The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การส่งเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผู้นำท้องถิ่น ตำบลนามะเฟือง อำเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลำภู
THE PROMOTION OF THE RULE OF LAW IN THE GOVERNANCE OF LOCAL LEADERS IN NAMAFUANG SUBDISTRICT, MUEANG DISTRICT, NONG BUA LAMPHU PROVINCE พระมหาสุรศักดิ์ สุวณฺณกาโย (สีดาราช)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การส่งเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผู้นำท้องถิ่น ตำบลนามะเฟือง อำเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลำภู THE PROMOTION OF THE RULE OF LAW IN THE GOVERNANCE OF LOCAL LEADERS IN NAMAFUANG SUBDISTRICT, MUEANG DISTRICT, NONG BUA LAMPHU PROVINCE พระมหาสุรศักดิ์ สุวณฺ

การส่งเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผู้นำท้องถิ่น ตำบลนามะเฟือง อำเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลำภู
THE PROMOTION OF THE RULE OF LAW IN THE GOVERNANCE OF LOCAL LEADERS IN NAMAFUANG SUBDISTRICT, MUEANG DISTRICT, NONG BUA LAMPHU PROVINCE พระมหาสุรศักดิ์ สุวณฺณกาโย (สีดาราช)

Keywords: 2563,การส่งเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผู้นำท้องถิ่น ตำบลนามะเฟือง อำเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลำภู,THE PROMOTION OF THE RULE OF LAW IN THE GOVERNANCE OF LOCAL LEADERS IN NAMAFUANG SUBDISTRICT, MUEANG DISTRICT, NONG BUA LAMPHU PROVINCE,พระมหาสุรศักดิ์ สุวณฺณกาโย (สีดาราช)

การสง เสรมิ หลักนติ ิธรรมในการปกครองของผูนาํ ทอ งถิ่น
ตาํ บลนามะเฟอง อําเภอเมอื ง จงั หวัดหนองบวั ลําภู

THE PROMOTION OF THE RULE OF LAW IN THE GOVERNANCE OF LOCAL
LEADERS IN NAMAFUANG SUBDISTRICT, MUEANG DISTRICT,
NONG BUA LAMPHU PROVINCE

พระมหาสรุ ศักดิ์ สวุ ณณฺ กาโย (สีดาราช)

วิทยานพิ นธนี้เปนสวนหนึ่งของการศกึ ษา
ตามหลกั สตู รปรญิ ญารัฐศาสตรมหาบัณฑติ

บัณฑติ วิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั

พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓

การสง เสรมิ หลักนติ ธิ รรมในการปกครองของผูนาํ ทองถิ่น
ตําบลนามะเฟอง อําเภอเมอื ง จังหวดั หนองบวั ลาํ ภู

พระมหาสรุ ศักดิ์ สุวณณฺ กาโย (สีดาราช)

วทิ ยานพิ นธน ้เี ปนสว นหน่ึงของการศึกษา
ตามหลกั สตู รปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต

บณั ฑิตวทิ ยาลยั
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั

พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
(ลขิ สิทธ์ิเปน ของมหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย)

The Promotion of the Rule of Law in the Governance of Local
Leaders in Namafuang Subdistrict, Mueang District,
Nong Bua Lamphu Province

Phramaha Surasak Suvaṇṇakāyo (Si Darash)

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of
the Requirements for the Degree of
Master of Political Science Program
Graduate School

Mahachulalongkornrajavidyalaya University
C.E. 2020

(Copyright by Mahachulalongkornrajavidyalaya University)





ชือ่ วิทยานิพนธ : การสงเสริมหลักนติ ิธรรมในการปกครองของผูนําทองถ่นิ
ตาํ บลนามะเฟอง อาํ เภอเมอื ง จังหวัดหนองบัวลําภู
ผวู ิจัย : พระมหาสุรศกั ด์ิ สุวณฺณกาโย (สีดาราช)
ปริญญา : รัฐศาสตรมหาบณั ฑิต
คณะกรรมการควบคุมวทิ ยานิพนธ
: ผศ. ดร.สรุ พล พรมกุล, ป.ธ. ๕, พธ.บ (การสอนสังคมศึกษา),
ศศ.ม. (สงั คมศาสตรเพื่อการพัฒนา), ศน.ม. (รฐั ศาสตรการปกครอง),
Ph.D. (Social Science)
: ผศ. ดร.ชาญชยั ฮวดศร,ี พธ.บ. (สังคมศึกษา), M.A. (Political Science),
Ph.D. (Political Science)
วนั สาํ เร็จการศึกษา : ๑๕ กมุ ภาพันธ ๒๕๖๔

บทคัดยอ

การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค ดังนี้ ๑) เพ่ือศึกษาระดับการสงเสริมหลักนิติธรรมในการ
ปกครองของผูนาํ ทอ งถ่ิน ๒) เพ่ือศึกษาระดับความคิดเหน็ ของประชาชนที่มีตอ การปฏิบตั ิตนตามหลัก
พรหมวิหาร ๔ ของผูนําทองถน่ิ ๓) เพ่ือเปรียบเทียบการสงเสริมหลกั นิตธิ รรมในการปกครองของผูนํา
ทองถิ่น จําแนกตาม ปจจัยสวนบุคคล และตามความคิดเห็นของประชาชนตอการปฏิบัติตนตามหลัก
พรหมวหิ าร ๔ ของผูนาํ ทอ งถ่ินตําบลนามะเฟอง อําเภอเมอื ง จังหวัดหนองบวั ลําภู ๔) เพื่อศึกษาแนว
ทางการสรางการสงเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผูนําทองถิ่น และตามความคิดเห็นของ
ประชาชนตอการปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผูนําทองถ่ินตําบลนามะเฟอง อําเภอเมือง
จังหวัดหนองบัวลําภู กลุมตัวอยางตัวอยาง มีจํานวน ๓๙๕ คน และผูใหขอมูลสําคัญ จํานวน ๘ คน
เคร่ืองมือท่ีใชเก็บรวบรวมขอมูล คือ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ แลวจึงนํามาทําการวิเคราะห
ขอมูลโดยใชโ ปรแกรมสาํ เรจ็ รูปทางสงั คมศาสตร และวิเคราะหเน้อื หาประกอบบริบท

ผลการวิจัยพบวา
ระดับการสงเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผูนําทองถิ่นตําบลนามะเฟอง อําเภอ
เมอื ง จงั หวดั หนองบัวลําภู โดยภาพรวม และรายดาน อยใู นระดับมาก
๒) ระดับความคิดเห็นของประชาชนที่มีตอการปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผูนํา
ทองถิ่นในตําบลนามะเฟอง อําเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลําภู โดยภาพรวม และรายดาน อยูในระดับ
มาก
๓) ผลการเปรียบเทียบ พบวา ประชาชนท่ีมีเพศ อายุ สถานภาพ รายไดตอเดือนตางกัน
มีการสงเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผูนําทองถ่ิน ในภาพรวม แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญ
ทางสถิติท่ีระดับ ๐.๐๕ นอกน้ันไมแตกตางกัน และตามความคิดเห็นของประชาชน จําแนกตาม ดาน
เมตตา ดานกรุณา ดานมทุ ิตา ดานอุเบกขา แตกตา งกัน อยา งมีนัยสําคัญทางสถิตทิ รี่ ะดบั ๐.๐๕
๔) แนวทางในการสรางการสงเสริมหลักนิติธรรม พบวา ผูนําทองถิ่นควรมีการสงเสริมให
ประชาชนปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ใหเ คารพในสทิ ธเิ สรภี าพผอู นื่ และสง เสริมความสามคั คี



Thesis Title : The Promotion of the Rule of Law in the Governance of
Local Leaders in Namafuang Subdistrict, Mueang
District, Nong Bua Lamphu Province
Researcher : Phramaha Surasak Suvaṇṇakāyo (Si Darash)
Degree : Master of Political Science Program
Thesis Supervisory Committee
: Assist. Prof. Dr. Suraphon Promgun, Pali V,
B.A. (Social Study Teaching),
M.A. (Social Sciences for Development),
M.A. (Political Science), Ph.D. (Social Science)
: Asst. Prof. Chanchai Huadsri, B.A. (Social Study),
M.A. (Political Science), Ph.D. (Political Science)
Date of Graduation : February 15, 2021

Abstract

The objectives of this research were: 1) to study the levels of promoting
the rule of law in the governance of local leaders; 2) to study the public attitude
levels towards the practice in accordance with the Four Brahmavihāra Dhammas
(Sublime States of Mind) of the local leaders; 3) to compare the promotion of the
rule of law in the governance of local leaders, classified by their personal factors and
public opinions towards the practice of the Four Brahmavihāra Dhammas of the local
leaders in Namafuang Subdistrict, Mueang District, Nong Bua Lamphu Province. The
population of this research included 394 samples and 8 key informants. The tools
used in the data collection were a questionnaire and interview. The obtained data
were analyzed by the computer program of social sciences and the contextual
content analysis.

The research results are as follows:
1) The levels of promoting the rule of law in the governance of local
leaders in Namafuang Subdistrict, Mueang District, Nong Bua Lamphu Province in
overall and studied aspects were at a high level of practice.
2) The attitude levels of the public towards the practice in accordance
with the Four Brahmavihāra Dhammas of the local leaders in Namafuang Subdistrict,
Mueang District, Nong Bua Lamphu Province in overall and studied aspects were at a
high level.



3) The comparative results indicated that the samples with differences in
genders, age, status and monthly income has promoted the rule of law of the local
leaders differently with the statistical significance level of 0.05. For other personal
factors, indifference has been seen. The public attitudes classified by Mettā (Loving
Kindness), Karuṇā (Compassion), Muditā (Sympathetic Joy) and Upekkhā (Equanimity)
were different based on the statistical significance level of 0.05.

4) The way to promote the rule of law is that local leaders should
encourage people to obey the law, to respect the rights and freedoms of others and
to promote unity.



กิตติกรรมประกาศ

วทิ ยานิพนธเลมน้ี สําเร็จลลุ วงไดดวยดเี พราะความเมตตาอนุเคราะหจ ากคณะกรรมการที่
ปรึกษาวิทยานิพนธไดแนะนํา คือ ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุรพล พรมกุล, ผูชวยศาสตราจารย ดร.
ชาญชัย ฮวดศรี ไดกรณุ าใหค ําปรกึ ษาแนะนําคอยใหความชว ยเหลอื ในการปรับปรงุ แกไขดวยดมี าโดย
ตลอด จึงเจริญพรขอบคณุ อาจารยท่ปี รกึ ษาทกุ ทา นเปนอยา งสงู มา ณ โอกาสน้ี

ขอขอบคุณ ผูชวยศาสตราจารย ดร.ยุทธนา ปราณีต ประธานกรรมการควบคุมสอบ
ปอ งกนั วิทยานพิ นธ, รองศาสตราจารย ดร.ภาสกร ดอกจันทร ผูท รงคณุ วุฒิ ท่ีไดกรุณาใหคําแนะนาํ ใน
การปรับปรุงแกไขเปนอยางดี และรองศาสตราจารย ดร.ธงชยั สิงอุดม, ผูชว ยศาสตราจารย ดร.วทิ ยา
ทองด,ี ดร.จํานง วงศค ง, ดร.สมควร นามสีฐาน, ดร.สธุ ิพงษ สวสั ด์ทิ า, ทุกทานทไ่ี ดใหความอนเุ คราะห
เปนผเู ชย่ี วชาญตรวจสอบแกไ ขเคร่อื งมอื ในการวิจัยครั้งน้จี นสาํ เรจ็ ดว ยดี

ขอขอบคุณ เจาคณะตําบลนามะเฟอง, อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร), กํานัน
ตําบลนามะเฟอง, ผูอํานวยการโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพประจําตําบลนามะเฟอง, ผูอํานวยการศูนย
สุขภาพภาคประชาชนตําบลนามะเฟอง, กลุมแมบานตําบลนามะเฟอง, ปราชญประจําตําบลนา
มะเฟอง, นายกองคการบริหารสวนตําบลนามะเฟอง ท่ีใหความอนุเคราะหในการเก็บรวบรวมขอมูล
ทุกทา นทไี่ ดใหค วามรว มมือเปน อยา งดีในการใหสัมภาษณขอมลู แกผวู จิ ัย

ขออนุโมทนาขอบคุณ โยมพอ–แม ญาติพี่นองทุกคนเพื่อน ๆ ทุกรูป/คน คณาจารย
เจาหนาท่ี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกนทุกทานที่ไดใหความรู
ประสาทวิทยาการ ประสบการณ ใหความเมตตาเอ้ือเฟอ ถายทอดความรูความเขาใจ เปนกําลังใจ
ใหแกผูวิจัยตลอดมา คุณความดีจากการทําประโยชนใด ๆ อันเกิดจากวิทยานิพนธน้ีชวยเปนกําลังใจ
และผูมีอปุ การคุณทกุ ทาน ผูวิจัยขอโอกาสขอบพระคุณทุก ๆ ทาน มา ณ โอกาสน้ี หากมีขอผิดพลาด
ประการใด ในการวิจัยฉบบั นี้ ผวู ิจัยขอนอ มรับแตเ พียงผเู ดยี ว

พระมหาสรุ ศักด์ิ สุวณณฺ กาโย (สดี าราช)
๑๕ กุมภาพนั ธ ๒๕๖๔

คําอธบิ ายสญั ลักษณแ ละคาํ ยอ

อกั ษรยอในวิทยานิพนธครั้งนี้ ใชอางอิงจากพระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย การอางอิงระบุ เลม/ขอ/หนา หลังอักษรยอชื่อคัมภีร ใหใชอักษรยอตัวพ้ืนปกติ เชน
ท.ี สี.(ไทย) ๙/๒๗๖/๙๘. หมายถึง ทีฆนิกาย สลี ขนั ธวรรค ภาษาไทย เลม ๙ ขอ ๒๗๖ หนา ๙๘ ฉบับ
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๓๙

ก. คาํ ยอ ชื่อคัมภรี พ ระไตรปฎก

พระสุตตนั ตปฎ ก

คํายอ ชือ่ คัมภรี  ภาษา
ที.ม. (ไทย) = สตุ ตนั ตปฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค (ภาษาไทย)

พระอภิธรรมปฎ ก

คํายอ ชอื่ คมั ภีร ภาษา
อภิ.สงฺ. (ไทย) = อภิธรรมปฎก ธรรมสังคณี (ภาษาไทย)

สารบัญ จ

เรอ่ื ง หนา้

บทคดั ย่อภาษาไทย ก

บทคดั ยอ่ ภาษาอังกฤษ ข

กิตตกิ รรมประกาศ ง

สารบัญ จ

สารบัญตาราง ช

สารบญั แผนภาพ ฐ

คาอธิบายสัญลกั ษณแ์ ละคายอ่ ๑

บทที่ ๑ บทนา ๑
๑.๑ ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ๑
๑.๒ คาถามการวิจัย ๓
๑.๓ วตั ถุประสงค์ของการวจิ ัย ๔
๑.๔ ขอบเขตการวจิ ัย ๔
๑.๕ สมมติฐานการวจิ ัย ๕
๑.๖ นยิ ามศพั ท์เฉพาะทีใ่ ช้ในการวจิ ัย ๖
๑.๗ ประโยชน์ทไ่ี ด้รบั จากการวจิ ยั ๖

บทที่ ๒ แนวคิด ทฤษฏี และงานวิจยั ท่ีเก่ยี วขอ้ ง ๗
๒.๑ แนวคดิ เกี่ยวกับหลกั นิติธรรม ๗
๒.๒ แนวคิดเกี่ยวกบั หลกั นติ ิธรรมกบั การมสี ว่ นรว่ ม ๓๕
๒.๓ แนวคดิ เกย่ี วกบั การปกครองท้องถิ่น ๔๒
๒.๔ แนวคิดเกี่ยวกบั ผูน้ าท้องถน่ิ ๔๗
๒.๕ หลักพุทธธรรมทเ่ี กยี่ วข้องกบั การส่งเสริมหลักนติ ธิ รรม ๕๑
๒.๖ ขอ้ มูลบรบิ ทเร่ืองทว่ี จิ ยั ๖๓
๒.๗ งานวิจยั ท่เี กย่ี วข้อง ๖๕
๒.๘ กรอบแนวคิดในการวจิ ัย ๗๗

บทที่ ๓ วธิ กี ารดาเนินการวจิ ัย ๗๙
๓.๑ รูปแบบการวจิ ัย ๗๙
๓.๒ ประชากรกลุม่ ตัวอยา่ ง และผใู้ หข้ ้อมลู สาคัญ ๗๙
๓.๓ เครื่องมือท่ีใชใ้ นการวิจัย ๘๒
๓.๔ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ๘๕



๓.๕ การวเิ คราะหข์ ้อมูล ๘๕

บทที่ ๔ ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล ๘๗

๔.๑ ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู วิจยั ปจั จยั สว่ นบุคคล ๘๗

๔.๒ ผลการวิเคราะห์ระดับการส่งเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผู้นา

ท้องถ่ินตาบลนามะเฟือง อาเภอเมือง จงั หวัดหนองบัวลาภู ๙๐

๔.๓ ผลการวิเคราะห์ระดับความคิดเห็นของประชาชนท่ีมีต่อการปฏิบัติตนตาม

หลักพรหมวิหาร ๔ ของผู้นาท้องถิ่นในตาบลนามะเฟือง อาเภอเมือง จังหวัด

หนองบวั ลาภู ๙๕

๔.๔ ผลการเปรียบเทียบการส่งเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผู้นาท้องถิ่น

ตาบลนามะเฟือง อาเภอเมือง จังหวัดหนองบวั ลาภู ๑๐๐

๔.๕ ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนท่ีมีต่อการปฏิบัติตนตามหลัก

พรหมวิหาร ๔ ของผู้นาท้องถิ่นในตาบลนามะเฟือง อาเภอเมือง จังหวัด

หนองบัวลาภู ๑๑๕

๔.๖ ผลการวิเคราะห์แบบสัมภาษณ์การส่งเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของ

ผนู้ าท้องถิน่ ตาบลนามะเฟือง อาเภอเมือง จงั หวัดหนองบวั ลาภู ๑๓๙

๔.๗ ผลการวิเคราะห์แบบสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการปฏิบัติ

ตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผู้นาท้องถิ่นในตาบลนามะเฟือง อาเภอเมือง

จงั หวัดหนองบัวลาภู ๑๔๔

บทท่ี ๕ สรปุ ผล อภปิ ลายและขอ้ เสนอแนะ ๑๕๑
๕.๑ สรุปผลการวิจัย ๑๕๑
๕.๒ อภิปรายผลการวิจยั ๑๕๓
๕.๓ ข้อเสนอแนะ ๑๖๓

บรรณานุกรม ๑๖๕

ภาคผนวก ๑๗๓

ภาคผนวก ก แบบสอบถามและแบบสมั ภาษณเ์ พื่อการวิจัย ๑๗๔

ภาคผนวก ข รายนามและหนังสือบนั ทึกขอ้ ความผทู้ รงคณุ วุฒิและผู้เชยี่ วชาญ

ตรวจสอบคณุ ภาพเครื่องมือการวิจัย ๑๘๔

ภาคผนวก ค รายนามผใู้ ห้ข้อมูลสาคัญในการสมั ภาษณ์การวิจยั (Key Informants) ๑๙๑

ภาคผนวก ง แบบประเมนิ คา่ ดชั นีความสอดคล้อง (IOC) ๒๐๑

ภาคผนวก จ คา่ ความเช่อื ม่นั ของแบบสอบถาม (Try out) ๒๐๙

ภาคผนวก ฉ ภาพประกอบในการสัมภาษณ์การวิจัย ๒๑๒

ประวตั ผิ ู้วจิ ัย ๒๑๗



สารบัญตาราง

ตารางที่ หน้า
ตารางที่ ๒.๑ แนวคิดเก่ียวกบั หลักนิติธรรม ๒๙
ตารางที่ ๒.๒ แนวคดิ เกี่ยวกบั หลกั นิตธิ รรมกับการมีส่วนรว่ ม ๔๑
ตารางท่ี ๒.๓ สรปุ แนวคิดเกี่ยวกับการปกครองท้องถนิ่ ๔๖
ตารางที่ ๒.๔ แนวคิดเกี่ยวกับผูน้ าทอ้ งถิ่น ๕๑
ตารางที่ ๒.๕ หลักพทุ ธธรรมที่เกย่ี วขอ้ งกับการส่งเสรมิ หลักนติ ิธรรม ๖๓
ตารางท่ี ๒.๖ งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับหลักนิติธรรม ๖๙
ตารางท่ี ๒.๗ งานวิจยั ทเ่ี กยี่ วข้องกับหลักพรหมวิหาร ๔ ๗๕
ตารางท่ี ๓.๑ แสดงทม่ี าของกลมุ่ ตวั อย่างแต่ละหมบู่ า้ น ตดั ตามสว่ นของประชากร ๘๑
ตารางที่ ๔.๑ จานวนความถี่และประชากร จาแนกตามเพศ ๘๗
ตารางท่ี ๔.๒ จานวนความถี่และประชากร จาแนกตามอายุ ๘๘
ตารางท่ี ๔.๓ จานวนความถ่ีและประชาชร จาแนกตามสถานภาพ ๘๘
ตารางท่ี ๔.๔ จานวนความถแ่ี ละประชากร จาแนกตามอาชพี ๘๘
ตารางท่ี ๔.๕ จานวนความถี่และประชากร จาแนกตามระดับการศึกษา ๘๙
ตารางที่ ๔.๖ จานวนความถแ่ี ละประชากร จาแนกตามรายไดต้ ่อเดือน ๘๙
ตารางท่ี ๔.๗ ระดับการส่งเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผู้นาท้องถิ่นตาบลนา
๙๐
มะเฟอื ง อาเภอเมอื ง จังหวัดหนองบัวลาภู โดยภาพรวมทั้ง ๔ ดา้ น
ตารางท่ี ๔.๘ ระดับการส่งเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผู้นาท้องถิ่นตาบลนา ๙๑

มะเฟือง อาเภอเมือง จงั หวัดหนองบัวลาภตู าม ดา้ นความเสมอภาค ๙๒
ตารางที่ ๔.๙ ระดับการส่งเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผู้นาท้องถ่ินตาบลนา
๙๓
มะเฟือง อาเภอเมือง จังหวดั หนองบวั ลาภตู าม ด้านหลักสิทธิและเสรภี าพ
ตารางที่ ๔.๑๐ ระดับการส่งเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผู้นาท้องถิ่นตาบลนา ๙๔

มะเฟือง อาเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลาภูตาม ด้านหลักความเป็นอิสรภาพ ๙๕
และเป็นกลาง
ตารางท่ี ๔.๑๑ ระดับการส่งเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผู้นาท้องถิ่นตาบลนา ๙๖
มะเฟือง อาเภอเมอื ง จังหวัดหนองบวั ลาภตู าม ด้านพลวัตกับสถานการณ์
ตารางที่ ๔.๑๒ ระดับความคิดเห็นของประชาชนท่ีมีต่อการปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ๙๗
ของผนู้ าท้องถนิ่ ในตาบลนามะเฟือง อาเภอเมือง จงั หวัดหนองบวั ลาภู
ตารางท่ี ๔.๑๓ ระดับความคิดเห็นของประชาชนท่ีมีต่อการปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔
ของผู้นาท้องถ่ินในตาบลนามะเฟือง อาเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลาภู ด้าน
เมตตา
ตารางที่ ๔.๑๔ ระดับความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔
ของผู้นาท้องถ่ินในตาบลนามะเฟือง อาเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลาภู ด้าน
กรณุ า



