The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

31. hygiene 11002

31. hygiene 11002

หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดาเนินชีวติ

รายวชิ า สุขศึกษา พลศึกษา

( ทช11002 )

ระดบั ประถมศึกษา
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551

สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ

ห้ามจาหน่าย

หนงั สือเรียนเล่มน้ีจดั พมิ พด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพ่ือการศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน ลิขสิทธ์ิ
เป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวชิ าการลาดบั ที่ 12/2555

หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดาเนินชีวติ

รายวชิ า สุขศึกษา พลศึกษา ( ทช 11002 )

ระดบั ประถมศึกษา
ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560

ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารทางวชิ าการลาดบั ท่ี 12/2555

คํานาํ

กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551 เม่อื วนั ที่ 18 กนั ยายน พ.ศ. 2551 แทนหลกั เกณฑและวิธกี ารจัดการศกึ ษานอกโรงเรียน
ตามหลกั สตู รการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2544 ซ่ึงเปนหลักสูตรท่ีพัฒนาข้ึนตามหลักปรัชญาและ
ความเชื่อพ้ืนฐานในการจัดการศึกษานอกโรงเรียนที่มีกลุมเปาหมายเปนผูใหญมีการเรียนรูและส่ังสม
ความรูและประสบการณอ ยา งตอเนือ่ ง

ในปง บประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการไดก ําหนดแผนยุทธศาสตรใ นการขบั เคลอื่ นนโยบาย
ทางการศึกษาเพือ่ เพ่มิ ศกั ยภาพและขดี ความสามารถในการแขงขันใหป ระชาชนไดมีอาชีพทส่ี ามารถสรา ง
รายไดที่ม่ังคั่งและม่ันคง เปนบุคลากรที่มีวินัย เปยมไปดวยคุณธรรมและจริยธรรม และมีจิตสํานึก
รับผิดชอบตอตนเองและผูอ่ืน สํานักงาน กศน. จึงไดพิจารณาทบทวนหลักการ จุดหมาย มาตรฐาน ผล
การเรียนรทู ค่ี าดหวัง และเนือ้ หาสาระ ทัง้ 5 กลุมสาระการเรียนรู ของหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั
การศกึ ษา ข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ใหม ีความสอดคลองตอบสนองนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ
ซง่ึ สงผลใหตอ งปรบั ปรุงหนังสือเรียน โดยการเพ่ิมและสอดแทรกเน้ือหาสาระเก่ียวกับอาชีพ คุณธรรม
จรยิ ธรรมและการเตรยี มพรอม เพ่ือเขาสปู ระชาคมอาเซยี น ในรายวิชาท่ีมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน แต
ยังคงหลักการและวิธีการเดิมในการพัฒนาหนังสือท่ีใหผูเรียนศึกษาคนควาความรูดวยตนเอง ปฏิบัติ
กิจกรรม ทาํ แบบฝกหัด เพ่ือทดสอบความรูความเขาใจ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรูกับกลุม หรือ
ศึกษาเพมิ่ เตมิ จากภมู ิปญ ญาทอ งถิ่น แหลง การเรยี นรแู ละสอ่ื อนื่

การปรับปรุงหนังสือเรียนในคร้ังนี้ ไดรับความรวมมืออยางดียิ่งจากผูทรงคุณวุฒิในแตละ
สาขาวิชา และผูเก่ียวขอ งในการจดั การเรียนการสอนที่ศึกษาคนควา รวบรวมขอมูลองคความรูจากสื่อ
ตา ง ๆ มาเรียบเรียงเนือ้ หาใหค รบถว นสอดคลองกับมาตรฐาน ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวัง ตัวชี้วัดและกรอบ
เนือ้ หาสาระของรายวชิ า สํานักงาน กศน.ขอขอบคณุ ผมู สี ว นเกย่ี วของทกุ ทานไว ณ โอกาสนี้ และหวังวา
หนังสือเรียน ชุดน้ีจะเปนประโยชนแกผูเรียน ครู ผูสอน และผูเก่ียวของในทุกระดับ หากมี
ขอ เสนอแนะประการใด สาํ นกั งาน กศน. ขอนอมรับดวยความขอบคณุ ย่ิง

สารบญั หนา
1
บทที่ 1 รางกายของเรา 2
เรื่องท่ี 1 วัฏจักรชีวติ ของมนษุ ย
เรื่องที่ 2 โครงสรา ง หนา ทแ่ี ละการทํางานของอวัยวะภายนอก ภายใน ท่สี าํ คัญ 4
ของรางกาย
เรอ่ื งท่ี 3 การดูแลรกั ษาปอ งกนั ความผดิ ปกติของอวยั วะสําคัญของรา งกาย 10
อวัยวะภายนอกและภายใน 16
17
บทที่ 2 พัฒนาการทางเพศของวัยรนุ การคุมกําเนดิ และโรคติดตอทางเพศสมั พันธ 19
เร่อื งที่ 1 พัฒนาการทางเพศของวยั รนุ 20
เร่อื งท่ี 2 การดูแลสขุ ภาพเบอื้ งตนในวัยรนุ 24
เรอื่ งที่ 3 การคมุ กาํ เนิด 27
เรื่องที่ 4 วิธกี ารสรางสัมพันธภาพท่ีดรี ะหวา งคนในครอบครัว 29
เรอ่ื งที่ 5 การสอื่ สารเรอ่ื งเพศในครอบครวั 39
เรอ่ื งที่ 6 ปญหาทีเ่ ก่ยี วขอ งกับพัฒนาการทางเพศของวัยรนุ 44
เรื่องท่ี 7 ทักษะการจัดการกับปญ หา อารมณ และความตองการทางเพศของวัยรุน 47
เรอ่ื งท่ี 8 หลากหลายความเชื่อทผ่ี ดิ ในเรอ่ื งเพศ 53
เรอ่ื งที่ 9 กฎหมายที่เกย่ี วขอ งกบั การลว งละเมดิ ทางเพศ 58
เร่อื งท่ี 10 โรคติดตอทางเพศสมั พันธ 59
65
บทท่ี 3 การดแู ลสุขภาพ 67
เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย ความสําคญั และคณุ คาของอาหาร และโภชนาการ 68
เรื่องท่ี 2 การเลือกบรโิ ภคอาหารตามหลักโภชนาการ 70
เรอ่ื งท่ี 3 วิธีการถนอมอาหารเพือ่ คงคุณคาของสารอาหาร 72
เรื่องที่ 4 ความสาํ คญั ของการมสี ุขภาพดี 74
เรอ่ื งที่ 5 หลกั การดูแลสุขภาพเบื้องตน 75
เรื่องท่ี 6 ปฏิบัตติ นตามหลักสุขอนามัยสว นบคุ คล 76
เรื่องท่ี 7 คณุ คา และประโยชนข องการออกกําลงั กาย
เรอื่ งท่ี 8 หลักการและวิธอี อกกําลงั กายเพื่อสุขภาพ
เรอ่ื งท่ี 9 การปฏิบัตติ นในการออกกําลงั กายรปู แบบตา ง ๆ

เรอื่ งที่ 10 ความหมาย ความสําคญั ของกิจกรรมนนั ทนาการ 80
เรอ่ื งท่ี 11 ประเภทและรปู แบบของกจิ กรรมนันทนาการ 81
82
บทท่ี 4 โรคตดิ ตอ 83
เรอ่ื งที่ 1 โรคตบั อกั เสบจากเชือ้ ไวรัส 84
เรื่องท่ี 2 โรคไขเลือดออก 85
เรอ่ื งที่ 3 โรคไขห วดั ธรรมดา 86
เร่ืองท่ี 4 โรคเอดส 88
เรื่องท่ี 5 โรคฉี่หนู 90
เรอ่ื งท่ี 6 โรคมือเทา เปอ ย 91
เรอ่ื งท่ี 7 โรคตาแดง 93
เรื่องท่ี 8 โรคไขห วดั นก 94
95
บทที่ 5 ยาสามญั ประจําบา น 100
เร่ืองที่ 1 หลกั การและวธิ กี ารใชย าสามัญประจาํ บาน 104
เร่ืองที่ 2 อันตรายจากการใชยา และความเชอ่ื ทผ่ี ิดเกีย่ วกบั ยา 105
108
บทท่ี 6 สารเสพตดิ อนั ตราย 110
เร่ืองท่ี 1 ความหมาย ประเภท และลกั ษณะของสารเสพติด 111
เรื่องท่ี 2 อันตรายจากสารเสพติด 113
113
บทท่ี 7 ความปลอดภยั ในชีวิตและทรพั ยสนิ 115
เร่ืองท่ี 1 อันตรายท่อี าจเกดิ ในชวี ติ ประจําวนั 118
เรอ่ื งท่ี 2 อันตรายทีเ่ กิดขึน้ ในบาน 119
เรอ่ื งที่ 3 อันตรายที่เกิดขนึ้ จากการเดนิ ทาง 120
เรื่องท่ี 4 อนั ตรายจากภยั ธรรมชาติ 126
129
บทที่ 8 ทกั ษะชีวิตเพอ่ื การคิด 129
เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสาํ คญั ของทักษะชีวิต 10 ประการ 136
เรอ่ื งท่ี 2 ทกั ษะชวี ติ ทจ่ี าํ เปน 139
141
บทที่ 9 อาชีพกบั งานบริการดา นสุขภาพ
ความหมายงานดา นบรกิ ารดา นสุขภาพ
การนวดแผนไทย
ธรุ กิจนวดแผนไทย

บรรณานกุ รม
คณะผูจดั ทํา

คาํ แนะนาํ การใชห นังสือเรยี น

หนังสือเรียนสาระทักษะการดําเนินชีวิต รายวิชา สุขศึกษา พลศึกษา ระดับประถมศึกษา รหัส
ทช 11002 เปนหนังสือเรียนที่จัดทําข้ึน สําหรับผูเรียนที่เปนนักศึกษานอกระบบ ในการศึกษาหนังสือ
เรยี นสาระทักษะการดําเนนิ ชีวิต รายวชิ าสขุ ศกึ ษา พลศกึ ษา ผเู รียนควรปฏิบัตดิ ังนี้

1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอและสาระสําคัญ ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง
และขอบขา ยเนอื้ หาของรายวชิ าน้นั ๆ โดยละเอียด

2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามที่กําหนด
แลว ตรวจสอบกบั แนวตอบกจิ กรรมตามท่กี าํ หนด ถาผเู รียนตอบผิดควรกลบั ไปศึกษาและทําความเขาใจ
ในเนอ้ื หาน้นั ใหมใหเ ขา ใจ กอนทจ่ี ะศกึ ษาเรือ่ งตอ ๆ ไป

3. ปฏิบัติกิจกรรมทายเรื่องของแตละเรื่อง เพื่อเปนการสรุปความรู ความเขาใจของเนื้อหา
ในเรื่องนัน้ ๆ อกี ครัง้ และการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมของแตล ะเนอ้ื หา แตล ะเร่อื ง ผเู รยี นสามารถนาํ ไปตรวจสอบ
กับครูและเพอื่ น ๆ ที่รวมเรยี นในรายวิชาและระดบั เดยี วกันได

4. หนังสอื เรียนเลมนีม้ ี 8 บท
บทท่ี 1 รา งกายของเรา
บทที่ 2 พฒั นาการทางเพศของวัยรนุ การคุมกําเนดิ และโรคติดตอ ทางเพศสัมพนั ธ
บทที่ 3 การดูแลสขุ ภาพ
บทท่ี 4โรคตดิ ตอ
บทที่ 5 ยาสามัญประจาํ บาน
บทท่ี 6 สารเสพตดิ อันตราย
บทท่ี 7 ความปลอดภยั ในชวี ติ และทรัพยสนิ
บทที่ 8 ทักษะชวี ิตเพ่อื การคดิ
บทที่ 9 อาชีพกบั งานบรกิ ารดา นสขุ ภาพ

โครงสรา งหลักสตู รรายวิชาสาระทกั ษะการดาํ เนนิ ชีวิต
ระดับประถมศกึ ษา สขุ ศกึ ษา พลศึกษา (ทช11002)

สาระสาํ คญั

เปนสาระที่เกี่ยวของกับธรรมชาติการเจริญเติบโต และพัฒนาการของมนุษย เมื่อมนุษยมีการ
พัฒนาการดา นสรีระ เจริญเติบโต แลว มนุษยตองดแู ลและสรา งเสรมิ พฤติกรรมสุขภาพทดี่ ีของตนเองและ
ครอบครวั ปฏบิ ัตติ นจนเกิดเปน นสิ ัย รูจกั หลกี เลี่ยงพฤติกรรมเส่ียงตอสุขภาพ ตลอดจนสงเสริมสุขภาพ
พลานามยั ของตนเองและครอบครัว

ผลการเรียนรทู ี่คาดหวงั

1. อธบิ ายธรรมชาตกิ ารเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนุษยได
2. บอกหลกั การดแู ลและสรางเสริมสุขภาพท่ดี ีของตนเองและครอบครวั
3. ปฏบิ ัตติ นในการดูแลและสรางเสริมพฤติกรรมสขุ ภาพพลานามยั จนเปน กิจนสิ ยั
4. ปอ งกนั และหลีกเล่ียงพฤติกรรมเส่ียงตอ สขุ ภาพและความปลอดภัยดว ยกระบวนการทกั ษะชวี ติ

ขอบขา ยเนื้อหาวิชา

บทท่ี 1 รางกายของเรา
บทที่ 2 พฒั นาการทางเพศของวยั รนุ การคมุ กําเนดิ และโรคตดิ ตอทางเพศสมั พันธ
บทท่ี 3 การดแู ลสุขภาพ
บทที่ 4 โรคตดิ ตอ
บทที่ 5 ยาสามญั ประจําบาน
บทท่ี 6 สารเสพตดิ อันตราย
บทท่ี 7 ความปลอดภัยในชวี ิตและทรพั ยส นิ
บทท่ี 8 ทักษะชวี ติ เพ่ือการคิด
บทท่ี 9 อาชพี กบั งานบรกิ ารดานสุขภาพ

1

บทท่ี 1
รางกายของเรา

สาระสําคญั

รางกายของมนุษยประกอบดวยอวัยวะตางๆ ท้ังภายใน และภายนอกท่ีทําหนาท่ีตางๆ
ตามความสําคัญของโครงสรางรางกายมนุษย รวมถึงการปองกันดูแลรักษาไมใหเกิดอาการผิดปกติ
เพ่ือใหรางกายไดมีการพัฒนาและเปล่ียนแปลงตามวัฏจักรชีวิตของมนุษยและมีสุขภาพกายที่สมบูรณ
ตามวยั

ผลการเรียนรทู ี่คาดหวงั

1. อธิบายการเปลย่ี นแปลงและพัฒนาการตามวัยของรางกายได
2. อธิบายโครงสรางและการทํางานของอวัยวะภายใน และภายนอกได
3. อธิบายวิธีการดูแลรักษาปองกันความผิดปกติของอวัยวะท่ีสําคัญของรางกาย ท้ังภายใน
และภายนอกได

ขอบขายเนอ้ื หา

เรอื่ งที่ 1 วฏั จกั รชวี ิตของมนษุ ย
เรือ่ งที่ 2 โครงสรา ง หนา ทแ่ี ละการทํางานของอวยั วะภายนอก ภายใน ที่สําคัญของรางกาย
เร่อื งท่ี 3 การดูแลรักษาปองกนั ความผดิ ปกติของอวัยวะสาํ คัญของรา งกาย อวยั วะภายนอกและ
ภายใน

2

เร่อื งที่ 1 วัฏจกั รชีวิตของมนษุ ย

ธรรมชาติของชีวิตมนษุ ย
ธรรมชาติของมนุษยประกอบไปดวยการเกิด แก เจ็บ ตาย ซ่ึงเปนธรรมดาของชีวิตท่ี

ทุกคนหลกี ไมพ น ดังนั้นควรเรียนรแู ละปฏิบัติตนดวยความไมประมาท
1. การเกิด
ทุกคนเกิดมาจากพอซง่ึ เปนเพศชาย และแมซ่ึงเปน เพศหญงิ โดยธรรมชาติไดกําหนดให

เพศหญิงเปนคนอุมทองตามปกติประมาณ 9 เดือน จะคลอดจากครรภมารดา เจริญเติบโตเปนทารก
แลวพัฒนาการเปนวัยเด็ก วัยรุน วัยผูใหญ วัยชรา ตามลําดับ รางกายของคนเราก็จะคอย ๆ เปล่ียนไป
ตามวัย

2. การแก
เมือ่ อายุมากขน้ึ รางกายจะมกี ารเปลี่ยนแปลงท่เี หน็ ไดช ัด เชน เมื่ออยูในชวงชรารางกาย
จะเสอ่ื มสภาพลง ผิวหนงั เหี่ยวยน การเคลอ่ื นไหวชาลง คนสวนใหญเ รยี กวา “คนแก”
3. การเจบ็
การเจ็บปวยของมนุษยสวนใหญเกิดจากการขาดการดูแลรักษาสุขภาพที่ถูกตองและ
สมํ่าเสมอ คนสวนใหญมักเคยเจ็บปวย บางคนเจ็บปวยเล็ก ๆ นอย ๆ หรือมาก จนตองรับการรักษา
จากแพทย ถาไมดูแลรักษาสุขภาพตนเอง รางกายยอมออนแอและมีโอกาสจะรับเช้ือโรคเขาสูรางกาย
ไดง ายกวาบคุ คลทร่ี ักษาสุขภาพสมาํ่ เสมอ
4. การตาย
ความตายเปนสิ่งที่ทุกคนหนีไมพน เกิดแลวตองตายดวยกันทุกคน แตการตายน้ัน
ตองถึงวัยที่รางกายเสื่อมสภาพไปตามธรรมชาติ เมื่ออยูในวัยหนุมสาวจึงควรดูแลรักษาสุขภาพและ
ดํารงชวี ติ ดวยความไมประมาท

การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการตามวยั
การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย จะเร่ิมต้ังแตเกิด ซึ่งแบงไดเปน 5 ชวงวัย

โดยแตละวยั จะมลี ักษณะและพฒั นาการเฉพาะของวยั
การเจรญิ เติบโต (Growth) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงในขนาดรูปราง สัดสวนตลอดจน

กระดูก กลามเนือ้ และอวยั วะทกุ สวนของรา งกายตามลําดับข้นั

3

พัฒนาการ (Development) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของมนุษยทุกสวนที่ตอเนื่องกัน
ต้ังแตแ รกเกดิ จนตลอดชวี ิต ซ่ึงเปน กระบวนการเปลี่ยนแปลงท้ังรางกายและจิตใจผสมผสานกันไปเปน
ข้นั ๆ จากระยะหนึ่งไปสอู กี ระยะหนงึ่ ทําใหเกดิ การเจริญกาวหนา เปนลําดับ ซึง่ แบงเปน 5 ชว งวัย ดังนี้

