The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย ประจำปี 2567

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nareumoljib Khumtong, 2024-07-01 07:04:11

คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 2567

คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย ประจำปี 2567

เครื่่�องแบบนัักเรีียนโรงเรีียนสตรีีศรีีสุุริิโยทััย ระดัับชั้้นมั�ัธยมศึึกษาตอนต้้น คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 149 ไม่่กัันคิ้้วและเขีียนคื้้ว ไม่่แต่่งหน้้า หรืือทาปาก ปัปัักดาววตามจำนววนระดัดัับชั้้ ชั้้น = ระดัดัับชั้้ ชั้้น ม.1 = ระดัดัับชั้้ ชั้้น ม.2 = ระดัดัับชั้้ ชั้้น ม.3 ปัปัักอัอัักษรย่ย่่อโรงเรีรีียน ศ.ทท. และ เลขประจำ เลขประจำตัตััวนัวนัักเรีรีียน ด้ด้้ววยไหมสีสีีน้้ น้้ำเงิงิิน ติติิดกระเป๋ป๋๋า 1 ใบ ที่่ ที่่ชายเสื้้สื้้อข้ข้้างขววา กระโปรง กระโปรงผ้ผ้้า สี สีีกรมท่ท่่า เกลี้้ลี้้ยง ไม่ม่่มีมีีลววดลาย มี มีีจีจีีบด้ด้้านหน้น้้าและ ด้ด้้านหลัลััง จี จีีบข้ข้้างละ 3 จี จีีบ แต่ต่่ละจีจีีบ ลึลึึก 3 ซ ซม. หั หัันจีจีีบออกด้ด้้านนอก แล้ล้วว้เย็ย็็บเกล็ล็็ดทัับ จี จีีบต่ต่่ำจากขอบ ่ำจากขอบ ลงมา 6 ซ ซม. คว ความถี่่ ถี่่แต่ต่่ละจีจีีบ เว้ว้้นระยะห่ห่่างพองาม ่างพองาม คว ความยาวว ของกระโปรง ของกระโปรงคลุคลุุมใต้ต้้เข่ข่่าลงไป 4 ซ ซม. ขอบกระโปรงอยู่่เสมอเอว ผมสั้้นหรืือผมยาวก็็ได้้กรณีีไว้ผ้มยาว : ให้้เป็็นไปตามความเหมาะสม โดยรวบหรืือถัักเปีียให้้เรีียบร้้อย กรณีีไว้้ผมสั้้น : ไม่่อนุุญาตให้้ไถผมให้้เห็็น หนัังศีีรษะและไม่ซ่อยผมเปิิดใบหู ูอนุุญาต ให้้ย้้อมผมสีีน้้ำตาลเข้้มได้้ คอซองใช้้สีีเดีียวกัับกระโปรง ชายสามเหลี่่ยม กว้้าง 6 ซม. ยาว 80 - 100 ซม. กว้้าง 6 ซม. ยาว 6 ซม. ตำแหน่่งของคอซอง จะต้้องตรงกัับกระดุุมแป๊๊กเม็็ดบน เสื้้สื้้อนันัักเรีรีียนสีสีีขาว ตั ว ตััววเสื้้สื้้อไม่ม่่คัคัับ หรืรืือตัตััววใหญ่ญ่่จนเกิกิินไป รองเท้้านัักเรีียนหนัังสีีดำ ไม่่มีีลวดลาย หุ้้มปลายเท้้าหุ้้มส้้น หััวมน มีีสายรััด หลัังเท้้าแบบตายตัว ส้ั ้นสููงไม่่เกิิน 5 ซม. ถุุงเท้้าไนล่่อน สั้้นสีีขาวแบบเรีียบ ลอนเล็็กสวมแล้ว้ ตลบปลายพัับลง ที่่ข้้อเท้้า กว้้างประมาณ4 ซม. หรืือ ถุุงเท้้าข้้อสั้้นปิิดตาตุ่่ม ทรงผม เสื้้�อ กระเป๋๋าเสื้้�อ ปัักดาว คอซอง ถุุงเท้้า กระโปรง รองเท้้า ศ.ท. อัักษรย่่อ


เครื่่�องแบบนัักเรีียนโรงเรีียนสตรีีศรีีสุุริิโยทััย ระดัับชั้้นมั�ัธยมศึึกษาตอนปลาย 150 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ถุุงเท้้าไนล่่อน สั้้นสีีขาวแบบเรีียบ ลอนเล็็ก สวมแล้ว้ ตลบปลายพัับลง ที่่ข้้อเท้้า กว้้างประมาณ 4 ซม. หรืือถุุงเท้้าข้้อสั้้นปิิดตาตุ่่ม รองเท้้านัักเรีียนหนัังสีีดำ ไม่มี่ ีลวดลาย หุ้้มปลายเท้้าหุ้้มส้้น หัวัมน มีีสายรััดหลัังเท้้า แบบตายตััว ส้้นสููงไม่่เกิิน 5 ซม. เข็็มขััดหนัังสีีดำเกลี้้ยง กว้้าง ประมาณ 4 ซม. หััวเข็็มขััด รููปสี่่เหลี่่ยมผืืนผ้้าชนิิดหัวักลััด หุ้้มหนัังสีีดำ มีีปลอกขนาด กว้้าง 1.5 ซม. สำหรัับสอด ปลายเข็็มขััด ปัักอัักษรย่่อโรงเรีียน ศ.ท. และ เลขประจำตััวนัักเรีียน ด้้วยไหมสีีน้้ำเงิิน ปัักสััญลัักษณ์์ตาม จำนวนระดัับชั้้น ▲ = ระดัับชั้้น ม.4 ▲ ▲ = ระดัับชั้้น ม.5 ▲ ▲ ▲ = ระดัับชั้้น ม.6 เสื้้อปกเชิ้้ตผ่่าตลอดส่่วนกว้้าง 7 ซม. พัับตลบเข้้าข้้างใน ติิดกระดุุมสีีขาว 4 เม็็ด เส้้นผ่่า ศููนย์์กลาง 1 ซม. ไม่่กัันคิ้้วและเขีียนคื้้ว ไม่่แต่่งหน้้า หรืือทาปาก ตััวเสื้้อพอดีีตััว ใส่่ชายเสื้้อไว้้ ในกระโปรง ริิมเสื้้อไม่่นำมา ปิิดทัับหััวเข็็มขััด ติิดเข็็มเครื่่องหมายโรงเรีียน กระโปรงผ้้า สีีกรมท่่า เกลี้้ยงไม่่มีี ลวดลาย มีจีีบด้้านหน้้าและด้้านหลััง จีีบข้้างละ 3 จีีบ แต่่ละจีีบลึึก3 ซม. หัันจีีบออกด้้านนอก แล้ว้เย็็บเกล็็ด ทัับจีีบต่่ำจากขอบลงมา 6 ซม. ความถี่่แต่่ละจีีบ เว้้นระยะห่่างพองาม ความยาวของกระโปรงคลุุมใต้้เข่่า ลงไป4 ซม. ขอบกระโปรงอยู่่เสมอเอว ถุุงเท้้า ไว้้ผมสั้้นหรืือผมยาวก็็ได้้ กรณีีไว้ผ้มยาวให้้เป็็นไปตามความเหมาะสม โดยรวบหรืือถัักเปีียให้้เรีียบร้้อย กรณีีไว้ผ้มสั้้น ไม่่อนุุญาตให้้ไถผมให้้เห็็น หนัังศีีรษะและติิดโบว์สี์ ีดำอนุุญาตให้ย้้้อมผม สีีน้้ำตาลเข้้มได้้ ทรงผม เสื้้�อปกเชิ้้�ต เข็็มนัักเรีียน ปัักสััญลัักษณ์์ ศ.ท. อัักษรย่่อ เข็็มขััด รองเท้้า กระโปรง ▲


เครื่่�องแบบนัักเรีียนโรงเรีียนสตรีีศรีีสุุริิโยทััย ระดัับชั้้นมั�ัธยมศึึกษาตอนต้้น-ปลาย ใส่่ชุุดเดีียวกััน คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 151 ถุุงเท้้าไนล่่อน สั้้นสีีขาวแบบเรีียบ ลอนเล็็ก สวมแล้ว้ ตลบปลายพัับลง ที่่ข้้อเท้้า กว้้างประมาณ 4 ซม. หรืือถุุงเท้้าข้้อสั้้นปิิดตาตุ่่ม รองเท้้าผ้้าใบต้้องเป็็นสีีขาวล้้วน เท่่านั้้นไม่่มีีลวดลาย และไม่่เป็็น รองเท้้าแฟชั่่น ปัักสััญลัักษณ์์ตามจำนวน ระดัับชั้้นของตนเอง = ระดัดัับชั้้ ชั้้น ม.1 = ระดัดัับชั้้ ชั้้น ม.2 = ระดัดัับชั้้ ชั้้น ม.3 ▲ = ระดัับชั้้น ม.4 ▲ ▲ = ระดัับชั้้น ม.5 ▲ ▲ ▲ = ระดัับชั้้น ม.6 ไว้้ผมสั้้นหรืือผมยาวก็็ได้้ กรณีีไว้ผ้มยาวให้้เป็็นไปตามความเหมาะสม โดยรวบหรืือถัักเปีียให้้เรีียบร้้อย กรณีีไว้้ผมสั้้น ไม่่อนุุญาตให้้ไถผมให้้เห็็น หนัังศีีรษะและติิดโบว์์สีีดำ อนุุญาตให้้ ย้้อมผมสีีน้้ำตาลเข้้มได้้ ติิดกระเป๋๋า1ใบ ที่่ออกเสื้้อ ข้้างซ้้าย พร้้อมปัักตรา โรงเรีียน เสื้้อพละสีีชมพููของโรงเรีียน ตััวเสื้้อไม่่คัับหรืือตััวใหญ่่ จนเกิินไป ไม่่กัันคิ้้วและเขีียนคื้้ว ไม่่แต่่งหน้้า หรืือทาปาก ทรงผม เสื้้�อ ปัักสััญลัักษณ์์ ▲ ปัักชื่่อ -นามสกุุล (ไม่่มีีคำนำหน้้า) ด้้วยไหมสีีน้้ำตาล ปัักชื่่�อ กางเกงวอร์์มเป็็นของทางโรงเรีียน ห้้ามใส่่กางเกงวอร์์มยี่่ห้้ออื่่น ๆ กางเกง ถุุงเท้้า กระเป๋๋าเสื้้�อ รองเท้้า


เครื่่�องแบบการเรีียนวิิชากิิจกรรม 152 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง เครื่่�องแบบ กิิจกรรมยุุวกาชาด เครื่่�องแบบ กิิจกรรม ผู้้บำำเพ็็ญประโยชน์์


คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 153 เครื่่�องแบบ กิิจกรรมเนตรนารีี กระเป๋๋า นัักเรีียน กระเป๋๋าเคีียง กระเป๋๋าหนัังสีีดำำ กระเป๋๋าเป้้


อาศััยอำนาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 65 แห่่งพระราชบััญญััติิคุ้้มครองเด็็ก พ.ศ. 2546 รััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงศึึกษาธิิการ จึึงวางระเบีียบว่่าด้้วยการลงโทษนัักเรีียน และนัักศึึกษาไว้้ดัังต่่อไปนี้้� ข้้อ 1 ระเบีียบนี้้�เรีียกว่่า “ระเบีียบกระทรวงศึึกษาธิิการว่่าด้้วยการลงโทษนัักเรีียน และนัักศึึกษา พ.ศ. 2548” ข้้อ 2 ระเบีียบนี้้�ให้้ใช้้บัังคัับตั้้�งแต่่วัันประกาศในราชกิิจจานุุเบกษาเป็็นต้้นไป ข้้อ 3 ให้้ยกเลิิกระเบีียบกระทรวงศึึกษาธิิการว่่าด้้วยการลงโทษนัักเรีียนหรืือนัักศึึกษา พ.ศ. 2543 ข้้อ 4 ในระเบีียบนี้้� “ผู้้บริิหารโรงเรีียนหรืือสถานศึึกษา” หมายความว่่า ครููใหญ่่ อาจารย์์ใหญ่่ผู้้ อำนวยการ อธิิการบดี ีหรืือหััวหน้้าของโรงเรีียนหรืือสถานศึึกษาหรืือตำแหน่่งที่่�เรีียกชื่่ออย่�่าง อื่่�นของโรงเรีียนหรืือสถานศึึกษานั้้�น “กระทำความผิิด” หมายความว่่าการที่่นั�ักเรีียนหรืือนัักศึึกษาประพฤติิฝ่่าฝืืน ระเบีียบข้้อบัังคัับของสถานศึึกษา หรืือของกระทรวงศึึกษาธิิการ หรืือกฎกระทรวงว่่าด้้วย ความประพฤติิของนัักเรีียนและนัักศึึกษา “การลงโทษ” หมายความว่่าการลงโทษนัักเรีียนหรืือนัักศึึกษาที่่�กระทำความผิดิ โดยมีีความมุ่่งหมายเพื่่�อการอบรมสั่่�งสอน ข้้อ 5 โทษที่่�จะลงโทษแก่่นัักเรีียนหรืือนัักศึึกษาที่่�กระทำความผิิด มีี4 สถาน ดัังนี้้� (1) ว่่ากล่่าวตัักเตืือน (2) ทำทััณฑ์์บน (3) ตััดคะแนนความประพฤติิ (4) ทำกิิจกรรมเพื่่�อให้้ปรัับเปลี่่�ยนพฤติิกรรม ระเบีียบกระทรวงศึึกษาธิิการ ว่่าด้้วยการลงโทษนัักเรีียนและนัักศึึกษา พ.ศ. 2548 154 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง


