้ึ ลึกลับ ซบั ซอ้ น การส่ือภาษาทางสายตาเป็นฐานของศิลปะการถ่ายทอดจะประสาน
กับใบหน้า ท่าทาง ไม่วา่ โดยการยืน การนง่ั ทผี่ ู้พูดจะต้องหันหน้าและรา่ งกายไปสู่ค่สู นทนาเสมอ ในขณะทีอ่ ยู่
ในสถานที่ที่มีคนจานวนมาก ไม่ว่าจะยืนอยู่บรเิ วณไหน ก็สามารถใช้สายตาในการแบ่งผู้ฟังออกเป็น 2 ข้าง
เพ่ือการใชส้ ายตาอยา่ งสงา่ งาม โดยใชก้ ารกวาดสายตาไปท่ีผู้ฟังเป็นระยะ มองอย่างทั่วถึง ไม่จอ้ งไปที่ใครคน
ใดคนหนึ่งหรอื เพียงจุดใดจุดหน่ึง จะทาให้ผู้ฟัง หรอื ผู้ท่ีสนทนาด้วยมีความรูส้ ึกว่าผู้พูดให้ความสาคัญต่อเขา
เหล่านั้น

สรุปผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

20

3. ภาษา ข้อควรรเู้ ก่ียวกับการใชภ้ าษา ดังน้ี
1) ภาษาต่างประเทศ หากจาเป็นต้องใชใ้ นการพูด ควรแปลเป็นไทย หรอื อธบิ ายความ ให้
ผู้ฟังเข้าใจด้วย
2) ภาษาภูมิภาค และภาษาถิ่น ถ้าสามารถใชภ้ าษาถ่ินสื่อสารกับกลุ่มผู้ฟังได้อย่างเหมาะสม
จะส่งเสรมิ ให้การพูดในครงั้ น้ันประสบผลสาเรจ็ ได้ดีย่ิงข้ึน การฝึกออกเสียงคาควบกล้า ร-ล-ว เชน่ ปรบั –
เปลี่ยน - ควาย มีรูปแบบเหมือนกันทุกตัวอักษร โดยเน้นการออกเสียงแยกเป็นสองคาจากชา้ ไปเรว็ จนรวม
เป็นเสียงควบกล้าในคาเดียว การพูดที่สมบูรณ์ต้องมีวรรคตอนประโยคท่ีถูกต้อง การฝึกอ่านหนังสือออก
เสียงดังจะช่วยให้แบ่งวรรคตอนประโยคได้ โดยให้ฝึกออกเสียงประโยคครูท่ีให้ฝึก ได้แก่ รู–้ แล้ว–ปรบั –
เปลี่ยน- เปลี่ยน–ปรบั –แล้ว-รู้ และไม่ควรพูดคายอ่ ในการพูดที่เป็นทางการ
3) ภาษาขยะ ภาษาขยะที่ปะปนหรอื ต่อท้ายประโยค เชน่ คาว่า เออ อ้า เนีย เง้ยี ะ นะคะ
นะครบั แล้วก็ แบบว่า จะทาให้สานวนการถ่ายทอดซ้าซาก เยิ่นเย้อ ความหมายอาจผิดเพี้ยนไป ผู้ฟังอาจไม่
เข้าใจเน้ือหาสาระได้ชดั เจน ต้องพยายามตัดทง้ิ ให้หมด
4) ภาษาวบิ ัติ การใช้คาด่า คาสบถ คาสาปแช่ง คากระแนะกระแหน ก้าวรา้ ว คาผวน คา
หยาบคาย คาทีล่ ่วงเกินศีลธรรมและวฒั นธรรมประเพณี เหล่านี้ถือเปน็ คาวบิ ตั ิ เป็นข้อห้ามในการพูดทีด่ ี
4. ท่าทาง อิรยิ าบถ การนั่ง ยืน เดิน การใชม้ ือประกอบการถ่ายทอดเพื่อให้เกิดอรรถรส ใน
การฟัง ถือเป็นภาษากาย การยืนที่ม่ันคงจะชว่ ยให้เกิดความม่ันใจในการพูดได้ ลักษณะของการยืนที่รา่ งกาย
ให้เกิดความมั่นคงสง่างาม ไม่ควรแยกฝา่ เท้าให้ห่างมากเกินไป ประมาณ 1 ฝ่ามือ เป็นระยะที่พองาม ท่าทาง
ทีค่ วรระวัง การล้วง แคะ แกะ เกา จบั หรอื การว่นุ วายกับเอกสารทีถ่ ือเตรยี มมา

วทิ ยากรสรปุ เน้นย้าเรอ่ ื งฐาน 4 ดังนี้
- นา้ เสียง พูดด้วยน้าเสียงทม่ี ีพลัง มีจงั หวะจะโคน มีการเน้นเสียง เน้นคาให้เหมาะสม
- ภาษา ต้องใชใ้ ห้เหมาะสมกับผู้ฟัง ใชภ้ าษาให้ถูกหลกั ไวยากรณ์
- สายตา เวลาพูดต้องหันหน้าเข้าหาผู้ฟัง กวาดสายตาไปมา สบตาผู้ฟังให้ท่ัวถึง
- ท่าทาง คือ การนั่ง การเดิน การยนื การวางเท้า การใชภ้ าษามือ และการแต่งกายต้อง
สง่างาม/เหมาะสม/ถกู กาลเทศะ

วาทศิลป์
ใชว้ ธิ กี าร ขึ้นต้นให้ผู้ฟังรสู้ ึกต่ืนเต้น อยากฟังในเรอ่ ื งท่เี ราจะพูด อาจใชป้ ระโยคคาถาม สุภาษิต
คาคม บทกลอน หรอื คาขวญั ทีเ่ ก่ียวข้องกับเรอ่ ื งทจ่ี ะพูดมาใชเ้ ปน็ การเรม่ ิ การพูด

ตอนกลางให้กลมกลืม โดยต้องมีการเรยี บลาดับเน้ือเรอ่ ื งให้ดี สอดคล้องกัน เพ่ือปอ้ งกัน
การพูดวกไปวนมาเพ่ือกันการสับสนในข้อมูลหรอื เรอ่ ื งราว มีการเน้นเสียงเน้นคา ตามเน้ือหาเรอ่ ื งราว

สรปุ จบให้จบั ใจ โดยการสรปุ เรอ่ ื งเป็นข้อความทีก่ ระชบั น่าสนใจ น่าติดตาม และสรา้ งความ
ประทับใจหลังสิ้นสุดการพูด โดยอาจใชอ้ าจคาถาม สุภาษิต คาคม บทกลอน หรอื ข้อความทีส่ รา้ งพลังให้เกิด
ความต้องการทา ท่ีเก่ียวข้องกับเรอ่ ื งทพ่ี ูดมาใชเ้ ป็นการสรปุ จบ

ขั้นตอนในการเตรยี มพูด
1. ขั้นวเิ คราะห์ผู้ฟ้ง ศึกษาขอ้ มูลวา่ ผู้ฟังเปน็ ใคร กลุ่มองค์กรใด ชว่ งวยั ลักษณะการ
ทางาน เพื่อเป็นข้อมูลในการเตรยี มความพรอ้ ม

สรุปผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

21

2. ขั้นเตรยี มตัวผพู้ ูด ต้องมีความรใู้ นเรอ่ ื งนั้นๆ อยา่ งถกู ต้องชดั เจน รวมทงั้ มีการค้นควา้
หาข้อมลู ทเี่ ก่ียวข้อง นามาประกอบเรอ่ ื งทจี่ ะพูด เพื่อสรา้ งความม่ันใจในการพูดให้มากขน้ึ

3. ข้ันเตรยี มสื่อและอุปกรณ์ ทีเ่ กี่ยวข้องในการใชป้ ระกอบการพูด
4. ขั้นฝกึ ซอ้ ม ทดลองทา เพื่อลดความผิดพลาดทอี่ าจเกิดข้ึน หากมีความผิดพลาดจะ
สามารถแก้ไขได้ทนั ทว่ งที

การใชไ้ มโครโฟน
การพูดควรสารวจว่าไมโครโฟนเปดิ แล้วหรอื ยงั ทดสอบโดยใชป้ ลายน้ิวสะกิดเบาๆ ไม่ควรเคาะ
หรอื ใชค้ าพูดฮัลโหล..1..2..3.. โดยให้ไมโครโฟนห่างจากปากประมาณ 1 ฝ่ามือ อยูใ่ นระดับคางของผู้พูด หาก
เปน็ ไมโครโฟนแบบมีขาต้ัง ควรยืนห่างในระยะทส่ี ามารถยนื พูดได้สะดวก ไม่ต้องยืนยอ่ หรอื ยืนเขยง่
เนื่องจากไมโครโฟนในปัจจุบนั มีลักษณะการปดิ -เปดิ ทแ่ี ตกต่างกัน ดังนั้นจงึ ต้องมีการศึกษา สังเกต หรอื
อาจสอบถามการปดิ เปดิ ไมโครโฟนก่อนเบื้องต้น เพ่ือให้การพูดไม่ติดขัดในชว่ งเรม่ ิ ต้นการพูด

การยืนทีเ่ หมาะสม
สาหรบั ผู้ชาย ระยะห่างของปลายเทา้ ประมาณเทา่ กับความกวา้ งของหัวไหล่
สาหรบั ผู้หญงิ ระยะห่างของปลายเทา้ ประมาณเท่ากับความกวา้ งของลาคอ
การวางมือ หากไม่มกี ารใชม้ ือประกอบท่าทาง ควรประสานมือหลวม วางที่ระดับเอว หรอื ชว่ งสะดือ เพื่อ
ป้องกันการลว้ งแคะแกะเกา และทาให้ดูสง่างาม

การทกั ท่ปี ระชุม
ใชห้ ลัก 2 พองาม 3 พอดี คอื การทักทป่ี ระชุมทเี่ หมาะสม ไม่มากเกินไป โดยใชค้ าวา่ เรยี น สาหรบั ผู้ทีเ่ ปน็
ประธานฯในกิจกรรมนั้นๆ โดยพูดเปน็ ตาแหนง่ ไม่นิยมกลา่ วเปน็ ชอื่ เน่ืองจากอาจเกิดความผิดพลาดในการ
ออกเสียงของคาทีเ่ ปน็ ชอ่ื เฉพาะ เรยี งมาตามลาดับใหญ่ และรองลงมา ควรเปน็ คาทใ่ี ห้เกียรติ หากมีหลาย
คนให้ใชค้ าวา่ คณะ หรอื ทีม ...เชน่ เรยี น ท่านนายกองค์การบรหิ ารส่วนตาบลดอนตะโก (1) ..คณะเจา้ หน้าท่ี
องค์การบรหิ ารส่วนตาบลดอนตะโก (2) และสวสั ดีท่านผู้เข้ารว่ มประชุมทุกท่าน (3)

สรปุ 13 ขั้นตอนสู่ความสาเรจ็ ของการพูดในท่ชี ุมชน
1. เตรยี มให้พรอ้ ม
2. ซกั ซอ้ มให้ดี
3. ทา่ ทใี ห้สงา่
4. หน้าตาให้สุขุม
5. ทักที่ประชุมไมว่ กวน
6. เรม่ ิ ต้นให้โน้มน้าว
7. เรอ่ ื งราวให้กระชบั
8. ตาจบั ท่ีผู้ฟัง
9. เสียงดังแต่พอดี
10. อย่าให้มี เอ้อ อ้า
11. ดูเวลาแต่พอครบ
12. สรุปจบให้ จบั ใจ
13. ยมิ้ แยม้ แจม่ ใสตลอดการพูด