1. วยั ทารก (Infancy) ตง้ั แตเกดิ – 2 ป
เด็กในวัยน้ีจะมีพัฒนาการทางดานรางกายที่รวดเร็วมากในขวบปแรกเปน 2 เทาจาก
แรกเกิด ปตอไปมาพัฒนาการจะเพิ่มข้ึนเพียง 30 % จากน้ันจะเจริญเติบโตข้ึนตามลําดับ ตามแผนของ
การพฒั นา วยั ทารกจะสามารถรับรูส ่ิงตา ง ๆ ไดในระดับเบ้ืองตน เชน รูจักสํารวจ คนหา ทําความเขาใจ
และปรบั ตัวใหเขากับสภาพแวดลอมรอบ ๆ ตัว รูจักใชอวัยวะสัมผัสส่ิงตางๆ วัยน้ีตองอาศัยการเลี้ยงดู
เอาใจใสม ากทสี่ ุด

2. วยั เด็ก (Childhood) ต้งั แต 3 – 12 ป
การเจริญเติบโตในวัยน้ีสวนใหญเปนเร่ืองของกระดูกกลามเนื้อ และการประสานกับ
ระบบตาง ๆ ในรางกาย ความแตกตางระหวางบุคคลและเพศตรงกันขาม จะปรากฏชัดเจน โดยวัยเด็ก
แบง ออกเปน 3 ชวง ดงั น้ี
2.1 วัยเด็กตอนตน (3 - 5 ป) รูจักใชภาษา หัดพูด กินขาว ลางมือ รูจักสังเกต อยากรู
อยากทดลอง และเลน
2.2 วยั เดก็ ตอนกลาง (6 - 9 ป) เร่มิ ไปโรงเรียนตอ งปรับตวั เขา กับคนแปลกหนา และทํา
ความเขา ใจกบั ระเบียบของโรงเรียน รจู กั เลอื กตัดสินใจ รับผดิ ชอบการทาํ งานของตนเองได
2.3 วยั เด็กตอนปลาย (10 – 12 ป) เพศชาย - หญิง จะแสดงความแตกตางชัดเจนในดาน
พฤตกิ รรมและความสนใจ เดก็ หญิงจะโตกวา เดก็ ชาย มีทักษะการใชภ าษาท่ีดีขึ้น ทําตามคําส่ังได เรียนรู
บทบาทที่เหมาะสมกับเพศของตน และจะเลน เฉพาะกลุม ทเี่ ปน เพศเดียวกนั

3. วยั รุน (Adolescence) อายุระหวา ง 13 – 20 ป
วัยนี้เปนชวงหัวเล้ียวหัวตอของชีวิต เนื่องจากเปนวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงทางรางกาย
จิตใจและตอ งปรบั ตวั เขา กับส่งิ ใหมๆ ที่เกดิ ขึ้น รวมทั้งปรับตัวใหเขากับสังคม บางคร้ังทําใหเกิดปญหา
ตา ง ๆ ขน้ึ โดยเฉพาะปญหาทางเพศ เร่ิมใหความสนใจกับเพศตรงกันขาม เริ่มมองอนาคต คิดถึงการมี
อาชีพของตน คิดถึงครอบครัว อยากรูอยากเห็น อยากแสดงความสามารถ บางคร้ังแสดงออกในทางท่ี
ไมถ กู ตอ ง จงึ ทําใหเกิดปญหาขึน้ ผูปกครองหรอื ผูใหญ ควรใหคาํ แนะนําท่ีเหมาะสม

4

4. วัยผูใ หญ (Adulthood) อายุระหวา ง 21 – 60 ป
วัยน้รี า งกายเจรญิ เตบิ โตเต็มทแี่ ลว มีรูปรางสมสวน รางกายแข็งแรง แตเน่ืองจากความ
เจรญิ เติบโตและพฒั นาการทางกาย และใจของแตละคนตางกัน เชน คนที่เปนลูกคนโต ตองดูแลนอง ๆ
กอ็ าจจะเปนผูใหญเร็วกวานองคนเล็ก หรือคนท่ีกําพราพอแม ก็ยอมเปนผูใหญเร็วกวาคนที่มีพอแมอยู
ใกลชิด สรุปไดวาวัยนี้ เปนวัยท่ีมีความเจริญดานตาง ๆ ทั้งดานความสนใจ ทัศนคติ และคานิยม
โดยเฉพาะเรื่องอาชีพ การเลือกคูครอง และการมีชีวิตครอบครัว เปนวัยท่ีมีพละกําลัง มีความสามารถ
ในการทาํ งานมากที่สดุ เพราะเปนวัยทต่ี องรับผดิ ชอบในหนาที่ เพอ่ื ครอบครัวและประเทศชาติ

5. วยั ชรา (Old Age) อายุ 60 ปข น้ึ ไป
วัยน้ีเปนวัยที่มีการเปล่ียนแปลงทางดานรางกาย จิตใจ อารมณ รวมท้ังสมองในทาง
เสอื่ มลง จงึ ประสบปญ หาสขุ ภาพมากกวาวยั อ่ืน มอี าการหลงลืม มกั จะจําเรื่องราวในอดตี เหมาะที่จะเปน
ท่ีปรึกษาใหคําแนะนําแกผูอ่ืน เพราะเปนผูท่ีมีประสบการณมากอน วัยน้ีมักมีอารมณคอนขางเครียด
โกรธ และนอ ยใจงา ย

เรอ่ื งที่ 2 โครงสรา ง หนา ท่แี ละการทาํ งานของอวัยวะภายนอก ภายใน
ทส่ี ําคญั ของรา งกาย

อวัยวะและระบบตา ง ๆ ในรางกาย

อวัยวะภายนอกและอวัยวะภายใน
อวยั วะภายนอก เปน อวยั วะทีม่ องเห็นได เชน ตา หู จมกู ปากและผิวหนัง อวยั วะเหลาน้ี
มีหนา ท่ีการทํางานตา งกนั
อวยั วะภายใน เปนอวัยวะทีอ่ ยใู นรางกายท่ีมีความสําคัญมาก เพราะเปนสวนหน่ึงของ
ระบบตาง ๆ ภายในรางกาย โดยอวัยวะภายนอกและอวยั วะภายใน มีการทาํ งานทสี่ ัมพนั ธกนั หากสวนใด
สว นหนึง่ บกพรอ ง หรือไดรับอันตรายก็อาจมีผลกระทบตอ สวนอน่ื ได

5

1. อวัยวะภายนอก มดี งั น้ี
1.1 ตา เปนอวยั วะทีท่ าํ ใหม องเห็นสงิ่ ตางๆ และชว ยใหเ กดิ การเรียนรู เพราะถาไมมี

ดวงตา สมองจะไมสามารถรับรูและจดจําสิ่งท่ีอยูรอบตัว นอกจากนั้นตายังแสดงออกถึงอารมณ
ความรสู ึกตา งๆ เชน ดใี จ เสยี ใจ ตกใจ

สวนประกอบของตา ท่สี าํ คัญมดี ังนี้
(1) ค้ิว เปนสวนประกอบท่ีอยูเหนือหนังตาบน ทําหนาท่ีปองกันอันตราย

ไมใหเกิดกับดวงตา โดยปองกันสิ่งสกปรก เหงื่อ น้ํา และส่ิงแปลกปลอมท่ีอาจไหลหรือตกมาจาก
หนาผาก หรอื ศีรษะ เขา สูด วงตาได

(2) หนงั ตา และเปลอื กตา ทาํ หนา ที่เปด ปดตา เพ่อื รบั แสง และปอ งกันอันตราย
ทอ่ี าจเกดิ ข้นึ แกต า และกระจกตา โดยอตั โนมัติเม่อื มสี ิง่ อนั ตรายเขา มาใกลตา

(3) ขนตา เปนสวนประกอบที่อยูหนังตาบน หนังตาลาง ทําหนาที่ปองกัน
อนั ตราย เชนฝนุ ละออง ไมใหทาํ อนั ตรายแกต า

(4) ตอ มนาํ้ ตา เปนสว นประกอบของตาที่อยูในเบาตา ทางดานหางคิ้วบริเวณ
หนงั ตาบน ทาํ หนาทซี่ ับน้ําตา มาชว ยใหต าชมุ ช้ืน และขับสิ่งสกปรกออกมากบั นํ้าตา

1.2 หู เปนอวัยวะรับสัมผัสท่ีทําใหไดยินเสียงตาง ๆ เชน เสียงเพลง เสียงพูดคุย
การไดยนิ เสยี ง ทาํ ใหเกิดการสือ่ สารระหวา งกัน ถาหูผิดปกติไมไดยินเสียงใดเลย สมองไมสามารถแปล
ความไดว าเสยี งตา ง ๆ เปน อยา งไร

สวนประกอบของหู
สว นประกอบของหแู บงเปน 3 สว น คือ หชู ั้นนอก หูชน้ั กลาง หูชัน้ ใน

(1) หูช้ันนอก ประกอบดว ยสวนตาง ๆ ดังนี้
 ใบหู ทาํ หนาท่ีรบั เสียงสะทอนเขาสูรหู ู
 รูหู ทําหนาที่เปนทางผานของเสียง ใหเขาไปสูสวนตาง ๆ ของรูหู

ภายในรหู จู ะมตี อ มนํ้ามัน ทําหนาท่ีผลิตไขมันทําใหหูชุมชื้น และดักจับฝุนละออง และส่ิงแปลกปลอม
ท่ีเขามาภายในรหู ู และเกิดเปน ขห้ี ู นอกจากน้นั ภายในรหู ยู งั มีเยื่อแกว หู ซึ่งเปน เยอื่ แผนกลมบาง ๆ กั้นอยู
ระหวา งหชู ้นั นอก กบั หชู นั้ กลาง ทาํ หนาท่ีถายทอดเสียงผานหชู ั้นกลาง

(2) หูชน้ั กลาง มีลักษณะเปน โพรง ประกอบดวยสวนตาง ๆ ไดแก กระดูก
รูปคอน กระดูกรูปทั่ง และกระดูกรูปโกลน เปนกระดูกชิ้นนอกติดอยูกับหูช้ันใน กระดูกท้ัง 3 ชิ้น
ดังกลาว ทําหนา ท่รี บั คลื่นเสียงตอจากเยอ่ื แกวหู

6

(3) หูช้ันใน มีลักษณะเปนรูปหอยโขง เปนสวนท่ีอยูดานในสุด ทําหนาท่ี
ขับคลื่นเสียงโดยผานประสาทรับเสียงสงตอไปยังสมอง และสมองก็แปลผลทําใหรูวาเสียงที่ไดยิน
คอื เสยี งอะไร

1.3 จมูก เปนอวัยวะรับสัมผัส ทําหนาที่หายใจเอาอากาศเขาและออกจากรางกาย
และมีหนาที่รับกลิ่นตาง ๆ ถาจมูกไมสามารถทําหนาที่ไดตามปกติ จะไมไดกล่ินอะไรเลย หรือทําให
ระบบการหายใจและการออกเสียงผดิ ปกติ

สวนประกอบของจมกู
จมูกเปนอวัยวะภายนอกท่ีอยูบนใบหนา ชวยเสริมใหใบหนาสวยงาม จมูก
แบงออกเปน 3 สวน ดงั น้ี
(1) สนั จมูก เปนสว นที่มองเห็นจากภายนอก เปนกระดูกออ น ทาํ หนา ท่ปี อ งกัน
อันตรายใหก ับอวัยวะภายในจมกู
(2) รูจมูก รูจมูกมี 2 ขาง ทําหนาที่เปนทางผานของอากาศ ที่หายใจเขาออก
ภายในรจู มูกมีขนจมกู และเย่อื จมกู ทําหนาท่กี รองฝนุ และเชือ้ โรคไมใ หเ ขาสูห ลอดลมและปอด
(3) ไซนสั เปน โพรงอากาศครอบจมูกในกะโหลกศีรษะ จํานวน 4 คู ทําหนาที่
พัดอากาศเขาสปู อด และปรบั ลมหายใจใหม อี ุณหภมู ิและความชื้นพอเหมาะ

1.4 ปากและฟน เปนอวัยวะสําคัญของรางกายท่ีใชในการพูด ออกเสียง
และรับประทานอาหาร โดยฟน ของคนเราจะมี 2 ชุด คือ ฟนน้ํานมและฟนแท

(1) ฟนนํ้านม เปนฟนชุดแรก มีทั้งหมด 20 ซี่ เปนฟนบน 10 ซี่ ฟนลาง 10 ซ่ี
ฟนนาํ้ นมเริ่มงอกเมื่ออายุประมาณ 6 - 8 เดือน จะงอกครบเมื่ออายุ 2 ขวบ ถึง 2 ขวบคร่ึง และจะคอย ๆ
หลดุ ไปเมือ่ อายุประมาณ 6 ขวบ

(2) ฟนแท เปนฟนชุดท่ีสอง ท่ีเกิดข้ึนมาแทนฟนนํ้านมท่ีหลุดไป ฟนแทมี
32 ซี่ ฟน บน 16 ซ่ี ฟน ลา ง 16 ซ่ี ฟนแทจะครบเมอื่ อายุประมาณ 21 - 25 ป ถาฟนแทผ ุหรือหลุดไป จะไม
มฟี น งอกขนึ้ มาอกี

7

หนาทขี่ องฟน
ฟน มีหนาที่ในการเคี้ยวอาหาร เชน ฉีก กัด บดอาหารใหละเอียด ฟนจึงมีหนาท่ีและ

รูปรางตางกันไป ไดแก ฟนหนา มีลักษณะคลายลิ่ม ใชกัดตัด ฟนเขี้ยว มีลักษณะปลายแหลม ใชฉีก
อาหาร และฟน กราม มีลกั ษณะแบน กวา ง ตรงกลางมีรองใชบดอาหาร

1.5 ผิวหนัง เปนอวัยวะรับสัมผัส ทําใหรูสึก รอน หนาว เจ็บปวด เพราะภายใต
ผิวหนังเปนที่รวมของเซลลประสาทรับความรูสึก นอกจากน้ันผิวหนังยังทําหนาท่ีปกคลุมรางกาย
และชว ยปองกันอวัยวะภายในไมใหไดรับอันตราย และยังชวยระบายความรอนภายในรา งกายทางรูเหง่ือ
ตามผิวหนงั อกี ดวย

สวนประกอบของผวิ หนงั แบง ออกเปน 2 ช้นั ดังน้ี
(1) ช้ันหนงั กาํ พรา เปน ชนั้ บนสดุ เปนชั้นทีจ่ ะหลุดเปนขี้ไคล แลวมีการสราง
ขน้ึ มาทดแทนข้นึ เรื่อย ๆ และเปนผิวหนังช้ันทบี่ ง บอกความแตกตางของสผี ิวในแตล ะคน
(2) ชั้นหนังแท เปนผิวหนังที่หนากวาช้ันหนังกําพรา เปนแหลงรวมของ
ตอ มเหงอื่ ตอมไขมัน และเซลลประสาทรับความรสู กึ ตา ง ๆ

2. อวัยวะภายใน
อวยั วะภายในเปนอวัยวะที่อยูใตผิวหนัง ซ่ึงเราไมสามารถมองเห็น อวัยวะภายใน

เหลานีม้ ีมากมายและทํางานประสานสมั พันธกันเปน ระบบ

2.1 ปอด ปอดเปนอวัยวะภายในอยางหน่ึง อยูในระบบหายใจ ปอดมี 2 ขาง ตั้งอยู
บริเวณทรวงอกทง้ั ทางดานซายและดานขวา จากตน คอลงไปจนถึงอก ปอดมีลกั ษณะน่ิมและหยุนเหมือน
ฟองน้ํา ขยายใหญเทากับซ่ีโครงเวลาที่ขยายตัวเต็มท่ี มีเย่ือบาง ๆ หุม เรียกวา เย่ือหุมปอด ปอด
ประกอบดวยถุงลมเล็กๆ จํานวนมากมาย เวลาหายใจเขาถุงลมจะพองออกและเวลาหายใจออกถุงลมจะ
แฟบ ถุงลมนปี้ ระสานติดกันดวยเย่ือประสานละเอียดเต็มไปดวยเสนเลือดฝอยมากมาย เลือดดําจะไหล
ผานเสน เลือดฝอยเหลา นั้น แลวคายคารบอนไดออกไซดอ อก และรับเอาออกซิเจนจากอากาศท่ีเราหายใจ
เขาไปในถุงลมไปใชในกระบวนการเคมีในการสันดาปอาหารของรางกาย กระบวนการท่ีเลือดคาย
คารบ อนไดออกไซด และรับออกซิเจนขณะท่ีอยใู นปอดน้ี เรยี กวา การฟอกเลือด

8

หนาทีข่ องปอด
ปอดจะทาํ หนาที่สูบและระบายอากาศ ฟอกเลือดเสียใหเปนเลือดดี การหายใจมีอยู

2 ระยะ คอื หายใจเขา และหายใจออก หายใจเขา คอื การสูดอากาศเขาไปในปอดหรือถุงลมปอด เกิดข้ึน
ดว ยการหดตวั ของกลามเนอ้ื กะบงั ลม ซ่ึงกน้ั อยรู ะหวางชอ งอกกบั ชองทอง เมื่อกลามเนื้อกะบังลมหดตัว
จะทําใหชองอกมีปริมาตรมากข้ึน อากาศจะวิ่งเขาไปในปอด เรียกวาหายใจเขา เม่ือหายใจเขาสุดแลว
กลามเนื้อกะบังลมจะคลายตัวลง กลามเนื้อทองจะดันเอากลามเนื้อกะบังลมข้ึน ทําใหชองอกแคบลง
อากาศจะถกู บบี ออกจากปอด เรยี กวา หายใจออก ปกติผูใหญหายใจประมาณ 18 - 22 คร้ังตอนาที ผูท่ีมี
อายนุ อยการหายใจจะเรว็ ข้นึ ตามอายุ

