The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by suwitdd4, 2019-08-14 23:44:36

SAR61

sar61

สว่ นที่ ๑
ขอ้ มลู พน้ื ฐานของสถานศึกษา

๑.๑ ขอ้ มลู ทัว่ ไป
ช่อื โรงเรียน ทา่ บ่อ ที่ตั้งเลขที่ ๑ หมู่ ๑๔ ตาบลท่าบอ่ อาเภอท่าบ่อ จงั หวดั หนองคาย

สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาเขต ๒๑ โทรศัพท์ ๐๔๒-๔๓๑๗๒๘ โทรสาร๐๔๒-๔๓๑๗๒๘
E-mail:[email protected] website:thaboschool.com เปดิ สอนระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๑ ถึง
ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖

๑.๒ ข้อมลู บุคลากรของสถานศึกษา
๑)จานวนบคุ ลากร ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑

จานวน ผบู้ ริหาร ครูผูส้ อน พนกั งาน ครูอตั รา ครูอัตรา ครู ครผู ทู้ รง เจ้าหนา้ นักการ
บุคลากร ราชการ จ้าง จ้าง ตา่ งชาติ คุณคา่ ของ ที่อื่นๆ ภารโรง/
วกิ ฤต แผ่นดนิ แม่บา้ น
๑๖๐ ๒ ๑๒๐ ๒ ๑๐ ๒ ๓ ๑
๑ ๑๙

๒) วฒุ กิ ารศกึ ษาสงู สดุ ของบุคลากร

จานวน ตา่ กวา่ ปรญิ ญาตรี ประกาศนยี บตั รบณั ฑิต ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก
วุฒกิ ารศึกษา ปรญิ ญาตรี ๑๑๒ ๒ ๑๔ ๓
ของบคุ ลากร
๒๙
๑๖๐

วุฒิการศกึ ษาสงู สดุ ของบคุ ลากร

๒% ๓% ต่ำกว่ำปริญญำตรี
๑๔% ๒๙% ปรญิ ญำตรี
ประกำศนยี บตั รบัณฑติ
๑๑๒% ปรญิ ญำโท
ปรญิ ญำเอก

๓) สาขาวิชาทจ่ี บการศึกษาและภาระงานสอน ๒

สาขาวิชา จานวน (คน) ภาระงานสอนเฉล่ียของครู ๑ คน
ในแตล่ ะสาขาวชิ า (ชม./สปั ดาห์)
๑. บริหารการศึกษา ๒
๒. คณติ ศาสตร์ ๑๙ -
๓. วิทยาศาสตร์ ๒๖ ๑๖.๖๓
๔. ภาษาไทย ๑๒ ๑๕.๕๙
๕. ภาษาองั กฤษ ๑๘ ๑๖.๒๙
๖. สงั คมศึกษาฯ ๑๓ ๑๕.๕๐
๗. การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๑๕ ๑๘.๘๕
๘. ศลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์ ๖ ๑๒.๒๙
๙. สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๗ ๑๓.๘๐
๑๐. แนะแนว ๓ ๑๘.๕๖
๑๑. อน่ื ๆ ๓๙ ๒๑.๖๗
๑๖๐
รวม -
๑๖.๖๑

๑.๓ ขอ้ มูลนกั เรยี น

จานวนนกั เรยี นปกี ารศกึ ษา ๒,๔๗๔ คน จาแนกตามระดบั ชนั้ ทเี่ ปิดสอน

ระดับชัน้ เรียน จานวนห้อง เพศ รวม

ชาย หญงิ เฉล่ียต่อหอ้ ง

ม.๑ ๑๓ ๒๓๔ ๒๕๐ ๔๘๔ ๓๗ : ๑

ม.๒ ๑๓ ๒๓๗ ๒๖๖ ๕๐๓ ๓๙ : ๑

ม.๓ ๑๒ ๑๙๗ ๒๕๘ ๔๕๐ ๓๘ : ๑

รวม ๓๘ ๖๖๓ ๗๗๔ ๑,๔๓๗

ม.๔ ๑๒ ๑๒๗ ๑๙๓ ๓๒๐ ๒๗ : ๑

ม.๕ ๑๐ ๑๑๒ ๑๘๕ ๒๙๗ ๓๐ : ๑

ม.๖ ๑๐ ๑๑๘ ๒๓๘ ๓๕๖ ๓๖ : ๑

รวม ๓๒ ๓๕๗ ๖๑๖ ๙๗๓

รวมทัง้ หมด ๗๐ ๑,๐๒๐ ๑,๓๙๐ ๒,๔๑๐

ข้อมลู นักเรยี น ณ วันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๖๑



กราฟเปรียบเทียบจานวนนกั เรียนระดบั ช้ัน ม.๑ - ม.๖ (ปีการศึกษา ๒๕๕๙ – ๒๕๖๑)

เปรียบเทยี บจานวนนักเรยี นระดับช้ัน ม.๑ - ม.๖ ปีการศึกษา๒๕๕๙
ปีการศกึ ษา ๒๕๕๙-๒๕๖๑ ปีการศึกษา๒๕๖๐

ม.๖ ๓๔๓๓๑๕๕๔๖ ปกี ารศึกษา๒๕๖๑

ม.๕ ๒๙๗๓๒๓๗๔๑

ม.๔ ๓๓๑๒๔๐ ๓๕๑

ม.๓ ๓๖๑ ๔๕๐ ๕๒๔

ม.๒ ๔๔๔ ๔๙๙
๕๐๓

ม.๑ ๔๓๘ ๔๘๔๕๑๑

๑.๔ ข้อมูลผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นระดับสถานศึกษา

จานวนนักเรยี นทมี่ เี กรดเฉลี่ยผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นแตล่ ะรายวิชาใน

ระดบั ๓ ขน้ึ ไป ระดบั ม. ๑-ม.๖ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑

ภาษาต่างประเทศ ภาษาไทย รอ้ ยละ
๕๕.๐๐
ร้อยละ ๔๐.๗๘
การงานอาชพี และ คณิตศาสตร์ รอ้ ยละ
๔๐.๕๔
เทคโนโลยี รอ้ ยละ

๖๕.๒๕

ศลิ ปศึกษา รอ้ ยละ วิทยาศาสตร์
๖๖.๐๐ รอ้ ยละ ๕๘.๐๐

สุขศึกษาและพลศกึ ษา สังคมศกึ ษา รอ้ ยละ
รอ้ ยละ ๘๑.๐๐ ๕๖.๕๐



๑.๕ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพ้นื ฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑

๑.๕.๑) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขนั้ พื้นฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑
ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พื้นฐาน (O-NET)

๖๐.๐๐ ๕๔.๑๗๕๕.๐๔ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓

๕๔.๔๒
๕๑.๖๗
๕๐.๐๐

๔๐.๐๐ ๒๙.๒๔ ๓๕.๐๗๓๖.๔๓๓๔.๕๖๓๖.๑๐ ๒๗.๓๗๒๙.๑๐๒๗.๖๙๒๙.๔๕
๓๐.๐๐ ๓๐.๒๘๒๗.๔๖๓๐.๐๔
๒๐.๐๐

๑๐.๐๐

๐.๐๐ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ
ภาษาไทย คะแนนเฉลี่ยระดบั จังหวัด
คะแนนเฉล่ยี ระดับประเทศ
คะแนนเฉลย่ี ของโรงเรยี น คะแนนเฉล่ยี สังกดั สพฐ.