ตารางที่ ๔.๑๕ ระดับความคิดเห็นของประชาชนท่ีมีต่อการปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔

ของผู้นาท้องถิ่นในตาบลนามะเฟือง อาเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลาภู ด้าน

มุทติ า ๙๘

ตารางท่ี ๔.๑๖ ระดับความคิดเห็นของประชาชนท่ีมีต่อการปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔

ของผู้นาท้องถ่ินในตาบลนามะเฟือง อาเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลาภู ด้าน

อุเบกขา ๙๙

ตารางท่ี ๔.๑๗ ผลการเปรียบเทียบการส่งเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผู้นาท้องถิ่น

ตาบลนามะเฟือง อาเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลาภู จาแนกตาม เพศ ๑๐๐

ตารางท่ี ๔.๑๘ ผลการเปรียบเทียบการส่งเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผู้นาท้องถ่ิน

ตาบลนามะเฟอื ง อาเภอเมือง จงั หวดั หนองบวั ลาภู จาแนกตาม อายุ ๑๐๑

ตารางท่ี ๔.๑๙ แสดงผลการเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉล่ียรายคู่การส่งเสรมิ หลกั นติ ิธรรม

ด้วยวิธผี ลต่างนัยสาคญั น้อยท่ีสดุ (LSD.) จาแนกตาม อายุ ๑๐๒

ตารางที่ ๔.๒๐ แสดงผลการเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยรายคู่การส่งเสริมหลักนิติธรรม

ดา้ นความเสมอภาค ด้วยวิธผี ลตา่ งนยั สาคัญน้อยทีส่ ุด (LSD.) จาแนกตาม อายุ ๑๐๓

ตารางท่ี ๔.๒๑ แสดงผลการเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยรายคกู่ ารส่งเสรมิ หลักนิติธรรม

ด้านหลักความเป็นอิสรภาพและเป็นกลาง ด้วยวิธีผลต่างนัยสาคัญน้อยท่ีสุด

(LSD.) จาแนกตาม อายุ ๑๐๔

ตารางท่ี ๔.๒๒ แสดงผลการเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยรายคู่การสง่ เสรมิ หลักนติ ิธรรม

ด้านพลวัตกับสถานการณ์ ด้วยวิธีผลต่างนัยสาคัญน้อยท่ีสุด (LSD.) จาแนก

ตาม อายุ ๑๐๕

ตารางท่ี ๔.๒๓ ผลการเปรียบเทียบการส่งเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผู้นาท้องถิ่น

ตาบลนามะเฟือง อาเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลาภู จาแนกตาม สถานภาพ

การสมรส ๑๐๖

ตารางที่ ๔.๒๔ แสดงผลการเปรียบเทยี บความแตกต่างค่าเฉลี่ยรายคกู่ ารสง่ เสริมหลักนติ ิธรรม

ในภาพรวม ด้วยวิธีผลต่างนัยสาคัญน้อยที่สุด (LSD.) จาแนกตาม สถานภาพ

สมรส ๑๐๗

ตารางท่ี ๔.๒๕ แสดงผลการเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยรายคกู่ ารสง่ เสรมิ หลกั นติ ิธรรม

ด้านหลักสิทธิและเสรีภาพ ด้วยวิธีผลต่างนัยสาคัญน้อยที่สุด (LSD.) จาแนก

ตาม สถานภาพโสด และสมรส ๑๐๗

ตารางท่ี ๔.๒๖ ผลการเปรียบเทียบการส่งเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผู้นาท้องถิ่น

ตาบลนามะเฟือง อาเภอเมือง จังหวัดหนองบวั ลาภู จาแนกตาม อาชพี ๑๐๘

ตารางที่ ๔.๒๗ แสดงผลการเปรียบเทยี บความแตกต่างค่าเฉลี่ยรายค่กู ารส่งเสริมหลักนิติธรรม

ด้านหลักความเป็นอิสรภาพและเป็นกลาง ด้วยวิธีผลต่างนัยสาคัญน้อยที่สุด

(LSD.) จาแนกตาม อาชีพ ๑๐๙



ตารางที่ ๔.๒๘ ผลการเปรียบเทียบการส่งเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผู้นาท้องถ่ิน

ตาบลนามะเฟือง อาเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลาภู จาแนกตาม ระดับ

การศึกษา ๑๑๐

ตารางที่ ๔.๒๙ ผลการเปรียบเทียบการส่งเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผู้นาท้องถิ่น

ตาบลนามะเฟือง อาเภอเมือง จงั หวัดหนองบวั ลาภู จาแนกตาม รายไดต้ ่อเดือน ๑๑๑

ตารางท่ี ๔.๓๐ แสดงผลการเปรียบเทยี บความแตกต่างค่าเฉลี่ยรายคูก่ ารสง่ เสรมิ หลกั นติ ิธรรม

ในภาพรวม ด้วยวิธีผลต่างนัยสาคัญน้อยท่ีสุด (LSD.) จาแนกตาม รายได้ต่อ

เดือน ๑๑๒

ตารางที่ ๔.๓๑ แสดงผลการเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยรายคกู่ ารสง่ เสริมหลักนิติธรรม

ด้านความเสมอภาค ด้วยวิธีผลต่างนัยสาคัญน้อยท่ีสุด (LSD.) จาแนกตาม

รายไดต้ ่อเดือน ๑๑๓

ตารางท่ี ๔.๓๒ แสดงผลการเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉล่ียรายค่กู ารส่งเสริมหลกั นติ ิธรรม

ด้านพลวัตกับสถานการณ์ ด้วยวิธีผลต่างนัยสาคัญน้อยที่สุด (LSD.) จาแนก

ตาม รายไดต้ ่อเดือน ๑๑๔

ตารางท่ี ๔.๓๓ ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนท่ีมีต่อการปฏิบัติตนตามหลัก

พรหมวิหาร ๔ ของผู้นาท้องถ่ินในตาบลนามะเฟือง อาเภอเมือง จังหวัด

หนองบัวลาภู จาแนกตามหลักพรหมวหิ าร ๔ ๑๑๕

ตารางท่ี ๔.๓๔ เปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉล่ียรายคู่ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ

การปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผู้นาท้องถ่ินในตาบลนามะเฟือง

อาเภอเมือง จงั หวดั หนองบวั ลาภู จาแนกตาม หลักพรหมวหิ าร ๔ ๑๑๖

ตารางที่ ๔.๓๕ เปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยรายคู่ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ

การปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผู้นาท้องถิ่นในตาบลนามะเฟือง

อาเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลาภู จาแนกตาม ด้านความเสมอภาค ๑๑๗

ตารางท่ี ๔.๓๖ เปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยรายคู่ความคิดเห็นของประชาชนท่ีมีต่อ

การปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผู้นาท้องถ่ินในตาบลนามะเฟือง

อาเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลาภู จาแนกตาม ดา้ นหลักสทิ ธิและเสรีภาพ ๑๑๗

ตารางท่ี ๔.๓๗ เปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉล่ียรายคู่ความคิดเห็นของประชาชนท่ีมีต่อ

การปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผู้นาท้องถ่ินในตาบลนามะเฟือง

อาเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลาภู จาแนกตาม ด้านหลักความเป็นอิสรภาพ

และเป็นกลาง ๑๑๘

ตารางท่ี ๔.๓๘ เปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยรายคู่ความคิดเห็นของประชาชนท่ีมีต่อ

การปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผู้นาท้องถ่ินในตาบลนามะเฟือง

อาเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลาภู จาแนกตาม ด้านพลวัตกับสถานการณ์ ๑๑๙

ตารางท่ี ๔.๓๙ ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนท่ีมีต่อการปฏิบัติตนตามหลัก

พรหมวิหาร ๔ ของผู้นาท้องถิ่นในตาบลนามะเฟือง อาเภอเมือง จังหวัด

หนองบวั ลาภู จาแนกตามด้านเมตตา ๑๒๐



ตารางท่ี ๔.๔๐ เปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉล่ียรายคู่ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ

การปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผู้นาท้องถ่ินในตาบลนามะเฟือง

อาเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลาภู จาแนกตาม ดา้ นเมตตา ๑๒๑

ตารางที่ ๔.๔๑ เปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยรายคู่ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ

การปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผู้นาท้องถ่ินในตาบลนามะเฟือง

อาเภอเมือง จังหวัดหนองบวั ลาภู จาแนกตาม ด้านความเสมอภาค ๑๒๑

ตารางท่ี ๔.๔๒ เปรียบเทียบความแตกตา่ งค่าเฉลี่ยรายคู่ความคิดเห็นของประชาชนท่มี ีต่อการ

ปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผู้นาทอ้ งถ่ินในตาบลนามะเฟือง อาเภอ

เมือง จงั หวัดหนองบัวลาภู จาแนกตาม ดา้ นหลักสทิ ธแิ ละเสรีภาพ ๑๒๒

ตารางท่ี ๔.๔๓ เปรียบเทยี บความแตกตา่ งค่าเฉลี่ยรายคู่ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการ

ปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผู้นาทอ้ งถิ่นในตาบลนามะเฟือง อาเภอ

เมือง จังหวัดหนองบัวลาภู จาแนกตาม ด้านหลักความเป็นอิสรภาพและเป็น

กลาง ๑๒๓

ตารางท่ี ๔.๔๔ เปรียบเทยี บความแตกต่างคา่ เฉล่ียรายคคู่ วามคิดเห็นของประชาชนท่มี ีตอ่ การ

ปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผู้นาท้องถิ่นในตาบลนามะเฟือง อาเภอ

เมือง จงั หวัดหนองบัวลาภู จาแนกตาม ดา้ นพลวตั กับสถานการณ์ ๑๒๓

ตารางท่ี ๔.๔๕ ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการปฏิบัติตนตามหลัก

พรหมวิหาร ๔ ของผู้นาท้องถิ่นในตาบลนามะเฟือง อาเภอเมือง จังหวัด

หนองบัวลาภู จาแนกตามด้านกรุณา ๑๒๔

ตารางท่ี ๔.๔๖ เปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยรายคู่ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการ

ปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผู้นาทอ้ งถ่ินในตาบลนามะเฟือง อาเภอ

เมอื ง จังหวัดหนองบวั ลาภู จาแนกตาม ด้านกรณุ า ๑๒๕

ตารางที่ ๔.๔๗ เปรียบเทียบความแตกตา่ งคา่ เฉล่ียรายคูค่ วามคดิ เห็นของประชาชนท่ีมีตอ่ การ

ปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผู้นาทอ้ งถิ่นในตาบลนามะเฟือง อาเภอ

เมอื ง จังหวัดหนองบัวลาภู จาแนกตาม ดา้ นความเสมอภาค ๑๒๖

ตารางที่ ๔.๔๘ เปรียบเทียบความแตกตา่ งค่าเฉล่ียรายคู่ความคดิ เห็นของประชาชนทม่ี ีต่อการ

ปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผู้นาทอ้ งถ่ินในตาบลนามะเฟือง อาเภอ

เมอื ง จังหวัดหนองบัวลาภู จาแนกตาม ด้านหลักสิทธแิ ละเสรีภาพ ๑๒๖

ตารางที่ ๔.๔๙ เปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉล่ียรายคู่ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ

การปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผู้นาท้องถ่ินในตาบลนามะเฟือง

อาเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลาภู จาแนกตาม ด้านหลักความเป็นอิสรภาพ

และเป็นกลาง ๑๒๗

ตารางที่ ๔.๕๐ เปรียบเทียบความแตกตา่ งคา่ เฉลี่ยรายคู่ความคิดเห็นของประชาชนทม่ี ีตอ่ การ

ปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผู้นาท้องถ่ินในตาบลนามะเฟือง อาเภอ

เมือง จังหวดั หนองบัวลาภู จาแนกตาม ด้านพลวัตกบั สถานการณ์ ๑๒๗



ตารางที่ ๔.๕๑ ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนท่ีมีต่อการปฏิบัติตนตามหลัก

พรหมวิหาร ๔ ของผู้นาท้องถ่ินในตาบลนามะเฟือง อาเภอเมือง จังหวัด

หนองบัวลาภู จาแนกตามด้านมทุ ิตา ๑๒๘

ตารางท่ี ๔.๕๒ เปรียบเทยี บความแตกต่างค่าเฉล่ียรายคคู่ วามคดิ เห็นของประชาชนท่มี ีต่อการ

ปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผู้นาทอ้ งถ่ินในตาบลนามะเฟือง อาเภอ

เมือง จังหวดั หนองบัวลาภู จาแนกตาม ดา้ นมทุ ติ า ๑๒๙

ตารางที่ ๔.๕๓ เปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉล่ียรายคู่ความคิดเห็นของประชาชนท่ีมีต่อ

การปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผู้นาท้องถ่ินในตาบลนามะเฟือง

อาเภอเมือง จังหวดั หนองบัวลาภู จาแนกตาม ดา้ นความเสมอภาค ๑๓๐

ตารางที่ ๔.๕๔ เปรียบเทียบความแตกต่างคา่ เฉลี่ยรายคคู่ วามคิดเห็นของประชาชนท่ีมีต่อการ

ปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผู้นาท้องถ่ินในตาบลนามะเฟือง อาเภอ

เมือง จังหวัดหนองบัวลาภู จาแนกตาม ดา้ นหลักสิทธแิ ละเสรีภาพ ๑๓๐

ตารางที่ ๔.๕๕ เปรียบเทียบความแตกต่างคา่ เฉลี่ยรายคู่ความคดิ เห็นของประชาชนทมี่ ีตอ่ การ

ปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผู้นาทอ้ งถ่ินในตาบลนามะเฟือง อาเภอ

เมอื ง จงั หวดั หนองบวั ลาภู จาแนกตาม ดา้ นหลักความอิสรภาพและเป็นกลาง ๑๓๑

ตารางที่ ๔.๕๖ เปรียบเทียบความแตกต่างคา่ เฉล่ียรายคู่ความคิดเห็นของประชาชนทม่ี ีต่อการ

ปฏบิ ตั ิตนตามหลกั พรหมวิหาร ๔ ของผู้นาท้องถ่ินในตาบลนามะเฟอื ง อาเภอ

เมือง จงั หวดั หนองบัวลาภู จาแนกตาม ดา้ นพลวัตกบั สถานการณ์ ๑๓๒

ตารางท่ี ๔.๕๗ ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการปฏิบัติตนตามหลัก

พรหมวิหาร ๔ ของผู้นาท้องถิ่นในตาบลนามะเฟือง อาเภอเมือง จังหวัด

หนองบัวลาภู จาแนกตามด้านอเุ บกขา ๑๓๓

ตารางท่ี ๔.๕๘ เปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยรายคูค่ วามคิดเห็นของประชาชนท่ีมีต่อการ

ปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผนู้ าท้องถิน่ ในตาบลนามะเฟือง อาเภอ

เมือง จังหวดั หนองบวั ลาภู จาแนกตาม ดา้ นอเุ บกขา ๑๓๔

ตารางที่ ๔.๕๙ เปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยรายคู่ความคิดเห็นของประชาชนท่ีมีต่อ

การปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผู้นาท้องถิ่นในตาบลนามะเฟือง

อาเภอเมือง จังหวดั หนองบัวลาภู จาแนกตาม ดา้ นความเสมอภาค ๑๓๔

ตารางที่ ๔.๖๐ เปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉล่ียรายคู่ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ

การปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผู้นาท้องถ่ินในตาบลนามะเฟือง

อาเภอเมือง จงั หวัดหนองบวั ลาภู จาแนกตาม ด้านหลักสิทธิและเสรีภาพ ๑๓๕

ตารางที่ ๔.๖๑ เปรียบเทยี บความแตกตา่ งค่าเฉล่ียรายคคู่ วามคดิ เห็นของประชาชนทีม่ ีต่อการ

ปฏบิ ตั ิตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผู้นาท้องถนิ่ ในตาบลนามะเฟอื ง อาเภอ

เมอื ง จังหวัดหนองบวั ลาภู จาแนกตาม ดา้ นหลักความอิสรภาพและเป็นกลาง ๑๓๖

ตารางท่ี ๔.๖๒ เปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉล่ียรายคู่ความคิดเห็นของประชาชนท่ีมีต่อ

การปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผู้นาท้องถ่ินในตาบลนามะเฟือง

อาเภอเมือง จงั หวดั หนองบัวลาภู จาแนกตาม ด้านพลวัตกับสถานการณ์ ๑๓๖



ตารางท่ี ๔.๖๓ ผลสรุปโดยรวมการเปรยี บเทียบการสง่ เสรมิ หลกั นิติธรรมในการปกครองของ

ผู้นาทอ้ งถิ่นตาบลนามะเฟือง อาเภอเมือง จงั หวัดหนองบัวลาภู ๑๓๗

ตารางที่ ๔.๖๔ ผลสรุปโดยรวมการเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการปฏิบัติ

ตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผู้นาท้องถิ่นในตาบลนามะเฟือง อาเภอเมือง

จงั หวดั หนองบัวลาภู ๑๓๘

สารบัญแผนภาพ ฐ

แผนภาพท่ี หน้า
แผนภาพที่ ๒.๑ กรอบแนวคิดในการวิจยั ๗๘
แผนภาพท่ี ๔.๑ สรุปองคค์ วามรู้ทไ่ี ดร้ ับจากการวิจยั ๑๔๘

บทที่ ๑

บทนาํ

๑.๑ ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

หลกั นิตธิ รรม เปน การปกครองประเทศโดยกฎหมายเพ่อื ใหประชาชนมีความเสมอภาคกัน
ซึ่ง กระบวนการเสริมสรางหลักนิติธรรมใหเกิดขึ้นในสังคมจะเปนกระบวนการเสริมสรางทางดาน
วัฒนธรรม ดานสังคมและดานการเมืองพรอม ๆ กันไปอีกท้ังยังเปนการแสดงสปริตของความเปน
ประชาธิปไตยในการที่จะบริหารบานเมืองดวยความโปรงใส ตรวจสอบไดซ่ึงเปนสวนหนึ่งของระบบ
การบริหารกิจการบานเมืองท่ีดีหรือหลักธรรมาภิบาลนั่นเองจะตองสงเสริมใหเกิดระบบยุติธรรม
ทางเลือกภาคพลเมืองใหมากข้ึน เพื่อใหประชาชนรับรูและตระหนักในศักยภาพของตนเองในการ
อํานวยความเปนธรรมในระดับชุมชน ทองถ่ินซ่ึงการพัฒนาทางเลือกน้ีจะเปนจุดเร่ิมตนของการสราง
รูปธรรมของหลักนิติธรรมท่จี ับตอ งไดและจะนําไปสคู วามเปนนิติรฐั ดว ยประชาชนเองถือไดว าหลกั นิติ
ธรรมน้ัน เปนหลักสําคัญของนิติรัฐ ตลอดจนเปนรากแกวของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
โดยแท

รัฐพึงพัฒนาระบบการบริหารราชการแผนดินท้ังราชการสวนกลาง สวนภูมิภาค สวน
ทองถ่ิน และงานของรฐั อยางอ่ืน ใหเ ปนไปตามหลกั การบริหารกิจการบานเมอื งทดี่ ี โดยหนวยงานของ
รัฐตองรวมมือและชวยเหลือกันในการปฏิบัติหนาท่ี เพื่อใหการบริหารราชการแผนดิน การจัดทํา
บริการสาธารณะ และการใชจายเงินงบประมาณ มีประสทิ ธิภาพสูงสดุ เพือ่ ประโยชนสุขของประชาชน
รวมตลอดทั้งพัฒนาเจาหนาท่ีของรัฐใหมีความซื่อสัตยสุจริต และมีทัศนคติเปนผูใหบริการประชาชน
ใหเ กิดความสะดวก รวดเร็ว ไมเลือกปฏบิ ัติ และปฏิบตั ิหนา ทอ่ี ยางมีประสิทธภิ าพ รัฐพึงดําเนนิ การให
มีกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของหนวยงานของรัฐใหเปนไปตามระบบคุณธรรม โดย
กฎหมายดังกลาวอยางนอยตองมีมาตรการปองกันมิใหผูใดใชอํานาจหรือกระทําการโดยมิชอบท่ีเปน
การกาวกายหรือแทรกแซงการปฏิบัติหนาที่หรือกระบวนการแตงตั้งหรือการพิจารณาความดี
ความชอบของเจาหนาที่ของรัฐ รัฐพึงจัดใหมีมาตรฐานทางจริยธรรม เพื่อใหหนวยงานของรัฐใชเปน
หลักในการกําหนดประมวลจริยธรรมสําหรับเจาหนาท่ีของรัฐในหนวยงานน้ัน ๆ ซึ่งตองไมตํ่ากวา
มาตรฐานทางจริยธรรมดังกลาว รัฐพึงสงเสริมใหประชาชนและชุมชนมีความรูความเขาใจท่ีถูกตอง
เกย่ี วกบั การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยท รงเปนประมุข และมสี วนรว มในการ
พัฒนาประเทศดานตาง ๆ การจัดทําบริการสาธารณะทั้งในระดับชาติและระดับทองถ่ิน การตรวจสอบ



การใชอํานาจรัฐ การตอตานการทุจริตและประพฤติมิชอบ รวมตลอดท้ังการตัดสินใจทางการเมือง และ
การอ่นื ใดบรรดาที่อาจมีผลกระทบตอประชาชนหรือชุมชน0๑

สําหรับรัฐที่มีการปกครองดวยกฎหมายหรือปกครองในระบอบประชาธิปไตยซ่ึงถือ
กฎหมาย เปนใหญ โดยยดึ หลักกฎหมายมหาชนในขอที่วา “ถา ไมมีกฎหมายใหอํานาจไว ฝายปกครอง
จะกระทํามิได” ซ่ึงตรงขามกับหลักกฎหมายแพงท่ีวา “เมื่อไมมีกฎหมายหามไว เอกชนจะกระทํา
อยางไรก็ได” ดังน้ัน การตรวจสอบความชอบดวยกฎหมายของการกระทําทางปกครอง จึงอยูใน
ลักษณะสมดุล และเปนหลักประกันพื้นฐานแกประชาชนเจาของสิทธิ์ เพราะมีกลไกการตรวจสอบ
ควบคุมการใชอํานาจ ทั้งจากภายในฝายปกครองเองหรือจากองคกรภายนอก เชน องคกรอิสระหรือ
ศาลที่อาจเพิกถอนกฎหรอื คําส่ังทางปกครองได หรอื แมก ระทั่งการใชอ ํานาจดุลพินิจของฝายปกครอง
ศาลยอมตรวจสอบไดเสมอ เพียงแตเปนการตรวจสอบในเกณฑต่ํา เฉพาะกรณีที่เปนการใชดุลพินิจ
โดยมิชอบเทานั้น ซ่ึงเปนไปตามหลักกฎหมายปกครองในขอท่ีวา “ตองเปนหลักกฎหมายท่ีสามารถ
แยกดุลพินิจโดยแทของงานบริหารออกจากการควบคุมของสถาบันฝายกฎหมายปกครองได” ดวย
เหตุน้ีหลักนิติรัฐ (Legal State) จึงมีลักษณะเปน “หลักคิด” มากกวาหลักปฏิบัติ ดังน้ัน นิติรัฐ จึง
เปนเคร่ืองมือสําคัญในการบัญญัติหรือบังคับใชกฎหมายควบคูกับการจัดใหมีกลไกการตรวจสอบการ
ใชอํานาจรัฐ เชน จัดใหมอี งคกรวินจิ ฉัย หรือพิพากษาคดีปกครอง อาทิ ศาลปกครอง หรือมีกฎหมาย
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง กฎหมายขอมูลขาวสาร หรือเปนหลัก คิดกําหนดใหรัฐใชหลักนิติรัฐ
(Legal State) เปนกรอบในการดําเนินนโยบายของรัฐ เชน มาตรา ๖๗ วรรคสองของรัฐธรรมนูญที่
บัญญัติวา “การดําเนินโครงการหรือกิจกรรมท่ีอาจกอใหเกิดผลกระทบ ตอชุมชนอยางรายแรง ทั้ง
ทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ จะกระทํามิได เวนแตจะไดศึกษาและ
ประเมินผลกระทบตอ คุณภาพสิง่ แวดลอมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน”๒ เปน ตน

หลักนิติธรรม เปนองคประกอบหน่ึงใน ๖ หลกั ของธรรมาภบิ าล วาดวยการตรากฎหมาย
และขอบังคับใหทันสมัยและเปนธรรม เปนท่ียอมรับของสังคมอันจะทําใหสังคมยนยอมพรอมใจกัน
ปฏิบัติตามกฎหมายและขอบังคับเหลาน้ัน โดยถือวาเปนการปกครองภายใตกฎหมายมิใชใชอํานาจ
ตามอําเภอใจของ บุคคล ๕ ซ่ึงธรรมาภิบาลท้ัง ๖ หลักนั้นประกอบไปดวย ๑) หลักนิติธรรม ๒) หลัก
คุณธรรม ๓) หลักความโปรงใส ๔) หลักการมีสวนรวม ๕) หลักความรับผิดชอบและ๖) หลักความ
คุมคา เพ่ือใหสอดคลองกับคําแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ จันทรโอชา ไดแถลง
ตอรัฐสภา เมื่อวันพฤหัสบดีท่ี ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒ เก่ียวกับกฎหมายและการยุติธรรม วาจะปฏิรูป
ระบบกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมทั้งระบบใหมีความทันสมัย โดยสงเสริมใหมีรูปแบบการ
ลงโทษอื่นที่ไมใชโทษอาญาตามหลักสากล มุงเนนยกระดับการพัฒนาระบบ แกไข บําบัด ฟนฟู

๑ สํานักเลขาธิการรัฐมนตรี กลุมงานราชกิจจานุเบกษา, รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับ
ช่ัวคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ แกไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๔) พุทธศักราช ๒๕๖๐, [ออนไลน], แหลงท่ีมา:
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/A/006/1.PDF [๒๐ กนั ยายน ๒๕๖๓].