2.2 หัวใจ เปนอวัยวะท่ีประกอบดวยกลามเนื้อ ภายในเปนโพรง รูปรางเหมือนดอก
บวั ตมู มีขนาดราวๆ กาํ ปน ของเจา ของ รอบๆ หัวใจมีเยือ่ บางๆ หุมอยเู รยี กวา เย่ือหุมหัวใจ ซ่ึงมีอยู
2 ชน้ั ระหวางเย่อื หุม ท้งั สองชน้ั จะมชี อง ซงึ่ มีนํ้าใสสีเหลืองออนหลออยูตลอดเวลา เพื่อมิใหเยื่อทั้งสอง
ช้ันเสยี ดสกี นั และทําให หวั ใจเตนไดสะดวกไมแหงติดกับเยอื่ หุมหวั ใจ หัวใจตั้งอยูร ะหวา งปอดท้ังสอง
ขา ง แตคอ นไปทางซายและอยูหลังกระดูกซ่ีโครงกับกระดูกอก โดยปลายแหลม ชี้เฉียงลงทางลาง
และชี้ไปทางซา ย ภายในหัวใจจะมโี พรง ซง่ึ ภายในโพรงนี้จะมผี นังกัน้ แยกออกเปนหอ งๆ รวม 4 หอง คือ
หอ งบน 2 หอง และหองลา ง 2 หอ ง สาํ หรับหอ งบนจะมขี นาดเล็กกวาหองลาง

หนาที่ของหัวใจ
หัวใจมจี งั หวะการบีบตัว หรือที่เราเรียกวาการเตนของหัวใจ เพ่ือสูบฉีดเลือดแดง ไป

หลอเลี้ยงรางกายตามสว นตางๆ ของรา งกาย ขณะท่ีคลายตัวหัวใจหองบนขวาจะรับเลือดดํามาจาก ท่ัว
รางกาย และจะถูกบีบผานล้ินที่กั้นอยูลงไปทางหองลางขวา ซึ่งจะถูกฉีดไปยังปอดเพื่อคาย
คารบอนไดออกไซดและรับออกซิเจนใหมกลายเปนเลือดแดง ไหลกลับเขามายังหัวใจหองบนซาย
และถูกบบี ผา นลิน้ ท่ีก้นั อยไู ปทางหองลางซาย จากน้ันกจ็ ะถกู ฉดี ออกไปเล้ยี งท่ัวรางกาย ถาเราใชน้ิวแตะ
บริเวณเสนเลือดใหญ เชน ขอมือ หรือขอพับตาง ๆ เราจะรูสึกไดถึงจังหวะการบีบตัวของหัวใจ
ซึง่ เราเรียกวา ชีพจร หัวใจเปนอวัยวะท่ีสําคัญท่ีสุด เพราะเปนอวัยวะที่บอกไดวาคนนั้นยังมีชีวิตอยูได
หรอื ไม ถา หากหวั ใจหยุดเตน กห็ มายถงึ วา คนคนนนั้ เสียชีวิตแลว การเตน ของหัวใจน้ัน ในคนปกติหัวใจ
จะเตน ประมาณ 70 - 80 ครัง้ ตอ นาที หัวใจตอ งทาํ งานหนกั ตลอดชวี ิต ทง้ั เวลาหลับและตื่น เวลาทห่ี วั ใจจะ
ไดพักผอนบา งกค็ อื ตอนทีเ่ รานอนหลบั หวั ใจจะเตน ชา ลง เราจึงตอ งระมัดระวังรกั ษาหวั ใจใหแข็งแรงอยู
เสมอ โดยอยาใหห วั ใจตอ งทํางานหนกั มากจนเกนิ ไป

9

2.3 กระเพาะอาหาร มีรูปรางเหมือนนํ้าเตา คลายกระเพาะหมู มีความจุประมาณ 1
ลติ ร อยูตอ หลอดอาหารและอยูในชอ งทองคอนไปทางดานซาย

หนาทสี่ ําคัญของกระเพาะอาหาร คอื มีหนาท่ีในการยอยอาหารท่ีมีขนาดเล็กลง และ
ละลายใหเปน สารอาหาร แลวสง อาหารท่ียอยแลวไปยงั ลําไสเล็ก แลวลาํ ไสเล็กจะดูดซึมไปใชประโยชน
แกร างกายตอไป สวนทีไ่ มเ ปนประโยชนท ีเ่ รยี กวากากอาหารจะถูกสงตอไปยังลําไสใหญ เพื่อขับถาย
ออกจากรางกายเปนอุจจาระตอไป สิ่งท่ีชวยใหกระเพาะยอยอาหารก็คือ น้ํายอยซ่ึงมีสภาพ เปนกรด
นา้ํ ยอยในกระเพาะจะมีเปนจํานวนมากเม่ือถึงเวลารับประทานอาหาร ถาไมรับประทานอาหารใหตรง
เวลานา้ํ ยอยจะกดั เนื้อเย่ือในบรเิ วณกระเพาะไดเ ชน กัน อาจจะทําใหเ กดิ เปนแผลในกระเพาะอาหารได วิธี
ที่จะชว ยปองกันไดก ค็ ือ ดมื่ น้าํ สะอาดใหม ากๆ และรบั ประทานอาหารใหต รงเวลา งดรับประทานอาหาร
ท่ีมีรสจัด

2.4 ลําไสเล็ก มีลักษณะเปนทอกลวงยาวประมาณ 6 เมตร ขดอยูในชองทอง
ตอนบน ปลายบนเชื่อมกบั กระเพาะอาหาร สว นปลายลา งตอ กับลาํ ไสใ หญ

หนาที่สําคัญของลําไสเล็ก คือ ยอยอาหารตอจากกระเพาะอาหาร จนอาหาร มี
ขนาดเลก็ พอท่ีจะดูดซึมเขา สกู ระแสเลือด เพอ่ื นําไปเล้ยี งสว นตาง ๆ ของรา งกาย

2.5 ลาํ ไสใหญ เปนอวัยวะทีอ่ ยูในระบบทางเดนิ อาหาร ลาํ ไสใหญของคนมคี วามยาว
ประมาณ 1.5 เมตร เสนผานศูนยก ลางประมาณ 6 เซนติเมตร แบง ออกเปน 3 สวน คือ

(1) กระเพาะลําไสใหญ เปนลําไสใหญสวนแรก ตอจากลําไสเล็ก ทําหนาท่ี
รับกากอาหารจากลําไสเลก็

(2) โคลอน (Colon) เปนลําไสใหญสวนที่ยาวที่สดุ ประกอบดวยลําไสใหญขวา
ลําไสใหญกลาง และลําไสใหญซาย มีหนาที่ดูดซึมน้ําและพวกวิตามินบี12 ที่แบคท่ีเรียในลําไสใหญ
สรา งข้ึนและขบั กากอาหารเขาสลู ําไสใ หญสว นตอ ไป

(3) ไสต รง เมอ่ื กากอาหารเขาสูไสต รงจะทาํ ใหเกิดความรูส กึ อยากถายขน้ึ
เพราะความดนั ในไสตรงเพิม่ ขนึ้ เปนผลทาํ ใหก ลา มเนือ้ หรู ูดท่ที วารหนกั ดา นใน ซึง่ จะทําใหเกดิ การ
ถา ยอจุ จาระออกทางทวารหนักตอ ไป

หนาทีข่ องลาํ ไสใ หญ
(1) ชวยยอยอาหารเพยี งเลก็ นอ ย
(2) ถา ยระบายกากอาหาร ออกจากรา งกาย
(3) ดูดซึมนาํ้ และสารอเิ ล็คโตรลัยต เชน โซเดียม และเกลอื แรอ ื่น ๆ จากอาหาร

10

ที่ถูกยอยแลว ทเ่ี หลอื อยูในกากอาหาร รวมทงั้ วติ ามนิ บางอยา งทีส่ รางจากแบคทีเรยี ซง่ึ อาศยั อยู
ในลาํ ไสใ หญ ไดแ ก วติ ามินบีรวม วติ ามนิ เค ดวยเหตุน้ี จึงเปนชองทางสาํ หรบั ใหนา้ํ อาหารและยาแก
ผปู วยทางทวารหนกั ได

(4) ทําหนา ที่เกบ็ อจุ จาระไวจ นกวาจะถงึ เวลาอันสมควรทจ่ี ะถายออกนอก
รางกาย

1.5 ไต เปนอวัยวะสว นหนง่ึ ในระบบขบั ถาย จะขับถายของเสียจากรางกายออกมา
เปนน้ําปส สาวะ ไตของคนเรามี 2 ขาง มีรูปรา งคลา ยเมลด็ ถั่วแดง ยาวประมาณ 12 เซนติเมตร อยูติดผนัง
ชอ งทอ งดานหลงั ตาํ่ กวากระดกู ซ่ีโครงเลก็ นอย

หนาท่ีสําคัญของไต คือ กรองของเสียออกจากเลือดแดง แลวขับของเสีย
ออกนอกรา งกายในรูปของปส สาวะ

เรือ่ งที่ 3 การดูแลรักษาปองกนั ความผิดปกติของอวัยวะสาํ คัญของรา งกาย อวยั วะ
ภายนอกและภายใน

การดแู ลรักษาปอ งกนั ความผิดปกติของอวยั วะสําคัญของรางกาย อวัยวะภายนอกและภายใน
มคี วามสําคัญของรางกาย จําเปนตองดูแลรักษาใหสามารถทํางานไดตามปกติ เพราะถาอวัยวะสวนใด
สวนหนึ่งเกิดความบกพรองหรือเกดิ ความผิดปกติ ระบบการทํางานนั้นก็จะบกพรองหรือผิดปกติดวย มี
วธิ ีการงา ย ๆ ในการดูแลรักษาอวัยวะตา ง ๆ ดงั น้ี

1. การดูแลรกั ษาตา
ตามคี วามสาํ คัญ ทาํ ใหม องเหน็ สิง่ ตา ง ๆ จงึ ควรดแู ลรักษาตาใหดีดวยวธิ ี ดงั ตอ ไปนี้
1. ไมควรใชสายตาจองหรือเพงส่ิงตาง ๆ มากเกินไป ควรพักสายตาโดยการหลับตา

หรอื มองออกไปยงั ทีก่ วาง ๆ หรือพื้นทส่ี ีเขียว

2. ขณะอา นหรือเขียนหนงั สอื ควรใหแ สงสวางอยางเพียงพอ และควรวางหนังสือใหหาง
จากตาประมาณ 1 ฟตุ

3. ไมควรอา นหนงั สอื ขณะอยบู นยานพาหนะ เชน รถ หรือรถไฟท่กี ําลังแลน

11

4. ดูโทรทศั นใหหางจากจอภาพไมนอ ยกวา 3 เทา ของขนาดจอภาพ
5. เมอ่ื มฝี ุนละอองเขา ตา ไมควรขยตี้ า ควรใชวธิ ลี มื ตาในนํ้าสะอาด หรอื ลางดวยน้าํ ยาลางตา
6. ไมค วรใชผ า เช็ดหนา รว มกับผูอ่ืน เพราะอาจติดโรคตาแดงจากผูอืน่ ได
7. หลกี เลยี่ งการมองบรเิ วณท่แี สงจา หรือหลกี เลยี่ งสถานท่ที ่มี ีฝุนละอองฟุงกระจาย
8. อยาใชย าลางตาเม่อื ไมม คี วามจาํ เปน เพราะตามธรรมชาตนิ าํ้ ในเปลอื กตาทําหนาทีล่ างตา

ดีท่ีสดุ
9. บริหารเปลอื กตาบนและเปลือกตาทุกวันดวยการใชนิ้วช้ีรูดกดไปบนเปลือกตาจากค้ิว

ไปทางหางตา

2. การดูแลรกั ษาหู
หมู ีความสําคญั ตอการไดยนิ ถา หูผิดปกติจนไมส ามารถไดยินเสยี งตา งๆ การทํากิจกรรม

ในชวี ิตประจาํ วัน กไ็ มร าบรื่นเกดิ อปุ สรรค ดงั น้ันจงึ ควรดูแลรกั ษาหูใหท าํ หนาที่ใหด อี ยเู สมอ
1. หลีกเลี่ยงแหลงท่ีมีเสียงดังอึกทึก ถาหลีกเล่ียงไมไดควรปองกันตนเอง โดยหา

อุปกรณม าอดุ หู หรือครอบหู เพือ่ ปองกนั ไมใ หแกว หูฉีกขาด
2. ไมควรแคะหดู วยวสั ดใุ ด ๆ เพราะอาจทาํ ใหหูอกั เสบเกิดการติดเชอ้ื
3. เมื่อมแี มลงเขา หู ใหใ ชน ้ํามันมะกอก หรือนํ้ามันพาราฟลหยอดหู ท้ิงไวสักครูแมลง

จะตาย แลว จึงเอยี งหูใหแ มลงไหลออกมา
4. ขณะวายนํ้า หรืออาบน้ํา พยายามอยาใหน้ําเขาหู ถามีนํ้าเขาหูใหเอียงหูใหน้ําออก

มาเอง
5. เม่ือเปนหวัดไมควรสั่งนํ้ามูกแรงๆ เพราะเช้ือโรคอาจผานเขาไปในรูหู เกิดอักเสบ

ตดิ เช้อื กลายเปน หนู า้ํ หนวก และเมื่อมสี ง่ิ ผิดปกติเกิดขึ้นกับหู ควรปรกึ ษาแพทย

3. การดูแลรกั ษาจมูก
จมูกเปนอวัยวะรับสัมผัสที่มีความสําคัญ ทําใหไดกล่ิน และหายใจเอาอากาศบริสุทธิ์

เขา สปู อด ควรดูแลรักษาจมกู ใหทําหนา ทไี่ ดต ามปกตดิ วยวธิ ดี งั นี้
1. หลีกเล่ียงบริเวณท่ีมีฝุน ละอองฟุงกระจาย
2. ไมควรแคะจมกู ดวยวัสดุแข็ง เพราะอาจทําใหจมูกอักเสบ
3. ไมควรสั่งน้ํามกู แรง ๆ ถาเปนหวดั เรื้อรงั ไมควรปลอ ยทงิ้ ไว ควรปรกึ ษาแพทย
4. ถามคี วามผิดปกติเกดิ ข้ึนกบั จมูก ควรปรึกษาแพทย

12

4. การดูแลรกั ษาปากและฟน
1. ควรแปรงฟนใหถกู วิธหี ลงั อาหารทกุ ม้ือ หรือควรแปรงฟนอยางนอยวนั ละ 2 คร้ัง
2. ไมควรกดั หรือฉีกของแข็งดวยฟน และควรพบทันตแพทยเพือ่ ตรวจฟนทกุ 6 เดือน
3. ออกกําลังเหงือกดวยการถู นวดเหงือก ตอนเชา และกลางคืนกอนนอน โดยการ

อมเกลอื หรือเกลอื ปนผสมสารสม ปนประมาณ 5 นาที แลวนวดเหงือก
4. รับประทานผัก ผลไมสดมาก ๆ และหลีกเลี่ยงรับประทานลูกอม ช็อคโกแลตและ

ขนมหวาน ๆ

5. การดแู ลรกั ษาผวิ หนงั
1. อาบนาํ้ อยา งนอ ยวนั ละ 2 คร้ัง หลงั จากอาบนา้ํ เสรจ็ ควรเช็ดตวั ใหแหง
2. สวมเสอื้ ผา ทส่ี ะอาด ไมเปยกช้นื และไมรัดรูปจนเกินไป
3. รับประทานอาหารท่ีมีประโยชนและด่ืมนํ้ามาก ๆ ออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ

หลกี เล่ยี งแสงแดดจา และระมดั ระวงั ในการใชเครอื่ งสาํ อาง
4. เมอื่ ผวิ หนังผดิ ปกติ ควรปรกึ ษาแพทย

6. การดูแลรกั ษาปอด มีขอควรปฏบิ ัติดังน้ี
1. ควรอยใู นสถานที่ที่มอี ากาศบริสทุ ธถิ์ ายเทไดเสมอ หลีกเลี่ยงอยูในสถานที่ท่ีมีฝูงชน

แออดั
2. ควรหายใจทางจมูก เพราะในจมกู มีขนจมูกและเยื่อเสมหะ ซึ่งจะชวยกรองฝนุ ละออง

และเชื้อโรคไมใ หเขา ไปในปอด หลีกเลี่ยงการหายใจทางปาก
3. ไมค วรนอนควา่ํ นาน ๆ จะทําใหปอดถูกกดทบั ทํางานไมส ะดวก
4. ไมค วรสูบบุหรี่ เพราะจะสงผลใหเปน อนั ตรายตอ ปอด
5. ควรน่ังหรือยืนตัวตรง ไมควรสวมเส้ือผาท่ีรัดแนน เพราะจะทําใหปอดขยายตัว

ไมส ะดวก
6. ควรรกั ษารางกายใหอบอนุ เพ่อื ปองกันการเปนหวดั
7. ควรบริหารปอด ดวยการหายใจยาว ๆ วันละ 5-6 ครั้งทุกวัน ทําใหปอดขยายตัว

ไดเตม็ ท่ี
8. ควรระวังการกระทบกระเทือนอยางรุนแรงจากภายนอก เชน หนาอก แผนหลัง

เพราะจะกระทบกระเทือนไปถงึ ปอดดว ย

13

9. ควรพกั ผอ นใหเ ตม็ ที่ การออกกําลังกายหรือการเลนกีฬาใด ๆ อยาใหเกินกําลังหรือ
เหนื่อยเกินไป เพราะจะทําใหป อดตองทาํ งานหนกั จนเกนิ ไป

10. ควรตรวจสุขภาพ หรอื เอ็กซเรยปอดอยางนอยปละ 1 ครั้ง

7. การดแู ลรักษาหัวใจ มีวธิ กี ารปฏิบัติ ดงั น้ี
1. ควรออกกําลังกายสม่ําเสมอ เหมาะสมกับสภาพรางกาย และวัย ไมหักโหมเกินไป

เพราะจะทาํ ใหหัวใจตองทาํ งานมาก อาจเปนอันตรายได
2. ไมดมื่ น้ําชา กาแฟ สบู บหุ รี่ ด่ืมสรุ าหรอื เครื่องด่ืมท่ีมีสารกระตุน เพราะมีสารกระตุน

ทาํ ใหหวั ใจทาํ งานหนักจนอาจเปน อนั ตรายแกกลามเนื้อหวั ใจได
3. ไมรับประทานยา ทจ่ี ะกระตนุ ในการทํางานของหวั ใจโดยไมปรกึ ษาแพทย
4. การนอนควา่ํ เปนเวลานานๆ จะสงผลทาํ ใหหวั ใจถูกกดทบั ทํางานไมส ะดวก
5. ไมค วรนอนในสถานท่ีอากาศถา ยเทไมส ะดวก หรือสวมเส้ือผาทร่ี ดั รปู จนเกนิ ไป

จะทาํ ใหระบบการทํางานของหวั ใจไมสะดวก
6. ระมัดระวังไมใหหนาอกไดรับความกระทบกระเทือน เพราะอาจเปนอันตรายกับ

หวั ใจได
7. ไมควรวิตกกังวล กลัว ตกใจ เสียใจมากเกินไป เพราะจะสงผลตอการทํางานของ

หวั ใจ
8. ไมควรรบั ประทานอาหารท่มี ีไขมนั และนํ้าตาลมากเกนิ ไป เพราะจะทําใหเกิดไขมัน

