The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง แรงโน้มถ่วงของโลก มวลและน้ำหนักของวัตถุ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM Education)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anu Kimoji, 2021-11-06 05:54:41

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง แรงโน้มถ่วงของโลก มวลและน้ำหนักของวัตถุ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM Education)

รายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง แรงโน้มถ่วงของโลก มวลและน้ำหนักของวัตถุ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM Education)

บทท่ี 4
ผลการวจิ ัย

ผู้วิจัยนำเสนอข้อมูลทีไ่ ดจ้ ากการวจิ ัยในครั้งน้ีมาวิเคราะห์ และนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลอกเปน็ 2
ตอนดงั นี้

ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรม
การจัดการเรียนรู้ เรื่องแรงโน้มถ่วงของโลก มวล และน้ำหนักของวัตถุ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM Education) ของนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรยี นบา้ นเหลา่

ตอนท่ี 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่องแรงโน้มถ่วงของโลก มวล และน้ำหนักของวัตถุ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา
(STEM Education) ของนกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 โรงเรียนบ้านเหลา่

สัญญาลักษณะในการวเิ คราะห์ข้อมลู
N แทน จำนวนนักเรยี น
̅ แทน คา่ เฉลีย่ ของคะแนน
S.D. แทน ค่าสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนน
D แทน ความแตกต่างระหวา่ งคะแนนกอ่ นเรยี นและหลงั เรียน
แทน ผลรวมของผลต่างของคะแนนก่อนเรียนและหลงั เรียน
แทน ผลรวมของผลตา่ งของคะแนนกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี นกำลังสอง
* แทน ค่านัยสำคัญทางสถิต .05

46

ตอนที่ 1 ตอบวัตถปุ ระสงคข์ อ้ ที่ 1
ผู้วิจัยวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนด้วยแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์

แบบปรนัย 4 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อ โดยทำการทดสอบก่อนและหลังเรียนจากนั้นนำคะแนนมาหาค่าเฉล่ีย
และทำการทดสอบสมมติฐานขอ้ ท่ี 1 โดยใชค้ า่ ที (t – test Dependent Samples) แสดงผลดังตาราง 4.1

ตารางที่ 4.1 แสดงการเปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นระหว่างก่อนเรยี นและหลงั เรียน

การทดสอบ N คะแนนเต็ม ̅ t

กอ่ นเรยี น 20 20 14.85 56 252 5.60*

หลังเรยี น 20 20 15.75

มนี ยั สำคัญทางสถิตทิ ่ีระดับ .05*

จากตารางที่ 4.1 พบว่า การทดสอบความแตกต่างของคา่ เฉลย่ี ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรียนที่มีต่อ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องแรงโน้มถ่วงของโลก มวลและน้ำหนักของวัตถุ โดยใช้การจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM Education) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านเหล่า
ระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียน โดยหลังเรียนมีค่าเฉลีย่ เท่ากับ 15.75 คะแนน ซึ่งสูงกว่าก่อนเรียนที่มีค่าเฉลย่ี
เท่ากับ 14.85 คะแนน จากการทดสอบสถิติ t ได้ค่า t มีค่าเท่ากับ 5.60 มากกว่า 2.90 (t.05,19) แสดงว่า
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา
(STEM Education) หลงั เรียนสงู กว่ากอ่ นเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถติ ิทร่ี ะดับ .05* ผลการศกึ ษาเป็นไปตาม
สมมตฐิ านขอ้ ท่ี 1 ท้ังนีน้ กั เรยี นมีความเขา้ ใจในเนอ้ื หามากข้ึน

47

ตอนท่ี 2 ตอบวัตถุประสงค์ข้อท่ี 2
ผู้วิจัยวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องแรงโน้มถ่วงของโลก

มวลและน้ำหนกั ของวัตถุ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศกึ ษา (STEM Education) โดยใช้
มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) จำนวน 10 ข้อ โดยทำการประเมินหลังเรียน จากนั้นนำ
คะแนนมาหาคา่ เฉล่ยี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมตฐิ านข้อที่ 2 โดยใช้เกณฑก์ ารแปลความหมาย
ของบญุ ชม ศรีสะอาด. (2545)

ตารางที่ 4.2 แสดงระดับความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวสเต็มศึกษา (STEM

Education)

รายการประเมิน ̅ S.D. ความพึงพอใจ

1. การจดั กิจกรรมการเรียนรสู้ นุกและนา่ สนใจ 4.40 0.80 มาก
2. ความเหมาะสมของเวลากับการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
4.15 0.96 มาก

3. กจิ กรรมการเรยี นรสู้ อดคลอ้ งกับจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 4.50 0.74 มาก

4. วัสดอุ ปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้มีความเหมาะสม 4.20 1.12 มาก

5. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้สง่ เสริมผเู้ รียนสามารถคิดแก้ปัญหาได้ 4.60 0.58 มากที่สดุ
6. เปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รียนได้ตรวจสอบตนเองและปรบั ปรุงผลงานให้ดขี นึ้ 4.65 0.65 มากทส่ี ุด
7. การจัดกิจกรรมการเรียนร้มู ่งุ สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นได้ฝึกทกั ษะการแก้ปัญหา 4.75 0.54 มากทส่ี ุด
8. ตอ้ งการให้จัดกจิ กรรมการรู้ตามแนวสะเตม็ ศกึ ษาอีกในครั้งถดั ไป 4.40 0.66 มาก

9. ผู้สอนเปิดโอกาสใหนักเรียนซักถาม ตอบคําถามและแสดงความคิดเห็น 4.70 0.46 มากทีส่ ดุ
ร่วมกนั ขณะสอน

10. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทำให้ผู้เรียนเกิดการบูรณาการความรู้ 4.60 0.66 มากที่สุด
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีวิศวกรรมศาสตร์ และคณติ ศาสตร์

รวมเฉลี่ย 4.50 0.72 มาก

จากตารางที่ 4.2 พบว่านักเรียนมีที่ได้รับกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ เรื่องแรงโน้มถ่วงของโลก มวลและ
น้ำหนักของวัตถุ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM Education) ในภาพรวม
มีระดับความพึงพอใจมาก ( ̅=4.50, S.D. = 0.72) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อโดยเรียงระดับค่าเฉลี่ยจากสูงสุด
ถงึ นอ้ ยสุด 3 ลำดับ พบวา่ นักเรยี นมีความพงึ พอใจ ขอ้ ที่ 7 การจัดกิจกรรมการเรยี นรูม้ ุ่งสง่ เสริมใหผ้ เู้ รียนได้ฝึก
ทักษะการแก้ปัญหา มีระดับคา่ เฉลี่ยสงู สดุ ( ̅= 4.75, S.D. = 0.54) มีความพึงพอใจมากที่สดุ ลำดับรองลงมา
ข้อที่ 9 ผู้สอนเปิดโอกาสใหนักเรียนซักถาม ตอบคําถามและแสดงความคิดเห็นร่วมกันขณะสอน มีระดับ
ค่าเฉลี่ย ( ̅= 4.70, S.D. = 0.46) มีความพึงพอใจมากที่สุด และลำดับสุดท้าย ข้อที่ 2 ความเหมาะสมของ
เวลากบั การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ มีระดบั คา่ เฉลี่ย ( ̅= 4.15, S.D. = 0.96) มคี วามพงึ พอใจมาก

บทท่ี 5

สรุป อภิปราย และขอ้ เสนอแนะ

การวิจยั ครงั้ น้ี เปน็ การศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นรายวชิ าวิทยาศาสตร์ เร่ือง แรงโน้มถ่วง
ของโลก มวลและน้ำหนักของวัตถุ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM
Education) สรปุ สาระสำคัญไดด้ งั นี้

วัตถุประสงค์การวิจยั

1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เรื่องแรงโน้ม
ถ่วงของโลก มวล และน้ำหนักของวัตถุ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้นตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM
Education) ของนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4 โรงเรียนบา้ นเหล่า

2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนของนักเรียนท่ีมตี ่อการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ เรื่องแรงโน้มถว่ ง
ของโลก มวล และน้ำหนักของวัตถุ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM
Education) ของนกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 โรงเรยี นบา้ นเหล่า

ขอบเขตของโครงการวิจัย
ขอบเขตดา้ นเน้อื หา
เน้อื หาทีน่ ำมาวจิ ยั ในครง้ั นี้ คอื เรื่อง แรงโนม้ ถว่ งของโลก มวล และนำ้ หนกั ของวตั ถุ โดยมีการอ้างอิง

ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ เล่ม 1 จัดทำโดยสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีกระทรวงศกึ ษาธกิ ารตามหลกั สตู รแกนกลางขัน้ พ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ 2560)

ประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างท่ีใชใ้ นการวจิ ัยครั้งนี้ ได้แก่ นกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนบ้าน

เหลา่ จำนวน 17 คน
ขอบเขตดา้ นตัวแปร
ตัวแปรอิสระ คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องแรงโน้มถ่วงของโลก มวล และน้ำหนักของวัตถุ

โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM Education) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่
4 โรงเรียนบา้ นเหลา่

ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ เรื่องแรงโน้มถ่วงของโลก มวลและน้ำหนักของวัตถุ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนว
สะเตม็ ศกึ ษา (STEM Education) ของนกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 4 โรงบ้านเหลา่

49

สรุปผลการวิจัย

จากการศกึ ษาคน้ ควา้ สรปุ ได้ดงั น้ี

1. จากการศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
เรื่องแรงโน้มถ่วงของโลก มวลและน้ำหนักของวัตถุ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้นตามแนวสะเต็มศึกษา
(STEM Education) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านเหล่า ระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียน
พบว่าค่าคะแนนเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน เท่ากับ 14.85 คะแนน คะแนนเฉลี่ยของ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนเท่ากับ 15.75 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบระหว่างคะแนนสอบทั้งสองครั้ง
จะเหน็ วา่ คะแนนสอบหลงั เรียนสูงกวา่ กอ่ นเรยี น เมอ่ื เปรียบเทยี บคา่ t ได้คา่ t มีค่าเท่ากบั 5.60 มากกวา่ 2.90
(t.05,19) แสดงว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวสะเต็ม
ศึกษา (STEM Education) หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการศึกษา
เป็นไปตามสมมตฐิ านข้อท่ี 1 ท้ังนน้ี ักเรยี นมีความเขา้ ใตในเนอ้ื หามากขนึ้

2. จากการศึกษาความพึ่งพอใจ พบว่านักเรียนมีที่ได้รับกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ เรื่องแรงโน้มถ่วงของ
โลก มวลและน้ำหนักของวัตถุ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM Education)
ในภาพรวม มีระดับความพงึ พอใจมาก ( ̅=4.50, S.D. = 0.72) เมื่อพจิ ารณาเปน็ รายข้อโดยเรยี งระดบั คา่ เฉลี่ย
จากสูงสุดถึงน้อยสุด 3 ลำดับ พบว่านักเรียนมีความพึงพอใจ ข้อที่ 7 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้มุ่งส่งเสริม
ให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการแก้ปัญหา มีระดับค่าเฉลี่ยสูงสุด ( ̅= 4.75, S.D. = 0.54) มีความพึงพอใจมากที่สุด
ลำดับรองลงมา ข้อที่ 9 ผู้สอนเปิดโอกาสใหนักเรียนซักถาม ตอบคําถามและแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
ขณะสอน มีระดับค่าเฉลี่ย ( ̅= 4.70, S.D. = 0.46) มีความพึงพอใจมากที่สุด และลำดับสุดท้าย ข้อที่ 2
ความเหมาะสมของเวลากับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีระดับค่าเฉลี่ย ( ̅= 4.15, S.D. = 0.96) มีความ
พึงพอใจมาก

อภปิ รายผล
จากการวิจัยศึกษาการพัฒนาการศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง

แรงโน้มถ่วงของโลก มวลและน้ำหนักของวัตถุ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา
(STEM Education) สามารถอภปิ รายผลไดด้ งั น้ี

1. ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนบา้ นเหล่า หลงั เรียนสูงกว่าก่อน
เรยี นอยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถิตทิ ่รี ะดบั .05 ทงั้ น้ี อาจเปน็ เพราะการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา
(STEM Education) มกี ระบวนการและข้ันตอนท่ีสามารถฝึกใหน้ ักเรียนรู้จักแก้ปัญหาด้วยตนเอง รู้จกั วางแผน
ในการทำงาน กล้าแสดงความคิดเห็น สามารถเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่เพื่อนำไปสู่การแก้ปัญหาจน