ระดับ/รายวิชา ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ

คะแนนเฉลี่ยของโรงเรยี น ๕๔.๑๗ ๒๙.๒๔ ๓๕.๐๗ ๒๗.๓๗
คะแนนเฉลีย่ ระดบั จงั หวดั ๕๑.๖๗ ๒๗.๔๖ ๓๔.๕๖ ๒๗.๖๙
คะแนนเฉลย่ี สงั กดั สพฐ. ๕๕.๐๔ ๓๐.๒๘ ๓๖.๔๓ ๒๙.๑๐
คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ ๕๔.๔๒ ๓๐.๐๔ ๓๖.๑๐ ๒๙.๔๕



๑.๕.๒) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพ้นื ฐาน (O-NET)ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑
ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๖

๖๐.๐๐ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพน้ื ฐาน (O-NET)
ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๖

๕๐.๐๐ ๔๕.๕๔๕๓.๑๔๑๘.๑๔๖๗.๓๑

๔๐.๐๐ ๒๗.๒๒๙๔.๘๓๓๑.๐๓๔๐.๗๒๒๙.๘๒๓๘.๒๗๓๐.๗๕๓๐.๕๑๓๓.๙๓๔๓.๐๖๓๕.๔๘๓๕.๑๒๖๘.๐๓๒๖.๘๑๓๑.๑๓๕๑.๔๑
๓๐.๐๐
๒๐.๐๐

๑๐.๐๐

๐.๐๐ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ภาษาองั กฤษ

ภาษาไทย

ระดับ/รายวิชา คะแนนเฉล่ยี ของโรงเรียน คะแนนเฉลี่ย ระดับจงั หวดั องั กฤษ
คะแนนเฉลยี่ ระดับสงั กดั สพฐ. คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศึกษา

คะแนนเฉลี่ยของโรงเรยี น ๔๕.๕๕ ๒๗.๒๙ ๒๙.๘๓ ๓๓.๙๔ ๒๘.๐๓
คะแนนเฉลีย่ ระดับจงั หวัด ๔๓.๑๑ ๒๔.๘๓ ๒๘.๒๗ ๓๓.๐๖ ๒๖.๘๑
คะแนนเฉลยี่ สังกัด สพฐ. ๔๘.๑๖ ๓๑.๐๔ ๓๐.๗๕ ๓๕.๔๘ ๓๑.๑๕
คะแนนเฉลย่ี ระดับประเทศ ๔๗.๓๑ ๓๐.๗๒ ๓๐.๕๑ ๓๕.๑๖ ๓๑.๔๑



๑.๕.๓) เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้นั พื้นฐาน (O-NET)
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๙ - ๒๕๖๑ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พ้ืนฐาน (O-NET)
ปีการศึกษา ๒๕๕๙ - ๒๕๖๑ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓

๖๐.๐๐ ๕๔.๑๗
๕๐.๐๐ ๔๘.๗๕๔๕.๙๐
๔๐.๐๐
คะแนนเฉ ่ลีย ๓๐.๐๐ ๓๕.๐๗ ๓๔.๐๖ ๒๙.๔๕ ๒๙.๔๕ ๓๑.๒๔
๒๐.๐๐ ๓๑.๐๐
๑๐.๐๐ ๒๙.๒๔๒๔.๐๖๒๘.๘๔
๐.๐๐

ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ

ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ปีการศกึ ษา ๒๕๕๙

๑.๕.๔) เปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET)
ปกี ารศึกษา ๒๕๕๙ - ๒๕๖๑ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ นั้ พืน้ ฐาน (O-NET)
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๙ - ๒๕๖๑ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๖

๕๐.๐๐ ๔๕.๕๕๔๕.๐๘๔๖.๒๔

๔๐.๐๐ ๒๗.๒๙ ๒๙.๘๓๒๖.๙๐๒๘.๖๖ ๓๓.๙๔๓๑.๐๖ ๓๒.๗๗๒๘.๐๓
๓๐.๐๐ ๒๑.๗๓ ๒๐.๙๓ ๒๔.๙๙ ๒๓.๘๒
คะแนนเฉ ่ีลย ๒๐.๐๐

๑๐.๐๐

๐.๐๐ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ภาษาอังกฤษ
ภาษาไทย

ปกี ารศึกษา๒๕๖๑ ปกี ารศกึ ษา๒๕๖๐ ปกี ารศึกษา๒๕๕๙



๑.๖ การจดั สภาพแวดลอ้ มและส่อื เพ่อื การเรียนรู้อย่างปลอดภยั และเพยี งพอ

การจดั สภาพแวดลอ้ มและส่ือเพือ่ การเรยี นรอู้ ย่างปลอดภยั และเพยี งพอ

๗๔ ๙๒ ๘๑ ๔๖ ๕๒ ๓๔
๔๑๓ ๔๕๔ ๔๕๐ ๓๑๖ ๒๙๑ ๓๕๖

๔๔๐ ๓๔๔ ๒๖๐ ๒๔๔ ๒๒๖ ๒๔๕
๒๕๖ ๒๒๙ ๑๕๓ ๑๙๒
๒๔๙ ๓๔๔ ๑๖๘ ๑๕๒ ๒๖๕ ๑๗๐
๒๑๕ ๓๔๗ ๒๓๕ ๑๗๔ ๑๐๕ ๑๘๒
๓๘๕ ๒๗๐ ม.๕ ม.๖
ม.๓ ม.๔
ม.๑ ม.๒ ห้องE-library ศนู ยเ์ พอ่ื นใจTO BE NUMBER ONE
หอ้ งสมุดโรงเรยี น

ธนาคารโรงเรียน ห้องโสตทศั นศกึ ษา ห้องพยาบาล

๑.๗ ข้อมลู งบประมาณ

ตารางแสดงข้อมลู งบประมาณ (รับ-จา่ ย)

รายการ ยกมา (บาท) รบั (บาท) จา่ ย/บาท
- ๑๙,๑๔๐
๑. งบบรจิ าค (สมทบกอ่ สร้าง) ๑๒๙,๖๘๙ - ๗๘,๑๒๑
๑,๒๒๔,๕๕๖
๒. เงินอุดหนุนโครงการยกระดบั ๗๘,๑๒๑ ๑,๖๖๙,๑๔๐.๘๔ ๒,๕๑๐,๓๕๐
ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น ๙๔๕,๐๐๐
๖,๑๘๒,๖๙๙.๙๓
๓. รายได้สถานศกึ ษา ๑,๗๐๗,๗๐๘.๖๖ ๖,๖๗๔,๕๖๑ ๗,๖๓๖,๑๐๘.๘๗
๙,๑๘๔,๕๑๐
๔. เงนิ อดุ หนนุ ปัจจยั พ้นื ฐาน ๑,๗๗๐,๐๕๙
นักเรยี นยากจน

๕. เงินสนับสนนุ โครงการเรยี น ๑,๘๘๑,๙๘๕.๙๓
ฟรี ๑๕ ปี

๖. เงินอุดหนนุ รายหวั ๑๓๘,๒๕๙.๖๕



๑.๘ ข้อมลู สภาพชมุ ชนโดยรวม
ชุมชนอาเภอท่าบ่อเปน็ ชมุ ชนเกา่ แก่ มีประวัติความเป็นมายาวนาน เดมิ เรยี กว่า “บ้านท่าบ่อเกลอื ”

