The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง แรงโน้มถ่วงของโลก มวลและน้ำหนักของวัตถุ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM Education)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anu Kimoji, 2021-11-06 05:54:41

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง แรงโน้มถ่วงของโลก มวลและน้ำหนักของวัตถุ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM Education)

รายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง แรงโน้มถ่วงของโลก มวลและน้ำหนักของวัตถุ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM Education)

95

แบบทดสอบ วัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน 4) แบบประเมินความพึงพอใจ สถิติทีใ่ ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล ได้แก่
ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test for Dependent Samples) แบบไม่
เป็นอสิ ระต่อกนั ผลการวจิ ยั พบว่า 1) แผนการจัดการเรียนรแู้ บบสะเต็มศึกษา เรอ่ื ง พลงั งานในชีวิตประจำวัน
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 มีประสิทธิภาพ 87.40/82.71 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด ไว้คือ 75/75
2) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็ม
ศึกษา หลังเรียนสูงกว่ากอ่ นเรียน อย่างมีนัยสำคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดับ .01 3) ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของนกั เรียน
ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 3 โดยการจดั การเรียนรแู้ บบสะเต็มศึกษา หลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรียน อยา่ งมนี ัยสำคัญทาง
สถิตทิ ่ี ระดับ .01 4) ความพงึ พอใจของนกั เรยี นท่มี ตี ่อการจดั การเรียนรแู้ บบสะเตม็ ศกึ ษาอยู่ ในระดับมากทสี่ ุด

9. เอกสารอ้างองิ ของโครงการวจิ ัย
กมลฉัตร กล่อมอิ่ม. (2559). การจัดการเรียนรู้แบบบรูณาการสะเต็มศึกษา สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู.

วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร, 18(4), 334-348.
จิรายุทธิ์ อ่อนศรี. (2560). เทคโนโลยีการศึกษากับครูไทยในศตวรรษที่ 21. (บทความให้ความรู้ด้าน

การศึกษา) สืบค้นเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2564 จาก http://www.nwm.ac.th/nwm/wp-
content/uploads/2017/10/บทความเทคโนโลยี-ศตวรรษ-21.pdf.
ไชยเดช แก วสง า. (2556). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ : แนวคิด
Constructionism. วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 7(1),
255.
ณัฐธดิ า นาคเสน, ถาดทอง ปานศภุ วชั ร และนิตธิ าร ชทู รัพย์. (2563). การพฒั นาทักษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตรข์ องนักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 เรอื่ ง พลังงานในชีวติ ประจำวนั โดยการจดั การ
เรียนร้แู บบสะเต็มศึกษา. วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น, 43(2), 31-42
ทิฏิ์ภัทรา สุดแก้ว. (2554). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบสร้างองค์ความรู้ตามทฤษฎี
คอนสตรัคติวิสต์ผ่านเครือข่ายทาสังคมออนไลน์ เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่น (ปริญญานิพนธ์ กศ.ม.
(เทคโนโลยกี ารศกึ ษา)., บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ).
ปิยวรรณ ทศกาญจน์. (2561). การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการสะเต็มศึกษา เรื่องบ้านพยากรณ์ เพื่อ
ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้และการสร้างสรรค์ชิ้นงาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
(วิทยานพิ นธป์ รญิ ญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกจิ บณั ฑิตย์).
เพชรรตั น์ พลู เพิม่ ,เจรญิ วิชญ์ สมพงษธ์ รรม, ววิ ัฒน์ เพชรศรี และชลลิ ลา บุษบงค.์ (2563). การศกึ ษาผลการ
เรยี นรูก้ ลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ เรื่อง ลม ฟา้ อากาศ ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 5 โดยใช้
การจัดการเรยี นรแู้ บบสะเต็มศึกษา (STEM). (ออนไลน์). ในการประชุมวิชาการและนำเสนอผลง

96

สนวจิ ยั ระดบั ชาติ ราชธานวี ชิ าการคร้ังที่ 5. สืบค้นเมื่อ 5 กันยายน 2564 จาก
http://rtunc2020.rtu.ac.th/Production/proceeding/pdf/Oral%20Presentation/Oral4ED
/5ED_O26.pdf
ฟัตมาอัสไวนี ตาเย๊ะ , ณัฐินี โมพันธุ์ และ มัฮดี แวดราแม. (2560). ผลของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด
สะตีมศึกษาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ความคิดสร้างสรรค์ และความพึงพอใจ
ต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราช
นครนิ ทร์ สาขามนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร,์ 4(2), 1-13.
มารตุ พฒั ผล. (ม.ป.ป.). ทฤษฎกี ารเรยี นร้กู ล่มุ การเรียนรู้คดิ . (ม.ป.ท.)
วิษณุ ทุมมี (2560). ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวคดิ สะเต็มศึกษา (STEM Education) ที่มีต่อผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษา
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภฏั มหาสารคาม. (รายงานผลการวิจัย). (ม.ป.ท.)
ศูนย์ดำเนินงาน PISA แห่งชาติ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2564). ผลการประเมนิ
PISA 2018 การอา่ น คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์(ออนไลน์). สืบค้นเม่อื 31 กรกฎาคม 2564
จาก https://pisathailand.ipst.ac.th/pisa2018-fullreport/.
ศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการศกึ ษานครราชสีมา. (2559). ค่ายจัดเต็มสะเต็มศึกษา STEM Education. เอกสาร
วชิ าการลำดับที่ 3/59.
ศูนย์สะเต็มศึกษาประเทศไทย. (2557). รู้จักสะเต็ม. [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2564 จาก
http://www.stemedthailand.org/?page_id=23
สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.). (2557). สะเตม็ ศึกษา Science Technology
Engineering and Mathematics Education (STEM Education). [ม.ป.ท.]
สำนักวิทยบริการแลเทคโนโลยีสารสนเทศ ARUT NPRU (ม.ป.ป.) ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
(ออนไลน)์ . หนว่ ยสง่ เสริมการเรียนรู้ สำนกั วทิ ยบริการฯ. สืบค้นเมอื่ วนั ท่ี 22กรกฏกาคม 2564 จาก
http://dept.npru.ac.th/edu2/data/files/20191107140459_20160306103902_PR%20ari
t%20Knowledge%2021.pdf
สุพรรณี ชาญประเสริฐ. (2557). สะเต็มศึกษากับการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. นิตยสาร สสวท.
42(186), 3-5.