เกาะภายในเสนเลือดและกลา มเน้ือหวั ใจ ทําใหหวั ใจตองทํางานหนักข้นึ จะเปน อนั ตรายได
9. เมื่อเกดิ อาการผดิ ปกตขิ องหัวใจ ควรปรึกษาแพทย

8. การดูแลรักษากระเพาะอาหารและลาํ ไส ควรปฏิบตั ิ ดงั นี้
1. ควรรับประทานอาหาร ท่มี ีประโยชน ไมแข็ง ไมเหนียว หรือยอยยาก หรือมีรสจัด

เกินไป เพราะทําใหกระเพาะอาหารทํางานหนกั หรือทําใหเ กิดเปน แผลได
2. ควรใหรางกายอบอุน ในเวลานอนตองสวมเส้ือผาหรือหมผาเสมอ เพื่อมิใหทอง

รับความเย็นจนเกินไป จนอาจเกดิ อาการปวดทอง
3. ควรควบคุมอารมณ เพราะความเครียด ความวติ กกงั วล กท็ าํ ใหกระเพาะอาหารหล่ัง

นาํ้ ยอ ยออกมามาก
4. เค้ียวอาหาร ใหละเอียดกอนกลืน และไมรีบรับประทาน เพราะจะทําใหอาหาร

ยอยยาก

14

5. ไมควรสวมเส้ือผาคับหรือรัดเข็มขัดแนนเกินไป จะทําใหกระเพาะอาหารทํางาน
ไมส ะดวก

6. ไมควรรับประทานจุบจิบ เพราะจะทําใหกระเพาะอาหารตองทํางานอยูเสมอไมมี
เวลาพกั

7. ควรรับประทานอาหารใหเปนเวลา ไมปลอยใหหิวมาก หรือรับประทานอาหาร
มากเกินไป จะทําใหก ระเพาะอาหารตอ งทํางานหนกั หรอื เกดิ อาการอาหารไมยอ ย แนน ทองได

8. ไมร ับประทานของหมักดอง จะทําใหเกิดอาการทอ งเสยี หรอื ทอ งรวงได
9. ปฏิบัติตนตามหลักสุขนิสัยท่ีดี โดยรักษาความสะอาดมือ ภาชนะและอาหารท่ี
รบั ประทานเพือ่ ปองกันเชอ้ื โรคจะเปนอนั ตรายตอ กระเพาะอาหารได
10. ควรรับวคั ซีนปองกันโรค เม่ือเกิดโรคติดตอระบาดในชุมชน เชน อหิวาตกโรค บิด
พยาธติ า ง ๆ ทองรวง

9. การดแู ลรักษาไต ควรปฏบิ ัตดิ ังนี้
1. ควรรบั ประทานอาหาร นํ้า เกลือแร ใหเหมาะสมตามสภาวะของรา งกาย
2. ควรหลกี เลี่ยงการใชย าหรอื รับประทาน ยาท่มี ีผลเสยี ตอ ไต เชน ยาซัลฟา ยาแกปวด

และแกอกั เสบตอ เนือ่ งเปน เวลานาน
3. ไมควรกลัน้ ปส สาวะเอาไวน าน ๆ หรอื สวนปส สาวะ
4. ผูท่ีมีอาการของโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ควรรักษา เพราะจะสงผล

กระทบตอการทาํ งานของไต
5. เมื่อเกิดอาการผิดปกติที่สงสัยวาจะเปนโรคไต เชน เทา ตัว หรือหนาบวม ปสสาวะ

เปนสีคลา้ํ เหมอื นสนี ้าํ ลา งเนอ้ื หรือปสสาวะบอ ยผดิ ปกติ ควรปรึกษาแพทย
6. ควรตรวจสขุ ภาพ ตรวจปส สาวะ อยา งนอ ยประจําปล ะ 1 - 2 คร้ัง

15

กิจกรรมทายบท
1. ใหผ เู รียนแบงกลุมศึกษาพฒั นาการของมนุษยตามวัยตางๆ แลวใหแตละกลุมอภิปราย

นาํ เสนอผลงานแตล ะกลุม
2. ใหผ ูเ รยี นเปรียบเทยี บความแตกตา งที่เกิดขน้ึ ในแตละวยั และชวยกันสรปุ ผล
3. ใหผูเรียนบอกความแตกตางของการดูแลรักษาอวัยวะภายในและภายนอก

พรอมอภปิ รายวิธกี ารปอ งกนั และดูแลรกั ษา

16

บทที่ 2
พฒั นาการทางเพศของวยั รนุ
การคมุ กําเนดิ และโรคตดิ ตอทางเพศสมั พนั ธ

สาระสําคัญ
มคี วามรูความเขาใจเกี่ยวกับปญหาและการพัฒนาทางเพศของวัยรุนในเร่ืองตาง ๆ ทั้งเพศชาย

และเพศหญิง ท่ีมีปญหาที่แตกตางกันออกไปตลอดจนเรียนรูในเรื่องของกฎหมายที่เก่ียวของกับการ
ลวงละเมิดทางเพศ และมีความรูในการดูแลรักษาสุขภาพของตนเองใหพนจากโรคติดตอจากการ
มีเพศสัมพันธ

ผลการเรียนรทู ่ีคาดหวงั
1. เรียนรเู กีย่ วกับการพัฒนาการทางเพศ และการดูแลสขุ ภาพของวยั รุน
2. เรยี นรูเกย่ี วกบั การปองกันปญหาทีจ่ ะเกิดจากสาเหตุตา ง ๆ ของวัยรนุ
3. เรียนรใู นเรือ่ งกฎหมายทเี่ กยี่ วของกบั การลวงละเมดิ ทางเพศ
4. เรียนรูในเรอ่ื งของโรคติดตอตาง ๆ ที่เกดิ จากการมีเพศสัมพันธ

ขอบขา ยเน้ือหา
เรื่องท่ี 1 พฒั นาการทางเพศของวยั รุน
เรื่องที่ 2 การดูแลสขุ ภาพเบ้อื งตน ในวัยรนุ
เรื่องท่ี 3 การคมุ กาํ เนิด
เรอ่ื งที่ 4 วธิ ีการสรางสัมพนั ธภาพทีด่ ีระหวางคนในครอบครัว
เรื่องที่ 5 การส่อื สารเรอ่ื งเพศในครอบครวั
เรอ่ื งที่ 6 ปญ หาทเ่ี ก่ยี วขอ งกบั พัฒนาการทางเพศของวัยรนุ
เรอ่ื งท่ี 7 ทกั ษะการจัดการกับปญหา อารมณ และความตอ งการทางเพศของวัยรุน
เร่อื งที่ 8 หลากหลายความเชื่อที่ผดิ ในเรือ่ งเพศ
เรอ่ื งท่ี 9 กฎหมายทีเ่ ก่ยี วกับการลว งละเมดิ ทางเพศ
เร่อื งที่ 10 โรคตดิ ตอทางเพศสมั พนั ธ

17

เรอื่ งที่ 1 พฒั นาการทางเพศของวยั รุน

วยั รนุ ชว งอายุระหวาง 8 - 18 ป เปนวยั ทรี่ างกายเปล่ยี นจากเดก็ ไปเปนผูใ หญ เรียกวา วัยรุน หรือ
วยั เจรญิ พันธุ มกี ารเปล่ยี นแปลงเกิดขึน้ หลายอยา งทั้งทางรางกายและจิตใจ โดยมฮี อรโ มน เปน ตวั กระตุน
การท่ีจะบอกใหแ นชดั ลงไปวา เดก็ ชายและเดก็ หญิงเขา สวู ยั รุนเมอื่ ใดนนั้ เปน เรือ่ งคอ นขา งยาก เพราะเดก็
ทั้งสองเพศนอกจากจะแตกเนื้อหนุมสาวไมพรอมกันแลว คนแตละคนในเพศเดียวกันก็ยังแตกเนื้อ
หนมุ สาวไมพรอมกนั อกี ดวย แตพ อจะกลา วโดยท่วั ไปไดว า เด็กหญิงจะเขา สวู ยั รนุ ในอายุระหวาง 13 - 15
ป และเด็กชายจะเร่ิมเมื่ออายุ 15 ป โดยเด็กหญิงจะมีอัตราการเจริญเติบโตทางดานรางกายในชวงน้ี
เร็วกวาเดก็ ชายประมาณ 1 - 2 ป แตท ง้ั นข้ี ้ึนอยูกับลักษณะหรือแบบแผนการเจริญเตบิ โตของแตละคน

ฮอรโ มนเพศ หญงิ และชายเมื่อเขา สูชวงวัยรนุ ตอมไฮโปเตลามสั (Hypothalamus) ซ่ึงเปนตอม
เล็ก ๆ ในสมอง เริ่มสงสัญญาณผานตอมใตสมองพิทูอิตารี (Pituitary gland หรือ Master gland) ซึ่งเปน
ตอ มไรท อ ท่สี าํ คญั ทีส่ ุดของรา งกาย เพราะมีหนาทผี่ ลิตฮอรโ มนท่แี ตกตา งกัน เพ่ือไปกระตุนและควบคุม
การทํางานของอวัยวะตาง ๆ รวมถงึ อวัยวะทเ่ี กยี่ วกบั เพศ คือ รงั ไขสําหรบั ผหู ญิงในการผลิตฮอรโมนเพศ
เอสโทรเจน (Estrogen) และลกู อัณฑะสาํ หรับผูชายผลติ ฮอรโ มนเพศเทสทอสเทอโรน (Testosterone)

ฮอรโ มนเอสโทรเจน และฮอรโ มนเทสทอสเทอโรน ซึ่งเปนฮอรโมนเพศน้ี ทําใหรางกายวัยรนุ
เจริญเติบโตอยา งรวดเร็ว มีไขมันและกลามเนื้อเพ่ิมข้ึน ตัวสูงข้ึน มีขนขึ้นบริเวณอวัยวะเพศ รักแรและ
สวนตาง ๆ ของรางกาย มีกลิ่นตัว มีสิว ผูหญิงจะมีสะโพกผาย ตนขา หนาอกและกนใหญขึ้น และมี
ประจําเดอื น สว นผูชาย เสียงจะแตกหาว ฝนเปยก และทั้งหญิงชายจะเริ่มมีความรูสึกตองการทางเพศ
หรอื มีอารมณเ พศ

นอกจากการเปล่ียนแปลงทางรางกายแลว วัยรุนหญิงชายยังมีการเปล่ียนแปลงทางดานจิตใจ
อารมณและความรูสกึ โดยเริ่มมีความสนใจ หรอื ความรูสึกพึงพอใจเปนพิเศษตอบางคนทีอ่ าจเปนท้ังเพศ
เดยี วกันและตา งเพศ

วัยรุนเปนวัยท่ีรางกายมีความพรอมในการผลิตเซลลเพศเพ่ือการสืบพันธุ คนทั่วไปจึงตัดสิน
การเขาสูวัยรุน โดยพิจารณาจากการมีประจําเดือนครั้งแรก (เด็กหญิงราว 13 ป) และการหลั่งนํ้าอสุจิ
คร้ังแรก (เด็กชายอายุประมาณ 11 ป) แตปรากฏการณท้ังสองไมคอยแนนอนนัก เชน การหล่ังนํ้าอสุจิ
อาจเกิดชากวา การเปลยี่ นแปลงทางรางกายดา นอนื่ ๆ สาํ หรบั การมาของประจาํ เดอื นครง้ั แรกของเด็กหญิง
ก็เชนกนั การสุกของไข (ไขต ก) ในบางคนอาจไมมีความสมั พนั ธก ับการมปี ระจําเดือนเสมอไป และการ
ตกไขฟองแรก ๆ อาจไมทาํ ใหเ กิดประจําเดือนกเ็ ปนได รวมทั้งการมปี ระจําเดอื นคร้ังแรกอาจเกิดขน้ึ กอน
หรือหลังการเปลี่ยนแปลงของรางกายสว นอน่ื ๆ เมือ่ เขาสวู ยั รุนแลว ไดเ ปนเวลานาน

18

การมีประจําเดือนครัง้ แรก
ขณะแรกคลอด รงั ไขของเดก็ หญิงจะมีไขทย่ี งั ไมเ จริญอยูแลวหลายพันใบ เม่ือนับจากชวงวัยรุน

เปนตนไป ทุก ๆ 28 วันจะมีไข 1 ใบที่เจริญเต็มที่แลวหลุดออกมาเขาสูทอนําไข เรียกวา การตกไข
ขณะเดยี วกัน เยอ่ื บุโพรงมดลกู จะมีหลอดเลือดงอกมาหลอเล้ียงมากมาย เพื่อเตรียมรับไขท่ีผสมกับอสุจิ
หากไมไดรับการผสม เยื่อบุโพรงมดลูกจะลอกหลุดออกมาเปนเศษเนื้อเย่ือและเลือดไหลออกมา
ทางชอ งคลอด เรยี กวา ประจาํ เดือน อายขุ องเด็กหญิงทปี่ ระจําเดอื นมาคร้ังแรกยอมแตกตางกัน สวนมาก
จะมอี ายุ 12 - 13 ป แตบางคนอาจเริ่มต้ังแตอายุ 10 ป บางคนก็ลาชาไปถึง 16 ป ซ่ึงยังไมนับวาเปนเรื่อง
ผิดปกติ

การฝน เปยก
การหลงั่ นํ้าอสจุ นิ ัน้ จะเริม่ เกดิ ขนึ้ ในชว งอายปุ ระมาณ 11 ป แตก็อาจเกิดข้ึนเร็วหรือชากวานี้ดังท่ี

กลาวมาแลวขางตน ขึ้นอยูกับแตละคน การฝนเปยกเปนลักษณะทางธรรมชาติของเด็กผูชาย
ท่แี ตกเน้อื หนุม เมอ่ื รา งกายผลิตนาํ้ อสจุ แิ ละเก็บสะสมไว เม่ือมีปริมาณมากเกินไป รางกายจะขับออกมา
ตามกลไกธรรมชาติ มักเกิดข้ึนในชวงท่กี าํ ลงั ฝนโดยอาจนึกถงึ สงิ่ ท่กี ระตนุ อารมณทางเพศ เมื่อต่ืนขึ้นมา
กพ็ บวามขี องเหลวเปย กช้นื ตรงเปากางเกงนอน หรือเปอนบนที่นอน จึงเรียกวา “ฝนเปยก” หรืออีกกรณี
การเลน ตอ สกู ับเพอ่ื นๆ อาจปลกุ เรา และกระตุน องคชาตได จะทาํ ใหน ้ําอสุจเิ ลด็ ลอดออกมาตามธรรมชาติ
ที่เรียกวา “การหล่ังอยางไมรูตัว” ท้ังนี้ เด็กชายแตละคนอาจมีความถ่ีในการฝนเปยกแตกตางกัน ตั้งแต
ไมเ คยฝน เปยกเลยจนกระทง่ั สัปดาหละหลาย ๆ ครั้ง จึงไมควรถือเรื่องนี้เปนเรื่องความผิดปกติทางเพศ
ของวัยรุนชาย น้าํ อสจุ เิ ปน ของเหลวสขี าวขุน ประกอบ ดว ยตวั อสจุ แิ ละสารคดั หล่งั จากตอ มลูกหมากและ
ตอ มพกั ตัวอสุจิ ซึง่ จะถกู ขับออกมาพรอมกนั ผานทางทอ นาํ อสจุ ิ ในน้าํ อสจุ ิเพียงหยดเดยี วจะมสี เปร ม หรอื
ตวั อสจุ ปิ ระมาณ 1,500 ตวั ขณะทผี่ ชู ายถึงจุดสดุ ยอด จะหลั่งนํา้ อสุจิออกมาประมาณ 1 ชอนชา ซึ่งมีอสุจิ
อยูถ ึง 300 ลา นตวั และเชือ้ อสุจิเพียงหนึง่ ตวั ก็สามารถเขาไปผสมกับไขไดเมื่อมีเพศสัมพันธแบบสอดใส
วยั รนุ ชายจะมีอสจุ ิทีส่ มบรู ณเ มอ่ื อายรุ าว 13 - 14 ป

การจัดการอารมณเ พศ หรอื การชวยตัวเอง
วัยรนุ หญิงชายตา งกเ็ ร่ิมมีความรสู กึ หรืออารมณทางเพศเพิ่มมากข้ึนตามลําดับ (วัยรุนเปนวัยท่ีมี

ความรสู กึ ทางเพศสูงสุด) การชวยตัวเอง เปนวิธีการจัดการเพ่ือผอนคลายอารมณเพศ ซ่ึงเปนเร่ืองปกติ
ธรรมดาของท้ังหญิงและชาย โดยการลูบคลําอวัยวะเพศของตนเองจนถึงจุดสุดยอด แตละคนอาจมี
วิธีการแตกตา งกันไป

19

การต้งั ครรภ
เกิดขนึ้ จากการมีเพศสมั พนั ธร ะหวา งชายและหญิง เมือ่ มีการหลั่งน้าํ อสุจใิ นชองคลอด ตวั อสุจิจะ

วา ยเขาไปในมดลูกจนถงึ ทอ นาํ ไข และพบไขของฝา ยหญงิ พอดี ก็จะเกิดการผสมระหวางอสุจิกับไขหรือ
ทเี่ รยี กวา “การปฏิสนธ”ิ แตถาไมม ีไข อสุจิจะตายไปเองภายในเวลา 2 - 3 วนั

เรอ่ื งที่ 2 การดูแลสุขภาพเบือ้ งตน ในวัยรนุ

วธิ กี ารดแู ลผิวหนา ใหส ะอาดเพอื่ ลดการมีสิว

การลา งหนา ดว ยนา้ํ สะอาดเพียงอยางเดียว และซับหนาใหแหงอยางเบามือ เปนการถนอมผิวที่
ไดผ ลดี เปนวธิ ีทีแ่ พทยผวิ หนงั แนะนําใหใช เพื่อลดการระคายเคือง แตการลางหนาดวยสบูหรือครีมลาง
หนาบอยครง้ั ซง่ึ จะไปชะลา งไขมันทผ่ี วิ สรางข้นึ ตามธรรมชาติ เมื่อผิวแหงตึง ก็จะกระตุนใหตอมไขมัน
ยง่ิ ทาํ งานมากขึน้

การทําความสะอาดอวยั วะเพศหญงิ

ใหลางจากดา นหนา ไปดานหลังดวยสบูและนํ้าสะอาด ไมจําเปนตองใชสเปรยหรือน้ํายาลางทํา
ความสะอาดชอ งคลอดอีก เนื่องจากชองคลอดมีระบบทําความสะอาดตามธรรมชาติอยูแลว บางคนใช
แลวอาจเกิดอาการระคายเคืองจากสารเคมีเหลาน้ัน เพราะผิวบริเวณนั้นบอบบางมาก ระหวางมี
ประจาํ เดอื น ควรเปลย่ี นผาอนามัยทกุ 2 - 3 ชั่วโมงเพอื่ ปอ งกันกลิน่