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

22

กระบวนการในการฝึกปฏิบัติ
ผู้เข้าอบรมท้งั 40 ท่าน ได้มกี ารแบ่งกลุ่มเปน็ 4 กลุ่มๆละ 10 ท่าน การฝกึ ปฏิบัติจะใช้

การฝึก จานวน 5 รอบ โดยแต่ละรอบจะมวี ทิ ยากรประจากลุ่มให้ข้อมลู และแนะนาข้อบกพรอ่ ง หรอื เพิ่มเติม
ในส่วนที่ควรเพ่ิมเติมให้ผู้เข้าอบรมแต่ละทา่ น โดยกาหนดให้ผู้เข้าอบรมแต่ละคนได้สลับกันพูดจนครบทุกคน
โดยมีกระบวนการข้ันตอนการ ดังนี้
วทิ ยากรประจากลุ่มจะทบทวนข้อมูลการเรยี นรทู้ ีผ่ ่านมา แนะนาข้อมูลกระบวนการฝกึ พูดให้เข้าใจตรงกันอีก
ครง้ั เมื่อทกุ คนพรอ้ ม วทิ ยากรท่ีเปน็ พิธกี ร จะเชญิ พูด ตัวอยา่ งคือ พิธกี รจะพูดวา่ นาย.ก เตรยี มพูด..
นาย.ก จะเดินมานัง่ ทเ่ี ก้าอี้ ....หลังจากน้ัน พิธกี รจะพูดวา่ ผู้พูด นาย.ก .....เตรยี มพูด นาง.ข.....ให้นาย.กทน่ี ัง่
เก้าอ้ีอยู่ลกุ ข้ึนมายืนบรเิ วณใกล้ไมโครโฟน และ นาง.ข ไปน่ังเก้าอ้ีเพื่อรอพูดคนต่อไป หลังจากน้ัน นาย.ก
ไหว้ 1 ครงั้ และเดินเข้าไปปรบั ไมโครโฟน ให้อยูร่ ะดับคาง ห่างจากปากประมาณ 1 ฝ่ามอื ยนื ในท่าทางท่ี
เหมาะสม หลังจากน้ันเรม่ ิ พูด...
1) ขอบคุณพิธกี ร (เนื่องจากพิธกี รจะเป็นผู้ทเี่ ชญิ เราพูด หากเป็นเรอ่ ื งพิธกี าร..ตามมารยาทเราจะไมข่ ึ้นไปยืน
พูดหากไม่มีผู้เชญิ ให้พูดหรอื อธบิ ายข้อมูล) โดยผายมือไปทางทพี่ ิธกี รนัง่ แล้วชกั มือกลบั มาท่ีเดิม
2) เรยี นวทิ ยากร (1) ให้ผายมือไปทางที่วทิ ยากรนง่ั อยู่ แล้วชกั มือกลับทเี่ ดิม
3) และสวสั ดีเพ่ือนๆผู้เข้าอบรมท่นี ่ารกั ทกุ ทา่ น (2) ผายมอื ทงั้ 2 ข้างออกไปด้านหน้าพรอ้ มกัน และชกั
กลับมากุมหลวมๆไว้บรเิ วณเอว หรอื สะดือ

(ในกลุ่มฝกึ ปฏิบัติจะมวี ทิ ยากรประจากลุ่มทท่ี าหน้าทีเ่ ปน็ วทิ ยากร 1 คน และเปน็ พิธกี ร 1 คน ในการเชญิ
พูด)
หลังจากนั้น 3) (แนะนาตัวเอง) ผม/ดิฉัน...นาย/ นาง /นางสาว....(นามสกุล)......ชอื่ เล่น.....ตาแหนง่ ....ปัจจุบนั
อายุ......มาจาก (สถานที่ทางาน).........ตามด้วยเรอ่ ื งท่กี าหนดให้พูด.......ใชว้ ธิ กี ารพูดตามที่ได้เรยี นมา (ฐาน4)
4) การจบเรอ่ ื งทีจ่ ะพูด ให้พูดชอื่ นามสกุล ตัวเอง อีกครงั้ และกล่าวคาว่า “สวัสดีครบั /สวัสดีค่ะ..แล้วถอย
หลังออกมาจากไมโครโฟน 1 ก้าว แลว้ ไหว้ 1 ครง้ั และกลับไปนง่ั ท่ีเดิม
ทาเชน่ น้ีจนครบทุกคน

ในกระบวนการจะใชแ้ นวทางนี้ และปรบั ไปตามเนื้อหาของการฝกึ แต่ละรอบ ที่ได้มีการกาหนดเรอ่ ื งท่จี ะ
พูด ตามทว่ี ทิ ยากรประจากล่มุ กาหนดและให้คาแนะนาในหัวข้อและวธิ กี ารพูดแต่ละรอบ คือ

รอบท่ี 1 การพูด “แนะนาตัวเอง” (ฐาน 4 )
รอบท่ี 2 การพูดเรอ่ ื ง “ประสบการณ์ทเี่ ป็นความประทับใจ” (ฐาน 4 , วาทศิลป)์
รอบที่ 3 การพูดโดยการใชป้ ฏิภาณไหวพรบิ (วทิ ยากรเปดิ ภาพให้ดู แล้วผู้อบรมพูดโดยใชข้ ้อมูลมา
เชอ่ื มโยงภาพให้เป็นเรอ่ ื งราว)
รอบท่ี 4 การพูดจูงใจ โดยมีการสมมติสถานการณ์ในการให้รว่ มบรจิ าค จากการกระโดดหน้าผา ท่เี ปน็
น้าตก โดยใชก้ ารพูดให้เห็นภาพ โดยใชค้ วามรทู้ ีไ่ ด้เรยี นมาพูดให้เกิดการคล้อยตาม
รอบที่ 5 การพูดแบบการใชส้ ุนทรพจน์ หัวข้อ “ความปรารถนาสูงสุดของข้าพเจา้ ” โดยใชค้ วามรทู้ เ่ี รยี น
มาท้ังหมดมาใชใ้ นการพูดครงั้ นี้ ให้เพื่อนผู้เข้าอบรมทงั้ หมดเกิดความประทบั ใจ และเห็นความสามารถ
โดยใชก้ ระบวนการขั้นตอน.การเรม่ ิ พูด และการจบการพูด จากข้ันตอนตามท่วี ทิ ยากรหลักและวทิ ยากรประจา
กลุ่มได้แนะนา

สรุปผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

23
เม่ือฝกึ ปฏิบตั ิจนครบทั้ง 5 รอบแล้ว ให้วทิ ยากรประจากลุ่ม โหวตคะแนนเพ่ือเลือกผ้ทู มี่ ีคุณสมบตั ิ
ดังน้ี
1) ผู้มีวาทศิลปด์ ีเด่น (กลุ่มละ1) ให้ผู้เข้าอบรมโหวตคะแนนโดยเขียนลงบัตรสีชมพู
2) ผู้มีพัฒนาการดีเด่น (กลุ่มละ 1 คน) ให้ผู้เข้าอบรมโหวตคะแนนโดยเขียนลงบตั รสีฟา้
โดยให้วทิ ยากรประจากลุ่มสรปุ และรวบรวมสง่ ให้วทิ ยากรหลัก เพื่อใชใ้ นกิจกรรมต่อไปหลังจากนั้น
เมื่ออธบิ ายข้ันตอนกระบวนการจบแล้ว วทิ ยากรเปดิ โอกาสให้ผู้เข้าอบรมซกั ถามเพ่ิมเติม เติมเต็ม
และแจง้ สถานท่ีในการฝกึ ปฏิบัติของแต่ละกลุ่ม
ในชว่ งภาคค่า วทิ ยากรทบทวนการเรยี นรอู้ ีกครงั้ และแนะแนวทางในการนาไปปรบั ใชใ้ นการปฏิบัติงาน สรุป
ข้อมูลในการฝกึ ปฏิบัติของผู้เข้าอบรมแต่ละกลุ่ม หลังจากนั้น ประกาศผลการโหวตคะแนนผู้ทไี่ ด้รบั รางวลั ท้ัง
2 ประเภท คือผู้มีวาทศิลปด์ ีเด่น จานวน 4 รางวลั (4กลุ่ม) และผมู้ ีพัฒนาการในการพุดดีเด่น จานวน 4
รางวลั (4กลุ่ม) มอบรางวัล จานวนรวม 8 รางวัล หลังจากนั้น เชญิ ให้ผู้ทไ่ี ด้รบั รางวลั วาทศิลปด์ ีเด่นทัง้ 4
ท่าน ได้พูดที่ประชุมได้ชม เมอื่ ครบทั้ง 4 ทา่ นแล้ว วทิ ยากรสรุป เติมเต็ม เปดิ โอกาสให้ซกั ถาม และกล่าว
สรปุ การเรยี นรทู้ ี่ผ่านมาทั้งหมด แนะนาการปรบั ใช้ และให้กาลังใจสาหรบั การพัฒนาความสามารถในการนา
ความรทู้ ไ่ี ด้ไปพัฒนาตนเองในการปฏิบัติหน้าทท่ี ี่ได้รบั มอบหมาย ต่อไป...
สรุปผลการเรยี นรู้ จากการสังเกตพบว่า ผู้เข้าอบรมมีความสนใจเนื้อหาที่วทิ ยากรให้ความรูอ้ ย่างมาก
เนื่องจากเป็นเรอ่ ื งใกล้ตัว เป็นประโยชน์ รวมทั้งคาดว่าผู้เข้ารบั การอบรมจะสามารถนาไปปรบั ใช้ในการ
ปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี มีการโต้ตอบ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม มีการแสดงการมีส่วนรว่ มในการเรยี นรู้ และ
ให้ความรว่ มมือในกิจกรรมท่ีขอให้รว่ มกันปฏิบัติเป็นอย่างดี ซ่งึ จากการสอบถามพบว่าผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่
อาจมีพ้ืนฐานในการพูดทด่ี ีอยู่แล้ว แต่ยงั ขาดทักษะ ยงั ขาดขั้นตอนบางส่วนที่สามารถนาไปปรบั ใช้ เพ่ือให้เกิด
ทักษะและความชานาญ เม่ือได้รบั ความรูค้ รงั้ น้ีแล้ว ทาให้เข้าใจ และสามารถนากลับไปปฏิบตั ิและฝึกให้เกิด
ทักษะและความชานาญเพ่ิมข้ึนในโอกาสต่อไป

สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

24

11. กิจกกรม Mentor 2 My Idol
เวลา 19.00 – 20.30 น.

