The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นวพร ศรีวงศ์, 2019-09-14 00:03:21

หลักสูตรการทำสวนกล้วย ม.ปลาย

รวม

หลักสูตรสถานศึกษา รายวิชาเลือกเสรี

ตามหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
พทุ ธศักราช 2551 (ปรับปรงุ 2559)
ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

แผนการเรียน “การทาสวนกลว้ ย”
สาระการประกอบอาชีพ

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอปะคา
สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวดั บุรรี ัมย์



คำนำ

หลักสูตรสถานศึกษา รายวิชาเลือกเสรี ฉบับน้ี เป็นผลการวิเคราะห์จากความต้องการของผู้เรียน
ท่ีสอดคล้องกับวิถีชีวิต บริบทของชุมชน นโยบายของรัฐบาล ความจาเป็นในการแก้ปัญหา และทิศทางการ
พัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (2560 – 2564) ข้อ (2) คนเป็น
ศูนย์กลางการพัฒนาอยา่ งมสี ว่ นรว่ ม และ ข้อ (4) การพัฒนาสู่ความม่ันคง มั่งคั่ง ยั่งยืน สังคมอยู่ร่วมกันอย่าง
มีความสุข สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีบทบาทและภารกิจในการจัด
การศึกษาให้เป็นไปตามทิศทางในการขับเคลื่อนการปฏิรูปด้านการศึกษา ที่ต้องการให้ผู้เรียนมีความสนใจ
กระตือรือร้นท่ีจะเรียนและสิ่งท่ีมาเรียนสามารถตอบโจทย์ในชีวิตจริงได้ การจัดแผนการเรียนรู้รายบุคคล
เป็นการจัดการศึกษาท่ีสามารถสนองตอบความแตกต่างของบุคคลได้เป็นอย่างดี สานักงานส่งเสริมการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จึงมีนโยบายให้สถานศึกษาในสังกัดจัดแผนการเรียนรายวิชาเลือกเสรี
ให้กับผู้เรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรับปรุง
2559)

สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการ ศึกษาตามอัธยาศัย จังห วัดบุรีรัมย์ได้ตระหนักถึง
ความสาคัญในการท่ีจะร่วมขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาตามนโยบายของรัฐบาลและนโยบายของ สานักงาน
สง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จึงไดม้ อบหมายให้ศูนย์การศึกษานอกนอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปะคา พัฒนาและจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา รายวิชาเลือกเสรีตามแผนการ
เรียนรู้รายบุคคล โดยการออกแบบหลักสูตร เน้ือหา กิจกรรมการเรียน การวัดและประเมินผลท่ีสัมพันธ์กับ
วิถีชีวติ ความเป็นอยู่ การประกอบอาชีพของผเู้ รียน และบริบทของชมุ ชน

ศนู ย์การศกึ ษานอกนอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปะคา ขอขอบคุณทุกท่านที่ให้ความ
ร่วมมือในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา รายวิชาเลือกเสรี แผนการเรียน “การทาสวนกล้วย” ฉบับน้ี
จนสาเร็จลุล่วงไปดว้ ยดี

กศน.อำเภอปะคำ
มิถุนำยน พ.ศ. 2562

สารบัญ หนา้

คานา 1
5
บทท่ี 1 บทนา 6
บทที่ 2 ผังมโนทัศนแ์ ละขอบข่ายเนื้อหา 11
14
มาตรฐานการเรยี นรู้ระดบั และผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวงั สาระการประกอบอาชีพ 24
ผงั มโนทศั นแ์ ผนการเรียน “การทาสวนกลว้ ย” 26
ขอบข่ายเนอื้ หาแผนการเรยี น “การทาสวนกลว้ ย” 30
บทท่ี 3 คาอธิบายรายวชิ า รายละเอยี ดคาอธบิ ายรายวชิ า และการวดั ผลประเมินผล 38
รายวิชาที่ 1 เทคโนโลยีการปลกู กล้วย 47
รายวิชาท่ี 2 การปลกู กลว้ ยหอม 55
รายวชิ าที่ 3 การปลูกกล้วยนา้ ว้า 62
รายวชิ าที่ 4 การปลูกกลว้ ยไข่ 70
รายวิชาท่ี 5 การปลูกกลว้ ยจาหน่ายใบ 76
รายวชิ าที่ 6 การแปรรปู กลว้ ย 82
รายวิชาที่ 7 การคา้ ออนไลน์ 88
รายวชิ าท่ี 8 การขายและการตลาด
รายวชิ าที่ 9 วสิ าหกิจชมุ ชน 96
รายวิชาท่ี 10 โครงงานการแปรรปู กลว้ ยเพ่ือการจาหน่าย 97
98
ภาคผนวก 99
คาสง่ั อนุมตั ิให้ใช้หลักสตู รรายวิชาเลอื กเสรี
ความเห็นชอบของกรรมการสถานศึกษา
คาส่ัง แต่งตง้ั กรรมการพัฒนาหลักสตู รรายวชิ าเลอื กเสรี
คาส่งั แต่งตง้ั ผเู้ ชีย่ วชาญ (ถ้ามี)

คณะผู้จัดทา

1

บทที่ 1

บทนา

การจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา รายวิชาเลือกเสรี แผนการเรียน “การทาสวนกล้วย” ระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปะคา จัดทาขึ้นโดยยึด
กรอบโครงสร้าง สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 (ปรับปรุง 2559) ตลอดจนข้อมูลความต้องการ ความสนใจของผู้เรียน และบริบทของ
ชุมชน โดยมีรายละเอียดดงั น้ี

1. โครงสรา้ งหลักสตู ร
โครงสร้างหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

(ปรับปรงุ 2559) ใช้โครงสร้างเดมิ

โครงสร้างหลกั สตู ร
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551

ท่ี สาระการเรยี นรู้ ประถมศกึ ษา จานวนหนว่ ยกิต มัธยมศึกษาตอนปลาย
วิชาบงั คบั วิชาเลือก มัธยมศึกษาตอนตน้ วชิ าบงั คับ วชิ าเลือก
1 ทกั ษะการเรียนรู้ วิชาบงั คบั วิชาเลอื ก
2 ความรู้พืน้ ฐาน 5 5
3 การประกอบอาชีพ 5
4 ทกั ษะการดาเนนิ ชวี ิต 12 20
5 การพฒั นาสงั คม 16
8 8
รวม 8
5 5
กิจกรรมพฒั นาคุณภาพชีวติ 5
6 6
6
36 12 44 32
40 16
48 นก. 76 นก.
200 ชม. 56 นก. 200 ชม.
200 ชม.

2. รายวิชาบงั คบั
2.1 ปรับเนอื้ หาบางรายวชิ าให้มคี วามทันสมยั และทันต่อการเปลีย่ นแปลง
2.2 วิเคราะห์เนื้อหาท่ีต้องรู้ในรายวิชาบังคับ และจัดทาสื่อเผยแพร่ให้สถานศึกษาและผู้เรียน

นาไปใช้ในการเรียน

2

3. รายวิชาเลือก แบง่ เปน็ 2 สว่ น คือ รายวิชาเลือกบงั คบั และรายวิชาเลือกเสรี

3.1 รายวิชาเลือกบังคับ เป็นวิชาท่ีพัฒนาข้ึนตามนโยบายของประเทศ และเพ่ือแก้ปัญหา

วิกฤตของประเทศในเรอ่ื งต่าง ๆ สว่ นกลางไดพ้ ฒั นาจานวน 6 วชิ า ท้ัง 3 ระดับ คอื

1. วชิ าการเงนิ เพอื่ ชวี ิต : สาระการพฒั นาสังคม

2. วิชาการใชพ้ ลงั งานไฟฟ้าในชีวิตประจาวนั : สาระความรูพ้ ื้นฐาน

3. วิชาการเรียนรสู้ ภู้ ัยธรรมชาติ : สาระการพฒั นาสงั คม

4. วชิ าวัสดศุ าสตร์ : สาระความรพู้ ้นื ฐาน

5. วชิ าประวตั ิศาสตร์ชาติไทย : สาระการพัฒนาสงั คม

6. วิชาลกู เสอื กศน. : สาระการพัฒนาสังคม

หมายเหตุ : ผูเ้ รยี น เลือกเรียนรายวิชาเลือกบงั คับระดับละ 2 รายวิชา

3.2 รายวิชาเลือกเสรี เปน็ วชิ าท่ีสถานศกึ ษาตอ้ งพฒั นาข้นึ เองตามแผนการเรยี นรู้รายบุคคล

-ระดบั ประถม จานวน 8 หน่วยกิต

-ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 10 หน่วยกิต

-ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน 26 หน่วยกิต

โครงสร้างหลักสตู รสถานศกึ ษา รายวชิ าเลือก
ตามหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ปรับปรงุ 2559)

ที่ สาระการเรยี นรู้ ประถมศกึ ษา จานวนหน่วยกติ มธั ยมศึกษาตอนปลาย
1 ทกั ษะการเรยี นรู้
วิชาเลือก วิชาเลือก มธั ยมศึกษาตอนต้น วิชาเลือก วิชาเลือก
บงั คับ เสรี บังคบั เสรี
วิชาเลอื ก วิชาเลือก
- บังคับ เสรี -

-

2 ความรู้พื้นฐาน 2 3 3

3 การประกอบอาชพี - - -

4 ทักษะการดาเนนิ ชวี ิต - - -

5 การพัฒนาสังคม 2 3 3

เลอื กเรียน สถานศกึ ษา เลือกเรยี น สถานศกึ ษา เลือกเรยี น สถานศกึ ษา

2 รายวิชา ตอ้ งพัฒนา/ 2 รายวชิ า ตอ้ งพัฒนา/ 2 รายวชิ า ต้องพฒั นา/

รวม รวม 4 นก. จดั ทาข้นึ เอง รวม 6 นก. จัดทาขึ้นเอง รวม 6 นก. จดั ทาขน้ึ เอง

8 นก. 10 นก. 26 นก.

12 นก. 16 นก. 32 นก.

3

4. การจัดสาระการเรียนรู้ ดาเนินการโดยรวบรวมเนื้อหาแต่ละรายวิชา วิเคราะห์และจัดทาหัวเรื่อง

และแบ่งเป็นเนื้อหาย่อย ๆ ในแต่ละรายวิชาเพื่อจัดให้เข้าระดับ โดยใช้มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ
เปน็ หลักเกณฑ์ดงั น้ี

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา

ขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ประกอบด้วยสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ดงั น้ี

1. สาระทักษะการเรยี นรู้ ประกอบดว้ ย 5 มาตรฐาน ดงั น้ี
มาตรฐานที่ 1.1 มีความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคตทิ ีด่ ีตอ่ การเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง

มาตรฐานท่ี 1.2 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคตทิ ี่ดตี อ่ การใช้แหลง่ เรยี นรู้

มาตรฐานที่ 1.3 มคี วามรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคตทิ ่ีดตี อ่ การจดั การความรู้

มาตรฐานท่ี 1.4 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคติทด่ี ตี อ่ การคดิ เปน็

มาตรฐานท่ี 1.5 มคี วามรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคติทด่ี ตี ่อการวิจัยอย่างงา่ ย

2. สาระความรูพ้ ้นื ฐาน ประกอบด้วย 2 มาตรฐาน ดงั น้ี
มาตรฐานที่ 2.1 มคี วามรู้ ความเข้าใจ และทักษะพนื้ ฐานเกี่ยวกับภาษาและการ

ส่ือสาร

มาตรฐานท่ี 2.2 มคี วามรู้ ความเข้าใจ และทักษะ พน้ื ฐานเก่ยี วกับคณติ ศาสตร์

วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

3. สาระการประกอบอาชีพ ประกอบดว้ ย 4 มาตรฐาน ดงั นี้
มาตรฐานท่ี 3.1 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคตทิ ี่ดใี นงานอาชีพ มองเห็น

ชอ่ งทางและตดั สินใจประกอบอาชพี ได้ตามความตอ้ งการ
และศักยภาพของตนเอง

มาตรฐานที่ 3.2 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะในอาชีพทีต่ ดั สนิ ใจเลือก

มาตรฐานที่ 3.3 มคี วามรู้ ความเข้าใจ ในการจัดการอาชีพอย่างมีคุณธรรม
มาตรฐานท่ี 3.4 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในการพฒั นาอาชพี ใหม้ ีความม่ันคง

4. สาระทักษะการดาเนนิ ชีวติ ประกอบดว้ ย 3 มาตรฐาน ดงั นี้
มาตรฐานท่ี 4.1 มีความรู้ ความเข้าใจ เจตคติทีด่ เี กี่ยวกบั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

และสามารถประยกุ ตใ์ ช้ในการดาเนนิ ชีวิตได้อย่างเหมาะสม

มาตรฐานท่ี 4.2 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะและเจตคตทิ ่ีดีเก่ียวกับการดแู ล

สง่ เสริมสขุ ภาพอนามัย และความปลอดภยั ในการดาเนนิ ชีวติ

มาตรฐานที่ 4.3 มีความรู้ ความเข้าใจ และเจตคตทิ ี่ดเี กี่ยวกับศิลปะและสนุ ทรียภาพ

4

5. สาระการพัฒนาสังคม ประกอบดว้ ย 4 มาตรฐาน ดงั น้ี
มาตรฐานท่ี 5.1 มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนกั ถึงความสาคญั เกยี่ วกับภมู ศิ าสตร์
ประวัตศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง สามารถ
นามาปรับใช้ในการดารงชวี ติ
มาตรฐานท่ี 5.2 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เหน็ คณุ ค่า และสบื ทอดศาสนา วฒั นธรรม
ประเพณี เพื่อการอยู่รว่ มกนั อยา่ งสนั ตสิ ุข
มาตรฐานท่ี 5.3 ปฏบิ ตั ติ นเปน็ พลเมอื งดตี ามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย มีจติ สาธารณะ
เพื่อความสงบสขุ ของสงั คม
มาตรฐานที่ 5.4 มีความรู้ ความเขา้ ใจ เห็นความสาคัญของหลกั การพัฒนา และ
สามารถพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน/สังคม