๒ ธีระพล อรุณะกสิกร และคณะ, ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการสรางระบบการบริหาร
กิจการบานเมืองและสังคมทีด่ ี พ.ศ.๒๕๔๒, (กรงุ เทพมหานคร: สาํ นักพิมพวิญชู น, ๒๕๔๒), หนา ๘-๑๐.



ผกู ระทําผิดสงเสริม ปกปอง คุมครองสิทธิมนุษยชน พัฒนาประสิทธิภาพระบบการสืบสวนสอบสวนดาน
การปราบปรามอาชญากรรมพิเศษ กําหนดมาตรการคุมครองเจาหนาท่ีของรัฐในกระบวนการยุติธรรมให
สามารถปฏิบัติหนาท่ีโดยปราศจากการแทรกแซงหรือครอบงําใด ๆ พรอมทั้งบูรณาการหนวยงานท่ี
เกี่ยวของในกระบวนการยุติธรรมใหดําเนินงานสอดประสานกันอยางเปนองคาพยพเพื่อใหสามารถ
จัดการกับขอขัดแยงและกรณีพิพาทไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนนการทํางานเชิงรุกรวมทั้งพัฒนา
บุคลากรในกระบวนการยุติธรรมใหสามารถอํานวยความยุติธรรมไดอยางเปนธรรมเสมอภาค โปรงใส
รวดเร็ว ทัว่ ถึง และปราศจากการเลือกปฏิบัติสรา งความเช่ือมัน่ ในกระบวนการยุติธรรมไดแ ละสรางสังคม
ที่พัฒนาอยา งเปนธรรม ลดความเหล่ือมลาํ้ เกดิ ความเสมอภาคและเทาเทียม พรอ มท้ังผลักดันใหเกิดการ
นําเทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรมสมัยใหมมาใชในการพัฒนาระบบฐานขอมูลกฎหมาย พัฒนากฎหมาย
และกระบวนการยุติธรรม เพ่ือใหการบังคับใชกฎหมายเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ โปรงใส ไมเลือก
ปฏิบัติและเปนธรรม รวมทั้งใหความชวยเหลือทางกฎหมายที่จําเปนและเหมาะสมแกผูยากไรหรือ
ผดู อยโอกาสในการเขา ถงึ กระบวนการยุตธิ รรมไดโ ดยสะดวกและรวดเรว็ 2๓

จากเหตุผลและความสําคัญที่กลาวขางตน ผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาการสงเสริมหลัก
นิติธรรมในการปกครองของผูนําทองถ่ินใหดําเนินการทางกฎหมาย ตามหลักการบริหารกิจการบานเมือง
ที่ดี ไดแก หลักนิติธรรม คือการตรากฎหมาย กฎ ขอบังคับตาง ๆ ใหทันสมัยและเปนธรรม เปนที่
ยอมรับของสังคม ไมเลือกปฏิบัติ หลักคุณธรรม คือการยึดมั่นในความถูกตองดีงาม สํานึกในหนาท่ีของ
ตนเอง มีความซื่อสัตยสุจริต จริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบวินัย และเคารพในสิทธิของผูอ่ืน หลักความ
โปรงใส (การสรางความไววางใจตอกัน โดยมีการใหและการรับขอมูลท่ีสะดวกเปนจริง ทันการณ
ตรงไปตรงมา) หลักการมีสวนรวม (การเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมรับรู และรวมคิด รวมเสนอ
ความเห็นในการตดั สินใจปญหาสําคัญของประเทศในดา นตา ง ๆ) หลักความรับผิดชอบ (ความรบั ผิดชอบ
ท่ีตรวจสอบไดเปนการสรางกลไกใหมีผูรับผิดชอบ ตระหนักในหนาที่ ความสํานึกในความรับผิดชอบตอ
สังคม) หลักความคุมคา (การบริหารจัดการและการใชทรัพยากรท่ีมีจํากัด ใหเกิด ประโยชนคุมคา
เพ่ือใหเกิดประโยชนสูงสุดแกสวนรวม) ในการศึกษาวิจัยครั้งน้ี เพ่ือจักเปนขอมูลสารสนเทศใหมนําไป
ประยุกตใชเปนแนวทางในการสงเสรมิ และพัฒนาเก่ียวกบั การสง เสริมหลักนิตริ ัฐนิติธรรมเพื่อความเสมอ
ภาคของประชาชนในเทศบาลตําบลนามะเฟอง อําเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลําภูใหมีประสิทธิภาพ
ย่งิ ข้นึ ไป

๑.๒ คําถามการวิจยั

๑.๒.๑ ระดับการสงเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผูนําทองถ่ินตําบลนามะเฟอง
อําเภอเมอื ง จังหวดั หนองบวั ลาํ ภู อยูในระดับใด

๑.๒.๒ ระดับความคิดเห็นของประชาชนท่ีมีตอการปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔
ของผูนาํ ทอ งถิน่ ในตาํ บลนามะเฟอ ง อําเภอเมือง จงั หวดั หนองบัวลาํ ภู อยใู นระดบั ใด

๓ สํานักเลขาธิการรัฐมนตรี, คําแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี, (กรุงเทพมหานคร: พิมพ
คณะรฐั มนตรีและราชกิจจานเุ บกษา, ๒๕๖๒), หนา ๒๙.



๑.๒.๓ เปรียบเทียบการสงเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผูนําทองถิ่นตําบลนา
มะเฟอง อําเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลําภู จําแนกตาม ปจจัยสวนบุคคล และตามความคิดเห็นของ
ประชาชนตอการปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผูนําทองถิ่น ตําบลนามะเฟอง อําเภอเมือง
จงั หวดั หนองบัวลําภู แตกตา งกันอยา งไร

๑.๒.๔ แนวทางการสรางการสงเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผูนําทองถิ่นตําบลนา
มะเฟอง อําเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลําภู และตามความคิดเห็นของประชาชนตอการปฏิบัติตนตาม
หลกั พรหมวหิ าร ๔ ของผูนําทองถน่ิ ตําบลนามะเฟอง อาํ เภอเมอื ง จงั หวัดหนองบัวลําภู ควรเปนอยางไร

๑.๓ วตั ถุประสงคของการวจิ ยั

๑.๓.๑ เพ่ือศกึ ษาระดับการสงเสรมิ หลักนิติธรรมในการปกครองของผูนําทอ งถิ่นตําบลนา
มะเฟอง อําเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลาํ ภู

๑.๓.๒ เพ่ือศึกษาระดับความคิดเห็นของประชาชนท่ีมีตอการปฏิบัติตนตามหลักพรหม
วิหาร ๔ ของผนู ําทอ งถ่ินในตาํ บลนามะเฟอ ง อาํ เภอเมอื ง จังหวดั หนองบัวลาํ ภู

๑.๓.๓ เพอ่ื เปรียบเทยี บการสง เสรมิ หลักนิติธรรมในการปกครองของผูนําทอ งถิ่นตําบลนา
มะเฟอง อําเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลําภู จําแนกตาม ปจจัยสวนบุคคล และตามความคิดเห็นของ
ประชาชนตอการปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผูนําทองถิ่นตําบลนามะเฟอง อําเภอเมือง
จงั หวัดหนองบวั ลาํ ภู

๑.๓.๔ เพื่อศึกษาแนวการสรา งทางการสงเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผูนําทองถ่ิน
ตําบลนามะเฟอ ง อําเภอเมอื ง จังหวดั หนองบัวลําภู และตามความคดิ เห็นของประชาชนตอ การปฏิบัติตน
ตามหลักพรหมวหิ าร ๔ ของผนู ําทอ งถิ่นตําบลนามะเฟอง อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั หนองบวั ลําภู

๑.๔ ขอบเขตการวจิ ยั

การวิจัยเรื่อง “การสงเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผูนําทองถ่ินตําบลนามะเฟอง
อาํ เภอเมือง จังหวัดหนองบวั ลําภ”ู ผวู จิ ัยไดกําหนดขอบเขตของการศกึ ษาการวจิ ัยไว ๕ ดานดังนี้

๑.๔.๑ ขอบเขตดานเนื้อหา
การวิจัยคร้ังนี้ มุงศึกษาทางการสงเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผูนําทองถิ่น
ตาํ บลนามะเฟอง อาํ เภอเมือง จังหวัดหนองบัวลําภู ซึง่ ผูวิจัยไดกําหนดขอบเขตดานเน้ือหาไว ๑ ดาน
ดงั นี้ ๑) หลักนิตธิ รรม คอื การปฏบิ ัติตามกฎหมาย กฎ ระเบยี บ ขอ บังคับตา ง ๆ
๑.๔.๒ ขอบเขตดานพ้ืนท่ี
ไดแ ก พืน้ ท่ตี ําบลนามะเฟอ ง อาํ เภอเมอื ง จังหวดั หนองบวั ลาํ ภู



๑.๔.๓ ขอบเขตดานดานประชากร และผูใ หข อ มูลสําคัญ
ไดแก ประชาชนผูมีสิทธ์ิออกเสียงเลือกตั้ง ตั้งแตอายุ ๑๘ ปบริบูรณขึ้นไป ท่ีอยูในตําบล
นามะเฟอง อาํ เภอเมือง จังหวดั หนองบวั ลําภู จาํ นวน ๑๐,๖๗๑ คน3๔
๑.๔.๔ ขอบเขตดา นตัวแปร

๑. ตัวแปรตน (Independent Variables) คือ เพศ อายุ สถานภาพ อาชีพ ระดับ
การศึกษา รายไดต อ เดอื น และหลักพรหมวหิ าร ๔

๒. ตัวแปรตาม (Dependent Variables) คือ การสงเสริมหลักนิติธรรมในการ
ปกครองของผนู าํ ทอ งถน่ิ ตาํ บลนามะเฟอง อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั หนองบวั ลําภู ๔ ดา นคือ

๑) ดา นความเสมอภาค
๒) ดานหลกั สิทธิและเสรภี าพ
๓) ดานหลกั ความเปนอสิ ระและความเปนกลาง
๔) ดา นพลวัตกบั สถานการณ
๑.๔.๕ ขอบเขตดานระยะเวลา
ทาํ การวจิ ัยระหวา งเดือนกรกฎาคม – ธนั วาคม ๒๕๖๓ เปนระยะเวลา ๖ เดอื น

๑.๕ สมมตฐิ านการวิจยั

๑.๕.๑ ประชาชนท่ีมีเพศตางกัน มีการสงเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผูนํา
ทองถิ่นตําบลนามะเฟอง อําเภอเมือง จังหวดั หนองบัวลาํ ภู แตกตา งกนั

๑.๕.๒ ประชาชนท่ีมีอายุตางกัน มีการสงเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผูนํา
ทอ งถิน่ ตําบลนามะเฟอ ง อําเภอเมอื ง จงั หวัดหนองบวั ลาํ ภู แตกตา งกนั

๑.๕.๓ ประชาชนท่ีมีสถานภาพตางกัน มีการสงเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของ
ผูนําทองถ่นิ ตาํ บลนามะเฟอง อําเภอเมอื ง จังหวดั หนองบัวลาํ ภู แตกตางกนั

๑.๕.๔ ประชาชนท่ีมีอาชีพตางกัน มีการสงเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผูนํา
ทองถ่ินตาํ บลนามะเฟอ ง อาํ เภอเมือง จังหวดั หนองบวั ลาํ ภู แตกตา งกนั

๑.๕.๕ ประชาชนท่ีมีระดับการศึกษาตางกัน มีการสงเสริมหลักนิติธรรมในการปกครอง
ของผูนาํ ทอ งถิ่นตําบลนามะเฟอ ง อาํ เภอเมือง จังหวดั หนองบัวลาํ ภู แตกตางกัน

๑.๕.๖ ประชาชนท่ีมีรายไดตอเดือนตางกัน มีการสงเสริมหลักนิติธรรมในการปกครอง
ของผูน ําทอ งถน่ิ ตําบลนามะเฟอ ง อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั หนองบัวลําภู แตกตา งกนั

๑.๕.๗ ประชาชนที่มีความคิดเห็นตอการปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ตางกัน มีการ
สงเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผูนําทองถิ่นตําบลนามะเฟอง อําเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลําภู
แตกตา งกนั

๔ องคการบริหารสวนตําบลนามะเฟอง (อบต), ขอมูลพ้ืนฐาน, [ออนไลน], แหลงที่มา: https://
namafueang.go.th/public/ [๒๔ ตุลาคม ๒๕๖๓].



๑.๖ นยิ ามศพั ทเฉพาะทใี่ ชในการวจิ ยั

๑.๖.๑ การสงเสริม หมายถึง การขยายและถายทอดความรูตามระบบวิทยาการแผนใหม
ซ่ึงจะกอ ประโยชนผ ลดี และมีคุณคา ทางการปฏบิ ตั ิแกประชาชน

๑.๖.๒ หลักนิติธรรม หมายถึง การปกครองประเทศโดยกฎหมาย การตรากฎหมาย กฎ
ระเบียบขอบังคับและกติกาตาง ๆ ใหทันสมัยและเปนธรรม ตลอดจนเปนที่ยอมรับของสังคมและ
สมาชิก โดยมีการยนิ ยอมพรอ มใจและถอื ปฏิบัติรวมกนั อยางเสมอภาคและเปนธรรม

๑.๖.๓ ผูนําทองถิ่น หมายถึง บุคคลที่ชวยผูอ่ืน หรือชุมชนซ่ึงอาจจะเปนผูมีอํานาจหรือ
อิทธิพลสามารถชกั จูงคนใจชุมชนได

๑.๖.๔ องคการบริหารสวนตําบลนามะเฟอง หมายถึง องคการบริหารสวนตําบล (อบต.)
คอื หนวยการบริหารราชการสวนทองถ่ิน มีฐานะเปนนิติบุคคลและราชการสวนทองถ่ิน ไดรับการยก
ฐานะเปนองคก ารบรหิ ารสวนตาํ บลนามะเฟอง เม่อื วนั ท่ี ๒๓ กมุ ภาพันธ ๒๕๔๐

๑.๖.๕ การปกครองสวนทองถ่ิน หมายถึง การปกครองท่ีรัฐบาลมอบอํานาจใหประชาชนใน
ทองถ่ินใดทอ งถิ่นหนงึ่ จัดการปกครองและดําเนินการบางอยาง โดยดาํ เนินการกันเอง เพื่อบรกิ ารสถานะ
ความตองการของประชาชน การบริหารของทองถ่ิน มีการจัดเปนองคกร มีเจาหนาที่ซ่ึงประชาชน
เลือกตั้งขึ้นมาท้ังหมด หรือบางสวน ท้ังนี้ มีความเปนอิสระในการบริหารงาน แตรัฐบาลตองควบคุมดวย
วิธีการตาง ๆ

๑.๗ ประโยชนท ่ีไดรับจากการวิจยั

๑.๗.๑ ทําใหทราบถึงระดับการสงเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผูนําทองถ่ิน
ตาํ บลนามะเฟอง อําเภอเมอื ง จงั หวัดหนองบวั ลําภู

๑.๗.๒ ทําใหทราบระดับความคิดเห็นของประชาชนท่ีมีตอการปฏิบัติตนตามหลักพรหม
วหิ าร ๔ ของผนู าํ ทอ งถ่ินในตาํ บลนามะเฟอง อาํ เภอเมือง จงั หวดั หนองบวั ลาํ ภู

๑.๗.๓ ทําใหทราบการเปรียบเทียบการสงเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผูนํา
ทองถ่ินตําบลนามะเฟอง อําเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลําภู จําแนกตาม ปจจัยสวนบุคคล และตาม
ความคดิ เห็นของประชาชนตอ การปฏิบัติตนตามหลักพรหมวิหาร ๔ ของผูน ําทองถ่ินตําบลนามะเฟอง
อาํ เภอเมอื ง จงั หวัดหนองบัวลาํ ภู

๑.๗.๔ ทําใหทราบถึงแนวทางการสงเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผูนําทองถิ่น
ตาํ บลนามะเฟอง อาํ เภอเมือง จังหวัดหนองบวั ลําภู และตามความคิดเหน็ ของประชาชนตอการปฏบิ ัติ
ตนตามหลกั พรหมวิหาร ๔ ของผนู าํ ทอ งถิน่ ตําบลนามะเฟอง อําเภอเมอื ง จงั หวดั หนองบัวลาํ ภู

๑.๗.๕ เปนขอมูลสารสนเทศเพ่ือนําไปใชในการเผยแพรในวารสารหรือการประชุมวิชาการ
ระดบั ชาติ

บทท่ี ๒

แนวคดิ ทฤษฏี และงานวจิ ัยที่เก่ียวของ

การศึกษาวิจัยเรื่อง “การสงเสริมหลักนิติธรรมในการปกครองของผูนําทองถ่ินตําบลนา
มะเฟอง อาํ เภอเมือง จังหวัดหนองบัวลําภู” มขี อบเขตการศึกษา แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ัย
ที่เกีย่ วของเพื่อใชเปนพ้ืนฐาน และแนวทางการศึกษาตามลาํ ดับดงั นี้

๒.๑ แนวคดิ เกีย่ วกบั หลักนติ ธิ รรม
๒.๒ แนวคดิ เก่ยี วกบั หลกั นิตธิ รรมกับการมีสวนรว ม
๒.๓ แนวคิดเกี่ยวกับการปกครองสวนทองถิ่น
๒.๔ แนวคิดเกย่ี วกับผูน าํ ทองถิ่น
๒.๕ หลักพทุ ธธรรมทเ่ี กีย่ วของกบั การสงเสรมิ หลกั นิตธิ รรม
๒.๖ ขอ มูลบรบิ ทเร่ืองท่ีวิจยั
๒.๗ งานวจิ ยั ที่เกีย่ วของ
๒.๘ กรอบแนวคิดในการวจิ ยั

๒.๑ แนวคดิ เกีย่ วกบั หลักนติ ิธรรม

๒.๑.๑ ความหมายและความสาํ คญั ของหลักนติ ิธรรม
“หลักนิติธรรม” เปนแนวคดิ ทมี่ ีรากฐานมาจากระบบกฎหมายจารตี ประเพณีแบบอังกฤษ
(Common Law) ผูท่ีนําคําน้ีมาใชในระบบกฎหมายอังกฤษ โดยอธิบายความหมายในแงมุมใหมซึ่ง
สอดคลองกับแนวคดิ ประชาธิปไตยและการปกปองคุมครองสทิ ธิเสรภี าพของประชาชนอยา งย่ิง
“ความเปนสูงสุดของกฎหมายหรือการปกครองโดย กฎหมาย คือลกั ษณะของรัฐธรรมนูญ
อังกฤษ”นั่นคือหลักนิติธรรม ดังนั้น ความหมายของหลักนิติ ธรรมในทัศนะของใคร ซึ่งประกอบดวย
หลัก ๓ ประการ4๑ ไดแก
หลักขอที่ ๑ บุคคลตองไมถูกลงโทษหรือกระทําย่ํายีตอรางกายหรือทรัพยสินของตน เวน
แตไดกระทําการอันเปนการละเมิดกฎหมาย ซึ่งไดบัญญัติขึ้นโดยกระบวนการอันชอบธรรม และ
พพิ ากษาเบ้ืองหนา ศาลยุติธรรมของแผนดิน หมายความวาหลกั นติ ิธรรมเปนระบบการปกครองซ่ึงตรง

๑ Andrew Venn Dicey, Introduction to the Study of the Law of the Constitution,
10th edition, 1960, p.183, cited in Michael Neumann, The Rule of Law: Politicizing ethics,
(Burlington: Ashgate Publishing Limited, 2002), p. 1.