97

10. วธิ กี ารวิจัย
ระเบียบวิธีวจิ ยั
ดำเนินการวจิ ยั โดยใช้ ระเบียบวธิ วี ิจัยกงึ่ ทดลอง (Quasi Experiment Research) วิจัยกลุ่มเดี่ยวทดสอบ

กอ่ นและหลงั การทดลอง (one group pretest-posttest design)
ประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง
ประชากรที่ใช้ในงานวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนบ้านเหล่า ที่กำลังศึกษาอยู่ใน

ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 จำนวน 17 คน
กลุม่ ตวั อย่างท่ีใช้ในการวิจัยครั้งน้ี ได้แก่ นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรยี นบ้านเหล่า ที่กำลังศึกษา

อยใู่ นภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ไดม้ าโดยการเลอื กแบบเฉพาะเจาะจง
การสรา้ งเครื่องมอื และการหาคุณภาพของเครอื่ งมือ
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครัง้ นี้ แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ เครื่องมือที่ใชใ้ นการจัดการเรียนรู้และเคร่ืองมอื ท่ี

ใช้ในการในการเก็บรวบรวมข้อมลู
1. เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ คือ แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา เรื่องแรงโน้มถ่วง

ของโลก มวล และนำ้ หนักของวัตถุ ดำเนินการสรา้ งและหาคณุ ภาพดงั น้ี
1.1 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

หลักสูตรสถานศึกษา โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา โครงสร้างรายวิชา และคำอธิบายรายวิชาวิทยาศาสตร์
เรอื่ ง แรงและพลังงาน

1.2 สร้างแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา จำนวน 1 แผน ประกอบด้วย แผนที่ 1 เรื่อง
แรงโน้มถว่ งของโลก มวล และนำ้ หนกั ของวัตถุ จำนวน 2 ชั่วโมง

1.3 นำแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เสนอ
ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 คน เพื่อพิจารณาตรวจสอบความถูกต้อง ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา แล้วนำผลการ
ประเมนิ มาวิเคราะหค์ ่าดัชนคี วามสอดคลอ้ ง

1.4 ปรับปรุงแก้ไขแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา ตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ
แล้วจดั พิมพ์เปน็ ฉบับสมบูรณ์ เพ่ือนำไปใชเ้ ปน็ เครอื่ งมอื ในการทดลองกบั กลมุ่ ตัวอย่าง

1.5 นำแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา เรื่องแรงโน้มถ่วงของโลก มวลและน้ำหนัก
ของวัตถุ ที่มีคุณภาพเปน็ ไปตามเกณฑ์ท่ีกำหนดไปทดลองใชก้ บั กลุ่มตวั อยา่ ง

2. เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล คอื
2.1 แบบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นวิทยาศาสตร์ ดำเนนิ การสรา้ งและหาคุณภาพดังน้ี

98

2.1.1 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) หลักสูตรสถานศึกษา โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา โครงสร้างรายวิชา และคำอธิบายรายวิชา
วทิ ยาศาสตร์ เรอื่ ง แรงและพลงั งาน และการหาคณุ ภาพของแบบทดสอบ

2.1.2 สรา้ งแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวิทยาศาสตร์ แบบปรนยั 4 ตัวเลือก จำนวน
30 ข้อ

2.1.3 เสนอผู้เช่ียวชาญ จำนวน 3 คน เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหา แล้วนำผลการ
ประเมินมาวิเคราะห์ค่าดัชนคี วามสอดคล้อง

2.1.4 ปรับปรุงแก้ไขแบบวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นวิทยาศาสตร์ ตามคำแนะนำของผู้เช่ียวชาญ
2.1.5 นำแบบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนวิทยาศาสตร์ทเ่ี ปน็ ไปตามเกณฑท์ ี่กำหนด ไปใช้กับกลุ่ม
ตัวอย่าง โดยการทดสอบนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์
ชดุ เดียวกัน
2.2 แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา เรื่องแรงโน้มถ่วง
ของโลก มวลและนำ้ หนักของวัตถุ มีข้ันตอนการสร้างและหาคุณภาพ
2.2.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวกับการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการ
จัดการเรยี นรู้
2.2.2 สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา เรื่อง แรง
โนม้ ถ่วงของโลก มวล และนำ้ หนกั ของวตั ถุ
2.2.3 นำแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา เรื่อง
แรงโน้มถ่วงของโลก มวล และน้ำหนักของวัตถุ เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน เพื่อตรวจสอบความ
เทีย่ งตรงของเนื้อหา แล้วนำผลการประเมนิ มาวเิ คราะหค์ า่ ดัชนคี วามสอดคลอ้ ง
2.3.4 ปรับปรุงไขแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา
เรอื่ งแรงโนม้ ถว่ งของโลก มวล และน้ำหนักของวตั ถุ ตามคำแนะนำของผเู้ ชย่ี วชาญ
2.3.5 นำแบบสอบถามความพึงพอใจมาจัดพิมพ์ฉบับสมบูรณ์ และนำไปใชก้ บั กลมุ่ ตวั อย่าง
ขนั้ ตอนการเก็บรวบรวมขอ้ มลู
1. ทดสอบก่อนเรียน โดยใช้แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ กับนักเรียนชั้นประถมศึกษา
ปีท่ี 4 โรงเรียนบา้ นเหลา่ ทเ่ี ป็นกลุม่ ตวั อย่าง จำนวน 17 คน
2. จัดการเรียนการสอนโดยใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา จำนวน 1 แผน ให้กับนักเรียน
กลุ่มตวั อยา่ ง

99

3. ทดสอบหลังเรียน เมื่อสิ้นสุดการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา ทดสอบนักเรียนด้วยแบบวัด
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ชุดเดียวกับที่ใช้ทดสอบก่อนเรียน และสอบถามความพึงพอใจโดยใช้
แบบสอบถามความพึงพอใจตอ่ การจัดการเรียนร้ตู ามแนวสะเต็มศึกษา

4. นำผลคะแนนการทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรยี นของนักเรียนไปเปรียบเทยี บความแตกต่างโดยนำมา
วิเคราะห์ค่าทางสถติ เิ พ่อื ตรวจสอบสมมติฐาน