50

สามารถสร้างเป็นชิน้ งานไดต้ ามความคิดและจินตนาการของนักเรยี น ท่เี นน้ ความแตกต่างของผ้เู รยี น ในการใช้
ความสามารถแต่ละด้านของแตล่ ะคน เพือ่ รวมกันออกแบบและสร้างสิ่งประดิษฐ์ จากวัสดุอุปกรณ์และเง่ือนไข
ที่ผู้สอนกำหนดให้ ซึ่งในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษาจะเน้น สถานการณ์จริงหรือ
สถานการณ์ใกลต้ ัว การแก้ปัญหาในสถานการณ์หนึ่ง สามารถมีทางแก้ปัญหาสถานการณ์ไดม้ ากกว่า หนึ่งทาง
และแมน้ กั เรียนจะไม่ประสบความสำเรจ็ ในการแกไ้ ขปัญหาในสถานการณแ์ ละเงอ่ื นไขท่ีผู้สอนกำหนด นกั เรียน
กย็ ังได้ประสบการณ์ ในกระบวนการและแลกเปล่ียนเรียนรู้กับกลุ่มตา่ ง ๆ ว่าเหตใุ ด จึงประสบผลสำเร็จหรือไม่
ประสบผลสำเร็จ ภายในชั้นเรียน ส่งผลให้นักเรียน กล้าคิด กล้าทำ กล้าแสดงออก และสนุกไปกับกิจกรรม
มีความกระตือรือร้นในการเรียน ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างชิ้นงาน
(Constructionism) ที่กล่าวไว้ ผเู้ รยี นเป็นผู้สร้างความรดู้ ้วยตนเองโดยในการสร้างความรู้นนั้ ผ้เู รียนจะต้องลง
มือสร้างสิ่งใดสิ่งหนึ่งขึ้นมาเพื่อจับต้องสัมผัสได้ ปรากฎให้เห็นได้หรือนำไปสู่การแลกเปลี่ยนกันได้
(Papert, 1993) จะมีผลทำให้ผู้เรียนต้องใช้ความคิดมคี วามกระตือรือร้น มีความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของ
ตนเองอย่างจริงจัง และประจักษ์ชัดว่าตนเองรู้เพียงพอแล้วหรือยัง รวมทั้งสามารถใช้สิ่งที่สร้างขึ้นมานั้นต่อ
ยอดในการสร้างชิ้นงานใหม่ หรือทำให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ใหม่ ๆ ต่อไปไม่มีที่สิ้นสุด หรืออาจกล่าวได้ว่า
เป็นการเชื่อมโยงความคิดที่อยู่ภาขในตนเอง เข้ากับสิ่งที่จับต้องสัมผัสได้ภายนอกให้เอื้อประโยชน์ต่อกันอยู่
ตลอดเวลาซึ่งการจัดการเรียนการสอนที่ทำให้ผู้เรียนเกิดกำลังความคิดมากที่สุด เมื่อผู้เรียนมีส่วนร่วมใน
กิจกรรมท่สี ามารถสร้างส่งิ ที่มคี วามหมายต่อตนเอง มีประโยชน์หรือสอดคล้องกบั การใช้ชวี ิตประจำวนั จะทำให้
ผู้เรียน เต็มใจที่จะมีส่วนร่วมในการทำงานนั้น (วิชาญ เพ็ชรทอง, 2559). และสอดคล้องกับผลการวิจัยของ
กมลฉัตร กล่อมอิ่ม, (2560). ได้ทำการวิจัย เรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่
เรียนด้วย การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการสะเต็มศึกษากับการจัดการเรียนรู้ แบบปกติ สำหรับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 4 ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการสะเต็มศึกษามี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 2) นักเรียนที่ได้รับ
การจัดการเรยี นรู้แบบบูรณาการสะเต็มศึกษามผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นสูงกวา่ นักเรียนท่ีไดร้ ับการจดั การเรียนรู้
แบบปกติอย่างมนี ัยสำคัญทางสถติ ทิ ่ีระดบั .01

2. ความพึงพอใจของนักเรียน พบว่านักเรียนมีที่ได้รับกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ เรื่องแรงโน้มถ่วง
ของโลก มวลและน้ำหนกั ของวตั ถุ โดยใช้การจดั กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามแนวสะเตม็ ศกึ ษา (STEM Education)
มีระดับความพึงพอใจมาก ( ̅=4.50, S.D. = 0.72) ทั้งนี้ อาจเป็นเพราะการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนว
สะเต็มศึกษา (STEM Education) กระตุ้นให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันภายใน
ห้องเรียน ได้ฝึกแก้ปัญหาจากการลงมือปฏิบัติด้วยตนเองจนสำเร็จลุล่วง ตามเงือนไขที่ผู้สอนกำหนดขึ้น
นักเรยี นเกิดความภาคภูมิใจท่ีไดใ้ ช้ความรู้และจินตนาการของตนเองในการออกแบบและสร้างช้นิ งานให้สำเร็จ

51

ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ สอดคล้องกับงานวิจัยของ ฟัตมาอัสไวนี ตาเย๊ะ , ณัฐินี โมพันธุ์ และ มัฮดี แวดราแม.
(2560). ได้ทำการวิจัย เรื่องผลของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิทยาศาสตร์ความคิดสร้างสรรค์และความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมากที่ สุด และยัง
สอดคล้องกับงานวิจัยของ ณัฐธิดา นาคเสน (2563). ได้ทำวิทยานิพนธ์ เรื่อง การพัฒนาทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ของนกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 3 เร่ือง พลังงานในชีวติ ประจำวนั โดยการจดั การเรียนรู้แบบ
สะเตม็ ศกึ ษา ความพึงพอใจของนักเรียนทมี่ ีต่อการจดั การเรียนรูแ้ บบสะเตม็ ศกึ ษาอยู่ ในระดับมากท่ีสดุ

ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะเพอื่ นำผลการวจิ ัยไปใช้
ในการวิจยั ในครัง้ น้ผี ูว้ ิจยั ไดล้ งมือจัดกจิ กรรมด้วยตนเอง โดยการปรับการจัดกิจกรรมการเรียรู้ให้เป็นใน

รูปแบบออนไลน์ ซง่ึ ในการจดั กิจกรรมผู้วิจัยพบปัญหาและอุปสรรคท่ีเกิดขน้ึ ระหว่างดำเนินกิจกรรม จึงได้เขยี น
ข้อเสนอแนะให้ผู้สนใจนำแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM Education)
สู่ห้องเรยี นออนไลน์ ดงั น้ี

1. กอ่ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM Education) ผสู้ อนความมีความรู้ความ
เข้าใจเกี่ยวกับหลักการและขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM Education)
เป็นอย่างดี และควรวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอคคล้องและเหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน
เพ่ือการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้มู ีประสทิ ธภิ าพมากขึน้

2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM Education) ในรูปแบบออนไลน์ผู้สอนควร
ให้นักเรียนไดร้ ่วมกนั แสดงความคิดเห็นหรือวิจารณ์งานออกแบบของเพื่อนในห้องเพื่อให้ผู้เรียนได้แลกเปลีย่ น
แนวคิดซ่ึงกนั และกัน

3. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM Education) ในรูปแบบออนไลน์ผู้สอนควร
ทจี่ ดั หาส่อื ท่เี หมาะสมในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ เช่น วดิ ีโอสาธติ การประดษิ ฐช์ นิ้ งาน หรอื ตวั อยา่ งช้ินงานท่ี
ผู้สอนได้ออกแบบและสร้างข้นึ เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนได้เห็นภาพจรงิ และนำไปประดษิ ฐเ์ องทบี่ า้ นของตนเอง

ขอ้ เสนอแนะเพื่อการวจิ ยั ในครง้ั ถัดไป
1. ควรทำการวิจัยและพัฒนากิจกรรมการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM Education)
ในรปู ออนไลน์ เพ่อื ใหเ้ ข้ากบั สถานการณโ์ ควิดในปัจจบุ ัน
2. ควรทำการวิจัยและศึกษาตัวแปรอื่น ๆ ที่เกิดจากการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM
Education) เช่น ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการสร้างและออกแบบชิน้ งาน การใช้ทักษะ
กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ฯลฯ เปน็ ต้น

52

ข้อจำกดั ของการทำการวิจยั ในครง้ั น้ี
เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 แพร่กระจายทั่วจังหวัดอุตรดิตถ์ ส่งผลให้

โรงเรียนทุกเรียนเรียนในสักกับกระทรวงศึกษาธิการและเอกชน ต้องงดการเรียนในชั้นเรียนและปรับรูปแบบ
การจัดการเรียนการสอนในระบบออนไลน์แทน จึงทำให้ผู้วิจัยไม่สามารถเก็บข้อมูลจากนักเรียนในห้องเรียน
จริงได้ จึงปรึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย แล้วเห็นสมควรว่า ให้จัดการเรียนการสอนโดยใช้สมาชิกใน
กลุ่มเรียน 04 รายวิชา การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ เป็นกลุ่มตัวอย่าง ในการเก็บข้อมูลการวิจัย
ในครั้งนี้ ดังนั้น ผลการวิจัยในครั้งนี้จึงเป็นผลการวิจัยที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างที่เป็น นักศึกษาชั้นปีที่ 3
คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ท่ัวไป จำนวน 20 คน

บรรณานกุ รม

กมลฉัตร กล่อมอิ่ม. (2559). การจัดการเรียนรู้แบบบรูณาการสะเต็มศึกษา สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู.
วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร, 18(4), 334-348.

จิรายุทธิ์ อ่อนศรี. (2560). เทคโนโลยีการศึกษากับครูไทยในศตวรรษที่ 21. (บทความให้ความรู้ด้าน
การศึกษา) สืบค้นเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2564 จาก http://www.nwm.ac.th/nwm/wp-
content/uploads/2017/10/บทความเทคโนโลยี-ศตวรรษ-21.pdf.

เชดิ ศกั ดิ์ ไอรมณรี ัตน.์ (2548). ทฤษฎีการเรียนอย่างมีความหมาย (Meaningful Learning Theory).
สืบคน้ 23 กันยายน 2564, จาก
http://teachingresources.psu.ac.th/document/2548/Ai_Rommani_Rat/1.pdf

ไชยเดช แก วสง า. (2556). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ : แนวคิด
Constructionism. วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 7(1),
255.

ณัฐธิดา นาคเสน, ถาดทอง ปานศุภวัชร และนิติธาร ชูทรัพย์. (2563). การพัฒนาทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3 เรอ่ื ง พลงั งานในชีวติ ประจำวัน โดยการจัดการ
เรียนรแู้ บบสะเตม็ ศกึ ษา. วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น, 43(2), 31-42

ทิฏิ์ภัทรา สุดแก้ว. (2554). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบสร้างองค์ความรู้ตามทฤษฎี
คอนสตรัคติวิสต์ผ่านเครือข่ายทาสังคมออนไลน์ เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่น (ปริญญานิพนธ์ กศ.ม.
(เทคโนโลยกี ารศกึ ษา)., บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ).

นิพัทธา ชัยกิจ. (2551). การศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์และแรงจูงใจในการเรียน
วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม) ที่ได้รบั การจดั การเรียนรูแบบสรรค์สรา้ งความรูและการจดั การเรียนรู้
แ บบสืบเสาะหาความรู้ . (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต) . กรุงเทพมหานคร.
มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ.

บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจยั เบื้องตน้ . พมิ พ์ครั้งที่ 7. กรุ่งเทพฯ : สุวีรยิ าสาส์น.

54

ปราณี กองจินดา. (2549). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์และทักษะการ คิดเลขใน
ใจของ นักเรียนที่ได้รับการสอนตามรูปแบบซิปปาโดยใช้แบบฝึกหัดที่เน้นทักษะการคิดเลขใน
ใจกับนักเรียนที่ ได้รับการสอนโดยใช้คู่มือครู. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (หลักสูตร และการสอน).
พระนครศรอี ยธุ ยา : บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา.

ปิยวรรณ ทศกาญจน์. (2561). การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการสะเต็มศึกษา เรื่องบ้านพยากรณ์ เพ่ือ
ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้และการสร้างสรรค์ชิ้นงาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกจิ บณั ฑติ ย์).

พชร บุญมานันต์ , มงคล ปรมัตถ์. (2559). การวิจัยในชั้นเรียนด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี
การศึกษา.[ออนไลน์]. สืบค้นเม่ือ 22 กันยายน 2564. จากเว็ปhttps://sites.google.com/site/
aboutme8890/work/bth-thi1/6-niyam-kha-saphth-chephaa

พรทิพย์ ศิริภทั ราชยั . (2556). STEM Education กับการพฒั นาทกั ษะในศตวรรษท่ี 21. วารสารนักบริหาร,
33(2), 49-56.

เพชรรตั น์ พลู เพิ่ม ,เจรญิ วชิ ญ์ สมพงษ์ธรรม, วิวฒั น์ เพชรศรี และชลลิ ลา บษุ บงค.์ (2563). การศึกษาผลการ
เรียนรกู้ ลุม่ สาระวิทยาศาสตร์ เร่อื ง ลม ฟ้า อากาศ ของนักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5 โดยใช้
การจดั การเรยี นรแู้ บบสะเตม็ ศึกษา (STEM). [ออนไลน]์ . ในการประชุมวิชาการและนำเสนอผลง
สนวจิ ัยระดบั ชาติ ราชธานีวชิ าการคร้งั ท่ี 5. สืบคน้ เมื่อ 5 กันยายน 2564 จาก
http://rtunc2020.rtu.ac.th/Production/proceeding/pdf/Oral%20Presentation/Oral4ED
/5ED_O26.pdf

ฟัตมาอัสไวนี ตาเย๊ะ , ณัฐินี โมพันธุ์ และ มัฮดี แวดราแม. (2560). ผลของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด
สะตีมศึกษาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ความคิดสร้างสรรค์ และความพึงพอใจ
ต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราช
นครนิ ทร์ สาขามนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์, 4(2), 1-13.

มนตรี จฬุ าวฒั นทล. (2556). สะเต็มศึกษาประเทศไทยและทูตสะเต็ม (STEM Education Thailand and
STEM Ambassadors). สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.), 42(185),
14-18.

มารตุ พัฒผล. (ม.ป.ป.). ทฤษฎกี ารเรยี นร้กู ล่มุ การเรียนรู้คิด. (ม.ป.ท.)

55

วิชาญ เพ็ชรทอง และพลูศักดิ์ โกษียภรณ์. (2559). การพัฒนารปู แบบการเรยี นการสอนตามแนวทฤษฏีการ
เรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญา กรณีศึกษา เรื่อง การออกแบบและวิเคราะห์ระบบความคุม
DC มอเตอร์ดว้ ย PID. วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร, 18(1), 119-132.

วิทยา วรพันธุ์ และรศ.ดร.ประสาท เนื่องเฉลิม. (2562). การประเมินการเรียนรู้ตามแนวทาง
สะเต็มศึกษาLearning Assessment for STEM Education. วารสารสถาบันวิจัยและ
พฒั นา. มหาวทิ ยาลัยราชภฏั มหาสารคาม, 6(1), 419-426.

วิษณุ ทุมมี (2560). ผลการจัดการเรยี นรูต้ ามแนวคิดสะเต็มศึกษา (STEM Education) ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษา
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม. (รายงานผลการวิจัย). (ม.ป.ท.)

ศิริพร ศรีจันทะ,พัรภัฏ รุ่งสัทธรรม,ประดิษฐ์ วิชัย. (2562.) สะเต็มศึกษากับการจัดการเรียนรู้ STEM
Education with Learning Management. (วราสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัย
กาฬสินธ)ิ์ .

ศูนย์ดำเนนิ งาน PISA แห่งชาติ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2564). ผลการประเมนิ
PISA 2018 การอ่าน คณิตศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์[ออนไลน์]. สบื ค้นเมื่อ 31 กรกฎาคม 2564
จาก https://pisathailand.ipst.ac.th/pisa2018-fullreport/.

ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษานครราชสีมา. (2559). ค่ายจัดเต็มสะเต็มศึกษา STEM Education. เอกสาร
วิชาการลำดบั ท่ี 3/59.

ศูนย์สะเต็มศึกษาประเทศไทย. (2557). รู้จักสะเต็ม. [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2564 จาก
http://www.stemedthailand.org/?page_id=23

สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.). (2558). สะเตม็ ศกึ ษา Science Technology
Engineering and Mathematics Education (STEM Education). [ม.ป.ท.]

สมชาย รัตนทองคํา. (2550). ทฤษฎีการเรียนรู้ของนักการศึกษาที่นํามาใช้พัฒนาด้านการเรียนการสอน.
เอกสารประกอบการสอนทางกายภาพบำบัด สืบค้น 23 กันยายน 2564, จาก
https://ams.kku.ac.th/aalearn/resource/edoc/tech/56web/4learn_edu56.pdf

สมชาย รัตนทองคำ. (2556). ทฤษฎกี ารเรียนรู้พื้นฐาน. เอกสารประกอบการสอนทางกายภาพบำบดั สบื คน้
24 กันยายน 2564, จาก https://ams.kku.ac.th/aalearn/resource/edoc/tech/56web/
3learn_th56.pdf

56

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ARUT NPRU (ม.ป.ป.) ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
[ออนไลน]์ . หนว่ ยสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ สำนกั วทิ ยบรกิ ารฯ. สบื ค้นเมื่อวนั ท่ี 22กรกฏกาคม 2564 จาก
http://dept.npru.ac.th/edu2/data/files/20191107140459_20160306103902_PR%20ari
t%20Knowledge%2021.pdf

สุพรรณี ชาญประเสริฐ. (2557). สะเต็มศึกษากับการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. นิตยสาร สสวท.
42(186), 3-5.

อสิตา พรมเวหา. (2561). นักพัฒนาหลักสูตร. สืบค้น 23 กันยายน 2564, จาก http://kam- asita.
blogspot.com/p/blog-page_7.html

อับดุลยามีน หะยีขาเดร์. (2560). ผลของการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาที่มีต่อผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนชีววิทยาความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ และความพึงพอใจต่อการจัดการ

เรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัย
สงขลานครนิ ทร.์

ภาคผนวก

58

ภาคผนวก ก
รายนามผ้เู ช่ยี วชาญในการตรวจสอบเครอื่ งมอื วิจยั

59

1. นายอดุ ม บุญเกตุ รายนามผูเ้ ชีย่ วชาญ
วฒุ ิการศกึ ษา
(กศ.ม) การศึกษามหาบณั ฑติ วิทยาศาสตร์ศกึ ษา (ฟิสกิ ส)์
ตำแหน่ง มหาวิทยาลยั นเรศวร
หน่วยงาน (คบ.) ครศุ าสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรท์ ่วั ไป
2. นางณชิ นันท์ อุทโท วทิ ยาลัยครูเชียงใหม่
วุฒิการศกึ ษา ครู วทิ ยฐานะ คศ.3 ชำนาญการพเิ ศษ
โรงเรียนตรอนตรีสนิ ธ์ุ
ตำแหนง่
หน่วยงาน (ศษ.บ) ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิต การสอนวทิ ยาศาสตร์
3. ดร. เอมอร วนั เอก มหาวิทยาลัยรามคำแหง
วุฒิการศกึ ษา (คบ.) ครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าวิทยาศาสตร์ (เคม)ี
วิทยาลัยครนู ครสวรรค์
ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ คศ.3 ชำนาญการพิเศษ
หนว่ ยงาน โรงเรียนตรอนตรีสินธุ์

(วท.ม.) วทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ (ฟสิ กิ ส์ประยุกต)์
มหาวิทยาลัยนเรศวร
(กศ.ม) การศึกษามหาบณั ฑิต วิทยาศาสตร์ศึกษา
มหาวทิ ยาลัยนเรศวร
(วท.บ.) วทิ ยาศาสตร์บัณฑิต (ฟิสกิ ส์)
มหาวิทยาลยั นเรศวร
อาจารยป์ ระจำหลักสูตร สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรท์ วั่ ไป
คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอตุ รดิตถ์

ภาคผนวก ข

แผนการจดั การเรยี นร้ตู ามแนวสะเตม็ ศึกษา (STEM Education)

61

แผนการจดั การเรยี นรู้ตามแนวสะเตม็ ศึกษา

รหัส-ชื่อรายวิชา วทิ ยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หนว่ ยการเรียนรเู้ รื่อง แรงและพลงั งาน ระดับชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4

ภาคเรยี นที่ 1 จำนวน 2 คาบ/สปั ดาห์

เร่อื ง แรงโน้มถ่วงของโลก มวล และนำ้ หนกั ของวตั ถุ เวลา 2 คาบ

ชือ่ ผูส้ อน นาย อนพุ งศ์ พิมแสน วันท.่ี ............ เดอื น ......... พ.ศ. 2564

โรงเรียน บา้ นเหลา่ ตำบล นำ้ อา่ ง อำเภอ ตรอน จังหวัด อุตรดติ ถ์ คะแนนเก็บ.........คะแนน

1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวติ ประจำวัน ผลของแรงท่ีกระทำต่อวัตถุลกั ษณะการเคล่ือนทีแ่ บบ

ตา่ ง ๆ ของวัตถุ รวมทัง้ นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์
2. ตวั ช้ีวัด

ป. 4/3 ระบผุ ลของแรงโน้มถว่ งทมี่ ตี ่อวัตถุจากหลักฐานเชงิ ประจักษ์
3. จดุ ประสงค์

ด้านเนือ้ หา (K) นกั เรียนสามารถ :
3.1 ระบผุ ลของแรงโน้มถว่ งทม่ี ีต่อวตั ถุได้

ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) นักเรยี นสามารถ :
3.2 ออกแบบและทดลองความสัมพันธ์ระหว่างมวลและการเคล่ือนที่ของวัตถุได้

ด้านคณุ ธรรมจริยธรรม/คณุ ลักษณะท่ีพึง่ ประสงค์ (A) เพื่อใหน้ กั เรียนเป็นผ้ทู ่ี :
3.1 มคี วามม่งุ มัน่ ในการทำงาน

4. สาระสำคัญ
มวล คือ ปริมาณเนื้อของสสารทั้งหมดที่ประกอบกันเป็นวัตถุซึ่งมีผลต่อความยากง่ายในการ

เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุ วัตถุที่มีมวลมากจะเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ได้ยากกว่า วัตถุที่มีมวลน้อย
ดังนั้นมวลของวัตถุนอกจาก จะหมายถึงเนื้อทั้งหมดของวัตถุนั้นแล้ว ยังหมายถึงการต้านการเปลี่ยนแปลง
การเคลอื่ นทขี่ องวตั ถนุ ้ันด้วย
5. สาระการเรยี นรู้

- มวลและการเคล่ือนทีข่ องวัตถุ
- สืบค้นข้อมูลการประดิษฐบ์ อลลูนจากถุงพลาสติก
- การออกแบบทางวศิ วกรรมโดยออกแบบการทำบอลลูนจากถุงพลาสติก
- รูปทรงเรขาคณิต การวดั ความยาวของเส้นเชอื ก
6. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสอื่ สาร
2. ความสามารถในการคิด

3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 62
4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี T: เทคโนโลยี
- สืบค้นขอ้ มลู การประดิษฐ์บอลลนู
กรอบแนวคดิ STEM

S: วิทยาศาสตร์
- มวลและนำ้ หนกั
- การเคลื่อนที่ของวตั ถุ
- แรงโนม้ ถว่ ง

บอลลูนชูชีพ

E: วศิ วกรรมศาสตร์ M: คณติ ศาสตร์
- การออกแบบบอลลูน - รปู ทรงเรขาคณิต
- การวัด

63
7. กิจกรรมการจดั การเรียนรู้ STEM Education (2 ชั่วโมง)
ลำดบั ข้นั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้

ขนั้ ท่ี 1 ระบปุ ญั หา (Problem Identification)
1.1 ครใู ห้นกั เรียนดวู ีดิโอเรอื่ ง ปัจจัยท่ีมีผลต่อนำ้ หนกั ของวัตถุ https://youtu.be/o8wmiNRcGRc

1.2 ครูบรรยายสถานการณ์จำลอง ประเทศไทยมีเหตุการณ์น้ำท่วมเกิดขึ้นบ่อยครั้งประชาชน
เดือดร้อนเนื่องจากถนนถูกตัดขาดหรือน้ำท่วมเส้นทางสัญจร ทำให้ขาดแคลนยาและอาหาร การช่วยเหลือ
ผู้ประสบภัยให้ทันท่วงทีอาจทำได้โดยการบรรจุยาและอาหารลงในกล่องและขนส่งโดยใช้เฮลิคอปเตอร์
แต่ปัญหาคือบางบริเวณเฮลิคอปเตอร์ไม่สามารถลงจอดได้ จำเป็นต้องทิ้งกล่องลงมาจากเฮลิคอปเตอร์และ
ถ้ากล่องตกลงพืน้ เร็วเกินไปอาจเสยี หายจงึ ต้องมบี อลลนู ผกู ติดกบั กล่องเพ่ือให้กล่องตกลงพนื้ ช้าลง

1.3 ครูให้นักเรียนดูวีดิโอเรื่อง แรงต้านอากาศ https://www.youtube.com/watch?v=uX--
FC_Md-U

1.3 ครูต้งั โจทยป์ ญั หา การประดษิ ฐบ์ อลลนู ชูชีพ โดยมีเงื่อนไขวา่ สามารถลอยอยู่ในอากาศไดน้ าน
ข้นั ที่ 2 รวบรวมข้อมลู และแนวคดิ ทเ่ี กยี่ วข้องกับปัญหา (Related Information Search)

2.1 แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเปน็ กลมุ่ กลมุ่ ละ 4 คน โดยใหน้ ักเรียนสืบค้นการประดษิ ฐ์บอลลนู ชชู ีพ
2.2 ครูแจกใบกิจกรรมและใบความร้ใู ห้กบั นกั เรียนแต่ละกลุม่
2.3 ให้นักเรียนสืบค้น ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุ จากใบความรู้ หนังสือ หรือ
อินเทอร์เนต็
2.4 ให้นกั เรียนสบื คน้ การประดิษฐ์รม่ ชชู ีพ

64

2.5 ครคู อยเป็นผูใ้ ห้คำแนะนำและทีป่ รึกษาใหก้ ับนักเรยี น
ขนั้ ที่ 3 ออกแบบวธิ ีการแก้ปญั หา (Solution Design)

3.1 ครูแนะนำอปุ กรณ์ โดยจะใช้อปุ กรณ์ในการประดิษฐ์ ดังนี้
- ไขไ่ ก่ จำนวนกลมุ่ ละ 2 ฟอง (แตล่ ะฟองมวลตา่ งกนั )
- เชอื กว่าว ขนาด 0.5 มิลลเิ มตร ความยาวกล่มุ ละ่ 2 เมตร
- นาฬิกาจบั เวลา/โทรศัพท์ จำนวน 1 เคร่ือง
- ถุงพลาสติก ขนาด 20x30 นว้ิ จำนวนกลุม่ ล่ะ 1 ถุง
- แกว้ พลาสติก ขนาด 16 oz. จำนวนกลมุ่ ละ่ 1 ใบ

3.2 ครใู ห้นกั เรียนออกแบบบอลลูนชชู พี โดยการรา่ งภาพลงในใบกจิ กรรม
ขน้ั ท่ี 4 วางแผนและดำเนนิ การแก้ปญั หา (Planning and Development)

4.1 นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ วางแผนการทำงาน การใชอ้ ุปกรณ์ แบ่งหนา้ ทีข่ องสมาชกิ แตล่ ะคน
4.2 ใหน้ ักเรียนประดษิ ฐบ์ อลลูนชชู พี ท่ีออกแบบไว้ตามเวลาทก่ี ำหนด
ขั้นที่ 5 ขั้นทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้ไขปัญหาหรือแก้ชิ้นงาน (Testing ,
Evaluation and Design Improvement)
5.1 นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มทดสอบการปลอ่ ยบอลลูนจากทสี่ งู 3 เมตร
5.2 นักเรียนประเมินดูว่าบอลลูนชูชีพที่สร้างมีความแข็งแรงทดทาน สามารถที่จะลองรับน้ำได้
มีความสมดุลในการเคลื่อนที่ของบอลลูนชูชีพและสามารถลอยอยู่ในอากาศได้นาน พร้อมแก้ไขข้อผิดพลาด
ของบอลลูนชีพ
ขน้ั ที่ 6 นำเสนอวิธีการแก้ไขปญั หา ผลการแกไ้ ขปัญหาหรอื ช้นิ งาน (Presentation)
6.1 แต่ละกลุ่มนำไข่ไก่มาชง่ั โดยใชเ้ ครื่องช่ังสปรงิ
6.2 นักเรียนแต่ละกลมุ่ นำบอลลนู มาปล่อยจากทีส่ ูง 3 เมตร สังเกตบอลลูนชชู พี ของแต่ละกลุ่มและ
จับเวลถึงพื้นได้ช้ากว่ากัน โดยกล่องอาหารและอาหารไม่เสียหาย ซึ่งกล่องอาหารและอาหารกำหนดเป็นแก้ว
พลาสตกิ และไขไ่ กต่ ามลำดับ
6.3 ครสู รปุ มวลของวตั ถมุ ีกับการเคลื่อนท่ี (แนวการสรุป วตั ถทุ กุ ชนดิ ไม่วา่ จะมีขนาดเล็ก หรอื ขนาด
ใหญ่ มวลมากหรือมวลน้อยเม่ือปล่อยใหต้ กอย่างอิสระจากที่สูงหรือออกแรงโยนวัตถุน้ันให้ลอยในอากาศ วัตถุ
เหล่านั้นจะถูกแรงดึงดูดของโลกหรือแรงโนม้ ถ่วงของโลกกระทำให้เคล่ือนที่ลงสู่พืน้ ผวิ โลก ดังนั้น เราสามารถ
สรุปไดว้ ่าวัตถทุ ุกชนิดบนโลกเมื่อปล่อยให้ตกอยา่ งอสิ ระ วตั ถุเหล่านั้นจะตกลงในแนวดงิ่ มที ศิ ทางการเคลื่อนท่ี
เขา้ หาพนื้ ผวิ โลกเสมอ)
8. ส่อื การเรียนรู้
1. หนงั สอื เรยี นรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4
2. ใบกจิ กรรม STEM มวลของวัตถกุ ับการเปลยี่ นแปลงของวตั ถุ
3. วสั ดุอปุ กรณก์ ารทำกิจกรรม