ขามกับระบบใด ๆ ท่ีปกครองโดยบุคคลที่มีอํานาจกวางขวางไมจํากัด และใชอํานาจบังคับไดโดย
อําเภอใจ แสดงวาภายใตการปกครองโดยหลักนิติธรรม ประชาชนไมอาจถูกลงโทษเวนแตจะกระทํา
การทกี่ ฎหมายบัญญัตวิ าเปน ความผดิ และกําหนดโทษไวล วงหนามใิ ชขึ้นอยกู ับอาํ เภอใจของผูปกครอง
ทอ่ี าจเปลี่ยนแปลงในภายหลงั ไดท ุกเมื่อ

หลักขอท่ี ๒ คือไมมีผใู ดอยูเ หนือกฎหมายของแผน ดิน ไมวาบุคคลนัน้ จะมีชาติกําเนิดหรือ
มีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมระดับใด ยอมถูกบังคับโดยกฎหมายและโทษอยางเดียวกัน กลาวอีก
นัยหนง่ึ คอื หลกั ความเสมอภาคเบอ้ื งหนากฎหมาย

หลักขอท่ี ๓ รัฐธรรมนูญหรือกฎหมายสูงสุดนั้นมาจากกฎหมายปกติธรรมดาที่ศาล
ยตุ ิธรรมใชต ดั สนิ คดใี นชวี ิตประจาํ วนั ทง้ั คดแี พง และคดอี าญา

คําอธิบายหลักนิติธรรมของไดซ่ีขางตนมีสาระสําคัญใกลเคียงกับแนวคิดวาดวย “นิติรัฐ”
สมัยใหม (Legal State (eng.) หรือ Etat de droit (fr.) หรือ Rechtsstaat (gr.) ของระบบกฎหมาย
แบบประมวลกฎหมาย (Civil Law) ของภาคพื้นยุโรป ซ่ึงประเทศไทยไดรับอิทธิพลแนวคิดเรื่องน้ีมา
ใชใ นระบบกฎหมายมหาชนไทยดว ย ในฐานะทเ่ี หน็ วา หลักนิติรัฐเปนระบบที่เก้อื หนุนและเปน เสาหลัก
คํ้าจุนระบอบการปกครองแบบเสรีประชาธิปไตย หากปราศจากซ่ึงหลักนิติรัฐ การปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยท่ีแทจ รงิ ก็ไมอ าจเกิดขน้ึ ไดในประเทศไทย

“นิติรัฐในแงของความสัมพันธระหวางรัฐกับประชาชนน้ัน หมายถึง ที่ยอมตนอยูภายใต
ระบบกฎหมาย และยอมผูกพันการกระทําใด ๆ ของตนกับกฎเกณฑของกฎหมายซ่ึงสวนหน่ึงได
บัญญัติรับรองสิทธิเสรีภาพตาง ๆ ของประชาชนเอาไวอีกสวนหน่ึงไดบัญญัติไวลวงหนา เก่ียวกับ
เง่ือนไขและขอจํากัดตาง ๆ เกี่ยวกับวิธีการซ่ึงฝายปกครองจะกระทําไดในการปฏิบัติหนาที่เพ่ือให
บรรลวุ ัตถปุ ระสงคของกฎหมาย”๒

คําวา “หลักนิติธรรม” มาจากคําในภาษาอังกฤษวา Rule of Law ซึ่งมีผูใหคําแปลไว
หลากหลาย อาทิ หลกั พื้นฐานแหงกฎหมาย6๓

หลักนิติธรรม คือ หลักการพื้นฐานแหงกฎหมายที่สําคัญในระบบประชาธิปไตย ท่ีเทิดทูน
ศักดิ์ศรีแหงความเปนมนุษยแ ละยอมรับนับถือสิทธมิ นุษยชนทุกแงมุมรัฐตองใหความอารักขาคมุ ครอง
มนุษยชนใหพ นจากลัทธทิ รราชยหากมีขอพิพาทใด ๆ เกิดขนึ้ ไมวาระหวางรัฐกบั เอกชน หรอื ระหวาง
เอกชนกับเอกชนศาลยอมมีอํานาจอิสระในการตัดสินขอ พิพาทน้ันโดยเด็ดขาดและโดยยุติธรรมตาม
กฎหมายของบานเมอื งท่ถี ูกตองและเปนธรรม7๔

๒ Carré de Malberg.R., Contribution à la Théorie générale de l’État: Tome I, p. 489.
๓ พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ หนา ๕๘๗ อางใน ประยูร กาญจนดุล, อา งใน เอก
บุญ วงศส วสั ดก์ิ ลุ . หลักนติ ริ ัฐ หลักนิติธรรม, (กรงุ เทพมหานคร: มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร, ๒๕๕๓), หนา ๑๔๐.
๔ ธานินทร กรัยวิเชียร, หลักนิติธรรม, พิมพคร้ังท่ี ๒, (กรุงเทพมหานคร: บริษัทธนาเพรส จํากัด,
๒๕๕๒), หนา ๒๓.



ในมิติในทางกฎหมาย หลักนิติธรรม คือ หลักการแบบแผน ระเบียบ ขอบังคับท่ีอยูบน
พ้ืนฐานของความเปนธรรม เปนหลักพื้นฐานแหงกฎหมายที่เปนปจจัยยอยอันสงผลตอการสนับสนุน
และการแกไขปญหาตา ง ๆ ของประเทศชาติ เปนกฎระเบียบทเี่ ปนบรรทัดฐานท่ีครอบคลุมการบังคับ
ใชกฎหมายท่ีเปนธรรมและเนนการมีสวนรวมของประชาชนภายใตความเสมอภาคและเทาเทียมกันมี
ความเปนสากลไมเลือกปฏิบัติ โดยจะมีหนาท่ีหลักสองประการคือประการท่ีหน่ึงการกําหนดขอจํากัด
ทางกฎหมายใหแกเจาหนาที่ปกครอง และประการท่ีสอง คือการรักษาระเบียบและประสาน
ความสมั พนั ธใ นกิจกรรมตา ง ๆ ของพลเมอื ง8๕

หลักนิติธรรม (Rule of Law) หมายถึง ความเปนธรรมที่มีอยูในกฎหมาย หรือกฎหมาย
ใหความเปนธรรมไดหรือกี่กลาวอีกนัยหนึ่ง ก็คือ “คุณธรรมทางกฎหมาย” อันเปนหลักการพ้ืนฐาน
แหงกฎหมายนั่นเอง โดยท่ีความเปนธรรมเปนสิ่งท่ีทุกสังคมถวิลหา เพราะที่ใดมีความเปนธรรมท่ีนั่น
ยอ มนาํ มาซึ่งความสนั ตสิ ขุ

หลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากจะมีความหมายถึงหลักพื้นฐานแหงกฎหมายแลว
ยังเปนหลักพ้ืนฐานท่ีสําคัญประการหน่ึงของหลักการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดีที่รวมถึงการบริหาร
ราชการแผนดินภายใตบังคับของกฎหมาย และการตรากฎหมายโดยฝายบริหารท่ีควรเคารพตอสิทธิ
ตา ง ๆ ของเอกชนตามนัยแหงหลักธรรม และการชวยเหลือตามความสามารถอยางจริงจังโดยมีผูเปน
ตุลาการที่จะดําเนินการโดยอิสระตามครรลองโดยปราศจากอคติใหเปนไปตามนั้น และผูมีอาชีพ
กฎหมายที่เกี่ยวของควรยืนหยัด สงเสริมสิทธิตาง ๆ ของผูตองหาทุกคนตามนัยแหงหลักธรรมรวมอยู
ดวยเม่ือจะกลาวถึงความเปนมาและที่มาของหลักนิติธรรม (Rule of Law) ตองถือวาหลักดังกลาวมี
มานานแลวโดยเริ่มกอตัวและปรากฏเปนรูปธรรมชัดเจนในประเทศอังกฤษในศตวรรษท่ี ๑๓ โดยถือ
เปนสวนหน่ึงของรัฐธรรมนูญจารีตประเพณีของประเทศอังกฤษที่มีหลักการสําคัญ ไดแก บุคคลพึง
ไดรับการพิจารณาโทษโดยศาลในการกระทําที่ขัดตอ กฎหมายโดยหลักความเสมอภาคไมวาบุคคลนั้น
จะอยูในฐานะใด สิทธิเสรีภาพของ บุคคลจะตองไดรับการยอมรบั จากศาล ดวยผลแหง ความศกั ดิส์ ิทธิ์
ของกฎหมาย9๖

“หลักนิติธรรม” มาจากคําในภาษาอังกฤษวา Rule of Law เปนแนวคิดที่มีมาชานานแลว
ต้ังแตสมัยกรีกโบราณ เกิดจากการคนหาหลักการปกครองที่ดีท่ีสุด เพลโต (Plato ๔๒๙ - ๓๔๘ B.C.)
นักปราชญชาวกรีกผูเคยเสนอวา การปกครองท่ีดีที่สุดคือการปกครองโดยราชาปราชญ (Philosopher
King) ซ่ึงเปนทั้งคนเกงและคนดีมีคุณธรรมประจําใจ ปกครองบานเมืองดวยความถูกตองชอบธรรม แต
สุดทายแลวเพลโตก็ไมสามารถหาคนที่สมบูรณแบบพอท่ีจะเปนราชาปราชญได ในปนปลายชีวิตเพลโต
จึงหันมาใหความสําคัญกับ “กฎหมาย” โดยเสนอวากฎหมายเปนส่ิงสูงสุดและการปกครองจะตอง
ดําเนินตามกฎหมาย หากสังคมสามารถสรางระบบกฎหมายที่ดีและเปนธรรมข้ึนมาใหคนประพฤติ

๕ อุเทน ชัชศฤงศารสกุล, หลักนิติธรรมและขอสังเกตเบื้องตน, (เชียงราย: มหาวิทยาลยั แมฟาหลวง,
๒๕๕๕), หนา ๙๙.

๖ บรรหาญ จงเจรญิ ประเสริฐ, ความสัมพันธระหวางหลักนติ ธิ รรมและนติ ิรฐั , [ออนไลน], แหลงท่มี า:
https://www.constitutionalcourt.or.th/occ_web/ewt_dl_link.php?nid=1266 [๑๐ ธันวาคม ๒๕๖๓].

๑๐

ปฏบิ ัติตามได แมแตคนช่ัวก็ยงั อาจจะมที างทําความดขี ้นึ มาไดเ ชนกันโดยแนวความคิดเรอื่ ง THE RULE
OF LAW เร่ิมเปนรูปธรรมชัดเจนขึ้นที่ประเทศอังกฤษในคริสตศตวรรษท่ี ๑๓ โดยปรากฏหลักเกณฑ
อยูในกฎบัตรแมกนาคารตา (MAGNA CARTA) ค.ศ.๑๒๑๕ และไดรับการพัฒนาตอมาจนเริ่มเปนที่
รจู ักแพรหลายและเปนที่ยอมรับไปทั่วโลกโดยศาสตราจารยเอ. วี. ไดซีย (Albert Venn Dicey) แหง
มหาวิทยาลัยออกฟอรด หลักนิติธรรมไดพัฒนาโดยตลอดแตประการหนึง่ ทเี่ ปนหวั ใจสําคัญคือไมวา จะ
เปนตัวบทกฎหมาย บทบาทของศาลกระบวนการยุติธรรมในทุก ๆ ข้ันตอนลวนมีหลักการหรือหัวใจ
ของเรอ่ื งอนั เดียวกันทงั้ สนิ้ คือตองตัง้ อยูในความถกู ตอ งและชอบธรรม10๗

นอกจากนี้ยังมีการพูดถึงหลักนิติธรรมในสังคมไทยอยางกวางขวาง มีการวิพากษวิจารณ
การกระทําของรัฐในหลาย ๆ กรณีวาถูกตองชอบธรรมตามหลักนิติธรรมหรือไม จะทําอยางไรให
ประเทศไทยเปนสังคมแหงหลกั นิติธรรมอยางแทจ ริง จึงมขี อสงั เกตวาเจตนารมณท่ีแทจริงของ “หลัก
นติ ิธรรม” ตามรัฐธรรมนูญ มีความมุงหมายอยา งไร ขอบเขตการบังคับกวา งแคบเพยี งใด และรวมกัน
พิจารณาวาจะเหมาะสมหรือไมหากเราจะนําหลักนิติธรรมของตางประเทศมาใชกับประเทศไทย
ท้ังหมดหรือเราควรจะรวมกันคนหาเจตนารมณในแบบของไทยเอง เพราะหลักนิติธรรมในหลาย ๆ
ประเทศก็มิไดเหมือนกันเสียท่ีเดียวแตมีการดัดแปลงหลักนิติธรรมตนแบบของประเทศอังกฤษไปบาง
เพอื่ ใหเขากบั สภาพสงั คมในประเทศของตน

ความสําคัญของหลักนิติธรรมในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
หมวดที่ ๕ แนวนโยบายพ้ืนฐานแหงรัฐ สวนที่ ๓ แนวนโยบายดา นการบริหารราชการแผนดนิ มาตรา
๗๘ (๖) ที่บัญญัติไวว า “รัฐตองดําเนินการตามแนวนโยบายดานการบริหารราชการแผน ดินดังตอไปน้ี
(๖) ดําเนินการใหหนวยงานทางกฎหมายที่มีหนาท่ีใหความเห็นเก่ียวกับการดําเนินงานของรัฐตาม
กฎหมายและตรวจสอบการตรากฎหมายของรัฐ ดําเนินการอยางเปนอิสระ เพื่อใหการบริหารราชการ
แผนดินน้เี ปนไปตามหลักนิติธรรม”11๘ ดังนัน้ แลว การธํารงไวซึง่ ความถูกตอ งตามหลักนิติธรรมในสงั คม
ยอ มเปนประโยชนตอการพัฒนาการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อยางไรก็ตามยอนไปเมื่อครั้ง
แรกท่ีประเทศไทยนําเอา “หลกั นิติธรรม” มาบัญญัติรับรองไวในรัฐธรรมนูญ จึงมีการถกเถียงกันวามี
ความจําเปน หรือไมอยางไร ซึ่งในการประชุมของสมาชิกสภารางรัฐธรรมนูญก็มีการอภิปรายถึง
ประเด็นนี้เชนกัน ฝายที่คัดคานใหเหตุผลวา เปนท่ีเขาใจกันดีอยูแลววาการใชอํานาจรัฐตองเปนไป
ตามกฎหมายและโดยถูกตองชอบธรรม ซึ่งเปนหลักการท่ีสามารถสกัดไดจากตัวบทมาตราตาง ๆ ใน
รฐั ธรรมนูญอยูแลว โดยเสยี งสวนใหญก็ยังใหการสนับสนุนวาควรมีการบัญญัติ “หลักนิติธรรม” ไวใน
รฐั ธรรมนูญเน่อื งจากเห็นวา “หลักนิติธรรม” นี้ มกี ารพดู ถงึ กันมากอยูแลวในสงั คม แตยังไมเคยมีการ
นําเรื่องนี้มาบัญญัติไวโดยเฉพาะเจาะจงในกฎหมายเลย จึงมักปรากฏอยูเสมอวา ไดมีการละเลยและ

๗ ชัยวัฒน วงศวัฒนศานต, “หลักนิติธรรม”, รวมบทความทางวิชาการเน่ืองในโอกาสครบรอบ ๙๐
ป ธรรมศาสตราจารย สัญญา ธรรมศักดิ์, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๔๑), หนา
๒๓.

๘ สํานักเลขาธิการรัฐมนตรี, รัฐธรรมนูญ แหงราชอาณ าจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐,
(กรงุ เทพมหานคร: สํานักพมิ พค ณะรัฐมนตรีและราชกจิ จานุเบกษา. ๒๕๕๐).

๑๑

ไมดําเนินการใหเปนไปตามหลักนิติธรรม ดังน้ัน เพื่อเปนการแสดงเจตนารมณของการยกราง
รัฐธรรมนูญที่ตองการใหการปกครองประเทศเปนไปตามหลักนิติธรรม เปนการยืนยันวาหลักน้ีมีอยู
จรงิ และจาํ เปนตองไดร ับการปฏิบัติตามจากบรรดาองคกรของรฐั ทุกประเภท ซ่งึ สาระสําคัญของหลัก
นิติธรรม สามารถแบงออกเปนหลักการได ๗ ประการคือหลักการแบงแยกอํานาจ หลักการคุมครอง
สิทธิและเสรีภาพ หลักความชอบธรรมดวยกฎหมายของฝา ยตุลาการและฝายปกครองความชอบดวย
กฎหมายในทางเน้ือหา หลักความเปนอิสระของผูพิพากษา และหลักความเปนกฎหมายสูงสุดของ
รฐั ธรรมนูญ12๙

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๓ ระบุวา “อํานาจอธิปไตย
เปนของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริยผูทรงเปนประมุขทรงใชอํานาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี
และศาล ตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ รัฐสภา คณะรฐั มนตรี ศาล องคกรอิสระ และหนวยงานของรัฐ
ตองปฏิบัติหนาท่ีใหเปนไปตามรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และหลักนิติธรรมเพ่ือประโยชนสวนรวมของ
ประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม” และมาตรา ๒๖ ระบุวา “การตรากฎหมายท่ีมีผล
เปนการจํากัดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลตองเปนไปตามเงื่อนไขที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญในกรณีที่
รัฐธรรมนูญมิไดบัญญัติเง่ือนไขไว กฎหมายดังกลาวตองไมขัดตอหลักนิติธรรม ไมเพิ่มภาระหรือจํากัด
สิทธิหรือเสรีภาพของ บุคคลเกินสมควรแกเหตุ และจะกระทบตอศักด์ิศรีความเปนมนุษยของบุคคลมิได
รวมทั้งตองระบุเหตุผลความจําเปนในการจํากัดสิทธิและเสรีภาพไวดวย กฎหมายตามวรรคหน่ึง ตองมี
ผลใชบังคับเปนการท่ัวไป ไมมุงหมายใหใชบังคับแกกรณีใดกรณีหนึ่งหรือแกบุคคลใดบุคคลหน่ึงเปนการ
เจาะจง” ท้ังน้ี เห็นไดวา หลักนิติธรรมไดมีการนํามาใชกําหนดกรอบการใชอํานาจและการปฏิบัติหนาที่
ของฝายนิติบัญญัติ ฝายบริหาร ฝายตุลาการ องคกรอิสระ และหนวยงานของรัฐ ดังน้ัน การศึกษาเพื่อ
สรางความเขาใจในประเด็นเกี่ยวของกับหลักนิติธรรม จึงมีความสําคัญและจําเปนในการบริหารราชการ
แผนดินตอไปในอนาคต13๑๐

สรุปไดว า หลักนติ ิธรรม กค็ ือ หลักการพื้นฐานแหงกฎหมาย ความเปน สูงสดุ ของกฎหมาย
หรือการปกครองโดยกฎหมาย กลาวคือ บุคคลเสมอภาคกันในกฎหมายบุคคลจักตองรับโทษในการ
กระทําผิดอันใดตอเมื่อมีกฎหมายบัญญัติไววา การกระทําน้ันเปนความผิดและกําหนดโทษไวและ
จะตอ งไดรบั การพิจารณาคดีจากศาลยุตธิ รรมที่มีความเปนอิสระในการชี้ขาดตัดสินคดีไมวาจะเปนขอ
พิพาทท่เี กิดขึ้นระหวา งเอกชนดวยกันเองหรือระหวางเอกชนกบั รัฐ” อาจถือไดว าหลักนิตธิ รรมนั้นเปน
หลกั สําคัญของนติ ิรัฐตลอดจนเปนรากแกว ของการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยโดยแท

๙ ถวิลวดี บุรีกุล, “หลักการเพ่ือการบริหารรัฐกิจแนวใหม”, วารสารสถาบันพระปกเกลา, ป ๒๕๔๖
เลมที่ ๒, (๒๕๔๖).

๑๐ ภาณุ จันทรเจียวใช, “หลักนิติธรรมและหลักนิติรัฐของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช ๒๕๖๐ ศึกษาเฉพาะประเด็นดานการเงิน การคลัง และการงบประมาณ”, รายงานการอบรมหลักสูตร
หลกั นิตธิ รรมเพอ่ื ประชาธปิ ไตย รนุ ที่ ๕, (วิทยาลัยศาลรัฐธรรมนญู : สาํ นกั งานศาลรฐั ธรรมนูญ, ๒๕๖๐).