การวิเคราะห์ขอ้ มูล
1. วิเคราะหห์ าประสทิ ธภิ าพของเครือ่ งมือ โดยดชั นคี วามสอดคล้อง IOC
2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนว
สะเต็มศึกษา เรอื่ งแรงโนม้ ถว่ งของโลก มวลและนำ้ หนักของวัตถุ โดยการทดสอบคา่ ที
สถติ ทใี่ ช้ในการวิเคราะห์ข้อมลู
1. สถติ พิ น้ื ฐาน

สูตรคำนวณหาคา่ เฉล่ีย Χ̅

̅ = Σ

Ν

เม่อื ̅ แทน คา่ เฉลีย่
Σ แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด
Ν แทน จำนวนนกั เรยี น

สตู รคำนวณส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน

S.D = √Ν ∑ 2 − (∑ )2

Ν(Ν−1)

เมอ่ื S.D. แทน สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน

X แทน คะแนนสว่ นตวั ของนกั เรยี น

N แทน จำนวนนักเรียน

Σ แทน ผลรวม

2. สถิติทใี่ ชใ้ นการตรวจสอบคณุ ภาพเคร่อื งมือ
ค่าความเท่ยี งตรง โดยสูตรหาคา่ ความสอดคลอ้ ง IOC
IOC = ΣR

Ν

เมอ่ื IOC แทน ดชั นคี วามสอดคล้องมคี ่าอยู่ระหวา่ ง -1 ถึง +1
Σ แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเหน็ จากผ้เู ชย่ี วชาญ

Ν แทน ผลรวมของคะแนนความคดิ เห็นจากผเู้ ชย่ี วชาญ

100

3. สถิติทใ่ี ชใ้ นการตรวจสอบสมมติฐาน
เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ตาม

แนวสะเต็มศึกษา เรื่องแรงโน้มถ่วงของโลก มวล และน้ำหนักของวัตถุ โดยใช้การทดสอบค่าที (t-test for
Dependent sample)

t = Σ

√ΝΣ 2−(Σ )2

Ν−1

เมือ่ t แทน คา่ สถติ ิทดสอบที

D แทน ความแตกตา่ งระหว่างคคู่ ะแนนแต่ละคู่

N แทน จำนวนคู่

Df แทน ความเป็นอสิ ระมีค่าเท่ากบั N –1

เกณฑ์การแปลผล

กำหนดเกณฑ์การแปรผลค่าเฉลย่ี การตรวจให้คะแนนแบบสอบถามความพึงพอใจ กำหนดคะแนนเป็น

มาตรส่วนประมาณค่า ซึ่งกำหนดให้ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจแต่ละข้อคำถามในระดับใดระดับหน่ึง

เพยี งระดบั เดยี ว โดยเกณฑ์การแปลความหมายของ บญุ ชม ศรีสะอาด. (2545) ดังน้ี

ระดับคณุ ภาพ ช่วงคา่ เฉล่ยี

มีคณุ ภาพเหมาะสมมากที่สุด 4.51-5.00

มีคุณภาพเหมาะสมมาก 3.51-4.50

มีคุณภาพเหมาะสมปานกลาง 2.51-3.50

มีคณุ ภาพเหมาะสมนอ้ ย 1.51-2.50

มีคณุ ภาพเหมาะสมน้อยท่ีสดุ 1.00-1.50

101

11. ระยะเวลาทำการวิจัย ตั้งแต่เดือน...สิงหาคม 2564.. ถึง เดือน...ตุลาคม 2564........

12. แผนการดำเนินงานตลอดโครงการวิจัย (โปรดระบุให้สอดคล้องกับกระบวนการวิจัย)

ที่ ระยะเวลา กิจกรรม(ขน้ั ตอนการดำเนินงานวจิ ยั ) ผลผลติ /ผลลพั ธ์(output)

1 2 - 9 ส.ค. 64 วิเคราะหป์ ัญหา/ความต้องการพฒั นา โจทย/์ ชอื่ โครงการวจิ ยั

2 10 - 16 ส.ค. 64 ศึกษางานวิจยั และเอกสารทเ่ี กี่ยวข้อง ข้อมูลเก่ยี วกับงานวิจยั

3 17 – 23 ส.ค. 64 ศกึ ษาและสำรวจประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง

4 24 ส.ค. – 13 ก.ย. 64 สร้างเคร่ืองมือและหาคณุ ภาพของเครอ่ื งมือ เครื่องมือทีม่ คี ุณภาพ

5 14 – 20 ก.ย. 64 เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ข้อมูลดิบ

6 21 ก.ย. – 4 ต.ค. 64 วเิ คราะห์และแปลความหมายข้อมลู ข้อมูลสารสนเทศ

7 5 – 17 ต.ค. 64 อภิปราย และ สรุปผลงานวิจัย ผลสรปุ การวิจยั

8 18 – 22 ต.ค. 64 เขียนและรายงานผลการวิจัย รายงานการวิจัย (1เลม่ ) ที่ผา่ นการประเมิน

13. ประโยชน์ที่คาดว่าจะไดร้ บั
1. ได้แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามแนวสะเต็มศึกษาอย่างมีคุณภาพที่สามารถ

นำไปใชใ้ นการจัดการเรียนรู้ เรอื่ ง แรงโนม้ ถว่ งของโลก มวลและนำ้ หนักของวัตถุ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา เรื่อง แรงโน้มถ่วงของโลก มวล และน้ำหนักของวัตถุ

มากยงิ่ ขนึ้ ด้วยประสบการณท์ ีไ่ ด้รับจากการปฏบิ ัติ จากกจิ กรรมการเรียนรตู้ ามแนวสะเตม็ ศึกษา
3. นกั เรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นวิทยาศาสตรส์ งู ขึ้น

ลงลายมอื ชื่อ...................................................... พรอ้ มคณะผวู้ จิ ัย


แแ





8 สงิ หาคม 2564

102

ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน (ก่อน - หลงั )

ตารางแสดงผลคะแนนทดสอบ ก่อนเรียนและหลังเรียนของกลุ่มตัวอยา่ ง

คนที่ คะแนนกอ่ นเรียน (20 คะแนน) คะแนนหลงั เรยี น (20 คะแนน)