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

25

11. Mentor 2
วทิ ยากรหลัก

พ่ีเลี้ยงประจากลุ่ม กว.
ขอบเขตเนื้อหา

กิจกรรม 2 บุคคลต้นแบบในการดาเนินชวี ติ
ขั้นตอน

- ให้ผู้เข้าอบรมนึกทบทวนถึงบุคคลท่ีตนเองชนื่ ชม ศรทั ธาทส่ี ุดในชวี ติ (1 คน) ท่ีคิดว่า
ตนเองจะใชบ้ ุคคลนั้นเป็นแบบอย่าง/ต้นแบบ ในการปฏิบตั ิ พรอ้ มทง้ั นึกถึงเหตุผลว่าทาไมถึงเลือก
บุคคลนั้นเปน็ แบบอย่าง เชน่ ในหลวง รชั กาลท่ี 9 กษัตรยิ ์นักพัฒนา พี่ตูน บอด้ีแสลม ผู้มีความมงุ่ มั่น
สรา้ งสังคมท่มี ีจติ อาสา เปน็ ต้น

- ให้นาชอ่ื คนท่ตี นยึดเป็นแบบอยา่ งมาต่อทา้ ยชอ่ื ตัวเองไว้ สาหรบั การแนะนาตัวให้
เพ่ือนรจู้ กั เวลาแนะนาตัวให้แนะนาตัว เชน่ “เบยี ร์ >> ในหลวง ร.9”

วธิ กี ารแนะนาตัว
- เรม่ ิ โดยวทิ ยากรแนะนาชอ่ื ตน ตามด้วยชอ่ื บุคคลทตี่ นชนื่ ชมศรทั ธา
- คนทีน่ ัง่ ถัดจากวทิ ยากร (ซา้ ยและขวาก็ได้) แนะนาตัว โดยให้เรม่ ิ จากพูดทวนชอื่

วทิ ยากรและชอื่ ต่อท้ายแล้วตามด้วยชอื่ ตนและชอ่ื บุคคลทต่ี นชนื่ ชมศรทั ธา
- คนต่อมาแนะนาตัว โดยให้เรม่ ิ จากพูดทวนชอื่ วทิ ยากรและชอื่ ต่อท้ายแล้วตามด้วย

ชอ่ื คนทีน่ ัง่ ถัดจากวทิ ยากรและชอื่ ต่อทา้ ย และชอ่ื ตนและชอ่ื บุคคลทต่ี นชน่ื ชมศรทั ธา
- ดาเนินการเชน่ น้ีไปจนถึงคนสุดทา้ ยทน่ี ั่งติดกับวทิ ยากร (คนละด้านกับคนท่ีเรม่ ิ ซง่ึ คน

สุดทา้ ยจะต้องพูดทวนตั้งแต่ชอ่ื วทิ ยากรและชอื่ ทกุ คนทแ่ี นะนาตัวมาก่อนที่จะแนะนาตัวเอง)
- รอบสุดทา้ ยให้ทกุ คนพูดชอ่ื เพ่ือนพรอ้ มชอื่ ต่อท้ายพรอ้ มกัน โดยเรม่ ิ จากชอื่ วทิ ยากร
- เม่ือจบการแนะนาตัวแล้ว ให้แต่ละคนบอกเหตุผลในการชน่ื ชมศรทั ธาบุคคลดังกล่าว

ข้อแนะนา
- ระหวา่ งทีม่ ีการแนะนาตัวให้ทกุ คนต้ังใจฟงั (แต่ห้ามจดบนั ทึก) โดยให้ทุกคนมองทคี่ น

ทกี่ าลังแนะนาตัวอยู่ เพื่อให้กาลังใจ ถ้าเห็นว่าเพ่ือนจะนึกชอ่ื ตนไม่ออกให้กระซบิ บอกได้
พี่เลี้ยงสรุป
- คนเรามีความคิด ความชอบของตนเอง ไม่จาเป็นต้องเหมอื นใคร
- คนเราต้องหัดยอมรบั คนอ่ืนอย่างท่ีเขาเปน็
- ถ้าอยากรเู้ หตุผลให้ถามภาพหลัง เพราะทุกคนยอ่ มมีเหตุผลที่จะรกั ชอบใคร ซงึ่ ไม่

จาเปน็ ต้องเหมือยกัน เราต้องยอมรบั ในส่ิงท่เี พื่อนคิด

สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

26

วนั ที่ 13 ธนั วาคม 2564
เวลา 05.30 – 06.30 น. กิจกรรมสุขภาพของนักพฒั นา
เวลา 08.00 – 08.20 น. กิจกรรมหน้าเสาธง/กล่าวนาทัศนะ
เวลา 08.20 – 08.30 น. กิจกรรมหน้าชน้ั เรยี น

สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

27

12. วทิ ยากรกระบวนการและทกั ษะการใชเ้ ครอ่ ื งมือสง่ เสรมิ การมีส่วนรว่ มชุมชน

เวลา 08.30 - 20.30 น.

วทิ ยากรหลัก

นายชวลิต ธรรมวเิ ศษ นักวชิ าการพฒั นาชุมชนชานาญการ

(สานักงานพัฒนาชุมชนจงั หวดั สมุทรสงคราม)

คณะวทิ ยากรเครอ่ ื งมือนักพัฒนา

1. นายอนุสรณ์ กาญจนวณชิ ย์ ผู้ชว่ ยผู้อานวยการศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุร ี

2. นางสาววาสนา ยดึ เหนี่ยว นักวชิ าการพฒั นาชุมชนชานาญการ

3. นางชนิตา พารเวยี ไอเนน นักทรพั ยากรบุคคลชานาญการ

4. นายวเิ ชษฐ์ เพชรรตั น์ พนักงานราชการทัว่ ไป (นักทรพั ยากรบุคคล)

กรรมการ/Commentator การจดั เวทีประชาคม

1. นางวาสนา ไขว้พันธุ์ ผู้อานวยการศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุร ี

2. นางสาวอัญชษิ ฐา สงิ ห์สุทศั น์ นักทรพั ยากรบุคคลชานาญการ

3. นางสาวววิ รรณ์ โสมากุล นักทรพั ยากรบุคคลปฏิบตั ิการ

วัตถปุ ระสงค์

1. เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทวทิ ยากรกระบวนการ/การจดั เวทีประชาคม

2. เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะการใชเ้ ครอ่ ื งมือส่งเสรมิ การเรยี นรู้ แบบมีส่วนรว่ ม

ขอบเขตเนื้อหา

1. หลักการ บทบาท วทิ ยากรกระบวนการ

2. เครอ่ ื งมือสง่ เสรมิ การเรยี นรู้

3. ฝึกปฏิบตั ิ work shop

การประเมิน

1. แบบประเมินความรู้ ความเข้าใจ

2. แบบสรุปการเรยี นรู้

3. ผลการดาเนินงานของกลุ่มทไี่ ด้รบั มอบหมายภารกิจ

กระบวนการเรยี นรู้
1. ภาคเชา้ : เทคนิค Demonstration การจดั เวที
2. ภาคบ่าย : ถอดบทเรยี นด้วยการ Captute & Review
3. การใชเ้ ทคนิคเวยี นฐาน (Flow station) ในการเรยี นรแู้ ละฝกึ ปฏิบัติการใชเ้ ครอ่ ื งมือ AAR

/ Mind map / TimeLine / RCA
4. ภาคค่า แบ่งกลุ่มออกแบบการจดั เวทปี ระชาคม ด้วยเทคนิค Role Play

กระบวนการเรยี นรู้
1. วทิ ยากรเปดิ ประเด็นเรอ่ ื งการฝกึ ภาคสนาม ชแี้ จงวตั ถปุ ระสงค์ และกระบวนการปฏิบัติใน

ภาคสนามเบื้องต้น

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

28

2. วทิ ยากรสอบถามความคิดเห็น และความกังวลใจ ของผู้เข้ารบั การฝึกอบรมต่อการฝกึ
ปฏิบตั ิ ภาคสนาม โดยสาธติ การใชเ้ ครอ่ ื งมือ Meta plan, Mind map, Spider diagram

3. ถอดบทเรยี นด้วยการ Capyture การเล่าเหตุการณ์กระบวนการเรยี นรใู้ นชว่ งการ
สอบถามความกังวลใจในการฝึกภาคสนาม

4. เรยี นรกู้ ารใชเ้ ทคนิคเวยี นฐาน (Flow Station) ในการเรยี นรแู้ ละฝึกปฏิบัติการใช้
เครอ่ ื งมือ จานวน 4 ฐานได้แก่ RCA / Mind map / TimeLine / AAR

5. แบ่งกลุ่มออกแบบการจดั เวทีประชาคม ด้วยเทคนิค Role Play โดยเน้นการค้นหาทนุ
ชุมชน 5 ด้าน (ทุนมนุษย์ / ทนุ สังคม / ทนุ กายภาพ / ทนุ ธรรมชาติและทนุ เงนิ ) มาส่งเสรมิ
กระบวนการมีส่วนรว่ มในเวทปี ระชาคม เพื่อนาไปสู่โครงการ / กิจกรรมการพัฒนาชุมชน

6. วทิ ยากรสรปุ และเติมเต็มการใชเ้ ครอ่ ื งมือกับการวเิ คราะห์สถานการณ์ต่าง ๆ
แนวทางการสรุปเน้ือหา

วทิ ยากรกระบวนการ หรอื เรยี กว่า FACILITATOR (ผู้ทาสิง่ ยากให้เป็นสิ่งง่าย) หมายถึง
กระบวนการรวมตัว รว่ มคิด รว่ มทา เปน็ คนกลางทชี่ ว่ ยจดั และดาเนินงานการพบปะ ประชุมอบรมให้
เกิดการคิดท่ีเป็นระบบ มีอิสระทางความคิดและสามารถส่ือสารทาความเข้าใจกันอยา่ งตรงไปตรงมา
ด้วยการใชเ้ ทคนิคและกระบวนการ เรยี นรแู้ บบมีส่วนรว่ มเป็นหัวใจสาคัญ ดังน้ันจงึ มีหน้าทเ่ี ป็น
ผู้จดั การ, เปน็ ผู้ประสานงาน, ผู้สังเกต, ผกู้ ระตุ้น, ผู้สรา้ งบรรยากาศ, ผู้เอื้ออานวยให้เกิดการส่ือสารทาง
กาย, ผู้รว่ มเรยี นรูก้ ับสมาชกิ ในกลุ่ม, โค๊ชการเรยี นรู้ หรอื การแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง ดังน้ัน วทิ ยากร
กระบวนการต้องรจู้ กั การใชเ้ ครอ่ ื งมือต่าง ๆ ได้แก่ RCA / Mind map / TimeLine / AAR ในการ
ส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ มในชุมชน ผลการเรยี นรแู้ ละนาไปปรบั ใช้ ผู้รบั การอบรมได้ทราบบทบาทการเปน็
วทิ ยากรกระบวนการ ในการจดั กระบวนการทเี่ อ้ือให้เกิดความเปลี่ยนแปลง เพ่ือไปสู่การพัฒนาทย่ี ง่ั ยืน
โดยเป็นผู้ชว่ ยกระตุ้นให้กลุ่มเปา้ หมายได้พัฒนาความคิดของตนเอง ในการทากิจกรรมต่าง ๆ รวมถึง
ได้เรยี นรกู้ ารใชเ้ ครอ่ ื งมือส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ มของชุมชนและสามารถใช้ เครอ่ ื งมือให้เหมาะสมกับ
สถานการณห์ รอื บรบิ ทในพื้นท่ี อาทิ เชน่ เครอ่ ื งมือ RCA หรอื Root cause Analysis / เครอ่ ื งมือ
Mind map หรอื Mind mapping / TimeLine และ AAR หรอื After Action Review

