93
- ใสแ วน กนั แดด หากมองแสงสวางไมไ ด
- อยา ใส contact lens ในระยะท่ตี าแดง ตาอักเสบ
- เปลยี่ นปลอกหมอนทุกวัน
เรื่องท่ี 8 ไขหวัดนก
สาเหตุ โรคไขหวดั นก (Avian influenza หรือ Bird flu) เกิดจากเช้ือไวรัสเอเวียนอินฟลู
เอนซา ชนดิ เอ (Avian influenza Type A) ทําใหเ กิดโรคขึน้ ไดทง้ั ในคนในสัตวเล้ียงลูกดวยนม และสัตว
ปก
อาการ ผูปวยจะมีอาการคลายกับไขหวัดใหญ มีระยะฟกตัวเพียง 1-3 วัน จะมีอาการ
ไขสูง หนาวสั่น ปวดศีรษะ ปวดเมอื่ ยกลามเน้ือ ออ นเพลีย เจ็บคอ ไอ ตาแดง เหนื่อยหอบ หายใจลําบาก
รายทรี่ นุ แรงเนือ่ งจากมีอาการปอดอักเสบรว มดวย โดยเฉพาะในเดก็ และผูสงู อายอุ าจทําใหเ สยี ชีวติ ได
การตดิ ตอ เชอ้ื ไวรัสนี้จะถูกขับถา ยออกมากับมูลของนกท่มี ีเชื้อน้ีอยแู ละตดิ ตดิ ตอสูสัตว
ปก ท่ไี วตอ การรบั เชื้อ ซงึ่ จะเกิดกบั ไก เปด หาน และนก คนจะตดิ ตอ มาจากสตั วอกี ตอ หน่ึงโดยการสัมผสั
มูลสัตว น้ํามูก น้ําตา น้ําลาย ของสัตวที่ปวยหรือตาย ปจจุบันยังไมพบวามีการติดตอจากคนสูคน
ผทู ่ีทาํ งานในฟารมสตั วป ก โดยเฉพาะในพน้ื ทท่ี ่ีมกี ารระบาดของโรคไขห วัดนก มโี อกาสติดโรคไขหวัด
นกสูง
การปอ งกัน โดยการปฏิบตั ิดงั น้ี
1. หลกี เลย่ี งการสัมผัสกบั สตั วปกที่ปว ยเปน โรคอยู
2. ลา งมอื ใหสะอาดดว ยน้าํ และสบูทุกครง้ั หลงั หยบิ จบั เน้อื สัตวปก หรือไขดบิ
และอาบน้าํ หลงั จับตอ งหรือสัมผสั สัตว โดยเฉพาะสัตวป กที่ปวยหรือตาย
3. ดูแลรกั ษารา งกายใหแ ขง็ แรงเพื่อเพิ่มภูมิตา นทานโรค
4. ถามีไข ปวดศีรษะ หนาวสั่น เจ็บคอ ไอ โดยเฉพาะผทู ค่ี ลุกคลีกับสัตวปกท้ังท่ีมีชีวิต
และไมม ชี ีวติ ควรรบี ไปพบแพทย
5. รบั ประทานอาหารประเภทไกแ ละไขท ่ีปรงุ สุกเทานน้ั งดรับประทานอาหารทีป่ รงุ
สุก ๆ ดบิ ๆ โดยเฉพาะในชว งท่มี ีการระบาดของโรค
6. ลา งเปลือกไขดวยน้ําใหส ะอาดกอ นปรุงอาหาร
94
บทที่ 5
ยาสามัญประจําบาน
สาระสาํ คญั
ยาสามญั ประจําบานเปน ยาท่ปี ระชาชนทกุ คนควรจะมีไวใ ชในครอบครวั เพื่อใชสําหรับบรรเทา
อาการเจ็บปวยเบื้องตนของสมาชิกในครอบครัว เวลาท่ีเกิดอาการเจ็บปวย หลังจากน้ันจึงนําสง
สถานพยาบาลตอ ไป
ผลการเรียนรูท่ีคาดหวงั
1. อธิบายสรรพคณุ และวธิ ีการใชย าสามญั ประจาํ บา นไดถูกตอ ง
2. อธิบายถึงอันตรายจากการใชย าสามัญประจาํ บาน
3. อธบิ ายถงึ ความเช่ือทีผ่ ดิ ๆ เกี่ยวกับการใชย า
ขอบขายเนือ้ หา
เร่อื งที่ 1 หลกั การและวธิ กี ารใชย าสามญั ประจาํ บา น
เรือ่ งท่ี 2 อันตรายจากการใชย า และความเชื่อทผ่ี ดิ เก่ยี วกบั ยา
95
ยาสามัญประจําบานเปนท่ีประชาชนท่ัวไปสามารถหาซ้ือและจําหนายไดโดยไมตองมี
ใบอนุญาตจากแพทย ซงึ่ องคการเภสัชกรรม กระทรวงสาธารณสขุ ไดผ ลิตยาตาง ๆ ทีม่ ีคุณภาพดี ราคาถูก
และไดม าตรฐานสาํ หรบั จําหนายใหแ กป ระชาชนทว่ั ไป
ยาสามัญประจําบานเปนยาแผนปจจุบันหรือแผนโบราณท่ีใชรักษาอาการเจ็บปวยเล็ก ๆ
นอ ย ๆ เชน ไอ ปวดศีรษะ ปวดทอ ง ของมคี มบาด แผลพุพอง เปนตน หากใชแลวอาการไมดีข้ึนควรไป
ปรึกษาแพทยเพื่อรบั การรกั ษาตอ ไป
ตัวอยา งยาสามญั ประจําบา นควรมไี วไดแก
1. ยาแกป วดแกไข
2. ยาแกแพ
3. ยาถาย ยาระบาย
4. ยาสาํ หรับกระเพาะอาหารและลาํ ไส
- ยาลดกรด
- ยาธาตุนาํ้ แดง
- ผงน้ําตาลเกลือแร
- ทงิ เจอรม หาหิงคุ
5. ยาสาํ หรบั สูดดมและแกลมวิงเวียน
6. ยาแกไ อ แกเ จ็บคอ
7. ยาสําหรบั โรคผิวหนัง
8. ยารักษาแผล
- ยาใสแ ผลสด
- แอลกอฮอลเ ช็ดแผล
เร่อื งที่ 1 หลกั การและวธิ กี ารใชยาสามญั ประจาํ บาน
หลักและวิธกี ารใชยา
ยารักษาโรคน้ันมีท้ังคุณและโทษ ดังน้ันเพ่ือใหเกิดความปลอดภัย เราควรคํานึงหลักการ
ใชย าดงั นี้
1. ใชย าตามคําส่ังแพทย เทา น้ัน เพือ่ จะไดใ ชยาถูกตอ งตรงกับโรค ไมควรใชย าตาม คํา
โฆษณา เพราะการโฆษณานั้นอาจแจง สรรพคุณยาเกนิ ความจรงิ
96
2. ใชยาใหถูกวธิ ี เนอ่ื งจากการจะนํายาเขาสูรางกายมีหลายวิธี เชน การกิน การฉีด การทา
การหยอด การเหน็บ เปนตน ซ่ึงการจะใชวิธีใดก็ข้ึนอยูกับคุณสมบัติของตัวยานั้นๆ ดังน้ันกอนใชยา
จงึ จาํ เปนตอ งอา นฉลาก ศึกษาวิธีการใชใหละเอียดกอนใชทุกคร้งั
3. ใชยาใหถ กู ขนาด คือการใชยารักษาโรคจะตองไมมากหรอื นอ ยเกินไป ตองใชใ หถ ูกขนาด
ตามทีแ่ พทยสัง่ จงึ จะใหผลดีในการรักษา เชน ใหกนิ ครัง้ ละ 1 เม็ด วันละ 3 คร้ัง ก็ไมควรกิน 2 เม็ด หรือ
เพมิ่ เปน วันละ 4 - 5 คร้ัง เปน ตน และการใชยาในแตล ะคนก็แตกตางกันโดยเฉพาะเด็กจะมีขนาดการใช
ทแี่ ตกตา งจากผใู หญ
4. ใชยาใหถ ูกเวลา คือ ชวงเวลาในการรับประทานยาหรือการนาํ ยาเขา สูรางกายดว ยวิธี
ตา ง ๆ เชน หยอด เหน็บ ทา ฉดี เปน ตน เพอื่ ใหป ริมาณของยาในกระแสเลือดมีมากพอในการบําบัดรักษา
โดยไมเ กดิ พิษและไมน อยเกนิ ไปจนสามารถรักษาโรคได ซึ่งการใชย าใหถกู เวลาควรปฏิบัติดังนี้
- การรับประทานยากอนอาหาร ยาท่ีกําหนดใหรับประทานกอนอาหารตองกินกอน
อาหารอยางนอย ½ - 1 ชั่วโมง ซ่ึงมีจุดมุงหมายเพ่ือใหยาถูกดูดซึมไดดี ถาลืมกินยาในชวงใดก็ใหกิน
หลงั อาหารมื้อน้ันผานไปแลว อยา งนอย 2 ช่วั โมง เพราะจะทาํ ใหยาถูกดดู ซึมไดด ี
- การรับประทานยาหลังอาหาร ยาที่กําหนดใหรับประทาน “หลังอาหาร” โดยทั่วไป
จะใหรบั ประทานหลังอาหารทนั ที หรือหลังจากกินอาหารแลว อยา งนอย 15 นาที เพื่อใหย าถูกดดู ซึมเขาสู
กระแสเลือดรวมกบั อาหารในลาํ ไสเลก็
- การรับประทานยากอนนอน ยาที่กําหนดใหรับประทาน “ กอนนอน” ใหกินยาน้ัน
หลังจากกินอาหารม้อื เย็นเสร็จแลว ไมต าํ่ กวา 4 ชั่วโมง กอนเขานอน
5. ใชยาใหถกู มาตรฐาน คือใชยาทีม่ ตี ัวยาครบทง้ั ชนิดและปริมาณไมใชย าเสื่อมคณุ ภาพหรือ
หมดอายุ ซ่ึงสามารถดไู ดจ ากวนั ,เดอื น,ป ท่รี ะบไุ ววา ผลติ เมื่อใด หมดอายเุ มอ่ื ใด เปน ตน
6. ใชยาใหถูกกับคน คือ ตองดูใหละเอียดกอนใชวา ยาชนิดใดใชกับใคร เพศใด และอายุ
เทา ใด เพราะอวัยวะตา งๆ ในรางกายของคนแตละเพศแตละวัยมีความแตกตางกัน เชน เด็กจะมีอวัยวะ
ตางๆ ในรางกายทีย่ งั เจริญเติบโตไมเ ตม็ ทีเ่ มอื่ ไดรบั ยาเด็กจะตอบสนองตอ ยาเร็วกวาผูใหญมาก และสตรี
มคี รรภก็ตอ งคาํ นึงถงึ ทารกในครรภด วยเพราะยาหลายชนิดสามารถผานจากแมไปสูเด็กไดทางรกอาจมี
ผลทําใหเ ดก็ ทีค่ ลอดออกมาพิการไดก ารใชย าในเดก็ และสตรมี ีครรภจ ึงตองระมดั ระวงั เปน พิเศษ
7. ใชยาใหถูกโรค คือ ใชยาใหตรงกับโรคที่เปน ซึ่งจะเลือกใชยาตัวใดในการรักษาน้ัน
ควรจะใหแ พทย หรือเภสชั กรผูร ูเ ปนคนจดั ใหเราไมควรซื้อยา หรือใชยาตามคําบอกเลาของคนอื่น หรือ
หลงเช่ือคําโฆษณา เพราะหากใชยาไมถูกกับโรคอาจทําใหไดรับอันตรายจากยาน้ันได หรือไมไดผล
ในการรักษาและยังอาจเกิดโรคอนื่ แทรกซอ นได
97
8. การใชยาท่ีใชภายนอก ยาท่ีใชภายนอก ไดแก ขี้ผ้ึง ครีม ยาผง ยาเหน็บ ยาหยอด
โดยมีวธิ ีการดงั น้ี
- ยาใชทาใหท าเพยี งบางๆ เฉพาะบริเวณทเ่ี ปน โรค หรอื บรเิ วณท่ีมอี าการ
- ยาใชถนู วด ใหท าและถูบริเวณที่มอี าการเบา ๆ
- ยาใชโรย กอนที่จะโรยยาควรทําความสะอาดแผลและเช็ดบริเวณท่ีจะทําใหแหง
เสียกอ น ไมค วรโรยยาทีแ่ ผลสด หรอื แผลท่มี ีน้ําเหลืองเพราะผงยาจะเกาะกันแข็งปดแผล อาจเปนแหลง
สะสมเชอ้ื โรคภายในแผลได
- ยาใชห ยด จะมที ้ังยาหยอดตา หยอดหู หยอดหรือพน จมูก โดยยาหยอดตาใหใชหลอด
หยอดยาท่ใี หม าโดยเฉพาะเวลาหยอดจะตองไมใหหลอดสัมผัสกับตา ใหหยอดบริเวณกลางหรือหางตา
ตามจาํ นวนทีก่ ําหนดไวใ นฉลาก ยาหยอดยาเม่ือเปดใชแลว ไมค วรเก็บไวใ ชน านเกนิ 1 เดือน และไมควร
ใชรว มกันหลายคน
9. การใชยาทีใ่ ชภ ายนอกและยาที่ใชภายใน คือยาทใี่ ชรับประทาน ไดแ ก ยาเม็ด ยาผง ยานํ้า
โดยมีวธิ กี ารใชดงั นี้
- ยาเมด็ ทีใ่ หเคยี้ วกอ นรับประทาน ไดแ ก ยาลดกรดชนิดเม็ดยาที่หามเคี้ยว ใหกลืนลง
ไปเลย ไดแก ยาชนิดที่เคลอื บนาํ้ ตาลและชนิดที่เคลือบ ฟลมบางๆ จับดูจะรสู กึ ลื่น
- ยาแคปซูล เปน ยาที่หา มเคีย้ วใหก ลืนลงไปเลย ทงั้ ชนดิ ออน และชนดิ แขง็ ซงึ่ ชนิดแข็ง
จะประกอบดวยปลอก 2 ขา งสวมกนั
- ยาผง มอี ยหู ลายชนดิ และใชแตกตางกัน เชน ตวงใสชอนรับประทานแลวด่ืมน้ําตาม
หรอื ชนิดตวงมาละลายนํา้ กอ น และยาผงที่ตองละลายน้ําในขวดใหไดปริมาตรที่กําหนดไวกอนที่จะใช
รับประทาน นาํ้ ที่นาํ มาใชตอ งเปนนํ้าดมื่ ทีต่ ม สุกทง้ิ ใหเยน็ แลว และควรใชยาใหหมดภายใน 7 วันหลังจาก
ผสมน้ําแลว
10. ใชยาตามคําแนะนําในฉลาก ปกติยาทุกชนิดจะมีฉลากยาเพื่อบอกถึงชื่อยา วิธีการใช
และรายละเอียดอื่น ๆ ซึ่งเราจําเปนตองอานใหเขาใจโดยละเอียดเสียกอน วาเปนยาที่เราตองการใช
หรือไม และปฏบิ ัตใิ หถกู ตองตามทฉ่ี ลากยาแนะนําเอาไว
ลักษณะยา
เน่ืองจากยามีหลายประเภท มที ั้งยากิน ยาทา ยาอมในแตล ะประเภทมีอีกหลายชนิดซึ่งมี
วิธีการและขอ ควรระวังแตกตา งกัน จงึ จําเปน ตอ งเรียนรลู ักษณะและประเภทของยา
98
การจําแนกประเภทของยา
ตามพระราชบัญญตั ยิ า ฉบบั ท่ี 3 พ.ศ. 2522 ไดใ หความหมายวา ยา หมายถึง สารที่ใชใน
การวิเคราะห บําบดั รกั ษา ปองกนั โรคหรือความเจบ็ ปว ยของมนุษยและสัตว รวมทั้งใชในการบํารุงและ
เสรมิ สรา งสุขภาพรางกายและจิตใจดวย สามารถจําแนกไดเปน 6 ประเภท ดงั น้ี
1. ยาแผนปจจบุ ัน หมายถึง ยาทใ่ี ชร ักษาโรคแผนปจ จุบนั ทั้งในคนและสัตว เชน ยาลด
ไข ยาปฏิชีวนะ ยาแกป วด ยาแกแพ เปน ตน
2. ยาแผนโบราณ หมายถึง ยาท่ีใชรักษาโรคแผนโบราณทั้งในคนและสัตวยาชนิดน้ี
จะตองข้ึนทะเบียนเปนตํารับยาแผนโบราณอยางถูกตอง เชน ยามหานิลแทงทอง ยาธาตุบรรจบ ยาเทพ
มงคล ยาเขยี วหอม เปนตน
3. ยาอันตราย หมายถึง ยาที่ตองควบคุมการใชเปนพิเศษ เพราะหากใชยาประเภทนี้
ไมถ กู ตองอาจมอี นั ตรายถงึ แกชีวติ ได เชน ยาปฏชิ ีวนะชนิดตา งๆ ยาจําพวกแกค ลืน่ เหียนอาเจียน เปนตน
4. ยาสามญั ประจาํ บาน หมายถึง ยาทั้งท่เี ปนแผนปจ จบุ ันและแผนโบราณ ซงึ่ กาํ หนดไว
ในพระราชบัญญัติยาวาเปนยาสามัญประจําบาน เชน ยาธาตุน้ําแดง ยาขับลม ยาเม็ดซัลฟากัวนิดีน
ยาระบายแมกนเี ซยี ดเี กลอื ยาเมด็ พาราเซตามอล เปนตน
5. ยาสมนุ ไพร หมายถงึ ยาท่ีไดจากพืช สตั ว หรือแร ซึ่งยังไมไดนํามาผสมหรือเปล่ียน
สภาพ เชน วา นหางจระเข กระเทยี ม มะขาม มะเกลือ นอแรด เข้ียวเสือ ดีงูเหลือม ดีเกลือ สารสม จุนสี
เปนตน
6. ยาควบคมุ พเิ ศษ ไดแ ก ยาแผนปจจุบนั หรือยาแผนโบราณทร่ี ัฐมนตรีประกาศเปนยา
ควบคมุ พิเศษ เชน ยาระงับประสาทตา ง ๆ
รูปแบบของยา
ยาที่ผลิตในปจจุบันมีหลายรูปแบบ เพ่ือสะดวกแกการใชยาและใหมีประสิทธิภาพสูงสุด
ไดแก
1. ยาเม็ด มีทั้งยาเม็ดธรรมดา เชน พาราเซตามอล เม็ดเคลือบฟลม เชน ยาแกไอ ยาเม็ด
เคลอื บนาํ้ ตาล เชน ไวตามิน เม็ดเคลอื บพิเศษ เพ่อื ใหยาแตกตวั ที่ลาํ ไส เชน ยาวณั โรค ยาแกป วด
2. ยาแคบซลู แคปซูลชนดิ แข็ง ไดแ ก ยาปฏิชีวนะตา ง ๆ แคปซูลชนิดออนไดแก นํ้ามันตับ
ปลา วติ ามินอี ปลอกหมุ ของยานี้จะละลายในกระเพาะอาหาร เพราะมรี สขมหรอื มีกลิ่นแรง
3. ยานํ้า มหี ลายชนดิ เชน ยาแกไอน้ําเชอื่ ม ยาแกไขห วัดเด็ก
4. ยาฉีด ทําเปน หลอดเลก็ ๆ และเปน ขวด รวมทงั้ นํา้ เกลือดวย
99
นอกจากน้ยี ังมยี าขผี้ ึ้งทาผิวหนงั บดผง ยาเหน็บ ยาหยอดตา ยาหยอดหู ยาหยอดจมูก ยาอม
รปู แบบของยาข้นึ อยูกับจดุ มุง หมายผใู ช