5

บทท่ี 2

ผงั มโนทัศนแ์ ละขอบขา่ ยเน้อื หา

หลักสูตรสถานศึกษา รายวิชาเลือกเสรี แผนการเรียน “การทาสวนกล้วย” ระดับมัธยมศึกษา

ตอนปลาย ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอปะคา สานักงาน กศน. จังหวัดบุรีรัมย์

ประกอบด้วยรายวิชาเลือกเสรีดังน้ี

ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 2 หน่วยกิต

แผนการเรยี น “การทาสวนกล้วย”
รายวชิ าท่ี 1 เทคโนโลยกี ารปลูกกลว้ ย

รายวิชาท่ี 2 การปลูกกล้วยหอม 3 หนว่ ยกิต

รายวชิ าที่ 3 การปลกู กล้วยน้าวา้ 3 หน่วยกติ

รายวชิ าท่ี 4 การปลูกกลว้ ยไข่ 3 หนว่ ยกติ

รายวิชาท่ี 5 การปลูกกล้วยจาหน่ายใบ 2 หนว่ ยกติ

รายวิชาท่ี 6 การแปรรปู กล้วย 3 หน่วยกติ

รายวชิ าที่ 7 การค้าออนไลน์ 3 หน่วยกติ

รายวิชาท่ี 8 การขายและการตลาด 3 หนว่ ยกติ

รายวิชาที่ 9 วสิ าหกจิ ชมุ ชน 3 หนว่ ยกิต

รายวชิ าท่ี 10 โครงงานการแปรรปู กลว้ ยเพื่อการจาหนา่ ย 3 หน่วยกิต

หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551

สาระการประกอบอาชพี
เป็นสาระเกย่ี วกับการมองเหน็ ช่องทางและการตัดสนิ ใจ ประกอบอาชพี เรียนรู้ทักษะในอาชีพ

การจดั การอาชพี อยา่ งมีคณุ ธรรม และการพฒั นาอาชีพใหม้ ีความม่ันคงดว้ ยมาตรฐานการเรียนรู้ ดังนี้

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 3.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจและเจตคตทิ ี่ดใี นงานอาชีพ มองเหน็ ชอ่ งทาง
และตัดสินใจประกอบอาชพี ไดต้ ามความต้องการ และศกั ยภาพของตนเอง
มาตรฐานที่ 3.2 มีความรู้ความเขา้ ใจทักษะในอาชพี ทีต่ ัดสินใจเลือก
มาตรฐานที่ 3.3 มีความรู้ความเข้าใจในการจัดการอาชีพอยา่ งมีคุณธรรม
มาตรฐานท่ี 3.4 มคี วามรู้ความเขา้ ใจในการพฒั นาอาชีพให้มีความมน่ั คงมีความม่นั คง

มาตรฐานการเรียนรู้ระดับและผลการ

มาตรฐานที่ 3.1 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และเจตคตทิ ด่ี ใี นงานอาชพี มองเห็นชอ่ งทา

ระดับประถมศึกษา ระดบั มธั ย

มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวงั มาตรฐานการเรยี นรู้

มีความรู้ ความเข้าใจ 1. อธิบายความหมาย มีความรู้ ความเข้าใ

และเ จตค ติ ท่ีดีใ นงา น ความสาคัญ วิเคราะห์ และเ จตค ติ ที่ดีใ นงา

อาชีพ วิเคราะห์ลักษณะ ลักษณะงาน ขอบข่ายการ อาชีพ วิเคราะห์ลักษณ

งาน ขอบข่ายงานอาชีพ งานอาชีพในชุมชน สังคม งาน ขอบข่ายงานอาช

ในชุมชน สังคม ประเทศ ประเทศและและภูมิภาค ในชุมชน สงัคม ประเท

และภูมิภาค 5 ทวีป ได้แก่ 5 ทวีป ได้แก่ ทวีปเอเชีย และภมู ิภาค 5 ทวีป ได้แ

ทวีปเอเชีย ทวปี ออส- ทวีปออสเตรเลีย ทวีป ทวีปเอเชีย ทวปี ออส-

เตรเลีย ทวีปอเมริกา ทวีป อเมริกา ทวีปยุโรป และ เตรเลยี ทวปี อเมริกา ทว

ยุโรป และทวีปอัฟริกา ทวีปอัฟริกา เพื่อการเข้า ยุโรป และทวีปอัฟริก

ท่ีเหมาะสมกับศักยภาพ สอู่ าชีพได้ ท่ีเหมาะสมกับศักยภา

5 ด้าน ได้แก่ ศักยภาพ 2. อธิบายเหตุปัจจัย 5 ด้าน ได้แก่ ศักยภา

ของทรัพยากรธรรมชาติ ค ว า ม จ า เ ป็ น ใ น ก า ร ของ ทรัพยากรธรรมชา

ในแต่ละพื้นที่ ศักยภาพ ตัดสินใจเลือกอาชีพท่ี ในแต่ละพื้นที่ ศักยภา

ของพืน้ ทต่ี ามลักษณะภมู -ิ เหมาะสมกับศักยภาพ ของพ้ืนทตี่ ามลักษณะภมู

อากาศ ศกั ยภาพของ 5 ดา้ น ได้แก่ ศักยภาพ อากาศ ศักยภาพของ

6

รเรียนรู้ท่คี าดหวงั สาระการประกอบอาชพี

าง และตดั สนิ ใจประกอบอาชีพได้ตามความตอ้ งการ และศกั ยภาพของตนเอง

ยมศกึ ษาตอนต้น ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวงั มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ทคี่ าดหวงั

ใจ 1. อธิบายความหมาย มีความรู้ ความเข้าใจ 1. อธิบายความหมาย

า น ความสาคัญ วิเคราะห์ และเ จตค ติ ที่ดีใ นงา น ความสาคัญ วิเคราะห์

ณะ ลักษณะงาน ขอบข่ายการ อาชีพ วิเคราะห์ลักษณะ ลักษณะงาน ขอบข่าย

ชีพ งานอาชีพในชุมชน สังคม งาน ขอบข่ายงานอาชีพ การงานอาชีพในชุมชน

ทศ ประเทศและและภูมิภาค ในชุมชน สงัคม ประเทศ สังคม ประเทศและและ

แก่ 5 ทวีป ได้แก่ ทวีปเอเชีย และภูมิภาค 5 ทวีป ได้แก่ ภูมิภาค 5 ทวีป ได้แก่

ทวีปออสเตรเลีย ทวีป ทวปี เอเชีย ทวีปออส- ทวีปเอเชีย ทวีปออส-

วีป อเมริกา ทวีปยุโรป และ เตรเลีย ทวีปอเมริกา ทวีป เตรเลีย ทวีปอเมริกา

กา ทวีปอัฟริกา ที่จะนาไปสู่ ยุโรป และทวีปอัฟริกา ทวีปยโุ รป และทวีป

าพ การพฒั นาอาชีพที่ ที่เหมาะสมกับศักยภาพ อฟั ริกา ทจ่ี ะนาไปสู่ความ

าพ เหมาะสมกบั ศกั ยภาพ 5 ด้าน ได้แก่ ศักยภาพ ม่ันคงท่ีเหมาะสมกับ

าติ 5 ด้าน ได้แก่ ศักยภาพ ของ ทรัพยากรธรรมชาติ ศักยภาพ 5 ด้าน ได้แก่

าพ ของทรัพยากรธรรมชาติ ในแต่ละพ้ืนที่ ศักยภาพ ศกั ยภาพของทรัพยากร

ม-ิ ในแต่ละพ้ืนที่ ศักยภาพ ของพืน้ ที่ตามลักษณะภูม-ิ ธรรมชาติในแต่ละพ้ืนที่

ของพนื้ ทต่ี ามลกั ษณะ อากาศ ศักยภาพของ ศักยภาพของพื้นทีต่ าม

ระดับประถมศึกษา ระดับมธั ย

มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ทค่ี าดหวงั มาตรฐานการเรียนรู้

ภูมิประเทศและทาเลที่ต้ัง ของทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิประเทศและทาเลที่ต

ของแต่ละพ้ืนที่ ศักยภาพ ในแต่ละพ้ืนท่ี ศักยภาพ ของแต่ละพ้ืนที่ ศักยภา

ของศิลปะ วัฒนธรรม ของพ้ืนที่ตามลัก ษณะ ของศิลปะ วัฒนธรร

ประเพณีและวิถีชีวิตของ ภูมอิ ากาศ ศักยภาพของ ประเพณีและวิถีชีวิตขอ

แต่ละพื้นที่ ศักยภาพของ ภูมิประเทศและทาเลท่ีตั้ง แต่ละพื้นท่ี ศักยภาพขอ

ทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละ ของแต่ละพื้นท่ี ศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ในแต่ล

พ้นื ท่ี เพอ่ื การเข้าส่อู าชพี ของศิลปะ วัฒนธรรม พ้ืนท่ีและสอดคล้องก

ประเพณีและวิถีชีวิตของ ชุ ม ช น เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น

แต่ละพื้นท่ี ศักยภาพของ อาชีพ

ทรัพยากร มนุษย์ในแต่ละ

พ้ืนท่ไี ด้

3. ยอมรับและเห็นคุณค่า

ในอาชีพทีตดัสินใจเลือก

4. ปฏิบัติการวิเคราะห์

ตดั สนิ ใจเลือกอาชีพได้

7

ยมศึกษาตอนต้น ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวัง มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ทคี่ าดหวงั

ตั้ง ภูมอิ ากาศ ศักยภาพของ ภูมิประเทศและทาเลที่ต้ัง ลั ก ษ ณ ะ ภู มิ อ า ก า ศ

าพ ภูมิประเทศและทาเลท่ีต้ัง ของแต่ละพ้ืนท่ี ศักยภาพ ศักยภาพของภูมิประเทศ

รม ของแต่ละพ้ืนท่ี ศักยภาพ ของศิลปะ วัฒนธรรม และทาเลท่ีตั้งของแต่ละ

อง ของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตของ พื้นที่ศักยภาพของศิลปะ

อง ประเพณีและวิถีชีวิต ของ แต่ละพ้ืนที่ ศักยภาพของ วัฒนธรรม ประเพณีและ

ละ แต่ละพ้ืนท่ี ศักยภาพของ ทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละ วิถีชีวิต ของแต่ละพ้ืนท่ี

กับ ทรัพยากร มนุษย์ในแต่ละ พื้นท่ีและสอดคล้องกับ ศักยภาพของทรัพยากร

น า พ้ืนที่และสอดคล้องกับ ชมุ ชนเพือ่ การขยายอาชีพ มนุษย์ในแต่ละพ้ืนที่และ

ชุมชน สังคม ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ชุ ม ช น

2. อธิบายเหตุผลปัจจัย สังคม

ความจาเป็นในการพัฒนา 2. อธิบายเหตุผลปัจจัย

อ า ชี พ ท่ี เ ห ม า ะ ส ม กั บ ค ว า ม จ า เ ป็ น ใ น ก า ร น า

ศักยภาพของตนเองได้ อาชีพไปสู่ความม่ันคงที่

3. จัดระบบความสาคญั เ ห ม า ะ ส ม กั บ ศั ก ย ภ า พ

ใ น ก า ร ตั ด สิ น ใ จ พั ฒ น า ของตนเองได้

อาชพี ได้ 3. ตรวจสอบระบบการ

4. ปฏิบัิติการวิเคราะห์ ตดั สนิ ใจขยายอาชพี

เพ่ือการพฒั นาอาชีพได้ 4. ปฏิบัิติการวิเคราะห์

เพ่อื การขยายอาชีพได้

มาตรฐานท่ี 3.2 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะในอาชีพทีต่ ดั สินใจเลอื ก

ระดับประถมศกึ ษา ระดับมธั ย

มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ทคี่ าดหวัง มาตรฐานการเรียนรู้

มีความรู้ ความเข้าใจ 1. อธิบายทักษะที่ มีความรู้ ความเข้าใ

ทักษะในอาชีพที่ตัดสินใจ เก่ียวกับกระบวนการผลิต ทักษะในการพัฒนาอาช

เลือกบนพ้ืนฐานความรู้ กระบวนการตลาดที่ใช้ ท่ี ตั ด สิ น ใ จ เ ลื อ ก บ

ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต นวัตกรรม เทคโนโลยีใน พื้ น ฐ า น ค ว า ม

กระบวนการตลาด ท่ีใช้ อาชีพท่ตี ัดสินใจเลอื กได้ ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ

นวัตกรรม เทคโนโลยี 2. ยอมรับและเห็นคุณค่า กระบวนการตลาด ท่ีใ

ทเ่ี หมาะสม ในการฝึกทักษะการเข้าสู่ นวัตกรรม เทคโนโลย

อาชพี เหมาะสมและประยุกต์ใ

3. ปฏิบัติการวิเคราะห์ ภมู ปิ ัญญา

ทักษะในอาชีพท่ีตัดสินใจ

เลอื ก

8

ยมศึกษาตอนต้น ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

ผลการเรยี นรู้ทค่ี าดหวงั มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวงั

ใจ 1. อธิบายทักษะที่ มีความรู้ ความเข้าใจ 1. อธิบายทักษะที่

ชีพ เก่ียวข้องในกระบวนการ ทักษะในการขยายอาชีพ เก่ียวข้องในกระบวนการ

น ผลิต กระบวนการตลาด เพื่อสร้างความม่ันคงบน ผลิต กระบวนการตลาด

รู้ ท่ีใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี พ้ืนฐานความรู้ กระบวน ท่ีใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี

ต ใ น ก า ร พั ฒ น า อ า ชี พ ที่ การผลิต กระบวนการ ใ น ก า ร ข ย า ย อ า ชี พ ที่

ใช้ ตัดสนิ ใจเลอื กได้ ตลา ด ท่ีใ ช้นวั ตก รร ม ตดั สินใจเลือก

ยีท่ี 2. เห็นความสัมพันธ์ของ เทคโนโลยีท่ี เหมาะสม 2. ตรวจสอบระบบความ

ใช้ ก า ร จั ด ร ะ บ บ เ ต รี ย ม มีความหลากหลายทาง พร้อมในการขยายอาชีพ

ความพร้อมกับการพัฒนา ชีวภาพ พัฒนาต่อยอด ใหม้ ีความม่ันคง

อาชพี และประยกุ ตใ์ ชภ้ มู ปิ ญั ญา

3. ปฏิบัติการวิเคราะห์

ทักษะในการพฒั นาอาชีพ

มาตรฐานท่ี 3.3 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในการจัดการอาชพี อยา่ งมีคุณธรรม

ระดบั ประถมศึกษา ระดับมธั ย

มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ทคี่ าดหวัง มาตรฐานการเรยี นรู้

มคี วามรู้ ความเข้าใจ และ 1. อธิบายความหมาย มคี วามรู้ ความเข้าใจ แล

สามารถจัดทาแผนงาน ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง ก า ร สามารถจัดทาแผนงา

และโครงการธุรกิจเข้าสู่ จัดการอาชพี ได้ และโครงการธุรกิจ เพ

ตลาดกา รแข่งขันตาม 2. ดาเนินการจัดทาแผน พัฒนาอาชีพเข้าสู่ตลา

ศักยภาพ 5 ด้าน ได้แก่ ธุร กิจ ด้า น ก าร จัด กา ร การแข่งขันตามศักยภา

ศั ก ย ภ า พ ข อ ง การผลิตหรือการบริการ 5 ด้าน ได้แก่ ศักยภา

ทรัพยากรธรรมชาติในแต่ แ ล ะ ด้ า น ก า ร จั ด ก า ร ของทรพั ยากรธรรมชาติ

ละพ้ืนท่ี ศักยภาพของ การตลาดและการขบั ในแต่ละพ้ืนที่ ศักยภา

พื้ น ที่ ต า ม ลั ก ษ ณ ะ เคลื่อนธรุ กิจตามศักยภาพ ของพ้ืนที่ตามลักษณ

ภูมิอากาศศักยภาพของ 5 ด้าน ได้แก่ ศักยภาพ ภูมิอากาศศักยภาพขอ

ภูมิประเทศและทาเลท่ีตั้ง ของทรพั ยากรธรรมชาติ ภูมิประเทศและทาเลที่ต

ของแต่ละพื้นท่ี ศักยภาพ ในแต่ละพ้ืนท่ี ศักยภาพ ของแต่ละพื้นที่ ศักยภา

ของศิลปะ วัฒนธรรม ของพื้นที่ตามลักษณะ ของศิลปะ วัฒนธรร

ประเพณีและวิถีชีวิตของ ภมู ิอากาศศกั ยภาพของ ประเพณีและวิถีชีวิตขอ

แต่ละพื้นท่ี ศักยภาพของ ภูมิประเทศและทาเลที่ต้ัง แต่ละพ้ืนที่ ศักยภาพขอ

ทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละ ของแต่ละพ้ืนที่ ศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ในแต่ล

พื้นท่ีและแนวคิดปรัชญา ของศิลปะ วัฒนธรรม พ้ืนท่ีและแนวคิดปรัชญ

ของเศรษฐกิจพอเพียง ประเพณีและวถิ ีชวี ิตของ ของเศรษฐกิจพอเพียง

9

ยมศกึ ษาตอนต้น ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

ผลการเรยี นรู้ทคี่ าดหวงั มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ทค่ี าดหวงั

ละ 1. อธิบายความหมาย มีความรู้ ความเข้าใจ และ 1. อธิบายความหมาย

าน ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง ก า ร สามารถจัดทาแผนงาน ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง ก า ร

พ่ือ จัดการอาชีพ เพื่อพัฒนา และโครงการธุรกิจ เพ่ือ จัดการอาชีพ เพื่อขยาย

าด อาชีพได้ ขยายอาชีพเข้าสู่ตลาด อาชีพได้

าพ 2. ดาเนินการปรับปรุง การแข่งขันตามศักยภาพ 2. ดาเนินการจัดทาและ

าพ แผนธุรกิจด้านการจัดการ 5 ด้าน ได้แก่ ศักยภาพ หรือปรับปรุงแผนธุรกิจ

การผลิตหรือการบริการ ของทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการจัดการการผลิต

าพ แ ล ะ ด้ า น ก า ร จั ด ก า ร ในแต่ละพื้นท่ี ศักยภาพ หรือการบริการ และด้าน

ณะ การตลาดตามศกั ยภาพ ของ พื้นที่ตามลักษณะ การจัดการการตลาดตาม

อง 5 ด้าน ได้แก่ ศักยภาพ ภูมิอากาศศกั ยภาพของ ศักยภาพ 5 ด้าน ได้แก่

ตั้ง ของทรพั ยากรธรรมชาติ ภูมิประเทศและทาเลท่ีต้ัง ศักยภาพของทรพั ยากร

าพ ในแต่ละพื้นท่ี ศักยภาพ ของแต่ละพ้ืนที่ ศักยภาพ ธรรมชาติในแต่ละพ้ืนท่ี

รม ของพื้นที่ตามลักษณะ ของศิลปะ วัฒนธรรม ศักยภาพของพื้นที่ตาม

อง ภมู ิอากาศศกั ยภาพของ ประเพณีและวิถีชีวิตของ ลั ก ษ ณ ะ ภู มิ อ า ก า ศ

อง ภูมิประเทศและทาเลท่ีต้ัง แต่ละพื้นที่ ศักยภาพของ ศักยภาพของภูมิประเทศ

ละ ของแต่ละพ้ืนที่ ศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละ และทาเลที่ตั้งของแต่ละ

ญา ของศิลปะ วัฒนธรรม พื้นท่ีและแนวคิดปรัชญา พื้นท่ี ศักยภาพของศิลปะ

ประเพณแี ละวถิ ีชวี ติ ของ ของเศรษฐกิจพอเพยี ง วฒั นธรรม ประเพณี

ระดบั ประถมศึกษา ระดบั มัธย

มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวงั มาตรฐานการเรยี นรู้

เพ่อื การมอี ยูม่ ีกิน แต่ละพื้นท่ี ศักยภาพของ เพื่อสคู่ วามเขม้ แขง็

ทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละ

พ้ืนที่และแนวคิดปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพียงได้

3. ยอมรับและเห็นคุณค่า

ในการจัดการเข้าสู่ธุรกิจ

อย่างมคี ณุ ธรรม

4. ปฏิบัิติการจัดทาแผน

และโครงการเข้าสู่อาชีพ

ได้

10

ยมศึกษาตอนต้น ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

ผลการเรยี นรู้ทค่ี าดหวงั มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวัง

แต่ละพ้ืนที่ ศักยภาพของ เพอ่ื สคู่ วามม่นั คง แ ล ะ วิ ถี ชี วิ ต ข อ ง แ ต่ ล ะ

ทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละ พื้ น ที่ ศั ก ย ภ า พ ข อ ง

พื้นท่ีและแนวคิดปรัชญา ทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละ

ของเศรษฐกิจพอเพียงได้ พื้นท่ีและแนวคิดปรัชญา

3. อธิบายความสัมพันธ์ ของเศรษฐกิจพอเพยี งได้

ระหว่างระบบการพัฒนา 3. ตรวจสอบระบบธุรกิจ

ธุ ร กิ จ กั บ ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น เพ่อื การขยายอาชพี ได้

ธุรกจิ อย่างมคี ุณธรรม 4. ปฏิบัติการจัดทาแผน

4. ปฏิบัิติการจัดทาแผน และโครงการขยายอาชีพ

และโครงการพัฒนาอาชีพ ได้

ได้

มาตรฐานท่ี 3.4 มีความรู้ ความเข้าใจ ในการพัฒนาอาชีพใหม้ คี วามมนั่ คง

ระดับประถมศึกษา ระดบั มธั ย

มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ทค่ี าดหวัง มาตรฐานการเรียนรู้

มีความรู้ ความเข้าใจใน 1. อธิบายความหมาย มีความรู้ ความเข้าใจใ

ก า ร พั ฒ น า อ า ชี พ ใ ห้ มี ความสาคัญ ความจาเป็น ก า ร พั ฒ น า อ า ชี พ ใ ห

ผลิตภัณฑ์หรืองานบริการ ในการพัฒนาอาชีพให้มี ผลิตภัณฑ์หรืองานบริกา

สร้างรายได้ พอเพยี ง ผลิตภัณฑ์หรืองานบริการ สร้างรายได้พอเพียงต

ตอ่ การดารงชีวิต สร้างรายได้พอเพียงต่อ การดารงชีวิต และเหล

การดารงชวี ิต เงนิ ออมตามศกั ยภาพ

2. วิเคราะห์ศักยภาพ

ธุรกิจกาตลาด การผลิต

หรื อก าร บริ กา ร แผ น

ธรุ กจิ เพ่ือสร้างธรุ กจิ

ให้มอี ยู่มกี ิน

3. ยอมรับและเห็นคุณค่า

ในการพฒั นาอาชพี

ใหม้ ีอยู่มีกิน

4. ปฏิบัติการทาแผน

และโครงการพัฒนาอาชีพ

ใหม้ อี ย่มู กี ิน

11

ยมศึกษาตอนตน้ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

ผลการเรยี นรู้ทคี่ าดหวงั มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ทคี่ าดหวงั

ใน 1. อธิบายความหมาย มีความรู้ ความเข้าใจใน 1. อธบิ ายความหมาย

ห้ มี ความสาคัญ ความจาเป็น ก า ร พั ฒ น า อ า ชี พ ใ ห้ มี ความสาคัญ ความจาเป็น

าร ในการพัฒนาอาชีพให้มี ผลิตภัณฑ์หรืองานบริการ ในการพัฒนาอาชีพให้มี

ต่อ ผลิตภัณฑ์หรืองานบริการ สร้างรายได้พอเพียงต่อ ผลิตภัณฑ์หรืองานบริการ

ลือ สร้างรายได้พอเพียงต่อ การดารงชีวิต มีเงินออม สร้างรายได้พอเพียงต่อการ

การดารงชีวิตและเหลือ และมีทุนในการขยาย ดารงชวี ิต มเี งนิ ออมและ

เงินออมตามศักยภาพ อาชพี มีทนุ ในการขยายอาชีพ

2. วิเคราะห์ศักยภาพ 2. วิเคราะห์ศกั ยภาพ

ธุรกิจกาตลาด การผลิต ธุรกิจการตลาด การผลิต

หรื อก าร บริ กา ร แผ น หรอื การบริการแผนธรุ กจิ

ธุรกิจ เพ่ือสร้างธุรกิจให้มี เพ่ือสร้างธุรกิจให้มีความ

ความเขม้ แขง็ มัน่ คง

3. อธิบายการจัดระบบ 3. อธิบายวิธีการตรวจสอบ

การพัฒนาอาชีพสู่ความ การพัฒนาอาชีพให้เข้าสู่

เข้มแข็งได้ ความมนั่ คง

4. ปฏิบัตกิ ารทาแผน 4. ปฏิบัตกิ ารทาแผนและ

และโครงการพัฒนาอาชีพ โครงการพัฒนาอาชีพให้มี

ให้มีความเขม้ แข็ง ความม่นั คง

ผงั มโนทศั น์ แผนการเรยี น “การทาสวนกลว้ ย” ระดบั ม

รายวชิ าท่ี 6 การแปรรูปกล้วย 3 หนว่ ยกิต 120 ชั่วโมง

.....................................

บทที่ 1 การทากลว้ ยฉาบ 20 ชม.

บทท่ี 2 การทากล้วยอบเนย 20 ชม.

บทที่ 3 การทากลว้ ยเบรกแตก 20 ชม.

บทท่ี 4 การทากล้วยตากอบน้าผ้งึ 30 ชม.

บทที่ 5 การทาไวนก์ ลว้ ยน้าหวา้ 30 ชม.

รายวิชาท่ี 5 การปลกู กล้วยจาหน่ายใบ 2 หน่วยกติ 80 ชัว่ โมง

................................ การท

บทที่ 1 ความรทู้ ่วั ไปเกีย่ วกับการปลูกกลว้ ยเพื่อจาหนา่ ยใบ 20 ชม.

บทท่ี 2 การปลูกกล้วยตานเี พ่ือจาหน่ายใบ 40 ชม.

บทที่ 3 การดูแลและบารุงรักษากลว้ ยตานีเพื่อจาหน่ายใบ 20 ชม.

รายวชิ าท่ี 4 การปลกู กล้วยไข่ 3 หน่วยกติ 120 ชว่ั โมง

.........................................

บทที่ 1 ความร้เู บอ้ื งต้นเกี่ยวกับกล้วยไข่ 20 ชม.