RCA หรอื Root cause Analysis คือ เครอ่ ื งมือวเิ คราะห์ปัญหาที่ชว่ ยให้ค้นพบไปถึงราก
ของเหตุ (Root Cause) ที่แท้จรงิ อันทาให้แก้ปญั หาได้ง่าย ครอบคลุม ครบถ้วนมากข้ึน ดังน้ัน RCA
จงึ เปน็ เครอ่ ื งมือท่สี าคญั อยา่ งหนงึ่ ทชี่ ว่ ยค้นหาต้นเหตุของข้อบกพรอ่ งหรอื ปญั หาท่ีเกิดขึ้นซ้า ๆ หรอื
ปญั หาที่แก้ไขแล้วยงั ไมห่ าย และเปน็ ปญั หาทม่ี ีผลกระกระทบเป็นวงกว้าง

หลักการของ RCA
1. มุ่งเน้นเปน็ ระบบและกระบวนการไม่ใชก่ ารกระทาของบุคคล
2.เรม่ ิ จากสาเหตุเบือ้ งต้นในกระบวนการไปสู่สาเหตุท่ซี อ่ นอยู่
3.วเิ คราะห์อยา่ งละเอียด รอบคอบ อย่าด่วนสรุป
4. เจาะลึกด้วยคาถาม “ทาไม” ซ้าแล้วซา้ อีก
5. ทางานเป็นทีมเน้นการมีส่วนรว่ มของผเู้ กี่ยวข้อง

เทคนิคในการทางาน RCA
1. ต้ังโจทย์หรอื ระบุปญั หาให้ชดั เจน

สรุปผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

29
2. ศึกษาปัญหา/สถานการณ์
3. หาสาเหตุและรากเหง้าของปัญหา
4. วเิ คราะห์หาสาเหตุของปญั หา
5. คัดเลือก Root Cause
6. ออกแบบและหาแนวทางการแก้ไขปญั หา
ประโยชน์ของการทา RCA
1. ทาให้มองเห็นจุดเส่ียงหรอื จุดอ่อนในกระบวนการ สาเหตุทอ่ี ยูเ่ บอื้ งหลงั และแนว
ทางแก้ไขปรบั ปรุง
2. ทาให้ลดโอกาสเกิดความเสี่ยง เน่ืองจากเป็นการเจาะลกึ ถึงรากของปญั หาเน้น
การพัฒนาและปรบั ปรุง
3. ทาให้รวู้ ่าศักยภาพของชุมชนมีมากแค่ไหน (วัดศักยภาพของชุมชน)
4. ทาให้สามารถดึงทุนชุมชนออกมาใชไ้ ด้ส่งผลให้ชุมชนเปน็ ชุมชนจดั การตนเอง

ตัวอย่างการวเิ คราะห์โดยใชเ้ ครอ่ ื งมือ RCA

การวเิ คราะห์ RCA
RCA กับนักพัฒนาชุมชนในการส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรู้

1. สรา้ งกระบวนการเรยี นรใู้ ห้ชุมชนเกิดการตระหนักถงึ ปัญหารว่ มกัน
2. สรา้ งการเรยี นรใู้ ห้คนในชุมชนมีจติ สานึกรว่ มกัน
3. สรา้ งกระบวนการเรยี นรใู้ ห้เกิดการแลกเปลี่ยนเรยี นรูใ้ ห้ชุมชนอยากแก้ไขปญั หา
ด้วยชุมชนเอง

สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

30
Mind map หรอื Mind mapping เปน็ แผนที่ความคิด เปน็ ผังทีแ่ สดงการเชอ่ื มโยงของ
ความคิดท่หี ลากหลาย โดยการแตกก่ิงก้านสาขาออกไปเรอ่ ื ย ๆ จากหัวข้อหลกั และเขียนคาสาคัญ
(key word) บนเส้นแต่ละเส้นเพ่ือให้เห็นความเชอื่ มโยงของแนวคิดมีการใชส้ ีและภาพวาดเข้ามา
เก่ียวข้องเพื่อชว่ ยให้สมองจดจาได้ดีข้ึน

องค์ประกอบ Mind mapping
1. แก่นแกน > ตรงกลาง / ภาพ / สัญลักษณ์
2. ก่ิงแก้ว > ประเด็นหลัก (คิดกว้าง)
3. ก่ิงก้อย > ประเด็นรอง (คิดลึก)
4. คา > สั้น / กระชบั / ได้ใจความ
5. เส้น > เชอ่ื มโยง / โค้ง / ยาว / ไม่ขาดจากกัน

ประโยชน์ท่ีได้จาก Mind mapping
1. จดั ระบบการคิด/วเิ คราะห์/วางแผน
2. ชว่ ยในการตัดสินใจ/แก้ปญั หา
3. ฟ้ ืนความจา เพม่ิ ความเข้าใจ
4. ชว่ ยเชอ่ื มโยงข้อมลู ได้เรว็ ข้นึ

สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

31

5. ประหยดั (เวลา/พื้นท)ี่
ตัวอย่างแผนทค่ี วามคิด

TimeLine เส้นแบง่ เวลา เปน็ เครอ่ ื งมือท่ีใชใ้ นการรวบรวมการเปล่ียนแปลง เหตุการณ์
สาคัญๆ ท่ีเกิดข้ึน โดยสมาชกิ แต่ละคนชว่ ยกันนาประสบการณ์ของตนเอง ซงึ่ ต่างมีข้อมลู ทตี่ นรู้ ตน
ทราบ มาบนั ทึกไวใ้ ห้เปน็ รปู ธรรม ชว่ ยทาให้ข้อมูลสาคัญในอดีตไม่สูญหาย ทาให้เข้าใจทมี่ าทไี่ ปของ
รากเหงา้ ในอดีต และได้ข้อมูลอย่างกวา้ งขวาง นอกจากนีก้ ารทชี่ ุมชนได้ชว่ ยกันเรยี บเรยี งข้อมูล
เหตุการณ์ในอดีต ทาให้เกิดความรสู้ ึกผกู พันและภาคภูมิใจในชุมชน

ขั้นตอนการทา
1. ขีดเส้นตามขวางหนง่ึ เส้นเรยี ก “เส้นปัจจุบัน” แทนเวลา “ปัจจุบนั ” บนเส้นน้ีคือ “อดีต”

ล่างเส้นน้ีลงไปคือ “อนาคต”
2. ขีดเส้นตรงแนวดิ่งจากบนลงล่างกลางกระดาษ วางปลายเส้นเป็นหัวลูกศร จรดตรง

“เส้นปัจจุบัน” พอดี เรยี กวา่ “เส้นอดีต” จาก “เส้นปัจจุบัน” ไปสู่อนาคตด้วยเส้นทมี่ ีลักษณะแตกต่างไป
เชน่ เส้นประ ดังรปู เรยี ก “เส้นอนาคต” เส้นด่ิงนี้อาจเรยี กว่า “เส้นเวลา”

3. บรเิ วณด้านซา้ ยมือของเส้นแนวดิ่ง เป็นพื้นทขี่ อง กิจกรรม/โครงการ/ผลลัพธ์ ทชี่ ุมชน
เป็นผู้ดาเนินการ

สรุปผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

32
4. โดยใชล้ ูกศรพุ่งไปหา “เส้นเวลา” และเติมรายละเอียดของเวลาท่เี หมาะสมไว้บนเส้นนั้น
เชน่ บอกเดือนและปี เป็นต้น
5. ใชล้ ูกศรพุ่งออกจาก “เส้นเวลา” เพื่อแสดงผลผลิต/ผลลัพธ/์ ความสาเรจ็ ทเี่ กิดขึ้น
6. พื้นบรเิ วณขวามือของ “เส้นเวลา” น้ี ใชส้ าหรบั การ “เติม” จากภายนอก หรอื การ “ให้” สู่
ภายนอก
7. ใชล้ กู ศรพงุ่ เข้าหา “เส้นเวลา” แสดง กิจกรรม/โครงการ ท่มี างชุมชนได้เรยี นรหู้ รอื ได้รบั
ความชว่ ยเหลือจากภายนอก
8. ใชล้ กู ศรพงุ่ ออกจาก “เส้นเวลา” ไปทางขวามือ สาหรบั กิจกรรม/โครงการ ทีท่ างชุมชนได้
ชว่ ยเหลือ แบ่งปัน ขยายผลไปสู่ชุมชนหรอื ทอี่ ื่น ๆ
9. เขียนกิจกรรม/หรอื โครงการต่าง ๆ เพ่ือเปน็ การวางแผนการดาเนินการไว้ บรเิ วณ “เส้น
อนาคต”
10. ใชเ้ ครอ่ ื งหมาย + วางไวบ้ นเส้น แสดงจุดทีม่ ีการเปล่ียนแปลงทีด่ ีข้ึน หรอื มีพฒั นาการ
ที่ดีขึ้น ณ เวลานั้น ๆ เพ่ือนาไปเขียนเล่าเรอ่ ื งต่อไป
11. ใชเ้ ครอ่ ื งหมายกากบาท X ลงบน “เส้นเวลา” เพ่ือส่ือสารถึงจุดทเ่ี กิดปัญหาสาคัญขึน้
อาจเขียนปญั หาไวใ้ นส่วนอ่ืน ๆ ต่อไป

ตัวอย่างการใชเ้ ครอ่ ื งมือ TimeLine

Timeline ทดี่ ีควรมีลักษณะดังน้ี
o ผู้ดูๆ แล้ว รวู้ ่าชดั ว่า ชุมชนทาอะไร เม่ือไหร่ ไปแล้วบา้ ง
o ผู้ดูๆ แล้ว รวู้ ่าชดั วา่ มีผลผลิตหรอื ผลลัพธท์ ่ีสาคัญอะไรเกิดข้ึนเม่ือไหร่
o ผู้ดูๆ แล้ว รชู้ ดั ว่า ชุมชนมีโครงการที่ “เติม” จากภายนอก เชน่ ฝึกอบรม ดูงาน ฯลฯ

เรอ่ ื งอะไร เม่ือไหร่ จากใคร ส่งใครไปรว่ ม ได้อะไรมา ฯลฯ

สรุปผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

33

ผู้ดูๆ แล้ว รู้ไดจากการวเิ คราะห์ว่า ผลลัพธ์ท่ีเกิดข้ึนน้ัน น่าจะเกิดจากกิจกรรมใด ๆ
ก่อนหน้าน้ัน
o ผู้ดูๆ แล้ว รไู้ ด้จากการวเิ คราะห์วา่ ข้ันตอนในการดาเนินการของ ชุมชนเปน็ อยา่ งไร
o ผู้ดูๆ แล้ว รูไ้ ด้จากการประเมินค่า ว่าสิ่งที่ชุมชนดาเนินการนั้น ถูกทางหรอื ไม่ เหมาะสม
ท่ีจะศึกษาในรายละเอียดเพื่อนาไปปรบั ใชห้ รอื ไม่
o ผู้ดูๆ แล้วรชู้ ดั ว่า ชุมชนมีแนวทางและขั้นตอนในการดาเนินการต่อไปอย่างไร

ประโยชน์ของเส้นแบง่ เวลา (Timeline)
o ทราบข้อมูลพื้นฐานเก่ียวกับเรอ่ ื งราวของตนในอดีตได้เปน็ ลาดับข้ันตอนข้ึน ทาให้ทกุ คนเข้าใจ