การเก็บรักษา
เมื่อเราทราบถงึ วธิ ีการใชย าท่ถี กู ตองแลว กค็ วรรูถงึ วิธีการเก็บรักษาที่ถกู ตอ งดวย เพอื่ ใหยามี
คุณภาพในการรักษา ไมเ สื่อมคณุ ภาพเร็ว โดยมวี ธิ กี ารเก็บรักษา ดังนี้
1. ตยู าควรต้ังอยใู นทที่ ี่แสงแดดสองเขา ไปไมถึง ควรต้ังใหพนจากมือเด็ก โดยอยูในระดับ
ท่ีเด็กไมสามารถหยิบถึง เพราะยาบางชนิดมีสีสวย เด็กอาจนึกวาเปนขนมแลวนํามารับประทาน
จะกอ ใหเ กดิ อันตรายได
2. ไมตัง้ ตยู าในท่ชี ้ืน ควรตง้ั อยูใ นที่ทีอ่ ากาศถายเทไดสะดวก ควรเก็บยาใหห างจากหองครัว
หองนา้ํ และตนไม
3. ควรจดั ตูยาใหเปนระเบยี บ โดยแยก ยาใชภายนอก ยาใชภายใน และเวชภัณฑ เพื่อปอ งกนั
อันตรายจากการหยิบยาผดิ อันตรายจากการหยบิ ยาผดิ
4. เก็บรักษาไมใหถ กู แสงสวาง เพราะยาบางชนิดหากถูกแสงแดด จะเสื่อมคุณภาพจึงตอง
เกบ็ ในขวดทึบแสงมักเปนขวดสีชา เชน ยาหยอดตา ยาวิตามนิ ยาปฏิชวี นะ และยา แอดดรีนาลินท่ีสําคัญ
ควรเก็บยาตามท่ีฉลากกําหนดไวอ ยางเครง ครัด แตถาฉลากไมไดบง ไวกเ็ ปน ท่เี ขาใจวา ใหเ ก็บในท่ีปอ งกนั
ความชน้ื ไดดี ไมเกบ็ ยาในทอ่ี ณุ หภูมสิ งู เกนิ ไป หรือไมน ํายาไปแชแ ข็ง การเก็บรักษายาท่ีถูกตอง ยอมได
ใชย าทมี่ ีประสทิ ธภิ าพ และยาก็ไมเ ส่ือมคณุ ภาพเร็วซง่ึ จะใหผ ลในการรกั ษาเต็มที่
การสงั เกตยาทเ่ี สือ่ มสภาพ
ยาเส่ือมสภาพ หมายถึง ยาที่หมดอายุ ไมมีผลทางการรักษาและอาจกอใหเกิดปญหา
ตอสขุ ภาพ กอนการใชย าและเวชภัณฑท กุ ชนดิ จะตองสังเกตลักษณะของยาวามีการเส่ือมสภาพหรือยัง
โดยมขี อสงั เกตดงั ตอ ไปน้ี
1. ยาเมด็ ธรรมดา เปนยาทีจ่ ะเกดิ การเปลยี่ นสภาพไดง า ยเม่ือถูกความช้ืนของอากาศ ดังนั้น
ทุกครง้ั ทีเ่ ปด ขวดใชยาแลว ควรปดใหแ นน ถาพบวายามีกล่ินผดิ ไปจากเดมิ เม็ดยามีผลึกเกาะอยู แสดงวา
ยาเส่ือมสภาพไมค วรนํามาใช
2. ยาเม็ดชนดิ เคลอื บนํา้ ตาล จะเปลีย่ นแปลงงายถาถูกความรอนหรือความช้ืน จะทําใหเม็ด
ยาเย้ิมสีละลาย ซีดและดางไมเสมอกัน หรือบางครั้งเกิดการแตกรอนได ถาพบสภาพดังกลาวก็ไมควร
นํามาใช
3. ยาแคปซลู ยาชนดิ แคปซูลท่ีเส่ือมสภาพสามารถสังเกตไดจากการท่ีแคปซูลจะพองหรือ
แยกออกจากกัน และยาภายในแคปซลู กจ็ ะมีสเี ปลยี่ นไปไมควรนาํ มาใช
100
4. ยาฉีด ยาฉีดท่ีเส่ือมสภาพจะสังเกตไดงายโดยดูจากยาท่ีบรรจุในขวดหรือหลอด ยาฉีด
ชนดิ เปนผง ถามลี ักษณะตอ ไปนแ้ี สดงวา เสือ่ มสภาพ
- สขี องยาเปลย่ี นไป
- ผงยาเกาะตดิ ผนงั หลอดแกว
- ผงยาเกาะตัวและตอ งใชเ วลาทาํ ละลายนานผดิ ปกติ
- เมอื่ ดดู ยาเขาหลอดฉีดยาทาํ ใหเ ขม็ อุดตนั
5. ยานา้ํ ใส ลกั ษณะของยานา้ํ ใสท่เี สือ่ มสภาพสงั เกตไดง า ยดังนี้
- สขี องยาเปลยี่ นไปจากเดิม
- ยาขุน ผดิ ปกติและอาจมีการตกตะกอนดว ย
- ยามกี ล่ินบูดเปรยี้ ว
6. ยานาํ้ แขวนตะกอน ลักษณะของยานํ้าแขวนตะกอน ที่เส่ือมสภาพจะสังเกตพบลักษณะ
ดงั นี้
- มีสี กลิน่ และรสเปลย่ี นไปจากเดิม
- เมื่อเขยา ขวดแลว ยาทั้งขวดไมเปน เนอ้ื เดียวกนั หรือยามีตะกอนแข็งเขยาไมแตก
7. ยาเหนบ็ ลกั ษณะของยาเหน็บทีเ่ สอื่ มสภาพและไมค วรใชม ีดังน้ี
- เมด็ ยาผดิ ลกั ษณะจากรปู เดิมจนเหนบ็ ไมไ ด
- ยาเหลวละลายจนไมส ามารถใชได
8. ยาขผี้ ึง้ เมื่อเส่ือมสภาพจะมลี ักษณะที่สังเกตไดง า ยดังน้ี
- มกี ารแยกตัวของเนอ้ื ยา
- เนือ้ ยาแข็งผดิ ปกติ
- สีของขี้ผ้ึงเปลยี่ นไปและอาจมจี ดุ ดา งดาํ เกิดขน้ึ ในเนอ้ื ยา
เรอ่ื งท่ี 2 อนั ตรายจากการใชย า และความเชอื่ ท่ีผิดเกย่ี วกบั ยา
ยาเปนสิง่ ที่มปี ระโยชนถาใชอยางถูกตองและเหมาะสมในขณะเดียวกัน ถาใชยาไมถูกตอง
ก็จะมีโทษมหันต ทาํ ใหไมหายจากการเจบ็ ปว ยและอาจมอี ันตรายถึงชีวิต
1. อันตรายเกดิ จากการใชย าเกินขนาด เกิดจากการรับประทานยาชนิดเดียวกันในปริมาณ
มากกวาทีแ่ พทยกาํ หนด ซงึ่ กอ ใหเกิดอันตรายตอ รางกายจนถึงขั้นเสยี ชวี ติ ได
101
2. อนั ตรายเกดิ จากการใชยาเสื่อมคณุ ภาพ เชน การรับประทานยาหมดอายุ นอกจากอาการ
เจบ็ ปว ยไมหาย แลว ยังอาจทาํ ใหอ าการทรดุ หนกั เปน อนั ตรายได
3. อนั ตรายจากการใชยาติดตอกันเปนเวลานาน ยาบางชนิดเม่ือใชติดตอกันเปนเวลานาน
อาจสะสมทําใหเปนพษิ ตอระบบตาง ๆ ของ รา งกาย นอกจากนั้นการใชย าติดตอ กนั นาน ๆ อาจทําใหเกดิ
การตดิ ยา เชน ยาแกปวดบางชนิด
4. อันตรายจากการใชยาจนเกิดการดื้อยา เกิดจากการรับประทานยาไมครบจํานวน
ตามแพทยส ั่ง หรอื ยงั ไมท นั จะหายจากโรค ผปู ว ยก็เลกิ ใชย าชนิดนั้น ท้งั ๆ ที่เชื้อโรคในรางกายถูกทําลาย
ไมหมด ทําใหเ ช้ือโรคนน้ั ปรบั ตัวตอ ตา นฤทธ์ิยา ทําใหยารกั ษาไมไดผล
5. อันตรายท่ีเกิดจากการใชยา โดยไมทราบถึงผลขางเคียงของยาบางชนิด มีผลขางเคียง
ตอรางกาย เชน ยาแกห วดั ชว ยลดนํ้ามูกและลดอาการแพต างๆ แตมีผลขางเคียงทําใหผูใช รูสึกงวงนอน
ซมึ เซา ถาผใู ชไมทราบ และไปทํางานเก่ียวกับเครื่องจักร หรือ ขับขี่ยานพาหนะ ก็จะกอใหเกิดอุบัติเหตุ
ไดงาย
ขอแนะนาํ การใชย า
1. ควรใชยาท่รี ูจักคณุ และโทษเปน อยางดีแลว
2. เลอื กใชย าเปน ตัว ๆตามอาการและสาเหตุของโรค
3. ควรกินยาใหไดขนาด (เทียบตามอายุ) และเม่ืออาการดีข้ึนแลวก็ตองกินใหครบตาม
กําหนดระยะเวลาของยาแตละชนดิ โดยเฉพาะกลมุ ยาปฏชิ วี นะ
4. เมอื่ กนิ ยาหรอื ใชยาแลวอาการไมดีข้นึ หรอื มีอาการรนุ แรงขึ้น ควรไปหาหมอโดยเรว็
5. เม่ือกินยาหรือใชยาแลวมีอาการแพ (เชน มีลมพิษผ่ืนแดง ผ่ืนคัน หนังตาบวม หายใจ
หอบแนน) ควรหยุดยาและปรึกษาหมอ ผูที่มีประวัติแพยา กอนใชยาคร้ังตอไปควรปรึกษาแพทยหรือ
เภสัชกร
6. ควรซือ้ ยาจากรา นขายยาทร่ี ูจกั กันและไวใจได
7. เวลาซอื้ ยาควรบอกชอื่ ยาทต่ี อ งการเปน ตวั ๆ อยา ใหคนขายหยบิ ยาชดุ ยาซอง
หรือยาที่ไมร ูจ ักสรรพคุณให เพราะอาจเปน อันตรายไดโ ดยเฉพาะยากลมุ สเตยี รอยด (เพร็ดนิโซโลน
เดกซาเมโซน) และยาปฏชิ วี นะ
8. เด็กเล็ก หญิงต้ังครรภและหญิงที่เล้ียงลูกดวยนมตัวเอง ตองเลือกใชยาท่ีไมมี
อนั ตราย ตอเด็กหรอื ทารกในทอง
102
ยาทีห่ ญิงตั้งครรภไ มควรใช
1. เหลา
2. บุหร่ี
3. ยาเสพตดิ (เชน ฝน เฮโรอนี ฯลฯ)
4. ยานอนหลับ
5. แอสไพริน
6. ฮอรโ มนเพศ (เชน เอสโตรเจน โปรเจสเตอรโรน,แอนโดรเจน ฯลฯ)
7. สเตยี รอยด (เชน เพร็ดนโิ ซโลน เดกซาเมธาโซน ฯลฯ)
8. ซัลฟา
9. เตตราไซคลนี
10. ไดแลนติน (ใชรกั ษาโรคลมชัก)
11. ยาแกค ลื่นไสอ าเจยี น (ถา จําเปนใหใ ชว ติ ามินบี 6 )
12. ยาขบั เลอื ดพวกเออรก อต
ยาที่หญงิ เลี้ยงลกู ดว ยนมตวั เองไมควรใช
1. ยารกั ษาโรคคอพอกเปน พษิ
2. ยาขบั เลอื ดพวกเออรก อต
3. แอสไพรนิ
4. ยานอนหลับและยากลอมประสาท
5. ซลั ฟา
6. เตตราไซคลีน
7. ยาระบาย
8. ยาคุมกาํ เนดิ
9. รีเซอรพนี (ใชร กั ษาความดันเลอื ดสงู )
ยาทท่ี ารกไมควรใช
1. เตตราไซคลนี
2. คลอแรมเฟนคิ อล
3. ซัลฟา.
4. แอสไพริน
5. ยาแกหวัด แกแพ (ในชว งอายุ 2 สปั ดาหแรก)
103
6. ยาแกท อ งเสยี –โลโมติล (Lomotill) ในทารกตาํ่ กวา 6 เดอื น อิโมเดียม (Imodium) ในทารก
ต่าํ กวา 1 ป
วิธีการใชย าเพอื่ ดแู ลรกั ษาตนเอง
วิธกี ารใชยาเพือ่ ดแู ลรกั ษาตนเองมีดังน้ี
1. ควรมีความรูเร่ืองยาชนิดน้ัน ดีพอ และใชยารักษาตนเองในระยะสั้น หากอาการไมดีข้ึน
ควรไปพบแพทย
2. ไมค วรใชย าผสมหลายชนิด ควรเลอื กใชยาท่ีมสี ว นประกอบเปนตวั ยาเด่ียว ๆ เชนการใชยา
แกปวด ควรใชยาทมี่ ีแอสไพรนิ หรือพาราเซตามอลอยา งเดียว ไมควรใชย าทผ่ี สมอยกู ับยาชนดิ อ่ืน ๆ
3. หากเกดิ อาการผิดปกติและสงสัยวาแพยาใหหยดุ ยาทันทแี ละรบี ไปพบแพทย
4. อยา ซื้อยาท่ไี มมฉี ลากยาและวิธกี ารใชย ากํากับ
5. อยา หลงเชื่อและฟง คาํ แนะนําจากผูท่ไี มม คี วามรูเรอ่ื งยาดพี อเปนอันขาด
6. ควรเก็บยาไวใ นที่มดิ ชดิ ไกลจากมือเดก็ และไมมีแสงแดดสองถงึ
กจิ กรรมทา ยบท
1. ใหผ ูเรียนบอกชื่อยาสามญั ประจําบานและยาสมุนไพรมาอยา งละ 5 ชือ่ และนําเสนอ
หนา ช้นั เรยี น
2. ใหผ ูเรียนแบงกลมุ บอกถงึ อนั ตรายจากการใชย าที่เคยพบ วธิ ีแกไ ขเบื้องตนและ
อภปิ รายรวมกัน
104
บทที่ 6
สารเสพติดอนั ตราย
สาระสาํ คญั
มีความรแู ละความเขา ใจเก่ียวกับปญ หา ประเภท และลักษณะของสารเสพติดตลอดจนอันตราย
จากการติดสารเสพตดิ
ผลการเรยี นรูทีค่ าดหวัง
1. อธบิ ายและบอกประเภทของสารเสพตดิ ได
2. อธิบายและบอกถงึ อันตรายจากการติดสารเสพติด
ขอบขา ยเนอ้ื หา
เร่อื งท่ี 1 ความหมาย ประเภท และลักษณะของสารเสพติด
เร่ืองที่ 2 อันตรายจากสารเสพตดิ
105
ปจจบุ นั ปญหาการแพรร ะบาดของสารเสพตดิ มแี นวโนม เพ่ิมสูงขึ้น ในหมูวัยรุนและนักเรียนที่มี
อายุนอ ยลง โดยสารเสพตดิ ทีแ่ พรระบาดมรี ปู แบบท่ีหลากหลาย ยากแกการตรวจสอบมากข้ึน สงผลให
เด็กและเยาวชนมีความเสี่ยงตอภัยของสารเสพติดมากข้ึน จึงควรศึกษาและระมัดระวังเพ่ือปองกัน
อนั ตรายดังกลาว
เร่อื งที่ 1 ความหมาย ประเภท และลักษณะของสารเสพตดิ
องคก ารอนามัยโลกไดใ หค วามหมายไวว า สารใดกต็ ามท่ีเสพเขาสูรางกายโดยการ ฉีด สูบ หรือ
ดม จะทาํ ใหม ีผลตอ จติ ใจและรา งกาย 4 ประการ
1. เมือ่ เสพติดแลวจะมีความตอ งการท้งั รา งกายและจติ ใจ
2. ผทู ใี่ ชย าแลวตอ งเพ่มิ ปรมิ าณการเสพขน้ึ เร่ือย
3. เมือ่ หยดุ ใชยาจะเกิดอาการอดหรอื เลิกยาทเ่ี รยี กวา อาการเสย่ี น หรอื ลงแดง
4. ใชไ ปนาน ๆ เกิดผลรา ยตอ สขุ ภาพ
ประเภทและลกั ษณะของสารเสพติด
เราสามารถแบง สารเสพติดชนิดตาง ๆ ออกไดเปน 4 ประเภทตามฤทธิ์ที่มีตอรางกายผูเสพ
ดังนี้
1. ประเภทออกฤทธกิ์ ดประสาท ประเภทน้ีจะมีฤทธ์ิทําใหสมองมึนงง ประสาทชา งวงซึม
หมดความเปน ตัวของตัวเองไปชวั่ ขณะ สารเสพติดทจ่ี ดั อยูใ นประเภทนี้ คอื
1.1 ฝน ทาํ มาจากยางของผลฝน นาํ มาเค่ียวจนมสี ีดํา เรียกวา ฝน สุก มีรสขม กลิ่นเหม็น
เขยี ว ละลายนํ้าไดด ี สามารถเสพไดหลายวธิ ี
โทษของฝน จากแอลคาลอยด ออกฤทธ์กิ ดประสาท ทาํ ใหส มองมึนชา อารมณ และ
จติ ใจเฉือ่ ยชา รูสึกเย็นขนลุกสลับกับรอน ปวดท่ีรางกาย เบ่ืออาหาร ทองผูก รางกายทรุดโทรม ติดเชื้อ
โรคงา ย
อาการ แสดงของการขาดยา คอื หงุดหงดิ ตน่ื เตน ทรุ นทรุ าย หาว นํ้าตาไหล ปวดที่
รา งกาย อาเจยี น ถายอุจจาระเปน เลือด
1.2 เฮโรอนี ผลิตจากมอรฟ น โดยกรรมวธิ ที างเคมี จงึ มีชื่อทางเคมีวาไดเคทฟล มอรฟน
มี 2 ชนดิ คือ
106
- เฮโรอีนบริสุทธิ์ ลกั ษณะเปนผงสขี าว รสขม
- เฮโรอีนผสม ลักษณะเปนเกรด็ สนี ํา้ ตาล ชมพู เหลอื ง มวง
- สารที่ผสมมักเปน พวกสารหนู สตริกนิน ยานอนหลับ ยาควินนิ ฯลฯ
โทษของเฮโรอนี เปน เชน เดยี วกับฝน โดยแรงกวา ฝน ประมาณ 30 - 100 เทา
การเสพเขาสรู า งกาย โดยการฉีดและสดู หายใจไอระเหยเขา สรู างกาย
1.3 ยานอนหลับ จัดอยูในพวกบารบิตูเรท เปนอนุพันธของกรดบารบิตูเรทมีท้ังชนิด
ออกฤทธ์ิชา และออกฤทธ์ิเร็ว ไดแก เซโคบารบิทาล หรือเซโคนาล คนทั่วไปมักเรียกวา นาตาลีฟา
สีเหลือง เหลา แหง ไกแดง หรือปศาจแดง มีลกั ษณะเปนเมด็ สีขาว หรือแคปซลู สตี างๆ เชน สีฟา สีเหลือง
สแี ดง
โทษของยานอนหลับ เปนยาออกฤทธ์ิ กดประสาทสวนกลาง ถาใชมากจะมึนเมา
พูดไมชดั เดินโซเซ อารมณหงุดหงดิ เกิดความกลา บาบิ่นรุนแรงจนสามารถทํารา ยตนเองได ชอบทะเลาะ
วิวาท กา วราว เมอ่ื ขาดยาจะมอี าการชักกระตุก ตวั เกรง็ กระวนกระวาย คล่ืนไส ประสาทหลอน