ข้้อ 6 ห้้ามลงโทษนัักเรีียนหรืือนัักศึึกษาด้้วยวิิธีีรุุนแรง หรืือแบบกลั่่�นแกล้้ง หรืือ ลงโทษด้้วยความโกรธ หรืือด้้วยความพยาบาท โดยให้้คำนึึงถึึงอายุุของนัักเรีียนหรืือนัักศึึกษา และความร้้ายแรงของพฤติิการณ์์ประกอบการลงโทษด้้วย การลงโทษนัักเรีียนหรืือนัักศึึกษาให้้เป็็นไปเพื่่�อเจตนาที่่�จะแก้้นิิสััยและความประพฤติิ ไม่่ดีีของนัักเรีียนหรืือนัักศึึกษาให้้รู้้สำนึึกในความผิิดและกลัับประพฤติิตนในทางที่่�ดีีต่่อไป ให้้ผู้้บริิหารโรงเรีียนหรืือสถานศึึกษา หรืือผู้้ที่่�ผู้้บริิหารโรงเรีียนหรืือสถานศึึกษา มอบหมายเป็็นผู้้มีีอำนาจในการลงโทษนัักเรีียน นัักศึึกษา ข้้อ 7 การว่่ากล่่าวตัักเตืือนใช้้ในกรณีนัีักเรีียนหรืือนัักศึึกษากระทำความผิดิไม่ร้่ ้ายแรง ข้้อ 8 การทำทััณฑ์์บนใช้้ในกรณีีนัักเรีียนหรืือนัักศึึกษาที่่�ประพฤติิตนไม่่เหมาะสมกัับ สภาพนัักเรีียนหรืือนัักศึึกษา ตามกฎกระทรวงว่่าด้้วยความประพฤติินัักเรีียนและนัักศึึกษา หรืือกรณีีทำให้้เสื่่�อมเสีียชื่่�อเสีียงและเกีียรติิศัักดิ์์�ของสถานศึึกษา หรืือฝ่่าฝืืนระเบีียบของ สถานศึึกษา หรืือได้้รัับโทษว่่ากล่่าวตัักเตืือนแล้้ว แต่่ยัังไม่่เข็็ดหลาบ การทำทััณฑ์์บนให้ท้ ำเป็็นหนัังสืือ และเชิิญบิดิามารดาหรืือผู้้ปกครองมาบัันทึึกรัับทราบ ความผิิดและรัับรองการทำทััณฑ์์บนไว้้ด้้วย ข้้อ 9 การตัดัคะแนนความประพฤติ ิให้้เป็็นไปตามระเบีียบปฏิิบัติัว่ิ่าด้้วยการตัดัคะแนน ความประพฤติินัักเรีียนและนัักศึึกษาของแต่่ละสถานศึึกษากำหนด และให้้ทำบัันทึึกข้้อมููล ไว้้เป็็นหลัักฐาน ข้้อ 10 ทำกิิจกรรมเพื่่�อให้้ปรัับเปลี่่�ยนพฤติิกรรม ใช้้ในกรณีีที่่�นัักเรีียนและนัักศึึกษา กระทำความผิิดที่่�สมควรต้้องปรัับเปลี่่�ยนพฤติิกรรม การจััดกิิจกรรมให้้เป็็นไปตามแนวทางที่่�กระทรวงศึึกษาธิิการกำหนด ข้้อ 11 ให้ปลั้ดักระทรวงศึึกษาธิิการ รัักษาการให้้เป็็นไปตามระเบีียบนี้้�และให้มี้อีำนาจ ตีีความและวิินิิจฉััยปััญหาเกี่่�ยวกัับการปฏิิบััติิตามระเบีียบนี้้� ประกาศ ณ วัันที่่� 18 มกราคม พ.ศ. 2548 (นายอดิิศััย โพธารามิิก) รััฐมนตรีีว่่าการกระทรวงศึึกษาธิิการ คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 155


ตััวอย่่างใบลา เขีียนที่่�........................................................... วัันที่่�................เดืือน................................................................................ เรื่่�อง ขออนุุญาต (ลากิิจ, ลาป่่วย).................................................. เรีียน ครููประจำชั้้�น ม.............../............... เนื่่�องด้้วยดิิฉััน (ด.ญ., น.ส.)........................................ นัักเรีียนชั้้�น ม........../.......... มีีกิิจธุุระ.................................................................................................................................. ป่่วยเป็็น.................................................................................................................................. ไม่่สามารถมาเรีียนได้้ จึึงขอลาหยุุดเรีียนตั้้�งแต่่วัันที่่�.......... เดืือน.................... พ.ศ................ ถึึงวัันที่่�.......... เดืือน.............................. พ.ศ..................... จึึงเรีียนมาเพื่่�อขออนุุญาต (ลากิิจ, ลาป่่วย)....................เป็็นเวลา....................วััน ด้้วยความเคารพอย่่างสููง ลงชื่่�อ........................................ (..................................................) คำรัับรองของผู้้ปกครอง ขอรัับรองว่่า ด.ญ., น.ส...................................................(มีีกิิจธุุระ, ป่่วย).............................. และต้้องหยุุดเรีียนเป็็นเวลา........................................วััน จริิง ลงชื่่�อ........................................ (..................................................) เรีียน รองผู้้อำนวยการกลุุ่มบริิหารงานบุุคคล เพื่่�อกรุุณาทราบ ลงชื่่�อ........................................ (..................................................) ครููประจำชั้้�นระดัับชั้้�น ม........./........... วัันที่่�.........เดืือน.......................พ.ศ............ 156 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง


ตัตััวอย่ย่่างบับััตรขออนุุญาตเ ัตรขออนุุญาตเข้้ ข้้าห้้ ห้้องเรีรีียนน (ส่่วนที่่ 1) เล่่มที่่�................. เลขที่่�....................... บััตรขออนุุญาตออกนอกบริิเวณโรงเรีียน โรงเรีียนสตรีีศรีีสุุริิโยทััย อนุุญาตให้้ (น.ส., ด.ญ.)............................................................ ชั้้�น................ เลขประจำตััว......................................................... ออกนอกบริิเวณเพื่่�อ................................................................... ระหว่่าง.........................น. ถึึง..................น. วัันที่่�...................../................./.................... ลงชื่่�อ.....................รองผู้้อำนวยการกลุ่่มบริิหารงานบุุคคล (ส่่วนที่่ 3) เล่่มที่่�................. เลขที่่�....................... บััตรขออนุุญาตเข้้าห้้องเรีียน วัันที่่�............................เดืือน........................................พ.ศ..................... ชื่่�อ...................................................................ชั้้�น ม............./................. มาสาย เพราะ............................................................................... ได้้ขออนุุญาตเป็็นพิิเศษ..................................................................... เวลา......................................น. ....................................ผู้้อนุุญาต (.................................................) .................................ครููประจำชั้้�น (.................................................) เวลา.............................น. ส่่วนนี้้�นำส่่งครููประจำชั้้�น (ส่่วนที่่ 2) เล่่มที่่�................. เลขที่่�....................... บััตรขออนุุญาตออกนอกบริิเวณโรงเรีียน โรงเรีียนสตรีีศรีีสุุริิโยทััย อนุุญาตให้้ (น.ส., ด.ญ.)............................................................ ชั้้�น................ เลขประจำตััว......................................................... ออกนอกบริิเวณเพื่่�อ................................................................... ระหว่่าง.........................น. ถึึง..................น. วัันที่่�...................../................./.................... ลงชื่่�อ.....................รองผู้้อำนวยการกลุ่่มบริิหารงานบุุคคล (ส่่วนที่่ 1) เล่่มที่่�................. เลขที่่�....................... บััตรขออนุุญาตเข้้าห้้องเรีียน วัันที่่�............................เดืือน........................................พ.ศ..................... ชื่่�อ...................................................................ชั้้�น ม............./................. มาสาย เพราะ............................................................................... ได้้ขออนุุญาตเป็็นพิิเศษ..................................................................... เวลา......................................น. ....................................ผู้้อนุุญาต (.................................................) กลุ่่มบริิหารงานบุุคคล (ส่่วนที่่ 2) เล่่มที่่�................. เลขที่่�....................... บััตรขออนุุญาตเข้้าห้้องเรีียน วัันที่่�............................เดืือน........................................พ.ศ..................... ชื่่�อ...................................................................ชั้้�น ม............./................. มาสาย เพราะ............................................................................... ได้้ขออนุุญาตเป็็นพิิเศษ..................................................................... เวลา......................................น. ....................................ผู้้อนุุญาต (.................................................) .................................ครููประจำชั้้�น (.................................................) เวลา.............................น. ส่่วนนี้้�นำส่่งครููประจำชั้้�น ตัตััวอย่ย่่างบับััตรอนุุญาตออก ัตรอนุุญาตออกนนอกห้้ ห้้องเรีรีียนน คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 157


งานระบบดููแลช่่วยเหลืือนัักเรีียน 158 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ระบบดููแลช่่วยเหลืือนัักเรีียนเป็็นกระบวนการดำเนิินงานดููแลช่่วยเหลืือนัักเรีียนอย่่าง มีขั้้ี�นตอน พร้อ้มด้้วยวิธีิีการและเครื่่อ�งมืือการทำงานที่่ชั�ดัเจน โดยมีีครููประจำชั้้�นเป็็นบุุคลากร หลัักในการดำเนิินการดัังกล่่าว และมีีการประสานความร่่วมมืืออย่่างใกล้ชิ้ดกัิ ับครููที่่�เกี่่�ยวข้อ้ง หรืือบุุคลากรภายนอก รวมทั้้�งการสนัับสนุุน ส่่งเสริิมจากโรงเรีียน งานระบบดููแลช่่วยเหลืือนัักเรีียน หมายถึึง การส่่งเสริิม การป้้องกััน และการแก้้ไข ปััญหาโดยมีีวิิธีีการและเครื่่�องมืือสำหรัับครููประจำชั้้�นและบุุคลากรที่่�เกี่่�ยวข้้องเพื่่�อใช้้ในการ ดำเนิินงานพััฒนานัักเรีียนให้มี้คุีุณลัักษณะที่่พึ�ึงประสงค์์และปลอดจากสารเสพติด มีิ ีกระบวนการ ดำเนิินงานโดยครููที่่�ปรึึกษาเป็็นบุุคลากรหลัักในการปฏิิบััติิงาน มีีองค์์ประกอบสำคััญ 5 ประการคืือ 1. การรู้้จัักนัักเรีียนเป็็นบุุคคล ซึ่่�งครอบคลุุม ด้้านความสามารถ (ด้้านการเรีียน ความสามารถด้้านอื่่�น ๆ) ด้้านสุุขภาพ (ร่่างกาย จิิตใจ อารมณ์์) ด้้านครอบครััว (เศรฐกิิจ การคุ้้มครองนัักเรีียน) ด้้านอื่่�น ๆ (สารเสพติิด ความสััมพัันธ์์ทางเพศ) 2. การคัดักรองนัักเรีียน โดยจัดักลุ่่มนัักเรีียนออกเป็็น 3กลุ่่ม คืือ กลุ่่มปกติ ิกลุ่่มเสี่่�ยง และกลุ่่มมีีปััญหา 3. การส่่งเสริิมพััฒนานัักเรีียนทุุกคนที่่�อยู่่ในการดููแล โดยการจััดกิิจกรรมโฮมรููม (Homeroom) กิิจกรรมประชุุมผู้้ปกครองในชั้้�นเรีียน (Classroom Meeting) 4. การป้้องกัันและแก้้ไขปััญหาของนัักเรีียนกลุ่่มเสี่่�ยงและกลุ่่มมีีปััญหาด้้วยวิิธีีการ การให้้คำปรึึกษาแนะนำช่่วยเหลืือ การจัดกิั ิจกรรมต่่างๆเพื่่อ�ป้้องกัันและแก้้ไขปััญหานัักเรีียน โดยใช้้กิิจกรรมในชั้้�นเรีียน กิิจกรรมเสริิมหลัักสููตร กิิจกรรมซ่่อมเสริิม กิิจกรรมสื่่�อสาร กัับผู้้ปกครอง เป็็นต้้น 5. การส่่งต่อนั่ ักเรีียน ในกรณีที่่ปั�ัญหาบางอย่่างที่่�ครููประจำชั้้�นไม่่สามารถแก้้ไขปััญหา จะบัันทึึกส่่งต่่อครููแนะแนว กลุ่่มบริิหารงานบุุคคล หรืือส่่งต่่อผู้้เชี่่�ยวชาญภายนอก