1 13 20

2 15 19

3 14 6

4 16 16

5 15 18

6 17 16

79 12

8 14 10

9 16 18

10 16 17

11 16 17

12 12 14

13 17 18

14 19 20

15 14 20

16 14 18

17 13 15

18 16 12

19 15 15

20 16 14

103

ความพงึ พอใจ

ตารางแสดงคะแนนความพึงพอใจ

รายการประเมนิ ระดับคะแนนความพึงพอใจ จำนวนผตู้ อบ
5 4321
1. การจดั กจิ กรรมการเรียนรสู้ นกุ และน่าสนใจ 11 7 1 1 0 20
8 9201 20
2. ความเหมาะสมของเวลากับการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 12 7 0 1 0 20
3. กจิ กรรมการเรียนรสู้ อดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 11 5 2 1 1 20
4. วสั ดุอปุ กรณ์ท่ีใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้มู คี วามเหมาะสม 13 6 1 0 0 20
5. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้สง่ เสรมิ ผู้เรยี นสามารถคดิ แกป้ ัญหาได้ 15 3 2 0 0 20
6. เปิดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นไดต้ รวจสอบตนเองและปรับปรงุ ผลงานให้ดขี น้ึ
7. การจัดกิจกรรมการเรียนรูม้ ุ่งสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รียนได้ฝกึ ทักษะการ 16 3 1 0 0 20
แกป้ ัญหา
8. ต้องการใหจ้ ดั กจิ กรรมการรู้ตามแนวสะเต็มศึกษาอีกในครง้ั ถดั ไป 10 8 2 0 0 20
9. ผู้สอนเปดิ โอกาสใหนักเรยี นซกั ถาม ตอบคําถามและแสดงความคดิ เห็น
ร่วมกันขณะสอน 14 6 0 0 0 20
10. การจัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ ำใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การบูรณาการความรู้
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีวิศวกรรมศาสตร์ และคณติ ศาสตร์ 14 4 2 0 0 20

104

แบบประเมินความเทยี่ งตรงเชิงเน้อื หาจากผเู้ ช่ยี วชาญ

105

106

107

108

109

แบบประเมินความเท่ยี งตรงเชิงเน้ือหา (Content Validity)

คำชแ้ี จง

1. แบบประเมินความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาที่สร้างขึ้นมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ประเมินความสอดคล้องของ
แผนการจดั การเรยี นรูต้ ามแนวสะเตม็ ศกึ ษ (STEM Education)

2. การวิเคราะห์ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาจะใช้วิธีการวิเคราะห์ค่าดรรชนคี วามสอดคล้อง (Index of
Item-Objective Congruence: IOC)

3. ผลการประเมนิ ของแต่ละข้อคำถาม (Item) ของผลการวเิ คราะห์แต่ละดา้ นจะมีคะแนน 3 ระดบั โดย
3.1 ขอ้ คำถามใดทท่ี า่ นเห็นว่าสอดคลอ้ งกับดา้ นทีต่ ้องการประเมิน มีระดบั คะแนน +1
3.2 ขอ้ คำถามใดท่ีท่านเห็นวา่ สอดคล้องกบั ดา้ นที่ต้องการประเมิน มรี ะดับคะแนน 0
3.3 ข้อคำถามใดทท่ี ่านเหน็ วา่ สอดคล้องกบั ด้านท่ตี ้องการประเมิน มีระดับคะแนน -1

4. ให้ท่านทำเครื่องหมาย ✓ลงในช่องแต่ละรายการประเมินของแต่ละด้านที่ทำการประเมินตาม
ความเหน็ ของทา่ น

5. ขณะท่ีทา่ นทำการประเมินหากพบรายการใดทเี่ ห็นว่าสมควรปรับปรุงแก้ไข ขอความอนเุ คราะห์
โปรดใหข้ ้อเสนอแนะหรือทำการแก้ไขจักกราบขอบพระคุณเป็นอย่างยิ่ง

ด้านท่ีทำการประเมิน รายการทท่ี ำการประเมิน ความสอดคลอ้ ง ข้อเสนอแนะ
-1 0 +1
องคป์ ระกอบของ องค์ประกอบของแผนการจดั การเรยี นรู้มีความสอดคลอ้ งกนั
แผนการจดั การเรยี นรู้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นร้สู อดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นรู้ ✓
สาระการเรยี นร้แู ละสาระสำคัญมคี วามชัดเจน ✓
กรอบแนวคิดมคี วามสอดคลอ้ งกับการจดั การเรยี นรูต้ ามแนว ✓
สะเตม็ ศึกษา ✓
ก ิ จ ก ร ร ม ก า ร จ ั ด ก า ร เ ร ี ย น รู้ เ ป ็ น ก ิ จ ก ร ร ม ท ี ่ เ น ้ น ผ ู ้ เ ร ี ย น
เปน็ สำคัญ ✓
วสั ดุอปุ กรณ์มีความสอดคล้องกบั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
สอื่ และแหล่งเรยี นร้เู หมาะสมกบั กิจกรรมการเรียนรู้ ✓
การวดั และประเมินผลสอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ✓


110

ด้านท่ีทำการประเมิน รายการทีท่ ำการประเมิน ความสอดคลอ้ ง ข้อเสนอแนะ
-1 0 +1
กจิ กรรมการเรยี นรู้ มีความชดั เจน
ตามแนวสะเตม็ ศึกษา เหมาะสมแก่การนำไปใช้ ✓
มีความสะดวกต่อการนำไปใช้ ✓
สื่อ/อปุ กรณ์ แหล่ง สามารถสง่ เสรมิ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ✓
เรยี นรู้ แตล่ ะขัน้ ของการจัดกจิ กรรมการเรยี นร้มู ีความสอดคลอ้ งกนั ✓
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้มีความสอดคล้องกับกิจกรรม ✓
การวัดผลและ การเรยี นรูต้ ามแนวสะเตม็ ศึกษา ✓
ประเมนิ ผล มคี วามเหมาะสมกบั กิจกรรมในแต่ละขั้นตอน
มีความหลากหลาย นา่ สนใจ ทนั สมยั จดั เตรียมงา่ ย ✓
มคี วามเหมาะสมกับความสามารถและวยั ของผเู้ รียน ✓
การวดั และประเมินผลเน้นการประเมนิ ตามสภาพจรงิ ✓
กำหนดวิธกี ารวดั และประเมนิ ผลได้เหมาะสมกบั พฤติกรรมที่ ✓
ตอ้ งการวัด ✓

ขอ้ เสนอแนะ (ถา้ มี)

.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ผ้เู ช่ยี วชาญ..............................................................
(..........................................................)

วนั ที่............เดือน...........................พ.ศ............