การทําความสะอาดอวัยวะเพศชาย

ทบ่ี รเิ วณใตหนังหุมปลายของผูชายจะมีเมือกขาวเหลืองขุนๆ เรียกวา ‘ขี้เปยก’ ซึ่งทําใหมีกล่ิน
การลา งทาํ ความสะอาดอวยั วะเพศชายจึงตองดงึ หนังหุมปลายอวัยวะเพศข้ึน เพ่ือทําความสะอาดบริเวณ
สวนหวั ของอวยั วะเพศ (ถาหนังหมุ ปลายตึงเกินไป ใหคอยๆ ดึงขนึ้ ทลี ะนอ ยในระหวา งอาบน้าํ โดยใชสบู
ชว ย)

20

อาการผดิ ปกติบรเิ วณอวัยวะเพศ

เชน คันในชอ งคลอด ตกขาวมากจนผิดสงั เกต อวยั วะเพศมกี ลิ่นเหมน็ มาก มสี ผี ิดไปจากเดมิ
หรอื เวลาปสสาวะแลวรสู ึกเจ็บเหมือนปส สาวะไมสดุ สามารถขอคําปรกึ ษาจากหนว ยงานทใี่ หบรกิ าร
ดา นสขุ ภาพวัยรนุ หรือคลิกเขาไปทคี่ ลินิกสขุ ภาพ www.teenpath.net

กลิน่ ตวั

เมื่อเขาสูวัยรุน ตอมไขมันจะผลิตความมันออกมาตามรูขุมขนเพิ่มขึ้น ตอมเหง่ือก็เชนกันผลิต
เหง่ือออกมามากโดยเฉพาะเวลาวงิ่ เลน เดินเร็วในอากาศรอน เหงื่อออกมาจากรูเปดของตอมเหง่ือซ่ึงอยู
ไมหางจากรูเปดขุมขนมากนัก เม่ือทั้งความมันและน้ําเหง่ือไหลซึมออกมาจากรูเปดบนผิวพรรณสัก
ระยะเวลาหนึ่ง และมีสภาพแวดลอมท่ีอับช้ืนนานพอเหมาะ บรรดาเชื้อจุลินทรียตางๆ ที่อาศัยอยูตาม
ธรรมชาตบิ นผิวพรรณเรากจ็ ะพากันเจรญิ เติบโตแพรพ ันธุออกมาจํานวนมาก พรอมทั้งสงกลิ่นเหม็นอับ
ออกมาเปนกลิน่ ตวั แรง ๆ

นอกจากน้ัน อาหารประเภท เครือ่ งเทศ กระเทียม ทุเรียน ซึ่งเปนอาหารท่ีมีกลิ่นแรง อาจระเหย
ออกมาจากลมหายใจ ขับถายออกมาทางตอมเหงื่อ ตอมไขมัน ตอมกลิ่น หรือเปนบอเกิดในการสราง
สารประกอบมีกล่ินไดแลว จึงปลดปลอยออกมาทางชองระบายของรางกายไดอีกทอดหนึ่ง รวมท้ัง
รองเทา หมุ สน รองเทาผาใบ ลว นเปน บอ เกดิ ของกลิน่ เหม็นอบั ไดเชนกัน

วธิ กี ารทาํ ความสะอาดดวยการอาบน้ํา ฟอกสบูทุกคร้ังท่ีมีเหงื่อออกมาก โดยเฉพาะผูที่มีผิวมัน
ตองหมั่นสระผม ถรู กั แรซ ่งึ เปนจดุ อบั ทม่ี กั สง กลน่ิ รนุ แรงเสมอดวยสารสม เปนวธิ ีพน้ื บานทีไ่ ดผ ลดี

เรอ่ื งท่ี 3 การคมุ กาํ เนิด

การแสวงหาขอมลู เก่ียวกับวธิ กี ารคุมกาํ เนิด ถอื เปนการแสดงความรับผิดชอบท้ังตอตัวเองและ
คนทเี่ รามคี วามสมั พนั ธด วย มคี นจาํ นวนมากยังเช่ือวาเร่ืองเพศเปนเรื่องนาอาย ทําใหไมกลาหาความรู
ในเร่ืองน้อี ยา งเปด เผย จงึ สงผลใหข าดความรู หรอื มีความเชื่อที่ผิด ๆ จนสงผลตอสุขภาพทางเพศ ทั้งท่ี
การมีขอมูลถูกตอง รอบดานและเพียงพอในเร่ืองเพศจะชวยใหทุกคนมีทางเลือกท่ีเหมาะสมท่ีสุดกับ

21

เงื่อนไขของตนเองเมอ่ื ตองตัดสนิ ใจในเร่ืองเพศ เชน การส่ือสารกับคู/คนรอบขาง การมีเพศสัมพันธที่
ปลอดภยั ฯลฯ

วธิ กี ารคุมกาํ เนดิ แบบตา งๆ
ถุงยางอนามัย

 มหี ลายขนาด ควรเลอื กขนาดทเ่ี หมาะสมกับอวัยวะเพศ ควรดวู ันผลติ หรือวันหมดอายกุ อ น
การใช

 ใชสวมเม่ืออวัยวะเพศแขง็ ตัว โดยใหบีบปลายถุงยางอนามัยเพ่ือไลล มขณะสวม เร่มิ สวมจากตรง
ปลายอวัยวะเพศรูดเขาหาตัว แลว รูดใหส ุดโคนอวยั วะเพศ

 เม่อื เสร็จกจิ ใหถ อดถงุ ยางอนามัยขณะท่ีอวยั วะเพศยงั แขง็ ตวั โดยจับที่ขอบถุงยางและคอยๆ รูด
ออก หากปลอ ยใหอ วัยวะเพศออนตวั ในชอ งคลอดอาจทาํ ใหถ งุ ยางอนามยั หลดุ ได

 ในขณะนี้ ถุงยางอนามัยเปนวิธีคุมกําเนิดแบบชั่วคราวที่มีประสิทธิภาพในการคุมกําเนิดและ
สามารถปองกนั การติดเชอ้ื เอชไอวี รวมท้ังโรคตดิ ตอทางเพศสัมพันธอ ื่นๆ เชน เริม หูดหงอนไก
หนองใน ซฟิ ลิส แผลริมออ น ไปพรอมกนั ได

ยาเมด็ คุมกาํ เนิดทว่ั ไป

• ยาคุมกาํ เนิดชนดิ เมด็ มี 2 แบบคือ แบบ 21 เมด็ และแบบ 28 เมด็ ซง่ึ มีประสิทธิภาพไมแตกตาง
กัน

• ยาคุมชนิด 28 เมด็ เม็ดยาท่ีเพม่ิ ข้ึนมา 7 เม็ดเปนวิตามนิ ทชี่ ว ยใหกนิ ยาตอเนือ่ งโดยไมลืม
• วิธีการกินยาคุมแผงแรก ใหเร่ิมกินเม็ดแรกภายใน 5 วันแรกของการมีประจําเดือน แลวกิน

ตดิ ตอกนั ทกุ วนั วนั ละ 1 เม็ดจนหมดแผง
• สําหรับยาคมุ 21 เม็ด เมอื่ กนิ หมดแผง ใหเ วนไป 7 วันแลวจึงเริ่มแผงใหม สวนยาคุม 28 เม็ด

ใหกนิ แผงใหมตดิ ตอ ไปไดเ ลย
• ออกฤทธค์ิ ุมกําเนิดโดย 1) ยบั ยงั้ ไมใหมีการเจรญิ เตบิ โตของไข และปองกนั ไขต ก 2) ทาํ ให

เยื่อบโุ พรงมดลกู บางลงไมเหมาะแกการฝงตวั ของตวั ออ น 3) ทาํ ใหม ูกที่ปากมดลูกเหนยี วขน
ไมเ หมาะแกการใหอสุจเิ คล่ือนผา นเขา ไปในโพรงมดลูก 4) เปลี่ยนแปลงการเคล่ือนไหวของ
ทอ นําไข ทําใหไขที่ผสมแลว เดนิ ทางไปถงึ มดลกู เร็วเกินไปจนไมสามารถฝงตวั ได
• ถาลมื กนิ 1 วัน ใหก ิน 2 เมด็ ในวันถัดไป

22

• ถา ลมื กิน 2 วนั ใหก ิน 2 เม็ดในวันทส่ี าม และอีก 2 เม็ดในวันท่ี 4
• ถาลมื กิน 3 วนั ขน้ึ ไป ควรหยุดกินยาคุมแผงนั้นไปเลย และใชว ิธคี มุ กําเนิดชนิดอนื่ ไปกอ น เชน

ใชถุงยาง แลวจึงเรม่ิ กินแผงใหมใ นการมปี ระจําเดือนรอบถัดไป
• หากเร่ิมกนิ เปนครั้งแรก ตองกินไป 14 วัน แลวจึงจะมีผลตอการปองกันการต้ังครรภ หากมี

เพศสมั พันธใ นชวงเวลาดงั กลาว ควรใชถุงยางอนามัยควบคูไ ปดวย
• แมผูหญงิ จะเปน คนกินยาคมุ แตผชู ายควรมสี ว นรวมในการชวยเตอื นใหก ินยาตอเนือ่ ง

ยาเม็ดคุมกําเนิดแบบฉกุ เฉิน

• ตองกิน 2 เมด็ จึงมปี ระสิทธภิ าพในการคมุ กาํ เนิด
• เม็ดแรก กินทันทีหรือภายใน 72 ช่ัวโมง (สามวัน) หลังการมีเพศสัมพันธ ประสิทธิภาพจะ

ข้ึนกับเวลาทีก่ นิ ภายหลังการมีเพศสมั พันธ หากกนิ ไดเร็วเทาไร ความสามารถในการปองกัน
การต้งั ครรภก จ็ ะสูงขน้ึ เทานน้ั
เม็ดที่สอง กนิ หา งจากเมด็ แรก 12 ช่วั โมง
• หากกนิ ถกู วิธี มปี ระสิทธภิ าพปองกนั การตั้งครรภ 75%
• การกนิ ยาคุมฉุกเฉนิ มีประสิทธิภาพต่ํากวาวธิ คี ุมกําเนิดแบบปกตทิ ว่ั ๆ ไป ดังนนั้ ควรใชใ นกรณี
ฉุกเฉินเทาน้ัน ไมค วรใชเปน วธิ กี ารคมุ กําเนดิ ประจํา

การนบั ระยะปลอดภัย หรอื นับหนา 7 หลัง 7

เปนวิธีคุมกาํ เนดิ แบบธรรมชาติ วธิ นี ้ใี ชไ ดผลเฉพาะผูหญงิ ทม่ี รี อบเดือนมาสม่ําเสมอเทาน้ัน ซึ่ง
ไมเ หมาะกบั วยั รนุ ซึ่งรางกายยงั อยใู นชว งฮอรโ มนเพศปรับตัว อาจมรี อบเดือนไมส มํ่าเสมอ

การนับหนาเจ็ดหลังเจ็ด ใหใช “วันแรก” ของการมีประจําเดือน นับเปนวันท่ี 1 หนาเจ็ดคือ
นับยอนขึ้นไปใหครบเจ็ดวัน สวนหลังเจ็ด ใหนับตอจากวันแรกที่มีประจําเดือนไปใหครบ 7 วัน
ดังตวั อยา ง

23

12 3 4 5 6 7

89 10 11 12 13 14
21
ระยะหนา เจ็ด วันแรกของ ระยะหลังเจด็

การมปี ระจาํ เดอื น

15 16 17 18 19 20

22 23 24 25 26 27 28

29 30 31

การหลัง่ ขา งนอก

การหลัง่ ขา งนอก เปนวธิ ีการคมุ กาํ เนดิ แบบธรรมชาติ ไดผ ลไมแนน อน เพราะขณะที่สอดใส
ฝายชายจะมีน้ําคัดหล่งั จํานวนหนึ่งออกมากอ น ซง่ึ จะมอี สุจปิ ะปนอยูดวย ตวั อสุจนิ น้ั สามารถวา ยไป
ผสมกบั ไข การตั้งครรภจ งึ เกดิ ข้ึนไดก อ นผชู ายจะหลงั่ น้ําอสุจิภายนอกเสยี อกี

24

นอกจากน้นั การหล่งั ภายนอกยังเปนวธิ กี ารทข่ี ึ้นอยกู ับฝา ยชาย โดยทฝ่ี า ยหญิงไมส ามารถ
ควบคมุ ไดเลย

o การกินยาคมุ กําเนิดชนดิ เมด็ ยาคมุ กาํ เนดิ แบบฉกุ เฉนิ การนับวนั และการหลั่ง
ขา งนอก ลว นเปน วิธคี มุ กาํ เนิดทไ่ี มสามารถปองกนั การติดเชอื้ เอชไอวี และเชอ้ื
โรคติดตอ ทางเพศสัมพนั ธ

o ถุงยางอนามัย เปนวิธเี ดียวที่ชวยปอ งกนั การตงั้ ครรภ ปองกนั การตดิ เชือ้ เอชไอวี
และเชื้อโรคตดิ ตอ ทางเพศสัมพันธ

เรื่องท่ี 4 วธิ ีการสรางสัมพันธภาพที่ดรี ะหวา งคนในครอบครวั

ครอบครวั หมายถึง กลุม คนต้ังแต 2 คนขึน้ ไปมาเกยี่ วพนั กนั และสืบสายเลือด ไดแก พอ แม ลูก
และอาจมญี าติ หรือไมใชญ าตมิ าอาศัยอยูดว ยกัน ซ่งึ ถอื เปนสมาชกิ ครอบครัว เชนกัน มีความรัก มีความ
ผูกพนั ซง่ึ กนั และกัน

ครอบครัวมหี นา ทีห่ ลอหลอม ขดั เกลาสมาชิกในครอบครัว ใหเปนคนดี รูระเบียบและกฎเกณฑ
ของสังคม อีกท้ังยังสรางความเปนตัวตนของทุกคน เชน ลักษณะนิสัย ความคิด ความเชื่อ ความสนใจ
เปน ตน

การสรา งสัมพนั ธภาพในครอบครวั

ความขัดแยงระหวางพอแมและลูกเปนเร่ืองที่เกิดข้ึนเสมอ เพราะความแตกตางของวัยและ
ประสบการณ ความหวงใยของพอ แมที่ปรากฏผานการวากลาว ตกั เตือน หา มปราม ใหค วามรสู ึกไมไ วใจ
และกงั วลเกินความจาํ เปน ตอลูกโดยเฉพาะลกู ท่ีอยใู นวยั รนุ

เปลี่ยนพฤติกรรม เนื่องจากพอ แมใ ชประสบการณข องตนมาคาดเดาถึงผลทอ่ี าจเกิดขึ้นเม่ือเห็น
การกระทําของลกู การตําหนิจึงมกั มาพรอมกับทา ทีขนุ เคอื ง โมโห บน ทําใหดเู หมอื นวาพอแมชอบใช
อารมณ ไมใ ชเหตผุ ล ไมคอ ยยอมรับส่งิ ทีเ่ ปน อยขู องลกู วยั รุน

ความตอ งการของตวั เองเปน ทตี่ ั้ง ไมพยายามเขา ใจอกี ฝา ยหนงึ่ วา ตองการอะไร ยอ มทาํ ใหเกิด
ความขัดแยงกัน การหาทางออกจึงตองเริ่มจากตัวเองกอนในการเปดใจมองหาความหมายที่อีกฝาย
พยายามสอื่ สารผานการกระทําซึ่งเราอาจไมชอบใจ การเขาใจความหมายท่ีแทจริงจะชวยใหเกิดการ
ส่อื สารระหวา งกัน ไมตดิ กบั อารมณแ ละทา ทขี องกันและกนั

25

การเรียนรูถึงความแตกตางของวัยและประสบการณของทั้งสองฝาย จะชวยสรางความเขาใจ
ลดขอขดั แยง และส่ือสารกันไดม ากขน้ึ

ปจ จยั ทช่ี วยสง เสริมใหมสี มั พันธภาพทด่ี ีตอ กนั ไดแก
 การชมเชยหรอื ชืน่ ชมอยา งเหมาะสม
 การตเิ พ่อื กอ
 การแกไขความขดั แยงในเชิงสรางสรรค

การชมเชยหรอื ช่ืนชม

คนสว นใหญไ มวาจะอยใู นครอบครัวหรืออยูในสงั คมภายนอกครอบครัว มักจะไมค อยช่ืนชม
หรือชมเชยกัน พอแมส ว นใหญเ ช่ือวาถา ชมลูกบอยๆ เดก็ จะเหลิง อาจกลายเปน คนไมดีได ทาํ ใหพ อ แม
ไมช มเม่อื ลกู กระทําสิง่ ท่ีดหี รือมีพฤติกรรมในลักษณะท่ีเปน สิ่งทพี่ อแมต องการ จึงทาํ ใหเด็กขาดกําลงั ใจ
ขาดน้าํ หลอเลี้ยงจติ ใจ

คนเราโดยทว่ั ไปตอ งการคําชมเชย โดยการชมเชยทจี่ ะสรางเสริมสมั พันธภาพใหด คี วรมีลกั ษณะ
ดงั นี้

 ชมพฤติกรรมท่ีเพิ่งเกดิ ขึ้นใหมๆ
 การชมควรเนนทีพ่ ฤตกิ รรมที่ทําไดด ี และชมทลี ะ 1 พฤติกรรม
 บอกความรูสกึ ของเราตอพฤตกิ รรมนนั้ อยา งจริงใจ
 ชมเฉพาะส่งิ ทค่ี วรชม
 ไมช มมากเกนิ กวา ความเปน จรงิ
ตัวอยา ง เชน
ลูกบอกกบั แมว า “วนั นี้ แมทาํ กับขา วอรอยมาก ทาํ ใหก นิ ไดม าก ลูกรูสกึ มีความสขุ ภูมิใจที่มีแม
ทํากบั ขาวอรอ ย”
แมบอกกับลูกวา “วันน้ี แมรูสึกภูมิใจท่ีลูกชวยลางชามในตอนเย็นไดสะอาดเรียบรอยดีมาก
โดยทีแ่ มไ มต อ งเรียกใหทํา”
การติเพื่อกอ
คนสวนใหญ ไมชอบฟงคําติ การติติงท่ีไมเหมาะสม มักจะทําใหเกิดผลเสียหายตามมา เชน
เกิดการทะเลาะกันได แตก ารติในเชิงสรา งสรรคก ็มปี ระโยชน และสามารถเสริมสรา งสัมพันธภาพท่ีดีได
โดยมลี ักษณะดังน้ี
 ตองแนใจวา เขาสนใจทจ่ี ะรบั ฟง คําติ และพรอมที่จะรบั ฟง