ร.ศ.๑๑๔ (๒๔๓๘) ไดย้ กฐานะ “บ้านท่าบอ่ ” ขึ้นเป็นเมืองทา่ บอ่ โดยมพี ระกุประดษิ ฐบดี เปน็ เจา้ เมืองทา่ บอ่
คนแรก จนถงึ ปัจจบุ ันอาเภอท่าบอ่ มีอายุ ๑๒๓ ปีเศษ

สภาพโดยทัว่ ไป อยู่ตดิ ลานา้ โขง พื้นดินเป็นดนิ ตะกอน มีความอดุ มสมบรู ณ์ ทาการเพาะปลกู ได้ดี
อาชพี ประชาชนส่วนใหญ่ จึงเกย่ี วข้องกบั การเกษตรกรรม ผลผลิตทสี่ าคัญไดแ้ ก่ ใบยาสูบ, มะเขอื เทศ,
พชื พกั สวนครัวทกุ ชนดิ , ข้าว, ปลานา้ จืด , อ้อย, เฟอร์นเิ จอร์จากไม,้ ฟูกท่นี อน, แหนม, หมูยอ, แผน่ ยอ,
เสน้ หม่,ี เส้นกว๋ ยเตี๋ยว เปน็ ต้น
ลักษณะทางวฒั นธรรม เปน็ แบบผสมผสานระหว่าง วฒั นธรรมพนื้ บา้ นด้งั เดมิ กับวัฒนธรรมตะวันตก
สมยั ใหม่ ชมุ ชนโดยทว่ั ไปกาลงั อยู่ในระหวา่ งการเรง่ รัดพัฒนาด้านปัจจัยพืน้ ฐาน เช่น ถนน, ไฟฟา้ , ประปา
และเรม่ิ มกี ารรวมกลมุ่ กันทางเศรษฐกิจ



๑.๙ สรปุ ผลการประเมนิ จากหน่วยงานภายนอกและขอ้ เสนอแนะ
ตารางแสดงผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสาม (๒๗-๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๔)

การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน น้าหนกั คะแนนที่ ระดบั
(มธั ยมศึกษา) (คะแนน) ได้ คุณภาพ

กลมุ่ ตัวบ่งชพี้ น้ื ฐาน ๑๐.๐๐ ๙.๗๐ ดมี าก
ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๑ ผเู้ รยี นมสี ุขภาพกาย และสขุ ภาพจิตท่ีดี ๑๐.๐๐ ๙.๕๐ ดมี าก
ตวั บง่ ชี้ท่ี ๒ ผเู้ รยี นมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมทพี่ งึ ประสงค์ ๑๐.๐๐ ๙.๐๐ ดีมาก
๑๐.๐๐ ๘.๙๕
ตัวบ่งชี้ที่ ๓ ผูเ้ รียนมีความใฝ่รู้ และเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เน่ือง ๒๐.๐๐ ๘.๗๕ ดี
ตัวบง่ ชที้ ี่ ๔ ผเู้ รียนมีคิดเป็นทาเป็น ๑๐.๐๐ ๙.๐๐ ดี
ตวั บ่งชี้ท่ี ๕ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผเู้ รยี น ๕.๐๐ ๔.๘๖ ดมี าก
๕.๐๐ ๔.๘๖ ดมี าก
ตัวบ่งชี้ท่ี ๖ ประสทิ ธิผลของการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผูเ้ รียนเป็นสาคญั ดมี าก
ตวั บ่งชท้ี ี่ ๗ ประสทิ ธภิ าพของการบรหิ ารจดั การและการพฒั นาสถานศึกษา ๕.๐๐ ๕.๐๐
ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๘ พฒั นาการของการประกนั คุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและ ดมี าก
๕.๐๐ ๕.๐๐
ต้นสังกัด ดีมาก
กล่มุ ตวั บง่ ชอี้ ัตลกั ษณ์ ๕.๐๐ ๕.๐๐
ดีมาก
ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๙ ผลการพฒั นาใหบ้ รรลุตามปรชั ญา ปณธิ าน พนั ธกิจ และ ๕.๐๐ ๕.๐๐
วตั ถปุ ระสงค์ของการจัดต้งั สถานศึกษา ดีมาก
๑๐๐.๐๐ ๘๓.๕๖
ตวั บ่งชี้ที่ ๑๐ ผลการพัฒนาตามจดุ เนน้ และจดุ เดน่ ท่ีส่งผลสะท้อนเป็น ดี
เอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา

กลุ่มตัวบ่งชม้ี าตรการสง่ เสริม
ตวั บง่ ชี้ที่ ๑๑ ผลการดาเนินงานโครงการพเิ ศษเพือ่ สง่ เสรมิ บทบาทของ
สถานศกึ ษา
ตวั บง่ ชีท้ ี่ ๑๒ ผลการส่งเสริมพฒั นาสถานศกึ ษาเพื่อยกระดบั มาตรฐานรกั ษา

มาตรฐาน และพัฒนาส่คู วามเปน็ เลิศ ทส่ี อดคลอ้ งกบั แนว
ทางการปฏิรปู การศกึ ษา

คะแนนรวม

สถานศกึ ษามีผลคะแนนรวมทุกตวั บ่งชี้ ตั้งแต่ ๘๐ คะแนนขึ้นไป  ใช่  ไมใ่ ช่

 สถานศึกษามีตงั บง่ ชี้ทไ่ี ดร้ ะดับดขี ึ้นไป ๑๐ ตัวบ่งชี้ จากทั้งหมด ๑๑ ตวั บง่ ช้ี  ใช่  ไม่ใช่

 สถานศึกษาไม่มีตัวบ่งช้ีใดท่ีมีระดับคุณภาพตอ้ งปรบั ปรงุ หรอื ตอ้ งปรับปรงุ เร่งด่วน  ใช่  ไม่ใช่

สรปุ ผลการจดั การศึกษาระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐานของสถานศึกษาในภาพรวม
 สมควรรบั รองมาตรฐานการศกึ ษา  ไม่สมควรรบั รองมาตรฐานการศึกษา

๑๐

จุดเดน่ จุดที่ควรพัฒนา และขอ้ เสนอแนะจากการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสาม
จดุ เด่น