เห็นท่มี าจากการมองภาพของอดีต โดยการสะทอ้ นข้อมลู ความรู้ ประสบการณ์ของแต่ละคนมา
หลอมรวมกัน เพ่ือวางแผนอนาคต
o ชว่ ยให้สามารถทาความเข้าใจทมี่ าของปัจจุบันจากอดีตได้อย่างชดั เจนข้ึน เป็นการเชอื่ มโยงว่า
ปัญหาในวนั นี้ล้วนมาจากอดีต
o อธบิ ายเหตุการณ์และชว่ ยให้เห็นพัฒนาการของชุมชน
o สามารถวางแผนการจดั การอนาคตได้เปน็ อย่างดี

(AAR หรอื After Action Review) การทบทวนหลังปฏิบตั ิงาน หมายถึง เครอ่ ื งมือทน่ี ามาใชใ้ น
กระบวนการทางาน เพื่อทบทวนวธิ กี ารทางานท้งั ด้านความสาเรจ็ และปญั หาที่เกิดข้ึน ทั้งน้ีไม่ใชก่ ารค้นหาคน
ที่ทาผิดพลาดไม่ใชก่ ารกล่าวโทษ แต่เป็นการทบทวนเพ่ือรว่ มกันสะทอ้ น และทบทวนกระบวนการต่าง ๆ นา
บทเรยี นท่ีได้จากความสาเรจ็ และปัญหาท่เี กิดขึ้น มาจดั ทาและพัฒนากระบวนการทางานให้มีประสิทธภิ าพ
และประสิทธผิ ลมากขึ้น โดยมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทางาน แบ่งวธิ กี ารเป็น 2 ลักษณะ คือ การทา
AAR สาหรบั ผู้รว่ มกิจกรรม และการทา AAR สาหรบั ผู้จดั กิจกรรม

การทา AAR สาหรบั ผู้รว่ มกิจกรรม เพ่ือสะท้อนความสาเรจ็ ปัญหา อุปสรรค และสิง่ ทีผ่ ้รู ว่ ม
กิจกรรมได้เรยี นรู้ โดยใช้ 5 คาถาม หลังจากนั้นผู้จดั กิจกรรมจะรวบรวมข้อมูลทไ่ี ด้จากผู้รว่ มกิจกรรมไป
พัฒนาปรบั ปรุงกระบวนการจดั กิจกรรมให้มีประสิทธภิ าพยง่ิ ข้ึน

การทา AAR สาหรบั ผู้จดั กิจกรรม เพ่ือสะทอ้ นการจดั กิจกรรมแต่ละครงั้ ให้เห็นทุก
กระบวนการ ตั้งแต่ก่อน ระหว่าง และหลังจดั กิจกรรม ทาให้ทมี งานเกิดการเรยี นรรู้ ว่ มกันวา่ อะไรคือส่ิงท่ี
พัฒนาได้ดี อะไรคือปัญหาอุปสรรค และสรปุ แนวทางแก้ปัญหารว่ มกัน เพื่อจดั ทาเป็นแนวทาง/ข้ันตอน ของ
การทากิจกรรมครง้ั ต่อไป หรอื เรยี นรตู้ ่อยอดไปทก่ี ิจกรรมอื่น ๆ

คาถาม 4 คาถามกับ AAR คือ
1. สิ่งท่ีคาดวา่ จะได้รบั จากการทางานคืออะไร
2. สิง่ ที่เกิดข้ึนจรงิ คืออะไร
3. ทาไมจงึ แตกต่างกัน
4. สิง่ ทไ่ี ด้เรยี นรแู้ ละวธิ กี ารลด/แก้ความแตกต่างคืออะไร

ขั้นตอน 7 ขั้นตอนกับ AAR
1. ควรทา AAR ทันทที นั ใดหรอื อยา่ งเรว็ ที่สุดหลังจากจบงานนั้น ๆ
2. ไม่มีการกล่าวโทษ ซา้ เติม ตอกยา้ ซงึ่ กันและกัน ไม่มีความเป็นเจา้ นายหรอื
ลูกน้องมีแต่บรรยากาศท่ีเปน็ กันเอง
3. มี “คุณอานวย” คอยอานวยความสะดวก กระตุ้น ตั้งคาถามให้ทกุ คนได้แสดงความ
คิดเห็น ข้อเสนอแนะของตน

สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

34
4. ถามตัวคุณเองว่าส่ิงที่คุณควรได้รบั คืออะไร
5. หันกลับมาดูว่าส่ิงทเ่ี กิดขึ้นจรงิ คืออะไร
6. ความแตกต่างคืออะไร ทาไมจงึ ต่างกัน
7. จดบันทกึ เพื่อเตือนความจาว่าวธิ กี ารใดบ้างท่ีคณุ ได้เคยนามาแก้ปญั หาแล้ว
คุณต้องเข้าใจวา่ คาตอบหรอื วธิ แี ก้ปญั หาที่ได้จากการทา AAR คงไม่ใชค่ าตอบสุดทา้ ยสาหรบั งาน
เพราะเมื่อเวลาเปล่ียนไป บรบิ ทเปล่ียนไป ย่อมทาให้เกิดปญั หาใหม่ได้ตลอดเวลา ซง่ึ วธิ กี าร
แก้ปัญหาย่อมเปล่ียนแปลงไปด้วย
การเรยี นรูว้ ชิ าวทิ ยากรกระบวนการและทกั ษะการใชเ้ ครอ่ ื งมือส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ มของชุมชน

แบง่ กลุ่มเรยี นรวู้ ชิ าวทิ ยากรกระบวนการและทักษะการใชเ้ ครอ่ ื งมือส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ มของชุมชน

สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

35

สาธติ การจดั เวทีประชาคม

วันท่ี 14 ธนั วาคม 2564
เวลา 05.30 – 06.30 น. กิจกรรมสุขภาพของนักพัฒนา
เวลา 08.00 – 08.20 น. กิจกรรมหน้าเสาธง/กล่าวนาทัศนะ
เวลา 08.20 – 08.30 น. กิจกรรมหน้าชนั้ เรยี น

สรุปผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

36

13. การวางแผนกลยุทธแ์ ละเทคนิคการเขียนโครงการท่มี ปี ระสิทธภิ าพ

เวลา 08.30 – 14.30 น.

วทิ ยากรหลัก นายดารงค์ มากระจนั พัฒนาการจงั หวดั ประจวบคีรขี ันธ์ และคณะ

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการการเขียนโครงการที่ถกู ต้อง

2. เพ่ือให้เกิดทักษะ ในการเขยี นโครงการจากกระบวนการพัฒนาชุมชน

ขอบข่ายเน้ือหา

1. หลักการ รปู แบบ เทคนิคและผู้มีอานาจในการลงนามอนมุ ัติโครงการ

2. ฝกึ ปฏิบตั ิ Work shop

การประเมิน

1. แบบประเมินความรู้ ความเข้าใจ

2. จากการสังเกตการณ์นาเสนอโครงการ และเอกสารรูปเล่มสง่ งาน

กระบวนการเรยี นรู้

1. วเิ คราะห์ SWOT โดยวทิ ยากรณ์มอบโจทย์ ข้อมูลหมู่บา้ นบางละมุง และหาอัตลกั ษณ์

ของหมู่บ้าน ณ ปจั จุบัน

2. วเิ คราะห์สถานการณ์ปจั จุบันท่ีเกี่ยวข้อง (เปิดโลก) เพ่ือให้มองเห็นโอกาส/อุปสรรค

โดยวเิ คราะห์ปจั จยั ภายนอกที่เก่ียวข้องกับชุมชนเพ่ิมเติม เชน่ เศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง วฒั นธรรม

เทคโนโลยี กฎหมาย ฯลฯ

3. กาหนด Scenario ภายปลายทาง Scenario โดยอาศัยต้นทุนข้อมูลเดิมท่มี ีอยู่ บวก

กับสถานการณ์ปัจจุบนั ที่มากระทบหรอื เก่ียวข้องกับหมู่บ้านบางละมุง

4. จดั ลาดับความสาคัญ S W O T (S1 S2 … W1 W2 … O1 O2 … T1 T2 …) เพื่อให้

เดินไปถึงภาพปลายทาง

5. จดั ทา TOWN Matrix กาหนดกลยุทธ์ โดยผสมกันระหว่าง S W O T

6. จดั กลยุทธท์ ่ีมีความเหมือน หรอื กิจกรรมเดียวกันให้อยู่ในหมวดหมู่เดียวกันแล้วต้ังชอื่

กลุ่มกลยุทธ์ ลงในบัตรคา ให้ครอบคลุมกลยุทธใ์ นกลุ่ม (เรยี กวา่ ประเด็นการพัฒนา)

7. เรยี งลาดับหมวดหมู่ ต้นทาง กลางทาง ปลายทาง (อะไรเกิดขึ้นก่อน-หลัง)

8. สรปุ ว่าแต่ละประเด็นการพัฒนา มีก่ีประเด็นการพัฒนา และมีกี่กลยุทธ์

สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

37

9. เรยี งลาดับกลยุทธก์ ่อนหลังในแต่ละประเด็นการพัฒนา
10. นาประเด็นการพัฒนามาทาเป็น Project Idea
สรปุ เน้ือหา
การวางแผน หมายถึง ความพยายามทเี่ ป็นระบบ ในการพิจารณา และกาหนดแนวทาง
ปฏิบตั ิ เพ่ือให้บรรลุเปา้ หมายในอนาคต
การวเิ คราะห์ หมายถึง การแยกแยะสิ่งท่ีจะพิจารณาออกเป็นส่วนยอ่ ยที่มีความสัมพันธก์ ัน
รวมทง้ั สืบค้นความสัมพันธข์ องส่วนต่าง ๆ
ยุทธศาสตร์ หมายถึง วธิ กี ารปฏิบัติเพ่ือบรรลุเป้าประสงค์ โดยอาศัยการวเิ คราะห์
สภาพแวดล้อม เพื่อประกอบการวางแผนการใชท้ รพั ยากรท่ปี ระหยดั และบรรลุเปา้ หมายสูงสุด
กลยุทธ์ หมายถึง วธิ กี ารหรอื แผนความคิดทีค่ ิดอยา่ งรอบคอบ มีลักษณะเป็นขั้นเปน็ ตอน
มีความยดื หยุน่ พลิกแพลงตามสถานการณ์ เพื่อมงุ่ สู่เปา้ หมายท่ีต้องการ