แผนภููมิิแสดงกระบวนการดำำ เนิินงาน ตามระบบดููแลช่่วยเหลืือนัักเรีียน รู้้จัักนัักเรีียนเป็็นรายบุุคคล คััดกรองนัักเรีียน การส่่งเสริิมนัักเรีียน ป้้องกัันและแก้้ไขปััญหา ส่่งต่่อ (ภายในโรงเรีียน) พฤติิกรรม ดีีขึ้้นหรืือไม่่ ไม่ม่่ดีดีีขึ้้ ขึ้้น/ยากต่ต่่อ การช่ช่่ววยเหลืลืือ กลุ่่มปกติิกลุ่่มเสี่่ยง/มีีปััญหา คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 159


ตััวอย่่างบััตรประจำ ำ ตััวนัักเรีียน งานสวััสดิิการนัักเรีียน 1. การขอหนัังสืือรัับรอง นัักเรีียนกรอกข้้อมููลส่่วนตััวที่่�งาน เพื่่�อจััดทำเอกสารรัับรองความประพฤติิ 2. การทำบััตรประจำตััวนัักเรีียน 2.1 ยื่่�นคำร้้อง 2.2 ค่่าธรรมเนีียมทำบััตรใหม่่100 บาท 2.3 ค่่าบริิการระบบปีีละ 300 บาท 160 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง


ใบรัับรองความประพฤติิ โรงเรีียน สตรีีศรีีสุุริิโยทััย อำเภอ / เขต สาทร จัังหวััด กรุุงเทพมหานคร ขอรัับรองว่่า นางสาว............................................................................................................ เลขประจำตััว...........................เกิิดวัันที่่�............เดืือน..................................พ.ศ. ................. ชื่่�อ-ชื่่�อสกุุลบิิดา...................................ชื่่�อ - ชื่่�อสกุุลมารดา.................................................... กำลัังศึึกษาอยู่่ในระดัับชั้้�นมััธยมศึึกษาปีีที่่�.....................................ปีีการศึึกษา........................ เป็็นผู้้มีีความประพฤติิเรีียบร้้อย ออกให้้ ณ วัันที่่�................................................................................................... (ลงชื่่อ) (นายสุุทธิิเกีียรติิ พัันธ์์เสนา) ผู้้อำนวยการโรงเรีียนสตรีีศรีีสุุริิโยทััย (ใบรัับรองฉบัับนี้้�มีีอายุุ60 วััน นัับตั้้�งแต่่วัันที่่�ออกให้้) คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 161


ประธาน รองประธาน เลขานุุการ คณะกรรมการระดัับ ห้้องเรีียนระดัับ ชั้้นมััธยมศึึกษาปีีที่่ 1 คณะกรรมการระดัับ ห้้องเรีียนระดัับ ชั้้นมััธยมศึึกษาปีีที่่ 2 คณะกรรมการระดัับ ห้้องเรีียนระดัับ ชั้้นมััธยมศึึกษาปีีที่่ 3 คณะกรรมการระดัับ ห้้องเรีียนระดัับ ชั้้นมััธยมศึึกษาปีีที่่ 4 คณะกรรมการระดัับ ห้้องเรีียนระดัับ ชั้้นมััธยมศึึกษาปีีที่่ 5 คณะกรรมการระดัับ ห้้องเรีียนระดัับ ชั้้นมััธยมศึึกษาปีีที่่ 6 คคณะกรรมการเ ณะกรรมการเครืครืือข่ข่่ายผู้้ปก้ คครองประกอบ รองประกอบด้ด้้ววย 1. คณะกรรมการระดัับห้อ้งเรีียน จำนวนไม่น้่อ้ยกว่่า5คน ประกอบด้้วย ประธาน รองประธาน เลขานุุการ นายทะเบีียน ประชาสััมพัันธ์์ โดยการคััดเลืือกจากผู้้ปกครองของแต่่ละห้้องเรีียน 2. คณะกรรมการระดัับชั้้�นเรีียน ประกอบด้้วย ประธาน รองประธาน เลขานุุการ นายทะเบีียน และประชาสััมพัันธ์ ์โดยการคัดัเลืือกจากคณะกรรมการระดัับห้อ้งเรีียนของระดัับชั้้�นเรีียน นั้้�น ๆ ห้้องละ 2 คน ผู้้แทนของระดัับชั้้�นเรีียนประกอบด้้วยประธานและเลขานุุการ ของกรรมการ ระดัับห้้องเรีียน 3. คณะกรรมการระดัับโรงเรีียน ประกอบไปด้้วย คณะกรรมการเครืือข่่ายผู้้ปกครองทั้้�งสิ้้�น จำนวน 13คน คณะกรรมการระดัับโรงเรีียน ได้้มาโดยการคััดเลืือกมาจากประธานและ เลขานุุการของแต่่ละระดัับชั้้�นเรีียนทั้้�งหมด จำนวน 12 คน ประกอบด้้วย ประธาน รองประธานคนที่่� 1 รองประธานคนที่่� 2 เลขานุุการ ผู้้ช่่วยเลขานุุการ ประชาสััมพัันธ์์ ผู้้ช่่วยประชาสััมพัันธ์์ นายทะเบีียน ปฏิิคม และกรรมการที่่�เหลืือเป็็นกรรมการกลาง กรณีที่่ผู้�แ้ทนของระดัับชั้้�นใด ได้รั้ับการคัดัเลืือกเป็็นประธานเครืือข่่ายผู้้ปกครอง ให้้เลืือก ผู้้แทนของระดัับชั้้�นขึ้้�นมาแทนตำแหน่่งที่่�ว่่าง เพื่่�อให้้ครบจำนวน 13 คน คณะกรรมการบริิหารเครืือข่่ายผู้้�ปกครอง โรงเรีียนสตรีีศรีีสุุริิโยทััย 162 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง


เพื่่�อให้้การบริิหารและการจััดการเกี่่�ยวข้้องกัับเครืือข่่ายผู้้ปกครองเป็็นไปอย่่าง มีปีระสิทธิิภาพสอดคล้อ้งกัับพระราชบััญญัติัิการศึึกษาแห่่งชาติ ิพ.ศ.2542 และที่่�แก้้ไขเพิ่่�มเติิม (ฉบัับที่่�2) พ.ศ. 2545 อาศััยอำนาจตามความในมาตรา 30 วรรค 3 แห่่งพระราชบััญญััติิ ระเบีียบบริิหารราชการกระทรวงศึึกษาธิิการ พ.ศ.2546 และข้อ ้ 1 (3) (7) ของกฎกระทรวง แบ่่งส่่วนราชการสำนัักงานคณะกรรมการการศึึกษาขั้้�นพื้้�นฐาน กระทรวงศึึกษา พ.ศ. 2546 จึึงกำหนดวางระเบีียบ เพื่่อ�เป็็นแนวทางในการบริิหารและจัดัการร่่วมกัันระหว่่างสถานศึึกษา กัับผู้้ปกครอง ไว้้ดัังนี้้� ข้้อ 1 ระเบีียบนี้้�เรีียกว่่า “ระเบีียบสำนัักงานคณะกรรมการการศึึกษาขั้้�นพื้้�นฐาน ว่่าด้้วยเครืือข่่ายผู้้ปกครอง พ.ศ. 2551” ข้้อ 2 ระเบีียบนี้้�ให้้ใช้้บัังคัับตั้้�งแต่่วัันถััดจากวัันประกาศเป็็นต้้นไป ข้้อ 3 บรรดาระเบีียบ ข้อบั้ ังคัับ ประกาศ และคำสั่่�งอื่่�นใด ที่่ขั�ดัหรืือแย้้งกัับระเบีียบนี้้� ให้้ใช้้ระเบีียบนี้้�แทน ข้้อ 4 ระเบีียบนี้้� ใช้้บัังคัับสำหรัับสถานศึึกษาสัังกััด สำนัักงานคณะกรรมการ การศึึกษาขั้้�นพื้้�นฐานที่่จั�ดัการศึึกษา ช่่วงชั้้�นที่่�3-4 สำหรัับสถานศึึกษาที่่จั�ดัการศึึกษาแตกต่่าง ไปจากนี้้� หากจะดำเนิินการเครืือข่่ายผู้้ปกครองให้้ถืือบัังคัับใช้้ระเบีียบนี้้�โดยอนุุโลม ข้้อ 5 นิิยามศััพท์์ ในระเบีียบนี้้� “เครืือข่่ายผู้ปก้ ครอง” หมายความว่่า การรวมกัันระหว่่างผู้้ปกครองนัักเรีียน ในสถานศึึกษาเดีียวกััน เพื่่อร่�่วมมืือกัับสถานศึึกษาในการประกอบกิิจกรรมด้้านการพััฒนาการ การเรีียนรู้้และพฤติิกรรมของนัักเรีียน “ผู้ปก้ ครอง” หมายความว่่า บิดิา มารดา หรืือ มารดา ซึ่่�งเป็็นผู้ใ้ช้อ้ำนาจปกครอง หรืือผู้้ปกครองตามกฎหมายแพ่่งและพาณิิชย์์ และหมายความรวมถึึงบุุคคลที่่�นัักเรีียน อยู่่ด้้วยเป็็นประจำ หรืือนัักเรีียนอยู่่รัับใช้้การงาน “คณะกรรมการ” หมายความว่่า คณะกรรมการเครืือข่่ายผู้้ปกครองในสถานศึึกษา ระเบีียบสำำนัักงานคณะกรรมการการศึึกษาขั้้นพื้� ้� นฐาน ว่่าด้้วยเครืือข่่ายผู้้�ปกครอง พุุทธศัักราช 2551 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 163


ข้้อ 6 วััตถุุประสงค์์ของเครืือข่่ายผู้้ปกครอง เพื่่�อการดำเนิินงานสร้้างความสััมพัันธ์์อัันดีีระหว่่างสถานศึึกษากัับผู้้ปกครอง เพื่่�อให้้ผู้้ปกครองมีีส่่วนร่่วมในการจััดกิิจกรรมพััฒนาการเรีียนรู้้และพฤติิกรรม ของนัักเรีียน เพื่่อ�ให้มี้ีการแลกเปลี่่�ยนความรู้้ ประสบการณ์์และแนวคิด ิระหว่่างผู้้ปกครอง ครูู และนัักเรีียนในสถานศึึกษา ข้้อ 7 คณะกรรมการ คุุณสมบััติิของคณะกรรมการเครืือข่่ายผู้้ปกครอง (1) เป็็น บิิดา มารดา หรืือ ผู้้ปกครองของนัักเรีียนปััจจุุบััน (2) ผู้้ปกครองต้้องเป็็นผู้้ที่่�บรรลุุนิิติิภาวะและต้้องดููแลอุุปการะนัักเรีียน ที่่�แท้้จริิง โครงสร้้าง องค์์ประกอบ และจำนวนของคณะกรรมการให้้สถานศึึกษากำหนด ได้้ตามความเหมาะสม การพ้้นจากตำแหน่่งของกรรมการ (1) ตาย (2) ลาออก (3) ขาดคุุณสมบััติิตามที่่�ได้้กำหนดไว้้ในข้้อ 7 (4) มติิที่่�ประชุุมของคณะกรรมการร่่วมกัับผู้้บริิหารสถานศึึกษาพิิจารณา ให้้พ้้นจากสภาพเป็็นคณะกรรมการ กรณีีที่่�พบว่่าคณะกรรมการได้้กระทำการส่่อไปในทาง เจตนาแสวงหา หรืือได้้มาซึ่่�งผลประโยชน์์และสิิทธิิประโยชน์์ต่่าง ๆ เพื่่�อตนเอง หรืือผู้้อื่่�น (5) สิ้้�นสุุดวาระ วาระการดำรงตำแหน่่งของคณะกรรมการ ให้้มีีวาระคราวละ 1 ปีี ข้้อ 8 บทบาทและหน้้าที่่�ของคณะกรรมการ (1) ร่่วมสนัับสนุุนกิิจกรรมของสถานศึึกษา ด้้านพััฒนาการเรีียนรู้้และ พฤติิกรรมของนัักเรีียน โดยผ่่านความเห็็นชอบจากผู้้บริิหารสถานศึึกษา (2) ร่่วมสร้้างความสััมพัันธ์์อัันดีี ระหว่่างครููและผู้้ปกครอง (3) สนัับสนุุนการพััฒนาการเรีียนการสอนของสถานศึึกษา (4) เสนอข้้อคิิด ข้้อเสนอแนะในการพััฒนาที่่่�จะเป็็นประโยชน์์แก่่นัักเรีียน และสถานศึึกษา 164 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง


(5) ร่่วมกัับสถานศึึกษา จััดให้้มีีการประชุุม ระหว่่างคณะกรรมการกัับ ผู้้ปกครองตามความเหมาะสม อย่่างน้้อยปีีละ 2 ครั้้�ง (6) สรุุปและรายงานผลการดำเนิินงานของคณะกรรมการ อย่่างน้้อยปีีละ 1 ครั้้�ง ในที่่�ประชุุมใหญ่่ของผู้้ปกครองนัักเรีียน ข้้อ 9 ให้้สถานศึึกษาแต่่งตั้้�งครููเป็็นผู้้ประสานงานกัับคณะกรรมการตามความเหมาะสม ข้้อ 10 ให้้สถานศึึกษาดำเนิินการให้้ได้้คณะกรรมการโดยเร็็ว อย่่างช้้าภายในภาคเรีียนที่่�1 ของทุุกปีี ข้้อ 11 ให้้ผู้้บริิหารสถานศึึกษาเป็็นผู้้แต่่งตั้้�งคณะกรรมการ ข้้อ 12 ให้้สำนัักงานเขตพื้้�นที่่�การศึึกษาสนัับสนุุนและพััฒนาการดำเนิินการของ คณะกรรมการ ข้้อ 13 คณะกรรมการที่่�สถานศึึกษาจัดตั้้�งขึ้้�นหรืือมีอยู่่ก่ ีอ่นระเบีียบนี้้�ใช้บั้ ังคัับ ให้ด้ำเนิินการ ต่่อไปจนกว่่าจะสิ้้�นสุุดวาระ ข้้อ 14 ให้ผู้้บ้ริิหารสถานศึึกษากำหนดระเบีียบ วิธีิีการ เพิ่่�มเติิมได้้ตามความเหมาะสม แต่่ต้้องไม่่ขััดหรืือแย้้งกัับระเบีียบนี้้� ประกาศ ณ วัันที่่� 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 กษมา วรวรรณ ณ อยุุธยา (คุุณหญิิง กษมา วรวรรณ ณ อยุุธยา) เลขาธิิการคณะกรรมการการศึึกษาขั้้นพื้้นฐาน คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 165


เพื่่อ�ให้้การบริิหารและการจัดัการเกี่่�ยวกัับเครืือข่่ายผู้้ปกครองเป็็นไปอย่่างมีปีระสิทธิิภาพ สอดคล้อ้งกัับพระราชบััญญัติัิการศึึกษาแห่่งชาติิพ.ศ.2542 แก้้ไขเพิ่่�มเติิม (ฉบัับที่่�2)พ.ศ.2545, แก้้ไขเพิ่่�มเติิมฉบัับที่่� 3 พ.ศ.2553 และแก้้ไขเพิ่่�มเติิมฉบัับที่่� 4 พ.ศ.2562 อาศััยอำนาจตามความในมาตรา 30 วรรค 3 แห่่งพระราชบััญญััติิระเบีียบบริิหาร ราชการกระทรวงศึึกษาธิิการ พ.ศ.2546 และข้อ ้ 1 (3) (7) ของกฎกระทรวง แบ่่งส่่วนราชการ สำนัักงานคณะกรรมการการศึึกษาขั้้�นพื้้�นฐาน กระทรวงศึึกษาธิิการ 2546 และระเบีียบสำนัักงาน คณะกรรมการการศึึกษาขั้้�นพื้้�นฐานว่่าด้้วยเครืือข่่ายผู้้ปกครองพ.ศ.2551 จึึงกำหนดวางระเบีียบ เพื่่�อเป็็นแนวทางในการบริิหารและจััดการร่่วมกัันระหว่่างสถานศึึกษากัับผู้้ปกครอง ของโรงเรีียนสตรีีศรีีสุุริิโยทััย ไว้้ดัังนี้้� ข้้อ 1 ระเบีียบนี้้�เรีียกว่่า “ระเบีียบโรงเรีียนสตรีศรีสุีริุิโยทััย ว่่าด้้วยเครืือข่่ายผู้้ปกครอง พ.ศ. 2567” ข้้อ 2 ระเบีียบนี้้�ให้้ใช้้บัังคัับตั้้�งแต่่วัันถััดไปจากวัันประกาศเป็็นต้้นไป ข้้อ 3 ให้้ยกเลิิกระเบีียบโรงเรีียนสตรีศรีสุีริุิโยทััยว่่าด้้วยเครืือข่่ายผู้้ปกครอง พ.ศ.2562 และระเบีียบ ข้อบั้ ังคัับ ประกาศ และคำสั่่�งอื่่�นในส่่วนที่่�กำหนดไว้้ในระเบีียบนี้้�หรืือซึ่่�งขัดัแย้้ง กัับระเบีียบนี้้�ให้้ใช้้ระเบีียบนี้้�แทน ข้้อ 4 นิิยามศััพท์์ ในระเบีียบนี้้� “เครืือข่่ายผู้้ปกครอง” หมายความว่่า การร่่วมกัันระหว่่างผู้้ปกครองนัักเรีียนในสถานศึึกษา เดีียวกัันเพื่่�อร่่วมมืือกัับสถานศึึกษาในการประกอบกิิจกรรมด้้านการพััฒนาการเรีียนรู้้และ พฤติิกรรมของนัักเรีียน “ผู้้ปกครอง” หมายความว่่า บิิดา มารดา หรืือบิิดาหรืือมารดา ซึ่่�งเป็็นผู้้ใช้้อำนาจ ปกครองหรืือผู้้ปกครองตามประมวลกฎหมายแพ่่งพาณิิชย์์ และหมายความรวมถึึงบุุคคล ที่่�นัักเรีียนอยู่่ด้้วยเป็็นประจำหรืือที่่�นัักเรีียนอยู่่รัับใช้้การงาน ระเบีียบโรงเรีียนสตรีีศรีีสุุริิโยทััย ว่่าด้้วยเครืือข่่ายผู้้�ปกครอง พุุทธศัักราช 2567 166 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง


“คณะกรรมการ” หมายความว่่า คณะกรรมการเครืือข่่ายผู้้ปกครอง ข้้อ 5 วััตถุุประสงค์์ของเครืือข่่ายผู้้ปกครอง (1) เพื่่อ�การดำเนิินการสร้้างความสััมพัันธ์์อัันดีีระหว่่างสถานศึึกษากัับผู้้ปกครอง (2) เพื่่�อให้้ผู้้ปกครองมีีส่่วนร่่วมในการจััดกิิจกรรมพััฒนาการเรีียนรู้้และ พฤติิกรรมของนัักเรีียน (3) เพื่่อ�ให้มี้ีการแลกเปลี่่�ยนความรู้้ ประสบการณ์์และแนวคิดิระหว่่างผู้้ปกครอง ครููและนัักเรีียนในสถานศึึกษา (4) เพื่่�อจััดกิิจกรรมต่่าง ๆ ให้้เกิิด ความรู้้เป็็นประสบการณ์์สำหรัับนัักเรีียน สามารถช่่วยเหลืือตนเองได้้ ดำรงไว้้ซึ่่�งวััฒนธรรมประเพณีี และการละเว้้นอบายมุุขทั้้�งปวง เพื่่�อส่่งเสริิมความสามััคคีี ช่่วยเหลืือเกื้ ้� อกููลกัันและกัันตลอดถึึงการอนุุรัักษ์์สิ่่�งแวดล้้อม (5) เพื่่�อให้้มีีการติิดต่่อสื่่�อสารกัับผู้้ปกครองอย่่างรวดเร็็วและมีีประสิิทธิิภาพ ข้้อ 6 ระเบีียบและหน้้าที่่�ของคณะกรรมการเครืือข่่ายผู้้ปกครอง (1) คณะกรรมการระดัับห้้องเรีียนมีีจำนวนไม่่น้้อยกว่่า 5 คน ประกอบด้้วย ประธาน รองประธาน เลขานุุการ นายทะเบีียนและประชาสััมพัันธ์์ โดยการคััดเลืือกจาก ผู้้ปกครองของแต่่ละห้้องเรีียน (2) คณะกรรมการระดัับชั้้�นเรีียนประกอบด้้วย ประธาน รองประธาน เลขานุุการ นายทะเบีียนและประชาสััมพัันธ์ ์ โดยคัดัเลืือกจากคณะกรรมการระดัับห้อ้งเรีียนของชั้้�นเรีียน นั้้�น ๆระดัับห้อ้งละ2คน ผู้แ้ทนของระดัับชั้้�นเรีียนประกอบด้้วยประธานและเลขานุุการของ กรรมการระดัับห้้องเรีียน (3) คณะกรรมการระดัับโรงเรีียนประกอบไปด้้วยคณะกรรมการเครืือข่่าย ผู้้ปกครองทั้้�งสิ้้�น จำนวน 13 คน (4) การได้้มาซึ่่�งคณะกรรมการระดัับโรงเรีียน ได้้มาโดยการคััดเลืือกมาจาก ประธาน และเลขานุุการของแต่่ละระดัับชั้้�นเรีียนทั้้�งหมด จำนวน 12 คน ประกอบด้้วย ประธาน รองประธานคนที่่�1 รองประธานคนที่่�2 เลขานุุการ ผู้้ช่่วยเลขานุุการ ประชาสััมพัันธ์์ ผู้้ช่่วยประชาสััมพัันธ์์ นายทะเบีียน ปฏิิคม เหรััญญิิก ตำแหน่่งอื่่�นตามความเหมาะสมและ กรรมการที่่�เหลืือเป็็นกรรมการกลาง โดยรองผู้้อำนวยการกลุ่่มบริิหารกิิจการนัักเรีียน หััวหน้้างานส่่งเสริิมความร่่วมมืือระหว่่างบ้้าน โรงเรีียนและชุุมชนหััวหน้้าระดัับ ครููในระดัับ ชั้้�นเรีียนละ 3 คน เป็็นกรรมการระดัับโรงเรีียน โดยตำแหน่่ง (5) กรณีีที่่�คณะกรรมการของระดัับใดได้้รัับการคััดเลืือกเป็็นประธาน คณะกรรมการระดัับโรงเรีียนให้้เลืือกผู้แ้ทนของระดัับชั้้�นนั้้�น โดยคณะกรรมการระดัับชั้้�นนั้้�น เป็็นผู้้สรรหาขึ้้�นมาแทนตำแหน่่งที่่�ว่่างลง คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 167


ข้้อ 7 คณะกรรมการ คุุณสมบััติิของคณะกรรมการ 1. เป็็นบิิดา มารดา หรืือผู้้ปกครองของนัักเรีียนปััจจุุบััน 2. ผู้้ปกครองต้้องเป็็นผู้้ที่่�บรรลุุนิิติิภาวะและต้้องดููแลอุุปการะนัักเรีียนที่่�แท้้จริิง และมีีสถานภาพเป็็นผู้้ปกครองนัักเรีียนในปััจจุุบัันในสถานศึึกษา โดยชอบธรรมตามกฎหมาย 3. ประกอบอาชีีพสุุจริิต มีีที่่�อยู่่อาศััยเป็็นหลัักแหล่่งแน่่นอน 4. ไม่่เป็็นโรคติิดต่่อร้้ายแรงหรืือโรคที่่�สัังคมรัังเกีียจ การพ้้นจากตำแหน่่งของคณะกรรมการ (1) ตาย (2) ลาออก (3) ขาดคุุณสมบััติิตามที่่�ได้้กำหนดไว้้ในข้้อ 7 (4) มติิที่่�ประชุุมของคณะกรรมการการร่่วมกัับผู้้บริิหารสถานศึึกษาพิิจารณา ให้้พ้้นจากสภาพเป็็นคณะกรรมการ กรณีีที่่�พบว่่าคณะกรรมการได้้กระทำการส่่อไปในทาง เจตนาแสวงหาหรืือได้้มาซึ่่�งผลประโยชน์์และสิิทธิิประโยชน์์ต่่าง ๆ เพื่่�อตนเองหรืือผู้้อื่่�น (5) สิ้้�นสุุดวาระ วาระการดำรงตำแหน่่งของคณะกรรมการ ให้้มีีวาระคราวละ 1 ปีี นัับตั้้�งแต่่วาระที่่�ได้้รัับ การคััดเลืือกสิ้้�นสุุดในวัันที่่�เครืือข่่ายผู้้ปกครองชุุดใหม่่ ได้้รัับการคััดเลืือก ข้้อ 8 บทบาทและหน้้าที่่�ของคณะกรรมการ (1) ร่่วมสนัับสนุุนกิิจกรรมของสถานศึึกษา ด้้านพััฒนาการเรีียนรู้้ และพฤติิกรรม ของนัักเรีียนโดยความเห็็นชอบ จากผู้้บริิหารสถานศึึกษา (2) ร่่วมสร้้างความสััมพัันธ์์อัันดีี ระหว่่างครููและผู้้ปกครอง (3) สนัับสนุุนการพััฒนาการเรีียนการสอนของสถานศึึกษา (4) เสนอข้้อคิิด ข้้อเสนอแนะในการพััฒนาที่่�จะเป็็นประโยชน์์แก่่นัักเรีียนและ สถานศึึกษา (5) ร่่วมกัับสถานศึึกษา จัดัให้มี้ีการประชุุม ระหว่่างคณะกรรมการกัับผู้้ปกครอง ตามความเหมาะสมอย่่างน้้อยปีีละ 2 ครั้้�ง (6) เครืือข่่ายผู้้ปกครองระดัับห้้องเรีียนจััดทำทำเนีียบนัักเรีียนและผู้้ปกครอง โดยละเอีียด และส่่งมอบสำเนาให้้เลขานุุการเครืือข่่ายผู้้ปกครองในระดัับชั้้�นเรีียนและระดัับ โรงเรีียนให้้เป็็นปััจจุุบััน 168 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง


(7) เครืือข่่ายผู้้ปกครองในระดัับโรงเรีียนจะต้้องรวบรวมข้้อมููลและกิิจกรรม ของแต่่ละระดัับชั้้�น เพื่่อ�กำหนดกรอบแผนงานโครงการนำเสนอโรงเรีียน เพื่่อด�ำเนิินการต่อ่ ไป (8) ให้้เครืือข่่ายผู้้ปกครองทุุกระดัับดำเนิินกิิจกรรมต่่าง ๆ ตามที่่�โรงเรีียน ขอความร่่วมมืือหรืือตามที่่�เครืือข่่ายเสนอ และโครงการอนุุมััติิจากผู้้บริิหารสถานศึึกษา โดยยึึดถืือแนวปฏิิบััติิของสถานศึึกษาเป็็นหลััก (9) ให้้เครืือข่่ายผู้้ปกครองระดัับโรงเรีียนสรุุปและรายงานผลการดำเนิินงาน ของคณะกรรมการ อย่่างน้้อยปีีละ 1 ครั้้�ง ในที่่�ประชุุมใหญ่่ของผู้้ปกครองนัักเรีียน ข้้อ 9 ให้้สถานศึึกษาแต่่งตั้้�งครููเป็็นผู้้ประสานงานกัับเครืือข่่ายผู้้ปกครองในทุุกระดัับ ข้้อ 10 การแก้้ไขระเบีียบนี้้�สามารถกระทำได้้ตามความเหมาะสม ตามสมััยแห่่งกาลเวลา โดยให้้ผู้้เสนอขอแก้้ไข ยื่่�นญััตติิ ขอแก้้ไขระเบีียบต่่อคณะกรรมการเครืือข่่ายผู้้ปกครอง ระดัับโรงเรีียนพิิจารณาและต้อ้งได้รั้ับมติิให้้แก้้ไขด้้วยเสีียง3ใน 4 ของจำนวนคณะกรรมการ ครบองค์ป์ระชุุมที่่�มาประชุุม องค์ป์ระชุุมให้ถืือ้ จำนวนกึ่่�งหนึ่่�งของคณะกรรมการ โดยมีีกำหนด เงื่่�อนไข การแก้้ไขดัังนี้้� (1) การแก้้ไขระเบีียบนี้้�ให้้สามารถกระทำได้้1 ปีี ต่่อครั้้�ง หรืือกรณีีมีีเหตุุ แห่่งความจำเป็็นโดยเร่่งด่่วนและที่่�ประชุุมคณะกรรมการมีีมติิเป็็นเอกฉัันท์์ ให้้ทำการแก้้ไข (2) การแก้้ไขระเบีียบแต่่ละครั้้�งต้้องแล้้วเสร็็จภายใน 60 วััน ข้้อ 11 ให้้สถานศึึกษาดำเนิินการให้้ได้้คณะกรรมการ โดยเร็็วอย่่างช้้าภายในภาคเรีียนที่่�1 ของทุุกปีี ข้้อ 12 ให้้ผู้้บริิหารสถานศึึกษาเป็็นผู้้แต่่งตั้้�งคณะกรรมการ ข้้อ 13 ให้้สำนัักงานเขตพื้้�นที่่�การศึึกษา สนัับสนุุนและพััฒนาการดำเนิินงานของ คณะกรรมการ ข้้อ 14 ให้้ผู้้บริิหารสถานศึึกษากำกัับดููแลให้้เป็็นไปตามระเบีียบนี้้� และเป็็นผู้้ลงนาม ประกาศแต่่งตั้้�งคณะกรรมการเครืือข่่ายผู้้ปกครองได้้กรณีีสิ้้�นสุุดวาระ ตามข้้อ 7 (5) ประกาศ ณ วัันที่่� 16 พฤษภาคม 2567 (นายสุุทธิิเกีียรติิ พัันธ์์เสนา) ผู้้อำนวยการโรงเรีียนสตรีีศรีีสุุริิโยทััย คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 169


1. ประสานสััมพัันธ์์และสร้้างความคุ้้นเคยเพื่่�อให้้ชุุมชนบริิเวณใกล้้เคีียงเข้้ามามีีส่่วนร่่วม ในการจััดการศึึกษาของโรงเรีียน 2. ส่่งเสริิมความเข้้มแข็็งให้้กัับชุุมชนและสร้้างความสััมพัันธ์์กัับสถานศึึกษาองค์์กรต่่าง ๆ ทั้้�งของภาครััฐและเอกชน 3. จััดกิิจกรรมเพื่่�อส่่งเสริิมให้้คนในชุุมชนมีีสุุขอนามััยและสิ่่�งแวดล้้อมที่่�ดีี 4. ให้้บริิการสถานที่่� อุุปกรณ์์และความร่่วมมืือในการจััดกิิจกรรมเพื่่�อชุุมชน 5. ให้้ความรู้้เกี่่�ยวกัับการรณรงค์์ เรื่่�องโรคเอดส์์ สารเสพติิด ฯลฯ แก่่ชุุมชน 6. ร่่วมมืือกัับชุุมชนโดยส่่งครูู - อาจารย์์และนัักเรีียนไปร่่วมกิิจกรรม ปฏิิบัติัิงานสำคััญ ต่่าง ๆ ทั้้�งภาครััฐและเอกชน 7. ส่่งเสริิมทัักษะอาชีีพให้้กัับผู้้ปกครอง นัักเรีียน และชุุมชน งานส่่งเสริิมความร่่วมมืือระหว่่าง บ้้าน โรงเรีียนและชุุมชน 170 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง


ระเบีบีียบโรงเ ียบโรงเรีรีียนสนสตรีรีีศรีรีีสุสุุริริิโยทัทััย ว่ว่่าด้้ ด้้วย สภสภานันัักเรีรีียนน พ.ศ.2567 พ.ศ.2567 ด้้วยโรงเรีียนสตรีศรีสุีริุิโยทััยเห็็นควรให้มี้ีสภานัักเรีียนเพื่่อ�เป็็นการส่่งเสริิมการปกครอง ในระบอบประชาธิิปไตยอัันมีีพระมหากษััตริิย์์ทรงเป็็นพระประมุุขและให้้นัักเรีียนมีีส่่วนร่่วม ในการประกอบกิิจกรรมของโรงเรีียน รวมทั้้�งเป็็นการฝึึกฝนการทำงานเป็็นหมู่่คณะ จึึงได้้ ออกระเบีียบไว้้ดัังนี้้� หมวดที่่� 1 บททั่่�วไป ข้้อ 1 ระเบีียบนี้้�เรีียกว่่า"ระเบีียบโรงเรีียนสตรีีศรีีสุุริิโยทััย ว่่าด้้วยสภานัักเรีียน พ.ศ.2567" ข้้อ 2 ระเบีียบนี้้�มีีผลบัังคัับใช้้ตั้้�งแต่่วัันประกาศเป็็นต้้นไป ข้้อ 3 "โรงเรีียน" หมายถึึง โรงเรีียนสตรีีศรีีสุุริิโยทััย ข้้อ 4 "สภานัักเรีียน" หมายถึึง คณะกรรมการสภานัักเรีียน หััวหน้้าห้อ้ง หรืือผู้แ้ทนห้อ้งเรีียน ที่่�ได้้รัับการแต่่งตั้้�งจากโรงเรีียนให้้ทำหน้้าที่่�ดำเนิินกิิจกรรมนัักเรีียน ที่่�โรงเรีียนเห็็นสมควร ข้้อ 5 "คณะกรรมการที่่ปรึ�ึกษาสภานัักเรีียน" หมายถึึง คณะครููที่่�ได้รั้ับการแต่่งตั้้�งจากโรงเรีียน ให้้ทำหน้้าที่่�เป็็นที่่�ปรึึกษาสภานัักเรีียน หมวดที่่� 2 วััตถุุประสงค์์ ข้้อ 6 คณะกรรมการสภานัักเรีียนมีีวััตถุุประสงค์์เพื่่�อ (1) เพื่่อปลูู�กฝัังการปกครองระบอบประชาธิปิไตยอัันมีีพระมหากษััตริย์ิ ท์รงเป็็นประมุุข (2) เพื่่�อให้้นัักเรีียนรู้้จัักบทบาท หน้้าที่่�ของตนเอง และผู้้อื่่�น (3) เพื่่�อส่่งเสริิมให้้นัักเรีียนรู้้จัักการทำงานอย่่างเป็็นระบบ (4) เพื่่�อให้้นัักเรีียนมีีส่่วนร่่วมในการจััดกิิจกรรมของโรงเรีียน (5) เพื่่�อให้้นัักเรีียนมีีส่่วนร่่วมในการพััฒนาโรงเรีียนในด้้านต่่าง ๆ คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 171


(6) เพื่่อ�เป็็นตััวแทนของนัักเรีียนและโรงเรีียนในการปฏิิบัติักิิจกรรมหรืือ ภารกิิจต่่างๆ ของโรงเรีียน (7) เพื่่�อให้้เกิิดความร่่วมมืือในการแก้้ไขปััญหาของนัักเรีียนและโรงเรีียน หมวดที่่� 3 โครงสร้้างบุุคคลากรสภานัักเรีียน ข้้อ 7 คณะกรรมการสภานัักเรีียน ประกอบด้้วย (1) คณะกรรมการสภานัักเรีียนที่่�มาจากการเลืือกตั้้�งของนัักเรีียนทุุกคน จำนวน 5คน (2) คณะกรรมการสภานัักเรีียนปีีการศึึกษาก่่อนหน้้า จำนวน 20 คน (3) คณะกรรมการสภานัักเรีียนที่่�มาจากการสรรหา จำนวน 15 คน (4) คณะอนุุกรรมการสภานัักเรีียน จำนวน 50 คน (5) หััวหน้้าห้อ้งหรืือผู้แ้ทนห้อ้งที่่�มาจากการเลืือกตั้้�งจากสมาชิิกในห้อ้ง(จำนวน 52คน) ข้อ ้ 8 คณะกรรมการสภานัักเรีียนอาจตั้้�งอนุุกรรมการได้อี้ีกตามความเหมาะสมและความจำเป็็น ในกรณีีที่่�มีีกิิจกรรมพิิเศษ ซึ่่�งคณะกรรมการสภานัักเรีียนเห็็นว่่าเป็็นผู้้มีีความสามารถ หมวดที่่� 4 คุุณสมบััติิของคณะกรรมการสภานัักเรีียน ข้้อ 9 คณะกรรมการสภานัักเรีียนต้้องมีีคุุณสมบััติิดัังต่่อไปนี้้� (1) เป็็นคณะกรรมการสภานัักเรีียน คณะอนุุกรรมการนัักเรีียนในปีีการศึึกษานั้้�นและ อดีีตคณะกรรมการสภานัักเรีียน (2) เป็็นหััวหน้้าห้้องหรืือผู้้แทนนัักเรีียนชั้้�นมััธยมศึึกษาปีีที่่� 1-6 ของปีีการศึึกษานั้้�น (3) เป็็นผู้้มีีความประพฤติิเรีียบร้อ้ย โดยผ่่านการรัับรองจากครููที่่ปรึ�ึกษา และคณะกรรมการ กลุ่่มบริิหารกิิจการนัักเรีียน หมวดที่่� 5 วิิธีีดำำ เนิินการจััดตั้้�งคณะกรรมการสภานัักเรีียน ข้้อ 10 ประธานคณะกรรมการสภานัักเรีียน เป็็นประธานคณะกรรมการสภานัักเรีียนโดยตำแหน่่ง (1) ประธานคณะกรรมการสภานัักเรีียน จะต้อ้งเป็็นผู้้ที่่�ได้้คะแนนเสีียงส่่วนใหญ่่ในการ ลงมติิของประธานคณะสีทั้้ี�ง5คน ซึ่่�งยึดึตามบทบััญญัติัิการแต่่งตั้้�งนายกรััฐมนตรีี รััฐธรรมนููญแห่่งราชอาณาจัักรไทย พ.ศ.2560 มาตราที่่� 158 วรรค 3 (2) ประธานคณะกรรมการสภานัักเรีียน จะต้้องเป็็น 1ใน ประธานสีี5คน ที่่�ได้้รัับ การเลืือกตั้้�งจากนัักเรีียนโรงเรีียนสตรีีศรีีสุุริิโยทััย ข้้อ 11 รองประธานคณะกรรมการสภานนัักเรีียนคนที่่�1(ม.5) เป็็นรองประธานคณะกรรมการ สภานัักเรีียนโดยตำแหน่่ง 172 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง


ข้้อ 12 รองประธานคณะกรรมการสภานัักเรีียนคนที่่�2 (ม.5) เป็็นเลขานุุการคณะกรรมการ สภานัักเรีียนโดยตำแหน่่ง ข้้อ 13 ตำแหน่่งคณะกรรมการสภานัักเรีียน ตำแหน่่งอื่่�น ให้้ใช้้วิิธีีการ ตามข้้อ 7 หมวดที่่� 6 วาระคณะกรรมการสภานัักเรีียน ข้้อ 14 ให้้คณะกรรมการสภานัักเรีียนอยู่่ในวาระคราวละ 1 ปีีการศึึกษา ข้้อ 15 ให้้จััดการประชุุมตามวาระที่่�ดำนงตำแหน่่ง ทุุกวัันศุุกร์์สุุดท้้ายของเดืือน หมวดที่่� 7 ที่่�ปรึึกษาคณะกรรมการสภานัักเรีียน ข้้อ 16 ที่่�ปรึึกษาคณะกรรมการสภานัักเรีียน ได้้แก่่ ที่่�ได้้รัับการแต่่งตั้้�งจากทางโรงเรีียน ข้้อ 17 ที่่�ปรึึกษาคณะกรรมการสภานัักเรีียนอยู่่ในวาระคราวละ 1 ปีีการศึึกษา ข้้อ 18 ที่่ปรึ�ึกษาคณะกรรมการสภานัักเรีียนให้้มาจากการเลืือกสรรของคณะผู้บ้ริิหารของโรงเรีียน ข้้อ 19 หััวหน้้าสถานศึึกษา รองผู้้อำนวยการกลุ่่มบริิหารวิิชาการ รองผู้้อำนวยการกลุ่่มบริิหารทั่่�วไป รองผู้้อำวยการกลุ่่มบริิหารงบประมาณ รองผู้้อำนวยการกลุ่่มบริิหารงานบุุคคล และรองผู้้อำนวยการ กลุ่่มบริิหารกิิจการนัักเรีียน เป็็นที่่�ปรึึกษาโดยตำแหน่่ง ข้้อ 20 คณะกรรมการที่่ปรึ�ึกษาสภานัักเรีียนมีีหน้้าที่่�ให้้คำปรึึกษา แนะนำ ร่่วมกัันแก้้ไขปััญหา และดำเนิินงานร่่วมกัับคณะกรรมการสภานัักเรีียน และงานอื่่�นๆ ที่่�ได้รั้ับมอบหมายจากโรงเรีียน หมวดที่่� 8 บทบาทของสภานัักเรีียน ข้้อ 21 ให้้คณะกรรมการสภานัักเรีียนปฏิิบััติิหน้้าที่่�ดัังนี้้� (1) เป็็นผู้้นำในการปฏิิบััติิกิิจกรรมเพื่่�อส่่วนรวมตามหลัักธรรมาภิิบาล (2) ปกป้้องคุ้้มครองสิิทธิิเสรีีภาพของตนเองและเพื่่�อนนัักเรีียน โดยใช้้กระบวนการ ประชาธิิปไตยและแนวทางสัันติิวิิธีี (3) ส่่งเสริิม สนัับสนุุนและมีส่ี่วนร่่วมในทุุกกิิจกรรมที่่�เป็็นประโยชน์ต่์อนั่ ักเรีียนและส่่วนร่่วม (4) สืืบสานความรู้้ ภููมิิปััญญา อนุุรัักษ์์วััฒนธรรมและเอกลัักษณ์์ของชาติิ (5) เป็็นผู้้นำเพื่่�อการมีีส่่วนร่่วมในกิิจกรรมของชุุมชนและสัังคม (6) ประสานและปฏิิบััติิงานร่่วมกัับทุุกหน่่วยงาน องค์์กรชุุมชนต่่าง ๆ (7) รณรงค์์ให้้นัักเรีียนทำความดีีเพื่่�อเป็็นประโยชน์์ต่่อโรงเรีียน คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 173


หมวดที่่� 9 หน้้าที่่�ของคณะกรรมการสภานัักเรีียน ข้้อ 22 ให้้คณะกรรมการสภานัักเรีียนปฏิิบััติิหน้้าที่่�ดัังนี้้� (1) ดููแลทุุกข์์ สุุข ของนัักเรีียน และร่่วมแก้้ไขปััญหาที่่�เกิิดขึ้้�นในโรงเรีียน (2) ประสานงานกัับบุุคลากร และหน่่วยงานที่่�เกี่่�ยวข้้องในด้้านต่่าง ๆ เพื่่�อประโยชน์์ และความก้้าวหน้้าที่่�นัักเรีียนควรได้้รัับ (3) รัับผิิดชอบงานและกิิจกรรมต่่าง ๆ ตามที่่�ได้้รัับมอบหมายจากโรงเรีียน (4) คิดริิเริ่่�มโครงการที่่�เป็็นประโยชน์ ์สามรถปฏิิบัติัิได้้จริิง และส่่งผลต่อ่การพััฒนาโรงเรีียน (5) ดููแลสอดส่อ่ง และบริิหารจัดัการทรััพยากรที่่มี�อยู่่ ี ในโรงเรีียนให้้เกิดปิ ระโยชน์อย่์ ่างคุ้้มค่่า (6) ประชาสััมพัันธ์ข้์อมูู้ลข่่าวสารที่่�เป็็นประโยชน์ ์ ทัันต่อ่เหตุุการณ์ ์และตรงไปตรงมา (7) เสนอความคิดิเห็็นต่อ่ โรงเรีียน ในการพััฒนาคุุณภาพการเรีียนการสอนเพื่่อพั�ัฒนา โรงเรีียนในด้้านต่่าง ๆ (8) วางแผนดำเนิินงานกิิจกรรมต่่าง ๆ ร่่วมกัับครููที่่�ปรึึกษา (9) ปฏิิบััติิงานโดยไม่่ขััดหรืือแย้้งกัับระเบีียบ หรืือข้้อบัังคัับอื่่�นใดของทางราชการ พร้อ้มทั้้�งต้อ้งรัักษาไว้้ซึ่่�งศีีลธรรม วััฒนธรรม และขนบธรรมเนีียมประเพณีีอัันดีีงาม หมวดที่่� 10 การพ้้นจากตำำแหน่่งของสภานัักเรีียน ข้้อ 23 ให้้สภานัักเรีียนพ้้นจากตำแหน่่งหน้้าที่่�ดัังนี้้� (1) ครบวาระ 1 ปีี (2) ลาออก (3) เสีียชีีวิิต (4) ย้้ายโรงเรีียน (5) ที่่�ประชุุมสภานัักเรีียนลงมติิ2 ใน 3 ให้้ลาออก (6) ประธานลาออกจากตำแหน่่ง ให้้รองประธานคนที่่� 1 รัักษาการจนครบวาระ 174 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง


หมวดที่่� 11 บทเฉพาะกาล ข้้อ 24 ระเบีียบการเลืือกตั้้�งคณะกรรมการสภานัักเรีียน ให้้ใช้้ตามระเบีียบของสำนัักงาน คณะกรรมการการเลืือกตั้้�งและรััฐธรรมนููญแห่่งราชอาณาจัักรไทย พ.ศ.2560 ข้้อ 25 การเปลี่่�ยนแปลงแก้้ไขระเบีียบนี้้� จะทำได้้ในกรณีีต่่อไปนี้้� (1) หััวหน้้าสถานศึึกษามีีอำนาจแก้้ไข หากพิิจารณาเห็็นสมควรปรัับปรุุง ระเบีียบ ให้้สอดคล้้องกัับสภาพปััจจุุบััน และปััญหาความขััดข้้อง ที่่�อาจเกิิดขึ้้�น (2) ในการปฏิิบัติัิตามระเบีียบนี้้�หากเกิดปัิ ัญหาข้อขั้ดข้ัอ้งประการใดให้้คณะกรรมการ สภานัักเรีียน คณะกรรมการที่่ปรึ�ึกษา คณะกรรมการกลุ่่มบริิหารงานบุุคคลของโรงเรีียนร่่วมประชุุม ปรึึกษาหารืือเสนอแนวทางแก้้ไขต่่อทางโรงเรีียนเพื่่�ออนุุมััติิให้้ดำเนิินการแก้้ไขต่่อไป ประกาศ ณ วัันที่่� 27 มีีนาคม 2567 (นายสุุทธิิเกีียรติิ พัันธ์์เสนา) ผู้้อำนวยการโรงเรีียนสตรีีศรีีสุุริิโยทััย คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 175


สมาคมศิิษย์์เก่่าสตรีีศรีีสุุริิโยทััย (ส.ศ.ท.) สมาคมศิิษย์์เก่่าสตรีศรีสุีริุิโยทััยเดิิมชื่่อว่�่า ศรีสุีริุิโยทััยสมาคม ได้้เริ่่�มก่อตั้้ ่ �งขึ้้�นเมื่่อ วั�ันที่่�15 มีีนาคม 2498เพื่่อ�ให้ศิ้ิษย์์เก่่ามีส่ี่วนร่่วม กิิจกรรมของโรงเรีียน โดยเข้้ามามีีส่่วนร่่วมรัับรู้้ แลกเปลี่่�ยน ความคิิดเห็็นระหว่่างโรงเรีียนและศิิษย์์เก่่า ชื่่�อย่่อของสมาคม “ส.ศ.ท.” มีีสำนัักงานของสมาคมตั้้�งอยู่่ที่่�โรงเรีียนสตรีีศรีีสุุริิโยทััย เลขที่่�1 ซอยเจริิญกรุุง57 ถนนเจริิญกรุุงแขวงยานนาวาเขตสาทรกรุุงเทพมหานคร10120 วััตถุุประสงค์์ของสมาคม ข้้อที่่� 1. เพื่่�อส่่งเสริิมความสััมพัันธ์์อัันดีีระหว่่างศิิษย์์เก่่า ครูู อาจารย์์ นัักเรีียนและ นัักศึึกษาผู้้ใหญ่่โรงเรีียนสตรีีศรีีสุุริิโยทััย ข้้อที่่� 2. เพื่่อส่�่งเสริิมและสนัับสนุุนการดำเนิินงานของโรงเรีียนให้้สำเร็็จลุลุ่่วงไปด้้วยดีี ข้้อที่่� 3. เพื่่�อส่่งเสริิมการศึึกษา การอาชีีพแก่่สมาชิิก และนัักเรีียน ข้้อที่่� 4. เพื่่�อเผยแพร่่ชื่่�อเสีียง เกีียรติิคุุณของโรงเรีียนและสมาชิิก ข้้อที่่� 5. เพื่่�อร่่วมกัันบรรเทาสาธารณภััยตามโอกาส ข้้อที่่� 6. เพื่่�อดำเนิินกิิจกรรมอื่่�น ๆ ที่่�เป็็นประโยชน์์ไม่่ขััดต่่อศีีลธรรม กฎหมาย และ ไม่่เกี่่�ยวข้้องกัับการเมืือง กิิจกรรมของสมาคม ข้้อที่่� 1. จััดกิิจกรรมเพื่่�อเสริิมสร้้างความสััมพัันธ์์อัันดีีระหว่่างศิิษย์์เก่่ากัับโรงเรีียน ข้้อที่่� 2. จััดกิิจกรรมส่่งเสริิมการศึึกษาและการอาชีีพ ข้้อที่่� 3. จััดกิิจกรรมบรรเทาสาธารณภััย ข้้อที่่� 4. จััดกิิจกรรมอื่่�น ๆ ที่่�จะส่่งเสริิมให้้สมาคมได้้ดำเนิินการตามวััตถุุประสงค์์ สมาชิิกของสมาคมมีี 2 ประเภท แบ่่งออกเป็น็ 2 ประเภท คืือ 1.สมาชิิกกิิตติิมศัักดิ์์�ได้้แก่ บุุ่คคลผู้้มีอุีปุการคุุณแก่่สมาคมหรืือโรงเรีียนซึ่่�งคณะกรรมการ บริิหารของสมาคมไม่่น้้อยกว่่ากึ่่�งหนึ่่�งลงมติิเห็็นชอบให้้เชิิญเป็็นสมาชิิกกิิตติิมศัักดิ์์�และผู้้นั้้�น ได้้ยอมรัับ สมาชิิกกิิตติิมศัักดิ์์�ไม่่ต้้องเสีียค่่าบำรุุงและค่่าลงทะเบีียน 176 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง


2. สมาชิิกสามััญ ได้้แก่่ 2.1 สมาชิิกสามััญประเภท กได้้แก่่ ศิิษย์์เก่่าของโรงเรีียนสตรีีศรีีสุุริิโยทััย ศิิษย์์เก่่า ของโรงเรีียนสตรีีวััดสุุทธิิวราราม ศิิษย์์เก่่าของโรงเรีียนสตรีีบ้้านทวาย ศิิษย์์เก่่าของโรงเรีียน ผู้้ใหญ่่สตรีีศรีีสุุริิโยทััย 2.2 สมาชิิกสามััญประเภท ข ได้้แก่่ ผู้้บริิหารสถานศึึกษา ครูู อาจารย์์โรงเรีียน สตรีศรีสุีริุิโยทััย ที่่ป�ฏิิบัติัิหรืือเคยปฏิิบัติัิราชการอยู่่ ณโรงเรีียนสตรีศรีสุีริุิโยทััยเป็็นสมาชิิกสามััญ สมาชิิกต้้องประกอบด้้วยคุุณสมบััติิต่่อไปนี้้� 1. ไม่่เป็็นผู้้ที่่�ศาลสั่่�งให้้เป็็นบุุคคลไร้้ความสามารถ เสมืือนไร้้ความสามารถหรืือบุุคคล ล้้มละลาย 2. เป็็นผู้้ที่่มี�ีความประพฤติดีิ ีไม่่เคยกระทำความผิด ต้ิอ้งคำพิิพากษาถึึงที่่สุ�ดุให้้ลงโทษ จำคุุกเว้้นแต่่ความผิิดลหุุโทษหรืือความผิิดที่่�ได้้กระทำโดยประมาท แต่่ในกรณีีพิิเศษให้้ คณะกรรมการบริิหารพิิจารณายกเว้้นคุุณสมบััติิข้้อนี้้�เป็็นรายบุุคคลโดยลงมติิเป็็นเอกฉัันท์์ 3. ไม่่เป็็นผู้้มีีหนี้้�สิินล้้นพ้้นตััว 4. ไม่่เป็็นโรคติิดต่่อร้้ายแรงหรืือเป็็นที่่�รัังเกีียจของสัังคม การสมััครเข้้าเป็นส็มาชิิก การเข้้าเป็็นสมาชิิกให้ยื่่้�นคำขอเป็็นลายลัักษณ์์อัักษรหรืือยื่่�นโดยวิธีิีการทางอิิเล็็กทรอนิิกส์์ ตามที่่�สมาคมกำหนดต่่อนายทะเบีียนโดยมีีสมาชิิกรัับรองไม่่น้้อยกว่่า2คน เมื่่�อนายทะเบีียน ของสมาคมได้รั้ับคำขอเป็็นสมาชิิกแล้้ว ต้อ้งประกาศรายชื่่อผู้�ส้มััครไว้้ณ สำนัักงานของสมาคม หรืือช่่องทางการสื่่�อสารอื่่�น ๆ ที่่�สมาคมกำหนดไม่่น้้อยกว่่า 15 วััน แล้้วให้้เลขานุุการสมาคม นำรายชื่่�อผู้้สมััครเสนอต่่อที่่�ประชุุมคณะกรรมการบริิหาร เพื่่�อพิิจารณารัับเข้้าเป็็นสมาชิิก เมื่่อ�คณะกรรมการบริิหาร มีีมติรัิับผู้ใ้ดเข้้าเป็็นสมาชิิกแล้้วให้ถืือว่ ้ ่าผู้้นั้้�นเป็็นสมาชิิกของสมาคม การขาดจากสมาชิิกภาพ (1) ตาย (2) ลาออก (3) ขาดคุุณสมบััติิของการเป็็นสมาชิิก (4) ฝ่่าฝืืนระเบีียบข้้อบัังคัับของสมาคม หรืือประพฤติิในทางที่่�อาจนำความเสื่่�อมเสีีย มาสู่่สมาคม และคณะกรรมการบริิหารมีีมติิเป็็นเอกฉัันท์์ให้้ออกจากสมาชิิก คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 177


สมาคมศิิษย์์เก่่าสตรีีศรีีสุุริิโยทััย (ส.ศ.ท.) ทที่ตั้ ง้ : ณ โรงเรียนสตรีศรีสุริโย โรงเรียนสตรีศรีสุริโยททัย เลขทที่1 ซ ซอยเจริญกรุง อยเจริญกรุง 57 ถ ถนนเจริญกรุง นนเจริญกรุง ( ซซอยดอนกุศล) อยดอนกุศล) แขววงยานนาววา เขตสาททร กรุงเททพฯ 10120 โ ททร. 0-2211-0383 0-2211-0383 ต่อ 111 โททรสาร 0-2675-9136 0-2675-9136 นายสุุทธิิเกีียรติิ พัันธ์์เสนา อุปนายกสมาคมที่ 1 น.ส.นุุชจรีี ภููสีีเงิิน เลขานุุการ น.ส.กิิรติิยา จุุปิิติิ นายทะเบีียน นางสุุดารััตน์์ กมลกุุลาจารย์์ อุุปนายกสมาคมที่่� 3 น.ส.สุุดา บุุญชููจรััส อุุปนายกสมาคมที่่� 2 น.ส.จัันทนา เกื้้อเกีียรติิงาม นายกสมาคม น.ส.ศิิวพร ดิิลกโกมล เหรััญญิิก 178 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง


สมาคมผู้้�ปกครองและครููสตรีีศรีีสุุริิโยทััย (ส.ผ.ศ.ท.) คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 179 สมาคมผู้้ปกครองและครููสตรีีศรีีสุุริิโยทััย ได้้เริ่่�มก่่อตั้้�ง พ.ศ. 2520 โดยได้้จััดตั้้�ง คณะกรรมการสายสััมพัันธ์์บ้้านกัับโรงเรีียน เพื่่�อให้้ผู้้ปกครองมีีส่่วนร่่วมในการดำเนิินงาน แก้้ปััญหาต่่าง ๆ เพราะปััจจุุบัันการที่่�โรงเรีียนจะดำเนิินงานต่่าง ๆ แต่่เพีียงฝ่่ายเดีียวงาน ย่่อมบรรลุุผลได้้ยากจะต้้องอาศััยความร่่วมมืือจากผู้้ปกครอง ที่่�จะเข้้ามามีีส่่วนรัับรู้้ แลกเปลี่่�ยนความคิิดเห็็นปรึึกษาหารืือในการอบรมสั่่�งสอนเด็็กอย่่างใกล้้ชิิด ดัังนั้้�น กรรมการสายสััมพัันธ์์บ้้านกัับโรงเรีียน จึึงได้้เกิิดขึ้้�นและเป็็นพื้้�นฐานของการก่่อตั้้�งสมาคม ผู้้ปกครองและครููสตรีีศรีีสุุริิโยทััย ชื่่�อย่่อของสมาคม “ส.ผ.ศ.ท.” ใช้้ชื่่�อภาษาอัังกฤษว่่า “Satri Si Suriyothai Parents and Teachers Association” ชื่่�อว่่า “S.P.T.A” มีีสำนัักงานใหญ่ตั้้่ �งอยู่่ ณ โรงเรีียนสตรีศรีสุีริุิโยทััย เลขที่่�1 ถนนเจริิญกรุุง ซอยเจริิญกรุุง 57 (ซอยดอนกุุศล) แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุุงเทพฯ 10120 วััตถุุประสงค์์ของสมาคม 1. เพื่่�อส่่งเสริิมความสััมพัันธ์์อัันดีีระหว่่างผู้้ปกครองและครูู ให้้เกิิดความร่่วมมืือ ด้้านการศึึกษา ศีีลธรรม วััฒนธรรม และสวััสดิิภาพของนัักเรีียน 2. เพื่่�อให้้ผู้้ปกครองและครููร่่วมมืือกัันอย่่างใกล้้ชิิดในการอบรมนัักเรีียนและแลกเปลี่่�ยน ความรู้้ ความคิด ป ิระสบการณ์์ในการแก้ปั้ ัญหา เพื่่อพั�ัฒนานัักเรีียนให้้เป็็นพลเมืืองดีี ของชาติิ 3. เพื่่อส่�่งเสริิมและสนัับสนุุนโรงเรีียนให้้สามารถดำเนิินงานในด้้านต่่างๆให้้สำเร็็จลุลุ่่วง ด้้วยดีีและให้้เป็็นสถาบัันที่่�ก่่อประโยชน์์แก่่สัังคม 4. เพื่่�อดำเนิินกิิจกรรมต่่างๆ อัันมีีผลส่่งเสริิมการศึึกษา สัันทนาการ และสวััสดิิการ แก่่นัักเรีียน 5. เพื่่�อให้้บริิการแก่่สมาชิิกตามความเหมาะสม


สมาชิิกสมาคมผู้้�ปกครองและครููสตรีีศรีีสุุริิโยทััย 1. สมาชิกกิตติมศักดไิ์ด้แก่ผูท้ รงคุณวุฒิหรือผู้มีอปุ การคุณต่อสมาคมหรือโรงเรียน ซงึ่ คณะกรรมการของสมาคมที่เข้าประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งเห็นชอบให้เชิญเข้าเป็นสมาชิก 2. สมาชิกสามัญ ได้แก่ 2.1 ผู้ที่เป็นหรือเคยเป็นผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย 2.2 ผู้ที่เป็นหรือเคยเป็นครูโรงเรียนสตรีศรีสุริโยโทัย 2.3 ผู้ที่เป็นนักเรียนเก่าของโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย สมาชิกสามัญต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. บรรลุนิติภาวะ 2. มีความประพฤติดี 3. ไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรงหรือเป็นที่รังเกียจของสังคม 4. ไม่เป็นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัว 5. ไม่เป็นผู้ต้องโทษจำ�ำคุกตามคำ�ำพิพากษาของศาล การสมััครเป็นส็มาชิิก ผู้สมัครต้องย ื่นใบสมัคร ตามแบบฟอร์มที่สมาคมกำ�ำหนดขึ้นต่อนายกสมาคมพร้อมทั้ง ชำ�ำระค่าสมาชิกรายปี500.- บาท (ห้าร้อยบาทถ้วน) ผลงานในด้้านต่่างๆ ที่่�สมาคมได้ด้ำเนิินไปนั้้้�น คณะกรรมการได้ตั้้้ �งใจให้้เกิดิความมั่่�นคง และเข้มแข็ง เพื่อที่จะรักษาพลังสามัคคีและพยายามที่จะโอนอ่อนผ่อนปรนเข้าหากันด้วย ไมตรีจิตอย่างดี พร้อมที่จะมีการเสียสละกำ�ำลังกาย กำ�ำลังทรัพย์ และเวลา เพื่อช่วยกัน อบรมให้นักเรียนเป็นคนดีและเป็นอนาคตของประเทศชาติสืบต่อไป ตั้้ง : ณ โรงเรีียนสตรีีศรีีสุุริิโยทััย เลขที่่ 1 ซอยเจริิญกรุุง 57 ถนนเจริิญกรุุง (ซอยดอนกุุศล) แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุุงเทพฯ 10120 โทร. 0-2211-0383, 0-2211- 9850 โทรสาร 0-2211- 9937 180 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง


นายอภิิรุุม เทพนุุกููล อุปนายกสมาคมที่ 1 นายสมบััติิเอกเชี่่ยวชาญ เลขานุุการ นางประภาวััลย์์ เหลืืองเจริิญพร อุุปนายกสมาคมที่่� 2 นางพจนา สถาพรวจนา เหรััญญิิก ผอ.สุุทธิิเกีียรติิ พัันธ์์เสนา อุุปนายกสมาคมที่่� 3 น.ส.พนััสวีี หวนจิิตร สาราณีียกร น.ส.อชิิรกาญจน์์ รููปสููง นายทะเบีียน สมาคมผู้้�ปกครองและครู ู โรงเรีียนสตรีีศรีีสุุริิโยทััย คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 181