๑. ผ้เู รียนมีสขุ ภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี ผูเ้ รยี นสว่ นใหญ่ท่ีมีนา้ หนกั สว่ นสูง สมรรถภาพทางกายตาม
เกณฑ์ ผู้เรยี นปลอดจากปัญหาทางเพศ ยาเสพติดและสงิ่ มอมเมา เช่น สุรา บุหร่ี เครอ่ื งดื่มแอลกอฮอลล์ เกม ด้าน
สนุ ทรีภาพผูเ้ รยี นเขา้ รว่ มกิจกรรมทง้ั ในและนอกหลักสตู ร ด้านศลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์ วรรณศิลป์ หรอื นันทนาการ
ผู้เรยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรมและคา่ นยิ มทีพ่ งึ ประสงค์ ผูเ้ รยี นเปน็ ลกู ทีด่ ีของพ่อแม่ ผู้ปกครองผู้เรยี นส่วนใหญไ่ ม่
ขาดเรียน มาสาย และออกจากการศึกษากลางคนั ไม่มีปญั หาด้านการปกครอง ทากิจกรรม บาเพ็ญประโยชนต์ ่อ
สงั คมในสถานศึกษาโดยผ่านกระบวนการคิด วางแผน กาหนดกิจกรรม และดาเนินการโดยสถานศึกษาหรือผู้เรยี น
อยา่ งตอ่ เนือ่ ง ทากิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมนอกสถานศกึ ษาโดยผา่ นกระบวนการคิด วางแผน กาหนด
กิจกรรม และดาเนินการโดยสถานศึกษาหรอื ผเู้ รียนอยา่ งตอ่ เน่ือง นอกจากนี้ผู้เรียนมีความใฝ่รู้และเรยี นรูอ้ ยา่ ง
ต่อเน่ือง ผเู้ รยี นมีการเรียนรูอ้ ยา่ งสมา่ เสมอจากากรอยา่ ง อย่างนอ้ ยสปั ดาห์ละ 1 ครั้ง มีการเรยี นรูอ้ ยา่ งสมา่ เสมอ
จากากรใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างนอ้ ยสัปดาหล์ ะ 1 ครง้ั เรียนรูผ้ า่ นประสบการณต์ รงรว่ มกับผู้อ่ืน ใน
สถานศึกษาจากการดู การฟงั การลงมอื ปฏิบัติ การทศั นศึกษา ตามเกณฑข์ องสถานศกึ ษา เรียนรู้ผา่ นประสบการณ์
ตรงร่วมกับผู้อ่นื นอกสถานศึกษาจากากรดู การฟงั การลงมือปฏิบัติ การทัศศึกษา ตามเกณฑข์ องสถานศึกษา
สถานศกึ ษาพยายามดาเนินการเพื่อพัฒนาผู้เรียนใหม้ ีคุณลกั ษณต์ ามจุดเน้นคอื คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมรี ะเบยี บ
วนิ ัย ผลการพฒั นาบรรลุตามเป้าหมายดีมาก และสถานศึกษาสามารถดาเนนิ งานโครงการพิเศษ แก้ปัญหาสิ่งเสพ
ติด สุขภาพนกั เรยี น และอนุรักษว์ ัฒนธรรม สามารถเปน็ แบบอย่างได้ดมี าก

๒. ผบู้ รหิ ารสถานศึกษามภี าวะผนู้ า มีความสามารถในการบริหารจดั การ เป็นผ้นู าในดา้ นการบรหิ าร
วิชาการมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีความมุ่งม่นั ในการทางานเพื่อพัฒนาการศกึ ษา คณะกรรมการสถานศึกษาแสดง
บทบาทพฒั นาสถานศกึ ษา ระดับดี และสถานศกึ ษามบี รรยากาศและสภาพแวดลอ้ มทีด่ มี าก สถานศึกษา
ดาเนินการตามข้อเสนอแนะของ สมศ. เพ่ือรกั ษามาตรฐานดา้ นความสามารถในการคิดของผู้เรยี นท่หี ลากหลาย
สอดคล้องตามแนวปฏริ ปู การศกึ ษา

๓. ประสทิ ธิผลของการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผ้เู รยี นเป็นสาคัญ ครไู ดร้ บั การพัฒนาในวชิ าทสี่ อนหรอื
วชิ าครูตามทีค่ ุรุสภากาหนด ไม่ตา่ กวา่ ๒๐ ชม./ปี มีการประเมนิ แผนการจัดการเรยี นรขู้ องครูทกุ คนคนอยา่ ง
สม่าเสมอ อยา่ งน้อยภาคการศึกษาละ ๑ ครัง้ มกี ารประเมินแบบวดั แบบทดสอบของครูทุกคน

๔. ผลการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานจากต้นสงั กดั ดมี าก และสถานศึกษามีแนวโน้มผลการ
ประเมนิ ตนเองสงู ขึน้ อยา่ งตอ่ เนือ่ ง โดยรักษาคุณภาพดมี ากท้งั ๓ ปี

จดุ ท่คี วรพัฒนา

๑. ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้ โดยภาพรวมอยใู่ นระดับคุณภาพ ต้องปรบั ปรุงและ
ส่วนใหญ่ ระดับคุณภาพ ตอ้ งปรับปรงุ เช่นกนั

๒. การนเิ ทศภายในยังดาเนินการไม่ครบตามกระบวนการนเิ ทศ ยังขาดการนาขอ้ เสนอแนะไปแก้ปัญหา
การจดั การเรียนการสอน และบันทึกการนาขอ้ เสนอแนะไปแกป้ ญั หาวา่ ได้ผลมากนอ้ ยเพียงใด

๓. การใช้ผลการประเมนิ ผลการทดสอบ ผลการการนเิ ทศภายใน เพอื่ ยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น

๑๑

ข้อเสนอแนะเพ่อื การพัฒนาตามกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ กี ารประกนั คุณภาพการศึกษา
พ.ศ.๒๕๕๓

๑. ดา้ นผลการจัดการศกึ ษา
๑) ผู้เรยี นควรไดร้ ับการพัฒนายกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นร้โู ดย

เรง่ ด่วนในกลุ่มสาระการเรียนร้ทู ร่ี ะดบั คณุ ภาพต่ากว่าระดบั ดี ครูควรพัฒนากจิ กรรมการจัดการเรียนร้ขู องตนเอง
นาผลประเมนิ มาวิเคราะหแ์ ลว้ ออกแบบการสอนให้เหมาะสมตามศักยภาพของผเู้ รียนแต่ละคน มีการใช้กระบวน
การแลกเปลีย่ นเรยี นรู้รว่ มกนั ของคณะครภู ายในสถานศกึ ษา นอกจากน้ี ควรศกึ ษาเพิ่มเตมิ เกี่ยวกบั วธิ กี ารทดสอบ
ของ สทศ. และพฒั นาตนเองอยูเ่ สมอ ผูบ้ รหิ ารควรร่วมมอื กบั ครพู ิจารณานาผลประเมนิ ในทกุ ระดับมาวางแผน
โครงการ กจิ กรรม เพอ่ื ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นรู้ โดยส่งเสรมิ ให้ครูได้รบั การพัฒนาศักยภาพ มีการนิเทศ
กากับ ตดิ ตามและประเมินผลอยา่ งเป็นระบบและต่อเนอ่ื ง

๒) ผเู้ รียนควรได้รบั การยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น ๘ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้อยา่ งจรงิ จงั
โดยครูควรนาผลการประเมินมาปรับการเรยี นเปล่ียนการสอน ครคู วรจัดการเรยี นการสอนโดยเนน้ ผ้เู รยี นเป็น
สาคัญโดยเฉพาะการสอนซ่อมเสริมในกลมุ่ สาระการเรยี นภาษาไทยและคณิตศาสตร์ เพอื่ ให้เปน็ พ้นื ฐานของการ
เรียนรูใ้ นกลุม่ สาระการเรยี นรตู้ า่ งๆต่อไป

๓) สถานศกึ ษาควรสง่ เสรมิ ใหค้ รผู ู้สอนทุกคนพัฒนากระบวนการเรียนการสอน และการเรยี นรู้
ของผเู้ รียนทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้ โดยการนาผลการประเมินผู้เรยี นรายคน รายชั้นเรียน แตล่ ะกลุ่มสาระการเรียน
รูม้ าวิเคราะห์ และหาวิธีการแกป้ ัญหาและพฒั นาอย่างต่อเน่อื งอย่างเปน็ ระบบ เช่น การจัดสอนซ่อมเสริมการ
ปรบั การเรียนการสอน การพฒั นาเครือ่ งมอื วัดผลประเมนิ ผลประเมนิ ผลให้สอดคลอ้ งกับแนวทางการทดลองของ
สทศ.