2. ประเภทออกฤทธิ์กระตุนประสาท ประเภทน้จี ะทาํ ใหเกิดอาการตนื่ เตน ตลอดเวลา
ไมรูส ึกงวงนอน แตเ มอื่ หมดฤทธย์ิ าแลว จะหมดแรงเพราะรา งกายไมไดรับการพักผอน สารเสพติดที่จัด
อยูในประเภทน้ี ไดแ ก
2.1 กระทอม เปน ไมยืนตนขนาดกลาง มลี กั ษณะใบคลายใบกระดังงาไทย แตเสนใบมี
สแี ดงเร่ือ สารเสพตดิ ใบกระทอม ชอื่ มิตราจินิน
โทษของกระทอ ม ออกฤทธ์ิกระตนุ ประสาท ทาํ ใหอ ารมณราเริง แจมใส มีเรี่ยวแรง
และมีความอดทนเพ่ิมขึ้น ทํางานไดนาน ไมอยากอาหาร อยูกลางแดดไดนานๆ แตกลัวฝน ทองผูก
รางกายทรดุ โทรม และอาจเปนโรคจติ ได
2.2 แอมเฟตตามีน (ยามาหรือยาบา ) เปนยากระตุนประสาทมีลักษณะเม็ดสีขาว สีแดง
หรอื บรรจุในแคปซลู บางครั้งอาจเปน ผง เสพโดยรับประทานหรอื ผสมเครอ่ื งด่ืม
โทษของยามา จะไปกระตุนใหหัวใจเตนเร็ว ความดันโลหิตสูง หายใจถี่ พูดมาก
ริมฝป ากแหง มอื ส่ัน เสพนาน ๆ รา งกายจะหมดกําลัง กลามเน้ือออนลา ประสาทและสมองเส่ือม มึนงง
อาจเกิดภาพหลอน ทําใหตัดสินใจผิดพลาดผเู สพจะมคี วามผิดปกติของจิตใจ ความคิดเลื่อนลอย เพอฝน
คมุ สตไิ มได เมอ่ื ขาดยา จะมีอาการถอนยาอยางรนุ แรง
107
2.3 ยากลอมประสาท ไมใชยาเสพติดโดยตรง แตอาจทําใหเสพติดไดจากความเคยชิน
เม่อื ใชยาบอ ยและเพิ่มขนาดขึ้นเรอ่ื ย ๆ ยากลอ มประสาทมที ้งั ชนดิ ออน เชน ไดอาซแี พม ชนดิ ที่มฤี ทธ์ิรุนแรง
เชน คลอโปรมาซนี และไฮโอรด าซนี ชอ่ื ทางการคา วา ลาแทกตลิ เลมลารลิ เปนตน
โทษของยากลอมประสาท ยาประเภทน้ีสามารถกลอมประสาทใหหายกังวล
หายหงุดหงดิ หายซมึ เศรา แตถ า ใชม ากเกินความจําเปน อาจมอี ันตรายตอ ประสาทและสมองได
3. ประเภทออกฤทธิ์หลอนประสาท ประเภทนี้จะทําใหเกิดอาการประสาทหลอนเห็นภาพ
ลวงตา หูแวว อารมณแปรปรวน ควบคุมอารมณตัวเองไมได อาจทําอันตรายตอชีวิตตนเองและผูอื่น
ไดส ารเสพติดประเภทนี้ไดแ ก
3.1 สารระเหย จัดเปนพวกอินทรียเคมี มีกล่ินเฉพาะ ระเหยไดงาย เชน น้ํามันเบนซิน
ทินเนอร แลกเกอร นาํ้ มนั กา ด กาววทิ ยาศาสตร แอลเอสดี เมลลาลีน เห็ดข้ีควายเปน ตน
โทษอันตรายของสารระเหย ไดแก กดประสาทสวนกลางทําใหสมองพิการ
สติปญญาเสอื่ ม มึนเมา เวยี นศีรษะ เดินเซ ตาพรา งวงซึม เบ่ืออาหาร ทําใหไตอักเสบ ตับอักเสบ ตับโต
และพกิ าร สดู ดมมาก ๆ ทําใหห ัวใจเตนชาลง หมดสติ หยุดหายใจ และตายได
4. ประเภทออกฤทธิ์หลายอยา ง ประเภทนอี้ อกฤทธิต์ อ รา งกายหลายอยางท้งั กดประสาทและ
หลอนประสาท ซึ่งทําใหมีอาการหลงผิด เกิดความเส่ือมโทรมท้ังสุขภาพกายและทางจิตใชไปนาน ๆ
จะทาํ ลายประสาท เกิดประสาทหลอนและมีอาการทางจิต สารเสพติดประเภทน้ี ไดแ ก
กัญชา เปนพืชลมลกุ ขึน้ งา ยในเขตรอ น มลี กั ษณะเปนใบหยกั เรียวแหลม ภายในใบและ
ยอดดอกมยี างมากกวา สว นอืน่ ของตน ยางน้ีเองมสี ารท่ีทาํ ใหเ สพตดิ ชือ่ เตตระไฮโดรคานาบนิ อล
โทษของกัญชา ออกฤทธิ์หลายอยาง ทั้งกระตุนประสาท กดประสาทสวนใน
เกิดประสาทหลอน กลา มเนื้อส่ัน หัวใจเตน เรว็ หายใจไมสะดวก ความคดิ สับสน อารมณเ ปล่ยี นแปลงงา ย
เกิดภาพหลอน เมอ่ื เสพนานอาจเปนโรคจิตได
อาการขาดกัญชา จะมีอาการหงุดหงิด กระวนกระวาย ปวดศีรษะและปวดทองอยาง
รุนแรง และอาจหมดสติได
108
เร่ืองท่ี 2 อันตรายจากสารเสพตดิ
โทษของสารเสพติดท่เี ปน อันตรายตอ ตนเอง ครอบครวั และสังคม จาํ แนกไดดงั น้ี
1. โทษตอรา งกายและจิตใจ ทําใหการทํางานของระบบตาง ๆ ในรางกายเส่ือมลง สุขภาพ
ทรดุ โทรม ผายผอม ไมมีเร่ียวแรง ทําใหบุคลิกภาพแปรปรวน อารมณไมปกติกระวนกระวายคลุมคลั่ง
บางครง้ั เงยี บเหงา เศรา ซึม ปลอยตัวสกปรก เปน ทรี่ ังเกยี จแกผ พู บเหน็ และภมู ติ า นทานของรางกายลดลง
2. โทษทางเศรษฐกจิ สิน้ เปลืองเงินทองในการซื้อสารเสพตดิ เมือ่ สุขภาพทรุดโทรม
ไมส ามารถทาํ งานได ทําใหข าดรายได สูญเสยี เงินทองท้ังของตนเอง ครอบครวั และรัฐบาล
3. โทษทางสังคม บ่ันทอนความสุขในครอบครัว ทําใหมีปญหา เปนท่ีรังเกียจของบุคคล
ทวั่ ไป เปน หนทางไปสูอาชญากรรม ตั้งแตลักเล็กขโมยนอย ไปจนถึงปลน ทํารายและฆาชิงทรัพยเพ่ือ
ตองการเงินไปซื้อยาเสพติด ทําใหเปน ภาระของสังคม เนื่องจากผูตดิ ยามักไรค วามสามารถในการทาํ งาน
4. โทษทางการปกครอง เปนภาระของรฐั บาลในการบําบัดรกั ษาและฟน ฟู เปนภาระในการ
ปราบปราม ตอ งเสยี งบประมาณในการปราบปราม เนือ่ งจากปญหาอาชญากรรมท่ผี เู สพกอเพมิ่ ขน้ึ
หลกั ท่ัวไปในการหลกี เลี่ยงและปอ งกนั การตดิ สารเสพตดิ
1. เชอ่ื ฟง คําสอนของพอ แม ญาติผูใ หญ ครู และผูทนี่ า นบั ถอื และหวังดี
2. เม่อื มปี ญ หาควรปรกึ ษาผูป กครอง ครู หรอื ผูใหญท ่ีนบั ถอื และหวงั ดไี มค วรเก็บปญ หา
น้นั ไว หรือหาทางลืมปญ หานนั้ โดยใชส ารเสพติดชว ย หรอื ใชเ พื่อการประชด
3. หลีกเลย่ี งใหห างไกลจากผูทต่ี ดิ สารเสพติด ผูจําหนา ยหรอื ผลติ ยาเสพติด
4. ถาพบคนกําลังเสพสารเสพติด หรือพบคนจําหนาย หรือแหลงผลิต ควรแจงใหผูใหญ
หรอื เจาหนา ท่ีทราบโดยดว น
5. ตองไมใหความรว มมอื เขาไปเกี่ยวขอ งกบั เพอ่ื นทีต่ ดิ สารเสพติด เชน ไมใ หย มื เงิน
ไมใหยืมสถานที่ เปนตน แตควรแนะนาํ ใหเพื่อนไปปรึกษาผูปกครอง เพือ่ หาทางรกั ษาการติดสารเสพติด
โดยเรว็
6. ศึกษาใหมีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับโทษและอันตรายของสารเสพติด เพื่อท่ีจะได
สามารถปองกนั ตนเองและผูใกลช ิดจากการตดิ สงิ่ เสพตดิ
7. ไมห ลงเชอ่ื คาํ ชักชวนโฆษณา หรอื คําแนะนาํ ใด ๆหรอื แสดงความเกงกลาเกีย่ วกบั การเสพ
สารเสพติด
8. ไมใ ชย าอนั ตรายทกุ ชนดิ โดยไมไ ดรับคาํ แนะนําจากแพทยสัง่ ไวเ ทาน้นั
9. หากสงสัยวาตนเองจะตดิ สง่ิ เสพติดตองรบี แจงใหผ ใู หญห รอื ผปู กครองทราบ
109
10. ยึดม่ันในหลักคําสอนของศาสนาที่นับถือ เพราะทุกศาสนามีจุดมุงหมายใหบุคคล
ประพฤตแิ ตส ิง่ ดีงามและละเวน ความชั่ว
กิจกรรมทายบท
1. ใหผเู รยี นบอกโทษของสารเสพติดมาคนละ 10 ขอ
2. ถา เพื่อนของผเู รียนกาํ ลงั คดิ จะทดลองยาเสพตดิ ผูเรยี นจะมคี าํ แนะนําอยา งไร
พรอมอภปิ ราย
3. ผเู รียนบอกวิธปี ฏิบัตแิ ละดูแลตวั เองใหห ลกี เลี่ยงกบั ยาเสพติดมาคนละ 5 ขอ
110
บทที่ 7
ความปลอดภยั ในชวี ิตและทรพั ยสิน
สาระสําคญั
ความรู ความเขาใจเก่ยี วกับการดูแลรกั ษาความปลอดภยั ในชีวิตและทรัพยของตนเอง ท่ีเกิดจาก
อันตรายจากการใชชวี ิตประจาํ วันในการเดนิ ทาง ในบานและภยั จากภัยธรรมชาติ
ผลการเรียนรทู คี่ าดหวัง
1. สามารถอธบิ ายถึงแนวทางการดแู ลรกั ษาความปลอดภยั ในชีวติ และทรพั ยของตนเอง
2. สามารถอธบิ ายวธิ ีการปองกันอันตรายอนั จะเกดิ จากการใชชวี ติ ประจําวนั
ขอบขายเนื้อหา
เรอ่ื งท่ี 1 อันตรายทอ่ี าจเกดิ ในชวี ติ ประจาํ วัน
เรอื่ งที่ 2 อันตรายที่อาจเกดิ ขน้ึ ในบาน
เรือ่ งที่ 3 อันตรายที่อาจจะเกดิ ขนึ้ จากการเดินทาง
เร่ืองที่ 4 อันตรายจากภัยธรรมชาติ
111
การดาํ รงชวี ิตในปจจุบัน มีปจจัยเสี่ยงมากมายท่ีคุกคามความปลอดภัยของมนุษย ไมวาจะเปน
ความเจบ็ ปว ย พกิ าร สูญเสียอวัยวะจนถึงข้ึนถึงสาเหตุ วิธีปองกันและหลีกเล่ียงอันตราย อันอาจเกิดขึ้น
เพ่ือความปลอดภยั ในชวี ติ และทรัพยส นิ ของตนเองและผูอ่ืน
เรือ่ งท่ี 1 อันตรายที่อาจเกิดในชีวิตประจาํ วนั
ความสูญเสียชีวิตและทรัพยสินของมนุษยในแตละปมีมูลคามหาศาล และเปนการสูญเสียทาง
เศรษฐกิจดวย อันเน่ืองมาจากสาเหตุหลายประการ บางคนอาจไมถึงเสียชีวิตแตทุพพลภาพเปนภาระ
แกครอบครัวและสงั คมดงั น้ี
ปจ จัยความเสี่ยง
1. การบริโภคอาหาร การไดรบั สารอาหารเกินความตองการของรางกาย จนเกิดการสะสม
เปนอันตราย เชน ปริมาณของไขมันเกินทําใหเกิดโรค หรือการขาดสารอาหารจนทําใหเจ็บปวย
นอกจากนย้ี งั มีสง่ิ ปลอมปนในอาหาร เชน ผงชรู ส สารบอเร็กซ สารฟอกสี สีผสมอาหาร สารเคมีตกคาง
ในผกั ปลา เนื้อหมู ไก ฯลฯ จงึ ควรตระหนกั และนําความรูดังกลา วไปใชประโยชนในการบรโิ ภคอาหาร
2. การบริโภคอาหารที่ไมใชอาหาร สิ่งเหลานี้ไมมีความจําเปนตอชีวิตแตเปนคานิยมของ
สังคม ความเชือ่ เชน ยาชกู าํ ลัง อาหารเสริมสขุ ภาพ
3. การมีสัมพันธทางเพศ บุคคลที่มีพฤติกรรมสําสอนทางเพศพฤติกรรมเบ่ียงเบนทางเพศ
เปนกิจกรรมท่ีอาจทาํ ใหเกิดผลเสียตอสุขภาพและตอ ชีวิตได
4. การเสพสง่ิ เสพติด สิ่งเสพติดไดมีการพัฒนารูปแบบตาง ๆ ซ่ึงมีอันตรายรายแรงถึงชีวิต
ทําลายสุขภาพใหเ สื่อมโทรม ซ่ึงผูท ่ใี ชสิง่ เสพตดิ ทาํ ใหเ สียอนาคต
5. การใชร ถใชถนน อบุ ตั เิ หตุจากการใชรถใชถ นนมีสถติ กิ ารสูญเสียทง้ั รางกายและทรพั ยสิน
ในอัตราสูง ดงั น้นั ใชรถใชถ นนควรตองปฏบิ ตั ติ ามกฎจราจร
6. การจราจรทางนํ้า ในปจจุบันมีจราจรทางนํ้าเพ่ิมขึ้น แมวาจะไมหนาแนนเหมือนจราจร
ทางบก แตพบวา อุบัติเหตุจากการจราจรทางน้ําทําใหเรือลมเกิดการบาดเจ็บ เสียชีวิต และทรัพยสิน
จากการเดนิ ทางทางน้ําเพิม่ ขึน้
7. การเลนกีฬาและการออกกําลังกาย หากปฏิบัติไมถูกตองตามหลักวิธีการยอมมีผลเสีย
ตอ สขุ ภาพ ดังนน้ั ควรมกี ารยืดเหยียดกลา มเนอ้ื กอ นและหลังการออกกาํ ลังกาย
8. การใชยา ถาใชยาไมถูกตอง ไมถูกโรค ไมถูกขนาด ไมถูกเวลา อาจทําใหอาการของ
โรครนุ แรงขนึ้ หรือการใชยาผดิ ประเภท ยาเส่อื มสภาพ ทาํ ใหเกิดอนั ตรายตอ ชีวติ ได
112
9. การใชอ ปุ กรณภ ายในบา น เชน เคร่ืองใชไ ฟฟา โทรทัศน โทรศัพท คอมพิวเตอร เคร่อื งซัก
ผา หมอหงุ ขาว ฯลฯ สิง่ เหลา นมี้ สี วนเกีย่ วของกบั สขุ ภาพและความปลอดภยั ในชีวิต อาจเกิดอนั ตราย เชน
ไฟฟาช็อตตาย เกิดเพลิงไหม จงึ ควรตองอานรายละเอยี ดในการใชดว ย
10. การประกอบอาชีพ มีหลายอาชีพที่เส่ียงตอความไมปลอดภัยในชีวิต จึงตองหาทาง
ปอ งกนั เชน แวน ตาปองกัน หนา กากปอ งกัน รองเทา บธู ถงุ มอื ฯลฯ
11. สง่ิ แวดลอ ม ปจ จุบนั สิง่ แวดลอ มกําลังอยูในสภาพที่เลวลง เพราะการกระทําของมนุษย
นนั่ เอง มีผลโดยตรงตอสขุ ภาพและความปลอดภยั ในชีวติ เชนน้ําในแมน้าํ ลําคลองสกปรกไมสามารถใช
นํ้าดื่มและบรโิ ภคได สตั วน าํ้ อาศยั อยใู นแมน ํ้าไมไ ด ทําใหขาดอาหาร อากาศมฝี นุ ละอองมาก มีวัตถุหนัก
เจือปนหายใจเขาไปมากๆ ทาํ ใหเ กิดโรคทางเดนิ หายใจ
12. ความรนุ แรง ความรุนแรงตา งๆ ทเ่ี กดิ ขึน้ ในสังคมไทยมีหลายรปู แบบ เชน ความขัดแยง
ในครอบครัว ความขัดแขงของกลุมวัยรุน ความขัดแยงดานผลประโยชน ความขัดแยงทางการเมือง
สงิ่ เหลา น้มี ผี ลกระทบตอความไมปลอดภัยในชวี ิตประจาํ วนั ดวยเหมือนกนั
การปองกันและหลกี เลีย่ งการเสี่ยงภัยตอชีวติ
การปอ งกนั และหลีกเลี่ยงความเสย่ี งภัยตอ ชวี ติ และทรพั ยสินมีหลักดงั น้ี
1. ปฏบิ ัติตนตามหลักโภชนาการในการบรโิ ภคอาหาร รายละเอยี ดอยูในบทที่ 3 เร่ืองการ
บริโภคอาหาร และโภชนาการ
2. ปฏิบัตติ นตามคาํ แนะนาํ เรื่อง โรคตดิ ตอทางเพศสัมพนั ธ และวิธีการปอ งกันโรค
3. ปฏบิ ัตติ นเพ่ือปอ งกันและหลกี เล่ียงจากเสพตดิ
4. ปฏิบัติตนเพ่ือปองกันและหลีกเล่ียงการเสี่ยงภัยตอการใชรถใชถนนตองปฏิบัติอยาง
เครงครดั ตามกฎจราจร และกฎหมายเก่ยี วกบั การจราจร เชน ขับรถตองรัดเข็มขัดนิรภัย ไมด่ืมเครื่องด่ืม
ที่มแี อลกอฮอลก อนการขับรถ ไมรบั ประทานยาทที่ ําใหเ กิดการงวงนอน และใชความเร็วเกินท่ีกฎหมาย
กําหนดไมอ ดนอนกอนขบั รถเดนิ ทางไกลเพราะอาจทําใหห ลับใน