บทที่ 2 การปลกู กลว้ ยไข่ 50 ชม.

บทที่ 3 การดูแลและบารงุ รักษากลว้ ยไข่ 30 ชม.

บทที่ 4 โรคและแมลงศัตรูกล้วยไข่ 20 ชม.

12

มัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 26 หนว่ ยกติ 1,040 ชัว่ โมง

รายวิชาท่ี 1 เทคโนโลยีการปลูกกล้วย 2 หน่วยกิต 80 ชั่วโมง

.........................

บทท่ี 1 เทคโนโลยกี บั การเกษตร 30 ชม.

บทที่ 2 การใช้เทคโนโลยีในการขยายพันธ์กุ ล้วย 50 ชม.

รายวชิ าท่ี 2 การปลูกกลว้ ยหอม 3 หนว่ ยกิต 120 ช่วั โมง

..................................

บทท่ี 1 ความรูเ้ บอ้ื งต้นเก่ยี วกับกล้วยหอม 20 ชม.

ทาสวนกล้วย บทท่ี 2 การปลกู กลว้ ยหอม 50 ชม.

บทที่ 3 การดแู ลและบารุงรักษากลว้ ยหอม 30 ชม.

บทท่ี 4 โรคและแมลงศตั รูกล้วยหอม 20 ชม.

รายวิชาที่ 3 การปลกู กลว้ ยนา้ หว้า 3 หนว่ ยกติ 120 ชั่วโมง

.........................................

บทที่ 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เกีย่ วกับกล้วยน้าหว้า 20 ชม.

บทที่ 2 การปลูกกล้วยนา้ หวา้ 50 ชม.

บทที่ 3 การดูแลและบารุงรักษากลว้ ยนา้ หว้า 30 ชม.

บทที่ 4 โรคและแมลงศตั รูกล้วยนา้ หว้า 20 ชม.

ผังมโนทศั น์ แผนการเรยี น “การทาสวนกล้วย” ระดับมัธยม

รายวชิ าท่ี 10 โครงงานการแปรรปู กล้วยเพ่อื การจาหนา่ ย 3 หน่วยกิต 120 ช่ัวโม

................................
บทท่ี 1 หลกั การ แนวคิด ความหมายของโครงงานและการเรยี นรูแ้ บบโครงงาน 5 ชม.

บทที่ 2 ประเภท องค์ประกอบและประโยชนข์ องโครงงาน 25 ชม.

บทที่ 3 ทักษะที่จาเปน็ ในการทาโครงงาน 30 ชม.

บทท่ี 4 กระบวนการทาโครงงานการแปรรปู กลว้ ยเพื่อการจาหน่าย 40 ชม.

บทที่ 5 การสะทอ้ นความคิดเหน็ และการประเมินผลโครงงาน

การแปรรูปกลว้ ยเพื่อการจาหนา่ ย 20 ชม.

รายวิชาท่ี 9 วิสาหกจิ ชมุ ชน 3 หน่วยกิต 120 ช่ัวโมง

..........................................

บทที่ 1 ความรเู้ บือ้ งต้นเกย่ี วกบั วสิ าหกิจชมุ ชน 30 ชม.

บทท่ี 2 วสิ าหกิจชมุ ชนกบั มาตรฐานท่ีเกยี่ วข้อง 30 ชม.

บทที่ 3 ขอ้ จากัดของวิสาหกจิ ชมุ ชน 20 ชม.

บทที่ 4 บทบัญญัตแิ หง่ รัฐกับวิสาหกจิ ชุมชน 20 ชม.

บทที่ 5 รูเ้ ทา่ ทนั วสิ าหกิจชุมชนในประเทศไทย 20 ชม.

13

มศกึ ษาตอนปลาย จานวน 26 หนว่ ยกติ 1,040 ช่วั โมง (ต่อ)

มง รายวิชาที่ 7 การค้าออนไลน์ 3 หน่วยกติ 120 ช่ัวโมง

. .........................................

. บทท่ี 1 ความรูเ้ บือ้ งต้นเกี่ยวกับการคา้ ออนไลน์ 30 ชม.

. บทที่ 2 กระบวนการและรูปแบบการคา้ ออนไลน์ 20 ชม.

บทท่ี 3 เปา้ หมายและแนวโน้มการค้าออนไลน์ 20 ชม.
. บทท่ี 4 เทคโนโลยีสารสนเทศการส่ือสารการค้าออนไลน์ 30 ชม.

. บทที่ 5 กฎหมายและจรรยาบรรณการค้าออนไลน์ 20 ชม.

การทาสวนกล้วย

รายวชิ าที่ 8 การขายและการตลาด 3 หน่วยกิต 120 ช่ัวโมง

.....................................

บทที่ 1 หลักการตลาด 20 ชม.

บทที่ 2 หลกั การขายเบอ้ื งต้น 20 ชม.

บทที่ 3 การขาย 20 ชม.

บทที่ 4 เทคนิคการขาย 20 ชม.

บทท่ี 5 การสง่ เสรมิ การขายและการโฆษณา 20 ชม.

บทท่ี 6 การผลิตและการกาหนดราคา 20 ชม.

14

ขอบขา่ ยเนือ้ หาแผนการเรยี น “การทาสวนกล้วย”
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน 26 หนว่ ยกติ

.............................................

รายวชิ าที่ 1 เทคโนโลยกี ารปลูกกล้วย 2 หน่วยกิต 80 ชว่ั โมง

บทท่ี 1 เทคโนโลยีกับการเกษตร 30 ชม.

1.1 ความหมายของเทคโนโลยี

1.2 เทคโนโลยีท่ีนามาใช้เพ่ือการเกษตร

1) ความหมายของเทคโนโลยีการเกษตร

2) ประเภทของเทคโนโลยกี ารเกษตร

3) เทคโนโลยีทนี่ ามาใชเ้ พ่ือทาการเกษตร

1.3 เทคโนโลยีการปลกู กลว้ ย

บทที่ 2 การใชเ้ ทคโนโลยใี นการขยายพนั ธก์ุ ลว้ ย 50 ชม.
2.1 การขยายพันธุ์กล้วยด้วยวธิ ีการขยายหนอ่

2.2 การขยายพันธ์ุกล้วยด้วยวธิ กี ารผา่ หนอ่

2.3 การขยายพันธุ์กล้วยด้วยวธิ กี ารเพาะเลย้ี งเนื้อเยื่อ

2.4 การขยายพันธุ์กล้วยด้วยวิธีการปลกู กลับหัว

รายวิชาที่ 2 การปลกู กล้วยหอม 3 หนว่ ยกติ 120 ช่วั โมง
บทที่ 1 ความรเู้ บือ้ งต้นเก่ียวกับกลว้ ยหอม 20 ชม.
1.1 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์กลว้ ยหอม
1.2 สายพนั ธุก์ ลว้ ยหอม

1) กล้วยหอมจนั ท์

2) กล้วยหอมทอง
3) กล้วยหอมเขียว

4) กล้วยหอมคอ่ ม

5) กลว้ ยหอมแบรนด์เนม
1.3 คุณคา่ ทางโภชนาการของกล้วยหอม

1.4 สรรพคุณทางยาของกล้วยหอม

1.5 ขอ้ ควรระวงั ในการรบั ประทานกลว้ ยหอม

บทที่ 2 การปลกู กล้วยหอม 50 ชม.
2.1 การเตรียมวสั ดุอุปกรณ์สาหรับปลกู กล้วยหอม

2.2 การเตรียมพื้นท่ีและหลมุ ปลูกกลว้ ยหอม
2.3 วธิ กี ารปลกู กล้วยหอม

1) แบบพนื้ ท่ีราบ 2) แบบยกร่อง

15

2.4 การเก็บเกยี่ วกล้วยหอมและการปฏิบัตหิ ลงั การเก็บเกย่ี ว
2.5 เทคนคิ ปลกู กล้วยหอมให้ได้ผลดี
บทท่ี 3 การดูแลและบารงุ รกั ษากลว้ ยหอม 30 ชม.
3.1 การใส่ปุ๋ยกลว้ ยหอม
3.2 การใหน้ า้ กลว้ ยหอม
3.3 การตัดแตง่ หน่อกลว้ ยหอม
3.4 การตัดแต่งใบกลว้ ยหอม
3.5 การคา้ ยันกลว้ ยหอม
3.6 การหมุ้ เครือและตดั ใบธงกล้วยหอม
บทที่ 4 โรคและแมลงศตั รกู ล้วยหอม 20 ชม.
4.1 ลักษณะอาการของโรค การป้องกนั และกาจัดโรคของกลว้ ยหอม

1) โรคทเ่ี กดิ จากเช้ือรา
1.1 โรคตายพราย
1.2 โรคใบจดุ ดา โรคใบไหม้ โรคใบจุดกระ โรคใบจุดสนี า้ ตาลเทา

2) โรคทเี่ กิดจากเชอ้ื แบคทเี รีย
-โรคเห่ยี วของกล้วยหอม

3) โรคทเี่ กดิ จากเชื้อไวรสั
3.1 โรคยอดมว้ น
3.2 โรคใบดา่ ง

4.2 ลักษณะอาการ การแพรร่ ะบาด และการป้องกันกาจดั แมลงศตั รขู องกล้วยหอม
1) ด้วง : ด้วงงวงไชเหง้า ดว้ งงวงเจาะต้นหรือดว้ งงวงไชกาบกล้วย ดว้ งเตา่ แดง
2) หนอน : หนอนมว้ นใบ หนอนกระทู้ หนอนร่าน หนอนปลอก
3) เพลย้ี : เพลย้ี แป้ง เพล้ยี อ่อน เพล้ียหอย เพล้ียไฟ
4) แมลงอ่นื ๆ : ต๊กั แตนผี มวนรา่ งแห แมลงวนั ผลไม้ หรอื แมลงวันทอง
5) ขอ้ ควรระวงั ในการใช้ยาฆ่าแมลง

รายวชิ าที่ 3 การปลกู กล้วยน้าวา้ 3 หน่วยกิต 120 ชวั่ โมง
บทที่ 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เก่ยี วกับกล้วยนา้ หว้า 20 ชม.
1.1 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์กล้วยน้าหวา้
1.2 สายพันธุก์ ลว้ ยนา้ หวา้
1) กลว้ ยนา้ ว้ามะลิออ่ ง (หรือกล้วยน้าวา้ ขาว)
2) กล้วยน้าวา้ นวลจนั ทร์ (กล้วยน้าว้าเงนิ กลว้ ยน้าวา้ หนงั )
3) กลว้ ยน้าวา้ พนั ธ์ุค่อม
4) กล้วยน้าวา้ พันธ์ุดา
5) กลว้ ยน้าวา้ โชควเิ ชียร

16

6) กล้วยนา้ วา้ ทา่ ยาง

7) กล้วยนา้ ว้าพันธุย์ กั ษ์

8) กล้วยนา้ ว้าพันธ์ปุ ากช่อง 50 (กลว้ ยนา้ วา้ ไสเ้ หลืองอุบล)

1.3 การใช้ประโยชน์จากส่วนต่าง ๆ ของกล้วย : กล้วยน้าหว้าสุก กล้วยน้าหว้าดิบ ลาต้น

หรอื หยวกกลว้ ยอ่อน ปลกี ล้วย ใบกลว้ ยหรอื ใบตอง กาบกลว้ ย และก้านกลว้ ย

1.4 คณุ ค่าทางโภชนาการของกลว้ ยนา้ หว้า

1.5 สรรพคณุ ทางยาของกล้วยน้าหว้า

บทที่ 2 การปลูกกลว้ ยน้าว้า 50 ชม.
2.1 การเตรียมวัสดุอุปกรณ์สาหรับปลกู กล้วยนา้ ว้า

2.1 การเตรียมพื้นท่ีและหลมุ ปลูกกลว้ ยนา้ ว้า

2.3 วธิ ีการปลกู กลว้ ยนา้ หว้า

1) แบบพ้ืนท่รี าบ

2) แบบยกร่อง

2.4 การเก็บเกยี่ วกลว้ ยน้าว้าและการปฏบิ ัติหลังการเกบ็ เก่ียว

2.5 เทคนคิ ปลูกกลว้ ยนา้ วา้ ให้ไดผ้ ลดี

บทที่ 3 การดูแลและบารุงรกั ษากลว้ ยน้าหว้า 30 ชม.
3.1 การใสป่ ุ๋ยกลว้ ยน้าหวา้

3.2 การให้นา้ กล้วยนา้ หว้า

3.3 การตัดแตง่ หน่อกลว้ ยนา้ หวา้

3.4 การตัดแต่งใบกลว้ ยนา้ หว้า

3.5 การค้ายันกล้วยน้าหว้า

3.6 การคลุมถุงกล้วยนา้ หว้า

บทที่ 4 โรคและแมลงศัตรูกลว้ ยนา้ หวา้ 20 ชม.
4.1 ลกั ษณะอาการของโรค การป้องกันและกาจดั โรคของกล้วยน้าว้า