65

9. การวดั และประเมินผล วิธีการ เครือ่ งมอื เกณฑ์การผา่ น
จุดประสงค์ ขอ้ สอบ จดุ ประสงค์
ร้อยละ 70 ขึ้นไป
1.1 เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหว่างมวลของวตั ถทุ มี่ ผี ลต่อ ทำแบบทดสอบ
การเปลย่ี นแปลงการเคลือ่ นที่ของวัตถุได้ แบบสังเกต คะแนน Rubric
2.1 ออกแบบและทดลองความสมั พนั ธร์ ะหว่างมวลและ การสังเกตการ การออกแบบ ระดับ 2 ขึน้ ไป
การเปลีย่ นแปลงการเคลือ่ นที่ของวตั ถุได้ ออกแบบ จาก 4 ระดับ
แบบประเมนิ คะแนน Rubric
3.1 ม่งุ มน่ั ในการทำงาน การสงั เกต มุ่งมน่ั ในการ ระดับ 2 ข้นึ ไป
เกณฑก์ ารประเมินผล (รูบริคส์) พฤติกรรมม่งุ มั่น ทำงาน จาก 4 ระดบั
ในการทำงาน

จดุ ประสงค์ที่ทำการประเมิน ระดับคุณภาพ
4 3 21

(P) ออกแบบและทดลองความสัมพันธ์ระหว่างมวลและการเปลี่ยนแปลง
การเคล่ือนท่ขี องวัตถไุ ด้
คณุ สมบตั ิ
1. สามารถใชอ้ ุปกรณใ์ นการประดิษฐ์ได้ถูกต้อง
2. สามารถประดิษฐ์บอลลนู ตามรปู แบบที่วางไวไ้ ด้
3. ระบไุ ดว้ ่าอปุ กรณ์ท่ใี ชใ้ นการประดษิ ฐ์มีรปู ทรงเรขาคณติ ใดบ้าง
4. มีความปลอดภัยในการทดลองช้ินงาน
(A) นักเรยี นมคี วามรว่ มมอื ในการทำกจิ กรรมร่วมกับผู้อื่น
คณุ สมบัติ
1. สนใจรว่ มกจิ กรรมในชน้ั เรียนและคน้ คว้าหาความรู้
2. รบั ผิดชอบต่องานได้รบั มอบหมาย
3. รบั ฟังความคดิ เหน็ ของผู้อ่นื
4. ส่งงานครบตรงตามเวลากำหนด
ระดบั คุณภาพ
4 คะแนน มีคุณสมบัติครบทุกข้อ
3 คะแนน มีคณุ สมบัติ 3 ใน 4 ขอ้
2 คะแนน มีคณุ สมบตั ิ 2 ใน 4 ขอ้
1 คะแนน มีคณุ สมบัติ 1 ใน 4 ข้อ

66

แบบสงั เกตการออกแบบและทดลอง (P)

คำชี้แจง : ใหท้ ำเครื่องหมาย ✓ ในช่องทต่ี รงกบั ความเป็นจริง

คณุ สมบตั ิ คะแนน การประเมนิ ผล
ผ่าน ไม่ผา่ น
ลำดับที่ ชอื่ -สกลุ 1 2 3 4 (4คะแนน)

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

ผปู้ ระเมนิ ……………………….……………………………….
(…………………………..………………………….)
............/…………………………../……….…

67

แบบประเมนิ ความมุ่งม่นั ในการทำงาน (A)

คำช้แี จง : ใหท้ ำเคร่ืองหมาย ✓ ในช่องท่ีตรงกับความเป็นจรงิ

คณุ สมบัติ คะแนน การประเมนิ ผล

ลำดบั ที่ ช่อื กลุม่ 1 2 3 4 (4คะแนน) ผา่ น ไม่ผา่ น

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

ผปู้ ระเมิน ……………………….……………………………….
(…………………………..………………………….)
............/…………………………../……….…

68

ใบกิจกรรม STEM บอลลนู ชูชีพ

คำช้แี จ้ง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบโครงร่างช้นิ งานและบนั ทึกออกแบบการสรา้ งชนิ้ งาน

ช่อื กลุ่ม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

สมาชกิ 1) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2).………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3).………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4).………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5).………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ภาพโครงร่างบอลลนู ชชู ีพ

69

ออกแบบวัสดุอปุ กรณ์
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
ออกแบบข้นั ตอนการสรา้ งบอลลูน
....................................................................................................................................................................... .......
........................................................................................................................... ...................................................
............................................................................................................................. .................................................
........................................................................................................................................................... ...................
................................................................................................................ ..............................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................... ...............................
.................................................................................................... ..........................................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................... ..........................................

คำถามทา้ ยกจิ กรรม
1. หากมีมวลต่างกนั ระหว่าง มวลมากและมวลนอ้ ย เมื่อปล่อยวัตถทุ งั้ สองขนาดจากท่ีสงู จะมคี วามแตกต่างกนั
อยา่ งไร เพราะเหตใุ ด
............................................................................................................................. .................................................
..................................................................................................................................... .........................................
......................................................................................... .....................................................................................

2. เพราะเหตใุ ดบอลลนู จงึ ตกลงส่พู ืน้
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
...................................................................................................................................................................... ......

70

ใบความรู้

มวล (Mass) คือปริมาณเนื้อของสารที่มีอยู่ในก้อนวัตถุนั้น ๆ ซึ่งมีค่าคงตัว ไม่เปลี่ยนค่า
ตลอดเวลาและไม่ขึ้นกับสถานที่ มวลเป็นสมบัติที่ต้านทานต่อการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์เคลื่อนท่ี
ของวัตถุ มวลเป็นปริมาณ สเกลาร์และมีค่าคงทีเ่ สมอ ไม่ว่าจะอยู่บนผิวโลกหรืออยู่ ณ ตำแหน่งใด ๆ
ในจักรวาล

แรงดึงดดู ระหวา่ งมวลของวัตถใุ ด ๆ กับมวลของโลกจะมคี ่ามากหรือน้อยขนึ้ อยกู่ บมวลของโลก
และมวลของวัตถุ แต่เนื่องจากว่ามวลของโลกมีค่าคงตัว ค่าของแรงดึงดูดจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ
มวลของวัตถุนั้น ดังนั้นแรงดึงดูดของโลกที่กระทำต่อวัตถุจึงขึ้นอยู่กับมวลของวัตถุ และน้ำหนักของ
วัตถคุ อื แรงโนม้ ถ่วงของโลกทกี่ ระทำตอ่ มวลของวัตถุ

น้ำหนัก (Weight) หมายถึง แรงที่เกิดจากความเร่งโน้มถ่วงของโลกกระทำต่อวัตถุ ดังนั้น ถ้า
ปล่อยให้ วัตถุมวล m ตกลงมาอย่างอิสระ แรงสุทธิที่กระทำต่อวัตถุคือ น้ำหนักของมวล m คูณกับ
ความเร่งโนม้ ถ่วงของโลก g นน่ั เอง น้ำหนักมีหนว่ ยเปน็ นวิ ตัน

71

วตั ถุที่ 1 มีความหนาแน่นนอ้ ย มวลนอ้ ย น้ำหนกั นอ้ ย (การต้านการเปล่ยี นแปลงการเคลื่อนทน่ี ้อย)
วตั ถุท่ี 2 มีความหนาแนน่ มาก มวลมาก น้ำหนักมาก (การตา้ นการเปลีย่ นแปลงการเคลอ่ื นทม่ี าก)

ถ้าออกแรงกระทำต่อวัตถุทั้งสองขนาดเท่ากันวัตถุที่มีมวลน้อยกว่าจะสามารถเคลื่อนที่ได้ไกล
กว่า เนื่องจากแรงต้านการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่น้อยกว่า เช่น ออกแรงลากกล่องไม้ กล่องเหล็ก
กล่องกระดาษขนาดเท่า ๆ กนั กล่องกระดาษจะเคลื่อนท่ไี ด้ง่ายและไกลกว่า

ถ้ารถขนาดต่างกนั เคล่ือนท่ีด้วยความเร็วเท่ากันคันใหญ่ต้องออกแรงมากกว่าคนั เล็กและในการ
หยดุ รถคันใหญต่ ้องออกแรงตา้ นเพอ่ื ใหร้ ถหยดุ เคลือ่ นทีม่ ากกวา่ เช่นกัน

การหานำ้ หนักของวัตถุ
เราสามารถวัดน้ำหนักของวัตถุหรือสิ่งของต่าง ๆ ที่เกิดจากแรงดึงดูดของโลกได้ด้วย
“เครือ่ งชงั่ สปริง” โดยค่าทอ่ี า่ นได้จะเท่ากบั ขนาดของแรงดงึ ดูดของโลกทก่ี ระทำตอ่ วตั ถซุ ึ่งเป็นน้ำหนัก
ของวตั ถนุ ้ันเอง

72

เครื่องชั่งสปริงแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ

เคร่อื งชัง่ สปรงิ แบบแขวน เครื่องช่ังสปริงแบบตั้ง

เครือ่ งช่งั สปรงิ แบบแขวน
ใช้ในการทดลองเกี่ยวกับเรื่องแรงต่าง ๆ ได้แก่ การทดลองเรื่องสมดุลต่อการเคลื่อนที่

แรงเสยี ดทาน ฯลฯ ชัง่ ละเอยี ด 10 กรมั ต่อ 1 ขีดสเกล และ 0.10 นิวตนั ต่อ 1 ช่องสเกล ช่งั ได้สูงสุด
1,000 กรัม และ 10 นิวตัน ตัวตาชั่งทำด้วยพลาสติก และอลูมิเนียม พิมพ์สเกลเป็นกรัมและนิวตัน
ห่วงมือถือและขอสำหรับแขวนทำด้วยโลหะ สามารถปรับตำแหน่งศูนย์ของเข็มชี้สเกลได้ง่าย ไม่ต้อง
ใชเ้ ครอ่ื งมือพเิ ศษ
เคร่ืองชงั่ สปรงิ แบบตัง้

เคร่ืองช่งั สปริง คอื เคร่อื งชั่งท่ีนิยมใช้กันอย่างแพรห่ ลายตามร้านค้าในตลาดสดและแผงตาม
ตลาดนัด เพ่อื ใชช้ งั่ สนิ ค้าท่ีมรี าคาไม่สูงมากนกั และจะใชช้ ่ังสินค้านำ้ หนกั 3 - 60 กิโลกรมั

ลกั ษณะการทำงานจะใช้สปรงิ ในการรับน้ำหนกั มหี น้าปดั 2 ดา้ น เพ่ือให้ผ้ซู อ้ื และผขู้ ายไดด้ ผู ล
การช่ังนำ้ หนกั สินค้าพร้อมๆ กัน

วิธกี ารใช้งานเครื่องช่ังสปริงใหเ้ ทีย่ งตรง
1. ตอ้ งวางเครอื่ งช่งั บนพืน้ ราบให้ไดร้ ะดับและมั่นคงแข็งแรง
2. ก่อนทำการชั่งน้ำหนักสินค้า เข็มเครื่องชั่งต้องชี้ที่เลขศูนย์ (0) ถ้าเข็มไม่ชี้ที่เลขศูนย์ให้ใช้
เครอ่ื งมือปรบั ให้เขม็ ช้ีทเี่ ลขศนู ย์ ทดลองกดถาดชง่ั แล้วปลอ่ ย เขม็ ยังคงต้องช้ที เ่ี ลขศูนย์ (0) เสมอ

3. วางสนิ คา้ บนถาดชัง่ และอา่ นผลการช่ังโดยดูเขม็ ชี้ทีข่ ดี บอกน้ำหนกั ให้ถูกต้อง

73

บันทึกหลังแผน
ผลการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ปญั หา/อุปสรรค
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................................... ...........
....................................................................................................................... .......................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ข้อเสนอแนะ / แนวทางแกไ้ ข
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอื่ .........................................................ผ้บู นั ทึก
(........................................................)
..................../................../.............