26

 เรอื่ งทีจ่ ะติ ตอ งเปน เรือ่ งทีเ่ พิ่งเกดิ ขึ้น ไมใ ชเ กิดขึน้ เมือ่ นานมาแลว
 สิ่งทีจ่ ะติ ตองเปน สง่ิ ท่เี ปลยี่ นแปลงได
 พูดถึงพฤตกิ รรมที่ตใิ หช ัดเจน เปน รปู ธรรม
 บอกทางแกไขไวด ว ย เชน ควรทําอยา งไรใหด ขี นึ้
 รกั ษาหนาของผรู บั คําตเิ สมอ เชน ไมสมควรตติ อ หนาคนอนื่
 เลือกเวลาและจงั หวะทีเ่ หมาะสม เชน ผรู ับคําติมีอารมณส งบหรอื แจมใส ไมตใิ นชวงทมี่ ี
อารมณโกรธ
ตัวอยา งเชน หากพอ หรอื แมตอ งการติลกู วยั รุนในเร่ืองการคยุ โทรศัพทนาน ควรเลอื กเวลาทลี่ กู มี
อารมณสงบ พรอ มท่จี ะรับฟง และพูดตใิ นเชิงสรางสรรคว า
“วนั นีล้ กู คยุ โทรศพั ทก ับเพือ่ นมานาน 2 ชว่ั โมงแลว แมคดิ วาลกู ควรหยดุ คุยโทรศัพทไดแ ลว
และหันมาทาํ การบาน อา นหนังสือ แลวเขา นอน จะดกี วา ไหม”

การแกไ ขความขดั แยง ในเชงิ สรางสรรค

หนทางในการแกไ ขปญ หา เมอ่ื เกิดความขดั แยง ในครอบครวั คือ การสอื่ สารทด่ี ี ซง่ึ ตองอาศยั
ทักษะและความสามารถ ดังตอ ไปนี้

 แสดงความปรารถนาอยางแนว แนท่จี ะรว มกนั รกั ษาความสัมพนั ธทด่ี ตี อกนั ไว
 มงุ มน่ั เชิงสรา งสรรค เปนไปในทางการปรึกษากัน
 ใหค วามสําคญั และตง้ั ใจฟง ความคิดเห็นของอกี ฝา ยหนง่ึ
 แสดงความคดิ เหน็ ของเราใหช ดั เจนและส่อื สารใหอีกฝา ยหนง่ึ ไดร ับทราบ
 ไมถ อื วา การยอมรบั ความคดิ เหน็ ของผอู ื่นเปน เรือ่ งแพหรอื เปนเรอ่ื งที่เสยี หาย
 ยอมรบั ฟง ความคดิ เหน็ ของกนั และกนั
 หลกี เล่ยี งการใชอารมณ ขู คกุ คาม ด้ือรนั้
 ชว ยกนั เลือกหาทางออกทยี่ อมรบั ไดท ัง้ 2 ฝา ย
ตัวอยางการแกไ ขความขดั แยงระหวา งคูส มรส
 คสู มรสทง้ั 2 คนจะตองเปดใจรบั ฟงกันกอนโดยการพูดทีละคน และรับฟงกันโดยพูดใหจบ

ประโยคหรอื จบประเดน็ ทลี ะคน และรบั ฟงใหเขาใจวา อีกคนตงั้ ใจจะสือ่ อะไรใหทราบ

27

 ถาฝายหนงึ่ พูดแทรกในขณะทอี่ ีกคนพูดไมจบประเด็น ก็จะทาํ ใหสอื่ สารกันไมได
 ถา คนหนงึ่ หรือทงั้ 2 คน โกรธ โมโห ขม ขู กจ็ ะย่ิงทาํ ใหไมส ามารถแกไขความขดั แยงได ตอง

หลกี เล่ียงการใชอ ารมณ พยายามพูดคุยกันดวยอารมณที่สงบ และต้ังใจฟงความคิดเห็นของ
อีกฝา ยหนง่ึ
 ทา ยที่สุด ชวยกนั เลือกหรอื ตดั สนิ ใจมองหาทางออกท่ีทัง้ คยู อมรบั ได

เรือ่ งที่ 5 การสือ่ สารเรื่องเพศในครอบครัว

พอแมท่ีมีลูกกําลังเปนวัยรุน ลวนพบปญหาเดียวกันคือ “พูดกับลูกไมคอยจะรูเร่ือง คุยกันได
แปบๆ ก็ขัดคอกัน ทะเลาะกนั แลว” ชว งเวลาแหงการเชื่อฟง ไมวาพอแมพูดอะไร ลูกก็ เออ ออ หอหมก
ไปดวยไดหมดไปแลวเม่ือลูกยางเขาสูวัยที่กําลังจะเร่ิมเปนหนุมเปนสาว และย่ิงยากมากขึ้นเมื่อหัวขอ
ของการพดู คุยเก่ียวกับความประพฤตทิ ีพ่ อแมเ ปนหวง เพราะลูกกําลังจะเปน หนมุ เปน สาวน่ีเอง

เพราะไมเคยมีใครสอนเราซึ่งเปนพอแมมากอนวาตองคุยกับลูกยังไง ดังนั้น เม่ือเกิดความ
ไมส บายใจ กังวลใจกบั พฤตกิ รรมของลูก เราจึงมักเลือกวิธีเดียวกับที่พอแมปฏิบัติกับเราเมื่อเราเปนเด็ก
คือ เงียบ บน หรอื ดา วา ซึง่ วธิ ีการเหลานั้นเปนการสรางกาํ แพงระหวางเรากับลกู ใหยิ่งสูงขึ้น และยากตอ
การปนปา ยขาม โดยเฉพาะเมอื่ เปน เรอ่ื งเพศ ซ่ึงเปนเรื่องท่ีหลายครอบครัวไมเคยเอยปากสนทนาเมื่ออยู
ดว ยกันพรอ มหนา
ลองเร่ิมตน จากการตอบคําถามตวั เองกอ น

การกอบกูชวงเวลาดี ๆ ท่ีเคยมีเมื่อตอนลูกยังเปนเด็กเล็ก ๆ ใหกลับมาแมลูกจะเขาสูวัยรุนแลว
เปนเร่ืองที่ทําได แตตองอาศัยการฝกฝน ทําบอย ๆ และแมจะยากเพียงใด ก็เปนเรื่องที่พอแมควรตอง
เรียนรู ตองฝกการพูดคุยกับลูกดวยทาทีท่ีแสดงใหลูกเห็นถึงความรัก ความหวงใย และสรางความ
ไวว างใจ เพราะผลดจี ะตกอยูท ีล่ กู ของเรา เมือ่ ความสัมพันธใ นครอบครัวดีข้ึน

กอนจะเรม่ิ ตน คุยกับลูก ลองทบทวน ถามตวั เองในใจวา
 มเี ร่อื งอะไรบา งทเ่ี ราพูดไดอยางสบายใจ
 มีเร่ืองอะไรทเ่ี หน็ ๆ อยูตาํ ตา แตไมเ คยพูดเลย
 มเี ร่ืองอะไรท่ีเปนความลับสุดยอดของครอบครัว ซึ่งตองปดไว ไมสามารถเปดเผยไดจริงๆ

เพราะจะสง ผลกระทบถึงสมาชกิ ในครอบครัว
 มคี วามลับอะไรในครอบครัวท่เี ก่ียวของกับเรอ่ื งศาสนา

28

 มีศีลธรรม จรยิ ธรรมขอไหนบางทเ่ี ราไดแ ตพ ูด แตทําตามไมได
การตอบคําถามเหลาน้ี คือการเร่มิ ตน ทจ่ี ะทาํ การสํารวจและทําความเขาใจกับกฎกติกาความคิด

ความเชื่อของครอบครัวเราที่มตี อเรอื่ งตา ง ๆ ทําใหเรารวู าทาํ ไมเราถึงคิดและประพฤตเิ ชน น้นั และจะชวย

เตอื นเราวามหี ลายเรอื่ งอาจไมสอดคลองกับครอบครัวของเราหรือกบั ของคนอืน่ เราจงึ ควรเปดใจกวา งขนึ้

ซึ่งการเปดใจยอมรับประสบการณใ หม ๆ คือจุดเรม่ิ ตนของการส่อื สารทไี่ ดผ ล

เมอ่ื ส่อื สารเรอ่ื งเพศกบั ลกู

สิง่ ท่ีตอ งระวัง ลองพยายามทาํ สงิ่ น้ี

ไมค วรหลกี เล่ยี ง บายเบ่ยี ง - ต้ังใจฟงคําถามลูก และฉวยโอกาสพูดคุยโดยยกตัวอยางจาก
หรือ เปลยี่ นเรือ่ งคยุ สถานการณตาง ๆ ในขณะน้ัน เชน ระหวางดูโฆษณา ละครทีวี
เดินเลน ในหา ง นงั่ รถ ฯลฯ

- ใหคําตอบส้ัน ๆ ถายังไมสะดวกใจจะคุย เชน อยูในที่สาธารณะ
หรืออยใู นชว งเวลาที่ยงั ไมเ หมาะสมวา “เด๋ียวเราคอยคุยเรื่องน้ีกัน
ท่ีบา น” หรือ “รอใหแม/ พอวา งกอนนะ เดย๋ี วจะคยุ ใหฟง ”

ไมควรไลใ หไ ปถามพอ - บอกลูกไปตรง ๆ วา “ไมรู แตจะลองไปหาคําตอบให” หรือชวน
หรอื ถามแมแ ทน ลูกใหช ว ยกันหาคาํ ตอบวา เพราะอะไร

- หากคณุ ลาํ บากใจ อายท่จี ะพดู กค็ วรใหล กู รบั รูว า “แมกระดากปาก
ยังไมก ลาพูด ขอเวลาหนอย แลว จะตอบ”

ไมค วรหัวเราะ ลอ เลยี น หรือ การหัวเราะหรือลอเลียนคําถามของเด็กในเรื่องเพศ จะทําใหลูกเกิด
แสดงใหลูกเหน็ วา คําถามของ ความสับสน และกังวลใจ สง ผลใหใ นอนาคตเม่ือลกู เกิดปญหาในเร่ือง
ลูกเปน เรือ่ งตลก เพศ ลกู จะไมส ามารถตดั สินใจไดวา ควรทําอยา งไร

สิ่งที่ควรทํา คือ การสนับสนุน หรือแสดงออกทั้งนํ้าเสียง กริยา วาจา
ในทางท่ีทําใหลกู รวู าเมอ่ื ไหรท ่ีมคี าํ ถามในเร่ืองเพศ ใหมาปรึกษาหรือ
ถามกบั พอ แมไ ดเสมอ

29

ส่ิงทต่ี อ งระวัง ลองพยายามทาํ สิง่ นี้
ไมควรใชนํ้าเสยี งตําหนิ หา ม เปดใจรับฟง แสดงใหลูกเห็นวา พอ แมมีความสนใจเรอ่ื งตา งๆ ท่ี
ปรามเมอื่ ไดย ินคาํ ถามที่แสดง เกยี่ วของกับเรือ่ งเพศ และเหน็ วา เปน เร่ืองธรรมชาติ ไมใ ชเรอ่ื งผิดปกติ
ความอยากรูอ ยากเหน็ ในเรอื่ ง
เพศของลูก ใชคําเรียกอวัยวะตางๆ ทีเ่ กย่ี วขอ งกบั เร่อื งเพศทีถ่ ูกตอ งตามความเปน
ไมควรใชค าํ เรยี กอวยั วะตา งๆ จริง
ดว ยนํ้าเสียงดูถกู ตเิ ตียน

ไมค วรใหลูกฟงขอมูลตางๆ การพดู คุยเรอ่ื งเพศกบั ลกู ตองเลือกใชคําศัพทท่ีสอดคลองกับวยั ของลกู
มากมายในคราวเดยี ว ไมใชศัพทท ี่ยากเกินกวา ลกู จะเขา ใจ เชน การตอบคาํ ถามวา เด็กเกดิ มา
จากไหน กบั เดก็ วยั 5 ป ตอ งใชการอธบิ ายทต่ี างจากการตอบคําถามแก
เด็กวยั 8 ป และ 11 ป

เร่ืองท่ี 6 ปญหาทเ่ี กี่ยวขอ งกับพัฒนาการทางเพศของวยั รุน

เม่ือรางกายเจริญเติบโตเขาสูวัยรุน หญิงและชายมีการเปลี่ยนแปลงหลายดานทั้งทางรางกาย
จิตใจ สงั คม และพฒั นาการทางเพศ ซ่ึงเปนพฒั นาการตามธรรมชาตขิ องมนษุ ย การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ
คือในผูชายมีการฝนเปยก และในผูหญิงมีประจําเดือน ซ่ึงหมายถึงภาวะท่ีนําไปสูการตั้งครรภได
พัฒนาการทางรางกายน้ีมีความจําเปนที่แตละบุคคลตองดูแลสุขอนามัยสวนบุคคล และเขาใจกลไก
การสบื พนั ธขุ องรางกายเพือ่ ท่จี ะดํารงอยูไดอ ยา งมสี ขุ ภาวะท่ีดี

ประจําเดือน การตัง้ ครรภ และการแทง

ผูหญิงมปี ระจาํ เดอื นไดอยา งไร

การมีประจําเดือน หรือระดู (Menstruation) เปนกระบวนการทางธรรมชาติที่เกิดข้ึนในสตรี
โดยรังไขจะผลิตไขขึ้นมาทุกเดือน เมื่อไขสุกรางกายเตรียมพรอม เพื่อรองรับไขท่ีอาจถูกผสมโดยเช้ือ
อสุจิของฝายชาย โดยผนังมดลูกจะเกิดการเปล่ียนแปลง ถาไมมีการผสมระหวางไขและเช้ืออสุจิของ

30

ฝา ยชาย ผนงั มดลกู จะลอกหลดุ ออกมาเปนเลือด ท่ีเรียกวา “ประจําเดือน” กระบวนการท้ังหมดกินเวลา
ประมาณ 28 วัน หรือคลาดเคล่ือนมากหรือนอยกวา 7 วัน และมักจะมีครั้งละ 3 – 7 วัน จํานวนเลือด
ท่ีออกมาในแตละเดอื นประมาณ 30 – 80 มิลลลิ ิตร

เมื่อรางกายของผูหญิงเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงจากเด็กหญิงเขาสูวัยสาว นอกเหนือจากการ
เปล่ียนแปลงทางสรรี ะภายนอกแลว การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญอีกอยางหนึ่งคือ การมีประจําเดือนนั่นเอง
เด็กผูหญิงจะเริ่มมีประจําเดือนครั้งแรกในอายุราว 11 – 15 ป การมีประจําเดือนคร้ังแรกจะชาหรือเร็ว
ขึ้นกับพัฒนาการของสมอง กรรมพันธุ และสุขภาพกายและใจของคน ๆ น้ัน ในชวงปแรก ๆ ที่มี
ประจําเดอื นใหม ๆ และในวยั ใกลห มดประจําเดือน รอบเดือนมักจะไมสม่ําเสมอและบางเดือนอาจไมมี
การตกไข และโดยเฉลยี่ แลววยั หมดประจําเดอื นจะเกิดขนึ้ เมอ่ื มีอายุประมาณ 45 – 50 ป ซึ่งเปนเวลาที่รัง
ไขหยดุ สรางไขอ อกมา

วงจรการเกิดประจําเดือน

 การตกไข
ชว งประมาณก่ึงกลางของรอบเดือน ตอมใตสมองจะหล่ังฮอรโมนออกมาตัวหนึ่ง ซึ่งมีผล

ทําใหรงั ไขปลดปลอ ยไขออกมาเพือ่ รอการผสม
 หลงั จากตกไข

หลังจากไขตก ก็จะเคล่ือนไปตามทอนําไขไปสูมดลูก ขณะเดียวกัน รังไขก็เร่ิมผลิตฮอรโมน
เพ่ือทําใหผ นังมดลูกเร่มิ สรา งตวั ใหหนาขน้ึ ขณะเดยี วกันก็มีเลอื ดมาหลอเลยี้ งมดลูกมากข้ึน และพรอมที่
จะรองรบั ไขท อ่ี าจถูกผสม

 ระหวางมีประจําเดอื น
เม่อื ไขเดินทางมาถึงมดลูก และไมไดรับการผสม ซึ่งอาจเปนเพราะไมไดมีเพศสัมพันธ หรือมี

เพศสัมพันธโดยมีการปองกันการตั้งครรภ ระดับฮอรโมนเอสโตรเจน และโปรเจสเตอโรนจะลดลง
อยางรวดเร็ว ทําใหผนังมดลูกหลุดลอกออกกลายเปนประจําเดือน โดยปกติผูหญิงจะมีประจําเดือน
อยใู นชวง 3 - 5 วัน

 หลังจากหมดประจําเดือน
หลงั จากหมดประจาํ เดอื น ฮอรโมนจากตอ มใตส มองในกระแสเลอื ด ก็เริ่มกระตุน ใหไ ขในรงั ไข

เจริญข้นึ ขณะเดียวกัน ฮอรโ มนจากรงั ไขก ็เร่มิ กระตุนการสรา งตัวของผนังมดลูก

31

ลกั ษณะของประจําเดือนที่ปกติ

ลักษณะของประจําเดือนปกติคือเลือดที่ออกจากชองคลอดอยางสมํ่าเสมอ ทุก 28 วัน  7 วัน
ประจําเดอื นท่อี อกมา ประกอบดว ยนาํ้ เมอื กจากปากมดลูก นํ้าชองคลอด น้ําเมือกและช้ินสวนของเยื่อบุ
มดลกู และเลือด ซง่ึ สวนประกอบเหลานเ้ี หน็ ไมชดั เจนเพราะสขี องเลือด ประจําเดือนท่ีปกติมีสีคลํ้า ไมมี
เลือดกอน ไมมีกลิ่น จนกระทั่งมีแบคทีเรียและมีการสัมผัสอากาศภายนอกชองคลอด จึงทําใหมีกล่ิน
เกดิ ข้นึ ปกติจะมาประมาณ 3 - 7 วนั หากผิดไปจากนอี้ าจถอื วา ผดิ ปกติ