1) โรคทีเ่ กดิ จากเชอ้ื รา

1.1 โรคตายพราย

1.2 โรคใบจุดดา โรคใบไหม้ โรคใบจดุ กระ โรคใบจุดสนี า้ ตาลเทา

2) โรคทีเ่ กิดจากเชื้อแบคทเี รีย

-โรคเหยี่ วของกลว้ ยน้าว้า

3) โรคทเี่ กดิ จากเช้อื ไวรัส

3.1 โรคยอดม้วน

3.2 โรคใบด่าง

4) หลักการป้องกัน โรคของกล้วยนา้ ว้า ในสวนแบบงา่ ย

17

4.2 ลกั ษณะอาการ การแพรร่ ะบาด และการป้องกันกาจัดแมลงศตั รูกลว้ ยนา้ หวา้
1) ดว้ ง : ดว้ งงวงไชเหงา้ ดว้ งงวงเจาะต้นหรือด้วงงวงไชกาบกล้วย ดว้ งเตา่ แดง
2) หนอน : หนอนมว้ นใบ หนอนกระทู้ หนอนรา่ น หนอนปลอก
3) เพลีย้ : เพลย้ี แปง้ เพล้ียอ่อน เพลีย้ หอย เพลี้ยไฟ
4) แมลงอน่ื ๆ : ตั๊กแตนผี มวนร่างแห แมลงวนั ผลไม้ หรอื แมลงวันทอง
5) ข้อควรระวงั ในการใช้ยาฆา่ แมลง

รายวิชาที่ 4 การปลกู กล้วยไข่ 3 หนว่ ยกติ 120 ช่วั โมง ผลสุกกล้วยไข่
บทท่ี 1 ความรูเ้ บอ้ื งตน้ เก่ียวกับกล้วยไข่ 20 ชม.
1.1 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์กลว้ ยไข่
1.2 สายพนั ธก์ุ ล้วยไข่
1) กลว้ ยไข่สายพนั ธุ์กาแพงเพช
2) กลว้ ยไข่พระตะบอง
3) กล้วยไขเ่ กษตรศาสตร์ 2
4) กล้วยไข่ทองเงย
1.3 แหล่งปลูกกลว้ ยไข่ที่เหมาะสม
1) สภาพพื้นท่ี
2) ลกั ษณะดนิ
3) สภาพภูมิอากาศ
4) แหล่งนา้
1.4 ประโยชนข์ องกลว้ ยไข่
1.5 สรรพคุณจากส่วนต่าง ๆ ของกล้วยไข่ : ยางกล้วยไข่ ผลดิบกล้วยไข่

หัวปลีกลว้ ยไข่ ใบกล้วยไข่ รากกลว้ ยไข่ หยวกกล้วยไข่ เหงา้ กล้วยไข่
1.6 ขอ้ ควรระวังในการรบั ประทานกล้วยไข่

บทท่ี 2 การปลกู กล้วยไข่ 50 ชม.
2.1 การเตรียมวัสดอุ ุปกรณ์สาหรบั ปลกู กลว้ ยไข่
2.1 การเตรยี มพ้ืนที่และหลุมปลูกกลว้ ยไข่
2.3 วิธกี ารปลกู กลว้ ยไข่
1) แบบพน้ื ทร่ี าบ
2) แบบยกร่อง
2.4 การเก็บเกี่ยวกล้วยไข่และการปฏิบตั ิหลังการเกบ็ เก่ียว
2.5 เทคนิคปลูกกล้วยไข่ใหไ้ ด้ผลดี

18

บทที่ 3 การดแู ลและบารงุ รักษากล้วยไข่ 30 ชม.
3.1 การพรวนดนิ และการพนู โคนกล้วยไข่
3.2 การกาจัดวชั พืชกลว้ ยไข่
3.3 การใหป้ ุ๋ยกลว้ ยไข่
3.4 การให้นา้ กล้วยไข่
3.5 การแตง่ หนอ่ กลว้ ยไข่
3.6 การตัดแตง่ และการไว้ใบกลว้ ยไข่
3.7 การค้าเครือกลว้ ยไข่
3.8 การตดั ปลีกล้วยไข่
3.9 การคลุมถุงกล้วยไข่

เร่อื งที่ 4 โรคและแมลงศัตรูกล้วยไข่ 20 ชม.
4.1 ลกั ษณะอาการของโรค การปอ้ งกนั และกาจดั โรคของกลว้ ยไข่
1) โรคทีเ่ กิดจากเชื้อราของกล้วยไข่
1.1 โรคใบลาย
1.2 โรคผลตกกระ
1.3 โรคตายพราย
1.4 โรคใบจดุ ซกี าโตกาแบบจุดสเี หลือง (โรคใบกรอบ)และแบบขีดสดี า
2) โรคทเ่ี กดิ จากเชอ้ื แบคทเี รีย
-โรคโคนต้นเนา่
4.2 ลกั ษณะอาการ การแพรร่ ะบาด และการป้องกันกาจดั แมลงศตั รูกลว้ ยไข่ -
1) ด้วงงวงเจาะเหง้ากลว้ ยหรอื ดว้ งงวงไชเหงา้
2) ด้วงงวงเจาะต้นกล้วยหรอื ด้วงงวงเจาะลาตน้ หรอื ด้วงงวงกลว้ ย
3) เพลย้ี ไฟดอกไม้ฮาวาย
4) ด้วงกดั กนิ ใบและผลกล้วย
5) หนอนกระท้ผู ัก
6) หนอนม้วนใบกล้วย

รายวิชาท่ี 5 การปลูกกลว้ ยจาหนา่ ยใบ 2 หนว่ ยกิต 80 ชัว่ โมง
บทที่ 1 ความร้ทู ่วั ไปเกี่ยวกับการปลกู กล้วยเพื่อจาหนา่ ยใบ 20 ชม.
1.1 สายพันธก์ุ ล้วยท่ีนิยมปลกู เพอ่ื จาหน่ายใบ
1) กลว้ ยตานปี า่
2) กลว้ ยตานีหนิ
3) กลว้ ยตานีหมอ้

19

1.2 คุณสมบัติโดดเด่นของใบกลว้ ยตานี

1.3 ลกั ษณะใบตองกล้วยตานีที่มคี ณุ ภาพ และตลาดต้องการ (เกรด A)

1.4 ช่วงเวลาที่หมาะสมในการตดั ใบตองเพือ่ จาหน่าย

บทที่ 2 การปลกู กลว้ ยตานีเพือ่ จาหน่ายใบ 40 ชม.
2.1 ลกั ษณะทว่ั ไปของกล้วยตานี

2.2 การใช้ประโยชน์จากกล้วยตานี : ใบใช้ทางานฝีมือ ปลีใช้ปรุงอาหาร (เป็นปลีที่อร่อยกว่า

กลว้ ยใด ๆ) เหง้าใชท้ าแกงคัว่ ได้ ผลออ่ นใชท้ าสม้ ตา ผลแกใ่ ช้นามาทาน้าสม้

2.3 สรรพคณุ ทางยาและประโยชนข์ องกล้วยตานี

2.4 แหล่งปลูกกลว้ ยตานที ีเ่ หมาะสม

1) สภาพพื้นท่ี

2) ลกั ษณะดิน

3) สภาพแวดลอ้ ม

4) แหล่งนา้

2.5 การเตรียมวสั ดุอปุ กรณส์ าหรบั ปลูกกลว้ ยตานีเพื่อจาหนา่ ยใบ

2.6 การเตรียมพืน้ ที่และหลุมปลูกกลว้ ยตานีเพ่อื จาหนา่ ยใบ

2.7 วธิ ีการปลกู กล้วยตานีเพื่อจาหน่ายใบ

1) แบบพื้นที่ราบ

2) แบบยกร่อง

2.8 การเก็บเกี่ยวใบกลว้ ยตานี

2.9 เทคนิคการตดั ใบตองกล้วยตานีให้มีคุณภาพ

บทที่ 3 การดูแลและบารุงรักษากลว้ ยตานีเพ่อื จาหนา่ ยใบ 20 ชม.
3.1 การดแู ลและบารงุ รักษากล้วยตานี

1) การจดั การหน่อกล้วยตานีเพ่ือการผลิตใบตอง

2) การให้ปุ๋ย

3) การให้นา้

3.2 การป้องกนั กาจัดโรคและแมลงศตั รูกลว้ ยตานี

1) โรคตายพราย

2) ด้วงงวงเจาะลาต้น

รายวิชาที่ 6 การแปรรปู กลว้ ย 3 หน่วยกิต 120 ช่ัวโมง
บทท่ี 1 การทากล้วยฉาบ 20 ชม.
1.1 วัสดุอปุ กรณใ์ นการทากล้วยฉาบ : กล้วยนา้ หวา้ กระทะ ตะแกรงลวด กะละมงั ที่ไสกล้วย

เครอ่ื งชงั่ ถงั น้าหรือโอ่งนา้ ตะหลิว ทพั พี มีด ถาด เตา นา้ มดี คู่ กระชอน ถ้วยตวง นา้ ตาลทราย เนย

20

1.2 วธิ ีการทากลว้ ยฉาบรสตา่ ง ๆ
1) วิธีการทากลว้ ยฉาบรสหวาน
2) วธิ ีการทากลว้ ยฉาบรสเค็ม

1.3 การบรรจภุ ัณฑแ์ ละการเกบ็ รักษากลว้ ยฉาบ
1.4 เคล็ดลับการทากล้วยฉาบ

เรอ่ื งที่ 2 การทากล้วยอบเนย 20 ชม.
2.1 วัสดุอุปกรณ์ในการทากล้วยอบเนย : กล้วยน้าหว้าดิบ เนย น้าตาลป๊ีบ น้ามัน กระทะใบบัว

ตะแกรงลวด กะละมัง ที่ไสกล้วย เครื่องช่ัง ถังน้าหรือโอ่งน้า ตะหลิว ทัพพี มีด กระด้ง เตา ถุงพลาสติก
ขนาดใหญ่ (สาหรบั อบกลว้ ย) ขนาดเล็ก (สาหรับบรรจขุ าย)

2.2 วธิ กี ารทากลว้ ยอบเนย
2.3 การบรรจภุ ัณฑแ์ ละการเก็บรกั ษากลว้ ยอบเนย

2.4 ข้อแนะนาในการทากลว้ ยอบเนย

บทท่ี 3 การทากล้วยเบรกแตก 20 ชม.
3.1 วสั ดอุ ปุ กรณ์ในการทากล้วยเบรกแตก : กล้วยนา้ วา้ แก่จดั น้ามนั ปาล์ม มีด 2 คม กระทะ.

ตระแกรงสาหรบั ตกั ถาดหรอื ภาชนะ พรอ้ มกระดาษซบั มัน

3.2 วิธกี ารทากลว้ ยเบรกแตก

3.3 การบรรจุภณั ฑ์และการเก็บรกั ษากล้วยเบรกแตก

3.4 เคลด็ ลบั ความอร่อยในการทากล้วยเบรกแตก

บทท่ี 4 การทากล้วยตากอบน้าผ้งึ 30 ชม.
4.1 วสั ดอุ ุปกรณใ์ นการทากล้วยตากอบน้าผ้งึ : กลว้ ยน้าหวา้ สุก เกลือปน่ นา้ ผึง้ แท้ น้าสะอาด

ผา้ ยาง แผงไม้ไผ่ นา้ ผึ้ง

4.2 วธิ กี ารทากลว้ ยตากอบน้าผงึ้

4.3 การบรรจุภณั ฑ์และการเกบ็ รักษากลว้ ยตากอบนา้ ผงึ้

4.4 เคล็ดลบั การทากล้วยตากอบน้าผึง้

บทที่ 5 การทาไวนก์ ล้วยนา้ หวา้ 30 ชม.

5.1 วสั ดอุ ุปกรณ์ในการทาไวน์กล้วยนา้ หว้า : กลว้ ยนา้ หว้า นา้ แร่ น้าตาลทราย อบเชยป่น

มะขามเปยี ก ยีสแห้ง ถังหมักไวน์ ผ้าขาวบาง กาลักน้า ขวดบรรจุไวน์

5.2 วิธีการทาไวน์กลว้ ยนา้ หวา้

5.3 การบรรจภุ ณั ฑแ์ ละการเกบ็ รักษาไวนก์ ลว้ ยนา้ หวา้

รายวชิ าที่ 7 การคา้ ออนไลน์ 3 หนว่ ยกิต 120 ชัว่ โมง

บทท่ี 1 ความรเู้ บื้องต้นเกยี่ วกบั การค้าออนไลน์ 30 ชม.
1.1 ความหมายของการขายออนไลน์

21

1.2. ความสาคัญของการขายออนไลน์
1.3 ลกั ษณะของการขายออนไลน์
1.4 ชอ่ งทางการขายออนไลน์

บทที่ 2 กระบวนการและรูปแบบการคา้ ออนไลน์ 20 ชม.
2.1 วธิ กี ารขายสนิ ค้าออนไลน์
2.2 รปู แบบการขายออนไลน์
2.3 กระบวนการขายออนไลน์

บทท่ี 3 เป้าหมายและแนวโนม้ การค้าออนไลน์ 20 ชม.
3.1 ข้อมลู ลูกค้าเป้าหมาย
3.2. แนวโนม้ การขายออนไลน์

บทท่ี 4 เทคโนโลยีสารสนเทศการส่ือสารการคา้ ออนไลน์ 30 ชม.
4.1 รูปแบบการบริการอินเตอรเ์ น็ต
4.2 การสอื่ สารการขายออนไลน์
4.3 การเปดิ ร้านคา้ ออนไลน์บนเวบ็ ไซต์

บทที่ 5 กฎหมายและจรรยาบรรณการคา้ ออนไลน์ 20 ชม.
5.1 กฎหมายทีเ่ กีย่ วกบั การทาธุรกรรมอิเลก็ ทรอนิกส์
5.2 จรรยาบรรณการคา้ ขายออนไลน์

รายวิชาท่ี 8 การขายและการตลาด 3 หน่วยกิต 120 ชั่วโมง
บทท่ี 1 หลักการตลาด 20 ชม.
1.1 หลักการและความสาคัญของการตลาด
1.2 ประเภทของการตลาด
1.3 ระบบขอ้ มูลและการวิเคราะหข์ ้อมูลทางการตลาด
1.4 พฤติกรรมผู้บริโภค
บทท่ี 2 หลกั การขายเบ้ืองต้น 20 ชม.
2.1 หลกั การขายเบื้องต้น
2.2 ประเภทและลักษณะของการขาย
2.3 การจัดองค์กร