๒. ดา้ นการบริหารจดั การศึกษา
๑) ผบู้ รหิ ารควรนเิ ทศ กากบั ตดิ ตาม การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การวดั ผล ประเมินผล

การเรยี นรขู้ องครทู ุกคน พรอ้ มแจ้งผลใหค้ รปู รบั ปรงุ พฒั นาโดยเฉพาะการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นรอู้ ยา่ ง
ตอ่ เนื่อง นอกจากนี้ สถานศึกษาควรขอความร่วมมอื ไปยังผู้เรยี นและผ้ปู กครองสนบั สนนุ ส่งเสรมิ กจิ กรรมทาง
วชิ าการ การอา่ นหนังสอื และทางานทค่ี รูมอบหมายให้กบั ผูเ้ รียนอย่างจริงจังและปฏิบตั ิอยา่ งสมา่ เสมอ

๒) สถานศึกษาควรให้ครูท่รี บั การนิเทศภายใน บันทึกผลการนาขอ้ เสนอและจากการนิเทศไป
แกป้ ญั หาว่าได้ผลมากน้อยเพยี งใด ลงในบนั ทึกรายการรบั การนเิ ทศเพือ่ ใหผ้ นู้ ิเทศทราบ จะทาให้การนเิ ทศภายใน
มคี วามตอ่ เนอ่ื ง

๓. ดา้ นการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผู้เรียนเปน็ สาคญั
๑) ครคู วรใช้ผลประเมินหรือผลการทดสอบเพือ่ ยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน เช่น การพัฒนา

ส่ือ นวตั กรรมการเรียนรทู้ ี่สอดคล้องกบั สภาพปัญหาตามผลการประเมนิ หรือผลการทดสอบ การพฒั นา
กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ปรบั รูปแบบข้อทดสอบให้หลากหลายเทยี บเคยี งได้กับแบบทดสอบ O-net
ของ สทศ. ให้ผ้เู รยี นได้ฝกึ ทาแบบทดสอบเป็นระยะๆ ทุกกลุม่ สาระการเรียนรู้

๑๒

๒) ครูควรพิจารณาปรับการจดั การเรียนรใู้ ห้สมดุลระหว่างภาคปฏิบตั แิ ละภาคความรเู้ ชงิ ทฤษฏี
หมั่นทดสอบเป็นระยะๆ ปรบั รปู แบบการวัดผล ประเมนิ ผลให้ตรงตามตัวบง่ ชี้ มาตรฐานของกลมุ่ สาระการเรียนรู้
หรอื ปรับรูปแบบข้อทดสอบใหห้ ลากหลายเทียบเคียงไดก้ ับแบบทดสอบ O-net ของ สทศ.
นวตั กรรมหรอื ตัวอยา่ งการปฏบิ ัตทิ ด่ี ี (Good Practice) ของสถานศึกษาทเ่ี ป็นประโยชนต์ อ่ สงั คม

การสอนคณิตศาสตรโ์ ดยใช้โปรแกรม Gsp (Geometer is Sketehpad ) ทาให้สามารถเรยี นรู้
คณติ ศาสตรจ์ ากนามธรรม เกดิ ความเข้าใจง่ายขน้ึ และจดจาได้นาน ผู้เรียนเรยี นรอู้ ย่างสนุกสนานไม่เบ่อื จาก
การเรียนรู้ได้ ๒ แนวทาง คือ

๑. ครูแสดงการใช้ Gsp ได้ศึกษาเรยี นรผู้ ่านจอ Projecter
๒. ผู้เรยี นจบั คู่กนั ฝกึ และศกึ ษาเน้ือหาคณิตศาสตร์โดยใช้ Program GSP
สถานศกึ ษาได้จัดทาโครงการ/กิจกรรม
- โครงการพัฒนางานแนะแนว
- โครงการพฒั นางานสง่ เสรมิ วชิ าการ
- โครงการพฒั นางานบคุ ลากร
- โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ

๑๓

สว่ นที่ ๒
ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผู้เรยี น
ระดับคณุ ภาพ : ดเี ลศิ
๑. กระบวนการพัฒนา

โรงเรยี นทา่ บอ่ มีกระบวนการพฒั นาผูเ้ รยี นดว้ ยวธิ กี ารท่ีหลากหลาย ครผู ูส้ อนจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ให้
เป็นไปตามศกั ยภาพของผู้เรยี น ยดึ ผเู้ รียนเป็นสาคัญและเป็นไปตามมาตรฐานและตวั ชวี้ ัดของหลักสูตร มกี าร
ออกแบบการจัดการเรียนรู้ท่เี หมาะสมกับผเู้ รียนเพอ่ื ใหส้ อดคล้องกบั นโยบายการจัดการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ ๒๑
โดยมีการจดั การเรยี นรูท้ งั้ รปู แบบการระดมสมอง แบบลงมอื ปฏิบตั ิจริง แบบรว่ มมอื กนั เรยี นรู้ แบบใชก้ ระบวนการ
คดิ กระบวนการแก้ปัญหา และเน้นเรือ่ งการอา่ นออกเขยี นได้ของผเู้ รยี นเปน็ เรื่องสาคัญท่สี ดุ การพัฒนาครูทุกคน
ใหม้ ีความสามารถในการนาเทคนคิ วธิ ีการสอนแบบใหม่ และวิธีการจดั การเรียนร้ทู ห่ี ลากหลายรูปแบบให้ตรงตาม
ศักยภาพของผู้เรียน จดั การเรียนการสอนแบบสะเตม็ ศกึ ษา (STEM : Science Technology Engineering and
Mathematics Educations) ในกล่มุ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ และกลุม่
สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ใช้สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีในการจดั การเรียนการสอน มีแหล่งเรียนรู้ท่ี
หลากหลายทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรยี น