ปญ หาและอาการที่มักเกิดขึ้นในชว งมีประจําเดือน

กอนหนาท่ีจะมีประจาํ เดอื น

ในชว งระหวา งท่มี กี ารตกของไข สว นมากผหู ญงิ จะมอี าการทีบ่ งบอกลว งหนา กอน บางคนอาจมี
อาการปวดถวงบริเวณทอ งนอย หรือปวดหลงั อาจปวดมากหรือนอยแตกตางกันไป อาจมีอาการรวมของ
ทองเสยี และรสู กึ คลน่ื ไส มบี างรายอาจปวดศีรษะเพิ่มเขามาอกี อยางหนง่ึ ในชว งแรก กอนประจําเดือนมา
มกั มอี าการตกขาว และมอี าการเจ็บคดั เตานมรวมดวยก็ได ในระหวางน้ี ผูหญิงหลายรายจะมีความรูสึก
ไมสบายใจ ซึมเศรา หรือหงุดหงิด รําคาญใจไดงาย ซึ่งถือเปนเร่ืองปกติธรรมดา และอาการอยางน้ี
จะหายไปไดเองเม่ือประจําเดือนออกมาแลว ตามสถิติพบวา อาการปวดจะรุนแรงมากขึ้นใสชวงอายุ
18 – 24 ปแลว ก็จะทเุ ลาลง อาการปวดประจาํ เดือนจะหายไปไดภายหลังหญิงนั้นต้ังครรภและคลอดบุตร
ซึง่ เชือ่ วา เปน เพราะปากมดลกู ทถ่ี างขยาย มผี ลใหเกดิ การทาํ ลายปลายประสาทท่อี ยูบรเิ วณดงั กลา ว

วธิ กี ารบําบัดอาการอาการปวดทองปวดเกรง็ สามารถทําไดด วยวิธีงาย ๆ คือ การประคบบริเวณ
หนา ทอ งดว ยการใชกระเปานํ้ารอน และนอนพักเพื่อทุเลาอาการ หรืออาจรับประทานยาระงับปวดชนิด
ธรรมดา หรือใหยาชวยคลายการหดเกร็งของกลามเน้ือมดลูก นอกจากนี้ควรออกกําลังอยางสมํ่าเสมอ
จะชวยปอ งกนั มใิ หป ญ หาการปวดทองประจําเดือนรุนแรงไดดว ย

อาการปวดประจําเดือนอีกประเภทหน่ึงที่อาจไมปกติท่ีผูหญิงควรระวัง สวนใหญอาการ
จะเกิดข้ึนภายหลังจากหญิงนั้นมีประจําเดือนเปนเวลานานหลายป เชน อาการของโรคภายใน
ชองเชิงกราน ซ่ึงเกิดจากภาวะการติดเชื้อในอุงเชิงกรานชนิดเรื้อรัง ทําใหมีผังผืดยึดอวัยวะใน
ชองเชิงกรานไวดวยกนั หรือภาวะเยื่อบุผนังโพรงมดลูกเจริญผิดที่ในอุงเชิงกราน หรือเพราะมีเนื้องอก
ของกลามเน้ือผนังมดลูก นอกจากนี้การใสหวงคุมกําเนิดก็เปนสาเหตุที่พบบอย ในภาวะเหลานี้จะมี
อาการปวดประจําเดือนแตกตางกันไป เชน ยังคงปวดทองแมประจําเดือนหยุดไปแลวหลายวัน หรือมี

32

อาการปวดทวขี ึน้ อยางมากในแตละวงจรรอบประจําเดือนตามกาลเวลาที่ผานไป หรือบางคร้ังอาจรูสึก
หรือคลํากอนที่ทอ งนอ ยไดเ อง หากมีอาการเหลา นี้ควรรบี ปรกึ ษาแพทยเ พือ่ การวนิ ิจฉยั ท่ีถกู ตอ ง

ประจาํ เดือนไมมา
ตามปกติ ประจําเดือนจะมาคร้ังแรกเม่ืออายุระหวาง 11–15 ป ชาหรือเร็วแตกตางกันไปบาง

หากประจาํ เดือนไมมาเมื่อถงึ เวลา หรือวยั ที่ควรจะตองมี ถือวามคี วามผิดปกติ

สาเหตทุ ีป่ ระจาํ เดอื นไมม า เกดิ ข้นึ ไดด งั นคี้ ือ

1. ไมม ีมดลกู
2. ไมมีรังไข
3. ไมม ชี อ งคลอดโดยกาํ เนดิ
4. มีรงั ไขแตเกดิ ความผิดปกติของรังไข
5. เย่อื พรหมจารีไมเ ปด
6. เกิดความผิดปกตขิ องชอ งคลอด
7. เกิดความผดิ ปกติของมดลกู

บางรายอาจมีประจาํ เดอื นขาดหายไป กค็ วรตองพิจารณาสาเหตุความผิดปกติท่ีเกิดข้ึน หากเกิด
ขาดหายไปโดยไมทราบสาเหตุ ควรรีบปรึกษาแพทยทันที สาเหตุของประจําเดือนขาดหายไปอาจเกิด
จากสาเหตเุ ชน

1. เกดิ การตั้งครรภ
2. ใชย าคมุ กาํ เนดิ เชน ยาฉีดคุมกาํ เนิด
3. หลงั การคลอดบุตรหรอื กาํ ลงั ใหน ้าํ นมบตุ รอยู
4. เกิดอาการเครียดทางจติ ใจมาก
5. ไดรบั การผา ตัดเอามดลกู ออก หรือรงั ไขออกทัง้ สองขางแลว

ทัศนคติและความเช่ือเกยี่ วกบั ประจําเดอื น
ประสบการณของผูหญิงเกี่ยวกับประจําเดือน มิใชเพียงเปนแคสวนหนึ่งของชีวิต ท่ีเปนเร่ือง

ของธรรมชาติ หากแตยงั สะทอนใหเหน็ ถงึ อทิ ธิพลความเชอ่ื ศาสนาและวัฒนธรรมในสังคมที่มากําหนด
วิธกี ารปฏบิ ัติตอภาวะการมปี ระจาํ เดอื นของผหู ญงิ อันสะทอ นใหเ ห็นถึงความคิดและทัศนคติของสังคม

33

ที่ มีตอ ผหู ญงิ และโดยมากมกั เปนทัศนะในดา นลบมากกวา ดานบวก ดงั เชน การหามผหู ญงิ เขาสูพธิ กี รรม
ทางศาสนา หรอื หามหญงิ สงั สรรคก ับผอู น่ื หากหญงิ น้นั อยูใ นชว งมปี ระจาํ เดือน เปน ตน

นอกจากน้ี อทิ ธพิ ลความเช่ือบางอยางมผี ลตอ การปฏิบัติตัวในระหวางมีประจําเดือนของผูหญิง
เชน ความเชื่อในการงดเวนการออกกําลังกาย การอาบนํ้าหรือสระผม หรือไมมีเพศสัมพันธระหวางน้ี
ขอเท็จจริงในเร่ืองเหลานี้ไมปรากฏชัด บางเร่ืองก็พอสามารถหาเหตุผลได และบางเรื่องก็ไมมีเหตุผล
ที่ชัดเจน ดังเชน การหามการมีเพศสัมพันธขณะมีประจําเดือน ซ่ึงในทางการแพทยไมมีขอหามใดๆ
แตไ มเ ปน ท่ีนยิ ม กเ็ พราะเลอื ดประจําเดอื นจะออกมาเลอะเทอะ และท่ีสําคัญก็คือโอกาสจะมีการอักเสบ
ตดิ เชื้อไดงายขึ้น เพราะปากมดลูกเปดออกเล็กนอย และในมดลูกจะมีแผลเน่ืองจากมีการลอกหลุดของ
เยอื่ บุมดลูก

การต้ังครรภ

การต้ังครรภเกิดจากการปฏิสนธิ หรือการผสมของไข กับตัวอสุจิของฝายชาย ในชวงกึ่งกลาง
ของรอบประจําเดือน ซ่ึงเปนระยะท่ีฝา ยหญิงมีไขสกุ

เม่ือไขและอสุจิผสมกันแลว ไขท่ีไดรับการผสม จะเดินทางมาฝงตัวบนเยื่อมดลูกซ่ึงหนาข้ึน
แลวแบงตัวออกเร่ือยๆ กลายเปนเด็กตัวเล็กๆ จนอายุครบ 9 เดือนจึงคลอดออกมา ขณะท่ีต้ังครรภแม
และลูกมกี ารเช่อื มโยงกันของเลอื ดผานทางรก

เม่อื เริม่ ต้ังครรภผูห ญิงจะมอี าการตางๆ ท่ีสังเกตไดดังนี้

 ประจาํ เดอื นขาด
ประจําเดือนทีเ่ คยมมี าสม่าํ เสมอทกุ เดอื น จะหายไปไมม าอกี เลยตลอดระยะเวลาตง้ั ครรภ

ประมาณ 38 - 40 สปั ดาห
 อาการคลน่ื ไส อาเจียน วิงเวียนศรี ษะ

มักจะมอี าการในสามเดอื นแรก อาการเหลาน้ีมกั เปนในตอนเชา ซึง่ เราเรียกวา แพทอ ง
น่ันเอง

 เตานมคัด
หัวนมและอวยั วะเพศจะมสี คี ลาํ้ ลง มกั พบในครรภแรก บางครั้งอาจมีนา้ํ นมเหลอื ง

ออกมาเมอ่ื บบี หวั นม
 เดก็ ด้ิน

34

ในครรภแ รก จะรสู ีกวา เดก็ เรมิ่ ดนิ้ เมือ่ อายคุ รรภป ระมาณ 20 สัปดาห สว นในครรภหลัง
จะเร่ิมดิน้ เมือ่ อายุครรภป ระมาณ 16 สปั ดาห ถา เด็กท่เี คยดนิ้ อยแู ลวดน้ิ นอยลง ตอ งรีบไปพบ
แพทย

 ปส สาวะบอ ย
เนื่องจากมดลูกโตขนึ้ และไปกดทบั กระเพาะปสสาวะ แตถ าปสสาวะบอยขึน้ มอี าการ

แสบขัด หรือปสสาวะขนุ ตอ งรีบไปพบแพทย

 มีอารมณห งดุ หงิด

การตรวจการตง้ั ครรภ
หากผูห ญิงเราไมแ นใจวา ตัง้ ครรภหรือไม สามารถตรวจสอบไดทีค่ ลินกิ สถานพยาบาลทง้ั ของรฐั

และเอกชน หรือสามารถซื้อชุดตรวจการตั้งครรภไดตามรานขายยาทั่วไป ซึ่งเปนการตรวจหาฮอรโมน
ในปส สาวะ เปนวิธีท่ีงาย สะดวก และประหยัด ซึ่งผลการตรวจจะคอนขางแมนยําสําหรับผูหญิงที่อายุ
ครรภป ระมาณ 27 วันหลงั ปฏสิ นธิ

ขอ ควรปฏบิ ัตกิ อ นการทดสอบการตงั้ ครรภเ อง เพอ่ื เพิม่ ประสทิ ธภิ าพการตั้งครรภ คือ

1. งดน้าํ หรอื เครอื่ งดืม่ ใด ๆ ต้ังแตสองทุม และถา ยปสสาวะใหหมดกอ นเขา นอนของคนื กอนทจ่ี ะ
เก็บปสสาวะ

2. เก็บปสสาวะ ครงั้ แรกทถี่ ายปสสาวะเมอ่ื ต่นื นอนในตอนเชา ลงในภาชนะทส่ี ะอาด
3. ไมควรรบั ประทานยาใด ๆ ท้ังสิน้ ใน 48 ชว่ั โมงกอนเกบ็ ปส สาวะ
4. ในกรณที ี่ยงั ไมท ดสอบทนั ที ควรเกบ็ ปสสาวะใสชองเก็บอาหารปกติของตูเยน็ เพราะฮอรโ มน

ท่ีขบั ออกมาในปสสาวะของผหู ญิงตัง้ ครรภ จะเสอ่ื มสลายในอุณหภมู ิหอง

อะไรคือทอ งนอกมดลกู
ทองนอกมดลกู คอื การฝงตวั นอกโพรงมดลูกของไขท ี่ถกู ผสมซ่งึ จะเจรญิ ตอ ไปเปนรกและทารก

แตตําแหนงที่ไขฝงตัวกลับอยูผิดท่ี ตําแหนงที่เกิดขึ้นบอยคือในทอนําไข แตอาจมีบางรายเกิดขึ้นที่คอ
มดลกู ชอ งทอ ง รังไขและตาํ แหนง อน่ื ๆ ไดด วย สาเหตุสาํ คัญของการเกดิ ทอ งนอกมดลกู คอื กลไกการ
นาํ ไขเสยี ไป โดยรทู อ นาํ ไขผดิ ปกติ ทาํ ใหไขท ่ผี สมแลว ไมสามารถเคล่ือนผานไปไดสะดวก มักมีสาเหตุ
มาจากการอักเสบติดเช้ือ เช้ือที่สําคัญคือหนองใน ซึ่งกอใหเกิดความผิดปกติของเยื่อบุผนังทอนําไข

35

โดยตรง นอกจากน้กี ารอักเสบหรือพยาธิสภาพเรื้อรังของชองเชิงกราน ก็ทําใหเกิดพังผืดท่ียึดทอนําไข
มใิ หเคลอ่ื นไหวไดส ะดวก ทําใหก ารเคลื่อนยา ยไขท ่ีผสมใหเ ดินทางสมู ดลูกไมไ ดตามกาํ หนด

อาการที่เกิดข้ึน คือประจําเดือนจะขาดไปชวงหน่ึง แตมักไมมีอาการแพทองเดนชัด เม่ือ
ภาวะวกิ ฤตดังกลาวเกดิ ข้นึ กจ็ ะทาํ ใหม อี าการปวดทองเฉยี บพลันทีท่ องนอยขางใดขา งหน่ึงอยูตลอดเวลา
แลวรูสึกหนามืด ใจส่ัน หรือเปนลม อาจมีเลือดออกทางชองคลอดกะปริบกะปรอยรวมดวยหรือไมมี
กไ็ ด ในบางราย เลือดที่ตกในชองทองมีจํานวนมาก ก็จะไประคายกะบังลมที่ก้ันระหวางชองปอดและ
ชองทอง ทําใหมีอาการเจ็บปวดที่หัวไหลขางขวาได ผูปวยจะซีดมาก กระสับกระสาย เหงื่อออก
สติสัมปชัญญะเลือนราง มีอาการรุนแรงเฉียบพลัน ถึงขั้นช็อกได หากนําสงโรงพยาบาลไมทัน
อาจอันตรายถงึ ชวี ิตได เพราะรา งกายขาดเลือด

ในสตรที ีท่ าํ หมนั แลว กอ็ าจเกดิ อบุ ัติเหตุของการตั้งครรภนอกมดลูกไดแมวาโอกาสเสี่ยงมีนอย
มาก สาเหตเุ กิดจากทอ นําไขท ่ถี ูกผูกตัดออกไปแลวบางสวนจากการผาตัดกลับเช่ือมกันไดใหม หรือมีรู
เปดถงึ กนั ไดใหม เปน เหตใุ หต ง้ั ครรภได ตามสถิตพิ บวา เกิดขน้ึ นอยกวา 1 ใน 1,000 ราย และในจาํ นวนน้ี
เปนการทองนอกมดลูกสวนหนงึ่ หากเปรยี บเทียบอัตราสวนกับการต้ังครรภปกติแลว พบวาเปอรเซ็นต
การตงั้ ครรภนอกมดลกู เกดิ ขึ้นสงู ในหญิงที่ทอ งภายหลังการทาํ หมนั แลว

การระมัดระวังมิใหเกิดการอักเสบในชองเชิงกราน และมิใหเกิดโรคติดตอทางเพศสัมพันธ
จึงเปน การปอ งกันมิใหเ กิดการทองนอกมดลูกได หากรสู ึกมผี ิดขาวผดิ ปกติ หรอื ปส สาวะแสบขัด อยานิ่ง
นอนใจ ควรไปใหแพทยตรวจเพื่อการรักษาในระยะแรกเร่ิม เพราะอาการโรคติดตอทางเพศสัมพันธ
ทส่ี าํ คญั โดยเฉพาะหนองในในผหู ญงิ น้นั จะไมม อี าการเดนชัดเทา อาการในเพศชาย

อาการปกตริ ะหวา งต้งั ครรภ การดูแล การปอ งกันและขอปฏิบตั ิในการบรรเทาอาการ

อาการ การดแู ล /ลดอาการ/ปอ งกัน

คลืน่ ไส  กินอาหารคร้ังละนอย แตบ อ ยครงั้ หลกี เลย่ี งอาหาร
บวม มันๆ

 พักผอ นใหเ พยี งพอ ทาํ จติ ใจใหส ดชนื่
 ยกขาใหส งู ระหวางวนั
 เวลานอนใหต ะแคงซาย

36

 เลอื กรองเทา ไมร ดั รูปและไมสงู

ตะครวิ ทเ่ี ทา  เวลาเปน ใหน อนหงายเหยยี ดเทา ตรง และเหยยี ด

ปลายหัวแมเทา ขึน้

 หมนั่ นวดทน่ี อ ง และระวงั อยาใหเ ทา เย็นจดั

ออนเพลีย เหนอื่ ยงา ย หนามดื เปน  อยาเปลยี่ นอิริยาบถโดยกะทนั หนั

ลม เวยี นศรี ษะ เบ่ืออาหาร  พักผอ นใหเพยี งพอ

ปวดแสบบริเวณลน้ิ ป  ไมทานอาหารใหอม่ิ เกนิ ไป แตท านใหบอยครั้งขน้ึ
ปวดหลัง  นอนในทาศรี ษะสูง
ทองผูก  ดืม่ นมและนา้ํ มากๆ ไมค วรดืม่ น้าํ อัดลม
 ทํางาน ออกกาํ ลังกายเบาๆ
ตกขาว  น่ังหลังตรง และยืนตวั ตรง
 นอนตะแคงโดยกอดหมอนขาง
 ด่มื นํา้ มากๆ อยา งนอ ยวนั ละ 10 แกว
 ออกกาํ ลงั กายเบาๆ
 ถา ยอจุ จาระใหเปนเวลา
 รับประทานผักผลไม และอาหารท่มี เี สน ใยเพิ่มขึ้น

 ในชวงตัง้ ทองอาจมอี าการตกขาวมากกวา ปกติมี
สขี าวปนเทาหรือเหลอื งออ น แตไมม ีกลิ่น และไมคัน
ซ่ึงเปนเรอื่ งปกติ ใหด แู ลความสะอาดโดยการลา งดว ย
น้ําสบูออน ๆ ท่ีอวัยวะเพศภายนอกก็เพียงพอ
ไมจ ําเปนตอ งใชน้ํายาฆาเชื้อโรค

การแทง

การแทง หมายถึง การสิ้นสุดของการต้ังครรภในระยะกอนที่เด็กจะเตบิ โตพอท่ีจะมีชวี ติ รอดได
โดยมีอายคุ รรภนอยกวา 28 สัปดาห และ/หรือ น้าํ หนักเดก็ นอยกวา 1,000 กรมั