บทท่ี 3 การขาย 20 ชม.
3.1 เจตคตแิ ละประเภทของนักขาย
3.2 คุณสมบตั ิ จรรยาบรรณ ของการเป็นนักขายทดี่ ี

บทท่ี 4 เทคนิคการขาย 20 ชม.
4.1 เทคนคิ การขาย
4.2 ศิลปะการขาย

22

บทที่ 5 การส่งเสริมการขายและการโฆษณา 20 ชม.
5.1 การสง่ เสรมิ การขาย
5.2 การโฆษณาและการประชาสมั พันธ์

บทท่ี 6 การผลิตและการกาหนดราคา 20 ชม.
6.1 ความร้เู บือ้ งต้นเกย่ี วกบั การผลติ
6.2 การกาหนดราคาและกลยทุ ธส์ ่วนผสมผลติ ภณั ฑ์
6.3 สญั ลักษณ์มาตรฐาน (รหัสแทง่ ) หรอื บาร์โค้ด (barcode)

รายวิชาที่ 9 วิสาหกจิ ชุมชน 3 หนว่ ยกติ 120 ชั่วโมง
บทท่ี 1 ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกับวสิ าหกิจชุมชน 30 ชม.
1.1 ความหมายของวสิ าหกจิ ชุมชน
1.2 ลักษณะของวสิ าหกจิ ชมุ ชน
1.3 ประเภทของวิสาหกจิ ชมุ ชน
1.4 องคป์ ระกอบของวิสาหกิจชมุ ชน
1.5 รูปแบบการดาเนินงานวิสาหกจิ ชุมชน
1.6 ระดับวิสาหกจิ ชุมชน
1.7 ประโยชนข์ องวิสาหกิจชุมชน
1.8 ความพร้อมของชุมชนเพ่ือการทาวิสาหกจิ ชมุ ชน
บทที่ 2 วสิ าหกจิ ชมุ ชนกับมาตรฐานท่ีเกีย่ วข้อง 30 ชม.
2.1 มาตรฐานระบบการจัดการวิสาหกจิ ชุมชน
2.2 มาตรฐานผลติ ภัณฑช์ มุ ชน
บทที่ 3 ข้อจากดั ของวิสาหกจิ ชุมชน 20 ชม.
บทท่ี 4 บทบัญญตั ิแหง่ รัฐกบั วิสาหกิจชุมชน 20 ชม.
บทที่ 5 รู้เท่าทันวิสาหกจิ ชุมชนในประเทศไทย 20 ช่ัวโมง

รายวชิ าที่ 10 โครงงานการแปรรูปกลว้ ยเพอ่ื การจาหน่าย 3 หนว่ ยกิต 120 ชั่วโมง

บทท่ี 1 หลกั การ แนวคดิ ความหมายของโครงงานและการเรียนรู้แบบโครงงาน 5 ชม.
1.1 หลกั การของโครงงาน
1.2 แนวคดิ ของโครงงาน
1.3 ความหมายของโครงงาน
1.4 ความหมายของการเรียนรู้แบบโครงงาน

บทที่ 2 ประเภท องคป์ ระกอบและประโยชน์ของโครงงาน 25 ชม.
2.1 ประเภทของโครงงาน

23

2.1.1 จาแนกตามกิจกรรมการเรียนรู้ของผเู้ รียน
1) โครงงานตามสาระการเรยี นรู้
2) โครงงานตามความสนใจ

2.1.2 จาแนกตามวัตถุประสงค์ของโครงงาน
1) โครงงานทเี่ ปน็ การสารวจรวบรวมข้อมลู
2) โครงงานที่เปน็ การศึกษาค้นคว้าทดลอง
3) โครงงานท่ีเป็นการศึกษาทฤษฎหี ลกั การหรือแนวคดิ ใหม่ๆ ในการพัฒนาผลงาน
4) โครงงานทีเ่ ป็นการสรา้ งประดิษฐ์คิดค้น

2.2 องคป์ ระกอบของโครงงาน
2.3 ประโยชนข์ องโครงงาน
บทที่ 3 ทกั ษะท่จี าเป็นในการทาโครงงาน 30 ชม.
3.1 ทักษะดา้ นการจัดการข้อมลู สารสนเทศ
3.2 ทกั ษะการคิดอย่างมรี ะบบ
3.3 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3.4 ทักษะการนาเสนอ
3.5 ทักษะการพัฒนาต่อยอดความรู้
บทท่ี 4 กระบวนการทาโครงงานการแปรรูปกลว้ ยเพื่อการจาหน่าย 40 ชม.
4.1 การเลือกเร่ืองหรือหัวขอ้ ทาโครงงาน
4.2 ขัน้ ตอนการเรยี นรูก้ ารทาโครงงาน

1) การเขยี นเอกสารโครงงานเพื่อขออนุมตั ิทาโครงงาน
2) การปฏิบัตกิ ารทาโครงงาน
3) การเขยี นรายงานผลการทาโครงงาน
4) การนาเสนอโครงงาน
บทท่ี 5 การสะทอ้ นความคิดเห็นและการประเมินผลโครงงานการแปรรปู กลว้ ยเพื่อการจาหนา่ ย
20 ชม.
5.1 แนวคิดเรอื่ งการสะท้อนความคดิ เห็น
5.2 ความสาคญั ของการสะท้อนความคดิ เหน็
5.3 การประเมนิ ผลโครงงานและการพฒั นาโครงงาน

24

บทท่ี 3

คาอธิบายรายวิชา รายละเอียดคาอธิบายรายวิชา และการวัดผลประเมินผล
....................................................

คาอธบิ ายรายวชิ า

รหสั รายวชิ า…….....……………….รายวิชา เทคโนโลยกี ารปลกู กล้วย สาระการประกอบอาชีพ
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน 2 หน่วยกิต 80 ชัว่ โมง

มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ

1. มีความรู้ ความเข้าใจ และเจตคติท่ีดีในงาน อาชีพ วิเคราะห์ลักษณะงาน ขอบข่ายงานอาชีพ
ในชุมชน สังคม ประเทศ ที่เหมาะสมกับศักยภาพ 5 ด้าน ได้แก่ ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละ
พื้นท่ี ศักยภาพของพ้ืนท่ีตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศและทาเลที่ตั้งของแต่ละพื้นที่
ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตของแต่ละพื้นท่ี ศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละ
พืน้ ทแี่ ละสอดคลอ้ งกับชุมชนเพ่ือการขยายอาชีพ

2. มีความรู้ ความเข้าใจทักษะในการขยายอาชีพเพ่ือสร้างความม่ันคงบนพ้ืนฐานความรู้ กระบวน
การผลิต กระบวนการตลาด ท่ีใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีที่เหมาะสม มีความหลากหลายทางชีวภาพ พัฒนา
ต่อยอดและประยุกต์ใชภ้ ูมปิ ัญญา

ศึกษาและฝึกทักษะเกีย่ วกับเร่ืองตอ่ ไปนี้

เทคโนโลยีกบั การเกษตร ความหมายของเทคโนโลยี เทคโนโลยีทนี่ ามาใช้เพ่ือการเกษตร เทคโนโลยี
การปลกู กล้วย

การใชเ้ ทคโนโลยีในการขยายพนั ธก์ุ ลว้ ย การขยายพันธ์ุกล้วยด้วยวิธกี ารขยายหน่อ การขยาย
พันธ์ุกล้วยด้วยวิธกี ารผ่าหน่อ การขยายพันธ์ุกล้วยด้วยวธิ ีการเพาะเลย้ี งเนอ้ื เยื่อ การขยายพันธุ์กล้วย
ด้วยวิธกี ารปลูกกลับหัว

การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้

1. วางแผนการเรยี นรู้
2. เรยี นรู้ด้วยตนเอง โดยการศกึ ษา คน้ ควา้ จากเอกสาร หนังสือและสื่ออื่น ๆ เช่น วีดีโอ อินเตอร์เน็ต

ยูทูป ส่ือสิ่งพมิ พ์ เปน็ ต้น
3. ศึกษาประสบการณ์และดูงานการใช้เทคโนโลยีในการขยายพันธุ์กล้วยรวมท้ังเชิญผู้ประสบ

ความสาเรจ็ ในการใชเ้ ทคโนโลยีในการขยายพันธก์ุ ล้วย มาบรรยาย แลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกนั
4. จัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยการพบกลุ่ม เรียนรู้ด้วยตนเองและจัดประสบการณ์ตรงโดยใช้

สถานการณ์จริงและฝกึ ปฏบิ ัตจิ ริง

25

5. พบกลมุ่ ฝึกปฏิบตั ิจริงในการใชเ้ ทคโนโลยีในการขยายพันธุ์กล้วย
6. รวมกลุ่มสรุปเป็นองค์ความรู้ทไ่ี ด้จากการศึกษาเรียนรู้

การวัดและประเมินผล

1. การทดสอบ การสอบถาม การรายงาน การฝึกปฏิบัติจริง การแสดงความคิดเห็น การมีส่วนร่วม
ในกระบวนการเรียนรู้ การให้ความร่วมมือในกลุ่มปฏิบัติการ โดยใช้วิธีการประเมินแบบมีส่วนร่วมระหว่างครู
ผ้เู รยี น

2. การวัดผลทักษะปฏิบัติจากสภาพจริงของผู้เรียนในการฝึกปฏิบัติการใช้เทคโนโลยีในการขยาย
พนั ธ์กุ ล้วย

26

รายละเอียดคาอธิบายรายวิชา

รหัสรายวชิ า…….....……………….รายวิชา เทคโนโลยกี ารปลกู กล้วย สาระการประกอบอาชพี

ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 2 หนว่ ยกติ 80 ชัว่ โมง

มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ

1. มีความรู้ ความเข้าใจ และเจตคติท่ีดีในงาน อาชีพ วิเคราะห์ลักษณะงาน ขอบข่ายงานอาชีพ
ในชุมชน สังคม ประเทศ ท่ีเหมาะสมกับศักยภาพ 5 ด้าน ได้แก่ ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละ
พ้ืนที่ ศักยภาพของพื้นท่ีตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศและทาเลที่ตั้งของแต่ละพ้ืนท่ี
ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตของแต่ละพ้ืนที่ ศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละ
พ้นื ทแี่ ละสอดคล้องกับชุมชนเพ่อื การขยายอาชีพ

2. มีความรู้ ความเข้าใจทักษะในการขยายอาชีพเพื่อสร้างความมั่นคงบนพื้นฐานความรู้
กระบวน การผลติ กระบวนการตลาด ท่ีใชน้ วัตกรรม เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม มีความหลากหลายทางชีวภาพ
พฒั นา ต่อยอดและประยุกตใ์ ชภ้ ูมิปัญญา

ที่ หวั เร่ือง ตวั ชว้ี ดั เน้อื หา จานวน
ชว่ั โมง
1 เทคโนโลยีกับการเกษตร 1. บอกความหมายของ 1. ความหมายของเทคโนโลยี
30

เทคโนโลยี

2. อธบิ ายเกย่ี วกับเทคโนโลยี 2. เทคโนโลยที ีน่ ามาใช้เพ่ือ

ที่นามาใช้เพ่ือการเกษตร การเกษตร

2.1 ความหมายและประเภทของ

เทคโนโลยกี ารเกษตร

2.2 เทคโนโลยที ี่นามาใชเ้ พื่อทา

การเกษตร

3. อธบิ ายเกย่ี วกับเทคโนโลยี 3. เทคโนโลยกี ารปลกู กล้วย

การปลกู กล้วย

2 การใช้เทคโนโลยใี นการ 1. อธิบายวธิ ีการขยาย 1. การขยายพันธุ์กล้วยด้วย 50

ขยายพันธ์ุกล้วย พันธุ์กล้วยด้วยวิธีการ วิธีการขยายหนอ่

ขยายหน่อ

2. อธบิ ายวิธีการขยาย 2. การขยายพันธ์ุกล้วยด้วย

พันธ์ุกล้วยด้วยวธิ ีการผา่ หน่อ วิธีการผา่ หน่อ

3. อธิบายวธิ ีการขยาย 3. การขยายพันธ์ุกล้วยด้วย

พันธ์ุกล้วยด้วยวธิ กี าร วธิ ีการเพาะเลย้ี งเนื้อเยื่อ

เพาะเล้ียงเน้อื เย่ือ

4. อธบิ ายวธิ ีการขยาย 4. การขยายพันธ์ุกล้วยด้วย

ที่ หวั เรื่อง ตัวช้วี ดั เนอ้ื หา 27

จานวน
ชั่วโมง

พันธ์ุกล้วยด้วยวธิ กี าร วธิ กี ารปลูกกลบั หวั
ปลูกกลับหวั

http://waranyachingtamai.blogspot.com/p/blog-page_47.html

การวดั ผลประเมนิ ผลและสัดส่วนคะแนน

รหัสรายวิชา…….....……………….รายวชิ า เทคโนโลยกี ารปลูกกล้วย สาระการประกอบอาชพี

28

ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน 2 หนว่ ยกติ 80 ชว่ั โมง

มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ

1. มีความรู้ ความเข้าใจ และเจตคติท่ีดีในงาน อาชีพ วิเคราะห์ลักษณะงาน ขอบข่ายงานอาชีพ
ในชุมชน สังคม ประเทศ ท่ีเหมาะสมกับศักยภาพ 5 ด้าน ได้แก่ ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละ
พ้ืนท่ี ศักยภาพของพ้ืนท่ีตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศและทาเลท่ีต้ังของแต่ละพื้นที่
ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตของแต่ละพื้นท่ี ศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละ
พ้นื ทแี่ ละสอดคล้องกับชมุ ชนเพอื่ การขยายอาชีพ