5. กอนเลนกีฬาหรือออกกําลงั กาย จะตอ งอบอนุ รางกาย มคี วามระมัดระวังในการใชอุปกรณ
กีฬา และออกกําลังกายตามวัย
6. กอนใชยา ตองอานวิธีรับประทาน หรือการใชและปฏิบัติตามคําแนะนํา เม่ือเกิดการ
ผิดปกติตองปรึกษาแพทย
7. การใชอุปกรณอํานวยความสะดวกภายในบาน อุปกรณไฟฟา กาซหุงตม มีด ฯลฯ
ตอ งศึกษาวิธใี ช การเกบ็ รักษา การตรวจสอบและชาํ รุด เพ่อื ปอ งกนั ไฟฟาดูด ไฟฟาช็อต อัคคีภัย
113
8. การดูแลสงิ่ แวดลอม ไมใหมกี ล่ิน เสียง มลภาวะทางอากาศ ขยะมลู ฝอย และหากมีตองหา
วธิ กี าํ จัดอยางถกู วิธี
9. การประกอบอาชีพมีการเสยี่ งภัยสงู จะตองระมัดระวังตามสภาพของอาชีพ เชน การใชยา
ฆาแมลงทีถ่ ูกวิธี การใชเ ครอ่ื งมอื อุปกรณอยางระมัดระวงั ไมประมาท เชน ไมออคหรือเชื่อมเหล็กใกลถัง
แกส วางแกสหุงตมหา งจากเตาไฟฟา หลังจากใชเสรจ็ ปด วาวล ปดสวชิ ต ปองกันอัคคีภัย
เร่อื งที่ 2 อนั ตรายที่อาจเกดิ ขน้ึ ในบา น
ความหมายของอบุ ัติเหตใุ นบา น
1. อุบัติเหตุในบาน คือ อุบัติเหตุท่ีเกิดข้ึนภายในบาน เชน การพลัดตกหกลม ไฟไหม
นา้ํ รอ นลวก การถูกของมคี มบาด การไดร ับสารพิษ ไดร ับอบุ ัติเหตจุ ากแกส หงุ ตม เปน ตน
2. การปองกันอุบัติเหตุในบาน เราสามารถท่ีจะปองกันอุบัติเหตุท่ีจะเกิดข้ึนภายในบาน
ดว ย หลกั ปฏบิ ัติ ดังนี้
- รอบคอบ ใจเยน็ ไมทาํ สงิ่ ใด ไมเปน คนเจาอารมณ
- เปนคนมรี ะเบียบในการทํางาน เกบ็ ของอยางเปน ระเบียบหางา ย
- ใหความรอู ยา งถกู ตองแกสมาชกิ ในบานในการใชเครอื่ งใชไ ฟฟา ในบา น
- หมน่ั ซอมแซมอุปกรณ เครอื่ งมอื เครอ่ื งใชต างๆ ท่ชี ํารุดใหอยูในสภาพดี
- เกบ็ ส่งิ ทเี่ ปนอนั ตรายท้งั หลาย เชน ยา สารเคมี เช้อื เพลิง เปน ตน ใหพนจากมอื เดก็
- หลกี เล่ยี งการเขาไปอยใู นบรเิ วณ ท่อี าจมอี ันตรายได เชน ท่รี กชน้ื ทม่ี ดื มดิ ท่ขี รขุ ระ
เปน หลมุ เปน บอ เปนตน
- การใชแกสหงุ ตม ภายในบา น ตอ งปดถงั แกสหลงั การใชท ุกครงั้
- มีถงั ดบั เพลิงไวในบา น ตอ งศึกษาวิธกี ารใชแ ละสามารถหยิบใชไ ดสะดวก
- หลงั จากจดุ ธูปไหวพ ระควรดบั ไฟใหเรยี บรอย
เรอื่ งที่ 3 อนั ตรายท่ีอาจจะเกิดข้นึ จากการเดินทาง
การปองกันอุบัติเหตุนอกบานหรือจากการเดินทาง ควรใหความสําคัญเปนอยางย่ิงกับ
การจราจรเน่ืองจากอุบัติเหตุจากการใชรถใชถนน กอใหเกิดการศูนยเสียในชีวิตและทรัพยสิน
การปองกนั โดยการปฏบิ ัตติ ามกฎจราจรจงึ เปนสง่ิ จําเปน มขี อ ปฏิบตั ทิ ี่ถกู ตองเพอื่ ความปลอดภยั
ขอ ควรปฏบิ ตั ิในการปอ งกันอบุ ตั เิ หตจุ ากการเดนิ ทาง
114
1. ขอ ปฏบิ ัติในการเดนิ ทาง
- ควรศกึ ษาและปฏิบตั ติ ามกฎจราจรอยา งเครงครดั
- ควรเดินบนทางเทาและเดนิ ชดิ ซายของทางเทา
- ถาไมมที างเทาใหเ ดินชิดขวาของถนนมากทส่ี ดุ เพ่ือจะไดเ หน็ รถท่ีสวนมาได
- บรเิ วณใดที่มที างขามหรือสะพานคนขาม ควรขา มถนนตรงทางขาม หรือสะพานน้นั
- อยา ปนปายขามรวั้ กลางถนนหรือรั้วริมทาง
- ถาตองออกนอกบานเวลาค่ําคืน ควรสวมใสเสื้อผาสีขาวหรือสีออนๆ เพื่อรถจะได
มองเห็นชดั เจน
2. ขอควรปฏบิ ตั ใิ นการใชรถประจําทาง
- ควรรอขึน้ รถ บริเวณปายรถประจาํ ทาง และขนึ้ รถดว ยความรวดเรว็
- เม่ือจะขนึ้ หรอื ลงจากรถ ควรรอใหรถเขาปาย และจอดใหสนทิ กอน
- ไมแยงกนั ขึน้ หรอื ลงรถ ควรขึน้ และลงตามลาํ ดบั กอน – หลงั
- ไมหอ ยโหนขา งรถ หลงั รถ หรือขึน้ ไปอยบู นหลงั คารถ เพราะอาจพลดั ตกลงมาได
- เมือ่ ขนึ้ บนรถแลวควรเดินชิดเขาขางใน หาที่นั่งและนั่งใหเปนท่ี ถาตองยืนก็ควรหา
ท่ียดึ เหนย่ี วใหม ัน่ คง
- ไมย น่ื สว นใดสวนหนง่ึ ของรางกายออกนอกรถ
- ไมรบกวนสมาธิผูขับ และไมพูดยุแหยหรือพูดสงเสริมใหผูขับ ขับรถดวย
ความประมาท และไมค วรนําโทรศัพทขึ้นมาเลน รบกวนผอู น่ื
3. ขอ ควรปฏบิ ัตใิ นการโดยสารรถไฟ
- ไมแยงกันขึ้นหรอื ลงจากรถไฟ
- ไมหอยโหนขา งรถ น่ังบนหลงั คา หรอื นง่ั บนขอบหนา ตางรถไฟ
- ไมยื่นสว นหนึ่งสว นใดของรางกายออกนอกรถไฟ
- ไมเ ดนิ เลน ไปมาระหวางตูรถไฟ และไมย ืนเลนบริเวณหวั ตอระหวา งตูร ถไฟ
- สัมภาระตาง ๆ ควรจัดเก็บเขาที่ใหเรียบรอย ไมวางใหเปนท่ีกีดขวางทางเดินและ
ไมเก็บไวบนทสี่ งู ในลักษณะท่ีอาจหลนมาถูกคนได
- ไมดืม่ เคร่ืองดื่มทมี่ ีแอลกอฮอล
- ถา มอี บุ ตั ิเหตเุ กิดขึ้นหรือจะเกิดอบุ ตั เิ หตขุ ึ้น ถารถไฟไมหยุดว่ิงใหดึงสายโซสัญญาณ
ขา งตรู ถไฟ เพื่อแจง เหตใุ หเ จาหนาทป่ี ระจาํ รถไฟทราบ
115
4. ขอควรปฏบิ ตั ิในการโดยสารเรอื
- การข้ึนลงเรือ ตองรอใหเรือเขาเทียบทาและจอดสนิทกอน ควรจับราวหรือส่ิงยึด
เหนยี่ วขณะที่กาวขน้ึ หรอื ลงเรอื
- หาท่นี ง่ั ใหเ รียบรอ ย ไมไตก าบเรือเลน ไมย นื พกั เทา บนกาบเรือ ไมน่งั บนกาบเรือ หรือ
บรเิ วณหัวทายเรือ เพราะอาจพลดั ตกน้ําไดระหวางเรือแลน
- ไมใ ชม อื เทาราน้าํ เลน ขณะอยบู นเรือ
- เม่ือเวลาตกใจ ไมควรเกาะกลมุ หรอื ไมน่งั รวมกลุมกนั อยดู านใดดา นหน่งึ ของเรอื
เพราะจะทําใหเรอื เอยี งและลม ได
- ควรทราบที่เกบ็ เครอื่ งชชู พี เพือ่ ทจ่ี ะหยิบใชไดท ันทวงทเี มอ่ื เกดิ อบุ ตั ิเหตุเรือลม
เร่ืองที่ 4 อนั ตรายจากภัยธรรมชาติ
1. น้ําปาไหลหลากหรือนํ้าทวมฉับพลันมักจะเกิดข้ึนในท่ีราบตํ่าหรือที่ราบลุมบริเวณใกล
ภูเขาตนนํ้า เกิดข้ึนเนื่องจากฝนตกหนักตอเนื่องเปนเวลานานทําใหจํานวนน้ําสะสมมีปริมาณมากจน
พ้ืนดินและตนไมดูดซับนํ้าไมไหว ไหลบาลงสูที่ราบต่ําเบื้องลางอยางรวดเร็วทําใหบานเรือนพังทลาย
เสยี หายและอาจทําใหเกิดอันตรายถึงชวี ติ ได
2. นา้ํ ทว มหรือนํา้ ทว มขงั เปน ลกั ษณะของอุทกภยั ที่เกดิ ขึน้ จากปริมาณนา้ํ สะสมจํานวนมาก
ท่ไี หลบา ในแนวระนาบจากที่สูงไปยงั ท่ีต่ําเขาทวมอาคารบานเรือน สวนไรนาไดรับความเสียหาย หรือ
เปน สภาพน้าํ ทว มขัง ในเขตเมอื งใหญที่เกิดจากฝนตกหนักตอเนื่องเปนเวลานาน มีสาเหตุมาจากระบบ
การระบายน้าํ ไมดีพอมีสิ่งกอสรา งกีดขวางทางระบายนาํ้ หรือเกิดนํา้ ทะเลหนุนสงู กรณีพน้ื ท่ีอยูใกลชายฝง
ทะเล
3. น้ําลนตล่ิง เกิดขึ้นจากปริมาณนํ้าจํานวนมากที่เกิดจากฝนตกหนักตอเนื่องที่ไหลลงสู
ลําน้าํ หรือแมน า้ํ มปี ริมาณมากจนระบายลงสลู ุมนาํ้ ดา นลา ง หรือออกสูปากน้ําไมทัน ทําใหเกิดสภาวะน้ํา
ลน ตลิ่งเขาทวมสวน ไรนา และบานเรือนตามสองฝงนํ้า จนไดรับความเสียหาย ถนน หรือสะพานอาจ
ชาํ รดุ ทางคมนาคม
4. พายุหมุนเขตรอน ไดแก ดเี ปรสชน่ั พายโุ ซนรอน พายใุ ตฝ นุ
5. พายุฤดูรอน สวนมากจะเกิดระหวางเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน โดยจะเกิดถี่ใน
ภาคเหนือและภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ สว นภาคกลางและภาคตะวันออก การเกิดนอยคร้ังกวา สําหรับ
ภาคใตก็สามารถเกิดไดแตไมบอยนัก โดยพายุฤดูรอนจะเกิดในชวงท่ีมีลักษณะอากาศรอนอบอาว
ตดิ ตอ กนั หลายวัน แลว มีกระแสอากาศเย็นจากความกดอากาศสูงในประเทศจนี พัดมาปะทะกนั ทําใหเกดิ
116
ฝนฟาคะนองมีพายุลมแรง และอาจมีลูกเห็บตกไดจะทําความเสียหายในบริเวณที่ไมกวางนัก
ประมาณ 20 - 30 ตารางกโิ ลเมตร
6. ภัยจากคล่นื ยกั ษสึนามิ
6.1 คล่ืนสึนามิ คือ คล่ืนหรือกลุมคล่ืนที่มีจุดกําเนิดอยูในเขตทะเลลึก ซึ่งมักปรากฏ
หลังแผนดินไหวขนาดใหญ แผนดินไหวใตทะเล ภูเขาไฟระเบิด ดินถลม แผนดินทรุด หรืออุกกาบาต
ขนาดใหญ ตกสพู ืน้ ทะเลหรือมหาสมทุ รบนผิวโลก คลนื่ สึนามิท่ีเกดิ ข้ึนนจ้ี ะถาโถมเขา สูพ ืน้ ทีช่ ายฝง ทะเล
ดวยความรวดเร็วและรุนแรง สรางความเสียหายอยางใหญหลวงใหแกชีวิตและทรัพยสินท่ีอยูอาศัยที่
พงั พินาศไปพรอ ม ๆ กับมนษุ ยจ ํานวนมากมายท่อี าจไดรบั บาดเจ็บและลมตายไปดวยฤทธ์ิของมหาพิบัติ
ภยั ทเี่ กดิ ข้นึ อยา งฉบั พลัน
6.2 สญั ญาณเกดิ เหตแุ ละระบบเตอื นภัย
สัญญาณเตือนคล่ืนสึนามิ การสังเกตท่ีเมืองกามากุระ ประเทศญี่ปุน กําแพงกั้น
สึนามใิ นญป่ี นุ ขณะทีจ่ ดุ ต่าํ สดุ ของคลื่นเคลื่อนเขาสูฝง ใหสังเกตระดับนํ้าทะเลท่ีลดลงอยางรวดเร็วและ
ทําใหขอบทะเลรนถอยออกจากชายฝง ถาชายฝงนั้นมีความลาดชันนอย ระยะการรนถอยน้ีอาจมากถึง
800 เมตร ผทู ่ีไมท ราบถึงอันตรายที่จะเกิดข้ึนอาจยังคงรออยูที่ชายฝงดวยความสนใจ นอกจากนี้บริเวณ
ทต่ี ํ่า อาจเกิดน้าํ ทวมไดก อนทีย่ อดคลน่ื จะเขาปะทะฝง น้ําท่ีทวมนี้อาจลดลงไดกอนท่ียอดคลื่นถัดไปจะ
เคล่ือนที่ตามเขามา ดังนั้นการทราบขอมูลเก่ียวกับคลื่นสึนามิจึงเปนสิ่งที่สําคัญที่จะทําใหตระหนักถึง
อนั ตราย ตวั อยางเชน ในกรณีทรี่ ะดบั นํา้ ในครั้งแรกลดลงไปนั้น อาจมีคลื่นลูกใหญตามมาอีกได ดังน้ัน
บริเวณทมี่ คี วามเสยี่ งตอการเกิดสึนามกิ ารตดิ ตั้งระบบเตอื นภัยเพือ่ พยากรณ และตรวจจับการเกิดขึ้นของ
คล่นื ยักษน ้ี
6.3 ขอ ปฏบิ ตั ิในการปอ งกนั และบรรเทาภยั จากคลน่ื สนึ ามิ
ค ว ร รี บ อ พ ย พ ขึ้ น ไ ป ใ น ที่ สู ง โ ด ย เ ร็ ว ที่ สุ ด แ ล ะ ร อ ป ร ะ ก า ศ จ า ก ห น ว ย ง า น
เม่ือสถานการณป ลอดภยั หากทา นอยใู นทะเล ขอควรปฏบิ ัติ คอื
(1) เน่ืองจากเราไมสามารถรูสึกถึงคลื่นสึนามิไดในขณะที่อยูในมหาสมุทรเปด
ดงั น้ันหากอยูในทะเลและมปี ระกาศเตอื นภยั ในพน้ื ที่คลน่ื สึนามสิ ามารถทาํ ใหร ะดับนา้ํ ทะเลเปลยี่ นแปลง
อยางรวดเรว็ และทําใหเกดิ กระแสนํา้ แปรปรวนยุงเหยิงและอันตรายในบริเวณชายฝงจึงไมควรแลนเรือ
กลับเขาฝง
(2) หากมีเวลาพอสามารถเคลื่อนยายเรือออกไปบริเวณน้ําลึก โดยพิจารณา
หลกั เกณฑก ารดแู ลควบคุมทาเรือจากหนว ยงานทม่ี ีอํานาจหนาทรี่ ับผิดชอบตาง ๆ ดว ย
(3) เมื่อเหตกุ ารณสงบแลว แตอาจยังเกิดผลขางเคียงตาง ๆ การนําเรือกลับเขาสูทา
ตองตดิ ตอ กับหนว ยทา เรือเพื่อตรวจสอบความปลอดภัยเสยี กอ น
117
7. ไฟปา การเกดิ ไฟปา เกดิ จากความประมาทมักงายของคน ไฟปารอยละ 90 เกิดจากฝมือ
มนษุ ย โดยเฉพาะผบู ุกรกุ ไปในปาทาํ การกอ กองไฟแลวไมด ับไฟใหส นิท หรือทิง้ กน บหุ รีโ่ ดยไมดับกอน
ไฟปาจะทําความเสยี หายใหกับปาไม แลว ยงั ทําลายชวี ติ สัตวปา อีกดวย ตลอดจนกอใหมลพิษทางอากาศ
บรเิ วณกวางและมผี ลกระทบตอ การจราจรทางอากาศดวย
8. อคั คภี ัย มักจะเกิดความประมาทของมนษุ ย ทําใหเกดิ การสญู เสียอยางใหญหลวงตอชีวิต
และทรพั ยสนิ ดงั นั้นจึงควรระมัดระวังปองกันไมใหเกิดอัคคีภัย โดยดูจากการปฏิบัติในชีวิตประจําวัน
ในเรอ่ื งการหุงตม การใชแกส การจุดธปู บชู าพระ การรีดผา การทง้ิ กน บุหร่ี การเกบ็ เชื้อเพลิงสารเคมีในท่ี
ปลอดภยั
กจิ กรรมทายบท
1. ใหผูเรยี นอธบิ ายถงึ ความเส่ยี งทม่ี ตี อ ชวี ิตประจาํ วนั มากทสี่ ดุ พรอมแนวทางหลกี เลย่ี ง
2. ใหผเู รยี นแบงกลุมอภปิ รายอันตรายที่อาจจะเกดิ ขึน้ ในแตล ะวันพรอ มคําแนะนาํ ปอ งกนั
118
บทที่ 8
ทักษะชีวิตเพ่ือการคดิ
สาระสําคัญ
การมคี วามรู ความเขา ใจเกย่ี วกบั ทกั ษะทีจ่ าํ เปน สาํ หรับชีวิตมนุษย โดยเฉพาะทักษะเพื่อการคิด
ทจี่ าํ เปนสาํ หรบั ชวี ติ 10 ประการ ซ่ึงจะชว ยใหบ คุ คลดังกลาว สามารถท่จี ะดาํ รงชีวิตในครอบครัว ชุมชน
และสังคมอยา งมคี วามสุข
ผลการเรยี นรทู คี่ าดหวงั
1. มคี วามรคู วามเขา ใจถึงความหมาย ความสาํ คญั ของทกั ษะชวี ิต 10 ประการ
2. มคี วามรูเกีย่ วกบั ทักษะชีวติ ทจ่ี าํ เปนในการคิด
ขอบขา ยเนือ้ หา
เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย ความสําคญั ของทกั ษะชีวิต 10 ประการ
เรอื่ งท่ี 2 ทกั ษะชวี ติ ท่ีจําเปน
119
เนื่องจากสภาพสงั คม เศรษฐกิจ และการเมืองในปจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ทําให
ประชาชนตองปรับตวั เพื่อดาํ รงชีวติ ใหอ ยูร อดภายใตส ถานการณท่ีแข็งขัน และเรงรีบ ดังกลาว ซึ่งการท่ี
จะปรับตัวใหอยูในสังคมไดอยางมีความสุข จําเปนตองมีทักษะในการดําเนินชีวิต เชน ทักษะการ
แกป ญหา ทักษะการตัดสนิ ใจ ทกั ษะการคิดอยางมวี จิ ารณญาณ เปน ตน
เรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คัญของทกั ษะชีวติ 10 ประการ
ทักษะชวี ติ (Life skill) หมายถึง คุณลักษณะหรือความสามารถเชิงสังคม จิตวิทยา ที่เปนทักษะ
ที่จะชว ยใหบคุ คลสามารถเผชญิ สถานการณตา งๆทเี่ กดิ ขน้ึ ในชวี ิตประจําวันได อยางมีประสิทธิภาพและ
เตรยี มพรอ มสําหรบั การปรับตวั ในอนาคต
องคประกอบของทักษะชวี ิต มี 10 ประการ
องคป ระกอบของทกั ษะชีวติ จะมีความแตกตางกันตามวัฒนธรรมและสถานท่ี แตท กั ษะชีวิต
ท่ีจําเปนทส่ี ุดทที่ กุ คนควรมี ซงึ่ องคก ารอนามัยโลกไดส รปุ ไว และถือเปน หวั ใจสาํ คัญในการดํารงชวี ิต คอื
1. ทักษะการตัดสินใจ (Decision making) เปนความสามารถในการตัดสินใจเกี่ยวกับ
เรอื่ งราวตางๆ ในชีวิตไดอยางมีระบบ เชน ถาบุคคลสามารถตัดสินใจเกี่ยวกับการกระทําของตนเองที่
เก่ียวกับพฤติกรรมดานสุขภาพ หรือความปลอดภัยในชีวิต โดยประเมินทางเลือกและผลท่ีไดจากการ
ตัดสินใจเลือกทางที่ถกู ตอ งเหมาะสม กจ็ ะมีผลตอ การมีสุขภาพที่ดีทั้งรา งกายและจิตใจ
2. ทักษะการแกปญหา (Problem Solving) เปนความสามารถในการจัดการกับปญหาที่
เกดิ ขน้ึ ในชีวิตไดอ ยางมีระบบ ไมเ กดิ ความเครยี ดทางกายและจติ ใจจนอาจลกุ ลามเปนปญหาใหญโตเกิน
แกไ ข
3. ทกั ษะการคิดสรางสรรค (Creative thinking) เปนความสามารถในการคิดที่จะเปนสวน
ชวยในการตัดสินใจและแกไขปญหาโดยการคิดสรางสรรค เพื่อคนหาทางเลือกตางๆรวมทั้งผลที่จะ
เกดิ ขนึ้ ในแตละทางเลอื ก และสามารถนําประสบการณม าปรับใชในชวี ติ ประจําวันไดอยางเหมาะสม
4. ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical thinking) เปนความสามารถในการคิด
วิเคราะหข อมูลตา งๆ และประเมินปญหาหรือสถานการณท ี่อยูรอบตัวเราท่มี ผี ลตอ การดาํ เนินชวี ิต
5. ทักษะการส่อื สารอยา งมีประสิทธิภาพ (Effective communication) เปนความสามารถใน
การใชค ําพูดและทา ทางเพือ่ แสดงออกถึงความรสู ึกนกึ คดิ ของตนเองไดอยา งเหมาะสมกับวัฒนธรรมและ
สถานการณตางๆ ไมวาจะเปนการแสดงความคิดเห็น การแสดงความตองการ การแสดงความชื่นชม
การขอรอ ง การเจรจาตอ รอง การตักเตอื น การชว ยเหลอื การปฏิเสธ ฯลฯ
120
6. ทักษะการสรา งสมั พันธภาพระหวางบคุ คล (Interpersonal relationship)
เปน ความสามารถในการสรา งความสัมพันธท ดี่ รี ะหวางกันและกัน และสามารถรักษาสัมพันธภาพไวได
ยนื ยาว
7. ทักษะการตระหนักรูในตน (Self awareness) เปนความสามารถในการคนหารูจักและ
เขาใจตนเอง เชน รขู อดี ขอเสียของตนเอง รูความตองการ และส่ิงที่ไมตองการของตนเอง ซึ่งจะชวยให
เรารูตัวเองเวลาเผชิญกับความเครียดหรือสถานการณตางๆ และทักษะนี้ยังเปนพื้นฐานของการพัฒนา
ทักษะอืน่ ๆ เชน การส่ือสาร การสรา งสมั พนั ธภาพ การตัดสนิ ใจ ความเหน็ อกเห็นใจผอู ืน่
8. ทักษะการเขาใจผูอ นื่ (Empathy) เปนความสามารถในการเขาใจความเหมือนหรือความ
แตกตางระหวา งบุคคล ในดา นความสามารถ เพศ วยั ระดบั การศึกษา ศาสนา ความเชื่อ สีผิว อาชีพ ฯลฯ
ชวยใหสามารถยอมรับบุคคลอื่นที่ตางจากเรา เกิดการชวยเหลือบุคคลอื่นท่ีดอยกวา หรือไดรับความ
เดอื ดรอน เชน ผูติดยาเสพติด ผตู ดิ เชอื้ เอดส
9. ทักษะการจดั การกับอารมณ (Coping with emotion) เปนความสามารถในการรบั รูอ ารมณ
ของตนเองและผอู ่นื รูวาอารมณม ีผลตอ การแสดงพฤติกรรมอยางไร รวู ธิ กี ารจัดการกับอารมณโ กรธ และ
ความเศรา โศก ท่ีสงผลทางลบตอรา งกาย และจติ ใจไดอ ยางเหมาะสม
10. ทักษะการจัดการกบั ความเครียด (Coping with stress) เปนความสามารถในการรับรูถึง
สาเหตุ ของความเครียด รวู ิธีผอ นคลายความเครียด และแนวทางในการควบคุมระดบั ความเครียด เพื่อให
เกิดการเบ่ียงเบนพฤติกรรมไปในทางท่ีถูกตอ งเหมาะสมและไมเ กดิ ปญ หาดา นสุขภาพ
เรือ่ งที่ 2 ทักษะชีวติ ที่จาํ เปน
จากองคป ระกอบของทักษะชวี ติ 10 ประการ เมื่อจําแนกแลว มที ักษะ 3 ประการที่จะชวยในการ
ดาํ รงชวี ติ ของตนเอง ครอบครวั และสังคมไดอยางมคี วามสุข คอื
1. ทกั ษะการตัดสินใจ (Decision making)การตัดสนิ ใจเปนกระบวนการของการหาโอกาสท่ี
จะหาทางเลือกที่เปนไปไดและการเลือกทางเลือกที่มีอยูหลายๆ ทางเลือกและไดแบงการตัดสินใจ
ออกเปน 2 ชนดิ คอื
1.1 การตัดสนิ ใจที่กาํ หนดไวล วงหนา (Program decision) เปน การตัดสนิ ใจตามระเบยี บ
กฎเกณฑ แบบแผนทีเ่ คยปฏบิ ัตมิ าจนกลายเปน งานประจาํ (Routine) เชน การตัดสินใจเกี่ยวกับการเรียน
ตอ การลงทนุ ประกอบอาชีพ การปลูกสรางบา นพกั อาศัย เปน ตน การตดั สนิ ใจแบบกําหนดไวลวงหนานี้
จะเปด โอกาสใหบุคคลน้ันเลอื กทางเลือกไดนอย เพราะเปน การตดั สนิ ใจภายใตส ถานการณท แี่ นน อน
121
1.2 การตดั สนิ ใจทีไ่ มไ ดก าํ หนดไวล วงหนา (Non – Program decision) เปนการตัดสินใจ
ในเรื่องใหมท่ีไมเคยมีมากอน และไมมีกฎเกณฑ ไมมีระเบียบ จึงเปนเรื่องท่ีสรางความกังวลใจ
พอสมควร ซึ่งบางครั้งผูบ รหิ ารจะตองคดิ ถงึ เรอื่ งความเสี่ยงและความไมแ นนอนท่จี ะเกิดข้ึนดวย เชน
การตดั สินใจเปลย่ี นงานใหม การตัดสินใจที่จะขยายธุรกิจเพิ่ม การตัดสนิ ใจท่ีจะลงทนุ ในธุรกิจตัวใหม
เปนตน
ข้นั ตอนการตดั สนิ ใจ สามารถแบง ออกไดเ ปน ดงั นค้ี ือ
ขั้นที่ 1 การระบุปญหา (Defining problem) เปน ข้นั ตอนแรกทีม่ คี วามสาํ คญั อยางมาก
เพราะจะตอ งระบปุ ญหาไดถ กู ตอ ง จงึ จะดําเนนิ การตัดสินใจในข้นั ตอนตอ ๆ ไปได
ขน้ั ที่ 2 การระบขุ อ จาํ กัดของปจจัย (Identify limiting factors) เปนการระบุปญหาไดถูกตอง
แลว นําไปพิจารณาถึงขอจํากัดตาง ๆ ของตนเองหรือหนวยงาน โดยพิจารณาจากทรัพยากรซึ่งเปน
องคป ระกอบของกระบวนการผลิต
ขั้นท่ี 3 การพัฒนาทางเลือก (Development alternative) ตอนที่ตองพัฒนาทางเลือกตาง ๆ
ข้นึ มาซงึ่ ทางเลอื กเหลาน้ีควรเปนทางเลอื กที่มีศกั ยภาพและมีความเปนไปไดในการแกปญหาใหนอยลง
หรือใหประโยชนสูงสุด เชน เพิ่มการทํางานกะพิเศษ เพิ่มการทํางานลวงเวลาโดยใชตารางปกติ
เพ่มิ จํานวนพนักงาน เปน ตน
ขนั้ ที่ 4 การวเิ คราะหท างเลือก (Analysis the alternative) เมือ่ ไดท ําการพฒั นาทางเลือกตา ง ๆ
โดยนาํ เอาขอดขี อเสยี ของแตละทางเลือกมาเปรียบเทียบกันอยางรอบคอบ ควรพิจารณาวาทางเลือกน้ัน
หากนาํ มาใช จะเกดิ ผลตอเนอ่ื งอะไรตามมา
ขั้นที่ 5 การเลือกทางเลือกที่ดีท่ีสุด (Select the best alternative) เมื่อผูบริหารไดทําการ
วิเคราะห และประเมนิ ทางเลือกตางๆ แลว บุคคลควรเปรียบเทยี บขอดแี ละขอเสยี ของแตละทางเลอื ก
อีกครง้ั หน่ึง แลวจึงตัดสินใจ
2. ทกั ษะการแกปญ หา (Problem solving)
ทักษะการแกปญหาอาจทําไดหลายวิธี ทั้งน้ีข้ึนอยูกับลักษณะของปญหา ความรูและ
ประสบการณของผูแ กปญหานัน้ ซง่ึ แตละขั้นตอนมีความสมั พนั ธดงั น้ี
2.1 ทาํ ความเขาใจปญ หา ผแู กป ญ หาจะตองทาํ ความเขา ใจกับปญ หาท่ีพบใหถ องแท
ในประเดน็ ตางๆ คอื
- ปญ หาถามวาอยา งไร
122
- มีขอมูลใดแลว บาง
- มีเงอื่ นไขหรอื ตอ งการขอมูลใดเพมิ่ เติมอกี หรอื ไม
การวิเคราะหปญหาอยางดีจะชวยใหข้ันตอนตอไป ดําเนินไปอยางราบรื่น การจะ
ประเมินวาผูเรียนเขาใจปญหามากนอยเพียงใด ทําไดโดยการกําหนดใหผูเรียนเขียนแสดงถึงประเด็น
ตา งๆ ที่ เกยี่ วของกบั ปญ หา
2.2 วางแผนแกปญหา ข้ันตอนน้ีจะเปนการคิดหาวิธี วางแผนเพ่ือแกปญหาโดยใชขอมูล
จากปญหาที่ไดวิเคราะหไวแลวในข้ันท่ี 1 ประกอบกับขอมูลและความรูที่เกี่ยวของกับปญหานั้นและ
นาํ มาใชป ระกอบการวางแผนการแกปญ หาในกรณที ปี่ ญ หาตองตรวจสอบโดยการทดลอง ขั้นตอนนี้ก็จะ
เปน การวางแผนการทดลอง ซึง่ ประกอบดวยคาดคะเนผลท่ีจะเกดิ ลว งหนา (การตัง้ สมมตฐิ าน) กาํ หนดวิธี
ทดลองหรอื ตรวจสอบและอาจรวมถึงแนวทางในการประเมินผลการแกปญหา
2.3 ดาํ เนนิ การแกปญหาและประเมินผล ขนั้ ตอนน้จี ะเปน การลงมอื แกป ญ หาและประเมนิ วา
วิธีการแกป ญหาและผลท่ีไดถูกตองหรือไม หรือไดผลเปนอยางไร ถาการแกปญหาทําไดถูกตองก็จะมี
การประเมินตอไปวาวิธีการน้ันนาจะยอมรับไปใชในการแกปญหาอ่ืนๆ แตถาพบวาการแกปญหานั้น
ไมป ระสบความสาํ เร็จก็จะตอ งยอ นกลับไปเลือกวธิ กี ารแกปญ หาอืน่ ๆท่ีไดกําหนดไวแลวในข้ันที่ 2 และ
ถา ยังไมประสบความสาํ เร็จ ผเู รียนจะตองยอ นกลบั ไป ทาํ ความเขาใจปญ หาใหมวามีขอบกพรองประการ
ใด เชนขอ มูลกาํ หนดใหไมเพยี งพอ เพื่อจะไดเริ่มตนการแกป ญหาใหม
2.4 ตรวจสอบการแกปญหา เปนการประเมินภาพรวมของการแกปญหาท้ังในดานวิธีการ
แกปญหา ผลการแกป ญหาและการตัดสินใจ รวมท้ังการนาํ ไปประยุกตใ ช ทงั้ นี้ในการแกป ญหาใด ๆตอง
ตรวจสอบถึงผลกระทบตอครอบครัวและสังคมดวย
แมวาจะดาํ เนินตามขัน้ ตอนทกี่ ลา วมาแลว ก็ตาม ผูแกปญหาตองมีความมั่นใจวาจะสามารถ
แกปญหานั้นได รวมทั้งตองมุงม่ันและทุมเทใหกับการแกปญหา เน่ืองจากบางปญหาตองใชเวลาและ
ความพยายามเปน อยางสงู นอกจากนีถ้ า ผเู รียนเกิดความเหน่ือยลาจากการแกปญหาก็ควรใหผูเรียนไดมี
โอกาสผอ นคลาย แลว จึงกลบั มาคดิ แกปญหาใหม ไมค วรทอแทห รือยอมแพ
3. ทกั ษะการคดิ สรางสรรค (Creative Thinking)
3.1 ลักษณะสาํ คญั ของความคดิ ริเรม่ิ สรา งสรรคจะประกอบดวยคณุ ลกั ษณะตา ง ๆ
ดงั ตอ ไปนีค้ ือ
(1) เปนความคดิ ที่มีอสิ ระ และสรา งใหเ กิดเปน แนวคดิ ใหมๆ
(2) ไมม ขี อบเขตจาํ กัด หรอื กฎเกณฑตายตวั และเปนแนวคิดท่นี า จะเปน ไปได
(3) เปนแนวคิดที่อาศยั การมองทกี่ าวไกลสรา งใหเกิดความคดิ ทตี่ อ เนื่อง
123
(4) เปน ความคิดท่อี ยใู นลักษณะของจนิ ตนาการ ซึง่ คนทว่ั ไปจะไมค อ ยคิดกัน
(5) ระบบของความคิดน้จี ะกระจายไปไดห ลายทศิ ทาง และหลายทางเลอื ก
(6) เปน ความคิดที่อยใู นลักษณะแปลก และแหวกแนวออกไปจากความคิดปกติทั่วไป
(7) สรางใหเกิดสิ่งประดิษฐใหม นวัตกรรมใหม และมีการพัฒนาที่แปลกใหมที่เปน
ประโยชนและสรา งสรรค
(8) ความคดิ นีจ้ ะไมก อ ใหเ กิดความเสยี หาย หรอื เปน ภยั ตอตนเองและผูอ ่นื
3.2 ทาํ ไมตอ งฝกและพัฒนาใหเ กดิ ความคิดสรางสรรค
ความคิดสรางสรรคสามารถฝกและพัฒนาได โดยคนเราจะมีความพรอมตั้งแตวัยเด็ก
ซ่ึงอยูระดับประถมศกึ ษาจะจดั หลักสตู รใหเออื้ อํานวยและกระตนุ ใหเกิดความคิดริเร่ิมตางๆ เพื่อนําไปสู
การพฒั นาอยางสรา งสรรค ดงั นค้ี ือ
1. สรางใหบุคคลกลาคิดกลาแสดงออก คนที่มีความคิดสรางสรรคมักจะเปนบุคคล
ท่กี ลา เสนอวธิ ีการและแนวทางใหม ๆ ทไ่ี มมใี ครคิดกันมากอ น และจะเปน คนทตี่ อสูอยางเต็มที่ เพื่อที่จะ
แสดงความคิดเหน็ ท่ีถูกตอ งของตนเอง
2. ความคิดนี้จะนําบุคคลไปสูส่ิงใหมและวิธีการใหม ความคิดริเร่ิมสรางสรรคจะ