๑๒

๒.๑.๒ หลักนิติธรรมท่ีเปน องคป ระกอบของหลกั ธรรมาภิบาล
หลักนิติธรรม หมายถึง หลักพื้นฐานแหงกฎหมาย ที่กฎหมายอันหมายความรวมถึง การ
บัญญัติกฎหมาย การใชการตีความกฎหมาย การบังคับใชกฎหมาย และกระบวนการยุติธรรมจะตอง
ไมฝาฝนหรือขัดหรือแยงตอหลักนิติธรรมหรือหลักพ้ืนฐานแหงกฎหมาย หลักนิติธรรมหรือหลัก
พ้ืนฐานแหงกฎหมายจะถูกลวงละเมิดมิได หากกฎหมายหรือกระบวนการยุติธรรมขัดหรือแยงตอ
หลักนิติธรรม ผลก็คือจะใชบังคับไมไดหรือกลาวอีกนัยหน่ึงหลักนิติธรรม คือหลักท่ีอยูเหนือกฎหมาย
ท้ังปวงอยูเหนือแมกระทั่งรัฐธรรมนูญ หลักนิติธรรมจึงเปนเสาหลักที่ใชคํ้ายันหรือกํากับไมให
กฎหมายและกระบวนการยุติธรรมใด ๆ กลายเปนเครื่องมือของผูมีอํานาจท่ีฉอฉลไมว าจะเปนรัฐสภา
รัฐบาล หรือแมแตศาลสถิตยุติธรรมไมใหใชอํานาจและดุลยพินิจตามอําเภอใจ สาระสําคัญหรือ
องคประกอบของหลกั นติ ิธรรมมีอยู ๖ ประการดังน้ี

๑) กฎหมายตองใชบังคับเปนการทั่วไป หมายความวา กฎหมายตองมุงหมายใหใช
บังคับกับบุคคลทุกคนโดยเสมอภาคกัน กฎหมายตองไมมุงหมายใหใชบังคับกับกรณีใดกรณีหน่ึงหรือ
กับคนใดคนหนึ่งโดยเฉพาะเจาะจง หลักการหรือสาระสําคัญของหลักนิติธรรมประการหน่ึงคือ
กฎหมายตองมุงหมายใหใชบังคับเปนการท่ัวไป กลาวคือการตรากฎหมายจะตองมุงหมายใหใชบังคับ
กบั บุคคลโดย ท่ัวๆ ไปเปน การวางกฎกติกาสําหรับสังคมเปนการทวั่ ไป หลักการนี้มีไวเพื่อปองกันมใิ ห
ผูมีอํานาจใช อํานาจออกกฎหมาย มุงหมายกล่ันแกลง ทําลายลาง หรือลงโทษบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
หรือกลุมบุคคล ใดบุคคลหนึ่งโดยเฉพาะเจาะจง ซึ่งในกรณีเชนนี้ยอมเทากับวากฎหมายมิไดเปน
เคร่ืองมือในการให ความเปนธรรมกับสังคมแตกลายเปนเคร่ืองมือของผูมีอํานาจในการทําลายลาง
บุคคลหรือกลุมบุคคล ที่เปนปฏิปกษกับตน ดังนั้น หากกฎหมายมีลักษณะดังกลาวยอ มขัดกับหลักนิติ
ธรรมไมมผี ลบังคับใช

๒) กฎหมายจะบัญญัติใหการกระทําใดเปนความผิดอาญาและมีโทษยอนหลังหรือมี
โทษยอนหลังหนักกวาเดิมไมได หากในขณะกระทําการใด ๆ ไมมีกฎหมายกําหนดใหการกระทําน้ัน
เปนความผดิ อาญากฎหมายที่ออกในภายหลงั จะบญั ญัติใหการกระทาํ นน้ั เปน ความผดิ และมีโทษอาญา
ยอนหลังไมไดและในกรณีท่ีมีกฎหมายกําหนดใหการกระทําใดเปนความผิดและมีโทษอาญาอยูแลว
กฎหมายที่ตราออกมาในภายหลังจะบัญญัติใหมีโทษยอนหลังหนักข้ึนมิไดดวยหลักน้ีตรงกับสุภาษิต
กฎหมายโรมันท่ีวา Nullum Crimen Nulla Poena Sine Lege ซึ่งแปลวา ไมมีความผิดไมมีโทษ
โดยไมม กี ฎหมาย

๓) ในคดีอาญาใหสันนิษฐานไวกอนวา ผูตองหาหรือจําเลยบริสุทธ์ิอยูจนกวาศาลจะมี
คาํ พิพากษาเด็ดขาดวา มีความผิด หลกั ใหสนั นิษฐานไวกอนวาผูตองหาหรือจําเลยยังไมมคี วามผิดจนกวา
ศาลจะมีคาํ พิพากษาเด็ดขาดวามคี วามผิดน้ี กลาวอีกอยา งหน่งึ วา คือหลักผูตอ งหาหรือจําเลยจะตอง ถูก
พิจารณาอยางขาวสะอาด หลักนิติธรรมในขอนี้มีขึ้นเพื่อเปนหลักประกันสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานใน
กระบวนการยุติธรรมของผูตองหาหรือจําเลยในคดีอาญา ผูตองหาหรือจําเลยในคดีอาญาจะตองไดรับ
โอกาสตาง ๆ เพ่ือประโยชนในการตอสูคดีของตนอยางเต็มที่ตามข้ันตอนและกระบวนการของ กฎหมาย
การปดโอกาส ปดกั้นมิใหผูตองหาหรือจําเลยนําพยานเขาสืบพิสูจนความบริสุทธ์ิของตนจะ กระทําไมได
หลักการพื้นฐานในขอนี้ปองกันมิใหผูมีอํานาจรัฐรวบรัดใชอํานาจเบ็ดเสร็จในการจับกุม คุมขัง ลงโทษ
ผูตองหาหรือจําเลยท่ีถูกกลาวหาวากระทําความผิดโดยไมผานกระบวนการตอสูคดีในศาลของผูตองหา

๑๓

หรือจําเลย บทบญั ญัติ มาตรา ๑๗ แหงธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ.๒๕๐๒ ที่ใหอ ํานาจ
แกนายกรัฐมนตรมี ีอํานาจส่ังลงโทษบุคคลใด ๆ ไดโดยไมตอ งผานกระบวนการ พิจารณาพิพากษาคดี
ตามกระบวนการยุตธิ รรม ไมใหโอกาสแกผูตอ งหาหรือจําเลยในการนําพยานมา สืบพิสูจนตอ สูคดีเลย
บทบัญญัติดังกลาวจึงขัดตอหลักนิติธรรมไมมีผลใชบังคับ แมบทบัญญัติดังกลาว จะถูกบัญญัติอยูใน
กฎหมายรฐั ธรรมนูญกต็ ามเพราะหลกั นิติธรรมมคี า เหนอื กวารฐั ธรรมนูญอันเปนตัวกฎหมายสูงสดุ

๔) หลักความเปนอิสระและเปนกลางในการพิจารณาพิพากษาคดีของตุลาการผู
พิพากษา ตุลาการเปนกลไกในการอํานวยความยุติธรรมขั้นสุดทายที่สําคัญมาก และเพื่อเปนการ
ประกันวาความ ยุติธรรมจะเกิดขึ้นจริง ในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีทั้งหลายโดยผูพิพากษาน้ัน
จะตองม่ันใจวาผู พิพากษาตุลาการมีความเปนอิสระและมีความเปนกลางอยางแทจริงในการพิจารณา
วนิ ิจฉัยคดี ผูพิพากษาจะตองมีความเปนอิสระไมถูกแทรกแซงท้ังจากฝายบริหาร ฝายนิติบัญญัติหรือ
แมกระทั่ง ฝายตุลาการดวยกันเอง และนอกจากนั้นผูพิพากษาจะตองมีความเปนอิสระจากใจตนเอง
ดวยคือตอง มีความเปนกลาง ไมมีอคติในการปฏิบัติหนาท่ีไมวาจะเปนอคติอันเน่ืองมาจากสาเหตุใด
หลักนิติธรรมในขอน้ีสอดคลองตรงกับหลักกฎหมายไทยท่ีมีมาแตเดิม คือ กฎหมายตราสามดวง สวน
ท่ี ๓ วาดวยหลักอินทภาษาท่ีวางหลักธรรมในการดํารงตนและการปฏิบัติหนาที่ของผูพิพากษาตุลา
การวาจะตองพิจารณาตัดสินอรรถคดีดวยความเท่ียงธรรม ปราศจากความลําเอียงเขาขางฝายใด อัน
เกดิ จากอคติ ๔ ประการ

๕) รัฐและเจาหนาท่ีของรัฐมีอํานาจและตองใชอํานาจตามท่ีกฎหมายใหไวเทานั้น
องคกร ของรัฐ ไมวาจะเปนฝายบริหาร ฝายนิติบัญญัติและฝายตุลาการ มีอํานาจก็เพราะกฎหมาย
มอบอาํ นาจ ให ดงั นั้นรัฐและเจา หนา ทีข่ องรัฐทง้ั หลายตองใชอ ํานาจตามที่กฎหมายใหไวเ ทา นั้น จะใช
อาํ นาจเกิน ขอบเขตกวาที่กฎหมายกําหนดไวไ มได รัฐท่ียึดถือหลกั นติ ิธรรม รัฐและเจา หนาทีข่ องรฐั จึง
ไมสามารถ ใชอํานาจไดตามอําเภอใจ การใชอํานาจของเจาหนาท่ีตองเปนไปตามที่กฎหมายกําหนด
การกระทํา ใด ๆ ท่ีไมมีกฎหมายรับรองจึงไมชอบ และไมมีผลใชบังคับหลักนิติธรรมในขอนี้จึงมุง
คุม ครองสิทธิ เสรภี าพของประชาชนโดยแท

๖) กฎหมายตองไมยกเวนความผิดใหแกการกระทําของบุคคล หรือคณะบุคคลท่ีจะ
เกิดข้ึนในอนาคตไวลวงหนาโดยเฉพาะภายใตสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ความพยายามของผูมี
อํานาจท่ีฉอฉล ในอันที่จะใชกฎหมายเปนเครื่องมือของตนเพ่ือกระทําการใด ๆ อันไมถูกตองไมชอบ
ธรรมยอมผันแปรเปล่ียนไปตามยุคสมัย หลักนิติธรรมจึงตองมีพลวตั รพัฒนาใหเทาทันกับสถานการณ
ดวยเชนกัน กฎหมายท่ีอภัยโทษหรือนิรโทษกรรมใหแกการกระทําท่ีเกิดข้ึนและผานมาแลวสามารถ
กระทําไดไมขัดตอหลักนิติธรรม แตการนิรโทษกรรมใหแกการกระทําที่จะเกิดขึ้นในอนาคต หรืออีก
นัยหน่ึงรองรับใหส่ิงท่ีจะกระทําในอนาคตซึ่งอาจไมชอบดวยกฎหมาย ใหเปนสิ่งท่ีชอบดวยกฎหมาย
ท้ังสิ้น ยอ มขัดตอหลกั นติ ิธรรม เพราะเทากบั ผูก ระทาํ การน้นั อยเู หนือกฎหมาย14๑๑

๑๑ กําชยั จงจักรพันธ, หลักนิตธิ รรม ปฏิรูปการส่ือสารและสื่อสารมวลชน, [ออนไลน], หนา ๗-๒๓,
แหลงทม่ี า: https: //www.google.c.o.th/#q= หลักนิติธรรม& revid=34863990 [๒๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓].

๑๔

หลักนิติธรรม (Rule of law) คือ การมีกฎหมายท่ีเปนธรรมกับทุกฝายมีการบังคับใช
กฎหมายอยางเสมอภาคและไมเลือกปฏิบัติ ไมมีมาตรฐานเชิงซอน (Double standard) มีการดูแล
การปฏิบัติใหเ ปนไปตามกรอบของกฎหมาย ไมมกี ารใชกฎหมายไปแสวงหาประโยชนโดยมิชอบมีการ
ปรับปรุงกฎหมายใหทันสมัยสอดคลองกับอารยประเทศ มีกรอบการปฏิบัติท่ีเคารพสิทธิและเสรีภาพ
ของประชาชน รวมท้งั กําหนดกรอบเวลาการปฏิบัตทิ ่ชี ดั เจนใหป ระชาชนทราบ15๑๒

หลักนติ ิธรรม หมายถึง หลักพ้นื ฐานแหงกฎหมาย16๑๓
หลักนิติธรรม หมายถึง การเคารพ และปฏิบัติตามกติกา ระเบียบแบบแผนและกฎหมาย
ตาง ๆ โดยไมละเมิดอยางตั้งใจหรือจงใจหลีกเลี่ยง หรือไมต้ังใจ เพราะไมรู ฉะนั้นทําอะไรตองศึกษา
กอ นวาจะผดิ หลักนติ ธิ รรมหรือไมกอ นที่จะทําลงไป17๑๔
หลักนิติธรรม คือท้ังเจตนารมณ สาระและการบังคับใชกฎหมาย ตองเปนธรรมกับทุกฝาย
เอ้ือประโยชนตอมหาชนคนหมูมาก ไมใชเพื่อคนกลุม ใดกลุมหนึ่ง ตองเสมอภาคชัดเจน และคาดการณได
เนนการมีสวนรวมของประชาชน แตกลไกทางกฎหมายอยางเดียวไมเพียงพอสําหรับการแกไขปญหาการ
ทุจริตจึงจําเปนตองสรางองคประกอบตาง ๆ ในสังคมไทย เพ่ือสนับสนุนใหกลไกตาง ๆ มีประสิทธิภาพ
มากย่ิงขึ้น องคประกอบเหลาน้ัน คือ สังคมสามารถเขาถึงขอมูลขาวสารท่ีถูกตองทันการและครบ
สมบูรณ มีกระบวนการรองรับอยางเปนทางการทําใหเกิดความชัดเจนในกระบวนการตัดสินใจ นับเปน
อาวุธสําคัญในกระบวนการสรางความโปรงใส สังคมตองมีความโปรงใส สังคมตองสรางกลไกความ
รับผิดชอบทตี่ รวจสอบได18๑๕
หลักนิติธรรมในการประชุมวิชาการรัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตรแหงชาติ คร้ังที่ ๕
พ.ศ. ๒๕๔๗ ไดมีการกําหนดหลักการพิจารณาเกี่ยวกับหลักธรรมาภิบาลในสวนของหลักนิติธรรม
ดังนี้
๑. มกี ฎทจ่ี าํ เปนรองรับโดยไมใหก ฎทาํ ลายกฎเสียเอง
๒. มกี ารบังคับใชไ ด

๑๒ ศรีพัชรา สิทธิกําจร แกวพิจิตร, “การใชหลักธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน”, ดุษฎี
นพิ นธป รัชญาดุษฎีบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลยั : มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร, ๒๕๕๑).

๑๓ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒, (กรุงเทพมหานคร: นานมีบุค ส
พับลเิ คช่นั ส, ๒๕๔๖), หนา ๕๘๗

๑๔ สถาบันราชประชาสมาสัย, ธรรมาภิบาลบันดาลสุข, (กรุงเทพมหานคร: กระทรวงสาธารณสุข,
๒๕๔๙), หนา ๖.

๑๕ ศรีพัชรา สิทธิกําจร แกวพิจิตร, “การใชหลักธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน”, ดุษฎี
นิพนธ ปรัชญาดุษฎบี ณั ฑิต, หนา ๖๙.

๑๕

๓. ผลการใชกฎมีความถูกตอง โดยไมใหสนองเปาหมายของผูถือและใชกฎเสียเอง
เหนือกวาเปา หมายของกฎ19๑๖

ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔ ไดใหคําแปลคําวา “นิติธรรม” ไว
วา “หลักพ้ืนฐานแหงกฎหมาย ที่บุคคลทุกคนตองอยูภายใตบังคับแหงกฎหมายอยางเทาเทียมกัน
(rule of law)”๑๗

สรุปหลักนิติธรรมในองคประกอบของหลักธรรมาภิบาล หมายถึง การบัญญัติกฎหมาย
การใชก ารตีความกฎหมาย การใชก ฎหมาย กฎขอบงั คับตาง ๆ ใหทันสมัยและเปน ธรรมเปนที่ยอมรับ
ของสังคม และสังคมยินยอมพรอมใจปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ขอบังคับเหลานั้นโดยถือวาเปนการ
ปกครองภายใตกฎหมายมิใชตามอําเภอใจหรืออํานาจของบุคคล เปนการปกครองภายใตกฎหมาย
ระเบียบ ขอบังคับใหบังเกิดผลสําเร็จอยางมีประสิทธิภาพ และมีความชอบธรรมทั้งฝายผูบริหารและ
ประชาชนที่เขามาใชบริการโดยกําหนดหลักการพิจารณาหลักนิติธรรม ดงั นี้ (๑) มกี ฎท่ีจําเปนรองรับ
โดยไมใหกฎทําลายกฎเสียเอง (๒) มีการบังคับใชได (๓) ผลการใชกฎมีความถูกตอง โดยไมใหสนอง
เปาหมายของผถู อื และใชก ฎเสียเองเหนือกวา เปาหมายของกฎ

๒.๑.๓ พฒั นาการของหลกั นติ ธิ รรม
แนวความคิดวาดวยหลักนิติธรรม (The Rule of Law) อาจสืบสาวยอนกลับไปไดถึงยุค
กลาง โดยเฉพาะอยางย่ิงยอนกลับไปถึง ค.ศ. ๑๒๑๕ ซ่ึงเปนป ที่พระเจาจอหน (King John) กษัตริย
อังกฤษในเวลานั้นไดลงนามในเอกสารสําคัญท่ชี ื่อวา Magna Carta เอกสารฉบับน้ีเปนพันธะสญั ญาท่ี
กษัตริยอังกฤษใหไวแกบรรดาขุนนางของพระองคในการท่ีจะจํากัดอํานาจของพระองคลง ตอมา
หลังจากมีการต้ังรัฐสภาขึ้นเม่ือ ค.ศ. ๑๒๖๕ รัฐสภาสามารถท่ีจะสถาปนาและขยายอํานาจของตน
ออกไปอยา งม่ันคงตามลําดับ การขยายอาํ นาจของรัฐสภามีผลทําใหก ษัตริยคอย ๆ ถกู จํากัดอํานาจลง
การแขงขันเพ่ือครองอํานาจที่เหนือกวาระหวางรัฐสภาและกษัตริยเปนไปอยางเขมขน และไดเกิด
สงครามกลางเมืองหลายครั้ง จนกระทั่งในท่ีสุดรัฐสภาก็กําชัยชนะไดในการปฏิรูปอันรุงโรจน
(Glorious Revolution) และจนในท่ีสุดแลวอํานาจของรัฐสภาก็ขึ้นอยูกับเจตจํานงของประชาชน
อังกฤษน้ันเองท้ังจะเปนผูกําหนดทิศทางหลัก ๆ ของการตรากฎหมายในระบอบประชาธิปไตยที่
พฒั นามาในแบบขององั กฤษ21๑๘

๑๖ เชาวนะ ไตรมาศ, การนําระบบบริหารธรรมาภิบาลมาใชในการบริหารมุงผลสัมฤทธิ์กับการบูร
ณาการการบริหารจัดการเพื่อสรางความเปนเลิศทางพิสัยสามารถของคนในองคการ, (กรุงเทพมหานคร:
สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, ๒๕๔๗), หนา ๑–๘.

๑๗ สํานักงานราชบัณฑิตยสภา, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔, [ออนไลน],
แหลง ทีม่ า: https://dictionary.orst.go.th/ [๑๐ ธนั วาคม ๒๕๖๓].

๑๘ ทศพร มูลรัตน, “พัฒนาการของหลักนิติธรรมในประเทศอังกฤษ”, วารสารนิติ รัฐกิจ และ
สังคมศาสตร สํานักวิชานิติศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, ปท่ี ๑ ฉบับท่ี ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม): ๕๖-
๕๗.

๑๖

ในป ค.ศ. ๑๙๙๙ เม่ือพระเจา ริชารด (Richardที่ ๑) ใจสิงหเสด็จสวรรคต พระอนุชาของ
พระองคกไ็ ดข ้นึ ครองราชยเปน พระเจา John ซง่ึ ไดร บั สมญานามในภายหลงั วา จอหน ผูไรแ ผน ดนิ และ
เมื่อเสด็จข้ึนครองราชยแ ลว กท็ รงมีปญหากับสนั ตะปาปาที่กรงุ โรมจนถกู กระทําบรรพาชนียกรรม ในป
ค.ศ. ๑๒๐๙ กรณีความขัดแยงกับกษัตริยแหงฝรั่งเศสจนเกิดการรบขึ้นท่ี Bouvines นั้นปรากฏวา
ฝายอังกฤษเปนฝายพายแพ และในการทําสัญญาสันติภาพท่ีเมือง Chinon อังกฤษตองสูญเสีย
ดนิ แดนท้ังหมดทเี่ คยครอบครองซึง่ อยูทางตอนเหนอื ของแมน ้าํ Loire ในฝรงั่ เศสไป

พระเจาจอหน (John) ตองการเก็บภาษีเพิ่ม เพ่ือไปทําสงครามตอไป แตบรรดาเหลาขุนนาง
อังกฤษไมยินยอม จึงรวมตัวกันเมื่อวันท่ี ๑๔ มิถุนายน ป ค.ศ.๑๒๑๕ เพ่ือเรียกรองหลักประกันในสิทธิ
ของตน โดยย่ืนคําขาดใหพระเจาจอหนท่ีหน่ึง ยอมตามคําเรียกรองของพวกตนโดยลงพระปรมาภิไธยใน
เอกสารท่ีมีชื่อวา Magna Carta โดยเอกสารน้ีเรียกรองใหกษัตริยตองผูกมัดตนเองกับกฎหมายและสิทธิ
ที่มีมาแตดั้งเดิม (ขอ ๓๘-๔๐) และใหหลักประกันสิทธิแกพวกบารอนท้ังหลายในการใหความยนยอมตอ
การเก็บภาษีเพิ่มข้ึนจากเดิม (ขอ ๑๒ และ๑๔) รวมทั้งใหสิทธิแกขุนนางในการเลือกตัวแทน ๒๕ คนเพื่อ
ทําหนาที่กํากับดูแลใหมีการปฏิบัติตามขอกําหนดใน Magna Carta อีกท้ังยังมีสิทธิที่จะตอตานการ
ตัดสินท่ีไมเปนธรรมของฝายกษัตริยไดอีกดวย (ขอ ๖๑)22๑๙ รวมท้ังกําหนดใหบุคคลใดจะถูกจับกุมคุมขัง
ริบทรัพย เนรเทศ ประกาศวาเปนคนนอกกฎหมาย (Out-law) หรือถูกลงโทษไมวาโดยวิธีการอยางใด
หาไดไม เวนแตจะไดรับการพิจารณา อันเที่ยงธรรมจากบุคคลชั้นเดียวกันกับเขา (His peers) และตาม
กฎหมายบานเมือง23๒๐ และโดยเหตุท่ี Magna Carta เปนเอกสารช้ินแรกท่ีเปนหลักฐานสําคัญในการ
จาํ กดั อาํ นาจรัฐ Magna Carta จึงไดช อ่ื วาเปนตน ตํารบั หรือเปน คมั ภีรไบเบ้ิลแหงรัฐธรรมนูญท้งั หลาย24๒๑

ในชวงป ค.ศ. ๑๒๕๘-๑๒๖๕ เกิดความขัดแยงระหวางพระเจาเฮนร่ีที่ ๓ กับเหลาขนุ นาง
ระดับลางและผูนําของเมืองตาง ๆ ภายใตการนําของ Simon de Montfort จนมีการรบกันถึงขั้น
แตกหักในป ค.ศ. ๑๒๖๔ โดยฝายของ Simon de Montfort เปนฝายชนะ ในการยุทธท่ี Lewes
และเมื่อมีชัยเหนือกษัตริยแลว Simon de Montfort ก็ไดแตงตั้งคณะผูสําเร็จราชการแทนพระองค
ท้ังยังดําเนินการเรียกประชมุ Curia regis ในป ค.ศ. ๑๒๖๕ โดยนอกจากจะเชิญอัศวินจากเด็กแตละ
คนเมืองเมอื งละ ๒ คนแลว ยงั เชิญตวั แทนท่ีเปน เพยี งสามัญชนจากเด็กแตละคนเมืองเมืองละ ๒ คนมา
ประชุมพรอมกันอีกดวย ซึ่งอาจกลาวไดวาเปนรัฐสภา (Praliament)๒๒ แหงแรกก็กวา ได ตอมาในรัช
สมัยพระเจาเอ็ดเวิรด ท่ี ๑ (ค.ศ.๑๒๙๕ - ๑๓๓๖) ซ่ึงเปน โอรสของพระเจา เฮนร่ที ่ี ๓ ไดขึ้นครองราชย
เปนกษัตริยแหงองั กฤษ ไดเรียกประชุมรฐั สภาในป ค.ศ.๑๒๙๕ โดยมีพวกขุนนางฝายสงฆและขนุ นาง
ระดับสงู ตวั แทนสามัญชนระดับอัศวนิ และชาวเมืองรวมดวย ตัวแทนเหลา นีถ้ ือไดว าไดรบั มอบอํานาจ

๑๙ บุญศรี มีวงศอุโฆษ, กฎหมายรัฐธรรมนูญ, พิมพครั้งที่ ๘, (กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร, ๒๕๕๗), หนา ๓๙-๔๐.

๒๐ วีระ โลจายะ, กฎหมายสิทธิมนษุ ยชน, (กรงุ เทพมหานคร: มหาวิทยาลยั รามคําแหง, ๒๕๓๒), หนา
๓๑.

๒๑ บญุ ศรี มีวงศอุโฆษ, กฎหมายรฐั ธรรมนญู , หนา ๓๙-๔๐.
๒๒ เรอื่ งเดยี วกัน, หนา ๔๐.