2. มีความรู้ ความเข้าใจทักษะในการขยายอาชีพเพ่ือสร้างความมั่นคงบนพ้ืนฐานความรู้ กระบวน
การผลิต กระบวนการตลาด ที่ใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีที่เหมาะสม มีความหลากหลายทางชีวภาพ พัฒนา
ตอ่ ยอดและประยกุ ต์ใช้ภมู ปิ ัญญา

ที่ หัวเรื่อง ตัวชวี้ ัด เนอ้ื หา จานวน วิธกี ารประเมนิ และ
1. บอกความหมาย
1 เทคโนโลยกี บั ของเทคโนโลยี (ชว่ั โมง) สดั สว่ นคะแนน
การเกษตร 2. อธบิ ายเกีย่ วกับ
เทคโนโลยที ีน่ ามาใช้ 1. ความหมายของ 30 การทดสอบ
เพ่อื การเกษตร
เทคโนโลยี การสอบถาม
3. อธบิ ายเก่ียวกับ
เทคโนโลยกี ารปลกู 2. เทคโนโลยีทีน่ ามาใช้ การรายงาน
กลว้ ย
เพ่อื การเกษตร และการแสดงความ

2.1 ความหมายและ คดิ เห็น 30 %

ประเภทของ

เทคโนโลยีการเกษตร

2.2 เทคโนโลยีท่ีนามา

ใชเ้ พ่อื ทาการเกษตร

3. เทคโนโลยกี ารปลูก

กลว้ ย

ท่ี หวั เร่ือง ตวั ช้วี ดั เนื้อหา จานวน วิธกี ารประเมินและ
(ชั่วโมง) สัดส่วนคะแนน
2 การใชเ้ ทคโนโลยีใน 1. อธิบายวธิ ีการ 1. การขยายพันธุ์
การขยายพันธก์ุ ล้วย ขยายพันธุ์กล้วย กล้วยด้วยวิธีการ 50 การทดสอบ

การสอบถาม

ด้วยวธิ กี ารขยายหน่อ ขยายหน่อ 29

2. อธบิ ายวธิ ีการ 2. การขยายพันธ์ุ การรายงาน
การฝกึ ปฏบิ ตั ิจริง
ขยายพันธ์ุกล้วย กล้วยด้วยวิธกี ารผา่ และการแสดงความ
คดิ เหน็ 70 %
ด้วยวธิ กี ารผา่ หน่อ หนอ่

3. อธิบายวธิ ีการ 3. การขยายพันธ์ุ

ขยายพันธุ์กล้วย กล้วยด้วยวิธกี าร

ด้วยวิธีการเพาะ เพาะเล้ียงเนอื้ เยื่อ

เล้ียงเนื้อเยอื่

4. อธิบายวิธีการ 4. การขยายพันธ์ุ

ขยายพันธุ์กล้วย กล้วยด้วยวิธีการ

ด้วยวธิ กี าร ปลูกกลบั หวั

ปลกู กลบั หัว

คาอธิบายรายวิชา

รหสั รายวิชา…….....……………….รายวชิ า การปลกู กล้วยหอม สาระการประกอบอาชีพ

ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน 3 หน่วยกติ 120 ชั่วโมง

30

มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ

1. มีความรู้ ความเข้าใจ และเจตคติที่ดีในงาน อาชีพ วิเคราะห์ลักษณะงาน ขอบข่ายงานอาชีพ
ในชุมชน สังคม ประเทศ ที่เหมาะสมกับศักยภาพ 5 ด้าน ได้แก่ ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละ
พื้นที่ ศักยภาพของพื้นท่ีตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศและทาเลที่ตั้งของแต่ละพื้นที่
ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตของแต่ละพื้นที่ ศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละ
พ้นื ทแ่ี ละสอดคล้องกบั ชมุ ชนเพ่อื การขยายอาชีพ

2. มีความรู้ ความเข้าใจทักษะในการขยายอาชีพเพื่อสร้างความมั่นคงบนพ้ืนฐานความรู้ กระบวน
การผลิต กระบวนการตลาด ท่ีใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม มีความหลากหลายทางชีวภาพ พัฒนา
ตอ่ ยอดและประยกุ ต์ใช้ภมู ปิ ัญญา

ศึกษาและฝึกทักษะเก่ียวกบั เรอื่ งตอ่ ไปน้ี

ความรูเ้ บื้องต้นเกี่ยวกบั กล้วยหอม ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์กล้วยหอม สายพนั ธุก์ ลว้ ยหอม
กล้วยหอมจันท์ กล้วยหอมทอง กลว้ ยหอมเขียว กลว้ ยหอมคอ่ ม กล้วยหอมแกรนด์เนน คุณค่าทางโภชนาการ
ของกลว้ ยหอม สรรพคณุ ทางยาของกลว้ ยหอม ข้อควรระวงั ในการรับประทานกลว้ ยหอม

การปลูกกล้วยหอม การเตรียมวัสดุอุปกรณ์สาหรับปลูกกล้วยหอม การเตรียมพื้นท่ีและหลุมปลูก
กล้วยหอม วิธกี ารปลกู กล้วยหอม แบบพ้ืนทรี่ าบ แบบยกร่อง การเก็บเกี่ยวกลว้ ยหอมและการปฏิบัติหลังการ
เกบ็ เก่ียว เทคนคิ ปลูกกลว้ ยหอมใหไ้ ดผ้ ลดี

การดูแลและบารุงรักษากล้วยหอม การใส่ปุ๋ยกล้วยหอม การให้น้า กล้วยหอม การตัดแต่งหน่อ
กล้วยหอม การตัดแตง่ ใบกลว้ ยหอม การค้ายนั กล้วยหอม การหุ้มเครือและตัดใบธงกล้วยหอม

โรคและแมลงศตั รูกล้วยหอม ลักษณะอาการของโรค การปอ้ งกนั และกาจดั โรคของกล้วยหอม
โรคท่เี กดิ จากเชอ้ื รา โรคตายพราย โรคใบจดุ ดา โรคใบไหม้ โรคใบจดุ กระ โรคใบจุดสีน้าตาลเทา
โรคทเี่ กดิ จากเชื้อแบคทเี รีย โรคเหย่ี วของกล้วยหอม
โรคทเี่ กดิ จากเชื้อไวรสั โรคยอดมว้ น โรคใบด่าง
ลักษณะอาการ การแพรร่ ะบาด และการป้องกันกาจดั แมลงศัตรขู องกล้วยหอม
ดว้ ง : ดว้ งงวงไชเหง้า ดว้ งงวงเจาะตน้ หรือด้วงงวงไชกาบกลว้ ย ด้วงเต่าแดง
หนอน : หนอนม้วนใบ หนอนกระทู้ หนอนรา่ น หนอนปลอก
เพลี้ย : เพล้ียแป้ง เพล้ยี อ่อน เพลยี้ หอย เพล้ยี ไฟ
แมลงอื่น ๆ : ต๊ักแตนผี มวนร่างแห แมลงวันผลไม้ หรือ แมลงวันทอง
ข้อควรระวังในการใชย้ าฆ่าแมลง

การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้

1. วางแผนการเรยี นรู้
2. เรียนรู้ด้วยตนเอง โดยการศึกษา ค้นคว้าจากเอกสาร หนังสือและส่ืออ่ืน ๆ เช่น วีดีโอ ยูทูป

อินเตอร์เนต็ สือ่ สงิ่ พิมพ์ เป็นต้น

31

3. ศึกษาประสบการณแ์ ละดูงานด้านการปลูกกล้วยหอม รวมท้ังเชิญผู้รู้ ภูมิปัญญาและผู้ประกอบการ
มาบรรยาย และแลกเปลยี่ นประสบการณร์ ่วมกัน

4. จัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยการพบกลุ่ม เรียนรู้ด้วยตนเองและจัดประสบการณ์ตรงโดยใช้
สถานการณจ์ ริงและฝกึ ปฏบิ ตั จิ ริง

5. ทดลองฝึกปฏบิ ัตจิ ริงในการปลูกกลว้ ยหอม
6. พบกลุ่มอภิปรายปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไขที่พบจากการทดลองฝึกปฏิบัติจริงในการปลูก
กลว้ ยหอม และสรปุ เป็นองค์ความรู้และจดบันทกึ

การวดั และประเมินผล

1. การทดสอบ การสอบถาม การรายงาน การฝึกปฏิบัติจริง การแสดงความคิดเห็น การมีส่วนร่วม
ในกระบวนการเรียนรู้ การให้ความร่วมมือในกลุ่มปฏิบัติการ โดยใช้วิธีการประเมินแบบมีส่วนร่วมระหว่างครู
ผเู้ รียน

2. การวัดผลทกั ษะปฏบิ ตั ิจากสภาพจรงิ ของผเู้ รยี นเกี่ยวกับการฝกึ ปฏบิ ตั ิจรงิ ในการปลูกกลว้ ยหอม

รายละเอียดคาอธบิ ายรายวิชา

รหัสรายวชิ า…….....……………….รายวชิ า การปลกู กล้วยหอม สาระการประกอบอาชีพ
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน 3 หน่วยกิต 120 ช่ัวโมง

32

มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ

1. มีความรู้ ความเข้าใจ และเจตคติท่ีดีในงาน อาชีพ วิเคราะห์ลักษณะงาน ขอบข่ายงานอาชีพ
ในชุมชน สังคม ประเทศ ที่เหมาะสมกับศักยภาพ 5 ด้าน ได้แก่ ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละ
พ้ืนท่ี ศักยภาพของพื้นที่ตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศและทาเลท่ีตั้งของแต่ละพ้ืนท่ี
ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตของแต่ละพื้นท่ี ศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละ
พน้ื ทแ่ี ละสอดคลอ้ งกับชุมชนเพื่อการขยายอาชีพ

2. มีความรู้ ความเข้าใจทักษะในการขยายอาชีพเพื่อสร้างความมั่นคงบนพ้ืนฐานความรู้ กระบวน
การผลิต กระบวนการตลาด ท่ีใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม มีความหลากหลายทางชีวภาพ พัฒนา
ตอ่ ยอดและประยกุ ต์ใชภ้ มู ปิ ัญญา

ที่ หวั เร่อื ง ตัวชวี้ ัด เน้อื หา จานวน
ชว่ั โมง
1 ความรูเ้ บอื้ งต้นเก่ยี วกบั 1. อธิบายลกั ษณะทาง 1. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
กลว้ ยหอม 20

พฤกษศาสตร์กล้วยหอม กล้วยหอม

2. จาแนกสายพนั ธุ์กล้วยหอม 2. สายพนั ธุก์ ล้วยหอม

2.1 กล้วยหอมจนั ท์

2.2 กล้วยหอมทอง

2.3 กลว้ ยหอมเขียว

2.4 กลว้ ยหอมคอ่ ม

2.5 กล้วยหอมแกรนด์เนน

3. อธบิ ายคุณค่าทางโภชนาการ 3. คณุ คา่ ทางโภชนาการของ

ของกลว้ ยหอม กลว้ ยหอม

4. อธบิ ายสรรพคุณทางยาของ 4. สรรพคณุ ทางยาของ

กล้วยหอม กล้วยหอม

5. อธบิ ายขอ้ ควรระวังในการ 5. ข้อควรระวงั ในการ

รบั ประทานกลว้ ยหอม รับประทานกลว้ ยหอม

2 การปลูกกล้วยหอม 1. เตรยี มวัสดุอุปกรณ์สาหรบั 1. การเตรยี มวสั ดุอปุ กรณ์ 50
ปลกู กล้วยหอม สาหรับปลูกกล้วยหอม
2. เตรียมพ้นื ทแ่ี ละหลมุ ปลกู 2. การเตรียมพ้นื ทแี่ ละหลุม
กลว้ ยหอม ปลูกกล้วยหอม
3. ปลกู กล้วยหอม 3. วธิ ีการปลกู กลว้ ยหอม

3.1 แบบพืน้ ทรี่ าบ 3.1 แบบพืน้ ทร่ี าบ
3.2 แบบยกร่อง 3.2 แบบยกร่อง
4. อธบิ ายวิธีการเก็บเก่ียว 4. การเกบ็ เกี่ยวกลว้ ยหอมและ