กอใหเ กดิ สง่ิ ใหม นวัตกรรมใหม จึงเปนสิ่งจําเปนอยางหนึ่งในการที่จะใหบุคคลหลุดพนจากเรื่องจําเจ
ทต่ี อ งประสบอยทู ุกวัน
3. สรางใหบุคคลเปนผูที่มองโลกในมุมกวาง และยืดหยุน นอกจากจะสรางความคิด
ใหมหรือไดคนพบส่ิงใหม ๆ และสรางวิธีการใหมๆแลว ผูท่ีมีความคิดสรางสรรคน้ันแมจะมองส่ิง
เดียวกันกบั ท่ีทกุ คนมองอยูแตความคิดของเขาจะไมเหมือนคนอื่นๆโดยจะคดิ แตกตา งไปอยา งไรขอบเขต
เปน ความคดิ ตามจินตนาการท่ีมอง และรับรูสงิ่ ตาง ๆ รอบขา งในแงม มุ ท่ีแตกตา งจากคนทว่ั ๆ ไป
4. สรางใหบุคคลไมอ ยูกบั ท่ี และบมเพาะความขยัน คนที่มคี วามคิดสรางสรรคจะเปน
ผูท ่ที ํางานหนกั มสี มาธิสามารถทํางานไดนาน มีความขยันและกระตือรือรน อยากรู อยากเห็น คนควา
และทดลองสิง่ ใหม ๆ อยเู สมอ
5. สรา งใหบคุ คลเกิดความสามารถในการแกไ ขปญ หาตามสภาพและตามขอ จาํ กัดของ
ทรัพยากร คนทม่ี ีความคิดสรา งสรรคจะไมมีการสรางเงื่อนไขในความคิดสามารถคิดหาแนวทางแกไข
ปญหา และตัดสินใจตามสภาพแวดลอมของปญ หาไดภายใตอุปสรรคและขอจํากัดของทรัพยากรตาง ๆ
ในทาํ นองทว่ี า “Small and Beautiful” หรือ “จิ๋ว แต แจว ”
6. สรางผลงานและเกิดส่ิงใหม ๆ นักสรางสรรคจะมีความสามารถในการอธิบาย
สื่อสาร สรา งความเขาใจใหผ ูอ ืน่ นําความคดิ ท่มี คี า ของตนไปทาํ ใหเกิดประโยชนได
124
ผูที่มีความคดิ สรางสรรคจะใชส ิ่งทกี่ ลาวมานี้เปน สอื่ และเปนแนวทางในการพัฒนาความสามารถ
ของตนเองไดดี
3.3 วธิ ีการพฒั นาใหเ กดิ ความคิดสรา งสรรค
การพัฒนาใหเ กดิ ความคิดสรางสรรคใ นตนเอง จะตอ งฝกและพฒั นาตนเองดงั นี้
(1) ใหอสิ ระตนเอง
(2) นาํ ตนออกนอกขอบเขต กฎเกณฑ กรอบ และเกราะกาํ ลังตางๆ
(3) คดิ ใหล กึ ซง้ึ ละเอียด รอบคอบ
(4) อาศัยการใชส มาธแิ ละสตใิ หอยเู หนอื อารมณ
(5) ปราศจากอคติ คานิยมสงั คม
(6) ยอมรับคําวิพากษว จิ ารณไ ด
(7) อยาใหเวลามาเรงรดั ความคดิ จนเกนิ ไป
(8) ไมม งุ หวงั ผลกําไรจากความคดิ
(9) มีทกั ษะในการฟง
(10) หม่ันฝกฝนความคิดอยางสมํ่าเสมอ
3.4 วิธกี ระตุนใหเ กดิ ความคิดริเริ่มสรางสรรค
การกระตุนใหบุคคลเกดิ ความคิดรเิ ร่ิมสรา งสรรคไ ดนนั้ ผูทีเ่ ปนตัวกระตุน อาทิเชน พอ
แม ผูปกครอง ครู หรือบังคับบัญชา สามารถใชวิธีการตางๆ ตอไปนี้ฝกใชความคิดอยางสรางสรรคได
โดยอยใู นบรรยากาศท่ดี ี เอื้ออํานวยใหเกดิ การใชปญญา คอื
(1) การระดมสมองอยางอสิ ระ
(2) การเขยี นวิจารณค วามคดิ
(3) การแยกความเหมือน – ตาง
(4) การอปุ มาอุปไมย
(5) การมคี วามคลมุ เครือ
3.5 อปุ สรรคของความคดิ สรางสรรค
(1) อปุ สรรคจากตนเองไมมน่ั ใจในตนเอง ใชความเคยชนิ และสญั ชาตญาณแกไขปญหา
พอใจในคําตอบเดิม ๆ กลัวพลาด ไมกลาเสี่ยง ไมกลารับผิดชอบ ชอบสรางขอบเขตและกฎเกณฑให
ตนเอง ชอบเลียนแบบแอบอางผูอ่ืน ชอบเปนผูตาม สามารถทําตามคําส่ังไดดี ไมชอบแสวงหาความรู
ไมเสาะหาประสบการณ ไมเ ปดใจ ปราศจากการยืดหยนุ ไมมสี มาธิ ไมมีสติ
125
(2) อุปสรรคจากบคุ คลอนื่ ไมย อมรบั ฟง มงุ ตาํ หนิ วิจารณ และปฏเิ สธทุกประเด็น อิจฉา
เยาะเยย ถากถาง ปด โอกาส
(3) ขาดการกระตุนสงเสริม มีการบั่นทอนกําลังใจ ปราศจากการยอมรับ เนนผลกําไร
จนเกนิ ไป มีความจาํ กัดดา นเวลา ทรพั ยากรอื่น ๆ
ดงั นั้น การจะสรางใหตนเองมีความคิดสรางสรรค หรือสงเสริม กระตุนใหบุคคลเกิด
ความคดิ ริเร่ิมสรา งสรรค จึงควรจัดกิจกรรมและสภาพแวดลอมใหเอื้ออํานวย พรอม ๆ กับการปองกัน
และขจดั อุปสรรคดังที่กลาวมาแลว
4. ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical thinking) การคิดอยางมีวิจารณญาณ คือ
ความสามารถในการสรา งและประเมินขอ สรุปจากหลกั ฐานหรือสภาวการณใดไดอยางถูกตองตามความ
เปนจริง มอี งคประกอบ 4 อยางดงั นี้
4.1 ทักษะเบ้ืองตนสําหรับใชเปนเครื่องมือในการคิด ไดแก ความสามารถในการสังเกต
ความสามารถในการคน หารูปแบบและ การสรปุ สาระสาํ คญั และการประเมินขอสรุปบนพื้นฐานจากการ
สังเกต
4.2 ความรูเฉพาะเก่ียวกับส่ิงที่ตองคิด ไดแก ความรูเก่ียวกับเน้ือหาสาระ หลักฐาน หรือ
สถานท่ีเกี่ยวของ เชน เม่ือตองตัดสินใจวาจะเช่ือหรือไมเช่ือในเรื่องใด ตองหาเหตุผล หลักฐานตาง ๆ
ประกอบการตัดสนิ ใจ
4.3 การรคู ดิ ไดแ ก รกู ระบวนการรูคดิ ของตนและควบคุมใหปฏบิ ัตติ ามกระบวนการคิดน้ัน
เชน ตอ งจดจอ ใครค รวญ พิจารณาตามหลักเหตุผล เปน ตน
4.4 แรงจูงใจ หมายถึง พลังท่ีใชในการคิด ซึ่งเกิดจากความตองการหรือปรารถนาที่จะคิด
อยางมวี จิ ารณญาณ แรงจงู ใจในการคิดจะกําหนดเจตคติ และนิสัยในการคิดของบุคคลน้ัน ๆ ทําใหเช่ือ
หรอื ไมเช่อื ในเรื่องใดเรื่องหน่งึ
กิจกรรมทา ยบท
1. จงอธบิ ายถงึ ทักษะชีวติ ในขอใดท่ผี ูเรียนเคยนําไปใชใ นชวี ิตประจําวนั อยา งนอย
3 ทกั ษะพรอมยกตวั อยา งประกอบ
2. ใหผูเรียนแบง กลุมอภปิ รายทกั ษะชวี ติ ท่ีมคี วามจําเปนในการดาํ เนนิ ชีวิตประจําวนั
มากที่สดุ และนาํ เสนอในกลมุ
126
บทที่ 9
อาชพี กับงานบรกิ ารดา นสุขภาพ
ความหมายงานบรกิ ารดานสขุ ภาพ
ในปจจุบันคนเรามีการดแู ลสุขภาพของตนเองกันมากข้ึน โดยใหความสําคัญตอตัวเองเพ่ิมเติม
จากปจจัย 4 ท่ีตองใหความสําคัญอยูแลว จึงเกิดธุรกิจงานบริการดานสุขภาพเพ่ือตอบสนองตอ
ความตอ งการของทกุ ๆ คน ซึ่งมหี ลายประเภท เชน การนวดแผนไทย การทําสปา การฝกโยคะ การเตน
แอโรบิค และการลีลาศเพือ่ สุขภาพ เปนตน ในท่นี จี้ ะขอยกตวั อยางเชน การนวดแผนไทย เพื่อเปนลูทาง
ไปสูการประกอบอาชีพกับงานบริการดานสุขภาพไดตอไป
การนวดแผนไทย
การนวดแผนไทย เปน ภูมิปญญาอนั ลาํ้ คาของคนไทยท่ีสั่งสมและสืบทอดมาแตโบราณ คนไทย
เรียนรูวิธีการชวยเหลือกันเองเมื่อปวดเม่ือย เจ็บปวย รูจักการผอนคลายกลามเน้ือดวยการบีบ นวด
ยดื เหยียด ดัดดึงตนเอง หรือรูไวชวยเหลือผูอ่ืน การนวดเปนการชวยเหลือเกื้อกูลที่อบอุนเริ่มจากคน
ในครอบครัวดว ยสอ่ื สมั ผัสแหง ความรักและความเอื้ออาทร ถา ยทอดความรูจากการสั่งสมประสบการณ
จากคนรุน หน่ึงไปยังอีกรุนหนึ่ง จนกระทั่งมีหลักในการปฏิบัติและมีวิธีการท่ีเปนเอกลักษณเฉพาะตัว
และการนวดเปนศิลปะของการสัมผัสท่ีสรางความรูสึกอบอุน ผอนคลายความเม่ือยลา ทําใหเรารูสึก
สดชื่นท้งั รา งกายและจติ ใจ การนวดแผนไทยจงึ เปน ทั้งศาสตรและศลิ ปท ่ีมีพฒั นาการมาเปนลาํ ดับ แมว า
ความเจริญกาวหนา ทางเทคโนโลยอี นั ทนั สมัยของการแพทยแ ผนปจ จุบัน จะมีบทบาทสําคัญในการดูแล
สุขภาพของคนทั่วโลก แตหลายคนก็ยังเสาะแสวงหาทางเลือกอ่ืน ในการดูแลสุขภาพของตนเอง
ดว ยเหตุผลแตกตา งกัน การนวดแผนไทย เปนอีกทางเลอื กหนง่ึ สําหรับการดูแลสุขภาพ และไดรับความ
127
นิยมมากข้นึ เรอื่ ย ๆ เนือ่ งจาก ปจ จบุ นั มีการใชย าแกป วด และยากลอมประสาทหลายชนดิ และมผี ลแทรก
ซอนจาก ยาแกปวดบางชนิดคอนขางรุนแรง เชน ทําใหป วดทอง เกดิ แผลในกระเพาะอาหาร อาเจียนเปน
เลือด เปนตน
ประวตั ิการนวดแผนไทย
ในสมัยโบราณนั้น ความรูเกี่ยวกับการแพทยและการนวดของไทย จะสั่งสอนสืบตอกันมา
เปนทอด ๆ โดยครูจะรับศษิ ยไว แลวคอยสั่งคอยสอนใหจดจําความรูตาง ๆ ซ่ึงความรู ท่ีสืบทอดกันมานั้น
อาจเพิ่มขน้ึ สญู หาย หรอื ผดิ แปลกไปบา ง ตามความสามารถของครู และศษิ ยท สี่ ืบทอดกันมา
ในสมยั กรุงศรีอยธุ ยา รชั สมัยของ สมเดจ็ พระนารายณมหาราช การแพทยแ ผนไทย เจริญรุงเรือง
มาก โดยเฉพาะอยางยิ่งการนวดแผนไทย ปรากฏในทําเนียบศักดินาขาราชการฝายทหาร และพลเรือน
ทรงโปรดใหมีการแตงต้ังกรมหมอนวด ใหบรรดาศักด์ิเปนปลัดฝายขวา มีศักดินา 300 ไร ฝายซายมี
ศักดินา 400 ไร หลักฐานอกี ประการหน่ึงจากจดหมายเหตุของราชฑูตลาลูแบร ประเทศฝร่ังเศส บันทึก
เร่ืองหมอนวดในแผนดินสยาม มีความวา "ในกรุงสยามนั้น ถามีใครปวยไขลง ก็จะเร่ิมทําเสนสายยืด
โดยผูช ํานาญทางน้ี ข้ึนไปบนรางกายคนไขแ ลว ใชเทา เหยยี บ"
ในสมัยรัตนโกสินทร การแพทยแผนไทยไดสืบทอดมาจากสมัยอยุธยา แตเอกสารและวิชา
ความรูบางสว น สญู หายไปในชว งภาวะสงคราม ท้ังยงั ถูกจบั เปนเชลยสว นหน่ึง เหลือเพียงหมอพระท่ีอยู
ตามหัวเมือง พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ทรงโปรดใหระดมปนรูปฤาษีดัดตน 80 ทา และ
จารกึ สรรพวิชาการนวดไทย ลงบนแผนหินออน 60 ภาพ แสดงจุดนวดตาง ๆ อยางละเอียด ประดับบน
ผนังศาลาราย และบนเสาภายในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธ์ิ) เพ่ือใหประชาชนไดศึกษา
โดยทั่วกัน
ตอ มาใน พ.ศ.2375 ในรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกลาเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ
ใหบูรณะวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธ์ิ) ใหม ทรงให หลอรูปฤษีดัดตนเปนโลหะ มีการ
ปรบั ปรุงตํารายาสมุนไพร จารึกไวรอบอาราม และทรงใหรวบรวมตําราการนวด และตําราการแพทย
จารกึ ในวดั โพธ์ิ เพอื่ เผยแพรใหป ระชาชนทว่ั ไปศกึ ษา และนําความรูไปใชใ หเกดิ ประโยชนตอไป
ใน พ.ศ. 2397 สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว มีการชําระตําราการนวดไทยและ
การแพทยไทยเรียกวา “ตําราแพทยหลวง” หรือ แพทยในราชสํานัก และทรงโปรดใหหมอนวดและ
หมอยา ถวายการรักษาความเจ็บปว ยยามทรงพระประชวร แมเ สด็จประพาสแหงใด ตอ งมีหมอนวดถวาย
งานทกุ คร้ัง
128
ใน พ.ศ. 2499 สมัยพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา เจา อยูหัว ทรงโปรดเกลาฯใหแพทยหลวงทํา
การสังคายนา และแปลตาํ ราแพทยจ าก ภาษาบาลี และสันสกฤตเปนภาษาไทย เรียกวาตําราแพทยศาสตร
สงเคราะห (ฉบับหลวง)
ตอมาเม่ือการแพทยแผนตะวันตกเขามาในสังคมไทย การนวด จึงหมดบทบาทจากราชสํานัก
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว และมาฟนฟูอีกครั้งในสมัยรัชกาลปจจุบัน เมื่อมีการ
จัดต้ังอายุรเวชวิทยาลัย (วิทยาลัยสําหรับการแพทยแผนไทย) สวนการนวดกันเองแบบชาวบานยังคง
สบื ทอดตอ กันมาจากบรรพบุรษุ จนถึงปจจุบัน
แบบของการนวดแผนไทย
การนวดแผนไทยแบง ออกเปน 2 แบบ ไดแ ก
1. การนวดแบบราชสํานัก เปนการนวดเพ่ือถวายพระมหากษัตริย และเจานายชั้นสูง
ในราชสํานัก การนวดประเภทนี้จึงใชเฉพาะมือ นิ้วหัวแมมือ และปลายน้ิว เพ่ือที่ผูนวดจะไดสัมผัส
รางกายของผูรับการนวดใหนอยท่ีสุด และทวงทาที่ใชในการนวดมีความสุภาพเรียบรอย มีขอกําหนด
ในการเรียนมากมาย ผูที่เช่ียวชาญทางวิชาชีพดานนี้ จะไดทํางานอยูในรั้วในวังเปนหมอหลวง
มีเงินเดือนมยี ศมตี าํ แหนง
2. การนวดแบบทั่วไป (แบบเชลยศักด์ิ) หรือเรียกกันทั่วไปวา "จับเสน" เปนการนวดของ
สามญั ชนเพือ่ ผอนคลายกลามเน้ือ และชวยการไหวเวียนของโลหิต โดยใชมือนวดรวมกับอวัยวะอื่น ๆ
เชน ศอก เขา และเทา ดว ยทาทางทวั่ ไปไมมีแบบแผน หรือพธิ รี ตี องในการนวดมากนัก นับเปนการนวด
ซึ่งเปนทร่ี จู ักกันอยางแพรห ลายในสงั คมไทย
129
ประเภทของการนวดแผนไทย
การนวดแผนไทย ทาํ ใหสขุ ภาพดี ผอนคลาย ซ่ึงแบง ออกไดหลายประเภท ไดแก
1. นวดนาํ้ มนั
การนวดรา งกายโดยใชนา้ํ มันท่สี กัดจากธรรมชาติทบ่ี ริสุทธ์ิ ท่ีมีกล่ินหอมจากธรรมชาติ ชวยให
สดชืน่ ผอนคลาย และคลายเครียด ดวยกลิ่นหอม เฉพาะทางท่ีใชในการบําบัดอาการใหเบาบางลง เชน
อาการนอนไมหลับ อาการเครียด หดหู นอกจากนี้น้ํามันบริสุทธิ์ยังชวยบํารุงผิว และกระชับรูปราง