การวเิ คราะห์ข้อมูลเชงิ กลยุทธ์ การศึกษาวเิ คราะห์ความต้องการ 3 ด้าน
1. การศึกษาวเิ คราะห์ความต้องการ ด้านระดับนโยบาย (Policy Needs)
2. การศึกษาวเิ คราะห์ความต้องการ ด้านผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (External Stakeholder)
ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย คือ ผู้ทไี่ ด้รบั ผลกระทบจากการบรรลุ ล้มเหลวของพันธกิจ
3. การวเิ คราะห์ความต้องการตามภาระหน้าท่ี (Business Needs) คือ ผลการดาเนินงาน
ท่ีผ่านมา และศึกษาเปรยี บเทยี บ (Benchmark) กับผู้ทที่ าได้ดีกวา่
การวเิ คราะห์สถานกาณ์ (Situational Analysis) หมายถึง การคาดคะเนแนวโน้มของ
สถานการณ์ต่าง ๆ ทัง้ ภายในทเ่ี ป็นจุดแข็ง จุดอ่อน และภายนอกชุมชน คือ ชอ่ งทางหรอื โอกาส ผลกระทบ
ต่าง ๆ เม่ือค้นพบคาดการณ์ได้สิ่งต่าง ๆ เหล่าน้ีจะเปน็ ข้อมูลในการตัดสินใจเลือกหรอื กาหนดเปา้ หมายของ
ชุมชน ในการดาเนินกิจกรรมชุมชนไปสู่ส่งิ ทต่ี ้องการให้เกิดข้ึน ภายใต้เงอ่ ื นไขสถานการณ์การต่าง ๆ ที่
คาดคะเนไว้ ทเี่ รยี กว่า วสิ ัยทศั น์ (Vision) ของหมู่บ้าน/ชุมชน
การนาเทคนิคไปเป็นกรอบชว่ ยในการค้นหาศักยภาพความเข้มแข็ง จุดเด่นหรอื ที่เรยี กวา่
“จุดแข็ง” (Strength) : S ทเ่ี สรมิ ส่งให้ชุมชนเข้มแข็ง ในขณะเดียวกันก็ค้นหาจุกบกพรอ่ ง หรอื ทเี่ รยี กว่า
“จุดอ่อน” (Weakness) : W ทเี่ มื่อยงั คงอยใู่ นชุมชน จะมผี ลกระทบต่อประสิทธภิ าพการพัฒนาชุมชนได้อีก
ประการหนงึ่ ท่ีต้องนามาพิจารณา เพื่อใชเ้ ปน็ ชอ่ งทางในการพัฒนาศักยภาพและความพรอ้ มของชุมชนให้
ต่อเนื่องนั้นคือ โอกาส (Opportunity) : O ทชี่ ุมชนสามารถควบคมุ และนามาใชป้ ระโยชน์ต่อชุมชนได้
ประการสุดทา้ ยส่ิงทีเ่ ป็นผลกระทบ แรงกดดัน ภัยคุกคาม (Threat) : T ทีบ่ ่ันทอนความก้าวหน้าของชุมชน
ซง่ึ จะต้องปรบั ปรงุ ให้สอดคล้องเป็นปัจจุบัน และสถานการณ์ทีเ่ ปลี่ยนไปทงั้ 4 ประการ เมื่อนามาวเิ คราะห์จน
เป็นการมองภาพรวมของกล่มุ องค์กร หรอื แม้แต่ชุมชนโดยการนาตัวอักษรท้งั 4 ตัวมาเรยี งกัน จงึ เรยี ก
เทคนิคน้ีวา่ “SWOT”
การวเิ คราะห์ศักยภาพ (SWOT Analysis)

1. การประเมินขีดสมรรถนะขององค์กร (Organization Analysis )
1.1 เรามีจุดแข็ง (Strength) : S อะไรบา้ ง
ส่งิ “ดี ๆ” ทเ่ี รา (ชุมชน / องค์กร) มีอยู่ ทาให้เรามีความได้เปรยี บคนอื่น
1.2 เรามีจุดอ่อน (Weakness) : W อะไรบา้ ง

สรุปผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

38

ส่ิงท่ี “ไม่ดี” ทเ่ี รา (ชุมชน / องค์กร) มีอยู่ ทาให้เรามีเสียเปรยี บคนอื่น
2. การประเมินผลกระทบจากสภาพแวดล้อมภายนอก (Environment analysis)

2.1 การประเมินโอกาส (Opportunity)
สิ่งท/่ี เหตุการณ์ทเี่ กิดขึ้นทอี่ ื่น (ชุมชน/องค์กรอื่น) แต่สง่ ผลดีกับเรา
(ชุมชน/องค์กร) เราสามารถใชส่ ่ิง/เหตกุ ารณ์นั้นมาเปน็ ประโยชน์ ทาให้เรามี
ความได้เปรยี บคนอ่ืน

2.2 การประเมินภัยคกุ คาม(Threat)
สิ่งท/ี่ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นที่อ่ืน (ชุมชน/องค์กรอ่ืน) แต่สง่ ผลเสียกับเรา
(ชุมชน/องค์กร) ทาให้เราเสียเปรยี บคนอ่ืน

การกาหนดกลยุทธ์ TOWS Matrix นั้นมีที่มาจากคาว่า SWOT ท่กี ลับหัว ซง่ึ เปน็ การนา
จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ท่ีได้จากกระบวนการวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกและภายในของ
องค์กร (SWOT Analysis) มาทาการจบั ค่เู ข้าด้วยกัน โดยที่สามารถแบง่ รูปแบบการจบั ค่กู ลยุทธข์ อง TOWS
ออกเป็น กลยุทธเ์ ชงิ รกุ (SO) กลยุทธเ์ ชงิ แก้ไข (WO) กลยทุ ธเ์ ชงิ รบั (ST) และกลยุทธเ์ ชงิ ป้องกัน (WT) ซง่ึ
หมายความวา่ ก่อนทจ่ี ะทาการวเิ คราะห์ TOWS Matrix ได้น้ันจาเปน็ จะต้องผ่านการวเิ คราะห์ SWOT ให้ดี
เสียก่อน

รูปแบบกลยุทธข์ อง TOWS Matrix ประกอบไปด้วยกลยุทธเ์ ชงิ รกุ (SO Strategy) เปน็
กลยุทธท์ ่ีเกิดจากการจบั ค่รู ะหวา่ งสภาพแวดล้อมภายในทางบวกคือจุดแข็ง (Strength) และสภาพแวดล้อม
ภายนอกทางบวกคือ โอกาส (Opportunity) คือการใชจ้ ุดแข็งข้อได้เปรยี บผสมกับโอกาสที่ดีเพ่ือนามา
กาหนดเป็นกลยุทธเ์ ชงิ รุก/กลยุทธค์ งตัว – เชงิ แก้ไข (WO Strategy) เปน็ กลยุทธท์ ่ีเกิดจากการจบั ค่รู ะหว่าง
สภาพแวดล้อมภายในทางลบ คือ จุดอ่อน (Weakness) และสภาพแวดล้อมภายนอกทางบวก
(Opportunity) ซงึ่ ก็คือการใชป้ ระโยชน์จากโอกาสเพ่ือมาปดิ จุดอ่อนจุดด้อยขององค์กรหรอื ทาให้จุดอ่อน
นั้นลดลง / กลยุทธค์ งตัว – เชงิ รบั (ST Strategy) เปน็ กลยุทธท์ เ่ี กิดจากการจบั ค่รู ะหวา่ งสภาพแวดล้อม
ภายในทางบวก คือ จุดแข็ง (Strength) และสภาพแวดล้อมภายนอกทางลบ (Threat) เป็นการนาจุดแข็งข้อ
ได้เปรยี บขององค์กรมาปอ้ งกันอุปสรรคซง่ึ ก็คือเปน็ การใชจ้ ุดแข็งเพ่ือหลีกเล่ียงอุปสรรค / กลยุทธป์ อ้ งกัน
(WT Strategy) เป็นกลยุทธท์ เี่ กิดจากการจบั ค่รู ะหวา่ งสภาพแวดล้อมภายในทางลบคือจุดอ่อน
(Weakness) และสภาพแวดล้อมภายนอกทางลบคืออุปสรรค (Threat) เปน็ กลยุทธเ์ พอื่ การลดจุดอ่อนและ
หลีกเล่ียงภัยคุกคามโดยมีเปา้ หมายหลกั คือการป้องกันหรอื หลีกเล่ียงให้สถานการณ์ขององค์กรไม่แยไ่ ป
กวา่ เดิม

การเขียนโครงการทม่ี ีประสิทธภิ าพ เปน็ แผนงานท่จี ดั ทาข้ึนอย่างรอบคอบ เปน็ ระบบ
พรอ้ มกับ มีแนวทางปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุวัตถปุ ระสงค์ตามเปา้ หมายของแผนงานท่ไี ด้กาหนดไวโ้ ดย ใช้
ทรพั ยากรดาเนินงานอยา่ งคุ้มค่า มีจุดเรม่ ิ ต้นและส้ินสุดอย่างชดั เจน มีพื้นที่ ในการดาเนินงานเพื่อให้บรกิ าร
และมีผู้รบั ผิดชอบ ซงึ่ องค์ประกอบของโครงการ มีดังนี้ 1)หลักการและเหตุผล / ที่มาและความสาคัญของ
ปญั หา 2) วัตถปุ ระสงค์ 3) กลุ่มเปา้ หมาย 4) วธิ กี ารดาเนินงาน 5) ระยะเวลาดาเนินการ 6) สถานท่ี
ดาเนินการ 7) งบประมาณ 8) ผลที่คาดว่าจะได้รบั 9) ตัวชวี้ ดั ผลสาเรจ็ ของโครงการ 10) ผู้เสนอโครงการ
11) ผูเ้ ห็นชอบโครงการ 12) ผู้อนมุ ัติโครงการ ทง้ั น้ี โครงการทเ่ี กิดขึ้นต้องเกิดจากความต้องการของ
ประชาชนท่ีใชท้ ุนชุมชน และแก้ไขปญั หาด้วยชุมชนเองจงึ จะนาไปสู่ความยัง่ ยนื ต่อไป

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

39

ประเด็น : การฝึกปฏิบัติการวเิ คราะห์ศักยภาพชุมชน
1. แบ่งกลุ่มผู้เข้ารบั การอบรม จานวน 4 กล่มุ
2. สมาชกิ กลุ่มรว่ มกันศึกษาข้อมูลหมู่บ้านทก่ี าหนดให้
- กลุ่มท่ี 1 และ 2 ศึกษาข้อมลู หมู่บ้านทงุ่ สะท้อน หมู่ท่ี 6 ตาบลปากแพรก
อาเภอบางสะพานน้อย
- กลุ่มท่ี 3 และ 4 ศึกษาข้อมลู หมู่บ้านยางชุม หมู่ที่ 5 ตาบลหาดขาม อาเภอกุยบุร ี
3. สมาชกิ กลุ่มรว่ มกันวเิ คราะห์ค้นหาศักยภาพของหมู่บ้านด้วยเครอ่ ื งมือ SWOT
Analysis จุดแขง็ จากภายใน (S) จุดอ่อนจากภายใน (W) โอกาสจากภายนอก (O)
ภัยคุกคามจากภายนอก (T)
4. สมาชกิ กลุ่มรว่ มกันกาหนดกิจกรรม โครงการพัฒนาโดยใชเ้ ครอ่ ื งมือ TOWS
Matrix
5. สมาชกิ กลุ่มรว่ มกันกาหนดกิจกรรม โครงการพัฒนาทีส่ าคัญ
6. คัดเลือกตัวแทนนาเสนอมาวเิ คราะห์

สรุปผลการเรยี นรู้
จากการสังเกตผู้เข้ารบั การฝกึ อบรม พบวา่ มีความรคู้ วามเข้าใจเรอ่ ื งการวเิ คราะห์ SWOT