๑๗

จากประชาชนในทองถ่นิ ตนตองปฏิบัติตามหนาทท่ี ่ีไดรบั มอบหมายและตองปฏิบัติหนาท่ีใหประชาชน
ในทองถ่นิ ตน ในครง้ั แรก ๆ พวกสมาชิกจดั เปน ๓ กลุม คอื ๒๓
(๑) กลุมชนช้ันสูงหรอื ขุนนาง (Nobility) 26

(๒) กลุม พระ (Clergy)
(๓) กลุม สามญั ชน (Commoners)

ตอ มาไดมีการแบงกลุมกนั ใหม โดยพวกพระ ขุนนางและอัศวนิ ช้ันผูนอยไดน่ังรวมประชุม
กับสามัญชน สวนพวกขุนนางกับพระชั้นผูใหญซึ่งถือตัววาเปนชนชั้นสูง ไดน่ังประชุมกันอีกกลุมหนึ่ง
ซึ่งตอ มาในปลายศตวรรษที่ ๑๔ ไดว ิวฒั นาการมาเปนระบบ ๒ สภาคอื

(๑) สภาขุนนาง (House of Lords) ประกอบดวยขุนนางและพระเถระชนั้ ผูใหญ
(๒) สภาสามัญ (House of Commons) ประกอบดวยผูแทนสามัญชนและขุนนางช้ัน
ผูนอ ย

ตอมาอํานาจของฝายกษัตริยนับวันแตจะเส่ือมถอยลง จากผลของสงครามรอยป กับ
ฝร่ังเศส (ค.ศ. ๑๓๓๗-๑๔๕๓) จากการแยงชิงราชบัลลังกกันระหวางราชวงศ Lancaster (ซึ่งมีตรา
ประจําราชวงศเปนกุหลาบแดง) กับราชวงศ York (ซ่ึงมีตราประจําราชวงศเปนกุหลาบขาว) จนไดรับ
การขนานนามวาเปนสงครามดอกกุหลาบ (ค.ศ. ๑๔๕๕-๑๔๘๕) แตอยางไรก็ตามหลังจากชวงดังกลาว
ฝายกษัตริยก็มีกําลังท่ีเขมแข็งจนสามารถปูพ้ืนฐานไปสูความเปนมหาอํานาจของอังกฤษไดในชวงรัช
สมัยของราชวงศทิวดอร ในรัชสมัยของพระเจา Henry ท่ี ๘ (ค.ศ. ๑๕๐๙-๑๕๔๗) ทรงประสงคจ ะหยา
ขาดจากสมเด็จพระราชินี แตพระสันตะปาปาแหงกรุงโรม ไมพระราชทานอนุญาต พระเจา Henry ที่
๘ จึงทรงแสดงความเด็ดเดี๋ยวของพระองคใหเปนที่ประจักษดวยการตัดความสัมพันธกับกรุงโรม แลวก็
ไดทรงสถาปนานิกาย Anglican ขึ้นมาใหมดวยพระองคเองซ่ึงก็ยังคงยึดถือคําสอนเดิมเพียงแตปฏิเสธ
อํานาจขององคสันตะปาปาแหงโรมเทานั้น ท้ังยังยึดทรัพยสินของศาสนจักรเดิมอีกดวย จากการใช
อาํ นาจดงั กลาวไดกลายมาเปนฐานสาํ หรบั การปกครองสมัยใหม ซึ่งมีอํานาจรวมศูนยอยูท่สี วนกลาง ใน
รัชสมัยของพระนาง Elisabeth ที่ ๑ ซ่ึงทรงเปนพระราชธิดาในพระเจา Henry ท่ี ๘ อังกฤษสามารถ
ปราบกองทัพเรือ Armada อันเกรียงไกรของสเปนลงได ในป ค.ศ.๑๕๘๘ อังกฤษจึงครองความเปนเจา
ทะเลต้ังแตบัดน้ันเปนตนมา

๒.๑.๔ สาระสาํ คญั ของหลักนิตธิ รรม (Rule of Low)

นักกฎหมายรัฐธรรมนูญของอังกฤษที่มี บทบาทมากท่ีสุดคนหน่ึงในการชวยพัฒนาหลัก
นิติธรรม ก็คือ AV Dicey ( ค.ศ. ๑๘๓๕ ถึง ๑๙๒๒) ตําราของเขา ท่ีชื่อวา Introduction to the
Study of the Law of the Constitution (พิมพครั้งแรก ค.ศ. ๑๘๕๕) ไดกลายเปนตํารามาตรฐาน
และเปนตําราท่ีนักกฎหมาย รัฐธรรมนูญอังกฤษสวนใหญตองอางอิงเมื่อจะตอง อธิบายความหมาย
ของหลักนิติธรรม Dicey เห็นวา หลักนิติธรรมจะตองสัมพันธใกลชิดกับความมีอํานาจ สูงสุดของ

๒๓ สมบตั ิ ธาํ รงธัญวงศ, การเมอื งอังกฤษ, (กรุงเทพมหานคร: เสมาธรรม, ๒๕๕๖). หนา ๓๗-๓๘.

๑๘

รฐั สภา27๒๔ และหลักนิตธิ รรมน้ันยอมมีเนื้อหา สาระท่ีสําคัญ คือบุคคลทุกคนยอมเสมอภาคกันตอหนา
กฎหมาย บุคคลไมวาจะในชนชั้นใดยอมตองตกอยูภายใต กฎหมายปกติธรรมดาของแผนดิน (the
ordinary law of the land) ซงึ่ บรรดาศาลธรรมดาทัง้ หลาย (ordinary courts) จะเปนผูรกั ษาไวซ่ึง
กฎหมาย ดงั กลาว28๒๕ หลักนิติธรรมในความหมายนี้ยอ มปฏิเสธ ความคิดท้ังหลายท้ังปวงที่จะยกเวนมี
ใหบรรดาเจาหนาที่ทั้งหลายตองเคารพตอกฎหมาย บุคคล ท้ังหลายยอมไมตองถูกลงโทษ หากไมได
กระทาํ การอันผิดกฎหมาย และไมม ีผใู ดทัง้ ส้ินแมแ ตกษัตรยิ  ท่จี ะอยูเ หนือกฎหมายได

กลาวโดยรวมแลว Dicey เห็นวา บรรดาการกระทําทั้งหลายทั้งปวงของรัฐบาลและฝาย
ปกครองจะตองอยูภายใตบังคับของกฎหมาย จะตองไมกระทําการกาวลวงสิทธิและเสรีภาพ ของ
ราษฎรตามอําเภอใจ หากปรากฏวา รฐั บาลหรอื ฝา ยปกครองกระทําการอนั ขดั ตอกฎหมาย การกระทํา
ตั้งกลาวยอมตองถูกฟองคดียังศาลยุติธรรมหรือศาลธรรมดาได เพราะรัฐบาลหรือเจาหนาท่ียอมจะมี
สิทธิพิเศษใด ๆ เหนือกวาราษฎรไมได เราจะเห็นไดวาหลักนิติธรรมตามแนวความคิดของ Dicey นี้
มุงเนนไปที่ความผูกพันตอกฎหมายของฝายบริหาร ไมไดเรียกรองฝายนิติบัญญัติใหตองผูกพันตอ
กฎเกณฑอ ่ืนใดในการตรากฎหมาย

การท่ี Dicey อธิบายเนื้อหาของหลักนิติธรรมในแงที่คนทุกคนตองตกอยูภายใตกฎหมาย
และภายใตศาลเดียวกันตามหลักความเสมอภาคตอหนากฎหมาย สงผลใหDicey ปฏิเสธการจัดต้ัง
ศาลปกครองขึ้นมาเปนอีกระบบศาลหนึ่งเคียงคูขนานกันไปกับศาลยุติธรรมหรือศาลธรรมดา โดย
Dicey เห็นวาหากจัดใหมีศาลปกครองหรือองคกรอ่ืนซึ่งไมใชศาลยุติธรรมหรือศาลธรรมดาทําหนาท่ี
ตัดสินคดีปกครอง (ดังที่ปรากฏอยูในประเทศฝรั่งเศสในเวลาน้ัน) แลว บรรดาขาราชการตาง ๆ ท่ีถูก
ฟอง ในศาลปกครองวากระทําการโดยไมชอบดวยกฎหมายยอมอยูในฐานะที่ไดเปรียบกวาราษฎร
ท่ัวไป ซึ่ง Dicey เห็นวาไมถูกตอง แนวความคิดน้ีไดรับการยึดถือและเดินตามในบรรดาประเทศที่
ไดรบั อิทธิพล จากระบบกฎหมายองั กฤษจนถึงปจ จบุ นั น้ี

นอกจากน้ีแลว บรรดาสิทธิท้ังหลายทั้งปวงของราษฎรน้ันยอมเกิดจากกฎหมายท่ีรัฐสภา
ไดตราข้ึนและเกิดจากกฎหมายประเพณีที่พัฒนามาโดยศาล อาจกลาวไดวา สิทธิข้ันพื้นฐานของ
ราษฎรอังกฤษไมไดรับการคุมครองและปกปองโดยรัฐธรรมนูญ แตไดรับการปกปองและคุมครองโดย
รัฐสภาและศาล โดยเหตุทใี่ นระบบกฎหมายอังกฤษ รัฐสภาเปนผูทรงอาํ นาจสูงสุด ผลที่เกิดขึ้นตามมา
ก็คือศาลของอังกฤษไมมีอํานาจที่จะตรวจสอบวากฎหมายท่ีรัฐสภาตราข้ึนชอบดวยรัฐธรรมนูญหรือ
ชอบดวยกฎหมายใด ๆ หือไม กลาวในทางทฤษฎีแลว รัฐสภาองั กฤษสามารถตรากฎหมายใหมเี น้ือหา
สาระอยางไรก็ไดทั้งส้ิน สิทธิมนุษยชน หรือสิทธิพลเมืองไมไดมีฐานะเปนกฎหมายที่สูงกวากฎหมาย
อ่นื ใดที่จะผูกพนั รฐั สภาองั กฤษได ระบบการประกันสทิ ธิเสรีภาพของ บคุ คลในอังกฤษจึงแตกตางจาก
หลายประเทศ โดยเฉพาะประเทศในภาคพ้ืนยุโรปท่ีถือวาสิทธิขั้นพื้นฐานของบุคคลน้ันมีคาบังคับ ใน

๒๔ A.V. Dicey, Introduction to the Study of the Law of the Constitution (1885) ,
(London: Macmillan, 1959), p. 195.

๒๕ Ibid., pp. 187-203.

๑๙

ระดับรัฐธรรมนูญ และยอมผูกพันรัฐสภาในการตรากฎหมายดวย อยางไรก็ตาม ไมพึงเขาใจวาระบบ
กฎหมายอังกฤษไมคุมครองสิทธิเสรีภาพสวนบุคคลในทางปฏิบัติสิทธิเสรีภาพสวนบุคคลยอมไดรับ
ความคุม ครองโดยกฎหมายของรัฐสภาและโดย Common Law ท่ีพัฒนามาโดยศาลในมาตรฐานที่ไม
ต่ํากวา ประเทศอ่นื ๆ ในภาคพ้ืนยุโรปเลย

แนนอนวาในทางทฤษฎี เมื่อยอมรับวารัฐสภามีอํานาจสูงสุด กรณีจึงอาจเปนไปไดที่
รัฐสภานั้นเอง จะกระทําการอันกาวลวงสิทธิเสรีภาพของ บุคคลโดยตรากฎหมายจํากัดตัดทอนสิทธิ
ของบุคคลเสีย โดยไมเปนธรรม และเม่ือหลักความมีอํานาจสูงสุดของรัฐสภาอยูเหนือกวาหลักนิติ
ธรรมเสียแลว ก็ไมมีอะไรเปนเคร่ืองประกันสิทธแิ ละเสรีภาพของราษฎรจากการคุกคามโดยรัฐสภาได
แตทางปฏิบัติ ที่เกิดขึ้นในอังกฤษ ไมไดเปนเชนน้ัน เพราะตามจารีตประเพณีแลวรัฐสภาจะไมตรา
กฎหมายทข่ี ัดหรือแยงกับหลักนิติธรรม ยิง่ ไปกวานั้นโดยเหตทุ ี่การตรากฎหมายของรฐั สภายอมข้นึ อยู
กบั การสนับสนุนของรัฐบาล และพรรคการเมืองที่เปนรัฐบาลยอมเปนพรรคการเมืองที่ครองเสยี งขาง
มากใน สภาผูแทนราษฎร หากพรรคการเมืองท่ีเปนรัฐบาลซ่ึงครองเสียงขางมากสนับสนุนใหตรา
กฎหมาย ท่ีกระทบตอสิทธเิ สรภี าพของประชาชนอยางรนุ แรงแลว ผลที่จะเกิดขึ้นจากการเลือกตง้ั ครั้ง
ถัดมายอมเปนที่คาดหมายได ในท่ีสุดแลว การตรากฎหมายของรัฐสภาจึงขึ้นอยูกับเจตจํานงของ
ประชาชน กลาวใหถึงท่ีสุดแลวประชาชนอังกฤษนั้นเองที่จะเปนผูกําหนดทิศทางหลัก ๆ ของการตรา
กฎหมาย และเมื่อกลาววารัฐสภาเปนผทู รงอํานาจสูงสดุ ในระบอบประชาธิปไตยที่พัฒนามาในอังกฤษ
ยอมตองเขาใจ วารัฐสภายอมทรงอํานาจสูงสุดในหมูองคกรตาง ๆ ของรัฐ แตในท่ีสุดแลว ในทาง
การเมืองก็อยูใต ประชาชน ดังน้ันในประเทศอังกฤษ การจํากัดอํานาจของรัฐสภาจึงไมไดเกิดจาก
กฎหมายเหมือนกับ ในภาคพ้ืนยุโรป แตเกิดจากธรรมชาติทางการเมืองและจารีตประเพณีที่รับสืบตอ
กันมาในประเทศ ที่สิทธิเสรีภาพฝงลึกอยูในจิตวิญญาณประชาชาติ เชน ประเทศอังกฤษน้ียอมไมมี
ความจําเปน แตอยางใดเลยท่ีจะตองบัญญัติกฎเกณฑวาดวยความเปนนิติรัฐ หรือบัญญัติรัฐธรรมนูญ
กําหนด สทิ ธเิ สรภี าพเปนลายลักษณอ กั ษรเปนมาตรา ๆ ไป

แมวาในปจจุบัน การใหคําอธิบายเก่ียวกบั เน้ือหาของหลักนิติธรรม อาจจะแตกตางกันอยู
บาง ในรายละเอียด แตองคประกอบสําคัญของหลักนิติธรรมน้ัน ตําราตาง ๆ ก็ไมไดอธิบายความ
แตกตาง กันมากนัก องคประกอบที่สําคัญของหลักนิติธรรม คือ ความคาดหมายไดของการกระทํา
ของรัฐ ความชัดเจนของกฎหมาย ความมั่นคงของกฎหมาย ความเปนกฎเกณฑทั่วไปของกฎหมาย
ความเปนอิสระของศาล การเคารพในหลักความยุติธรรมตามธรรมชาติ ตลอดจนความสะดวกในการ
เขาถึงกระบวนการยุติธรรม ในยุคหลังมีผูอธิบายลักษณะของกฎหมายท่ีจะชวยสรางใหเกิดการ
ปกครองตามหลักนิติธรรม ดังเชนคําอธิบายของ LonLFuller นักนิติศาสตรที่มีช่ือเสียงชาวอเมริกันที่
เห็นวากฎหมายท่ีจะทําใหหลกั นิติธรรมปรากฏเปนจรงิ ไดน ั้นตองมีลักษณะสําคัญ29๒๖ คอื

๒๖ L. L. Fuller, The Morality of law, Revised Edition, (New Haven: Yale University
Press, 1969), pp. 46-91.

๒๐

๑) กฎหมายจะตอ งบังคบั เปน การท่ัวไปกบั บุคคลทุกคน ไมเวนแมแ ตองคก รเจาหนาที่ของ
รัฐ

๒) กฎหมายจะตอ งไดรบั การประกาศใชอยา งเปดเผย
๓) กฎหมายจะตองไดรับการตราขึ้นใหมีผลบังคับไปในอนาคต ไมใชตราขึ้นเพื่อใชบังคับ
ยอนหลังไปในอดีต
๔) กฎหมายจะตองไดรับการตราข้ึนโดยมีขอความท่ีชัดเจน เพ่ือหลีกเล่ียงมิใหเกิดการ
บงั คับใชทไ่ี มเปนธรรม
๕) กฎหมายจะตอ งไมม ขี อความท่ขี ัดแยงกนั เอง
๖) กฎหมายจะตองไมเ รยี กรอ งใหบ คุ คลปฏิบัติในสิ่งที่ไมอาจเปน ไปได
๗) กฎหมายตองมีความมั่นคงตามสมควร แตก็จะตองเปด โอกาสใหแกไขใหสอดคลอ ง กับ
สภาพของสังคมทเี่ ปลีย่ นแปลงไปได
๘) กฎหมายที่ไดรับการประกาศใชแลวจะตองไดรับการบังคับใหสอดคลองตองกัน
กลา วคือตองบงั คับการใหเ ปนไปตามเนื้อหาของกฎหมายท่ีไดประกาศใชแลว นนั้
สรุปวาพัฒนาการหลักนิติธรรม หลักนิติธรรม คือ การปกครอง โดยกฎหมาย กฎหมาย
เปนใหญไมใชอําเภอใจของผูมีอํานาจปกครองเปนใหญ ฝายบริหาร ซึ่งไดแก กษัตริย คณะรัฐมนตรี
ไมมีอํานาจ หากไมไดรับความยนยอมจากรัฐสภา ซึ่งก็หมายถึง หากไมมี กฎหมายใหอํานาจฝาย
บรหิ ารกไ็ มอาจกระทําการอยางใด ๆ ไดเลย
๒.๑.๕ ปจจัยทีส่ ง ผลตอ การสงเสรมิ หลักนิติธรรม

๑. ปจจยั ดา นความเสมอภาค
ความเสมอภาค (Equality) มักใชคูกับคําวา ความเทาเทียมกัน คือทําตนเสมอตน
เสมอปลาย ปฏิบัติสม่ําเสมอกันในชนท้ังหลาย และเสมอในสุขทุกขโดยรวมรับรูรวมแกไข ตลอดถึง
วางตนเหมาะแกฐานะ ภาวะ บุคคล เหตุการณและส่ิงแวดลอม ถูกตองตามธรรมในแตละกรณี30๒๗
ความเสมอภาคจึงมิไดหมายความเพียงการเคารพในสิทธิและเสรีภาพของผูอ่ืนโดยไมเลือกเช้ือชาติ สีผิว
ภาษา และศาสนาเทานั้น แตยังตองมีการชวยเหลือเกื้อกูลซ่ึงกันและกัน รูจักกัน สรางความสัมพันธตอ
กันเพ่ือความเขาใจและนับถือกันใหมากข้ึนดวย31๒๘ และเสมอภาคในความหมายของ (John Stuart Mill)
ไดแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเร่ืองนี้วาความเสมอภาคนี้มักจะเปนสวนสําคัญสวนหน่ึงของความยุติธรรม
และเปนสวนสําคัญสวนหน่ึงของการทําตามหลักความยุติธรรม มีคนจํานวนไมนอยเห็นวา ความเสมอ

๒๗ Phra Thammapitok, P. Payutto, Buddhist dictionary The Code 1st ed., (Bangkok:
Mahachulalongkornrajavidyalaya Printing House, 2003).

๒๘ Dick De Vos, Foundation of Freedom "Foundations of Freedom", Translated by
Dr. Chidphong Chaisawasu, 2nd edition, (Bangkok: Cyberbook Network Press, 1999).

๒๑

ภาคน้ี คือ แกนของความยุติธรรม เม่ือกลาวถึงความเสมอภาคในวงการปรัชญาการเมืองจะหมายเอา
ความเสมอภาค ๔ ประเภทตอ ไปนี้ คอื ๒๙
32
๑. ความเสมอภาคท่ีจะไดรับการปกปองสิทธิและเสรีภาพอยางเทาเทียมกัน
(Equality Of Right And Liberty)
๒. ความเสมอภาคทีจ่ ะไดรบั การปฏิบัติอยาเทาทยี มกันจากรัฐในฐานะที่เปนพลเมอื ง
(Equality Of Citizenship)
๓. ความเสมอภาคทางโอกาส (Equality Of Opportunity)
๔. ความเสมอภาคระหวา ง บคุ คล (Equality Of Persons)
ความเสมอภาคมีลักษณะ ดังน้ี
๑. ความเสมอภาคท่ีเปนการบังคับใชตามกฎหมายอยางเทาเทียมกัน โดยไมเลือก
ปฏิบัติหากเปนพรรคพวกเดียวกันจะปฏิบัติอยางหน่ึงถาไมใชก็ปฏิบัติอีกอยางหนึ่งที่เรียกวา ๒
มาตรฐาน
๒. ความเสมอภาคทางโอกาส หมายถึงการเปดกวาง และการเขาถึงไดสะดวก เชน
การเปดโอกาสใหเด็กนักเรียนไดรับการศึกษาในระดับประถมศึกษาฟรีโครงการ ๓๐ บาทรักษาไดทุก
โรค เปด โอกาสใหป ระชาชนเขา ถึงบรกิ ารของรัฐ เปน ตน
๓. ความเสมอภาคแบบแนวราบหมายถึง ความสัมพันธในระดับบุคคล ระดับ
องคก ารที่มีมิติในระดับแนวนอน ทกี่ อใหเ กดิ ความสัมพนั ธใ นเชิงอาํ นาจ33๓๐

เบอรนารด วิลเลี่ยมส (Bernard Williams) ไดใหความหมายของความเสมอภาค
หรอื ความเทาเทียมกันไว ๓ ประการดว ยกัน คือ

๑. มนุษยเทาเทียมกัน ในฐานะที่เปนมนุษยชาติรวมกัน (Common Humanity)
กลาวคือมนุษยทุกคนสามารถพูดและใชภาษารวมกัน มีอิสระที่จะคิดและใชเครื่องมืออยูรวมกันเปน
การยืนยนั ขอ เท็จจรงิ ที่วามนษุ ยทกุ คนเทาเทยี มกนั ในฐานะทเี่ ขาเปน มนุษย

๒. มนษุ ยเ ทา เทยี มกันในฐานะทม่ี คี วามสามารถทางศลี ธรรม (Moral Capacities)
๓. ความเทาเทียมกันของโอกาส (Equality Of Opportunity) คือการแบงปน
โอกาสทจ่ี ะไดรับปจจยั ใหก ันทุกคนอยางเทาเทยี มกัน34๓๑

๒๙ Somphan Phromtha. Social and political philosophy, 2nd ed., ( Bangkok:
Chulalongkorn University Press, 1996).

๓๐ Phuttutthichai Thepsawasutthipradit, “A comparative study of concepts. Equality in
Theravada Buddhist Philosophy With the concept of Carl Marx” , Master of Science Thesis
Philosophy Program, (Graduate School: Mahachulalongkornrajavidyalaya University, (2009).