111

112

113

114

115

แบบประเมนิ ความเทย่ี งตรงเชิงเน้ือหา (Content Validity)

คำชีแ้ จง

1. แบบประเมินความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาที่สร้างขึ้นมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ประเมินความคล้องของ
แบบสอบถามความพงึ่ พอใจตอ่ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM Education)

2. การวิเคราะห์ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาจะใช้วิธีการวิเคราะห์ค่าดรรชนีความสอดคล้อง (Index of
Item-Objective Congruence: IOC)

3. ผลการประเมินความสอดคล้องของแต่ละข้อคำถาม (Item) ของผลการประเมินแต่ละข้อจะมีคะแนน
3 ระดบั โดย

3.1 ข้อคำถามใดท่ีทา่ นเห็นว่าสอดคล้องกับการประเมินความพ่ึงพอใจ มรี ะดับคะแนน +1
3.2 ข้อคำถามใดทท่ี า่ นเหน็ ว่าสอดคลอ้ งกบั การประเมินความพงึ่ พอใจ มรี ะดบั คะแนน 0
3.3 ข้อคำถามใดทท่ี ่านเหน็ วา่ สอดคลอ้ งกับการประเมินความพงึ่ พอใจ มรี ะดบั คะแนน -1
4. ให้ท่านทำเครื่องหมาย ✓ลงในช่องแต่ละรายการประเมินของแต่ละข้อที่ทำการประเมินตาม
ความเห็นของท่าน
5. ขณะทท่ี า่ นทำการประเมินหากพบรายการใดท่เี หน็ ว่าสมควรปรบั ปรุงแก้ไข ขอความอนุเคราะห์
โปรดใหข้ ้อสนอแนะหรอื ทำการแกไ้ ขจักกราบขอบพระคุณเปน็ อยา่ งย่ิง

รายการทีท่ ำการประเมิน ระดับคะแนน 1 ความสอดคล้อง ขอ้ เสนอแนะ
5432 -1 0 +1

1. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้สนกุ และน่าสนใจ ✓

2. ความเหมาะสมของเวลากับการจัดกิจกรรมการ ✓

เรียนรู้

3. กิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกบั จุดประสงคก์ าร ✓

เรียนรู้

4. วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มี ✓

ความเหมาะสม

5. การจัดกจิ กรรมการเรียนรสู้ ง่ เสรมิ ผเู้ รยี นสามารถ ✓

คดิ แกป้ ญั หาได้

6. ผู้สอนมีการวัดและประเมินผลผูเ้ รียนด้วยวธิ กี าร ✓

ทดลองจากชิ้นงาน

7. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ตรวจสอบตนเองและ ✓

ปรับปรงุ ผลงานให้ดขี ึน้

116

รายการทีท่ ำการประเมนิ ระดับคะแนน ความสอดคล้อง ข้อเสนอแนะ

5 4 3 2 1 -1 0 +1

8. มีอิสระในการการแสดงความคิดเห็นและรับฟัง ✓

ความคดิ เห็นของผู้อื่น

9. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้มงุ่ ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนได้ ✓

ฝึกทกั ษะการแก้ปัญหา

10. ต้องการให้จัดกิจกรรมการรู้ตามแนวสะเต็ม ✓

ศึกษาอีกในครั้งถัดไป

11. ผู้สอนแจงจุดประสงคการเรียนรูใหแกนักเรียน ✓

เพอ่ื ใหผู้เรยี นไดท้ ราบแนวทางในการเรยี นรู้

12. ผู้สอนเปิดโอกาสใหนักเรียนซักถาม ตอบคําถาม ✓

และแสดงความคิดเห็นร่วมกนั ขณะสอน

13. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทำให้ผู้เรียนเกิด ✓

การบูรณาการความรู้ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี

วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์

ข้อเสนอแนะ (ถ้าม)ี
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................

ลงช่ือผู้เช่ยี วชาญ..............................................................
(..........................................................)

วันท.่ี ...........เดอื น...........................พ.ศ............

117

แบบประเมนิ ความเที่ยงตรงเชงิ เนอ้ื หา (Content Validity)

คำชีแ้ จง

1. แบบประเมนิ ความเทีย่ งตรงเชิงเน้ือหาทสี่ ร้างข้ึนมีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือใช้ประเมินความเท่ยี งตรง
เชิงเนื้อหาของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน

2. การวิเคราะห์ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาจะใช้วิธีการวิเคราะห์ค่าดรรชนคี วามสอดคล้อง (Index of
Item-Objective Congruence: IOC)

3. ผลการประเมินของแต่ละข้อคำถาม (Item) ของผลการวเิ คราะห์แตล่ ะดา้ นจะมีคะแนน 3 ระดบั โดย
3.1 ข้อคำถามใดทท่ี า่ นเห็นว่าสอดคล้องกับระดับพฤติกรรมทตี่ ้องการวัดผล มีระดับคะแนน +1
3.2 ข้อคำถามใดทท่ี ่านไม่แน่ใจวา่ สอดคล้องกบั ระดับพฤติกรรมท่ีต้องการวดั ผล มีระดับคะแนน 0
3.3 ขอ้ คำถามใดท่ที ่านเหน็ ว่าไม่สอดคล้องกบั ระดบั พฤติกรรมที่ต้องการวดั ผล มรี ะดบั คะแนน -1

4. ให้ท่านทำเครื่องหมาย ✓ลงในช่องแต่ละรายการประเมินของแต่ละด้านที่ทำการวิเคราะห์ตาม
ความเห็นของทา่ น

5. ขณะทที่ า่ นทำการประเมินหากพบรายการใดท่เี หน็ ว่าสมควรปรับปรุงแก้ไข ขอความอนเุ คราะห์
โปรดใหข้ ้อสนอแนะหรอื ทำการแกไ้ ขจักกราบขอบพระคณุ เปน็ อย่างย่ิง

ตารางกำหนดคณุ ลักษณะของข้อสอบ

ตวั ชว้ี ดั ความจำ ความเขา้ ใจ ระดับพฤติกรรม สงั เคราะห์ ประเมินคา่ ลักษณะ รวม
นำไปใช้ วเิ คราะห์ ข้อสอบ 13
ว 2.2 ป.4/1 5 5 ปรนยั 4
ระบุผลของแรงโน้มถ่วง 1 3
ทีม่ ตี ่อวตั ถจุ ากหลกั ฐาน 3 ปรนยั 13
เชงิ ประจักษ์ 2 8 12 30
ว 2.2 ป.4/2 8 ปรนัย
ใช้เครอื่ งชัง่ สปริงในการ 8
วัดนำ้ หนักของวตั ถุ ปรนัย
ว 2.2 ป.4/3 1 13
บรรยายมวลของวตั ถุท่ีมี
ผลต่อการเปลี่ยนแปลง
การเคลอื่ นท่ขี องวตั ถุ
จากหลักฐานเชงิ
ประจักษ์