37

ชนดิ ของการแทง

การแทงแบงออกไดเ ปน 2 ชนดิ คือ

1. แทงท่เี กดิ ขึ้นเอง คือ การแทงบุตรทเี่ กดิ ขึ้น โดยไมม กี ารใชย า เครอ่ื งมอื หรอื วธิ ีการใด ๆ ทัง้ ส้ิน
2. แทง ทเ่ี กดิ จากการกระทํา แบงออกไดเ ปน 2 ชนิด คอื

2.1 การทําแทง เพอ่ื การรกั ษา
2.2 การทําแทงที่ผิดกฎหมาย

สาเหตุของการแทงทเี่ กดิ ขนึ้ เอง
ความผิดปกตขิ องตัวออน ซ่ึงอาจเกดิ จากความผดิ ปกตขิ องตัวออนเอง ซึง่ พบบอยถึงรอ ยละ 60
ความผดิ ปกตใิ นตวั มารดา ซงึ่ อาจเกดิ จากความผดิ ปกติของมดลูกการอกั เสบ ติดเชื้อ เชน ซิฟล สิ

ซึง่ อาจจะทําใหแ ทง ได
นอกจากนยี้ งั มสี าเหตุตา ง ๆ อีกมากมาย บางสาเหตุก็ไมส ามารถรักษา หรอื ปองกนั ได บางสาเหตุ

ก็สามารถปอ งกันได เพราะฉะน้ัน ผูที่เคยแทงควรจะตองไปพบแพทยเพ่ือตรวจหาสาเหตุ และปองกัน
กอ นทจ่ี ะต้ังครรภในครงั้ ตอไป เพราะอาจจะเกิดการแทงซ้ําได และขณะตั้งครรภควรจะตองระมัดระวัง
เปนพเิ ศษ และอยใู นความดแู ลของแพทย

อาการของการแทงทเ่ี กดิ ขน้ึ เอง
โดยท่ัวไป หญิงมีครรภเมื่อจะแทงลูก จะเริ่มตนดวยอาการเลือดออกกะปริบกะปรอยทาง

ชองคลอด ซึ่งเปนเลือดท่ีออกจากโพรงมดลูก เรียกการแทงอยูในระยะคุกคาม อาจรวมกับอาการปวด
ทองนอยท่ีบริเวณตรงกลางเหนอื หัวเหนา จากน้ันมดลกู เรม่ิ บบี รดั ตวั เมื่อการแทงลุกลามมากข้ึน จนการ
ต้งั ครรภไ มอ าจดาํ เนินตอไปได เลอื ดกจ็ ะออกมากขึ้น อาการปวดทองจะรุนแรงข้ึน สุดทายมดลูกจะหด
ตัวบบี ไลต วั ออนหรอื ทารกและรกออกมา ซึ่งอาจหลดุ ออกมาจากโพรงมดลกู ไดท ั้งหมด เรียกวาแทงครบ
โดยมากการแทงออกมาครบเชนนีจ้ ะเกดิ ในชว งอายคุ รรภท อ่ี อ นเดอื นมาก ๆ คือไมเกนิ 8 สปั ดาหหลังจาก
วันแรกของการมีประจําเดือนครั้งสุดทาย ถาอายุครรภมากกวาน้ี สิ่งท่ีแทงออกมาอาจจะไมครบหมด
ทกุ อยาง สว นใหญ มเี พียงแตท ารกและกอนเลือด แตรกยังคงคางอยู เพราะย่ิงอายุครรภมาก รกจะเจริญ
มากขึน้ ทาํ ใหไ มหลุดออกจากโพรงมดลกู ไดง าย ๆ การแทงเชนนี้ถือวาเปนแทงไมครบ มีผลตอสุขภาพ
ของผูหญิงคือทําใหผูหญิงตกเลือดไดอยางมากจนเปนอันตรายตอชีวิต การบําบัดคือการขูดมดลูก
เพือ่ เอารกสวนทีเ่ หลอื ออกใหห มด

38

ขอปฏบิ ตั แิ ละการปองกนั การแทง ทเี่ กดิ ข้นึ เอง
1. เมอ่ื รูวา ตนเองประจาํ เดอื นขาด หรอื สงสยั วาจะตัง้ ครรภ ควรมาพบแพทยต งั้ แตเนน่ิ ๆ และมาพบ
ทกุ ครง้ั ตามนัด
2. บอกประวัตกิ ารเจ็บปว ยในอดีต และโรคทางกรรมพันธุ เชน ธาลสั ซีเมีย เบาหวาน
ความดนั โลหิตสงู ใหแ กแพทยท ราบ
3. ถา ต้ังครรภเม่ืออายุมาก (35 ปข ้นึ ไป) ควรรบี มาพบแพทย
4. ถา เคยมีการแทง มากอ น ตอ งแจงใหแ พทยท ราบ
5. ในระหวางตง้ั ครรภ ถา เกดิ อาการผดิ ปกติ เชน เลอื ดออก ตอ งรบี มาพบแพทยโ ดยดว น แมว า จะยงั
ไมถ งึ เวลานัด
6. รับประทานยาบํารงุ ทแ่ี พทยใ หอ ยา งสมํา่ เสมอ
7. หลกี เลยี่ งการมเี พศสัมพนั ธใ นขณะท่ีมี เลือด หรอื นํ้าใส ๆ ไหลออกมาทางชอ งคลอด
8. ควรต้งั ครรภในระยะหางกันอยา งนอย 2 ป
9. ควรหลีกเล่ียง ของมนึ เมา เคร่ืองดม่ื ผสมคาเฟอนี และสิ่งเสพติด

การแทง ทเ่ี กดิ จากการกระทาํ
ตามกฎหมายไทย การทาํ แทง เปนการกระทาํ ผิดกฎหมาย แตกฎหมายมขี อยกเวน ใหมีการทําแทง

ไดบางประการ ซึ่งจะตองเปนการกระทําของแพทยและมีขอบงชี้ขัดเจน เชน อันตรายตอสุขภาพของ
มารดา หรอื หญิงต้ังครรภเพราะถูกขมขืน เปนตน นอกเหนือจากกรณีเหลาน้ี การทําแทงถือเปนการผิด
กฎหมายท้งั สน้ิ

สาเหตุของการทําแทงสวนใหญของผูหญิงไทยมาจากการต้ังครรภไมพึงประสงค เคยมี
ผูศึกษาวิจัยสาเหตุและกลุมอายุของผูทําแทง พบวา วัยรุนมีการต้ังครรภไมพึงประสงคคอนขางสูง
โดยมีตนเหตุมาจากการไมใชวิธีคุมกําเนิดปองกันเม่ือมีเพศสัมพันธ แตก็เปนท่ีสังเกตพบวา ในกลุม
ผูใหญ หญิงท่ีแตงงานแลวก็พบมีการไปทําแทงในสัดสวนท่ีไมนอย ซ่ึงมีสาเหตุสวนใหญมาจาก
ความลมเหลวจากการใชว ิธีคมุ กาํ เนิด

ยังมีผูหญิงจํานวนมากที่ไมมีความรูความเขาใจเพียงพอเกี่ยวกับผลกระทบท่ีตามมาจากการ
ทําแทงที่ผดิ กฎหมาย ซึง่ นอกจากเปนอนั ตรายตอ ชีวติ อยา งมาก โดยเฉพาะอยางยงิ่ ในรายที่อายุครรภมาก
ยิง่ อันตรายมาก อาการแทรกซอ นทพี่ บไดบอยจากการทาํ แทงที่ผิดกฎหมาย ที่อาจมีทั้งอาการแทรกซอน
ในระยะส้ันและระยะยาวตอชีวิตของหญิงคนนัน้ เชน

39

 การตกเลอื ด อาจมีเลอื ดออกมากผดิ ปกติ ถาไมไ ดร ับเลือดทดแทน หรือชวยเหลือได
ทนั ทวงทีกอ็ าจถงึ แกชีวติ ได

 มดลูกทะลุ อาจจะตอ งตดั มดลูกทงิ้
 มดลูกแตก จะตอ งตดั มดลกู ท้งิ ทาํ ใหห มดโอกาสท่จี ะมีลูกไดอีก
 การอักเสบตดิ เชอ้ื อนั เกดิ จากกระบวนการทําแทง ท่ีใชเ คร่อื งมอื ที่ไมส ะอาดปราศจาก
ความระมดั ระวังในมาตรการการปองกันการแพรเชื้อโรค ทําใหเกิดการอักเสบติดเชื้อจากการ
ขดู มดลกู ซงึ่ สง ผลตามมาในปญ หาสขุ ภาพอ่นื ๆ ทาํ ใหส ิ้นเปลืองคา ใชจา ยในการรกั ษา เน่อื งจาก
เช้ือทก่ี อ ใหเ กิดการอกั เสบมักเปน แบคทีเรยี ทม่ี อี านภุ าพในการกระจายเชอ้ื ไดรุนแรงมาก จึงตอง
ใชก ารรักษาเปนเวลานาน หากไมห ายขาดก็จะทาํ ใหเกิดการติดเชื้ออกั เสบเรื้อรังในอวัยวะอุงเชิง
กราน และหากรักษาหายขาดจากการอักเสบแลว ผูหญิงคนนั้นก็อาจมีการปญหาดานการมีบุตร
ยากตอไปได

เรอ่ื งท่ี 7 ทักษะการจดั การกบั ปญ หา อารมณแ ละความตองการทางเพศของวัยรนุ

เพศสัมพันธเปนเรื่องของความรับผิดชอบตอตนเอง เคารพความรูสึกของคูของตน ไตรตรอง
วิเคราะหถึงผลดี ผลเสีย และเปนสิทธิสวนบุคคลท่ีจะตัดสินใจ แตตองไมสรางปญหาภาระแกผูอื่น
ภายหลัง และเม่ือมีความผิดพลาดเกิดข้ึนก็เปนเรื่องที่จะแกไขและหาทางออกท่ีเหมาะสมตอไป และ
กอนที่จะคิดถึงการมีเพศสัมพันธ ตองแสวงหาความรูเก่ียวกับเร่ืองเพศสัมพันธ และสุขภาพอนามัย
ทีเ่ กยี่ วของกับเพศสัมพันธ เพื่อจะไดปลอดภัย ไมเกิดการต้ังครรภที่ไมตองการ และไมเกิดการติดโรค
รวมท้งั ปญ หาอน่ื ๆ ทางดานจิตใจ ทจ่ี ะตามมา

ส่ิงที่ตามมาจากการตัดสินใจมีเพศสัมพันธ จึงมีทั้งดานบวกและดานลบ การวิเคราะหถึงผล
ที่จะตามมาลวงหนา จะชวยใหเราสามารถเตรียมการ และคิดวิธีการปองกันและ/หรือหลีกเล่ียงไมให
ตัวเองและคนท่ีเก่ียวของตองเผชิญกับปญหาท่ีอาจตามมา ดังน้ัน เม่ือคิดและคาดการณไดลวงหนาวา
ส่ิงท่ตี วั เองตอ งการและไมตองการใหเกิดขน้ึ คอื อะไร กส็ ามารถใชเปน เหตผุ ลประกอบการตัดสินใจวาจะ
ทาํ หรือไมทํา เพราะผลที่เกิดขึ้น เปน เรื่องทีเ่ ราจะตองเผชิญและรบั ผิดชอบดว ยตวั ของเราเอง

การเรียนรูทจ่ี ะประเมินสถานการณ หรอื การคาดเดาไดวา อะไรบา งที่จะนาํ ไปสกู ารมเี พศสมั พนั ธ
ของตนเอง เราพรอ มที่จะเผชญิ สถานการณนน้ั หรือไมอยางไร การคาดการณและตอบตัวเองไดชัดเจน

40

จะชวยใหเราควบคุม จัดการ และแกไขสถานการณไดดีกวาการไมไดเตรียมตัว ซึ่งอาจสงผลตอส่ิงท่ี
ตามมาทีไ่ มพงึ ประสงค เชน การตั้งครรภท ไี่ มพ รอ มและความเส่ียงตอ การตดิ เช้อื เอชไอวี เปน ตน

เชนเดียวกับการเรียนรูและฝกฝนทักษะการยืนยันความตองการและการตอรองเพื่อใหบรรลุ
ความตอ งการของท้ังสองฝายเปนเร่ืองสาํ คญั การเรยี นรูน ้ดี ําเนินไปตลอดชีวิต การเผชิญกับความรูสึกผิด
อารมณโกรธ หว่นั เกรงกับความรูส ึกของผอู ่ืนท่ีมตี อ ตนเองหรอื รูสึกวาตนเองดอยคา เปนประสบการณ
รว มของทกุ คน การเริม่ ตนและฝกฝนในชีวิตประจาํ วันจะชว ยใหเราทําไดดีข้ึนและจะนําไปสูการพัฒนา
ความสมั พนั ธข องท้งั ฝายใหแ นน แฟนย่ิงขึ้น

การเรียนรูความตองการของตัวเอง และสิ่งที่อาจมีอิทธิพลตอความคิด และการตัดสินใจของ
ตัวเองเปน เรือ่ งสําคัญของวัยรนุ เพราะในสถานการณหลายอยางที่วัยรุนเผชิญ การเขาใจความตองการ
ของตัวเองอยางชัดเจนจะชวยใหวัยรุนสามารถส่ือสาร ตอรอง หรือปฏิเสธเพื่อใหเปนไปตามความ
ตองการของตนเองได

นอกจากน้ัน การเรียนรูเทคนิคการชักชวน จะทําใหเห็นวา คนสวนใหญมีวิธีการหลายอยาง
ในการโนม นา วใจ หรอื ชกั จูงคนอ่ืนใหค ลอ ยตาม ท้ังนี้ อาจทาํ ไปโดยไมสนใจความตองการของอีกฝาย
และไมเ คารพในการตัดสินใจที่แตกตา งไปจากส่งิ ทีต่ ัวเองตอ งการ การเรียนรู ยอมรับ และเคารพความ
คดิ เหน็ ทีแ่ ตกตา งของบุคคลเปนพื้นฐานสาํ คัญในการสรางสมั พนั ธภาพและการอยูรวมกนั

เสน ทางความคิดเพอื่ ตดั สนิ ใจ

1. เรอ่ื งทตี่ อ งตดั สนิ ใจคืออะไร

เรอื่ ง.................................................................................

2. ทางเลือกท่ีมีอยูม อี ะไรบา ง

ทางเลอื กที่ 1 ทางเลอื กที่ 2 ทางเลือกท่ี 3 ทางเลือกอนื่ ๆ

คดิ ตอ...มที างเลอื กอนื่ อกี ไหม

41

3. คดิ ถงึ ผลทีต่ ามมาของแตละทางเลอื ก วา จะเกดิ อะไรขน้ึ ถาเราเลอื ก

ผลบวก ผลลบ  มคี วามเส่ียงอะไรบา ง?
 ความเส่ยี งนั้นมีโอกาสที่จะเกิดข้นึ มากแคไ หน?
 ถาเกดิ ขึน้ แลว เราจัดการ/รับไดหรือไม?
 จะลดความเสยี่ งของทางเลือกทเี่ ราอยากเลอื ก

ไดอยางไร?

4. ความตองการที่แทจรงิ ของเราคอื

 เรารวู าคนอนื่ อยากใหเราทําอะไร
 แลว เรารูไ หมวา เราอยากทําอะไรท่ีเปนความตองการที่แทจ ริงของตัวเราเอง

5. ตัดสินใจ

ทางเลือก 1. .....................................................................................................
2. .....................................................................................................

ฉันเปนแบบไหน

บุคลกิ 3 แบบ ในเรื่องการกลาแสดงความคดิ เหน็ ความตอ งการและการตอบสนองความตอ งการของ
ตัวเอง

1. “ฉันจะเอาแบบน้ี ฉันไมสนใจวาเธออยากเลอื กแบบไหน” (Aggressive)
คนบุคลิกนี้ไมคอยสนใจความตองการของผูอื่น กลาแสดงออก กลาทําเพ่ือใหไดตามที่

ตอ งการ

42

 ไมช อบใหข ดั ใจ
คนทีไ่ มคอยสนใจความตองการของผูอ่ืนเปนคนที่รูวาตัวเองตองการอะไรและเดินหนา
เพ่อื ใหไดม า การไดตามทีต่ อ งการเปนเร่อื งสําคัญจงึ ทาํ ใหเปนคนท่ีไมให ความสนใจ
กบั ผลทเี่ กิดกับผอู ่ืนมากนัก มักทาํ ใหเ พอ่ื นอดึ อดั ใจ

2.“ฉันรเู ธออยากไดอะไร และฉนั เลอื กไดว าฉนั จะทําอะไร” (Assertive)
คนบคุ ลกิ นี้ จะยอมรบั ในสิทธแิ ละความตอ งการของผูอ ื่น รูจกั ปกปอ งสทิ ธแิ ละตอบสนอง
ความตองการของตวั เอง

 กลา ถามและกลาบอก
คนทย่ี อมรับในสทิ ธแิ ละความตองการของผอู น่ื ขณะเดียวกันกร็ ูจกั ปกปองสิทธแิ ละ

ตอบสนองความตองการของตวั เอง เปน ผูท่ีมคี วามสขุ และสรา งสัมพันธภาพท่ียง่ั ยืนได

3. “สาํ หรบั ฉนั อะไรกไ็ ด” (Passive)
คนบุคลกิ นี้ มกั คลอยตามผูอนื่ ไมค อ ยกลาแสดงความตองการและความรูสกึ ของตวั เอง
โดยเฉพาะเรื่องท่ีตองขดั ใจผอู น่ื ปฏิเสธไมเปน
 ไมค อ ยกลาบอก
คนทีม่ ักคลอ ยตามผอู ่ืนเปน คนที่ไปกบั เพือ่ นไดดี ไมมคี วามขดั แยง ไมค อยแสดง
ความตองการและความรสู กึ ออกมาโดยเฉพาะเรอื่ งทีต่ องขดั ใจผูอ นื่ เมอ่ื อยูใ นสถานการณ
อยากปฏิเสธจึงยากทีจ่ ะบอกยนื ยันความตองการของตวั เอง

การบอกยนื ยนั ความตองการ

ทบทวนเร่ือง + บอกความรสู ึก + ระบคุ วามตองการ

ตัวอยาง: สถานการณค ยุ กนั จนดึก แฟนขอนอนคางท่ีหอ ง

 ทบทวน “เรอ่ื ง”
คอื คําชกั ชวนหรอื คาํ ขอรอ ง ทางเลอื กทเ่ี พอ่ื นหยบิ ยนื่ ให : (แฟนขออยคู า ง)


Click to View FlipBook Version