ภาคผนวก ค
ผลการตรวจสอบคณุ ภาพเครื่องมอื

75

ตรวจสอบคณุ ภาพของเคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการวจิ ยั

ตารางท่ี 1 แสดงผลการตรวจสอบคณุ ภาพของแผนการจัดการเรียนร้ตู ามแนวสะเต็มศึกษ (STEM Education)

โดยผ้เู ช่ียวชาญ

ดา้ นทีท่ ำการ รายการทท่ี ำการประเมิน ความคิดเหน็ ของ IOC แปลผล
ประเมนิ ผ้เู ชีย่ วชาญคนที่
123

องคป์ ระกอบของแผนการจัดการเรียนรมู้ ีความสอดคลอ้ งกัน +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้
1 ใช้ได้
จดุ ประสงค์การเรยี นรูส้ อดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรยี นรู้ +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้
1 ใชไ้ ด้
สาระการเรียนร้แู ละสาระสำคญั มคี วามชดั เจน +1 +1 +1
1 ใช้ได้
องค์ประกอบ กรอบแนวคดิ มีความสอดคลอ้ งกับการจดั การเรียนรู้ตามแนว +1 +1 +1 1 ใช้ได้
ของแผนการ สะเตม็ ศกึ ษา +1 +1 +1
จัดการเรียนรู้ กิจกรรมการจัดการเรียนรู้เป็นกิจกรรมที่เน้นผู้เรียน
เปน็ สำคญั

วสั ดุอปุ กรณ์มีความสอดคลอ้ งกับการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ +1 +1 +1

สื่อและแหล่งเรียนรูเ้ หมาะสมกบั กิจกรรมการเรยี นรู้ +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

การวัดและประเมนิ ผลสอดคล้องกับจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

มีความชัดเจน +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้
1 ใช้ได้
เหมาะสมแกก่ ารนำไปใช้ +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้
1 ใช้ได้
กจิ กรรมการ มคี วามสะดวกตอ่ การนำไปใช้ +1 +1 +1 1 ใช้ได้

เรียนรตู้ ามแนว สามารถสง่ เสริมทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ +1 +1 +1

สะเตม็ ศึกษา แตล่ ะข้นั ของการจัดกิจกรรมการเรียนรูม้ ีความสอดคลอ้ งกนั +1 +1 +1

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้มีความสอดคล้องกับกิจกรรม +1 +1 +1 1 ใช้ได้
การเรยี นรูต้ ามแนวสะเต็มศึกษา

สือ่ /อปุ กรณ์ มคี วามเหมาะสมกับกจิ กรรมในแต่ละขน้ั ตอน +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้
แหล่งเรียนรู้ มีความหลากหลาย นา่ สนใจ ทนั สมยั จดั เตรียมงา่ ย +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้
มีความเหมาะสมกบั ความสามารถและวัยของผเู้ รยี น +1 +1 +1 1 ใช้ได้
1 ใช้ได้
การวดั ผลและ การวดั และประเมินผลเน้นการประเมินตามสภาพจรงิ +1 +1 +1
ประเมินผล +1 +1 1 ใชไ้ ด้
กำหนดวิธีการวัดและประเมินผลไดเ้ หมาะสมกับพฤติกรรมที่ +1
ตอ้ งการวดั

76

ตารางท่ี 2 แสดงผลการประเมนิ ความสอดคล้องแบบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนโดยผู้เชยี่ วชาญ

ความคิดเหน็ ของผ้เู ชี่ยวชาญ
ขอ้ ที่ IOC แปลผล

คนท่ี 1 คนท่ี 2 คนท่ี 3

1 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

2 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

3 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

4 -1 +1 -1 0.33 ตดั ทง้ิ

5 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

6 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

7 -1 +1 +1 0.66 ใช้ได้

8 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

9 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

10 +1 +1 -1 0.66 ใช้ได้

11 -1 +1 +1 0.33 ตดั ทิง้

12 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

13 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

14 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

15 -1 +1 +1 0.66 ใชไ้ ด้

16 -1 +1 +1 0.66 ใชไ้ ด้

17 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

18 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

19 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

20 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

21 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

22 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

23 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

24 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

25 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

77

ตารางท่ี 2 (ต่อ)

ความคิดเหน็ ของผเู้ ชย่ี วชาญ
ข้อที่ IOC แปลผล

คนท่ี 1 คนท่ี 2 คนที่ 3

26 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

27 +1 +1 +1 1 ใช้ได้

28 -1 +1 -1 0.33 ตัดท้ิง

29 +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

30 -1 +1 +1 0.66 ใช้ได้

ตารางที่ 3 แสดงผลการประเมินความสอดคล้องแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ตาม

แนวสะเตม็ ศึกษา (STEM Education) โดยผ้เู ชี่ยวชาญ

รายการที่ทำการประเมนิ ความคดิ เหน็ ของ
ผู้เช่ยี วชาญคนท่ี IOC แปลผล

1. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้สนกุ และนา่ สนใจ 123
+1 +1 +1 1 ใช้ได้

2. ความเหมาะสมของเวลากบั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

3. กจิ กรรมการเรยี นร้สู อดคลอ้ งกบั จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

4. วสั ดุอุปกรณท์ ่ีใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสม +1 +1 +1 1 ใช้ได้

5. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ส่งเสริมผู้เรยี นสามารถคิดแกป้ ญั หาได้ +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

6. ผ้สู อนมีการวดั และประเมนิ ผลผู้เรยี นดว้ ยวิธกี ารทดลองจากชิน้ งาน +1 +1 +1 1 ใชไ้ ด้

7. เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนไดต้ รวจสอบตนเองและปรับปรงุ ผลงานใหด้ ีขนึ้ +1 +1 +1 1 ใช้ได้

8. มอี ิสระในการการแสดงความคดิ เหน็ และรับฟังความคิดเห็นของผอู้ ่ืน +1 +1 +1 1 ใช้ได้

9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้มุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการ +1 +1 +1 1 ใช้ได้
แก้ปัญหา

10. ตอ้ งการให้จดั กจิ กรรมการรตู้ ามแนวสะเต็มศกึ ษาอีกในคร้ังถัดไป +1 +1 +1 1 ใช้ได้

11. ผู้สอนแจงจุดประสงคการเรียนรูใหแกนักเรียนเพื่อใหผู้เรียนได้ +1 +1 +1 1 ใช้ได้
ทราบแนวทางในการเรียนรู้

12. ผู้สอนเปิดโอกาสใหนักเรียนซักถาม ตอบคําถามและแสดงความ +1 +1 +1 1 ใช้ได้
คิดเหน็ รว่ มกันขณะสอน

13. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทำให้ผู้เรียนเกิดการบูรณาการความรู้ +1 +1 +1 1 ใช้ได้
วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยวี ศิ วกรรมศาสตร์ และคณติ ศาสตร์

ภาคผนวก ง
แบบวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน,แบบวดั ความพึงพอใจ

79

แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวทิ ยาศาสตร์

คำชีแ้ จง : ขอ้ สอบปรนัย 4 ตัวเลอื ก ใหน้ กั เรยี นเลือกข้อที่ถูกต้องทสี่ ุดเพียง 1 ข้อ

เวลาในการทำข้อสอบ 20 นาที

ข้อท่ี รายการ

ถา้ ตอ้ งการทราบมวลของวตั ถุ เราควรทำวิธใี ด
ก. ลองยกข้ึน
1. ข. ใชเ้ ครื่องช่ัง
ค. วัดจากขนาด
ง. เปรียบเทยี บกบั วตั ถทุ ที่ ราบนำ้ หนกั
เคร่อื งชงั่ สปริง สามารถบอกค่าใดของวตั ถุได้
ก. ขนาด มวล
2. ข. มวล น้ำหนัก
ค. ขนาด วสั ดุทีใ่ ชท้ ำ
ง. นำ้ หนัก วสั ดทุ ใี่ ช้ทำ
สิ่งใดมผี ลตอ่ การเคล่ือนท่ขี องวัตถมุ ากทีส่ ดุ
ก. มวล
3. ข. ขนาด
ค. ปริมาณ
ง. วัสดุท่ีใชท้ ำ
เคร่อื งมอื ในข้อใด ใช้วัดน้ำหนักของวัตถุ
ก. บีกเกอร์
4. ข. กระบอกตวง
ค. เครือ่ งช่งั สปริง
ง. ถว้ ยยูรกี ้า
บริเวณใดมีแรงโนม้ ถว่ งน้อยทสี่ ดุ
ก. พน้ื โลก
5. ข. บนภูขา
ค. ในอวกาศ
ง. พ้ืนดวงจนั ทร์
ความสมั พันธ์ระหว่างมวลกบั นำ้ หนัก มีลักษณะใด
ก. มวลลด นำ้ หนกั เพมิ่
6. ข. มวลเพม่ิ น้ำหนักลด
ค. มวลคงท่ี น้ำหนกั ไม่คงที่
ง. มวลและน้ำหนกั ไมม่ คี วามสมั พนั ธก์ ัน

80

ถา้ นกั เรียนอยบู่ นดวงจันทร์ น้ำหนักของนักเรียนเมอ่ื เทียบกับอยบู่ นโลก จะมีลักษณะใด

7. ก. คงท่ี ข. เพมิ่ ขน้ึ

ค. ลดลง ง. ไม่แน่นอน

วตั ถุท่หี ยดุ นิง่ เมอื่ มแี รงมากระทำต่อวตั ถนุ ั้นจะเกดิ การเปลี่ยนแปลงอย่างไร

8. ก.เปล่ยี นจากหยดุ นง่ิ เปน็ เคล่อื นท่ี ข. เคล่อื นทเ่ี รว็ ขน้ึ

ค. เปลีย่ นทิศทางการเคล่อื นท่ี ง. ไมเ่ กดิ การเปลี่ยนแปลง

ในการเล่นห่วงยาง ถ้าตอ้ งการให้ห่วงยางเคลอ่ื นทไ่ี ปไดเ้ ร็ว ตอ้ งทำอย่างไร

ก. โยนไปขา้ งหน้า

9. ข. โยนกลบั หลงั

ค. โยนไปด้านขา้ ง

ง. ออกแรงโยนมาก ๆ

ใครวัดมวลได้ถกู ตอ้ ง

ก. แยมใช้ตามองวัตถุ

10. ข. กายลองยกวตั ถขุ ้ึน

ค. ตูนใชส้ ายวดั พันรอบวตั ถุ

ง. ปอ๋ งนำวัตถไุ ปชั่งด้วยเครอ่ื งชง่ั สปริง

สปริงของเครื่องชั่งสปริงแบบแขวนแต่ละอันเหมือนกัน และชั่งวัตถุในสถานที่เดียวกันจากรูป วัตถุใดมี

นำ้ หนกั มากท่ีสุด

ก. A ข. B

11. ค. C ง. D

จากขอ้ มูลในขอ้ 18. สปรงิ ของเคร่ืองชั่งสปริงแบบแขวนยดื ออกไมเ่ ท่ากนั เพราะอะไร
12. ก. วัตถมุ มี วลแตกตา่ งกนั ข. วัตถุมขี นาดแตกตา่ งกัน

ค. วัตถุมีรปู ร่างแตกต่างกนั ง. แรงโนม้ ถ่วงของโลกมที ิศทางแตกตา่ งกนั
ความสัมพันธ์ใดถูกต้อง
ก. มวลมาก เคลื่อนที่งา่ ย
13. ข. มวลมาก เคล่อื นทยี่ าก
ค. ขนาดใหญ่ เคลอ่ื นท่ยี าก
ง. ขนาดใหญ่ เคลอ่ื นทง่ี า่ ย
“วัตถุช้ินหน่ึงต้องใช้แรงดึง 10 นวิ ตัน วัตถจุ ึงเริ่มเคล่อื นที่” ข้อสรปุ ใดถกู ต้อง
ก. วัตถมุ ีมวล 10 นิวตนั
14. ข. วัตถุตอ้ งใชแ้ รงคนในการดงึ 10 คน
ค. วตั ถุมแี รงต้านการเคลอ่ื นท่ี 10 นวิ ตัน
ง. วัตถุไมม่ แี รงตา้ นการเคลอื่ นที่เมื่อออกแรงดึง 10 นวิ ตนั

81

ดภู าพ แลว้ ตอบคำถามข้อ 15 – 18
จากภาพแรงในภาพใดมีผลตอ่ วตั ถตุ ่างจากขอ้ อน่ื

15.

ก. ภาพ 1

ข. ภาพ 2

ค. ภาพ 3

ง. แรงแตล่ ะภาพมีผลตอ่ วตั ถุแตกตา่ งกันทั้งหมด

จากคำตอบในขอ้ 15. แรงนั้นมผี ลตอ่ การเคลือ่ นท่ขี องวตั ถอุ ยา่ งไร

ก. ทำใหว้ ัตถุเคลอื่ นที่

16. ข. ทำให้วตั ถหุ ยดุ เคลอ่ื นที่

ค. ทำให้วัตถุเคล่อื นท่เี ร็วข้ึน

ง. ทำใหว้ ัตถเุ คล่อื นท่ีกลับไปกลับมา

จากภาพท่ี 1 ถ้าเพ่ิมเด็กเป็น 4 คน จะมีผลต่อการเคลื่อนที่ของวตั ถุอยา่ งไร

17. ก. รถแล่นเรว็ ขนึ้ ข. รถแล่นช้าลง

ค. รถแล่นถอยหลงั ง. ไม่เกิดการเปล่ียนแลง

จากภาพ แรงในภาพใดมีผลทำใหว้ ัตถเุ คล่อื นที่

18. ก. ภาพที่ 1, 2 ข. ภาพท่ี 2, 3

ค. ภาพที่ 1, 3 ง. ภาพท่ี 1, 2, 3

ถา้ ตอ้ งการวดั ขนาดของแรงของเดก็ เปรียบเทยี บกนั ควรใชว้ ิธีใดเหมาะสมที่สดุ

ก. ใช้เด็กยืนบนเคร่ืองชง่ั น้ำหนัก แลว้ อ่านค่าท่ไี ดเ้ ปรียบเทียบกนั

19. ข. ใชเ้ ดก็ หิ้วถุงทรายเพอ่ื เปรียบเทยี บว่าใครห้ิวได้มากกวา่ กนั

ค. ใหเ้ ด็กออกแรงดึงขอเกย่ี วของเคร่ืองชง่ั สปริงและเปรียบเทียบค่าทีส่ ปริงยดื ออก

ง. ทำวธิ ใี ดก็ไดใ้ น 3 วิธี

ถ้าดวงจันทร์มีแรงดึงดูดน้อยกว่าโลกเมื่อมนุษย์อวกาศชั่งน้ำหนักบนดวงจันทร์ และชั่งน้ำหนักบนโลก

เปรยี บเทยี บกนั ขอ้ ใดถูกต้อง

20. ก. นำ้ หนักของมนษุ ย์อวกาศทชี่ ัง่ บนดวงจันทรม์ ากกว่า
ข. น้ำหนกั ของมนษุ ย์อวกาศทช่ี ่ังบนดวงจนั ทร์น้อยกวา่

ค. น้ำหนกั ของมนุษย์อวกาศท่ชี ั่งบนโลกนอ้ ยกว่า

ง. น้ำหนักของมนษุ ยอ์ วกาศที่ช่ังทั้ง 2 แห่ง มคี ่าเท่ากนั

82

แบบประเมนิ ความพึ่งพอใจ
การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM Education)

เรอ่ื ง แรงโน้มถ่วงของ
คำชี้แจง : ใหน้ กั เรียนทำเคร่ืองหมาย ✓ ลงในชอ่ งทตี่ รงกับระดบั ความพงึ พอใจของตนเอง

5 หมายถึง ความพึงพอใจมากท่ีสุด
4 หมายถึง ความพงึ พอใจมาก
3 หมายถงึ ความพงึ พอใจปานกลาง
2 หมายถงึ ความพึงพอใจน้อย
1 หมายถึง ความพึงพอใจน้อยทีส่ ดุ