รวม

118

119

120

121

122

123

124

125

126

127

128

129

130

ตารางการประเมนิ ความสอดคลอ้ งของข้อสอบกับระดับพฤติรรมทตี่ อ้ งการวัดผล

ระดับ ขอ้ ท่ี รายการท่ีทำการประเมินระดับความเท่ยี งตรง ความสอดคล้อง ขอ้ เสนอแนะ
พฤติกรรม -1 0 +1

ความจำ 1. ถ้าต้องการทราบมวลของวตั ถุ เราควรทำวธิ ใี ด ✓
ก. ลองยกขึน้

ข. ใชเ้ ครื่องชั่ง

ค. วัดจากขนาด

ง. เปรยี บเทียบกับวัตถุท่ีทราบนำ้ หนกั

ความจำ 2. เคร่ืองชั่งสปรงิ สามารถบอกค่าใดของวตั ถุได้ ✓

ก. ขนาด มวล

ข. มวล นำ้ หนกั

ค. ขนาด วสั ดทุ ใ่ี ช้ทำ

ง. นำ้ หนกั วสั ดุทใ่ี ช้ทำ

ความจำ 3. สง่ิ ใดมีผลต่อการเคลื่อนทีข่ องวัตถุมากทส่ี ุด ✓

ก. มวล

ข. ขนาด

ค. ราคา

ง. วัสดทุ ีใ่ ชท้ ำ

ความจำ 4. ถ้าผู้เลน่ ทีมตรงขา้ มส่งบอลมาแลว้ นกั เรยี นใชเ้ ท้าสกัดบอลดงั ✓ ต้องเป็นความ
เขา้ ใจ
ภาพ ผลจะเปน็ อย่างไร

ความจำ ก. ลกู บอลเคลอื่ นท่เี รว็ ข้ึน ✓
ข. ลกู บอลเคลอ่ื นท่ชี ้าลง
ค. ลูกบอลเปล่ียนทศิ ทาง
ง. ลกู บอลหยดุ เคลอ่ื นที่
5. คา่ ของแรงทไ่ี ด้มหี น่วยเป็นอะไร
ก. กรัม
ข. กิโลกรัม
ค. แรง
ง. นวิ ตัน

131

ระดับ ข้อท่ี รายการทีท่ ำการประเมินระดับความเทย่ี งตรง ความสอดคล้อง ขอ้ เสนอแนะ
พฤตกิ รรม -1 0 +1
ความจำ
6. เครอื่ งมือในข้อใด ใชว้ ัดน้ำหนกั ของวตั ถุ ✓
ความจำ
ก. บกี เกอร์
ความจำ
ข. กระบอกตวง
ความเขา้ ใจ
ค. เครอ่ื งชั่งสปริง
ความเข้าใจ
ง. ถว้ ยยรู ีก้า
ความเข้าใจ
7. วัตถุชิ้นหนึ่งมีน้ำหนัก 15 นิวตัน เมื่ออยู่ในอวกาศ วัตถุช้ิน ✓ ตอ้ งเป็นความ
ความเขา้ ใจ
นน้ั จะมีนำ้ หนักเท่าไร เข้าใจ

ก. มากกวา่ 15 นิวตัน

ข. นอ้ ยกว่า 15 นิวตัน

ค. น้อยกว่านำ้ หนกั เดมิ 3 เท่า

ง. ไมม่ ีนำ้ หนกั

8. บรเิ วณใดมแี รงโนม้ ถว่ งนอ้ ยทส่ี ดุ ✓

ก. พ้นื โลก

ข. บนภูขา

ค. ในอวกาศ

ง. พ้นื ดวงจันทร์

9. ความสัมพนั ธ์ระหว่างมวลกับนำ้ หนกั มลี กั ษณะใด ✓

ก. มวลลด นำ้ หนักเพมิ่

ข. มวลเพ่มิ นำ้ หนกั เพิ่ม

ค. มวลไม่คงที่ น้ำหนักคงท่ี

ง. มวลและน้ำหนักไมม่ ีความสัมพันธก์ นั

10. ถา้ นักเรียนอยบู่ นดวงจนั ทร์ มวลของนักเรียนจะมลี ักษณะใด ✓

ก. คงที่

ข. เพิ่มขน้ึ

ค. ลดลง

ง. ไม่แนน่ อน

11. ขอ้ ใดเปน็ ประโยชน์ที่เกิดจากแรงดึงดดู ของโลก ✓ ต้องเปน็ การ

ก. ฝนตกลงสูพ่ นื้ นำไปใช้

ข. กระโดดไดส้ งู ขึ้น

ค. ยกสง่ิ ของหนกั ๆ ไม่ได้

ง. เดนิ ขึน้ ที่สูงแล้วไมเ่ หนื่อย

12. ถ้านักเรียนอยู่บนดวงจันทร์ น้ำหนักของนักเรียนเมื่อเทียบ ✓

กับอยูบ่ นโลก จะมลี ักษณะใด

ก. คงที่ ข. เพมิ่ ข้นึ

ค. ลดลง ง. ไมแ่ น่นอน

132

ระดับ ข้อที่ รายการที่ทำการประเมินระดบั ความเทีย่ งตรง ความสอดคลอ้ ง ขอ้ เสนอแนะ
พฤติกรรม -1 0 +1
ความเข้าใจ
ความเขา้ ใจ 13. วัตถุที่หยุดนิ่ง เมื่อมีแรงมากระทำต่อวัตถุนั้น จะเกิด ✓
ความเข้าใจ
การเปล่ยี นแปลงอยา่ งไร
ความเขา้ ใจ
นำไปใช้ ก.เปลีย่ นจากหยุดน่งิ เปน็ เคล่ือนที่