๓๑ Loc.cit.

๒๒

คําวา ความเสมอภาค (Equity) นั้น มีนัยยะที่แตกตางกับคําวาความเทาเทียม
โดยเฉพาะในมุมมองทางกฎหมายแลวจะมิไดเรยี กรองใหป ฏิบัติอยางเทา เทียมกนั อยา งส้ินเชิงกลาวคือ
มีไดหมายความวาบุคคลทุกคนจะไดรับการปฏิบัติอยางเทาเทียมกันโดยมิไดคํานึงถึงขอแตกตางใด ๆ
เลยแตเฉพาะกรณีส่ิงสองส่ิงมีสาระสําคัญเหมือนกันจึงควรจะไดรับการปฏิบัติอยางเทาเทียมกันและ
กรณีส่ิงสองส่ิงมีสาระสาํ คัญตา งกันจะตองไดรับการปฏิบัติที่แตกตางกันเพราะหากทุกคนจะตอ งไดรับ
การปฏิบัติอยางเทาเทียมกันโดยมิใหคํานึงถึงขอแตกตางใด ๆ เชน บุคคลทุกคนจะตองเสียภาษีอยาง
เทาเทียมกันหมดโดยมิตองคํานึงถึงรายไดของ บุคคลน้ัน หรือวาทุกคนจะตองไดรับสิทธิเรียกรองใน
การไดรับความสงเคราะหอยางเทาเทียมกันโดยไมคํานึงถึงความจําเปนของ บุคคลนั้น ๆ ในท่ีสุดจะ
นาํ ไปสูก ารปฏบิ ัติอยางไมเ สมอภาคตอบคุ คลบางกลมุ 35๓๒

ดังนั้น เรื่องของความเสมอภาคจึงตองเปนกรณีที่มีการเปรียบเทียบกันระหวาง
ขอเท็จจริง ๒ ขอเท็จจริงหรือบุคคล ๒ คน หรือกี่ลุมบุคคล ๒ กลุมโดยจะตองคํานึงวาไมมี
ขอเท็จจริงใด ๆ หรือบุคคลใดหรือกี่ลุมบุคคลใดจะเหมือนกันทุกประการกับอีกขอเท็จจริงหนึ่งหรือ
อีกบุคคลหนึ่งหรืออีกกลุมบุคคลหนึ่ง นอกจากนั้นแลว การจัดสวัสดิการสังคมก็ถือเปนบริการ
สาธารณะที่รัฐตองจัดขึ้น ซึ่งภายใตแนวคิดของการจัดบริการสาธารณะก็เปนที่ยอมรับกันวาตอง
คาํ นึงถึงความเสมอภาคดวย

สรุปไดวา ความเสมอภาค ความเทาเทียมระหวาง บุคคล ตลอดจนการไดรับ
ผลประโยชน และความคุมครองจากภาครัฐอยางเทาเทียมกัน ประเภทของความเสมอภาคในที่นี้ตาม
แนวคิดหลักสิทธิมนุษยชน และแนวทางของสิทธิ เสรีภาพ และศักด์ิศรีความเปนมนุษย ท่ีกําหนดไวใน
รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทยฉบับ ปพ ุทธศักราช ๒๕๖๐ เปน ตน

๒. ปจ จัยดานหลักสทิ ธิและเสรภี าพ
คําวา สิทธิ (Right) และเสรีภาพ (Liberty) เปนคําท่ีหลายคนคุนเคยกันเปนอยางดี
เพราะมักจะถูกนํามาอางในการกระทําการหรือหามมิใหกระทําการรวมทั้งเรียกรองใหรัฐกระทําการ
หรือโตแยงการกระทําอยางหนึ่งอยางใดของรัฐ และยังถือวาเปนคําท่ีมีความสําคัญตอพื้นฐานการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอีกดวย ดังนั้นจึงควรทําความเขาใจเก่ียวกับคําวา “สิทธิ” และ
“เสรีภาพ” วา มีความหมายอยา งไร “สทิ ธิ”
สิทธิ คือ อาํ นาจอันชอบธรรม โดยภาษากฎหมาย คืออาํ นาจทีจ่ ะกระทําการใด ๆ ได
อยางอิสระ โดยไดรบั การรบั รองจากกฎหมาย36๓๓

๓๒ Soonthorn Anantachai, The Equality, Equity and Social Justice with the Social
Welfare of Thailand, Retrieved 21st January, 2020, from https://www.tcithaijo.org/index.php/
lawhcu/article/view/157551, (2020).

๓๓ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติ
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเน่ืองในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม
๒๕๕๔, (กรงุ เทพมหานคร: ราชบัณฑติ ยสถาน, ๒๕๕๖), ๑๑๙๓.

๒๓

สิทธิ หมายถึงอํานาจท่ีกฎหมายรับรองและใหความคุมครองแกบุคคลในอันท่ีจะ
เรยี กรอ งใหบ ุคคลอืน่ กระทําการอยา งใดอยางหนงึ่ สทิ ธจิ งึ กอใหเ กิดหนาท่ีแกบคุ คลอืน่ ดว ย37๓๔
คําวา “สิทธิ” ในหลักกฎหมายท่ัวไปซ่ึงสามารถปรับใชไดทั้งกฎหมายเอกชนและ
กฎหมายมหาชนไววา “สทิ ธิ” มสี องความหมาย ไดแก การมองจากอาํ นาจของผูทรงสิทธิ คืออํานาจที่
กฎหมายใหแกบุคคลในอันท่ีจะมีเจตจํานง (Willensmacht) และการมองจากวัตถุประสงคของสิทธิ
คือ“ประโยชนท่ีกฎหมายคมุ ครองให” อันเปนแนวคิดของของ Jhering นอกจากนห้ี ยดุ แสงอทุ ัยยงั ได
อธิบายถงึ สิทธิตามกฎหมายมหาชน หมายความวา รัฐโดยรัฐธรรมนูญก็ดี โดยกฎหมายก็ดี ยอ มผกู พัน
ตนเองเปนการยอมผูกมัดของอํานาจสาธารณะ (Offentliche Gewalt) เพ่ือประโยชนของเอกชน
สิทธิตามกฎหมายมหาชนเปนสิทธิของราษฎรที่มตี อรฐั และอํานาจสาธารณะอื่น ๆ ๓๕
38
สําหรับ “เสรีภาพ” น้ันมีผูที่ใหความหมายที่หลากหลาย ตามพจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน เสรีภาพ หมายถึงความสามารถที่จะกระทําการใด ๆ ไดตามที่ตนปรารถนาโดยไม
มีอุปสรรคขัดขวาง เชน เสรีภาพในการพูด เสรีภาพในการนับถือศาสนา ความมีสิทธิท่ีจะทําจะพูดได
โดยไมล ะเมิดสิทธขิ องผอู น่ื
ความหมายของคําวา “เสรีภาพ” (Freedom) วาหมายถึง การที่รัฐใหความเปน
อิสระทจ่ี ะทาํ การใด ๆ ได โดยเฉพาะสทิ ธิทางการเมือง39๓๖
เสรีภาพ หมายถึง สภาพการณท่ีบุคคลมีอิสระในการที่จะกระทําการอยางใดอยาง
หน่งึ ตามความประสงคของตน40๓๗
เสรีภาพ หมายถึง เปนเงื่อนไขของ บุคคลที่ไมขึ้นตอผูหน่ึงผูใดและเปนอํานาจหรือ
อํานาจที่จะกระทําหรือไมกระทําก็ได เสรีภาพคืออํานาจของ บุคคลในอันท่ีจะกําหนดตนเองโดยอํานาจ
สว นบุคคลยอ มเลือกวิถชี ีวติ ของตนไดดว ยตนเอง เสรีภาพจึงเปนอาํ นาจทบ่ี ุคคลมีอยเู หนือตนเอง41๓๘

สรุปไดวา สิทธิและเสรีภาพ คือ ประโยชนหรืออํานาจของบุคคลท่ีกฎหมายรับรอง
และคุมครองมิใหมีการละเมิดและอํานาจตัดสินใจดวยตนเองของมนุษยที่จะเลือกดําเนินพฤติกรรม
ของตนเอง โดยไมม บี คุ คลอน่ื ใดอางหรอื ใชอ าํ นาจแทรกแซงเกย่ี วของกบั การตดั สินใจน้นั

๓๔ วรพจน วิศรุตพิชญ, สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ, (กรุงเทพมหานคร: เคล็ดไทย, ๒๕๓๘),
หนา ๒๒.

๓๕ หยุด แสงอุทัย, ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป, พิมพคร้ังที่ ๑๕, (กรุงเทพมหานคร:
สํานักพิมพป ระกายนกึ หจก.ยงพลเทรดดง้ิ , ๒๕๔๕), หนา ๒๒๕.

๓๖ Henry Campbell, Black’s Law Dictionary, (Boston: West Publishing, 1995), pp.1323
๓๗ วรพจน วิศรุตพิชญ, สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
๒๕๕๐, (กรุงเทพมหานคร: วิญูชน, ๒๕๕๕), หนา ๒๒.
๓๘ เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน, หลักกฎหมายวาดวยสิทธิเสรีภาพ, (กรุงเทพมหานคร: วิญูชน,
๒๕๔๗). หนา ๒๔.

๒๔

๓. ปจ จยั ดานหลกั ความเปนอสิ รภาพและเปน กลาง
ความเปนอิสรภาพ หมายถึง ความเปนใหญ, ความเปน ไทแกตน, การปกครองตนเอง42๓๙
หลักความเปน กลาง ถอื เปนหลักการหนง่ึ ในหลกั ความยุตธิ รรมตามธรรมชาติ43๔๐ (jus
naturale) ซง่ึ เกดิ ขึน้ จากแนวความคดิ พื้นฐานที่วา หากบุคคลมอี ํานาจสง่ั การในเร่อื งทตี่ นมีสวนไดเ สีย
อยู บุคคลนั้นก็จะสูญเสียความเปนกลางและไมอาจวินิจฉัยสั่งการโดยปราศจากอคติในเรื่องน้ัน ๆ ได
ดังน้ัน หลักการนี้จึงนํามาใชในองคกรของรัฐท่ีมีอํานาจวินิจฉัยในเรื่องตาง ๆ ไมวาจะเปนหลักความ
เปนกลางของผูพิพากษาหรือตุลาการซ่ึงนํามาสูการคัดคานผูพิพากษาที่มีประโยชนไดเสียในคดีมิให
เปน ผูวินิจฉัยในคดีน้นั หรอื หลกั ความเปนกลางขององคก รฝายปกครองที่หามมิใหเจา หนา ท่ีของรัฐหรือ
กรรมการในคณะกรรมการใด ๆ ท่ีมีอํานาจพิจารณาทางปกครอง พิจารณาและวินจิ ฉัยสั่งการหรอื รวม
ประชมุ และลงมติในเร่อื งใด ๆ ทต่ี นมีสว นไดเ สียอย4ู4๔๑
ในระบบกฎหมายของนานาอารยะประเทศตางยอมรับถึงความมีอยูของหลักความเปน
กลางน้ใี นฐานะหลักกฎหมายทว่ั ไปมาเปนเวลาชานานแลว อยางเชน ในประเทศทางยโุ รปไดใหการรับรอง
ไวในปฏิญญาสากลแหงยุโรปวาดวยการพิทักษ สิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน (Convention
euro penne de sauvegarde des Droitsde l’ Homme et des libert s fondamentales) มาตรา
๖-๑ วรรคหน่ึง ที่วา บุคคลทุกคนมีสิทธิที่จะไดรับการพิจารณาคดีอยางเปนธรรม เปดเผย และใน
ระยะเวลาที่เหมาะสม โดยองคกรฝายตุลาการท่ีมีความเปนอิสระและมีความเปนกลางท่ีจัดตั้งข้ึนโดย
กฎหมาย45๔๒ ซึ่งไดมีการตีความหลักดังกลาวขยายไปถึงกระบวนการพิจารณาทางปกครองดวยจาก
การศึกษาถึงพัฒนาการของหลักความเปนกลางในตางประเทศ จะพบไดวาการเกิดข้ึนของหลักการ
ดังกลาวในแตละประเทศไดรับการพัฒนามาจากพ้ืนฐานทางแนวความคิดที่แตกตางกัน ซ่ึงสงผลใหการ
ปรากฏอยูของหลักการดงั กลาวในปจ จบุ ันแตกตางกันออกไป
ในประเทศฝร่ังเศส หลักความเปนกลาง (Principe del impartiality) นั้นไดรับการ
ยอมรับวา เปนหลักกฎหมายท่ัวไปประการหนึ่งในระบบกฎหมายฝรงั่ เศสท่ีมวี ิวัฒนาการอนั ยาวนานมา
จากแนวคําพิพากษาของสภาแหง รฐั (ศาลปกครองสูงสุด) โดยยึดหลักการที่วา การวินิจฉัยส่ังการของ

๓๙ Longdo dict, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔, [ออนไลน], แหลงท่ีมา:
https://dict.longdo.com/search/อิสรภาพ#google_vignette [๒ ธนั วาคม ๒๕๖๓].

๔๐ เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน, “องคกรและวิธกี ารคุมครองประชาชนและควบคุมฝายปกครองภายใน
ฝายปกครองในประเทศไทย”, วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,
๒๕๓๑), หนา ๑๗๑.

๔๑ บุปผา อัครพิมาน, "หลักกฎหมายท่ัวไป", วารสารวิชาการศาลปกครอง, ปท่ี ๕ ฉบับที่ ๑,
(มกราคม - เมษายน ๒๕๔๘): ๑๔-๑๕.

๔๒ “Toute personne a droit à ce que sa cause soit entendue équitablement,
publiquement etdans un délai raisonnable, par un tribunal indépendant et impartial, établi par la
loi, ...”

๒๕

ฝายปกครองจะตองรักษาไวซ่ึงหลักการแหงความปราศจากอคติ46๔๓ และตอมาไดมีการบัญญัติไวเปน
ลายลกั ษณอักษรในป ค.ศ. ๑๓๐๒ ในรัฐกําหนด Philippe le Bel วา ดวยการปฏิรปู ราชอาณาจกั รซึ่ง
กําหนดใหเจาหนาท่ีของรัฐจะตองเคารพตอหลักความเปนกลาง โดยสภาแหงรัฐไดปรับใชหลักการ
ดงั กลาวขางตนแกค ณะกรรมการวินิจฉยั ขอ พิพาทและคณะกรรมการวนิ ัยขาราชการในการวินจิ ฉัยคดี
ที่มีการโตแยงคําวินิจฉัยขององคกรเหลานี้พรอมท้ังยืนยันวาหลักความเปนกลางเปนหลักกฎหมาย
ท่ัวไปประการหน่ึงอีกดวย

สรุปไดวา ความเปนอิสรภาพและความเปนกลาง หมายถึง การท่ีบุคคลใดคนหนึ่ง
ปฏิบตั ิตนหรือปฏิบตั หิ นา ทดี่ ว ยความเปน อิสระและเปนกลาง โดยปราศจากอทิ ธพิ ลหรือการแทรกแซง
ใด ๆ

๔. ปจจยั ดานพลวตั กบั สถานการณ
๑) ความสามารถเชงิ พลวัต
นักวิชาการตางรับรูวาความสามารถเชิงพลวัตเปนเสมือนความสามารถข้ันสูงที่มี
อิทธิพลตอการ พัฒนาความสามารถในการดําเนินงานขององคกร47๔๔ ซ่ึงความสามารถขององคกร
(Ordinary Capabilities) จะตองมีความสามารถเชิงพลวัต เพ่ือลวงรู ประเมินสภาพแวดลอมทางธุรกิจ
โอกาสทางเทคโนโลยี จัดการความซับซอนและสรางวัฒนธรรมองคกรที่แข็งแกรง48๔๕ บอยคร้ังท่ีมีการ
หลอมรวมของความสามารถงาย ๆ สัมพันธกับการปฏิบัติงานประจํา49๔๖ งานประจําขององคกร
ประกอบดวยการแปรสภาพองคกร (Organizational Transformation) ทักษะ กรอบแนวคิดของปจเจก
บุคคลที่หลากหลายภายในองคกรความสามารถจึงไมใชเพียงทักษะของบุคคล แตเปนการเรียนรูรวมกัน
จากวิธีการทํางาน รวมถึงส่ิงอํานวยความสะดวกที่องคกรเขาถึงได50๔๗ ไมวาจะเปนทีมวิจัย พัฒนาขาม
สายงานงานประจําดา นการพัฒนาผลิตภัณฑใหมงานประจําดานการควบคุมคุณภาพงานประจําดานการ
ถายโอนเทคโนโลยีหรือความรูและระบบการวัดผลการดําเนินงาน สิ่งเหลาน้ีเปนองคประกอบท่ีสําคัญ

๔๓ เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน, “องคกรและวิธีการคุมครองประชาชนและควบคุมฝายปกครองภายใน
ฝายปกครองในประเทศไทย”, วิทยานิพนธนิตศิ าสตรมหาบัณฑติ , หนา ๑๗๐.

๔๔ Uriarte, M., López, O., Blasi, J., Lázaro, O., González, A., Prada, I., & García, A.
“Sensing enabled capabilities for access control management”, In Integration, Interconnection,
and Interoperability of Iot Systems (2018): 149-167.

๔๕ Teece, D. J., “ Dynamic capabilities and entrepreneurial management in large
organizations: Toward a theory of the (entrepreneurial) firm”, European Economic Review, Vol. 8
No. 6, (2016): 202-216.

๔๖ Grant, R. M., “Prospering in Dynamically-Competitive Environments: Organizational
Capability as Knowledge Integration”, Organization Science 7, (1996): 375 – 387.

๔๗ Teece, D. J., “ Dynamic capabilities: Routines versus entrepreneurial action” ,
Journal of management studies, Vol. 49 No. 8 (2012); 1395 – 1401.

๒๖

ของความสามารถเชิงพลวัต51๔๘ ความสามารถเชิงพลวัตเสมือนความสามารถขององคกรในการสราง
เปาหมาย แพรขยาย หรือดัดแปลงทรัพยากรและความสามารถขององคกรใหอยูรอดไดใน
สภาพแวดลอมที่มีการเปลี่ยนแปลง52๔๙ ความสามารถเชิงพลวัตเปนปจจัยเชิงสาเหตุขององคกรและ
กลยุทธการปฏิบัติงานประจําโดยผูจัดการจะตองมีทางเลือกเกี่ยวกับฐานทรัพยากรดวยการแสวงหา
และการเลื่อนไหล การบูรณาการและหลอมรวมทรัพยากร53๕๐ ความสามารถเชิงพลวัตเปน
ความสามารถสกัดทรัพยากรท่ีมีอยูใหเปนทรัพยากรสําหรับอนาคต ผานการพัฒนาสมรรถนะใหม
ครอบคลมุ ๑) ความสามารถในการใชประโยชนจากส่ิงใหม (Exploitation Capability) ๒) ความสามารถ
ในการสรางส่ิงใหม (Building Capability) ความสามารถเชิงพลวัตมีความสําคัญโดยกระบวนการ (งาน
ประจํา) และทรัพยากร ไมใชแคการดําเนินงานที่ดีที่สุด แตตองมีความเปนเอกลักษณ (Signature)
ไมใชแคทรัพยากรแตตองเปนทรัพยากรที่มีคุณคา หายาก ลอกเลียนแบบไดยากและทดแทนไมได
ความสามารถเชิงพลวัตที่แข็งแกรงจะชวยองคกรใหเขาถึงความจําเปนดานการตลาดและโอกาสทาง
เทคโนโลยี เพราะองคกรตองมีการเปล่ียนแปลงความสามารถ วิเคราะห คาดการณการเปล่ียนแปลง
ของตลาด เทคโนโลยีและสภาพแวดลอมทางธุรกิจได54๕๑

๒) พลวัตของสงั คมการเมือง
นักวิชาการมักจะเปรียบเทียบสังคมมนุษยวาเสมือนรางกายของสิ่งมีชีวิต ประกอบ
กันขึ้นเปนรางกายที่มีเลือดเนื้อ หัวใจ สมอง และอื่น ๆ รวมทั้งความรูสึกนึกคิด ความจํา มีการ
เรียนรู การใชขอมูลและประสบการณจากความทรงจํา ซึ่งเปนองคประกอบของสิ่งมีชีวิตที่อยูใน
ระดับสูงตาง ๆ และมีระดับความสลับซับซอนมากยิ่งขึ้นสําหรับสิ่งมีชีวิตที่อยูในระดับสูงขึ้น จนถึง
ข้ันเผาพันธุมนุษย
พุทธศาสนาอธิบายวาส่ิงท่ีมีชีวิตยอมประกอบดวยขันธทั้ง ๕ อันไดแก รูป เวทนา
สัญญา สังขาร วิญญาณ ซ่ึงมีทั้งท่ีเปนรูปธรรมและนามธรรม และอยูในกฎของไตรลักษณ คือ ทุกขัง
อนจิ จัง อนัตตา ไมม ตี น เปล่ยี นแปลงอยูเสมอ เปน ทกุ ข ยึดถอื เอาไมได
ลักษณะสําคัญของสังคมการเมือง หรืออยาง socio-political ของชุมชนของมนุษย
เปนสิ่งจําเปนสําหรับวิวัฒนาการชีวิตท่ีดีขึ้น มีความเปนอารยะท่ีสูงขึ้น สามารถอยูรวมกันและ

๔๘ Eisenhardt, K. M., & Martin, J. A., “Dynamic capabilities: what are they”, Strategic
management journal, (2000): 1105-1121.

๔๙ Teece, D. Firm capabilities, resources and the concept of strategy, Economic
analysis and policy and Teece (1990)., D. J., Pisano, G., & Shuen, A., “Dynamic capabilities and
strategic management”, Strategic management journal, Vol. 18 No. 7 (1997). 509-533.

๕๐ Grant, R. M., “Prospering in Dynamically-Competitive Environments: Organizational
Capability as Knowledge Integration”, Organization Science 7, (1996): 375–387.

๕๑ Kurniawan, R., & Christiananta, B., “ Relationship Between Synergistic Cooperation
and Dynamic Capability to The Business Performance A Literature Review from Resource Based
View Perspective”, GSTF Journal on Business Review (GBR), Vol. 4 No.3. (2016).