33

ที่ หัวเร่อื ง ตัวชีว้ ัด เนอื้ หา จานวน
ชั่วโมง

กล้วยหอมและการปฏิบัติ การปฏิบัติหลงั การเก็บเกีย่ ว

หลงั การเกบ็ เก่ยี ว

5. อธบิ ายเทคนิคปลูกกลว้ ย 5. เทคนคิ ปลกู กล้วยหอม

หอมให้ได้ผลดี ใหไ้ ดผ้ ลดีปลูกกล้วยหอม

3 การดูแลและบารุงรกั ษา ดแู ลและบารุงรักษากล้วยหอม 1. การใสป่ ุย๋ กลว้ ยหอม 30

กลว้ ยหอม โดยการใส่ปุย๋ ใหน้ ้า ตัดแต่งหน่อ 2. การให้น้า กล้วยหอม

ตดั แตง่ ใบ ค้ายัน หุม้ เครอื และ 3. การตัดแต่งหน่อกล้วยหอม

ตดั ใบธง 4. การตัดแต่งใบกล้วยหอม

5. การคา้ ยันกลว้ ยหอม

6. การหมุ้ เครอื และตัดใบธง

กล้วยหอม

4 โรคและแมลงศัตรู 1. อธิบายลกั ษณะอาการของโรค 1. ลกั ษณะอาการของโรค 20

กลว้ ยหอม การปอ้ งกันและกาจัดโรค การปอ้ งกันและกาจดั โรคของ

ของกล้วยหอม กลว้ ยหอม

1.1 โรคทเี่ กิดจากเชือ้ รา

1) โรคตายพราย

2) โรคใบจุดดา โรคใบไหม้

โรคใบจดุ กระ โรคใบจดุ

สีน้าตาลเทา

1.2 โรคท่เี กดิ จากเชือ้ แบคทีเรีย

-โรคเหยี่ วของกล้วยหอม

1.3 โรคท่ีเกดิ จากเช้ือไวรสั

1) โรคยอดมว้ น

2) โรคใบด่าง

2. อธิบายลกั ษณะอาการ 2. ลกั ษณะอาการ การแพร่

การแพรร่ ะบาด และการ ระบาด และการป้องกันกาจดั

ปอ้ งกันกาจดั แมลงศตั รู แมลงศตั รูของกลว้ ยหอม

ของกลว้ ยหอม 2.1 ด้วง : ด้วงงวงไชเหงา้

ด้วงงวงเจาะต้นหรอื ด้วงงวงไช

กาบกลว้ ย ดว้ งเต่าแดง

2.2 หนอน : หนอนมว้ นใบ

หนอนกระทู้ หนอนรา่ น

34

ที่ หัวเรอ่ื ง ตวั ชี้วัด เนือ้ หา จานวน
ชั่วโมง
หนอนปลอก
2.3 เพลย้ี : เพล้ยี แป้ง
เพลยี้ อ่อน เพลีย้ หอย เพล้ยี ไฟ
2.4 แมลงอ่ืน ๆ : ตกั๊ แตนผี
มวนร่างแห แมลงวนั ผลไม้
หรอื แมลงวนั ทอง
2.5 ขอ้ ควรระวงั ในการใชย้ า
ฆ่าแมลง

การวดั ผลประเมนิ ผลและสดั ส่วนคะแนน

รหสั รายวชิ า…….....……………….รายวิชา การปลกู กล้วยหอม สาระการประกอบอาชีพ

ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน 3 หนว่ ยกติ 120 ชั่วโมง

35

มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ

1. มีความรู้ ความเข้าใจ และเจตคติท่ีดีในงาน อาชีพ วิเคราะห์ลักษณะงาน ขอบข่ายงานอาชีพ
ในชุมชน สังคม ประเทศ ที่เหมาะสมกับศักยภาพ 5 ด้าน ได้แก่ ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละ
พื้นท่ี ศักยภาพของพื้นที่ตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศและทาเลท่ีต้ังของแต่ละพ้ืนท่ี
ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตของแต่ละพื้นที่ ศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละ
พ้นื ทแี่ ละสอดคล้องกบั ชมุ ชนเพื่อการขยายอาชีพ

2. มีความรู้ ความเข้าใจทักษะในการขยายอาชีพเพื่อสร้างความม่ันคงบนพื้นฐานความรู้ กระบวน
การผลิต กระบวนการตลาด ที่ใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีที่เหมาะสม มีความหลากหลายทางชีวภาพ พัฒนา
ตอ่ ยอดและประยุกต์ใชภ้ มู ปิ ัญญา

ท่ี หวั เรอื่ ง ตัวช้ีวดั เน้ือหา จานวน วธิ กี ารประเมนิ
1 ความรูเ้ บือ้ งตน้ 1. อธิบายลกั ษณะทาง 1. ลกั ษณะทาง (ชวั่ โมง) และสัดสว่ นคะแนน

20

เกีย่ วกับกลว้ ยหอม พฤกษศาสตร์กลว้ ย พฤกษศาสตร์กล้วยหอม

หอม

2. จาแนกสายพันธุ์ 2. สายพันธุก์ ล้วยหอม

กลว้ ยหอม 2.1 กล้วยหอมจันท์

2.2 กล้วยหอมทอง

2.3 กล้วยหอมเขียว

2.4 กล้วยหอมค่อม

2.5 กลว้ ยหอม

แกรนด์เนน

3. อธบิ ายคุณค่าทาง 3. คุณคา่ ทางโภชนาการ

โภชนาการของ ของกล้วยหอม

กลว้ ยหอม

4. อธิบายสรรพคณุ 4. สรรพคณุ ทางยา

ทางยาของกล้วยหอม ของกลว้ ยหอม

5. อธบิ ายขอ้ ควรระวัง 5. ข้อควรระวังในการ

ในการรับประทาน รับประทานกล้วยหอม

กลว้ ยหอม

ท่ี หวั เรอ่ื ง ตวั ช้วี ัด เนอ้ื หา จานวน วธิ กี ารประเมิน
(ชั่วโมง) และสดั ส่วนคะแนน
2 การปลูกกลว้ ยหอม 1. เตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ์ 1. การเตรยี มวสั ดุ
50

สาหรับปลูกกลว้ ยหอม อปุ กรณ์สาหรบั ปลูก

36

กลว้ ยหอม

2. เตรยี มพ้นื ทแี่ ละ 2. การเตรยี มพน้ื ท่ี

หลุมปลกู กลว้ ยหอม และหลมุ ปลกู กล้วยหอม

3. ปลกู กล้วยหอม 3. วิธีการปลูกกล้วยหอม

3.1 แบบพื้นที่ราบ 3.1 แบบพื้นทร่ี าบ

3.2 แบบยกร่อง 3.2 แบบยกร่อง

4. อธิบายวิธีการเกบ็ 4. การเกบ็ เกย่ี วกลว้ ย

เกี่ยวกล้วยหอมและ หอมและการปฏิบัติหลงั

การปฏิบัติหลงั การ การเก็บเกี่ยว

เก็บเก่ียว

5. อธิบายเทคนคิ ปลูก 5. เทคนคิ ปลกู

กลว้ ยหอมให้ได้ผลดี กล้วยหอมให้ได้ผลดี

3 การดแู ลและบารุง ดแู ลและบารุงรักษา 1. การใส่ปยุ๋ กล้วยหอม 30
20
รักษากลว้ ยหอม กล้วยหอม 2. การให้นา้ กล้วยหอม

โดยการใส่ปุ๋ย ให้น้า 3. การตดั แตง่ หน่อ

ตดั แตง่ หน่อ ตัดแตง่ ใบ กล้วยหอม

คา้ ยนั หมุ้ เครอื และ 4. การตดั แต่งใบ

ตดั ใบธง กล้วยหอม

5. การค้ายันกล้วยหอม

6. การหุม้ เครอื และ

ตดั ใบธงกลว้ ยหอม

4 โรคและแมลงศตั รู 1. อธบิ ายลักษณะ 1. ลกั ษณะอาการ

กล้วยหอม อาการของโรค ของโรค การป้องกันและ

การป้องกนั และกาจัด กาจดั โรคของกล้วยหอม

โรคของกลว้ ยหอม 1.1 โรคทีเ่ กิดจากเชื้อรา

1) โรคตายพราย

2) โรคใบจดุ ดา

โรคใบไหม้ โรคใบจดุ กระ

โรคใบจดุ สีนา้ ตาลเทา

ที่ หวั เรอ่ื ง ตวั ชี้วัด เนือ้ หา จานวน วธิ ีการประเมนิ

(ช่ัวโมง) และสดั สว่ นคะแนน

1.2 โรคท่เี กิดจากเช้ือ

แบคทเี รยี

37

-โรคเหีย่ วของกล้วยหอม

1.3 โรคท่ีเกดิ จาก

เชอ้ื ไวรัส

1) โรคยอดมว้ น

2) โรคใบด่าง
2. อธิบายลกั ษณะ 2. ลักษณะอาการ
อาการการแพรร่ ะบาด การแพรร่ ะบาด และ
และการป้องกนั กาจัด การปอ้ งกนั กาจัดแมลง
แมลงศตั รู
ศัตรูของกลว้ ยหอม
ของกล้วยหอม
2.1 ดว้ ง : ดว้ งงวงไชเหง้า

ด้วงงวงเจาะต้นหรือ

ดว้ งงวงไชกาบกล้วย

ดว้ งเต่าแดง

2.2 หนอน : หนอน

มว้ นใบ หนอนกระทู้

หนอนรา่ น หนอนปลอก

2.3 เพล้ีย : เพลย้ี แป้ง

เพล้ยี อ่อน เพล้ียหอย

เพลีย้ ไฟ

2.4 แมลงอื่น ๆ

: ต๊ักแตนผี มวนรา่ งแห

แมลงวันผลไม้ หรือ

แมลงวันทอง

2.5 ข้อควรระวังใน

การใชย้ าฆา่ แมลง

คาอธบิ ายรายวิชา

รหัสรายวิชา…….....……………….รายวิชา การปลกู กล้วยนา้ หว้า สาระการประกอบอาชีพ

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย จานวน 3 หนว่ ยกิต 120 ชั่วโมง

38

มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ

1. มีความรู้ ความเข้าใจ และเจตคติที่ดีในงาน อาชีพ วิเคราะห์ลักษณะงาน ขอบข่ายงานอาชีพ
ในชุมชน สังคม ประเทศ ท่ีเหมาะสมกับศักยภาพ 5 ด้าน ได้แก่ ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละ
พ้ืนที่ ศักยภาพของพ้ืนท่ีตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศและทาเลท่ีตั้งของแต่ละพื้นที่
ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตของแต่ละพ้ืนท่ี ศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละ
พ้นื ทแี่ ละสอดคล้องกบั ชุมชนเพอื่ การขยายอาชีพ

2. มีความรู้ ความเข้าใจทักษะในการขยายอาชีพเพื่อสร้างความมั่นคงบนพ้ืนฐานความรู้ กระบวน
การผลิต กระบวนการตลาด ท่ีใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม มีความหลากหลายทางชีวภาพ พัฒนา
ตอ่ ยอดและประยุกต์ใชภ้ มู ปิ ัญญา

ศึกษาและฝกึ ทกั ษะเกย่ี วกับเรอ่ื งต่อไปนี้

ความรู้เบอ้ื งต้นเกี่ยวกับกลว้ ยน้าหวา้
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์กล้วยน้าหว้า สายพันธ์ุกล้วยน้าหว้า กล้วยน้าว้ามะลิอ่อง (หรือ

กล้วยน้าว้าขาว) กล้วยน้าว้านวลจันทร์ (กล้วยน้าว้าเงิน กล้วยน้าว้าหนัง) กล้วยน้าว้าพันธ์ุค่อม กล้วยน้าว้า
พนั ธุด์ า กล้วยนา้ ว้าโชควิเชยี ร กลว้ ยน้าวา้ ท่ายาง กล้วยน้าว้าพนั ธุ์ยกั ษ์ กล้วยนา้ วา้ พันธ์ุปากช่อง 50 (กล้วย
นา้ วา้ ไส้เหลอื งอุบล)

การใช้ประโยชน์จากส่วนต่าง ๆ ของกล้วย : กล้วยน้าหว้าสุก กล้วยน้าหว้าดิบ ลาต้นหรือ
หยวกกล้วยอ่อน ปลีกล้วย ใบกล้วยหรอื ใบตอง กาบกลว้ ย และก้านกลว้ ย

คณุ ค่าทางโภชนาการของกลว้ ยนา้ หว้า สรรพคุณทางยาของกลว้ ยนา้ หว้า
การปลูกกล้วยน้าหว้า การเตรียมวัสดุอุปกรณ์สาหรับปลูกกล้วยน้าหว้า การเตรียมพ้ืนท่ีและหลุม
ปลูกกล้วยน้าหว้า วิธีการปลูกกล้วยน้าหว้า แบบพ้ืนท่ีราบ แบบยกร่อง การเก็บเก่ียวกล้วยน้าหว้าและการ
ปฏิบตั ิหลังการเกบ็ เก่ียว เทคนคิ ปลกู กลว้ ยนา้ หวา้ ใหไ้ ด้ผลดี
การดูแลและบารุงรักษากล้วยน้าหว้า การใส่ปุ๋ยกล้วยน้าหว้า การให้น้ากล้วยน้าหว้า การตัดแต่ง
หนอ่ กล้วยน้าหวา้ การตดั แตง่ ใบกล้วยน้าหว้า การคา้ ยันกลว้ ยน้าหว้า การคลุมถุงกลว้ ยนา้ หว้า
โรคและแมลงศัตรกู ล้วยนา้ หว้า ลักษณะอาการของโรค การป้องกันและกาจัดโรคของกลว้ ยน้าว้า

โรคที่เกิดจากเชื้อรา โรคตายพราย โรคใบจุดดา โรคใบไหม้ โรคใบจุดกระ โรคใบจุด
สีนา้ ตาลเทา

โรคทเ่ี กิดจากเช้อื แบคทเี รยี โรคเหยี่ วของกลว้ ยน้าว้า
โรคทเี่ กดิ จากเชือ้ ไวรสั โรคยอดม้วน โรคใบดา่ ง
หลกั การป้องกัน โรคของกล้วยนา้ ว้า ในสวนแบบง่าย
ลักษณะอาการ การแพร่ระบาด และการป้องกันกาจดั แมลงศตั รูกล้วยนา้ หว้า

ดว้ ง : ดว้ งงวงไชเหงา้ ด้วงงวงเจาะต้นหรอื ด้วงงวงไชกาบกลว้ ย ดว้ งเต่าแดง
หนอน : หนอนม้วนใบ หนอนกระทู้ หนอนรา่ น หนอนปลอก


Click to View FlipBook Version