ข. เคลื่อนทีเ่ ร็วขนึ้

ค. เปล่ียนทศิ ทางการเคลอื่ นท่ี

ง. ไมเ่ กดิ การเปลย่ี นแปลง

14. ในการเล่นห่วงยาง ถ้าต้องการให้ห่วงยางเคลื่อนที่ไปได้เร็ว ✓

ตอ้ งทำอย่างไร

ก. โยนไปข้างหนา้

ข. โยนกลับหลงั

ค. โยนไปดา้ นข้าง

ง. ออกแรงโยนมากๆ

15. ใชข้ ้อความที่กำหนด ตอบคำถามข้อ 15 – 16 ✓ นำไปใช้

1. โยนหว่ งยางให้เพื่อน

2. ดงึ แขนเพือ่ นทก่ี ำลงั วงิ่

3. ใช้มอื รบั ห่วงยางทีเ่ พื่อนโยนมา

4. เตะลกู บอลทีอ่ ยู่นงิ่

5. ผลักประตูท่ปี ิดอยู่ให้เปิดออก

จากขอ้ ความท่ีกำหนด ขอ้ ใดทำใหว้ ตั ถทุ ี่อย่นู ่ิงเคล่ือนท่ี

ก. 1, 2, 4

ข. 1, 3, 5

ค. 2, 3, 5

ง. 1, 4, 5

16. จากข้อความที่กำหนด ข้อใดทำให้วัตถุที่กำลังเคลื่อนที่ ✓ นำไปใช้

เปลย่ี นเปน็ หยุดน่งิ

ก. 2, 4

ข. 3

ค. 4, 1

ง. 5, 3

17. ใครวัดมวลได้ถกู ตอ้ ง ✓

ก. แยมใช้ตามองวตั ถุ

ข. กายลองยกวตั ถุขนึ้

ค. ตนู ใชส้ ายวดั พันรอบวตั ถุ

ง. ป๋องน้ำวัตถุไปช่งั ด้วยเครือ่ งชั่งสปรงิ

133

ระดับ ขอ้ ที่ รายการทที่ ำการประเมนิ ระดบั ความเท่ียงตรง ความสอดคล้อง ข้อเสนอแนะ
พฤตกิ รรม -1 0 +1
วเิ คราะห์ 18. สปริงของเครอ่ื งชั่งสปริงแบบแขวนแตล่ ะอันเหมือนกนั และ
ช่ังวตั ถใุ นสถานท่ีเดยี วกันจากรูป วัตถใุ ดมีนำ้ หนกั มากทีส่ ุด ✓

วิเคราะห์ ก. A ข. B ✓
วิเคราะห์ ค. C ง. D ✓
วิเคราะห์ 19. จากข้อมูลในข้อ 18. สปริงของเครื่องชั่งสปริงแบบแขวนยดื ✓
วิเคราะห์ ออกไม่เท่ากนั เพราะอะไร ✓
ก. วัตถุมมี วลแตกต่างกนั
ข. วตั ถุมีขนาดแตกตา่ งกนั
ค. วัตถุมีรปู รา่ งแตกต่างกนั
ง. แรงโนม้ ถ่วงของโลกมที ิศทางแตกต่างกัน
20. ความสมั พันธใ์ ดถูกตอ้ ง
ก. ราคาสงู เคลอื่ นทีง่ า่ ย
ข. มวลมาก เคลอ่ื นท่ียาก
ค. ขนาดใหญ่ เคลือ่ นท่ียาก
ง. วสั ดุธรรมชาติ เคล่ือนท่งี ่าย
21. “วัตถุชิ้นหนึ่งต้องใช้แรงดึง 10 นิวตัน วัตถุจึงเริ่มเคลื่อนที”่
ข้อสรุปใดถูกตอ้ ง
ก. วัตถมุ มี วล 10 นวิ ตัน
ข. วัตถตุ อ้ งใช้แรงคนในการดงึ 10 คน
ค. วัตถุมแี รงตา้ นการเคลื่อนที่ 10 นวิ ตัน
ง. วัตถไุ มม่ ีแรงตา้ นการเคลอื่ นทีเ่ มือ่ ออกแรงดงึ 10 นิวตนั
22. “วัตถุเริ่มเคลื่อนที่เมื่อดึงด้วยแรง 15 นิวตัน” ข้อสรุปใด
ถูกต้อง
ก. วัตถุมีมวล 5 นวิ ตนั
ข. วตั ถตุ ้องใชแ้ รงคนในการดงึ 5 คน
ค. วัตถมุ ีแรงตา้ นการเคลอ่ื นท่ี 5 นิวตนั
ง. วัตถไุ ม่มแี รงต้านการเคลื่อนทเ่ี ม่อื ออกแรงดึง 5 นิวตัน

134

ระดบั ข้อที่ รายการท่ีทำการประเมินระดบั ความเท่ยี งตรง ความสอดคล้อง ข้อเสนอแนะ
พฤติกรรม -1 0 +1
วเิ คราะห์ 23. ดูภาพ แลว้ ตอบคำถามข้อ 23 – 26
จากภาพแรงในภาพใดมผี ลตอ่ วัตถตุ า่ งจากข้ออืน่ ✓

ก. ภาพ 1

ข. ภาพ 2

ค. ภาพ 3

ง. แรงแต่ละภาพมีผลตอ่ วตั ถุแตกต่างกนั ท้ังหมด

วเิ คราะห์ 24. จากคำตอบในข้อ 23. แรงนั้นมีผลต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุ ✓

วเิ คราะห์ อย่างไร ✓

วเิ คราะห์ ก. ทำให้วัตถเุ คลื่อนท่ี ✓
วเิ คราะห์ ✓
ข. ทำให้วตั ถุหยุดเคลอื่ นที่

ค. ทำใหว้ ัตถเุ คลอ่ื นท่ีเร็วข้นึ

ง. ทำใหว้ ัตถเุ คล่อื นท่ีกลับไปกลับมา

25. จากภาพที่ 1 ถ้าเพิ่มเด็กเป็น 4 คน จะมีผลต่อการเคลื่อนที่

ของวตั ถุอยา่ งไร

ก. รถแล่นเรว็ ขึน้

ข. รถแลน่ ชา้ ลง

ค. รถแล่นถอยหลงั

ง. ไม่เกิดการเปลี่ยนแลง

26. จากภาพ แรงในภาพใดมผี ลทำใหว้ ัตถเุ คล่อื นท่ี

ก. ภาพที่ 1, 2 ข. ภาพที่ 2, 3

ค. ภาพท่ี 1, 3 ง. ภาพท่ี 1, 2, 3

27. ถ้าต้องการวัดขนาดของแรงของเด็กเปรียบเทียบกัน ควรใช้

วธิ ีใดเหมาะสมทีส่ ดุ

ก. ใช้เด็กยืนบนเครื่องชั่งน้ำหนัก แล้วอ่านค่าที่ได้

เปรียบเทียบกนั

ข. ใช้เดก็ หิ้วถุงทรายเพื่อเปรียบเทียบวา่ ใครหว้ิ ไดม้ ากกวา่ กนั

ค. ให้เด็กออกแรงดึงขอเกี่ยวของเครื่องชั่งสปริงและ

เปรียบเทยี บค่าทส่ี ปริงยดื ออก

ง. ทำวธิ ใี ดก็ได้ใน 3 วิธี

135

ระดบั ขอ้ ที่ รายการทีท่ ำการประเมินระดบั ความเท่ยี งตรง ความสอดคลอ้ ง ขอ้ เสนอแนะ
พฤตกิ รรม -1 0 +1
วเิ คราะห์
วิเคราะห์ 28. น้ำหนกั ของวัตถเุ กดิ จากอะไร ✓ ความจำ