นอกจากนี้ โรงเรยี นท่าบอ่ ไดม้ กี ารดาเนินการเพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ติ ของผู้เรียน เพอื่ ให้ผูเ้ รียนอยู่ในสังคม
ไดอ้ ย่างมีความสขุ เนน้ การพฒั นาดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ทีเ่ หมาะสมกับวยั ของผเู้ รยี น โดยการจดั ชว่ั โมงอบรม
คุณธรรมจรยิ ธรรมทุกวนั ศุกรใ์ ห้กบั นักเรยี น การจดั อบรมคา่ ยคุณธรรม จัดกิจกรรมลดเวลาเรยี นเพิม่ เวลารู้
ระดับช้นั มัธยมศึกษาตอนต้น และกิจกรรมสาธารณประโยชน์ แนะแนวอาชพี ใหก้ บั นกั เรียน ครผู ู้สอนได้
บรู ณาการด้านคุณธรรม จริยธรรม ในการจดั การเรยี นการสอน เนน้ ให้ผูเ้ รยี นมีระเบียบวินัย ซื่อสตั ย์ มีความ
รับผดิ ชอบ รักษาสิง่ แวดลอ้ ม รักษาความสะอาด และการมีจิตสาธารณะ มรี ะบบการแนะแนวและการดแู ล
สขุ ภาวะจิต จัดกิจกรรมการออกเย่ียมบ้านนกั เรียน เพ่ือนาข้อมลู นักเรยี นเข้าสรู่ ะบบช่วยเหลอื นกั เรยี น การนา
ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่นมารว่ มกันวางแผนพฒั นาการจดั การเรยี นการสอน และจดั กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนให้มกี ารเรยี นรู้ท่ี
หลากหลาย เปน็ ตน้
๒. ผลการดาเนินงาน

ในดา้ นผลการประเมินผลสมั ฤทธ์ิทางวชิ าการ ผเู้ รียนสามารถอา่ นออก และอ่านคลอ่ งตามมาตรฐาน
การอา่ นในแตล่ ะระดบั ชั้น สามารถเขยี นส่อื สารได้ดี รู้จักการวางแผนในการทางานรว่ มกบั ผอู้ นื่ ได้ดีตามหลกั
ประชาธปิ ไตย กล้าคิด กล้าแสดงออกและแสดงความคดิ เห็นหรอื วิพากษไ์ ด้อย่างสร้างสรรค์ ผ้เู รยี นสามารถใช้
เทคโนโลยใี นการสืบค้นข้อมูลตา่ งๆ ได้ดว้ ยตนเอง รวมทง้ั สามารถวิเคราะห์ จาแนกแยกแยะได้ว่า สิ่งไหนดี สาคัญ
จาเป็น รวมทง้ั ร้เู ทา่ ทนั สอ่ื และสังคมท่ีเปล่ยี นแปลงอย่างรวดเร็ว ผเู้ รียนร้แู ละตระหนกั ถงึ โทษและพิษภัยของส่ิง
เสพติดต่างๆ สามารถเลือกรับประทานอาหารทส่ี ะอาด มปี ระโยชน์และถกู สขุ ลักษณะ รักการออกกาลงั กาย และ

๑๔

เลน่ กีฬา ผเู้ รยี นทกุ คนสามารถเลน่ กีฬาได้อย่างนอ้ ยคนละประเภท ยอมรับในกฎกตกิ าของกลุ่ม ของสถานศึกษา
ของสงั คม มที ศั นคติท่ีดีตอ่ อาชีพสุจริต รวมถึงมคี วามเข้าใจเรื่องความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลและระหวา่ งวัย
ทั้งนี้ มผี ลการดาเนนิ งานเชงิ ประจกั ษจ์ ากการประเมนิ ในด้านต่างๆ ดังนี้

ผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการของผ้เู รียน

ประเด็น ผลการประเมิน
๑. มีความสามารถในการ ร้อยละของจานวนนักเรยี นท่ีมีความสามารถในการอา่ นการเขียน การส่ือสารและ
อา่ น การเขียน การสือ่ สาร
และการคดิ คานวณ การคิดคานวณ ชนั้ ม.๑-๖ จาแนกตามระดบั คุณภาพ

(.....) ระดบั ยอดเยี่ยม ผลการประเมินความสามารถในการอา่ น
() ระดบั ดีเลิศ คิดวเิ คราะห์ และเขยี นส่อื ความ ช้นั ม.๑-๖
(.....) ระดับดี
(…..) ระดับปานกลาง ก่ำลงั พัฒนำ ปำนกลำง ดี ดีเลศิ ยอดเยยี ม
(…..) ระดบั กาลังพฒั นา
ม.๖ 6.27 93.73
ม.๕ 30.00 70.00
ม.๔
ม.๓ 23.75 76.24
ม.๒ 38.00 62.00
ม.๑
16.70 83.30
0 13.64 86.36

10 20 30 40 50 60 70 80 90 100

ประเดน็ ผลการประเมนิ
๒. มีความสามารถในการ ร้อยละของจานวนนกั เรยี นท่ีมีความสามารถในการคดิ วิเคราะหค์ ดิ อยา่ งมี
คดิ วเิ คราะหค์ ิดอยา่ งมี
วจิ ารณญาณ อภิปราย วิจารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ และแก้ปญั หา
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ช้ัน ม.๑ – ม.๖ จาแนกตามระดบั คุณภาพ
และแก้ปัญหา
ความสามารถในการส่อื สารคดิ คานวณ
(…..) ระดบั ยอดเยีย่ ม และคดิ วิเคราะห์ ช้นั ม.๑ – ม.๖
() ระดบั ดีเลิศ
(.....) ระดับดี กาลังพัฒนา ปานกลาง ดี ดีเลศ ยอดเย่ยี ม
(…..) ระดับปานกลาง
(…..) ระดบั กาลังพัฒนา ม.๖ 6.27 93.73
ม.๕
ม.๔ 42.00 58.00
ม.๓
ม.๒ 25.00 75.00
ม.๑
40.67 59.33
0.00
26.64 73.36
17.36 82.64

20.00 40.00 60.00 80.00 100.00

๑๕

ประเดน็ ผลการประเมนิ
๓. มคี วามสามารถในการ
รอ้ ยละของจานวนนักเรยี นที่มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม
สร้างนวัตกรรม ช้ัน ม.๑ - ม.๖ จาแนกตามระดบั คณุ ภาพ

(.....) ระดับยอดเยีย่ ม ร้อยละของจานวนนกั เรียนท่มี คี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม
() ระดบั ดีเลิศ
(.....) ระดบั ดี กาลังพฒั นา ปานกลาง ดี ดีเลศ ยอดเย่ยี ม
(…..) ระดับปานกลาง
(…..) ระดับกาลังพัฒนา ม.๖ 0.00 7.84 92.16
68.01
ม.๕ 0.00 31.77
76.25
ม.๔ 0.00 23.75 62.22

ม.๓ 0.00 37.78 70.18
89.67
ม.๒ 0.00 29.83

ม.๑ 0.00 10.33

0.00 20.00 40.00 60.00 80.00 100.00

๔. มคี วามสามารถในการใช้ รอ้ ยละของจานวนนักเรยี นทีม่ ีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
เทคโนโลยีสารสนเทศและ ชน้ั ม.๑ - ม.๖ จาแนกตามระดับคณุ ภาพ
การสอ่ื สาร

(…..) ระดับยอดเย่ยี ม 100 ๙๓.๕๐
() ระดบั ดีเลิศ
(…..) ระดบั ดี 90 ๘๓.๐๖ ๗๓.๗๖ ๗๗.๕๐ ๖๗.๐๐
(…..) ระดบั ปานกลาง 80 ๖๒.๐๐
(…..) ระดับกาลังพฒั นา 70
60