รายการทท่ี ำการประเมนิ ระดบั ความพึงพอใจ
54321

1. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้สนุกและน่าสนใจ

2. ความเหมาะสมของเวลากบั การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

3. กิจกรรมการเรยี นรู้สอดคล้องกบั จดุ ประสงค์การเรียนรู้

4. วัสดุอปุ กรณ์ท่ใี ช้ในการจัดกจิ กรรมการเรียนรูม้ คี วามเหมาะสม

5. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้สง่ เสริมผเู้ รยี นสามารถคิดแก้ปัญหาได้

6. เปิดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นได้ตรวจสอบตนเองและปรับปรุงผลงานให้ดีข้ึน

7. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้มุง่ สง่ เสริมใหผ้ ูเ้ รียนได้ฝกึ ทกั ษะการแก้ปัญหา

8. ตอ้ งการให้จัดกจิ กรรมการรู้ตามแนวสะเต็มศกึ ษาอกี ในครัง้ ถดั ไป

9. ผสู้ อนเปดิ โอกาสใหนักเรยี นซักถาม ตอบคําถามและแสดงความคดิ เหน็ ร่วมกัน

ขณะสอน

10. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ทำให้ผเู้ รียนเกดิ การบูรณาการความรู้ วทิ ยาศาสตร์

เทคโนโลยีวิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์

ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................. ...........................
....................................................................................................... .......................................................................
............................................................................................................................. .................................................
....................................................................................................................................... .......................................
............................................................................................ ..................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ภาคผนวก จ
เอกสารอน่ื ๆ

84

ใบงานท่ี 4
แบบเสนอขอ้ เสนอโครงการวจิ ยั ในชั้นเรยี นหรอื วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (งานกลมุ่ )

ชื่อโครงการวิจัย (ภาษาไทย) การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง แรงโน้มถ่วง
ของโลก มวลและน้ำหนักของวัตถุโดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา
(STEM Education)

1. ชือ่ ผวู้ ิจัย
- ชอ่ื -สกลุ : อนพุ งศ์ พิมแสน
: ธนพร คำเติม
: รุ่งทพิ ย์ อาจแก้ว
: วรรณนกิ า จนั ทรท์ อง
: ศุภลักษณ์ ใบสนธ์ิ
- คณุ วฒุ ิ : ปรญิ ญาตรชี น้ั ปีท่ี 3
- ตำแหนง่ : นกั ศึกษา
- สำนกั /หน่วยงาน : มหาวิทยาลยั ราชภัฏอตุ รดติ ถ์
- 096-8834102

2. สาขาวชิ าและกล่มุ วิชาทท่ี ำการวจิ ยั
สาขาวชิ าวิทยาศาสตรท์ ั่วไป

3. ความสำคัญและทมี่ าของปัญหาท่ที ำการวิจยั
ผลการประเมนิ PISA ประเทศไทยปี 2018 พบวา่ นักเรยี นไทยมีคะแนนวทิ ยาศาสตร์ 426 คะแนน ซงึ่ มี

คะแนนต่ำกว่าคา่ เฉลี่ย OECD โดยเทยี บเท่ากบั การเรียนท่ีตา่ งกันเกือบสองปี ประเทศไทยมีนักเรียนเกือบคร่ึง
(56%) ที่มีความสามารถทางวิทยาศาสตร์ตั้งแต่ระดับ 2 ขึ้นไปในขณะที่ ค่าเฉลี่ยของประเทศสมาชิก OECD
มีนักเรียนประมาณ 78% อยู่ในกลุ่มนี้ ซึ่งนักเรียนที่ระดับนี้อย่างน้อยที่สุดสามารถรู้คำอธิบายที่ถูกต้องของ
ปรากฏการณ์เชิงวิทยาศาสตร์ที่คุ้นเคยและสามารถใช้ความรู้ดังกล่าวเพื่อระบุประเด็นต่าง ๆ ได้ในกรณีที่ไม่
ซับซ้อนว่าข้อสรุปนั้นถกู ต้องตามข้อมูลที่ให้หรือไม่ ประเทศไทยมีนักเรียนประมาณ 0.7% ที่มีผลการประเมิน
วิทยาศาสตร์อยู่ในกลุ่มสงู หรือมีความสามารถทางวิทยาศาสตร์ที่ระดับ 5 และระดับ 6 ในขณะที่ ค่าเฉลี่ยของ
ประเทศสมาชิก OECD มีนักเรียนประมาณ 6.8% อยู่ในกลุ่มนี้ ซึ่งที่ระดับนี้ นอกจากนักเรียนจะมีทักษะของ
ความสามารถที่ระดับต่ำกว่านี้แล้ว นักเรียนสามารถใช้ความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์อย่างสร้างสรรค์และ
สามารถประยุกต์ใช้ความรูแ้ ละทักษะท่ีตนเองมใี นสถานการณท์ ่ีหลากหลายรวมท้ังในสถานการณท์ ่ีไมค่ ุ้นเคยได้
(ศูนย์ดำเนินงาน PISA แห่งชาติ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2564) ทั้งนี้การศึกษา
ในศตวรรษที่ 21 จึงควรเป็นการส่งเสริมทักษะการเรียนรู้และการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่เน้นนักเรียนมีส่วนร่วม

85

และได้ลงมือปฏิบัติด้วยตัวของนักเรียนเอง (Active Learning) ซึ่งการเรียนการสอนแบบลงมือปฏิบัติทำให้
นักเรียนแสวงหาความรู้ผ่านการลงมือทำกิจกรรมสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์
เปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการอภิปราย ฝึกทักษะการสื่อสารและการทำงานร่วมกับผู้อื่น จนเกิด
ความเข้าใจ นำไปประยุกต์ใช้สามารถวิเคราะห์ ประเมินค่าและสร้างสรรค์ผลงานจนเกิดเป็นนวัตกรรมได้
(ปิยวรรณ ทศกาญจน์,2561 อ้างถึงในสถาพร พฤฑฒกิ ุล,2555)

ความท้าทายด้านการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในการเตรียมนักเรียนให้พร้อมกับชีวิตในศตวรรษท่ี 21
เป็นเรื่องสำคัญของกระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 21 ส่งผลต่อวิถีการดำรงชีพของ
สังคมอย่างทั่วถึง ครูจึงต้องมีความตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียมความพร้อมให้
นักเรียนมีทักษะสำหรับการออกไปดำรงชีวิตในโลกในศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19
โดยทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ที่สำคัญที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) ส่งผลให้มีการเปลีย่ นแปลง
การจัดการเรียนรู้เพื่อให้เดก็ ในศตวรรษที่ 21 นี้ มีความรู้ ความสามารถ และทักษะจำเป็น ซึ่งเป็นผลจากการ
ปฏิรูปเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ (สำนักวิทย
บริการแลเทคโนโลยีสารสนเทศ ARUT NPRU, ม.ป.ป.) จากสังคมโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วด้วย
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการสื่อสาร รวมถึงการแข่งขันทางเศรษฐกิจ ทำให้ทุกประเทศจะต้องเร่ง
พฒั นาคณุ ภาพของประชากรให้มีคุณภาพทสี่ ูงข้ึน เพอื่ ท่จี ะสามารถดำรงชวี ิตและแข่งขันกับในตลาดแรงงานได้
การจัดการเรียนรู้ในปัจจุบันจึงจะต้องพัฒนานักเรียนในศตวรรษที่ 21 ให้มีความพร้อมทั้งด้านการเรียนรู้
และนวัตกรรม ความก้าวทันต่อเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงทักษะชีวิตและอาชีพที่สามารถปรับตัวและ
ยืดหยุ่นตอ่ การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกได้ ทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในสตวรรษที่ 21 สาระวิชามีความสำคญั
แต่ไม่เพียงพอสำหรับการเรียนรู้เพื่อดำรงชีวิตในศตวรรษท่ี 21 ปัจจุบันการเรียนรู้สาระวิชา ควรเป็นการเรยี น
จากการค้นคว้าของนักเรียนเอง โดยมีครูช่วยแนะนำ (Coach)ช่วยออกแบบกิจกรรม รวมถึงการอำนวยความ
สะดวกให้นักเรียน (Facilitator) ในการเรียนการสอนการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มุ่งเน้นการพัฒนา
ทักษะการเรียนรู้และนวตั กรรม ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปญั หา
ความคิดสร้างสรรค์และการสร้างสรรค์ขึ้นงาน และทักษะการสื่อสารและความร่วมมือ ซึ่งทักษะเหล่านี้ครู
สามารถฝกึ ฝนให้แกน่ ักเรียนในศตวรรษที่ 21 ได้ (ปยิ วรรณ ทศกาญจน์,2561 อ้างถึงใน วิจารณ์ พานชิ , 2555)

Passive Learning เป็นกระบวนการเรียนรู้โดยการอ่าน ฟังบรรยาย โดยยึดเนื้อหา (Content Based)
จากหนังสือและตำรา เป็นรูปแบบท่ีครูในประเทศไทยคุ้นเคยและใช้กนั มาก ครูจะพยายามบรรยายบอกทุกส่งิ
ทกุ อย่างในตำราหรือหนังสือ ใหน้ ักเรียนจดบันทึกแล้วนำไปใชส้ อบวัดเก็บเปน็ คะแนนความรู้ โดยสรปุ ก็คือ ยึด
ครูเป็นศูนย์กลาง (Teacher-centered) ต่อมาครูเริ่มนำ Technology มาช่วยในการนำเสนอ Content
ใหน้ กั เรยี นได้รบั รูก้ ็ยงั ถอื ว่าเปน็ การยึดครูเป็นศนู ย์กลางอยู่ (สำนกั บริหารงานการมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สพฐ.,
2558) ในยุคศตวรรษที่ 21 กระบวนการเรียนอาจมีการเปลี่ยนแปลง โดยผู้เรียนจะเรียนด้วยเทคโนโลยี

86

สารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยมีความก้าวหน้า และสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้มากและรวดเร็วขึ้น
ปัญหาที่สืบเนื่องมาจากจำนวนนักเรียนที่เพิ่มขึ้นต่อห้องเรียน จนทำให้วิธีการสอนแบบเดิม ๆ ไม่มี
ประสทิ ธิภาพเพียงพอ ส่ือทีแ่ สดงมีขนาดใหญ่ไม่เพียงพอสำหรับ ผเู้ รยี นท่ีอยู่หลังห้อง ความจดจ่อกับผู้สอนถูก
เบยี่ งเบนจากพฤตกิ รรมและสภาพแวดล้อมในช้นั เรียนขนาดใหญ่ ผู้เรยี นมกี ารนำเอาคอมพิวเตอร์พกพาเข้ามา
สืบค้นความรูใ้ นชั้นเรียน และถามคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ครูกำลังสอน หรือนำข้อมูลเหล่านั้นมาพูดคุยโดยทีค่ รู
ตอบไม่ได้ หรือไม่เคยรู้มาก่อน เมื่อเป็นเช่นนี้ ครูจึงต้องพร้อมที่จะปรับตัวและพัฒนาตนเองใ ห้เท่าทัน
เทคโนโลยีอยู่เสมอ และต้องมีความกระตือรือร้นที่จะพัฒนาทักษะและวิทยาการให้ทันสมัย เพื่อให้เกิดการ
เรยี นร้เู ทคนิควิธกี ารเรียนการสอนแบบใหม่ ๆ ที่มีประสทิ ธภิ าพ ทำให้ไดเ้ ด็กมีคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ตามที่
สังคมไทยและสังคมโลกต้องการ (จิรายุทธิ์ อ่อนศรี, 2560) การจัดการเรียนรู้ในปัจจุบันและในอนาคตคุณครู
คงต้องมีการปรับตัวพอสมควร เนื่องด้วยมีการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวทางด้านการศึกษาซึ่งเป็นเรื่องท่ี
จำเป็นและจะต้องมีความสอดคล้องกับความต้องการของสังคม หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่าการเปลี่ยนแปลง
ทางดา้ นสงั คมสง่ ผลตอ่ การเปลีย่ นแปลงทางด้าน (สุพรรณี ชาญประเสรฐิ ,2557)

จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านเหล่า ในหน่วยการเรียนรู้
แรงและพลงั งาน เรื่อง แรงโน้มถ่วงของโลก มวล และนำ้ หนักของวัตถุ พบว่าจากนกั เรียนทั้งหมด 17 คน มี
นักเรียนจำนวน 10 คน มีผลคะแนนต่ำกว่าร้อย 60 จากเกณฑ์ที่กำหนด เมื่อจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ
การแก้ปัญหาและออกแบบชิ้นงาน เช่น ให้นักเรียนออกแบบสร้างชิ้นงานหรือสร้างโมเดลต่าง ๆ ที่ได้รับจาก
การจัดการเรียนรู้ พบว่า นักเรียนสามารถสร้างชิ้นงานได้ทันในเวลาที่กำหนดให้ และให้ความสนใจในการทำ
กจิ กรรมในรูปแบบลงมอื ปฏบิ ัติมากกวา่ การสอนในรูปแบบบรรยายหนา้ ชั้นเรยี น

ซึ่งในปัจจุบันการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้นกั เรียนได้พัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 รวมไปถึงทักษะ
การแกไ้ ขปัญหาทางวิทยาศาสตร์ คือการจัดการเรียนการสอนแบบท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ (Active Learning)
คือการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ หรือลงมือ ความรู้หรือทักษะที่ได้จะเกิดจากประสบการณ์ของผู้เรียนที่ได้
ลงมือปฏิบัติ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สสวท. (2557). กล่าวว่า สะเต็มศึกษา
(STEM Education) เป็นแนวทางการจัดการศึกษาที่บูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์และ
คณิตศาสตร์ ท่ีมุ่งแก้ไขปญั หาท่ีพบเหน็ ในชวี ิตจรงิ เพ่ือสร้างเสรมิ ประสบการณ์ ทกั ษะชวี ติ ความคิดสร้างสรรค์
และเป็นการเตรียมความพร้อมให้กับนักเรียนในการปฏิบัติงานที่ต้องใช้องค์ความรู้และทักษะกระบ วนการ
ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งนำไปสู่การสร้างนวัตกรรมในอนาคต ศูนย์วิทยาศาสตร์
เพื่อการศึกษานครราชสีมา (2559). ได้กล่าวถึง สะเต็มศึกษาเป็นการเรียนรู้แบบบูรณาการ ที่ใช้ความรู้และ
ทักษะในดา้ นตา่ ง ๆ ผา่ นการทำกิจกรรม (Activity Based) หรอื การทำโครงงาน (Project Based) ทเ่ี หมาะสม
กับวัยและระดับชั้นของผู้เรียนการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาดังกล่าวนี้ จะช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิด
ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการแก้ปัญหา และทักษะการสื่อสาร ซึ่งทักษะดังกล่าวนี้เป็นทักษะ