ทาให้รถู้ ึงจุดแข็งและจุดอ่อนจากสภาพแวดล้อมภายใน มองเห็นโอกาสและอุปสรรคจาก
สภาพแวดล้อมภายนอก ตลอดจนผลกระทบต่อการดาเนินงาน สามารถประเมินศักยภาพภายในและ
ภายนอกองค์กรได้ จะเห็นได้วา่ การวเิ คราะห์ SWOT และจดั ทากลยุทธ์ TOWS น้ันชว่ ยให้องค์กร
สามารถกาหนดกลยุทธท์ ่ีเหมาะสมกับองค์กรในแต่ละรูปแบบหรอื สถานการณ์ได้ดี ทง้ั ในส่วนของกล
ยุทธเ์ ชงิ รุก (S+O) เชงิ แก้ไข (W+O) เชงิ รบั (S+T) กลยุทธป์ ้องกัน (W+T) ซง่ึ ในแต่ละรปู แบบกลยุทธ์
สามารถมีได้หลายกลยุทธจ์ ากปัจจยั ภายนอกและภายในขององคก์ ร นาไปสู่การการได้มาของ
โครงการ/กิจกรรมทม่ี ีประสิทธภิ าพตอบสนองปญั หาและความต้องการและนาไปใชไ้ ด้อยา่ งแท้จรงิ อีก
ทง้ั จากการสังเกตพฤติกรรม ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมให้ความสนใจตลอดระยะเวลาของการรว่ มกิจกรรม โดย
ประเมินได้จากการรว่ มกิจกรรมอยา่ งกระตือรอื รน้ ต้ังใจฟังบรรยาย มีการจดบันทึกข้อมูลจากวทิ ยากรในรายวชิ า
ทสี่ อน และรว่ มแสดงความคิดเห็น การแลกเปล่ียนประสบการณ์ มีการนาเสนอที่ครบถ้วนได้สาระ ชว่ ยกันแบ่ง
หน้าที่กันได้อย่างดี

ประเด็น : การฝึกปฏิบัติการการเขียนโครงการท่ีมีประสิทธภิ าพ
1. แบง่ กลุ่มผู้เข้ารบั การอบรม จานวน 4 กล่มุ
2. สมาชกิ กลุ่มรว่ มกันเลือกโครงการสาคัญจากกิจกรรมการวางแผนกลยุทธ์
จานวน 1 โครงการ
3. สมาชกิ กลุ่มรว่ มกันเขียนโครงการให้ครอบคลุมทกุ หัวข้อทีก่ าหนดให้
4. คัดเลือกตัวแทนนาเสนอการฝกึ ปฏิบตั ิการเขียนโครงการ

สรุปผลการเรยี นรู้
จากการสังเกตผู้เข้ารบั การฝกึ อบรม จานวน 4 กลุ่ม กว. สมาชกิ ในกลุ่มได้รวมกันเลือก

โครงการสาคัญจากกิจกรรมการวางแผนกลยุทธ์ จานวน 1 โครงการ และช่วยกันเขียนโครงการ ด้วยมี
องค์ประกอบ คือ 1) ชอ่ื โครงการ 1 โครงการ 2) หลักการและเหตุผล 3) วตั ถุประสงค์ 4) วธิ กี าร/ขั้นตอนการ

สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

40

ดาเนินงาน 5) สถานทดี่ าเนินการ 6) กลุ่มเป้าหมาย 7) ระยะเวลาเนินงาน 8) งบประมาณ 9) แผนปฏิบตั ิการ
10) ผลที่คาดว่าจะได้รบั 11) ตัวชว้ี ัดผลสาเรจ็ ของโครงการ 12) ผู้เสนอโครงการ 13) ผู้เห็นชอบโครงการ
14) ผู้อนุมัติโครงการ จากน้ันส่งตัวแทนประจากลุ่ม กว. ออกมานาเสนอวธิ กี ารเขียนโครงการและแลกเปลี่ยนเรยี นรู้
ขั้นตอนการดาเนินงานทม่ี ีประสิทธภิ าพครบถ้วน ตอบสนองความต้องการและใชไ้ ด้จรงิ

14. คุณลกั ษณะผู้นา

เวลา 15.30 – 17.00 น.

วทิ ยากรหลัก

นางขวญั ตา พ่วงทอง ผู้ชว่ ยผู้อานวยการศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุร ี

วัตถุประสงค์

1. เพ่ือศึกษาวเิ คราะห์ประเมินตนเองและผู้อื่น

2. เพ่ือเรยี นรู้ เทคนิค ปรบั ตัวให้เข้ากับคนแต่ละประเภท

3. เพ่ือพฒั นาตนเองให้เป็นผนู้ าทพ่ี ่ึงประสงค์

การประเมิน

1. แบบประเมินความรู้ ความเข้าใจ

2. จากการสังเกตการณ์จากพฤติกรรมการมีส่วนรว่ ม

สรุปเนื้อหาวชิ า

ผู้นา หมายถงึ บุคคลท่ีจะมาประสาน ชว่ ยให้คนทัง้ หลายรวมกัน โดยทีว่ า่ จะเป็นการอยู่

รวมกันก็ตามหรอื ทาการรว่ มกันก็ตามให้พากันไปด้วยดี สู่จุดหมายท่ีดีงาม

ประเภทของผู้นา มี 2 ประเภท ดังนี้ ผู้นาทางการ คือ ผู้ที่ได้รบั การแต่งต้ัง อย่างเปน็ ทางการให้ดารงตาแหนง่

กานัน ผู้ใหญ่บา้ น สมาชกิ อบต. ผู้นา อช. และกรรมการหมู่บา้ น

สรุปผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

41

ผู้นาตามธรรมชาติ คือ ผู้ทสี่ มาชกิ ในชุมชนให้การยอมรบั ในความรคู้ วามสามารถประสบการณ์ และให้ความ
ไวว้ างใจ เชน่ กรรมการ กล่มุ /องค์กร ต่าง ๆ

ความสามารถของผู้นา คือ พฒั นาตนเอง และพัฒนาบุคคลอ่ืน
ภาวะผู้นา ประกอบด้วย 3 ด้าน ดังนี้
ด้านบรหิ ารตนเอง คือ บุคลกิ ภาพดี มีความรู้ ความสามารถ มีคุณธรรม ศีลธรรม

และจรยิ ธรรม มีวนิ ัยในตนเอง
ด้านบรหิ ารสังคม คือ มีมนษุ ยสัมพันธ์ มีความเปน็ ประชาธปิ ไตย มีการประสานงานทีด่ ี

เป็นทีป่ รกึ ษาทดี่ ี
ด้านบรหิ ารงาน คือ มกี ารวางแผนยุทธศาสตร์ การแก้ไขปญั หาและตัดสินใจ การบรหิ าร

งบประมาณการเงนิ บญั ชี
ลักษณะผู้นาท่ีดี คือ จงเสียสละและสรา้ งศรทั ธา จงทาตัวอย่างให้เห็น จงทาให้ดี และเด่น
ในคณุ ธรรม กล้านาปวงชย อุทศิ ตนอย่างฉลาด
บุคลิกของผู้นาเปรยี บกับทศิ ทงั้ 4 สัตว์ 4 ประเภท

ทิศเหนือ คือ กระทิง ใฝเ่ รยี นรู้ มลี ักษณะตรงไปตรงมา ลุย มุ่งมั่น กัดไม่ปล่อย
คิดเรว็ ทาเรว็ ทาก่อนคิดโกรธง่าย หายเรว็
ทิศใต้ คือ หนู ใฝส่ ัมพันธ์ มลี ักษณะสนองความต้องการของผู้อ่ืน ประนีประนอม
ความรกั สัมพันธภาพ
ทิศตะวันออก คือ อินทรมี องกวา้ ง มีลักษณะจนิ ตนาการ มองการณ์ไกล ตาทีส่ าม
วสิ ัยทศั น์ / สรา้ งสรรค์ เชอ่ื มโยง มองภาพใหญ่ ชอบความคิดใหม่ๆ คิดก่อนทา
เบอ่ื ง่าย
ตะวันตก คือ หมีมองลึก มีลกั ษณะมองเปน็ ระบบ มีระเบยี บ ข้ันตอน วเิ คราะห์
เจาะลกึ หลักการมาก่อน ไม่ประนีประนอม เหตผุ ล รอบคอบ ละเอียด ถ่ีถ้วน วนิ ัย
ประเด็น : ลองมาสารวจตัวเองมีลักษณะอยา่ งไร
1. ให้ผู้เข้ารบั การอบรมนงั่ เป็นกลุ่ม รปู วงกลม หันหน้าเขา้ หากัน
2. ประเมินตนเอง ตามแบบทว่ี ทิ ยากรแจกให้เก็นเปน็ ความลับไม่บอกเพื่อน (15 นาท)ี
3. ให้ทกุ คนมองในแบบประเมิน มี 4 ชอ่ ง A B C D ให้รวมจานวนนับในชอ่ ง (ลับ)
จากการสังเกตพฤติกรรมการ ผู้เข้ารบั การอบรมมีความเข้าใจในเน้ือหาของคุณลักษณะ ผู้นาได้ดี มี
ความกระตือลือรน้ สนกุ สนานในการรวมกิจกรรม มีการทายเพ่ือนในกลุ่ม ว่าเพ่ือนของเราตรงกับคุณลกั ษณะ
ไหนในสัตว์ 4 ประเภท และจากผลการรวมจานวนนับ ในชอ่ ง A B C D ของผู้เข้าอบรมแต่ละรายเลือก
แตกต่างกันไป และคณุ ลักษณะผู้นาสัตว์ 4 ประเภท ทตี่ รงกับลกั ษณะบุคลิกของผู้เข้ารบั การอบรมมากทส่ี ุด
คือ 1) อินทร ี2) หนู 3) กระทิง 4) หมี ตามลาดับ

สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

42

15. ชแี้ จงภารกิจการลงพ้ืนทภี่ าคสนาม ผู้ชว่ ยผู้อานวยการศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุร ี
เวลา 19.00 – 20.30 น. และคณะวทิ ยากร
วทิ ยากร

นางขวญั ตา พ่วงทอง

สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

43

วันที่ 15 ธนั วาคม 2564

16. การฝกึ ประสบการณ์ภาคสนาม

เวลา 05.30 – 08.30 น.

เดินทางฝกึ ภาคสนาม ณ บา้ นหนองทราย ตาบลหนองสาหรา่ ย อาเภอพนมทวน จงั หวัดกาญจนบุร ี

วทิ ยากรหลัก

นางวาสนา ไขว้พันธุ์ ผู้อานวยการศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุร ี

นางขวญั ตา พ่วงทอง ผู้ชว่ ยศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุร ี

นายอนุสรณ์ กาญจนวณิชย์ ผู้ชว่ ยศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุร ี

นางสาววาสนา ยดึ เหนี่ยว นักวชิ าการพัฒนาชุมชนชานาญการ

และคณะศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุร ีมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร,์

พัฒนาการอาเภอพนมทวน, พัฒนากรอาเภอพนมทวน และผู้นาชุมชนบา้ นหนองทราย

วัตถุประสงค์

1. มีทกั ษะการปฏิบตั ิงานในบทบาทของนักพฒั นา

2. มีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการเป็นข้าราชการท่ีดี

3. มีสมรรถนะทเ่ี หมาะสมในการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าทข่ี องนักพัฒนาทีย่ ดึ ปรชั ญา

หลักการและกระบวนการพัฒนาชุมชน โดยใชห้ ลกั การมีส่วนรว่ มของประชาชนเปน็ แนวทางในปฏิบัติงานได้

อยา่ งถูกต้องเหาะสม

ขอบข่ายเน้ือหา

1. กิจกรรมงานพัฒนาชุมชนในหมู่บา้ นเรยี นรู้ (งานพัฒนาชุมชน/ภายใต้ปรชั ญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง สัมมาชพี และประชารฐั )