50 ๓๘.๐๐
40 ๕.๕๐
30 ๙.๗๘ ๒๖.๒๔
20 ๒๒.๕๐

10 ๐๐ ๐ ๓.๖๐๐ ๐ ๐๐๐ ๐๐๐ ๗.๒๑
0 ๐๐๐ ๐ ๐๐

ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖

ยอดเยี่ยม ดีเลศิ ดี ปานกลาง กาลังพัฒนา

๑๖

ประเด็น ผลการประเมิน
๕. มีผลสัมฤทธิ์ทางการ ร้อยละของนกั เรียนทม่ี ีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนตามหลักสตู รสถานศกึ ษา
เรยี นตามหลักสูตร
สถานศึกษา จานวนนกั เรียนทมี่ ีเกรดเฉลีย่ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นแตล่ ะ
รายวิชาในระดับ ๓ ขน้ึ ไป ระดับ ม. ๑-ม.๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๑
(…..) ระดับยอดเย่ยี ม
(.....) ระดับดีเลิศ ภาษาต่างประเทศ ภาษาไทย ร้อยละ
(…..) ระดบั ดี ร้อยละ ๔๐.๗๘ ๕๕.๐๐
() ระดับปานกลาง การงานอาชีพและ
(…..) ระดับกาลังพฒั นา เทคโนโลยี ร้อยละ คณิตศาสตร์ ร้อยละ
๖๕.๒๕ ๔๐.๕๔
ประเดน็
๖. มคี วามรู้ ทักษะพื้นฐาน ศิลปศึกษา ร้อยละ วิทยาศาสตร์
และเจตคติท่ีดีต่องานอาชพี ๖๖.๐๐ ร้อยละ ๕๘.๐๐

(.....) ระดบั ยอดเยย่ี ม สุขศกึ ษาและพล สังคมศึกษา ร้อยละ
() ระดับดีเลศิ ศึกษารอ้ ยละ ๕๖.๕๐
(.....) ระดบั ดี
(…..) ระดับปานกลาง ๘๑.๐๐
(…..) ระดบั กาลังพฒั นา
ผลการประเมนิ
ร้อยละจานวนนักเรยี นที่มคี วามรทู้ ักษะพนื้ ฐานและเจตคติท่ดี ีต่องานอาชีพ

ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ -๖

จานวนนกั เรียนทม่ี คี วามรู้ทักษะพืน้ ฐานและเจตคตทิ ่ดี ีตอ่ งานอาชพี

ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖

100
80
60
40
20
0

กาลังพัฒนา ปานกลาง ดี ดีเลิศ ยอดเยยี่ ม
ม.๖ ๐.๐๐ ๐.๒๘ ๑๕.๐๘ ๘๔.๖๔ ๐.๐๐
ม.๕ ๐.๐๐ ๑.๘๖ ๒๒.๕๖ ๗๕.๗๖ ๐.๐๐
ม.๔ ๐.๐๐ ๒.๑๙ ๒๒.๘๑ ๗๕.๐๐ ๐.๐๐
ม.๓ ๐.๐๐ ๖.๒๒ ๒๒.๖๗ ๗๑.๑๑ ๐.๐๐
ม.๒ ๐.๐๐ ๒.๕๘ ๒๕.๐๕ ๗๒.๓๗ ๐.๐๐
ม.๑ ๐.๐๐ ๔.๐๐ ๒๔.๗๙ ๗๑.๒๑ ๐.๐๐

๑๗

ประเด็น ผลการประเมิน

ร้อยละของจานวนนกั เรยี นทศ่ี ึกษาต่อ ทางาน ภายหลงั จบการศึกษา
ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓

ความพร้อมในการศกึ ษาต่อ การฝึกงานหรือการทางาน

๓๓.๓๓% ๐% ต่อสายสามญั
๖๖.๖๗% ต่อสายอาชพี
ทางาน

รอ้ ยละของจานวนนักเรยี นที่ศกึ ษาต่อ ทางาน ภายหลังจบการศึกษา
ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๖

ความพร้อมในการศกึ ษาตอ่ การฝึกงานหรอื การทางาน

๓.๙๓%

๒๘.๖๕% ๖๗.๔๒% ตอ่ ป.ตรี
ตอ่ สายอาชพี
ทางาน

๑๘

คุณลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ของผู้เรียน

ประเด็น ผลการประเมิน
๑. การมีคณุ ลกั ษณะและ รอ้ ยละของจานวนนกั เรยี นที่มคี ณุ ลักษณะและค่านยิ มที่ดี
คา่ นยิ มท่ีดีตามที่ ตามทส่ี ถานศึกษากาหนดของผูเ้ รียนชน้ั ม.๑ – ม.๖ จาแนกตามระดับคุณภาพ
สถานศกึ ษากาหนดของ
ผู้เรียน มคี ณุ ลักษณะและคา่ นิยมที่ดี
ตามทีส่ ถานศกึ ษากาหนดของผู้เรยี น
(.....) ระดับยอดเยี่ยม
() ระดบั ดีเลศิ 100 ๖๖ ๘๓.๓๐ ๘๓.๙๙
(.....) ระดับดี 90
(…..) ระดบั ปานกลาง
(…..) ระดับกาลงั พัฒนา 80 ๗๐.๐๐ ๖๙.๗๐ ยอดเยย่ี ม
70 ๖๒.๐๐ ดเี ลศิ
ประเด็น ดี
๒. ความภมู ิใจในท้องถิ่น 60 ปานกลาง
และความเปน็ ไทย กาลังพฒั นา
50 ๓๘.๐๐ ๓๐.๐๐ ๓๐.๓๐
40

30 ๑๓.๖๔ ๑๖.๗๐ ๑๖.๐๑
20

10 ๐.๐๐ ๐๐ ๐.๐๐ ๐๐ ๐.๐๐ ๐๐ ๐.๐๐ ๐๐ ๐.๐๐ ๐๐ ๐๐

0

ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖

ผลการประเมนิ
ร้อยละของนักเรยี นทม่ี ีผลการประเมนิ ดา้ นความมีระเบียบวินยั และความภมู ิใจใน

ทอ้ งถิ่นรกั ความเปน็ ไทยช้ัน ม.๑ – ม.๖ จาแนกตามระดบั คณุ ภาพ

(.....) ระดับยอดเยย่ี ม ผลการประเมนิ ด้านความมรี ะเบียบวินยั และความภูมใิ จในทอ้ งถิ่นรกั ความเปน็ ไทย
() ระดับดีเลศิ ชน้ั ม.๑ –ม.๖
(.....) ระดับดี
(…..) ระดับปานกลาง 100.00
(…..) ระดบั กาลงั พัฒนา
80.00 70.62 72.43 73.11 78.75 79.16 77.02

60.00

40.00 13.26 16.44 13.44 14.11 10.90
20.29

20.00

0.00
ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖

ยอดเยี่ยม ดีเลศิ ดี ปานกลาง กาลังพัฒนา

ประเด็น ๑๙
๓. ยอมรับที่จะอยรู่ ว่ มกนั
บนความแตกต่างและ ผลการประเมิน
ความหลากหลาย
รอ้ ยละของจานวนนกั เรยี นท่ีมีผลการประเมนิ การมีส่วนร่วม
(.....) ระดบั ยอดเย่ยี ม ในการอนรุ ักษธ์ รรมชาติและดูแลจดุ พ้นื ท่พี ัฒนาในสถานศกึ ษาช้นั ม.๑ - ม.๖
() ระดบั ดีเลศิ
(…..) ระดบั ดี ผลการประเมินการมีสว่ นรว่ มในการอนรุ กั ษ์ธรรมชาติ
(…..) ระดบั ปานกลาง และดแู ลจุดพนื้ ทพ่ี ัฒนาในสถานศึกษา
(…..) ระดบั กาลังพัฒนา
ม.๖ 80.90
ม.๕ 92.93
ม.๔ 85.00
ม.๓ 85.56
ม.๒ 79.92
ม.๑ 84.30