87

การเรยี นร้ใู นศตวรรษท่ี 21 ทผี่ ู้เรียนพงึ มี สพุ รรณี ชาญประเสริฐ (2557). ยงั กลา่ วอกี ว่า การจดั การเรียนรู้ตาม
แนวทางสะเตม็ ศึกษา นอกจากการบูรณาการด้านเน้ือหาวิชาแล้วยังได้นำหลักการและทักษะ กระบวนการคดิ
การออกแบบ การแก้ปัญหา การให้เหตุผลต่าง ๆ ทางวิศวกรรม มาบูรณาการร่วมด้วยทั้งในระดับชั้น
ประถมศึกษาจนถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย นักเรียนจะได้เรียนรู้และก่อให้เกดิ ทกั ษะต่าง ๆ ที่สามารถ
นำไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ทีห่ ลากหลาย และการบูรูณาการกระบวนการทางวิศวกรรมและการแก้ปัญหา
ไปในรายวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์เป็นการเชื่อมโยงหลักสูตรไปสู่โลกแห่งความเป็นจริง ซึ่งนำไปสู่
เป้าประสงค์ที่แท้จริงของการเรียนรู้และการแก้ปัญหา นักเรียนที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญทางสะเต็ม
จะสามารถตอบคำถาม หรือแก้ปัญหาที่ชับซ้อนได้ดีขึ้น สามารถสำรวจตรวจสอบในประเด็นข้อสงสัยต่าง ๆ
และพฒั นาไปส่กู ารแก้ปัญหาที่ท้าทายและปญั หาในโลกที่เปน็ จริง ในขณะเดยี วกนั กส็ ามารถประยุกต์ใช้ความรู้
ทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรมและคณติ ศาสตร์ในดา้ น อนื่ ๆ ได้อย่างเหมาะสม

จากสภาพปัญหาและข้อมูลข้างต้น ทำให้ผู้วิจัยเห็นว่า การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา
วิทยาศาสตร์ให้ดีขึ้น โดยการใช้กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามแนวสะเต็มศึกษา STEM Education
เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ ซึ่งกิจกรรม STEM จะทำให้นักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง
จากประสบการณ์หรือสถานการณ์การจริงที่เกิดขึ้นจากการทำกิจกรรม โดยมีครูเป็นผู้คอยให้คำแนะนำและ
จัดบรรยากาศในห้องเรียน และนอกจากนี้กิจกรรม STEM ยังช่วยให้นักเรียนได้พัฒนาทกั ษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์ได้อกี ทางหนึ่ง

4. วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการวิจัย
1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนกั เรียนที่มีต่อกิจกรรมการจัดการเรยี นรู้ เรื่องแรงโน้ม

ถ่วงของโลก มวล และน้ำหนักของวัตถุ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา
(STEM Education) ของนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 โรงเรียนบ้านเหล่า

2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนของนักเรียนทีม่ ีต่อกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ เรื่องแรงโน้มถว่ ง
ของโลก มวล และน้ำหนักของวัตถุ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM
Education) ของนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 โรงเรยี นบ้านเหลา่

5. ขอบเขตของโครงการวิจยั
ขอบเขตด้านเนอื้ หา
เนื้อหาท่นี ำมาวจิ ัยในคร้งั น้ี คือเรือ่ ง แรงโนม้ ถว่ งของโลก มวล และนำ้ หนกั ของวัตถุ โดยมีการอ้างอิง

ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ เล่ม 1 จัดทำโดยสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยกี ระทรวงศกึ ษาธกิ ารตามหลกั สตู รแกนกลางขน้ั พ้นื ฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ 2560)

88

ขอบเขตด้านประชากร
ประชากรนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 4 โรงเรยี นบ้านเหลา่ จำนวน 17 คน

ขอบเขตดา้ นกลุม่ ตัวอย่าง
กลุม่ ตัวอยา่ งทีใ่ ช้ในการวิจยั ครงั้ นี้ ไดแ้ ก่ นกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 โรงเรียนบ้านเหล่า จำนวน

17 คน ได้จากการเลือกแบบเจาะจง
ขอบเขตดา้ นตวั แปร
3.1 ตัวแปรอิสระ คือ กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ เรื่องแรงโน้มถ่วงของโลก มวลและน้ำหนักของวัตถุ

โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา ( STEM Education) ของนักเรียน
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรยี นบ้านเหลา่

3.2 ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการจัดการ
เรียนรู้ เรือ่ งแรงโน้มถว่ งของโลก มวลและน้ำหนกั ของวตั ถุ โดยใชก้ ารจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนตามแนวสะ
เต็มศึกษา (STEM Education) ของนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4 โรงบ้านเหลา่

ขอบเขตดา้ นเวลาระยะเวลา
ระยะเวลาท่ใี ชใ้ นการจัดการเรียนการสอน 2 คาบเรียน

6. นิยามศพั ท์เฉพาะ ๓ - ๕ คำ
กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM Education) หมายถึง แนวทางการ

จดั การศึกษาทบี่ รู ณาการวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ทีม่ งุ่ แกไ้ ขปญั หาที่พบเห็น
ในชีวิตจริงเพื่อสร้างเสริมประสบการณ์ ทักษะชีวิต ความคิดสร้างสรรค์และเป็นการเตรียมความพร้อมให้กับ
นักเรียนในการปฏิบัติงานกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเป็นขั้นตอนของการแก้ปัญหาหรือสนองความ
ต้องการ ซง่ึ มขี น้ั ตอนหลกั ๆ ดังนี้

ขน้ั ท่ี 1 ระบุปัญหา (Problem Identification)
1.1 ครใู ห้นกั เรยี นดู VDO เก่ียวกับปจั จัยท่ีมีผลต่อการเปลย่ี นแปลงการเคลือ่ นท่ีของวัตถุ
1.2 ครบู รรยายสถานการณจ์ ำลองทเี่ กี่ยวขอ้ ง
1.3 ครูต้ังโจทย์ปัญหาท่นี ำไปสกู่ ารประดิษฐ์ และมเี งอ่ื นไขในการสรา้ งช้นิ งาน

ขัน้ ที่ 2 รวบรวมข้อมูลและแนวคดิ ทีเ่ ก่ยี วข้องกบั ปัญหา (Related Information Search)
2.1 แบ่งกล่มุ นกั เรยี นโดยใชอ้ ตั ราสว่ น 1 : 2 : 1 , เกง่ : กลาง : ออ่ น
2.2 ให้นกั เรยี นสบื คน้ ข้อมลู เก่ียวกบั สิงประดิษฐ์
2.3 ครูคอยเปน็ ที่ผู้ให้คำแนะนำและเปน้ ที่ปรกึ าให้กับนกั เรยี นแต่ละกลุ่ม

ขั้นท่ี 3 ออกแบบวธิ ีการแกป้ ัญหา (Solution Design)
3.1 ครูแนะนำอปุ กรณ์ ในการประดิษฐ์

89

3.2 ครใู หน้ ักเรียนออกแบบสิ่งประดษิ ฐ์ โดยการร่างภาพลงในใบกจิ กรรม
ข้ันที่ 4 วางแผนและดำเนนิ การแกป้ ัญหา (Planning and Development)

4.1 ใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลุ่มวา่ งแผนการทำงาน แบง่ หน้าที่กนั ภายในกลุ่ม
4.2 ให้นกั เรียนวประดษิ ฐ์ สงิ่ ประดษิ ฐ์ทกี่ ลุ่มได้ออกแบบไว้ตามเวลาท่ีกำหนด
ขั้นที่ 5 ขั้นทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้ไขปัญหาหรือแก้ชิ้นงาน (Testing ,
Evaluation and Design Improvement)
5.1 ใหน้ กั เรียนทดสอบสิง่ ประดิษฐ์
5.2 นักเรียนประเมินสิ่งประดิษฐ์ของกลุ่มตนเองว่ามีข้อบกพร่องอะไร และนำข้อบกพร่องไป
ปรบั ปรงุ แก้ไข้เพื่อใช้งานจริง
ขั้นที่ 6 นำเสนอวิธีการแก้ไขปญั หา ผลการแก้ไขปญั หาหรือชน้ิ งาน (Presentation)
6.1 ใหน้ กั เรียนำสง่ิ ประดษิ ฐม์ าใชจ้ รงิ และนำเสนอผลงานของตนเอง
6.2 ครูและนักเรยี นรว่ มกนั สรุปบทเรียน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนของนักเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านเหล่า เรื่องแรงโน้มถ่วงของโลก มวลและน้ำหนักของวัตถุ วัดผลโดยใช้
แบบทดสอบปรนยั เลือกตอบ 4 ตวั เลือก ท่ผี ู้วจิ ยั สรา้ งข้ึน
ความพึงพอใจ หมายถงึ ความร้สู กึ รกั ชอบยนิ ดเี ตม็ ใจ มคี วามสุข ของนักเรยี นชั้นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4
ที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง แรงโน้มถ่วงของโลก มวลและน้ำหนักของวัตถุ โดยใช้การจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM Education) ซึ่งวัดได้จากแบบวัดความพึงพอใจ
ทีผ่ ู้วจิ ัยสรา้ งข้นึ

7. ทฤษฎี สมมุติฐาน และกรอบแนวความคิดของโครงการวิจัย
ทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้อง
1. ทฤษฎีการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม เป็นทฤษฎีที่ให้ความสำคัญกับตัวนักเรียนจุดเน้นของการเรียน

แบบมสี ่วนร่วม คอื การให้นกั เรยี นมสี ่วนร่วมทางดา้ นจติ ใจ การได้รับประสบการณ์ท่ีสัมพนั ธก์ ับชีวติ จริง ได้รับ
การฝึกฝนทักษะชีวิตต่างๆ การแสวงหาความรู้ การคิด การจัดการความรู้การแสดงออก การสร้างความรู้ใหม่
และการทำงาน (ปิยวรรณ ทศกาญจน์,2561 อ้างอิงจาก จิราณี เมืองจันทร์, 2557, น. 3) กรอบแนวคิดของ
ทฤษฎีการเรยี นรแู้ บบมสี ่วนร่วม ได้แก่

1) นักเรียนแต่ละคน มีส่วนร่วมทำให้เกิดการเรียนรู้ทั้งทางตรงและทางอ้อม อาศัยหลักการเรียนรู้
เชิงประสบการณ์ และการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพได้รับประสบการณ์ที่สัมพันธ์กับชีวิตจริง ได้รับการฝึกฝน
ทักษะการแสวงหาออก ทกั ษะการสร้างความรใู้ หม่ และทกั ษะการทำงานกลุ่ม

90

2) เปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นมสี ่วนร่วมในการแสดงความคดิ เห็น ตดั สนิ ใจเลอื กบทเรียนทตี่ ้องการเรียนรู้
ในลักษณะกลุ่มหรือศึกษาด้วยตนเอง นักเรียนจะร่วมกันจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกขั้นตอนฝึกปฏิบัติการวาง
แผนการทำกจิ กรรมการเรยี นรู้รว่ มกันและทำรายงานผลการเรยี นรู้

3) นักเรียนได้รับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตนเอง ได้ลงมือปฏิบัติ ทำกิจกรรมกลุ่มฝึกฝนทักษะการ
เรียนรู้ทักษะการบริหาร การจัดการ การเป็นผูน้ ำผู้ตามและทีส่ ำคัญเป็นการเรยี นรู้ทีม่ ีความสัมพันธ์สอดคลอ้ ง
กับชวี ติ จรงิ ของนักเรียน

4) ครูมีบทบาทกระตุ้นให้นักเรียนได้เล่าประสบการณ์ของตนเอง ผู้สอนอาจใช้ใบชี้แจงกำหนด
กิจกรรมของนักเรียน ในการนำเสนอประสบการณ์ ในกรณีที่นักเรียนไม่มีประสบการณ์ในเรื่องที่จะสอนหรือ
มนี อ้ ยผสู้ อนอาจจะยกกรณตี ัวอยา่ งหรือสถานการณ์ก็ได้

2. ทฤษฎีการเรียนรู้ของบรูเนอร์ (Bruner) บรูเนอร์ เชื่อว่ามนุษย์เลือกจะรับรู้สิ่งที่ตนเองสนใจและ
การเรียนรู้เกิดจากกระบวนการค้นพบด้วยตนเอง (discovery learning) (กลมฉัตร กล่อมอิ่ม อ้างอิงจาก
วารณุ ี หนองหา้ ง, 2553, น.35) กรอบแนวคิดของทฤษฎีการเรียนรู้ของบรูเนอร์ (Bruner) ไดแ้ ก่ 1) ผู้สอนควร
จัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนค้นพบการเรียนรู้ด้วยตนเองซึ่งเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ดี มีความหมายต่อผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้ได้ดี 2) ก่อนสอนผู้สอนต้องมีการวิเคราะห์และจัดโครงสร้างเนื้อหาสาระให้เหมาะสมกับการ
เรียนรู้ของผู้เรียน 3) ผู้สอนควรจัดความคิดรวบยอดเนื้อหาสาระ วิธีการสอนและกระบวนการเรียนรู้ให้
เหมาะสมกับขน้ั พัฒนาการสติปญั ญาของผ้เู รยี น ซึง่ จะชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเรยี นรูไ้ ดด้ ี 4) ผู้สอนควรส่งเสริมให้
ผู้เรียนได้คิดอย่างสระให้มาก เพื่อช่วยส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียน 5) ผู้สอนสร้างแรงจูงใจภายใน
ใหแ้ ก่ผเู้ รยี น 6) ผสู้ อนควรสอนความคิดรวบยอดใหแ้ ก่ผูเ้ รียน