2. กระบวนการพัฒนาชุมชนและฝกึ ปฏิบัติการทาประชาคม และการขับเคลื่อนโครงการที่

ได้จากเวทีประชาคม

3. เทคนิคและการปรบั ตัวอยูร่ ว่ มและทางานกับชุมชน

การประเมิน
1. ประเมินพฤติกรรมในการเปน็ วทิ ยากรกระบวนการจดั เวทปี ระชาคม
2. ถอดบทเรยี นและสรุปผลภาพรวม

กระบวนการเรยี นรู้
ชว่ งเชา้
ก่อนลงสู่หมู่บ้านเรยี นรู้ ศูนย์ศึกษาและพฒั นาชุมชนเพชรบุร ี โดย นางขวญั ตา พ่วงทอง

ผู้ชว่ ยศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุร ี ได้เป็นผู้ดาเนินรายการในการใชเ้ ทคนิคการสัมมนาพูดคยุ แบบ
สบาย ๆ สไตล์ พช. มีผู้รว่ มเวทเี สวนา ได้แก่

1) นางสาวศิรพิ ร สอนใจ นักวชิ าการพัฒนาชุมชนชานาญการ
2) นายแรม เชยี งกา ผู้อานวยการศูนยเ์ รยี นรชู้ ุมชนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงบา้ นหนองทราย
3) นายศิวโรจน์ จติ นิยม ประธาน อสม. (กลุ่มองค์กร)

สรุปผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ท่ี 32

44

และ 4) นายบุญมี เนตรสวา่ ง (ผู้แทนภาคประชาชน) เพื่อเรยี นรภู้ าพ ชวี ติ นักพัฒนา
และการสรา้ งศรทั ธาในชุมชนด้วยเวทีเสวนาหัวข้อ “บทบาทนักพัฒนากับการทางาน
รว่ มกับชุมชน” แลกเปล่ียนประสบการณ์ ระหวา่ งผู้เข้ารว่ มอบรม กับพัฒนากรประจาตาบล และผู้นาชุมชน

เวทีเสวนา “บทบาทนักพัฒนากับการทางานรว่ มกับชุมชน”

สรา้ งการเรยี นรแู้ ละฝกึ ปฏิบตั ิการจดั ทา “แผนท่เี ดินดิน” บรรยายเติมเต็มและให้ข้อคิด
ข้อเสนอแนะ ในวชิ าเครอ่ ื งมือนักพัฒนา (แผนที่เดินดิน) โดยนางสาววาสนา ยึดเหนี่ยว นักวชิ าการพัฒนา
ชุมชนชานาญการ

วทิ ยากรพูดคุย สอบถามความรูเ้ บ้ืองต้นเก่ียวกับข้อมูลของเครอ่ ื งมือในการศึกษาชุมชน
ของผู้เข้าอบรมเพ่ือประเมินความรูท้ ่ีมาจากประสบการณ์การทางานของผู้เข้าอบรม สรา้ งบรรยากาศให้เกิด
ความต่ืนตัวในการเรยี นรู้ ด้วยการใช้ ปรบมือสลับกับการทาตามที่วทิ ยากรบอกให้ทา เพ่ือเตรยี มความพรอ้ ม
การเรยี นรู้

จากน้ันวทิ ยากรให้ความรูเ้ กี่ยวกับเครอ่ ื งมือนักพัฒนา ในการลงพ้ืนที่ศึกษาชุมชน ด้วยการ
ใชเ้ ครอ่ ื งมือ “แผนที่เดินดิน” ดังน้ี

แผนที่เดินดิน (Geo Social Mapping) คือ เครอ่ ื งมือที่เป็นพื้นฐานและถือเป็นบันได
ขั้นแรกของการศึกษาชุมชนจะทาให้ เห็นภาพรวมของชุมชนได้อย่างครบถ้วน เนื่องจากแผนภูมิสังคม
(Geo-social mapping) ที่ผู้เขียนจะเขียนสถานท่ีตาแหน่งของสถานท่ี รวมทั้งความเชอื่ มโยงในเชงิ สังคม
ของสถานที่เหล่านั้น

สรุปผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32

45

ประโยชน์ของแผนที่เดินดิน
- ทาให้เห็นภาพรวมที่เป็นบรบิ ทของชุมชน ต้ังแต่โครงสรา้ งความสัมพันธ์ โครงสรา้ งของ
องค์กรชุมชนทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ทั้งท่ีเป็นมิติทางสังคม เศรษฐกิจ และเชงิ การเมือง อย่าง
ครบถ้วน
- ข้อมูลถูกต้อง เชือ่ ถือได้ เพราะเป็นข้อมูลที่เกิดจากการลงไปสังเกต ได้เห็นด้วยตนเอง
รวมท้ังมีการสอบถามข้อมูลผู้ท่ีเก่ียวข้องในข้อมูลนั้น ๆ
- เปน็ เครอ่ ื งมือส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ มของชุมชนทสี่ าคัญ ในเวทปี ระชาคมต่าง ๆ

แผนที่เดินดิน เป็นลักษณะของแผนท่ีที่แสดงให้เห็นถึงพื้นท่ีทางกายภาพ และการแสดง
พื้นทท่ี างสังคมรว่ มอยู่ด้วยกัน เพราะพื้นทีห่ รอื สถานท่ตี ่าง ๆ ในชุมชน จะมีลักษณะทีแ่ ตกต่างกันออกไป พ้ืนท่ี
น้ัน ๆ มีความสาคัญกับใคร เชอ่ื มโยงไปชุมชนใด สถานที่ใด เก่ียวข้องกันอย่างไร คนในชุมชนมีส่วนเก่ียวข้อง
อยา่ งไรกับสถานทีเ่ หล่าน้ัน เปน็ ต้น

การทาแผนทเี่ ดินดิน ผู้ที่จะสามารถทาได้ดี ถูกต้อง ชดั เจน และสามารถนาไปใชง้ านได้อย่าง
มีประสิทธภิ าพตามความต้องการนั้น จะต้องมีการลงพ้ืนที่ เพื่อไปสอบถาม ไปเห็น และสัมผัสด้วยตนเอง
ต้องมีการพูดคุยสอบถาม ในแบบการสรา้ งความสัมพันธท์ ี่ดีกับชุมชน แสดงความมีไมตรที ่ีดี ความจรงิ ใจ ที่
จะทาให้คนในชุมชนเห็นถึงความต้ังใจ ในการสอบถามพูดคุยเพื่อขอข้อมูลต่าง ๆ ซงึ่ ถือเป็นเรอ่ ื งสาคัญท่ีจะ
สามารถทาให้ได้รบั ข้อมูลทีถ่ กู ต้อง ชดั เจน ละเอียด และนาไปใชป้ ระโยชน์ได้ตามความต้องการ

แผนที่เดินดิน มีการนาไปใชป้ ระโยชน์ของแต่ละหน่วยงานในส่ิงทเ่ี ป็นเรอ่ ื งท่ีหน่วยงานนั้น ๆ
เกี่ยวข้อง ถึงแม้แผนทน่ี ั้นจะเปน็ แผนทข่ี องพ้ืนท่เี ดียวกัน แต่ในข้อมูลท่ปี รากฏในแผนทเ่ี ดินดิน จะเปน็ ข้อมูล
ที่หน่วยงานน้ัน ๆ มีส่วนเก่ียวข้อง หรอื นาไปใชป้ ระโยชน์ท่ีโดดเด่นออกไป เช่น ในส่วนของกรมการพัฒนา
ชุมชน แผนท่ีเดินดินของหมู่บ้านชุมชนน้ัน ก็จะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ท่ีทาการผู้ใหญ่บ้าน ผู้นาชุมชนที่เก่ียวข้อง
เชน่ ผู้นาอาสาพัฒนา ประธานฯ กพส.ม./กพส.ต ข้อมูลทุนชุมชน ครวั เรอื นเศรษฐกิจพอเพียง ศูนย์เรยี นรู้
เศรษฐกิจพอเพียง ครวั เรอื นตกเกณฑ์ จปฐ..หรอื สถานที่ท่ีเป็นสถานที่การทากิจกรรมต่าง ๆ ที่สาคัญของ
ชุมชนหรอื ในส่วนของสาธารณสุขจงั หวัด ก็จะมีข้อมูลของ ครวั เรอื นที่เป็นอสม. ครวั เรอื นในความรบั ผิดชอบ
ของอสม. ผู้ป่วยติดเตียง ผู้มีความเส่ียงเบาหวาน ครวั เรอื นผู้ป่วยมะเรง็ โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบล
เป็นต้น ซงึ่ แผนท่ีเดินดินของแต่ละหน่วยงานก็จะสามารถใชข้ ้อมูลที่เป็นข้อมูลหลักๆของหน่วยงานมาเขียน
หรอื บรรจุไว้ในแผนทเี่ ดินดิน เพื่อจะสามารถนาข้อมูล หรอื ข้อมูลที่เกี่ยวข้องไปใชป้ ระโยชน์ได้อย่างรวดเรว็

วธิ กี ารเขียนแผนท่ีเดินดิน อาจใชว้ ธิ โี ดยเรม่ ิ จาก
1) การกาหนดพื้นที่ทจ่ี ะทา แล้วลงไปพ้ืนท่ี ด้วยวธิ กี ารเดินเทา้ (อาจอนุโลมให้ใชจ้ กั รยาน

ได้) เนื่องจากการเดินเท้าจะเป็นวธิ ที ี่ได้ข้อมูลที่ดีมากกว่าการใช้พาหนะอ่ืน ๆ เน่ืองจากสามารถหยุดแวะ
พูดคุยได้ทันที และสะดวก ไม่ต้องกลัวเปลืองน้ามัน ไม่ต้องหาทจ่ี อด ไม่ต้องห่วงว่าจะหาย ไม่ต้องห่วงวา่ จะกีด
ขวางทางจราจรหรอื ไม่ เม่ือไม่มีความห่วง ก็สามารถพูดคุยได้เป็นเวลานาน ๆ ทาให้ได้ข้อมูลหลากหลาย
จานวนมากและถกู ต้องชดั เจน โดยให้สังเกต สารวจพ้ืนท่ี และจดบันทึกทุกอย่างทไ่ี ด้เห็นได้พูดคยุ

2) นาข้อมูล รายละเอียดท่ีได้มาสรุป เพื่อเขียนเป็นข้อมูลลงในแผนท่ี เช่น บ้าน
ผู้ใหญ่บ้าน หรอื เจ้าของบ้านที่เป็นคนสาคัญของชุมชน เลขท่ีเท่าไหร่ เจ้าของบ้านชื่อ – นามสกุลอะไร มี
ตาแหน่ง หรอื มีความสาคัญอย่างไรในชุมชน หรอื อาจเป็น สถานท่ีสาคัญ เชน่ วัด ชอื่ วัดอะไร มีพระสงฆ์ก่ีรูป
โรงเรยี นประเภทใด ชอื่ อะไร มีใครเปน็ ครูใหญ่ มีนักเรยี นกี่คน ต้ังอยูบ่ รเิ วณใดของหมู่บ้าน ที่ทาการกองทุน
ต่าง ๆ กลุ่มอาชพี ต่าง ๆ แต่ละสถานท่ีมีระยะห่างกันกี่เมตร หรอื อาจเป็นสถานที่ท่ีเป็นสถานที่สาคัญเฉพาะ
กรณี เชน่ การทาบุญกลางบา้ น การรวมตัวของเด็กวยั รนุ่ ในการทากิจกรรม

สรปุ ผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “นักพัฒนาชุมชน” รนุ่ ที่ 32


Click to View FlipBook Version