ทําใหกลามเนื้อไมหยอนยาน สลายไขมันตามรางกาย ความรอนของน้ํามันที่เกิดจากการนวด
จะซมึ ซาบ ลกึ เขา ไปผิวหนังและกลามเนือ้ ชว ยใหร ูสกึ เบาสบายตัว
2. นวดผอ นคลาย
การนวดผอนคลาย เปนการนวดท่ีถกู สุขลกั ษณะตามแบบแผนไทยโบราณ ซ่ึงสงผลโดยตรงตอ
รางกายและจิตใจ ทําใหเกิดการไหลเวียนของเลือดลม คลายกลามเน้ือท่ีลา รักษาอาการปวดเม่ือย
ตามรา งกาย คลายเครยี ด เคล็ดขัดยอก ชว ยใหส ขุ ภาพกระปรก้ี ระเปรา จิตใจผอ นคลาย
3. นวดฝา เทา
การนวดฝา เทา นวดเทา เปน การปรับสมดุลในรางกาย ชวยใหระบบการไหวเวียนไปยังอวัยวะ
ตา ง ๆ ภายในรา งกายไดดขี ้นึ สงผลใหม ีการขับถา ยของเสียออกจากเซลล ปรับสภาวะสมดุลของรางกาย
ทําใหส ุขภาพโดยรวมดขี ึน้
4. นวดสปอรท
การออกกําลังกายอยางหักโหมจนเกินไป อาจทําใหเกิดอาการเกร็งของกลามเนื้อเฉพาะสวน
หรอื อาการลา การนวดสปอรต จึงเปน การนวดคลายกลามเนื้อดงั กลาว ชว ยใหกลา มเนอ้ื ผอนคลาย
130
5. นวดจบั เสน
การนวดเพ่ือบาํ บดั อาการปวดเมือ่ ยเฉพาะจดุ หรือตามขอ ตอ การยึดติดของพังผืดของรางกายให
ทุเลา ผอ นคลาย โดยการใชน าํ้ หนกั กดลงตลอดลําเสน ท่กี ระหวดั ไปตามอวยั วะตา ง ๆ การนวดชนดิ นต้ี อง
อาศัยความเชยี่ วชาญของผูนวด ซงึ่ ไดท าํ การนวดมานาน และสังเกตถงึ ปฏิกริ ยิ าของแรงกดที่แลนไปตาม
อวยั วะตาง ๆ
6. นวดสลายไขมัน – อโรมา
เปนการนวดนาํ้ มัน เพ่อื ผอนคลายกลา มเนือ้ ทุกสวนของรางกาย
7. นวด – ประคบ
เปนการใชล ูกประคบสมนุ ไพร โดยการนําเอาสมุนไพรทั้งสดหรือแหงหลาย ๆ ชนิด โขลกพอ
แหลกและคลกุ รวมกัน หอ ดวยผา ทาํ เปนลูกประคบ จากนั้นน่ึงดวยไอความรอน แลวนําไปประคบตาม
รางกาย เพื่อผอ นคลายกลามเนือ้ ทต่ี ึงหรือเครียดใหส บาย
8. นวด – ไมเกรน
เปน การนวดเพ่ือแกอาการปวดศีรษะ โดยจะกดจดุ บริเวณศรี ษะที่ปวด
วิธกี ารนวดแผนไทย
วิธีการนวดแผนไทยทีถ่ กู ตอ ง จะทาํ ใหผนู วดไมเ หนอ่ื ย และการนวดก็ไดผ ลเตม็ ท่ี มคี วามสะดวก
และปลอดภัย สง ผลทําใหผูถูกนวดมีสุขภาพดี ผอนคลายความตึงเครียดไดเปนอยางดี ซ่ึงแบงออกได
หลายวธิ ไี ดแ ก
1. การกด
เปนการใชน้ําหนักกดบนเสนพลังงานบนกลามเน้ือโดยใชน้ิวหัวแมมือกดนว ด
เปนวงกลม หรือใช ฝา มอื กดเปนวงกลม และกดตรงเสนพลังงาน โดยใชนํ้าหนักตัวกด น้ิวและหัวแมมือ
131
หวั เขา ฝาเทา ทาํ การกดเพอื่ ยดื เสน ทําใหกลามเนื้อคลายตัวหลอดเลือดขยายตัว การไหลเวียนของเลือด
ระบบประสาทการทํางานของอวัยวะตา ง ๆ ดขี น้ึ
2. การบีบ
เปนการใชนา้ํ หนกั บีบกลามเนอ้ื ใหเต็มฝา มอื เขาหากันโดยการออกแรง สามารถใชน้ิวหัวแมมือ
ชวยหรือการประสานมือเพ่ือเพิ่มการออกแรง เปนการเพ่ิมการหมุนเวียนของเลือด และผอนคลาย
กลา มเน้อื
3. การทุบ/ตบ/สับ
ใชมอื และกําปน ทุบ/ตบ/สบั กลา มเนื้อเบา ๆ เปนการผอนคลายการตงึ ของกลามเน้ือและใหเลือด
หมุนเวยี นดขี ึน้ และเปนการชว ยขจัดของเสยี ออกจากรางกาย
4. การคลงึ
เปนการใชนํ้าหนักกดคลึงบริเวณกลามเนื้อโดยการหมุนแขนใหกลามเนื้อเคลื่อนหรือคลึง
เปนวงกลม ใชแรงมากกวา การใชขอศอก ซึ่งใหผลในการผอนคลาย มักใชกับบริเวณที่ไวตอการสัมผัส
เชน กระดกู หรือขอตอ
5. การถู
โดยใชน า้ํ หนกั นวดถูไปมา หรอื วนไปมาเปนวงกลม บนกลา มเนอ้ื เพื่อชวยผอนคลายอาการปวด
เมื่อยเฉพาะจุด หรอื ตามขอ ตอตาง ๆ
6. การหมุน
โดยการใชมือจับและออกแรงหมุนขอตอกระดูกวนเปนวงกลม ชวยใหการเคลื่อนไหวของ
ขอตอ ทํางานดขี น้ึ ผอ นคลาย
7. การกล้ิง
เปนการใชขอ ศอกและแขนทอนลาง กดแรง ๆ ในกลา มเน้อื มดั ใหญๆ เชน ตนขา โดยใชน้ําหนัก
หมุนกล้ิง ทําใหเกิดแรงกดตอเน่ือง และเคลื่อนท่ีไปตลอดอวัยวะท่ีตองการนวด ทั้งยังเปนการยืด
กลามเนื้อดวย
8. การสัน่ /เขยา
ใชมือเขยาขาหรือแขนของผูถูกนวด เพื่อชวยทําใหการหมุนเวียนของเลือดดีข้ึน ผอนคลาย
กลามเนือ้ ไปในตวั
132
9. การบดิ
ลักษณะคลายการหมุน แตเปนการออกแรงบิดกลามเนื้อกับขอตอใหยืดขยายออกไป
ในแนวทะแยง ทาํ ใหก ลามเนอื้ ยืด เพื่อใหผ งั ผดื เสนเอ็นรอบ ๆ ขอตอยึดคลาย เคลือ่ นไหวดขี ้ึน
10. การลั่นขอตอ
เปน การออกแรงยดื ขอ ตออยา งเรว็ ทําใหเกิดเสยี งดังล่ัน เพอ่ื ใหก ารเคลอื่ นไหวของขอ ตอทํางานดี
ข้นึ
11. การยืดดดั ตวั
โดยใชฝาเทา เปนการออกแรงยืดกลามเนื้อขอตอใหยืดขยายออกไปทางยาว ชวยใหกลามเน้ือ
เสนเอ็นยืดคลายตัว
12. การหยุดการไหลเวียนของเลอื ด
ใชฝามือกดที่จุดชีพจรที่โคนขาเพ่ือหยุดการไหลเวียนของเลือดช่ัวขณะกดไวประมาณครึ่ง
ถึง 1 นาทีแลวคอย ๆ ปลอ ยชา ทาํ ใหก ารไหลเวียนของเลอื ดดีขึ้น
แหลงเรยี นรูการนวดแผนไทย
เนอ่ื งจากการนวดแผนไทยไดรับความนิยมเปนอยางมากในปจจุบัน ดังน้ัน จึงมีการนําบริการ
การนวดแผนไทยมาทาํ เปนธุรกิจควบคกู ับธรุ กจิ สปา ซงึ่ กลายเปน ธรุ กิจท่ีสรางรายไดใหแกประเทศไทย
เปน จาํ นวนมาก โดยมรี ายไดเฉลีย่ ในการดําเนนิ กจิ การการนวดแผนไทย มีรายละเอียด ดังนี้
การนวดตวั โดยเฉล่ยี 300 - 400 บาท/ 2 ชัว่ โมง
การนวดฝา เทา โดยเฉลี่ย 150 - 250 บาท/ชัว่ โมง
การนวดประคบสมุนไพร โดยเฉล่ีย 300 - 350 บาท/ 2 ช่วั โมง
การนวดนํา้ มัน โดยเฉลี่ย 600 - 800 บาท/ 2 ชั่วโมง
133
ดังน้ัน หากผูเรียนท่ีสนใจก็สามารถศึกษาฝกทักษะสรางความชํานาญนําไปสูอาชีพเปนของ
ตนเองได จากแหลง เรยี นรูตา งๆ ในชุมชน เชน
แหลง เรยี นรกู ารนวดแผนไทย เขตกรุงเทพมหานคร
1. โรงเรียนแพทยแผนโบราณวัดพระเชตุพนฯ (ทาเตียน) มีโรงเรียนในเครือ 3 สาขาเปด
ใหบริการดานการเรียน-การสอนเกี่ยวกับการนวดแผนไทยมาตั้งแตป 2505 และตอมาไดมีการเพ่ิม
หลักสูตรเรียนใหมมาจนถึงปจจุบัน 392/25-28 ซอยเพ็ญพัฒน 1 ถ.มหาราช เขตพระนคร กรุงเทพฯ
10200 โทร: 02-622-3551, 02-221-3686
2. บานนานาชาติ บานสิริรามาเพลส ถนนพัฒนาการ ระหวางซอย 48 กับ ซอย 50
เขตสวนหลวง กทม โทร.66 [0]2 722 6602 to 10
3. ศูนยอบรมเรือนไมสปาสมาคมแพทยแผนไทย สาขาพหลโยธิน 54/4 โทร.089-214-1118,
084-091-9511
4. โรงเรียนพฤษภาหัตถแผนไทย 25/8 ซอย 26, ถ.สุขุมวิท คลองตัน คลองเตย กทม 10110
โทร.66-2204-2922/3
5. โรงเรียนการนวดแผนไทย 13 หมู 12 ถนนรามคําแหง 166 แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กทม.
10510 โทร.02-917-4933 / 02-517-6818
6. ศูนยพัฒนาการแพทยแผนไทย ชลนิเวศน 530 หมูบานชลนิเวศน ซอย 9 (แยก 18) ถนน
ประชาชื่น ลาดยาวจตจุ กั ร กทม. 10900 โทร.0-2911-0543, 0-2585-0995
7. โครงการดอยนํ้าซับ 505 ซอยลาดพราว 48 แขวงสามเสนนอก เขตหวยขวาง กทม.
โทร.02-939-8167,02939-9939,02-513-9086
8. สมาคมนวดแผนโบราณไทย 138/157 หมู 4, วงคนั นายาว เขตคันนายาว กรุงเทพ
9. โรงเรียนสปาออฟสยาม 163 Thai Ocean Bld. ถ.สุริยวงศ. บางรัก กรุงเทพ
โทร.02-634-1900,081-426-5843
10. ชวี าศรม อคาเดมี่ กรุงเทพฯ ช้ัน 1 อาคารโมเดริ น ทาวน 87/104 ถ. สุขุมวิท ซอย 63 กรุงเทพ
10110 โทร. 02-711-5270-3
11. ปร๊ินเซสบวิ ตี้เซ็นเตอร สาขาสยามสแควร 194-196 ซอย 1 (สกาลา) ถ.พระราม 1 เขตปทุมวัน
กรุงเทพฯ 10330 โทร. 02-253-3681
12. เบญจ สปา 333 ซ.21 เมืองทอง 2/2 ถ.พัฒนาการ 61 เขตประเวศ กรุงเทพ 10250
โทร. 02-722-2900
134
13. สถาบนั เวชศาสตรความงามแผนไทย 111/40 หมูบา นศิริสุข ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงสีกัน
เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ 10120
14. พลอยมาลี ศนู ยฝก สาขาสมาคมแพทยแ ผนไทย(ฝก ออ มใหญ) 177(30) ซ.พหลโยธิน 24, ถ.
พหลโยธิน, แขวงจอมพล, เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900
15. โรงเรียนกรุงเทพความงามและ สปา 12/1 ถ.ลาดพราว 122 แขวงวังทองหลาง
เขตวงั ทองหลาง กรงุ เทพฯ 10310 โทร. 02-9342-690 ,02-734-3290, 086-510-5078 , 086-322-5458
แหลงเรียนรกู ารนวดแผนไทย เขตภาคกลาง
1. โรงเรียนแพทยแผนโบราณวัดพระเชตุพนฯ (ศาลายา) มีโรงเรียนในเครือ 3 สาขาเปด
ใหบริการดานการเรียน-การสอนเก่ียวกับการนวดแผนไทยมาต้ังแตป 2505 และตอมาไดมีการเพ่ิม
หลักสูตรเรยี นใหมมาจนถึงปจจบุ ัน 87 หมู 1 ถ.ศาลายา-นครชัยศรี ต.มหาสวสั ดิ์ อ.พุทธมณฑล นครปฐม
73120 โทร.034-365-001 ถึง 04
2. โรงเรียนแพทยแผนโบราณวัดพระเชตุพนฯ (วัดโพธ์ิ-แจงวัฒนะ) อาคารสายลม 50-89
ซ.ปากเกร็ด-แจงวัฒนะ 15 ถ.แจงวัฒนะ ปากเกร็ด นนทบุรี 11120 โทร. 02-962-7338 ถึง 40
โทร. 02-962-7338 ถงึ 40 โทร. 053-410-360 5 ถงึ 1
3. สมาคมแพทยแ ผนไทย ศูนยฝก อาชพี ต. คลองสาม อ. คลองหลวง จ. ปทมุ ธานี
4. สถานนวดแผนโบราณ (หมอธนู) คลองหนึ่ง คลองหลวง จังหวัดปทมุ ธานี
5. สวนนานาชาติ อาณาจักรแหงการพักผอนที่เพียบพรอมไปดวยการนวดในแบบตาง ๆ
ตลอดจนการปฏิบัติเพื่อการ บําบัดรักษาโรค เวลาเพียง 1 หรือ 2 ชั่วโมง กับผูชํานาญการดานการนวด
ที่มีคุณภาพและมากดวยประสบการณ 36/12 หมูที่ 4 ต.หนองบัว อ. เมือง จ.กาญจนบุรี 71190
โทร . 081-9080-201, 081-6999-052, 034-633-356
6. พลอยมาลี ศูนยฝกสาขา สมาคมแพทยแผนไทย (ฝกออมใหญ) 47/78 ม.นิศาชล
ถ.เพชรเกษม ต.ออ มใหญ อ.สามพราน จ.นครปฐม 73160
7. โรงเรยี นสขุ ภาพเชตวัน 87 หมู 1 ศาลายา-นครชัยศรี ต.มหาสวัสดิ์ อ.พุทธมณฑล นครปฐม
73170 โทร. 034-365-001 ถึง 4
8. กลมุ พฒั นาอาชพี นวดแผนไทยวัดเสาธงทอง ต. เกาะเกร็ด อ. ปากเกรด็ จ. นนทบุรี
9. สถาบันอบรมคลินิก หมอนภา การแพทยแผนไทย: 89/59 ซอยภูมิเวท 4 ปากเกร็ด
ต.ปากเกร็ด อ. ปากเกรด็ นนทบุรี 11120 โทร. 081-8683-888, 02-583-3377, 083-4391-414
10. โรงเรียนอนันตสุขนวดแผนไทย23/3-4 หมู 3 ถ.คลองมะขามเรียง ต.หอรัตนไชย
อ.พระนครศรอี ยุธยา จ.พระนครศรอี ยธุ ยา 13000 โทร. 035-244-696, 086-126-0008
135
แหลงเรียนรกู ารนวดแผนไทย เขตภาคเหนอื
1. โรงเรียนแพทยแผนโบราณวัดพระเชตุพนฯ (เชียงใหม) มีโรงเรียนในเครือ 3 สาขาเปด
ใหบริการดานการเรียน-การสอนเกี่ยวกับการนวดแผนไทยมาต้ังแตป 2505 และตอมาไดมีการเพ่ิม
หลกั สตู รเรยี นใหมมาจนถงึ ปจจบุ นั 7/1-2 ซอยหลังรา นสมดุ ลานนา ถ. ประชาอทุ ิศ ต.ชางเผอื ก อ.เมอื ง
จ. เชียงใหม โทร. 053-410-360 ถงึ 1
2. โรงเรียน ไอทีเอ็ม นวดไทยโบราณ 17/6-7 มรกต ตําบลชางเผือก อําเภอเมืองเชียงใหม
เชียงใหม 50300 โทร. 053-218-632
3. โรงเรยี นอาทิตยน วดแผนไทย 159/2 ซอย 4 แกวนวรัตน ตําบลวัดเกต อําเภอเมือง เชียงใหม
โทร. 053-262-574
4. โรงเรียนลานนานวดแผนไทย 47 ถนนชาง มอ ยเกา ซอย 3 ตาํ บลชา งมอย อําเภอเมือง จังหวัด
เชียงใหม 50300 โทร. 053-232-547
แหลง เรยี นรกู ารนวดแผนไทยการนวดแผนไทย เขตตะวนั ออก
1. กศน. อําเภอบางปะกง จังหวดั ฉะเชิงเทรา โทร. 038-531-310
2. กศน. อําเภอสนามชัยเขต จงั หวดั ฉะเชิงเทรา โทร. 038-597-011
3. วารีปุระ มาสสาจ แอนด สปา 52 หมู 9 ตําบลบางพระ อําเภอศรีราชา จ.ชลบุรี 20110
โทร. 038-312-581
4. เรียนพัฒนาการนวดแผนไทย พัทยา 437/48-50 ถนน พัทยาสาย 2 ซอยยศศักดิ์ (ซอย 6)
อ.บางละมงุ จ.ชลบรุ ี 20150 โทร. 038-414-115 5 ถงึ 6
แหลง เรียนรกู ารนวดแผนไทยการนวดแผนไทย เขตภาคตะวันออกเฉียงเหนอื
1. กลมุ นวดแผนไทยเพือ่ สุขภาพ บา นดาวเรือง ต.สองหอง อ. เมือง จ. หนองคาย 41300 โทร.