3. ทฤษฎกี ารเรียนร้อู ยา่ งมีความหมาย (A Theory of Meaningful Verbal Learning)
มารุต พัฒผล. (ม.ป.ป.) กล่าวว่า ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย พัฒนาขึ้นโดย David Paul
Ausubel (ค.ศ.19 18 - 2008) นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน เขามีความเชื่อว่า การเรียนรู้ใดๆจะมีความหมาย
ต่อผู้เรียนหากสามารถเชือ่ มโยงกับสิ่งที่เคยเรียนรู้มาก่อน เนื้อหาสาระใดๆ สามารถจัดการเรียนรูใ้ ห้กับเด็กได้
แต่ต้องใช้วิธีการให้เหมาะสมกับศักยภาพของเด็กแต่ละคน เด็กแต่ละคนสามารถเรียนรู้ได้เมื่อมีความพร้อม
แนวทางการประยุกต์ใช้ทฤษฎีการเรียนรูอ้ ย่างมีความหมายของ Ausubel ในการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้าง
การร้คู ดิ

1) การจัดการเรยี นรู้ควรมีความสอดคล้องกบั ระดบั ความพร้อมของผเู้ รยี นแตล่ ะคน ใช้วธิ ีการจัดการ
เรียนรู้ให้เหมาะสมกบั ระดับศักยภาพของผูเ้ รียน

2) การจดั การเรียนรู้ควรเชื่อมโยงเนื้อหาสาระกับความรู้และประสบการณ์เดิม ตลอดจนวิถีชีวิตของ
ผเู้ รียน

91

3) การจัดการเรียนรู้ควรกระตุ้นให้ผู้เรียนตระหนักว่าสิ่งที่เรียนสามารถนำไปใช้ประโยชน์ใน
ชีวติ ประจำวนั ได้จริง

4) การจัดการเรียนร้คู วรบรู ณาการเนือ้ หาสาระเข้ากับวถิ ีชวี ิตของผูเ้ รยี น
5) การจัดการเรียนรู้ควรกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดทบทวนถึงประสบการณ์เดิมที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่เรียน
หรอื เชื่อมโยงสง่ิ ที่เรยี นกบั ความร้หู รือประสบการณเ์ ดมิ ทคี่ ลา้ ยคลงึ กนั
6) การจัดการเรียนรู้ควรกระตุ้นให้ผู้เรียนเชื่อมโยงส่ิงที่เรียนกับหลักการหรือกฎเกณฑ์ที่เคยเรียนรู้
มาแล้ว รวมท้ังการวเิ คราะห์ความสมั พันธ์ของสงิ่ ที่เรยี นรใู้ หม่กบั สิ่งที่เคยเรยี นมาแลว้
7) การจัดการเรียนรู้กระตุ้นให้ผู้เรียนวิเคราะห์จัดกลุ่มสิ่งที่เรียนรู้ใหม่ตามหลักเกณฑ์หรือความคิด
รวบยอดทกี่ ว้างขวางกวา่
8) การจดั การเรยี นรู้ควรกระต้นุ ให้ผู้เรียนสร้างความหมายของการเรียนร้โู ดยการคดิ ทห่ี ลากหลาย
9) การจดั การเรียนรู้ควรใหส้ งั เขปแนวหน้าแกผ่ ู้เรยี นกอ่ นท่จี ะเร่ิมตน้ การเรยี นการสอน
4. ทฤษฎีคอนสตรัคติวสิ ต์ Constructivist หมายถงึ กระบวนการหรือการเรยี นรู้ซึ่งเกิดข้ึนได้ด้วยตัว
ผู้เรียนเองโดยการสร้างองค์ความรูท้ ี่ผู้เรียนได้นำจากสิ่งที่เปน็ ประสบการณ์หรอื สิง่ ที่ก่อเกิดขึ้นใหม่ทางปัญญา
ซึ่งส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการดูดซึมทางปัญญาและการเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ คอนสต รัคติวิสต์
Constructivist เป็นแนวคิดในการจัดการศึกษาแนวหนึ่ง ที่เน้นตรงการสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนต้องสร้าง
ความรใู้ หม่นัน้ ดว้ ยตนเอง ดว้ ยการเชื่อมประสบการณ์ทม่ี ีอย่แู ลว้ กบั ความรูใ้ หม่ ซึง่ อาศัยบรรยากาศที่เหมาะสม
การทำงานร่วมกัน (ทิฏ์ิภทั รา สดุ แกว้ , 2554)

5. ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน Constructionism คือ การเรียนรู้
ที่ดีเกิดจากการสร้างพลังความรู้ในตนเองและด้วยตนเองของผู้เรียน หากผู้เรียนมีโอกาสได้สร้างความคิดและ
นำความคิดของตนเองไปสร้างสรรค์ชิ้นงานโดยอาศัยสื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม จะทำให้เห็นความคิดน้ัน
เป็นรูปธรรมที่ชัดเจน และเมื่อผู้เรียนสร้างสิ่งใดสิ่งหนึ่งขึ้นมาในโลก ก็หมายถึงการสร้างความรู้ขึ้นในตนเอง
นั่นเอง ความรู้ที่ผู้เรียนสร้างขึ้นในตนเองนี้ จะมีความหมายต่อผู้เรียน จะอยู่คงทน ผู้เรียนจะไม่ลืมง่ายและ
จะสามารถถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจความคิดของตนเองได้ดี นอกจากนั้นความรู้ที่สร้างขึ้นเองนี้ ยังจะเป็นฐาน
ให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ใหม่ต่อไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด (ไชยเดช แกวสงา, 2556 อ้างอิงจาก ชัยวัฒน์
สุทธิรัตน์, 2553)

92

สมติฐาน
1. เมื่อกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง แรงโน้มถ่วงของโลก มวล และน้ำหนักของวัตถุ โดย
ใช้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา ( STEM Education) กับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนบ้านเหล่า จะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
2. นักเรียนมีความพึงพอใจของนกั เรยี นของนกั เรียนทีม่ ีต่อกจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้ เรอื่ งแรงโนม้ ถ่วง
ของโลก มวล และน้ำหนักของวัตถุ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM
Education) ของนกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรยี นบ้านเหล่า ในระดับพึงพอใจมาก
กรอบแนวคิดของโครงการวิจัย

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม
ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา
(STEM Education) ความพึ่งพอใจ

8. การทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยท่ีเกยี่ วข้อง
สะเต็มศึกษา คือ แนวทางการจัดการศึกษาที่บูรณาการความรู้ใน 4 สหวิทยาการ ได้แก่

วิทยาศาสตร์ วิศวกรรม เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ โดยเน้นการนำความรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริง
รวมทั้งการพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหม่ ที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต และการทำงานช่วย
นักเรียนสร้างความเชื่อมโยงระหว่าง 4 สหวิทยาการ กับชีวิตจริงและการทำงาน การจัดการเรียนรู้แบบ
สะเต็มศึกษาเป็นการจัดการเรียนรู้ที่ไม่เน้นเพียงการท่องจำทฤษฎีหรือกฎทางวิทยาศาสตร์ และ
คณิตศาสตร์ แต่เป็นการสร้างความเข้าใจทฤษฎีหรือกฎเหล่านั้นผ่านการปฏิบัติให้เห็นจริงควบคู่กับการ
พัฒนาทักษะการคิด ต้ังคำถาม แก้ปัญหาและการหาข้อมูลและวิเคราะห์ข้อค้นพบใหม่ ๆ พร้อมท้ังสามารถ
นำข้อค้นพบนั้นไปใช้หรือบูรณาการกับชีวิตประจำวันได้ (ศูนย์สะเต็มศึกษาประเทศไทย, 2557)

93

การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็ม มีลักษณะ 5 ประการได้แก่ (1) เป็นการสอนที่เน้นการ
บูรณาการ (2) ช่วยนักเรียนสร้างความเชื่อมโยงระหว่างเนื้อหาวิชาทั้ง 4 กับชีวิตประจำวันและการทำ
อาชีพ (3) เน้นการพัฒนาทักษะในศตวรรษท่ี 21 (4) ท้าทายความคิดของนักเรียน และ (5) เปิดโอกาสให้
นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น และความเข้าใจท่ีสอดคล้องกับเน้ือหาท้ัง 4 วิชา จุดประสงค์ของการจัดการ
เรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา คือ ส่งเสริมให้ผู้เรียนรักและเห็นคุณค่าของการเรียนวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์ และเห็นว่าวิชาเหล่านั้นเป็นเร่ืองใกล้ตัวที่สามารถนำมาใช้ได้
ทุกวัน (ศูนย์สะเต็มศึกษาประเทศไทย, 2557)

วิษณุ ทุมมี (2560). ได้ทำการวิจัยบุคลากร(R2R) เร่ือง ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
(STEM Education) ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และความสามารถในการแก้ปัญหา
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม พบว่า คะแนนเฉลี่ย
ความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด
สะเต็มศึกษา (STEM Education) ก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 20.27ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.55
หลังเรียนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 27.26 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ0.75 และเมื่อทดสอบความแตกต่างของ
คะแนนเฉลี่ยความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย
ราชภัฏมหาสารคามที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา (STEM Education) มีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนทางวิทยาศาสตร์หลังการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ที่ระดับ .01

ฟัตมาอัสไวนี ตาเย๊ะ , ณัฐินี โมพันธุ์ และ มัฮดี แวดราแม (2560). ได้ทำการวิจัย เรื่องผลของการ
จัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเตีมศึกษาท่ีมีต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ความคิดสร้างสรรค์ และ
ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 พบว่า 1) นักเรียนท่ีได้รับการจัดการ
เรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์หลังการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อน
การจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ก่อน
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเตีมศึกษาอยู่ในระดับต่ำกว่าเกณฑ์ข้ันต่ำ หลังการจัดการเรียนรู้เฉลี่ยอยู่ใน
ระดับค่อนข้างดีและมีคะแนนพัฒนาการทางการเรียนวิทยาศาสตร์เฉลี่ยร้อยละ 57.12 ซึ่งมีพัฒนาการ
ระดับสูง 2) นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์หลังการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้อย่าง
มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีระดับความคิดสร้างสรรค์ก่อนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
อยู่ในระดับต่ำกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำ หลังการจัดการเรียนรู้อยู่ในระดับดีและมีคะแนนพัฒนาการความคิด
สร้างสรรค์เฉลี่ยร้อยละ 56.09 ซึ่งมีพัฒนาการระดับสูง 3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้
ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด

94

เพรชรัตน์ เพม่ิ พลูและคณะ. (2562). ไดท้ ำวทิ ยานิพนธ์ การวจิ ัยครงั้ น้ีมีวัตถุประสงค์ 1) เพ่อื ศกึ ษาผล
การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ลมฟ้า อากาศ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้
การจัดการเรยี นตามแนวสะเต็มศกึ ษา ในด้านผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และ
เจตคติต่อการจัดการเรียนรู้ 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง
ลม ฟ้า อากาศ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5 โดยใช้การจัดการเรียนตามแนวสะเต็มศึกษา ในด้าน
ผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน การวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/2
โรงเรียนบ้านปากห้วยวงั นอง รวมทัง้ สน้ิ 21 คน ซึ่งไดม้ าโดยการส่มุ ตวั อย่างแบบกลุ่ม เครือ่ งมือท่ีใช้ในการวิจัย
ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้การศึกษาผลการเรียนรู้กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ เรื่อง ลม ฟ้า อากาศ
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา (STEM) จำนวน 4 แผน 2
แบบทดสอบวัดการเรียนรู้กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ เร่อื ง ลม ฟา้ อากาศ ของนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 โดย
ใช้การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา (STEM) ใช้วัดก่อนและหลังการทดลอง จำนวน 20 ข้อ 3) แบบวัดเจต
คติต่อการเรียนรู้ โดยใช้การจัดการเรียนการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา STEM ใช้วัดก่อนและหลังการทดลอง
จำนวน 20 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนีความ
สอดคล้อง และการทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติการหาค่า t แบบ Dependent Samples t-test ผลการวิจัย
พบวา่ 1) นกั เรียนมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์จากการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM)ก่อน
เรียนเท่ากับ 7.79 คะแนน คิดเป็น ร้อยละ 38.95 และคะแนนการทดสอบหลังเรียนเฉลี่ยเท่ากับ 17.32
คะแนน คิดเป็นร้อยละ 86.58 และเมอ่ื ทดสอบความแตกตา่ งคา่ เฉลี่ย พบว่าคะแนนเฉลย่ี หลังเรยี นสูงกว่าก่อน
เรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM)
โดยภาพรวมมีเจตคติต่อกลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ เร่ือง ลม ฟา้ อากาศ ของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปี
ท่ี 5 โดยใชก้ ารจัดการเรยี นตามแนวสะเตม็ ศกึ ษา (STEM) อยู่ในระดับมากทีส่ ดุ (4.69)

ณฐั ธดิ า นาคเสน (2563). ไดท้ ำวทิ ยานพิ นธ์ เรอ่ื ง การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง พลังงานในชีวิตประจำวัน โดยการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา
งานวิจัยนี้ มจี ดุ ประสงคเ์ พอ่ื 1) พฒั นาแผนการจดั การเรยี นรู้แบบสะเตม็ ศึกษา เรื่อง พลังงานในชีวิตประจำวัน
ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ให้มีประสิทธิภาพตาม เกณฑ์ 75/75 2) เปรียบเทียบกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตรก์ ่อนเรยี นและหลังเรยี น ท่มี กี ารจัดการเรียนรแู้ บบสะเตม็ ศึกษา 3) เปรียบเทียบผลสมั ฤทธท์ิ างการ
เรียนกอ่ นเรยี น และหลงั เรยี นทีม่ ีการจัดการเรียนร้แู บบสะเต็มศึกษา 4) ศกึ ษาความพึงพอใจทม่ี ีต่อการ จดั การ
เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนชุมชนเทศบาล 3 (พินิจพิทยานุสรณ์) สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต 1 มี
นักเรียนจำนวน 35 คน ซึ่งได้มาจาก การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1)
แผนการจัดการเรียนรู้ แบบสะเต็มศึกษา 2) แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3)


Click to View FlipBook Version