มููลนิิธิิโรงเรีียนสตรีีศรีีสุุริิโยทััย โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัยตั้งอยู่ในย่านชุมชนหนาแน่น มีนักเรียนเข้ามาศึกษาเล่าเรียน เป็นจำ�ำนวนมากทุกปี และนักเรียนส่วนหนึ่งเป็นนักเรียนที่มีปัญหาด้านเศรษฐกิจ ทางโรงเรียน จึงหาทางช่วยเหลือโดยการให้ทุนสงเคราะห์ทุกปี ซึ่งทุนนั้นได้รับความอนุเคราะห์จากอดีตท่าน ผู้บริหาร เช่น คุณหญิงประยงคุ์ ถอ่งดิกิจฉการ, คุณหญิงกรองแก้ว ปทุมมานนท์, อาจารย์ญาณี บุญยินทุ เป็นต้น และครูอาจารย์ ญาติมิตรของครูอาจารย์ ศิษย์เก่าผู้ปกครองนักเรียน รวมทั้ง บุคคลภายนอก ทางโรงเรียนมีความเกรงใจผู้มีจิตเมตตาทุกท่านจึงได้ก่อตั้งมูลนิธิขึ้น โดยได้รับ การสนับสนุนจากครูอาจารย์เป็นอย่างดี มลนิธิเริูมก่่อตังเม้ ื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2520 โดยอดีตผูอำ้ำ�นวยการจงกล วิทยาธิกรณศักดิ์ ด้วยเงินทุนจดทะเบียนจำ�ำนวน 113,435.43 บาท มีชื่อว่า “มูลนิธิโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย” ใช้อักษรย่อว่า “ม.ศ.ท.” ใช้ชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า “SatriSiSuriyothai School Foundation” ใช้อักษรย่อว่า “SFS” มีเครื่องหมายของมูลนิธิฯเป็นรูปสมเด็จพระสุริโยทัยทรงพระคชาธาร มีอักษรไทยว่า “มูลนิธิโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย”อย่ภายในกรูอบส่วนล่าง สำำ� นักงานของมลนิธิฯู อยทู่โรงเรียนสตรี ี่ศรีสุริโยทัย เลขที่ 1ซอยเจริญกรุง57 (ดอนกุศล) ถนนเจริญกรุง แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร วััตถุุประสงค์์ในการจััดตั้้�งมููลนิิธิิฯ เพื่่�อช่่วยเหลืือและส่่งเสริิมการศึึกษานัักเรีียนที่่�ขััดสนที่่�มีีความประพฤติิดีีของโรงเรีียน สตรีศรีสุริโยทัยเพื่อศึกษาเล่าเรียนในโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย ตลอดทั้งเครื่องแบบอุปกรณ์ การศึกษาและค่ารักษาพยาบาล ตำ�ำแหน่งประธานกรรมการมูลนิธิตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน นางจงกล วิทยาธิกรณศักดิ์ โดยมีีนางสมศรีี บุุญยะปานะสาร เป็็นประธานมููลนิิธิิคนปััจจุุบััน การดำำ เนิินงานของมููลนิิธิิฯ คณะกรรมการดำ�ำเนินการประชุมปีการศึกษาละ 1 ครั้ง เพื่อจัดสรรเงินดอกผลอันเกิด จากทรััพย์์สิินที่่�เป็็นทุุนของมููลนิิธิิฯ ให้้กัับโรงเรีียนสตรีีศรีีสุุริิโยทััย จััดเป็็นทุุนสงเคราะห์์ให้้กัับ นัักเรีียนทุุกปี ีแต่่งตั้้�งผู้ตรวจส้อบบััญชีเีพื่่อรั�ับรองงบแสดงฐานะการเงิินทุุกปี ีเพื่่อ�รายงานเขตสาทร ผลการดำเนิินงานต่่าง ๆ ที่่�มููลนิิธิิฯ ดำเนิินการนั้้�น ได้้รัับเงิินทุุนสนัับสนุุนจากอดีีต ผู้บริหารโรงเรียน ครู - อาจารย์ ศิษย์เก่า ผู้ปกครองนักเรียนรวมทั้งบุคคลภายนอกเป็นอย่างดี ทางมููลนิิธิิฯ ขอขอบคุุณในความเมตตาที่่�มีีต่่อนัักเรีียน ทำให้้นัักเรีียนได้้มีีโอกาสพััฒนาตนเอง ได้้เต็็มตามศัักยภาพของตน รวบรวมโดย เลขานุการมูลนิธิผู้ปกครองและครูสตรีศรีสุริโยทัย น.ส.สมพร ฉ่�่ำำเอี่ยม 182 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง


คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 183 ภาคผนวก


โรงเรีียนศรีีสุุริิโยทััย นามพระนางยิ่่�งใหญ่่สมััยอยุุธยา เรานัักเรีียนภููมิิใจหนัักหนา จะรัักษาเกีียรติิงามความดีีสมชื่่�อ เราจะอบรมให้้สมกุุลสตรีี การเรีียนการดนตรีีกีีฬา และการฝีีมืือ ประพฤติิตนให้้คนเชื่่�อถืือ เกีียรติิระบืือนามโรงเรีียนศรีีสุุริิโยทััย ศรีีสุุริิโยทััย เราเคยได้้สุุขสัันต์์ วิิญญาณรัักร่่วมกััน ผููกสััมพัันธ์์ตรึึงใจ เลืือดพี่ ่� น้้องศิิษย์์ศรีี จะไม่่มีีเปลี่่�ยนไป รัักเคยรื่ ่� นชื่่�นใจ ยัังจำได้้ไม่่ลืืม จะอยู่่แห่่งหนใด รัักยัังซึ้้�งใจดููดดื่่�ม ศรีีเอยอาลััย ห่่วงใยไม่่ลืืม ปลาบปลื้้�มวิิญญา ภาพเตืือนใจใฝ่่ฝััน แว่่วเสีียงนั้้�นเรีียกหา มาเถิิดนะแก้้วตา อย่่าลืืมมาสู่่รััง ๆ ๆ ๆ ๆ พัพัันตนตรีีศรีีโ รีีศรีีโพพธิ์์� ์ ททศนุนุุตต อดีดีีตตอาจารย์รย์์สสอนดนต นดนตรีีสสากลของโ ากลของโรรงเรีียนน เป็ป็็นนผู้้ปรระพัพัันธ์นธ์์เนื้้นื้้�อร้ร้้องและททำนนองเพพลง เพลงประจำ ำ โรงเรีียน เพลงอย่่าลืืมรััง 184 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง


ศรีีสุุริิโยทััยสถิิตย์์อยู่่ในใจเราทั่่�วกััน โรงเรีียนเราเหมืือนบ้้านในฝััน ร่่มรื่ ่� นสุุขสัันต์์สะอาดตา ราชานุุสาวรีีย์์สมเด็็จพระสุุริิโยทััยงามสง่่า โรงเรีียนดีีเด่่นด้้านการศึึกษา ด้้านภาษา ด้้านดนตรีี ดีีเด่่นผู้้บริิหารเด่่นครููอาจารย์์ส่่งศัักดิ์์�ศรีี ศิิษย์์ครููมั่่�นรัักความสามััคคีี มุ่่งการทำความดีีตลอดมา (*) ศรีีสุุริิโยทััยสถิิตย์์อยู่่ในใจปวงประชา โรงเรีียนเราเสริิมส่่งปััญญาก้้าวหน้้าสืืบมาเป็็นหลัักชััย แนวทางสร้้างยุุวชนเพื่่�อให้้ทุุกคนได้้มีีความรู้้กว้้างไกล สร้้างสรรค์์ประโยชน์์ต่่อสัังคมไทย สร้้างนิิสััยสร้้างคุุณค่่า เป็็นแหล่่งที่่�ควรเชิิดชูู ปลููกฝัังความรู้้และศรััทธา สร้้างความเจริิญรุ่่งเรืืองก้้าวหน้้า เพีียบพร้้อมวิิชาที่่�ร่่ำเรีียน (ซ้้ำ) เพลงศรีีสุุริิโยทััยของเรา คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 185


ด้้วยโรงเรีียนสตรีีศรีีสุุริิโยทััยจััดทำคู่่มืือนัักเรีียนและผู้้ปกครอง ปีีการศึึกษา 2567 โดยมีีวััตถุุประสงค์์เพื่่�อให้้นัักเรีียนและผู้้ปกครองมีีความเข้้าใจเรื่่�องของโรงเรีียน หลัักสููตร การจัดัการเรีียนการสอน กฎระเบีียบ ข้อบั้ ังคัับ และแนวปฏิิบัติัิรวมถึึงสิ่่�งอำนวยความสะดวก ประเภทต่่างๆ ที่่�โรงเรีียนจััดให้้แก่่นัักเรีียน เพื่่อ�ให้้การดำเนิินงานเป็็นไปด้้วยความเรีียบร้อ้ย บรรลุุตามวััตถุปุระสงค์ อ์าศััยอำนาจ ตามพระราชบััญญััติิระเบีียบบริิหารราชการกระทรวงศึึกษาธิิการ พ.ศ.2546 มาตรา 39 พระราชบััญญััติิระเบีียบข้้าราชการครููและบุุคลากรทางการศึึกษา พุุทธศัักราช 2547 มาตรา 27 (1) คำสั่่�งสำนัักงานคณะกรรมการการศึึกษาชั้้�นพื้้�นฐานที่่� 37/2546 จึึงแต่่งตั้้�ง คณะกรรมการคำเนิินงาน ดัังต่่อไปนี้้� คณะกรรมการอำำนวยการ 1. นายสุุทธิิเกีียรติิ พัันธ์์เสนา ประธาน 2. นายพิิชััย ลิ้้�มเฉลิิม รองประธาน 3. นายสมบััติิ เอกเชี่่�ยวชาญ กรรมการ 4. นางสาวสุุกััญญา ประเสริิฐศรีี กรรมการ 5. นายปฏิิญญา มุุขสาร กรรมการ 6. นางสาวคนััฑฐิิณีี หมื่่�นโฮ้้ง กรรมการและเลขานุุการ คำำสั่่�งโรงเรีียนสตรีีศรีีสุุริิโยทััย ที่่� 49/2567 เรื่่�อง แต่่งตั้้�งคณะกรรมการจััดทำำหนัังสืือคู่่มืือนัักเรีียน และผู้้�ปกครอง ปีีการศึึกษา 2567 186 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง


คณะกรรมการดำำ เนิินการ 1. นายพิิชััย ลิ้้�มเฉลิิม ประธาน 2. นางสาวคนััฑฐิิณีี หมื่่�นโฮ้้ง รองประธาน 3. นายโอภาศ ชื่่�นบานเย็็น กรรมการ 4. นางสาวกาญจนา นาชััยเริ่่�ม กรรมการ 5. นางสาวพรรณนภา กำบััง กรรมการ 6. นายเอกรัักษ์์ สะอาดถิ่่�น กรรมการ 7. นางสาวนิิรััญญา นุ้้ยพานิิช กรรมการ 8. นางสาวณิิชาภััทร ใสสุุชล กรรมการ 9. นางสาวสุุจิิตรา วงศ์์ทองดีี กรรมการ 10. นางสาวพรพิิมลจัันทอง ฆ้้องทองชััย กรรมการ 11. นางสาวเกณิิกา บริิบููรณ์์ กรรมการ 12. นางสาวสุุภััทรา วงศ์์เลิิศอารัักษ์์ กรรมการ 13. นางสาวสุุวิิมล อิินทะพุุฒ กรรมการ 14. นางสาวนุุชจรีีภููสีีเงิิน กรรมการ 15. นายเจตริินทร์์ ขาวนุ้้ย กรรมการ 16. นางสาวสิิริิธร รมย์์ราช กรรมการ 17. นายอาทิิตย์์ สร้้อยสัังวาลย์์ กรรมการ 18. นางสาวดวงสุุรีีย์์ จัันทร์์ส่่อง กรรมการ 19. นางสาวกมลพััฒน์์ นุุสุุ กรรมการ 20. นางสาวนฤมล ขุุมทอง กรรมการและเลขานุุการ 21. นางเสาวณีีย์์ รัักษ์์เธีียรมงคล กรรมการและผู้้ช่่วยเลขานุุการ คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 187


มีหน้าท ี่ 1. ประชุมคณะกรรมการดำำ� เนินงานเพื่อกำำ�หนดแนวทางการจัดทำำ� หนังสือค่มูือนักเรียน 2. รวบรวมข้อมลู ระเบียบแนวปฏิบัติของกลุ่มบริหารวิชาการ กลุ่มบริหารงบประมาณ กลุ่มบริหารงานบุคคล กลุ่มบริหารทั่วไปและข้อมูลทั่วไป 3. ดำ�ำเนินการจัดทำ�ำรูปเล่มเพื่อส่งโรงพิมพ์ 4. พิสูจน์อักษรหนังสือคู่มือนักเรียน 5. จััดหนัังสืือคู่่มืือนัักเรีียนให้้แก่่นัักเรีียนระดัับชั้้�นมััธยมศึึกษาปีีที่่� 1 และ 4 ปีีการศึึกษา 2567 ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่่�ง ณ วัันที่่� 19 กุุมภาพัันธ์์พ.ศ. 2567 (นายสุุทธิิเกีียรติิ พัันธ์์เสนา) ผู้้อำนวยการโรงเรีียนสตรีีศรีีสุุริิโยทััย 188 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง


คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 189 DATE MONTH YEAR note:


190 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง DATE MONTH YEAR note:


คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 191 DATE MONTH YEAR note:


192 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง DATE MONTH YEAR note:


Click to View FlipBook Version