089-6213-512
2. วทิ ยาลยั ชุมชนหนองบวั ลาํ ภู ต.ดานชาง อ.นากลาง จ.หนองบัวลําภู
3. ศูนยส าธติ นวดแผนไทย สาํ นักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี โทร. 042-223-356 ตอ 611
หรือโทร 042-249-692
4. กลุมแพทยแผนไทย ตําบลนาพนิ อ.ตระการพชื ผล จ.อบุ ลราชธานี 34130 โทร 08-7908-2733,
08-7958-4209
แหลงเรียนรูการนวดแผนไทยการนวดแผนไทย เขตภาคใต
สุโข สปา วัฒนธรรมและสุขภาพ รีสอรท 5/10 หมู 3 ถ.เจาฟา ต.วิจิตร Vichit, อ.เมือง, ภูเก็ต
83000 โทร. 076-26 3-222
136
ธุรกิจนวดแผนไทย
ในปจจุบัน ปญหาเมื่อยขบ อาการปวดตามรางกาย หรืออาการเครียด มักจะเกิดข้ึนกับหลาย ๆ
คนโดยเฉพาะเมอื่ มีอายุมากขน้ึ สาเหตุมาจากหลายปจจัย เชน ปวดเมื่อยจากการนั่งทํางานนาน ๆ คอตก
หมอน หรือเครียดจากปญหาเศรษฐกิจ สิ่งเหลานี้ทําใหมีผูที่มีความตองการใชบริการนวดมากข้ึน
ซึ่งความนิยมการนวดไมจํากัดอยูเฉพาะแคชาวไทย หากแตขยายตัวออกไปในหมูชาวตางชาติดวย
โดยเฉพาะในกลุมอาเซียน ดังนั้น ธุรกิจนวดแผนไทย จึงเกิดขึ้นเพ่ือตอบสนองความตองการ
การประกอบธุรกิจน้ีจึงเปน ทางเลือกหนงึ่ ของผูท ่ีตองการประกอบธุรกิจของตนเอง แตก อ นทีจ่ ะเริม่ ตน ลง
มอื ทํา ผูประกอบการควรศึกษาและทําความเขาใจในธุรกิจน้ีใหล กึ ซึง้ เสียกอ น ผูท ่ีสนใจทาํ ธรุ กจิ นวดแผน
ไทย ควรมศี กั ยภาพและคุณสมบัตพิ ้ืนฐาน ดงั นี้
1. มใี จรักในการใหบรกิ าร เน่ืองจากวาการนวดแผนไทย เปนธรุ กจิ บริการ ผปู ระกอบการจึงตอง
มใี จรักการใหบ ริการ มคี วามซ่อื สตั ย จรงิ ใจ สภุ าพ พดู จาไพเราะ มมี นษุ ยสมั พันธท ดี่ ี
2. มีสุขภาพกาย สุขภาพใจทีด่ อี ยูเสมอ หมัน่ ออกกาํ ลงั กายใหแ ข็งแรง หากมีอาการไขหรือรูสึก
ไมส บาย ไมควรทาํ การนวด เพราะนอกจากจะไมไดผลดีแลว ยังอาจแพรโ รคใหก บั ผูถ กู นวดได
3. มีศีลธรรม และมีสัมมาอาชีวะ การนวดเปนการบริการแบบตัวตอตัว โอกาสใกลชิดและ
สัมผัสรางกายลกู คา มีอยตู ลอดเวลา ดังน้นั ผปู ระกอบอาชีพน้ีจึงตอ งใหก ารนวดเปนไปดวยความบริสุทธ์ิ
ใจ มศี ีลธรรม คือ
ไมด่ืมสุรา ไมดื่มสุรา ท้ังกอนและหลังการนวด เพราะอาจจะควบคุมตัวเองไมได
และอาจทาํ ใหการนวดไมไดผ ลเทา ท่ีควร
137
ไมเ จา ชู โดยไมแสดงกิริยาลวนลาม หรือใชคําพูดแทะโลมผูถูกนวดหรือคนไขที่เปนผูหญิง
กรณีผูนวดเปน ผชู ายหรือถา ผูนวดเปนผูหญิงก็ไมควรแสดงกิริยาชี้ชวนผูถูกนวดในเร่ืองท่ีไมเหมาะสม
โดยเฉพาะเรอื่ งที่เกี่ยวกับเพศสมั พนั ธ ตองนวดดว ยความสุภาพเรียบรอย พูดคุยแคพ อสมควร
ไมพดู จาหลอกลวง หมายถงึ ไมเ ล้ยี งไขหรอื ลอ ลวงใหผูถูกนวดกลบั มาอีกคร้งั ก็ตามถาเห็นวา
ไมไดผลก็ควรบอกไปตามตรง และแนะนําใหผูปวยไปรับการรักษาโดยวิธีอื่น มิใชลอลวงเพื่อหวัง
ผลประโยชน เงินทอง ลาภยศสรรเสริญ
ผูน วดไมควรนวดในสถานที่ อโคจร หรอื สถานท่ีทไ่ี มเ หมาะสม เชน สถานท่ีคาประเวณี โรง
นา้ํ ชา บอ นการพนัน เปนตน
4. ควรมีพื้นฐานความรูดานการนวดแผนไทย หรือผานการฝกอบรมจากสถานฝกอบรม
อยางนอย 30 – 75 ชม. หรือ 15 – 45 วัน เพราะพ้ืนฐานดังกลาว จะทําใหผูประกอบการมีความเขาใจ
ในธรุ กิจนี้อยา งถองแท
5. มีทาํ เลที่เหมาะสม มองเหน็ ไดงาย ชัดเจน การคมนาคมสะดวก เพราะธุรกิจน้ีหากมีทําเลที่ดี
กถ็ อื วาประสบความสําเร็จไปแลวสวนหน่ึง
การประกอบการ
กอนเปด การนวดแผนไทย นนั้ ผูประกอบการจําเปนตองตดิ ตอหนวยงานตา ง ๆ ดงั นี้
กรมพัฒนาธุรกิจการคา เพื่อจดทะเบียนจัดต้ังธุรกิจ โดยทั่วไปธุรกิจบริการจะไดรับการ
ยกเวนไมตองจดทะเบียนพาณิชย แตถาขายสินคาอ่ืนรวมดวยตองจดทะเบียน โดยสามารถศึกษา
รายละเอียดขออนญุ าตไดท ี่ www.ismed.or.th หรอื ท่ี www.thairegistration.com
กรมสรรพากร เพื่อดําเนินการทางภาษีการจดทะเบียน และภาษีมูลคาเพ่ิม โดยศึกษาจาก
www.rd.go.th
กระทรวงสาธารณสุข เพ่ือจดทะเบียนและรับใบอนุญาตเปนผูประกอบโรคศิลปะ ทั้งนี้
หากเปน การนวดเพ่ือบาํ บัด วนิ จิ ฉยั โรค หรอื ฟน ฟูสมรรถภาพ ตาม พ.ร.บ. การประกอบโรคศลิ ปะ พ.ศ.2542
ผูทําการนวดตองข้ึนทะเบยี นและรับใบอนุญาต สาขาการแพทยแผนไทยหรือเวชกรรมโบราณ
จากคณะกรรมการวิชาชีพกอน และตองดําเนินการในสถานพยาบาลท่ีไดรับใบอนุญาตแลวเทานั้น
แตห ากเปน การนวดเพื่อบรรเทาอาการปวดเม่อื ย ไมใ ชเพ่ือการรกั ษาโรค ผทู ี่ทําการนวดไมจ ําเปนตองข้ึน
ทะเบียนและรับใบอนุญาตผูประกอบการโรคศิลปะ ผูประกอบการสามารถย่ืนคําขอไดที่กองการ
ประกอบโรคศลิ ปะ สาํ นักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข หรือในตางจังหวัดยื่นที่สํานักงานสาธารณสุข
อาํ เภอ หรือสํานักงานสาธารณสุขจงั หวดั แมธ ุรกิจการนวดจะเปนอาชีพใหบริการ แตก็เปนอาชีพท่ีตอง
ใชค วามรบั ผดิ ชอบสูงเชนกัน
138
โทษทางกฎหมาย
มีบทลงโทษทางกฎหมายหากผูนวดกระทําการนวดแบบการรักษาโรค แตไมมีใบอนุญาต
ประกอบโรคศิลปะ ซ่งึ จะมคี วามผดิ จําคุกไมเ กนิ 3 ป ปรบั ไมเ กิน 30,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ และแม
จะไมไ ดน วดแตข ้ึนปา ยโฆษณาวา เปน การนวดรักษาโรคโดยไมม ีใบอนุญาตกม็ ีความผิด คือ มีโทษจําคุก
ไมเกิน 2 ป ปรับไมเกิน 40,000 บาท หรือท้ังจําท้ังปรับ ตามกฎหมายผูนวดตองรับผิดชอบ หากเกิด
อนั ตรายแกผถู ูกนวด ดงั นี้หากทาํ ใหผูอน่ื เกดิ อนั ตรายแกรางกาย จิตใจ มีความผิดตามประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา 295 จําคุกไมเกนิ 2 ป ปรับไมเ กิน 4,000 บาท หรือทัง้ จําทั้งปรับ หากผูถูกนวดเปนอันตราย
สาหสั ดังนค้ี อื ตาบอด หหู นวก ลิน้ ขาด เสียความสามารถท่มี า นประสาท อวยั วะสืบพันธุ ใบหนา แทงลูก
จิตพกิ ารติดตัว ทุพพลภาพหรอื เจบ็ ปว ยเรื้อรังตลอดชีวิต หรอื ไมส ามารถประกอบกจิ ตามปกติเกินกวา 20
วนั ตอ งโทษจําคกุ 6 เดอื นถึง 10 ป หากกระทําโดยประมาท เชน นวดแลวเกิดอันตรายสาหัส ตองโทษ
จําคุกไมเ กิน 3 ป หรอื ปรับไมเ กิน 6,000 บาท หรือทั้งจําท้ังปรับ หากนวดผูปวยแลวทําใหเสียชีวิตถือวา
กระทําการโดยประมาท ตอ งโทษจําคกุ ไมเกิน 10 ป ปรับไมเ กนิ 20,000 บาท
ปจ จยั ท่ีทาํ ใหธ รุ กิจนวดแผนไทยประสบความสาํ เร็จ
1. ตองซื่อสตั ยกับลูกคา ตอตวั เองและพนักงาน
2. สรา งจติ สาํ นกึ ทด่ี ีดานการบรกิ ารลกู คาใหแ กพนกั งาน เชน การสวัสดีเมอ่ื มลี ูกคา เขา รา น
การทักทายอยางเปนมิตร
3. รักษาการบริการใหไดมาตรฐานคงท่ี โดยใหบริการนวดครบทุกข้ันตอนและตามเวลาที่
กาํ หนด
4. ทาํ เลทีต่ ง้ั เหมาะสม ใกลกลมุ ลกู คา เปา หมาย คา เชาสถานที่ไมแ พงจนเกนิ ไป
5. มีการรักษาความสะอาดของสถานท่ี ความสะอาดอุปกรณการนวด และความสะอาดของ
พนกั งานใหด ูดีตลอดเวลา
กจิ กรรมทายบท
1. ใหผูเรยี นเขยี นอธิบายประวตั ิของการนวดแผนไทยมาพอสังเขป
2. ใหผ เู รยี นอธิบายประเภทของการนวดแผนไทยมีก่ีประเภทอะไรบา ง
3. ใหผ ูเ รียนอธิบายวิธกี ารนวดแผนไทยแบบตา งๆ มาพอเขา ใจ
4. ใหผเู รยี นบอกแหลง ขอมูลการเรียนรูการนวดแผนไทยมา 4 - 5 แหง
139
บรรณานุกรม
วิภาวดี ลีม้ ิ่งสวสั ดิแ์ ละจินตนา ไมเจรญิ . (2547). หนงั สอื เรยี นสาระการเรยี นรูพื้นฐาน กลุมสาระ
การเรยี นรูส ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา สุขศกึ ษา. กรุงเทพฯ : บรษิ ัทสํานักพมิ พแมค็ จาํ กดั
วีณา เลศิ วิไลกลุ นท.ี (2551). หมวดวิชาพฒั นาทกั ษะชีวติ ระดับประถมศกึ ษา
กรงุ เทพฯ : บรษิ ัทนวตสาร จํากดั
วุฒชิ ยั อนันคูและคณะ. (2548). หมวดวิชาพฒั นาทกั ษะชีวติ ระดบั ประถมศกึ ษา กรุงเทพฯ :
บริษทั สาํ นักพิมพบรรณกิจ 1991 จํากดั
สวุ ัฒน แกว สงั ขท อง. (2547). หมวดวชิ าพฒั นาทกั ษะชวี ิต ระดบั ประถมศึกษา นนทบุรี :
บรษิ ทั ปย มิตร มัลติมีเดีย จาํ กดั
การศึกษาทางไกล,สถาบัน.(2551) ชดุ การเรียนทางไกล หมวดวชิ าพฒั นาทกั ษะชีวิต 1 ระดบั
มัธยมศึกษาตอนตน กรุงเทพฯ : โรงพิมพ สกสค.ลาดพราว
โรดติดตอ http://www.siamhealth.net วนั ท่ี 9 กนั ยายน 2552
รศ.นพ.สุรเกียรติ อาชานานภุ าพ (2544) คูมอื หมอชาวบา น สํานักพมิ พหมอชาวบาน กรุงเทพฯ
นิภา แกว ศรงี าม “ความคดิ ริเร่ิมสรางสรรค (Creative Thinking)”
http://www.geocities.com/phichitnfc/KN2.htm วันที่ 14 กนั ยายน 2552
การคดิ อยางมวี จิ ารญาณ : Critical Thinking http://www.swuaa.com/webnew/ วนั ที่ 14 กันยายน 2552
การตัดสนิ ใจ http://www.radompon.com/resourcecenter/?q=node/41 วันท่ี 14 กันยายน 2552
กระบวนการแกปญ หา (problem solving process) http://toeyswu.multiply.com/journal/item/6
วนั ท่ี 14 กนั ยายน 2552
นพ. สุริยเดว ทรีปาต.ี “พัฒนาการและการปรบั ตวั ในวยั รุน ”
http://www.dekplus.org/update/index.html
เยาวเรศ นาคแจง . “ข้ันตอนการระงบั กล่ินกาย.” ใกลห มอ ปท ่ี 26 ฉบับท่ี 12 (ธ.ค. 2545 -ม.ค.
2546) : 92-93
www.teenpath.net
siriraj e public library ภาควชิ าจติ เวชศาสตร คณะแพทยศาสตรศริ ิราชพยาบาล
คูมือคุยเปดใจ รกั ปลอดภัย เพ่อื การส่ือสารเรื่องเพศอยา งสรางสรรคร ะหวางพอ แมแ ละบุตรหลานใน
ครอบครวั โดย โครงการคุยเปด ใจ รักปลอดภัย
140
วันทนีย วาสิกะสนิ และคณะ. ๒๕๓๗. ความรูท่ัวไปเกี่ยวกบั เพศศกึ ษา. กรงุ เทพฯ:
สํานักพมิ พม หาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร, หนา ๕๗–๗๔
โครงการปองกันเอดสบางซื่อ มลู นิธิศภุ นิมติ แหงประเทศไทย. ๒๕๓๙. จดุ ประกาย BAPP.
กรงุ เทพฯ: ศนู ยการพิมพอ าคเนย, หนา ๕๗-๗๐.
รา งกายมนษุ ย สง่ิ มีชวี ติ มหศั จรรย. กรงุ เทพฯ: สํานกั พมิ พธ งสฟี า. มปพ.
วราวุธ สุมาวงศ. เกรด็ จากลวมยาชดุ คลนิ ิกผหู ญงิ . กรุงเทพฯ: สาํ นักพิมพพ ิมพทอง, มปพ.
ใครวา ..การตรวจสอบการต้ังครรภไมสาํ คญั . ฟารมานิวส. ปท ่ี ๒ ฉ.๔, ๒๕๔๑. หนา ๔.
The New Our Bodies, Ourselves: A Book by and for Women. The Boston Women’s Health
Book Collective, New York: A Touchstone Book, 1992.
The Good Housekeeping. The Good Housekeeping illustrated Guide to Women's Health.
Kathryn Cox, Editor. New York: Hearst Books, 1995.
Grace Chin. Menstrual Myths and Taboos. The Star vol. 4, No. 12 : 4, December 1997.
นวพล ใจดี : คมู ืออบรมเชงิ ปฏิบัติการ เทคนิคการนวดไทยแบบเชลยศักดิ์ ,2553. สํานักพิมพ ฮับเฮลท
เมดิซนิ . กรุงเทพมหานคร
ปรียานชุ วงษต าแพง : อบ อบ นวด, 2553, สาํ นกั พมิ พ ธิงค กดู . กรุงเทพมหานคร
นวดแผนไทย http : //www.xn--13 cgebo 2b 4a 7q3a.com/
ธรุ กิจนวดแผนไทย http : //www.prathyecity.com/N_panThai.doc
ธุรกจิ นวดแผนไทย http : //www.women.sanook.com/800197/
ธรุ กจิ นวดแผนไทย http : //www.library.dip.go.th/multim/edoc/09490.pdf
141
ท่ีปรึกษา บญุ เรือง คณะผจู ัดทาํ
1. นายประเสรฐิ อิ่มสุวรรณ
2. ดร.ชยั ยศ จาํ ป เลขาธกิ าร กศน.
3. นายวชั รินทร แกว ไทรฮะ รองเลขาธกิ าร กศน.
4. ดร.ทองอยู ตณั ฑวฑุ โฒ รองเลขาธกิ าร กศน.
5. นางรักขณา ทปี่ รกึ ษาดานการพัฒนาหลักสตู ร กศน.
ผอู าํ นวยการกลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
ผูเขยี นและเรยี บเรยี ง สถาบัน กศน. ภาคใต
1. นายมณเฑยี ร ละงู
ผูบรรณาธกิ าร และพฒั นาปรับปรงุ หนวยศกึ ษานิเทศก
1. นางนวลพรรณ ศาสตรเวช โรงเรียนบดนิ ทรเดชา ( สิงห สิงหเสนยี )
2. นางสุปรารถนา ยุกตะนนั ทน กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
3. นางกนกพรรณ สวุ รรณพิทกั ษ กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
4. นางสาวเยาวรตั น คําตรง องคการแพธ (PATH)
5. นางสาวภาวนา เหวยี นระวี องคการแพธ (PATH)
6. นางสาวกษมา สตั ยาหุรกั ษ ขา ราชการบาํ นาญ
7. นางสาวสรุ พี ร เจรญิ นิช ขาราชการบํานาญ
8. นางธัญญวดี เหลา พาณิชย ขาราชการบํานาญ
9. นางเอ้อื จติ ร สมจิตตชอบ ขาราชการบํานาญ
10. นางสาวชนิตา จิตตธรรม สาํ นกั งาน กศน เขตบางเชน
11. นางสาวอนงค เชอ้ื นนท
คณะทํางาน
1. นายสรุ พงษ มนั่ มะโน กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
2. นายศุภโชค ศรรี ัตนศลิ ป กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
3. นางสาววรรณพร ปท มานนท กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
4. นางสาวศรญิ ญา กุลประดษิ ฐ
5. นางสาวเพชรนิ ทร เหลืองจิตวัฒนา
142
ผพู ิมพต น ฉบบั คะเนสม กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
1. นางสาวปย วดี เหลืองจติ วัฒนา กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
2. นางสาวเพชรินทร กวีวงษพ ิพัฒน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
3. นางสาวกรวรรณ ธรรมธษิ า กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
4. นางสาวชาลินี บา นชี กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
5. นางสาวอลิศรา
กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
ผูออกแบบปก ศรีรตั นศลิ ป
นายศุภโชค