๒๗

สามารถสืบพันธุสงตอไปยังรุนตอๆ ไปได มนุษยไดพัฒนาชุมชนจนกลายเปนสังคมที่ทําใหสมาชิกทุก
คนหรือเกือบทุกคนมีอาหารบริโภค มีปจจัย ๔ สําหรับการดํารงชีพ และที่สําคัญท่ีสุดคือทุกคนมี
โอกาสสืบพันธุสืบทอดเผาพันธุของตนตอ ไปได แทนท่ีจะเปน สิทธิขาดของหัวหนาฝูงหรือหัวหนาเผาท่ี
มีรางกายแข็งแรงและสมบูรณที่สุดเทานั้น แมบางเผาพันธุจะมีหัวหนาเผาหรือหัวหนาชุมชนยังติด
สัญชาตญาณการแพรพันธุของตนเอง สามารถมีอภิสิทธิ์ที่จะมีโอกาสมีคูไดเปนจํานวนมาก เพ่ือใหมี
การแพรพันธุไดม ากกวาสมาชกิ คนอน่ื ๆ ในเผา

พลวัตของเศรษฐกิจและสังคมเปนส่ิงที่เห็นไดงายและปดก้ันขัดขวางไดยาก เพราะ
ผลของการที่ตนเห็นจากเพ่ือนบาน สังคมอ่ืนหรือประเทศอ่ืนที่เรียกวา demonstration effect ดวย
พลังทางเศรษฐกิจ พลังการตลาดผานทางพลังของราคาสินคาและบริการ ทําใหมีความพยายามท่ีจะ
ลดการแตกตางหรือชองวางของความเปนอยูและการดํารงอยูตลอดเวลาในรอบ 100 ปที่ผานมา
นอกจากคุณภาพชีวิตความเปนอยู ความมอี ายุยนื ยาวของชวี ิตของมนุษย จะไดร ับการพัฒนาใหสูงข้ึน
สามารถมองเห็นและเปรียบเทียบกนั ทําใหหยุดย้ังและปด กั้นไดยากขึ้น ประเทศหลายประเทศในคาย
คอมมิวนิสตที่พยายามปดประเทศ ปดกั้นการเปลี่ยนแปลง ขัดขวางการพัฒนาคุณภาพชีวิตใหดีขึ้น
แตในท่ีสุดก็ทาํ ไมได ไมสามารถเอาชนะพลังเศรษฐกิจ พลังการตลาดทสี่ ามารถพังทลายสิ่งท่ีปด กัน้ กีด
กันท้ังหลาย ที่ไมสอดคลองกับสภาพการตลาดใหทลายลง ผานทางการคาใตดินหรือการคาผิด
กฎหมายการเกิดข้ึนของ บิทคอยน ก็เปนผลของพลังการตลาดท่ีหาทางออกใหกับตลาดใตดิน
ธุรกรรมผิดกฎหมาย ลดตนทุนของระบบการเงิน อันเปนคําตอบของพลวัตทางเศรษฐกิจ พมาเคยปด
กั้นพลงั เศรษฐกจิ ไมใหเกิดการเปล่ียนแปลง

สงั คมก็เชนเดียวกัน ไมวาจะเปนแนวต้ัง เชน การศึกษา การฝกทักษะ ความรูสึกนึก
คิดท่ีเปนนามธรรม ความเจริญงอกงามของวัฒนธรรม ความเปนอารยะของสังคม ทางดานแนวนอน
เชน การติดตอปฏิสัมพันธระหวางครัวเรือน ระหวางปจเจกชน ก็มีความเปนพลวัต เกิดการ
เปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลา เปล่ียนโครงสรางอาชีพ เปลี่ยนโครงสรางการผลิต ที่สําคัญก็คือการ
เปลี่ยนแปลงทางดานเทคโนโลยี ทําใหราคาโดยเปรียบเทียบระหวางปจจัยการผลิต อันไดแก คาเชา
คาจางแรงงาน ดอกเบี้ยและอัตรากําไรเปลี่ยนแปลงไป ความตองการที่ดินเพ่ือการเกษตรมีนอยลง
เพราะผลผลิตตอไรสูงข้ึนดวยเทคโนโลยีการผลิตที่เปลี่ยนไป ท่ีเคยคิดวาอาหารและสินคาการ
เกษตรกรจะไมพอกินพอใชเพราะเพิ่มข้ึนในอัตราที่ตํ่ากวาอัตราการเพ่ิมขึ้นของประชากรก็เปลี่ยนไป
กลายเปนวาถาทุกประเทศปลอยใหภ าคเกษตรกรรมเปนตลาดเสรี เปน ไปตามกลไกตลาด อาหารและ
สินคาเกษตรจากประเทศตาง ๆ จะลนโลก เกินความตองการ ราคาจะลดตํ่าลงตํ่ากวาตนทุนของ
วิธีการผลิตในปจจุบัน จากเดิมท่ีใชทุนและแรงงานมาก เปลี่ยนมาใชแรงงานและที่ดินนอย
ความสัมพันธระหวางนายทุนและผูใชแรงงานก็เปลี่ยนไป ความสําคัญของสหภาพแรงงานก็ลดลงจน
ไมไดย ินเสียง

พลวัตทางการเมืองของโลกก็กลายเปนกระแสของประชาธิปไตยไปท่ัวท้ังโลก สราง
ความกดดันใหประเทศตาง ๆ ที่เคยเปนประเทศที่มีระบอบการปกครองแบบเผด็จการทหาร เชน
สเปน โปรตุเกส ประเทศตาง ๆ ในทวีปอเมริกาใต รวมท้ังประเทศคอมมิวนิสต เชน สหภาพ

๒๘

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต รวมทั้งสาธารณรัฐประชาชนจีน เวียดนาม ลาว คิวบา ก็ตอ งผอ นคลาย
เปด ประเทศเขา หาระบบเศรษฐกิจแบบตลาดหรอื market economy มากขน้ึ ตามลาํ ดบั

พลวัตของการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองเกิดขึ้นทั่วโลก และมี
แนวโนมท่ีจะถอยหางจากการเปนระบอบเผด็จการ ไมวาจะเปนระบอบเผด็จการทหารอยาง
ตรงไปตรงมา หรือเผด็จการโดยพรรค เชน พรรคคอมมิวนิสตและพรรคอ่ืน ๆ หรือเผด็จการโดย
รัฐสภาก็ผอนคลายความแข็งท่ือของความเปนเผด็จการลง หันมามองประเทศไทย เปนเวลา ๘๕-๘๖
ปหลังจากคณะราษฎรไดเขาทําการยึดอํานาจในวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ มาเปนระบอบ
คณาธิปไตยบาง มาเปนระบอบเผด็จการทหารบาง ระบอบประชาธิปไตยคร่ึงใบบาง เต็มใบบาง
หลังจากนั้นระบอบการเมืองของบานเราก็หยุดนิ่ง ไมมีการพัฒนากาวหนาเลย เคยดีใจวาระบอบ
ประชาธิปไตยของประเทศไทยคงจะพัฒนาไปเร่ือย ๆ จนกลายเปนระบอบประชาธิปไตยแบบ 2
พรรค เหมือนกับนานาอารยประเทศ เม่ือปลอยใหมีการเปดเสรีทางการเมืองอยางตอเนื่องจนในที่สุด
ก็จะเกิดระบบ ๒ พรรค ยกเวนญ่ีปุน ที่พัฒนาเปนระบอบพรรค การเมืองพรรคเดียวแบบญี่ปุน เปน
พรรคเดียวที่ครองเสยี งขางมากในรัฐสภามาเกือบตลอดหลังสงครามโลกครั้งท่ี ๒ แตภายในพรรคเสรี
ประชาธิปไตยก็มีการแขงขันตอสูกัน ภายในพรรคมีการแบงออกเปน “มุง” ตาง ๆ ความสําเร็จของ
การพัฒนาเศรษฐกิจหลังจากถูกพันธมิตรทําลายดวยระเบิดปรมาณู เมืองฮิโรชิมาและนางาซากิ และ
เมืองสําคัญรวมทั้งโตเกียว ท่ีถูกระเบิดทําลายจนราบเปนหนากลอง ระบอบประชาธิปไตยแบบพรรค
เดียวภายใตรัฐธรรมนญู ทส่ี หรัฐอเมรกิ าเปนผูยกรางใหก็ดํารงคงอยูอยา งถาวรมาจนถงึ ปจจุบนั นาน ๆ
จงึ จะมีการแกไขลาสุดก็คือใหญ่ีปุนมีทหารประจําการและสามารถสงออกไปสูรบนอกประเทศในนาม
ของสหประชาชาติได และกําลังจะแกไขใหสมเด็จพระจักรพรรดิทรงสละราชสมบัติได รัฐประหาร
เมื่อเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๕ เปนการดึงระบอบการเมืองของประเทศใหถอยหลังกลับไปสูระบอบ
เผด็จการโดยการทํารัฐประหารรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ท่ีมาโดยระบอบรัฐสภา โดยอางวา
“เลือกตั้งสกปรก” ในการเลือกตั้งในป ๒๕๐๐ ในท่ีสุดจอมพล ป.พิบูลสงคราม ตองออกไปล้ีภัยที่
ญี่ปุน ประเทศพันธมิตรระหวางสงครามโลกและถึงแกอสัญกรรมท่ีนั่น ระบอบการเมืองท่ีเพ่ิงจะเร่ิม
และเปนครั้งแรกท่ีสภาผูแทนราษฎรไดอยจู นครบวาระ มีการเลือกตั้งซ้ําและพรรครัฐบาลไดเสียงขาง
มากอยางเด็ดขาด และถาตองการก็สามารถต้ังรัฐบาลพรรคเดียวไดเชนเดียวกับรัฐบาลอังกฤษและ
รัฐบาลของประเทศในยุโรปได ในขณะเดียวกัน พรรคการเมืองใหญท่แี พการเลือกต้ังก็ปลุกกระแสวา
การที่มีพรรคการเมืองชนะการเลือกตั้งมีเสียงขางมากอยางเด็ดขาดหรือ absolute majority เปน
ระบอบเผด็จการโดยรัฐสภา เปนการบิดเบอื นโดยแท

การปกครองโดยเสียงขางมากในรัฐสภา ประกอบกับการมีวินัยพรรคท่ีเขมแข็ง ก็
ยอ มเปนรัฐบาลเผด็จการโดยเสียงขางมากอยูแลว แตเสียงขางนอยก็ยังไดรับการรับฟง เพราะสมาชิก
พรรคตองลงมติในสภาตามแนวทางของพรรค หรือ party line อยูแลว จะออกนอกแนวทางของ
พรรคไมได ขืนทําจะถูกพรรคลงโทษ เราจึงเห็นเสมอวาสมาชิกพรรคฝายคานจะไมยกมือลงคะแนน
เสียงใหกับญัตติท่ีเสนอโดยฝายรัฐบาล โดยเฉพาะการผานรางกฎหมายและญัตติสําคัญอื่น ๆ รัฐบาล
ตองหาพันธมิตรใหพอในการลงมติ ถาไมสามารถผานรางกฎหมายหรือญัตติสําคัญๆ ก็ตองลาออก
เพื่อใหประชาชนตัดสินวาจะใหฝายรัฐบาลกลับมาตั้งรัฐบาลอีกหรือไม การปลุกกระแสเพื่อปูทางให

๒๙

ทหารทํารัฐประหารโดย กปปส. ซ่ึงจัดต้ังข้ึนโดยแกนนําพรรคฝายคา น ประสานกบั การคว่ําบาตรการ
เลือกต้ังของหัวหนาพรรคฝายคาน เพราะรูดีวาถามีการเลือกต้ังตนจะแพการเลือกต้ัง ถารวมมือกับ
ทหารก็ไดเปนนายกรัฐมนตรีโดยการจัดต้ังกันในกรมทหารจะดีกวา เพราะพรรคไมเคยชนะการ
เลือกต้ังมากอนเลย พรรคไมเคยชนะใจ ประชาชนโดยการสรางผลงานหรือโดยการเสนอนโยบายท่ี
ถูกใจประชาชน แตใชวิธีหาเสียงโดยการทําลายฝายตรงกันขามมาโดยตลอด ที่จารึกไวใน
ประวัติศาสตรการเมืองไทยก็คือการท่ี ส.ส.พรรคฝายคานจากจังหวัดอุบลราชธานี ไปตะโกนบนเวที
โรงภาพยนตรเฉลิมกรุง ปูทางใหจอมพล ผิน ชุณหะวัณ ทํารัฐประหาร แลวเชิญจอมพล ป.พิบูล
สงคราม มาเปนนายกรฐั มนตรี55๕๒

สรุปไดวา ความสามารถเชิงพลวัตมีความสําคัญโดยกระบวนการ (งานประจํา) และ
ทรัพยากร ไมใชแคการดําเนินงานที่ดีที่สุด พลวัตทําใหเกิดการเปลี่ยนทางสังคม การเมือง เศรษฐกิจ
เปนวิวฒั นาการทีด่ ขี นึ้ ปรับเปล่ยี นใหเปน ส่งิ ใหมๆ

ตารางท่ี ๒.๑ แนวคดิ เกี่ยวกบั หลกั นิตธิ รรม

นกั วิชาการหรอื แหลงขอมูล แนวคิดหลัก
Andrew Venn Dicey, (1960, p.183) ความหมายของหลักนิติธรรมในทัศนะของไดซ่ี
cited in Michael Neumann, ประกอบดว ยหลกั ๓ ประการ ไดแ ก
(2002, p.1) หลักขอท่ี ๑. บุคคลตองไมถูกลงโทษหรือ
กระทํายํ่ายีตอรางกายหรือทรัพยสินของตน เวนแต
Carré de Malberg.R., ไดกระทําการอันเปนการละเมดิ กฎหมาย
(p.489) หลักขอที่ ๒ คือไมมีผูใดอยูเหนือกฎหมายของ
พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. แผนดิน ไมวาบุคคลนั้นจะมีชาติกําเนิดหรือ มีฐานะ
๒๕๔๒, (๕๘๗), ทางเศรษฐกิจและสังคมระดับใด ยอมถูกบังคับโดย
กฎหมายและโทษอยา งเดยี วกนั
หลักขอท่ี ๓ รัฐธรรมนูญหรือกฎหมายสูงสุดนั้นมา
จากกฎหมายปกติธรรมดาที่ศาลยุติธรรมใชตัดสินคดี
ในชวี ติ ประจาํ วันท้ังคดแี พงและคดอี าญา
นิติรัฐในแงของความสัมพันธระหวางรฐั กับประชาชน
น้ัน หมายถึง ท่ยี อมตนอยูภายใตร ะบบกฎหมาย และ
ยอมผูกพันการกระทําใด ๆ ของตนกับกฎเกณฑของ
กฎหมาย
คําวา “หลักนิติธรรม” มาจากคําในภาษาอังกฤษวา
Rule of Law ซึ่งมีผูใหคําแปลไวหลากหลาย อาทิ

๕๒ วีรพงษ รามางกูร, พลวัตของสังคมการเมือง, [ออนไลน], แหลงที่มา: https://www.matichon.
co.th/columnists/news_1126611 [๒ ธันวาคม ๒๕๖๓].

๓๐

นกั วิชาการหรือแหลงขอมูล แนวคิดหลัก
และประยรู กาญจนดุล,อางใน หลกั พน้ื ฐานแหง กฎหมาย
เอกบุญ วงศสวสั ดิ์กลุ , (๒๕๕๓,๑๔๐) หลักนิติธรรม คือ หลักการพ้ืนฐานแหงกฎหมายที่
ธานินทร กรยั วิเชียร, สําคัญในระบบประชาธิปไตย ท่ีเทิดทูนศักดิ์ศรีแหง
(๒๕๕๒, หนา ๒๓) ความเปน มนษุ ยแ ละยอมรับนับถือสิทธิมนษุ ยชน
อุเทน ชชั ศฤงศารสกลุ , หลักนิติธรรม คือ หลักการแบบแผน ระเบียบ
(๒๕๕๕, หนา ๙๙) ขอบงั คบั ที่อยูบนพน้ื ฐานของความเปนธรรม
บรรหาญ จงเจรญิ ประเสริฐ, หลักนิติธรรม (Rule of Law) หมายถึง ความเปน
https://www.constitutionalcourt. ธรรมที่มีอยูในกฎหมายหรือกฎหมายใหความเปน
or.th/occ_web/ewt_dl_ ธรรมได
link.php?nid=1266 หลักนิติธรรม คือตองตั้งอยูในความถูกตองและชอบ
ชัยวฒั น วงศวฒั นศานต, ธรรม
(๒๕๔๑,หนา ๒๓) ความสําคัญของหลักนิติธรรมในรัฐธรรมนูญแหง
รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ บัญญัติไววา
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐, “รัฐตองดําเนินการตามแนวนโยบายดานการบริหาร
(๒๕๕๐) ราชการแผนดินดังตอไปนี้ (๖) ดําเนินการให
ห น ว ย ง า น ท า ง ก ฎ ห ม า ย ท่ี มี ห น า ที่ ใ ห ค ว า ม เห็ น
ถวลิ วดี บุรีกุล, เก่ียวกับการดําเนินงานของรัฐตามกฎหมายและ
(๒๕๔๖) ตรวจสอบการตรากฎหมายของรัฐ ดําเนินการอยาง
เปนอิสระ เพ่ือใหการบริหารราชการแผนดินนี้เปนไป
ภาณุ จนั ทรเ จียวใช, ตามหลักนิตธิ รรม”
กาํ ชัย จงจักรพนั ธ, สาระสําคัญของหลักนิติธรรม สามารถแบงออกเปน
(https : //www.google.c.o.th/#q= หลัก หลักการได ๗ ประการ คือหลักการแบงแยกอํานาจ
หลักการคุมครองสิทธิและเสรีภาพ หลักความชอบ
ธรรมดวยกฎหมายของฝายตุลาการและฝายปกครอง
ความชอบดวยกฎหมายในทางเน้ือหา หลักความเปน
อิสระของผูพิพากษา และหลักความเปนกฎหมาย
สูงสุดของรัฐธรรมนญู
หลักนิติธรรมไดมีการนํามาใชกําหนดกรอบการใช
อํานาจและการปฏิบัติหนาท่ีของฝายนิติบัญญัติ ฝาย
บริหาร ฝายตุลาการ องคกรอิสระ และหนวยงาน
ของรัฐ
สาระสําคัญหรือองคประกอบของหลักนิติธรรมมีอยู
๖ ประการดังนี้ ๑) กฎหมายตองใชบังคับเปนการ

นักวิชาการหรอื แหลงขอมูล ๓๑
นติ ธิ รรม& revid=34863990)
แนวคิดหลัก
ศรพี ชั รา สิทธิกําจร แกว พจิ ิตร, ทั่วไป ๒) กฎหมายจะบัญญัติใหการกระทําใดเปน
(๒๕๕๑) ความผิดอาญาและมีโทษยอนหลงั หรอื มโี ทษยอนหลัง
ราชบัณฑิตยสถาน, หนักกวาเดิมไมได ๓) ในคดีอาญาใหสันนิษฐานไว
๒๕๔๖), ๕๘๗) กอนวา ๔) หลักความเปนอิสระและเปนกลางในการ
สถาบันราชประชาสมาสยั , พิจารณ าพิพากษาคดีของตุลาการ ๕) รัฐและ
(๒๕๔๙, ๖) เจาหนาท่ีของรัฐมีอํานาจและตองใชอํานาจตามที่
ศรีพัชรา สิทธกิ าํ จร แกวพิจติ ร, กฎหมายใหไวเทานั้น ๖) กฎหมายตองไมยกเวน
(๖๙) ความผิดใหแกการกระทําของบุคคล หรือคณะบุคคล
เชาวนะ ไตรมาศ, ที่จะเกิดข้ึนในอนาคตไวลวงหนาโดยเฉพาะภายใต
(๒๕๔๗, ๑–๘) สงั คมที่เปล่ยี นแปลงตลอดเวลา
หลักนิติธรรม (Rule of law) คือ การมีกฎหมายที่
พจนานกุ รมราชบัณฑติ ยสถาน, เปนธรรมกับทุกฝายมีการบังคับใชกฎหมายอยาง
(๒๕๕๖,๖๓๔) เสมอภาคและไมเลือกปฏิบัติ ไมมีมาตรฐานเชิงซอน
(Double standard)
หลักนติ ธิ รรม หมายถึง หลักพน้ื ฐานแหง กฎหมาย
หลักนิติธรรม หมายถึง การเคารพ และปฏิบัติตาม
กติกา ระเบียบแบบแผนและกฎหมายตาง ๆ โดยไม
ละเมิดอยางตั้งใจหรือจงใจหลีกเลี่ยง หรือไมตั้งใจ
เพราะไมร ู
หลักนติ ธิ รรม คือ ทงั้ เจตนารมณ สาระและการบังคับ
ใชกฎหมาย ตองเปนธรรมกับทุกฝาย เอื้อประโยชน
ตอมหาชนคนหมูมาก ไมใชเพ่ือคนกลุมใดกลุมหน่ึง
ตองเสมอภาคชัดเจน และคาดการณได

การกําหนดหลักการพิจารณาเกี่ยวกับหลักธรร
มาภบิ าลในสวนของหลกั นติ ธิ รรม ดังนี้

๑. มีกฎที่จําเปนรองรับโดยไมใหกฎทําลายกฎ
เสียเอง

๒. มีการบังคบั ใชได
๓. ผลการใชกฎมีความถูกตอง โดยไมใหสนอง
เป า ห ม า ย ข อ ง ผู ถื อ แ ล ะ ใ ช ก ฎ เสี ย เอ ง เห นื อ ก ว า
เปาหมายของกฎ
ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔
ไดใหคําแปลคําวา “นิติธรรม” ไววา “หลักพื้นฐาน
แหงกฎหมาย ที่บุคคลทุกคนตองอยูภายใตบังคับแหง

นักวิชาการหรอื แหลงขอมูล ๓๒
ทศพร มลู รตั น,
(๕๖,๕๗) แนวคดิ หลัก
A.V. Dicey, กฎหมายอยางเทา เทียมกัน (rule of law)”
(1959, p. 195.) ในป ๑๒๑๕ พระเจาจอหน (King John) กษัตริย
A.V. Dicey, อังกฤษไดลงนามในเอกสารสําคัญที่ช่ือวา Magna
(pp. 187-203) Carta เพื่อจํากัดอํานาจของพ ระองค ตอมา
L. L. Fuller, หลังจากมีการตั้งรัฐสภาข้ึนเม่ือ ค.ศ. ๑๒๖๕ ขยาย
(1969. pp. 46-91) อํานาจของตนออกไปอยางม่ันคงมีผลทําใหกษัตริย
คอย ๆ ถูกจํากัดอํานาจลง เกิดการแขงขันและเกิด
Phra Thammapitok, P, สงคราม
Dicey เห็นวา หลักนิติธรรมจะตองสัมพนั ธใ กลชิดกับ
ความมอี ํานาจ สูงสุดของรัฐสภา
หลักนิติธรรมนั้นยอมมีเนื้อหา สาระที่สําคัญ คือ
บุคคลทุกคนยอมเสมอภาคกันตอหนา กฎหมาย
บุคคลไมวาจะในชนช้ันใดยอมตองตกอยูภายใต
กฎหมายปกติธรรมดาของแผนดิน (the ordinary
law of the land) ซึ่งบรรดาศาลธรรมดาทั้งหลาย
(ordinary courts) จะเปน ผรู ักษาไวซงึ่ กฎหมาย
นั ก นิ ติ ศ า ส ต ร ที่ มี ช่ื อ เสี ย ง ช า ว อ เม ริ กั น ที่ เห็ น ว า
กฎหมายท่ีจะทําใหหลักนิติธรรมปรากฏเปนจริงได
นั้นตองมีลักษณะสําคัญ คือ ๑) กฎหมายจะตอง
บังคับเปนการทั่วไปกับบุคคลทุกคน ไมเวนแมแต
องคก รเจาหนาท่ขี องรัฐ ๒) กฎหมายจะตองไดรบั การ
ประกาศใชอยางเปดเผย ๓) กฎหมายจะตองไดรับ
การตราขึ้นใหมีผลบังคับไปในอนาคต ไมใชตราขึ้น
เพื่อใชบังคับ ยอนหลังไปในอดีต ๔) กฎหมายจะตอง
ไดรับการตราขึ้นโดยมีขอความท่ีชัดเจน เพ่ือ
ห ลี ก เลี่ ย ง มิ ให เกิ ด ก า ร บั ง คั บ ใช ท่ี ไม เป น ธ ร ร ม ๕ )
กฎหมายจะตองไมมีขอความที่ขัดแยงกันเอง ๖)
กฎหมายจะตองไมเรียกรองใหบุคคลปฏิบัติในส่ิงที่ไม
อาจเปนไปได ๗) กฎหมายตองมีความมั่นคงตาม
สมควร แตก็จะตองเปดโอกาสใหแกไขใหสอดคลอง
กับสภาพของสังคมท่ีเปล่ียนแปลงไปได ๘) กฎหมาย
ที่ไดรับการประกาศใชแลวจะตองไดรับการบังคับให
สอดคลองตองกันกลาวคือตองบังคับการใหเปนไป
ตามเน้อื หาของกฎหมายท่ไี ดประกาศใชแ ลว น้ัน
ความเสมอภาค (Equality) มักใชคูกับคําวา ความ


Click to View FlipBook Version