วเิ คราะห์ ก. แรงทีโ่ ลกดึงดดู วัตถุ ข. ปริมาตรของวตั ถุ

ค. มวลของวตั ถุ ง. รูปทรงของวตั ถุ

29. ถ้าดวงจันทร์มีแรงดึงดูดน้อยกว่าโลกเมื่อมนุษย์อวกาศชั่ง ✓

น้ำหนักบนดวงจันทร์ และชั่งนำ้ หนักบนโลกเปรียบเทียบกัน

ขอ้ ใดถกู ต้อง

ก. น้ำหนกั ของมนษุ ยอ์ วกาศทชี่ ง่ั บนดวงจนั ทรม์ ากกวา่

ข. น้ำหนกั ของมนษุ ยอ์ วกาศทชี่ ั่งบนดวงจันทร์น้อยกวา่

ค. น้ำหนักของมนษุ ยอ์ วกาศที่ช่งั บนโลกน้อยกว่า

ง. น้ำหนักของมนุษยอ์ วกาศทีช่ ั่งท้งั 2 แห่ง มีค่าเท่ากนั

30. ถ้าโลกไมม่ ีแรงดึงดูด สถานการณ์ข้อใดมีความเป็นไปไดม้ าก ✓ ประเมินคา่

ทส่ี ดุ

ก. รถยนต์แลน่ ไดเ้ รว็ ข้นึ

ข. วตั ถตุ ่าง ๆ จะไมม่ ีน้ำหนัก

ค. น้ำจะไหลจากทส่ี ูงลงส่ทู ีต่ ำ่ ได้เร็วขน้ึ

ง. เมือ่ เดนิ ขนึ้ ท่ีสงู จะรู้สกึ เหนือ่ ยมากข้นึ

ข้อเสนอแนะเพม่ิ เตมิ (ถ้าม)ี
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ผูเ้ ชี่ยวชาญ..............................................................
(..........................................................)

วนั ท่.ี ...........เดอื น...........................พ.ศ............

ภาคผนวก ง
ภาพกิจกรรมการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูต้ ามแนวสะเต็มศกึ ษา

(STEM Education) ในรปู แบบออนไลน์

137
ขั้นที่ 1 ระบปุ ัญหา ดูวีดิโอเร่ือง ปัจจยั ที่มผี ลต่อนำ้ หนักของวัตถุ
ขั้นที่ 1 ระบปุ ญั หา ดวู ดี โิ อเร่ือง ปัจจยั ทีม่ ีผลต่อน้ำหนกั ของวตั ถุ

138
ขนั้ ท่ี 1 ระบุปญั หา บรรยายสถานการณจ์ ำลอง
ขน้ั ท่ี 1 ระบุปัญหา ดวู ีดโิ อเรื่อง แรงต้านอากาศ

139
ขนั้ ท่ี 1 ระบุปัญหา ต้ังโจทย์ปัญหา และเงื่อนไขการประดิษฐบ์ อลลูนชชู ีพ
ข้นั ที่ 2 รวบรวมข้อมูลและแนวคิดท่เี กีย่ วข้องกับปัญหา อธบิ ายใบความรู้ และแจกใบกิจกรรม

140
ขน้ั ที่ 3 ออกแบบวิธกี ารแกป้ ัญหา แนะนำวัสดอุ ุปกรณท์ ี่ใช้ทำบอลลนู ชูชีพ
ขนั้ ที่ 3 ออกแบบวิธีการแกป้ ัญหา ออกแบบบอลลนู ชชู พี โดยการรา่ งภาพลงในใบกจิ กรรม

141

ขนั้ ท่ี 4 วางแผนและดำเนนิ การแกป้ ญั หา

ขนั้ ที่ 3 ออกแบบวธิ ีการแก้ปัญหา ออกแบบบอลลนู ชูชีพโดยการร่างภาพลงในใบกิจกรรม

ข้นั ที่ 3 ออกแบบวิธกี ารแก้ปัญหา ออกแบบบอลลนู ชชู พี โดยการร่างภาพลงในใบกิจกรรม

142
ข้ันที่ 3 ออกแบบวิธีการแกป้ ัญหา ออกแบบบอลลูนชูชีพโดยการรา่ งภาพลงในใบกิจกรรม

ข้ันที่ 4 วางแผนและดำเนนิ การแก้ปญั หา ประดษิ ฐ์บอลลนู ชชู ีพ

143

ขั้นท่ี 5 ขน้ั ทดสอบ ประเมินผล และปรบั ปรงุ แก้ไขวิธกี ารแก้ไขปญั หาหรือแก้ช้นิ งาน
ทดสอบการปล่อยบอลลนู จากทสี่ งู 3 เมตร

ข้ันที่ 5 ข้นั ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรับปรงุ แกไ้ ขวิธีการแกไ้ ขปัญหาหรือแก้ชนิ้ งาน
ทดสอบการปล่อยบอลลนู จากทส่ี ูง 3 เมตร

144

ขัน้ ท่ี 5 ขั้นทดสอบ ประเมินผล และปรบั ปรุงแกไ้ ขวิธกี ารแกไ้ ขปญั หาหรือแก้ชน้ิ งาน
แก้ไขข้อผดิ พลาดของบอลลูนชพี

ข้ันท่ี 5 ข้นั ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรบั ปรุงแกไ้ ขวิธกี ารแกไ้ ขปัญหาหรอื แกช้ ้ินงาน
แก้ไขข้อผิดพลาดของบอลลนู ชพี


Click to View FlipBook Version