0.00 20.00 40.00 60.00 80.00 100.00

ประเดน็ ผลการประเมนิ
๔. สุขภาวะทางร่างกาย
และจิตสังคม ร้อยละของจานวนนักเรียนที่มีสขุ ภาวะทางร่างกายและจติ สงั คม
ชั้น ม.๑ – ม.๖ จาแนกตามระดับคุณภาพ
(.....) ระดบั ยอดเยี่ยม
() ระดับดีเลิศ ผลการประเมนิ สขุ ภาวะทางร่างกายและจิตสงั คม ชัน้ ม.๑ –ม.๖
(.....) ระดับดี
(…..) ระดบั ปานกลาง 100.00 80.17 77.93 78.67 80.63 78.45 85.96
(…..) ระดับกาลงั พัฒนา 80.00

60.00

40.00 18.29 18.00 14.38 17.51 9.55
15.29

20.00

0.00
ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖

ยอดเยี่ยม ดเี ลศิ ดี ปานกลาง กาลังพฒั นา

๒๐

๓. จุดเด่น
ผู้เรียนอ่านหนงั สอื ออกและอา่ นคลอ่ ง รวมท้งั สามารถเขยี นเพอ่ื การสอ่ื สารได้ทุกคน สามารถใช้เทคโนโลยี

ในการแสวงหาความรู้ได้ดว้ ยตนเอง สง่ ผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรียนอยใู่ นระดบั ดี มีคะแนนผล
การทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขนั้ พนื้ ฐาน (O-NET) ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ เพ่ิมข้ึนในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ และผลคะแนน(O-NET) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ เพมิ่ ขึ้นในกลมุ่ สาระ
การเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาไทยและกลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ

ผเู้ รยี นมสี ขุ ภาพรา่ งกายแข็งแรง มสี มรรถภาพทางกายและน้าหนกั สว่ นสงู ตามเกณฑ์ รกั ในเล่นกีฬา
การออกกาลังกาย หา่ งไกลยาเสพตดิ มรี ะเบยี บวินัย รกั ความเป็นไทยในระดับดีเยยี่ ม รกั ความสะอาด มีสัมมา
คารวะ จนเปน็ เอกลกั ษณข์ องสถานศึกษา เป็นท่ียอมรับของชุมชนโดยรอบในเรอื่ งกิรยิ ามารยาท ไดแ้ ก่ การไหว้

๔. จุดควรพฒั นา
ผเู้ รยี นในระดบั ช้นั ม.๑ – ม.๖ ยงั ต้องเรง่ พฒั นาความสามารถในการอ่าน การเขียน การสอ่ื สารและ

การคดิ คานวณ และต้องพัฒนาความสามารถในการคิด วิเคราะหค์ ดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลยี่ น
ความคดิ เหน็ และแก้ปัญหาใหม้ ากยง่ิ ขน้ึ และผลการสอบวดั ความรรู้ ะดบั ชาตขิ น้ั พืน้ ฐาน (O-NET) ในกลมุ่ สาระที่
ยงั มีผลการประเมนิ ต่ากว่าเกณฑม์ าตรฐาน

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
ระดบั คณุ ภาพ : ดีเลิศ

๑. วิธีดาเนนิ การและผลการพัฒนา
โรงเรยี นไดด้ าเนนิ การวเิ คราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาทผี่ ่านมา โดยการศกึ ษาข้อมูล

สารสนเทศจากผลการนเิ ทศ ติดตาม ประเมินการจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรปู การศึกษา และจัดประชมุ
ระดมความคิดเหน็ เพอ่ื แลกเปลีย่ นเรียนรู้ จากบุคลากรในสถานศึกษาเพื่อวางแผนรว่ มกนั กาหนดเป้าหมาย ปรบั
วสิ ัยทศั น์ กาหนดพันธกจิ กลยุทธ์ ปรบั ปรงุ หลกั สูตรสถานศึกษา หลักสตู รของแตล่ ะกลุม่ สาระการเรียนรู้ ใน
การจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษาเพื่อพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี น มกี ารปรบั แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏบิ ัติ
การประจาปี ให้สอดคลอ้ งกับสภาพปัญหา ความตอ้ งการพฒั นา และนโยบายการปฏิรปู การศึกษา มกี ารจัด
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ สภาพแวดล้อมทางสังคม พัฒนาแหล่งเรยี นรภู้ ายในโรงเรยี นที่เอื้อต่อการเรียนรู้
พร้อมทง้ั จัดหาทรพั ยากร จดั สรรงบประมาณ มอบหมายงานใหผ้ ู้รบั ผดิ ชอบดาเนนิ การพฒั นาตามแผนงานเพือ่ ให้
บรรลุเป้าหมายทกี่ าหนดไว้ ส่งเสรมิ ใหค้ รแู ละบุคลากรได้มกี ารพฒั นาตนเองให้มคี วามเช่ียวชาญทางวชิ าชีพ มี
การดาเนินการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผลการดาเนินงาน และสรปุ ผลการดาเนนิ งาน

๒. ผลการพฒั นา
๑. สถานศึกษามีการกาหนดเป้าหมาย วิสยั ทศั น์ และพนั ธกจิ สอดคล้องกับสภาพปัญหาความตอ้ งการ

พัฒนาของสถานศึกษา นโยบายการปฏริ ูปการศึกษา ตรงกับความตอ้ งการของชุมชน ทอ้ งถ่ินและสอดคล้องกับ
แนวทางการปฏริ ูปตามแผนการศึกษาชาติ ดาเนนิ การอยา่ งเปน็ รปู ธรรม มกี ารสง่ เสริมพฒั นาครูและบุคลากร
ทางการศึกษาให้มีความรคู้ วามสามารถ มีความเชี่ยวชาญทางวชิ าชพี และทักษะตามมาตรฐานตาแหนง่ มี

๒๑

การบรหิ ารจดั การข้อมลู สารสนเทศใหม้ คี วามทนั สมัย ถูกตอ้ ง ครบถว้ น นาไปประยุกตใ์ ชไ้ ด้ ดาเนนิ การอยา่ งเปน็
ระบบ และมีการจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่กี ระตนุ้ ใหผ้ ู้เรียนเปน็ ผูใ้ ฝ่รู้ใฝเ่ รียน

๒. สถานศกึ ษามีแผนพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี สอดคลอ้ งกบั การพฒั นา
ผเู้ รียนทกุ กลุ่ม เป้าหมาย ดาเนนิ การอย่างเปน็ รปู ธรรม มีการส่งเสริมพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาใหม้ ี
ความรคู้ วามสามารถ มีความเชยี่ วชาญทางวิชาชพี และทกั ษะตามมาตรฐานตาแหนง่ มีการบริหารจัดการข้อมูล
สารสนเทศใหม้ ีความทนั สมัย ถูกตอ้ ง ครบถว้ น นาไปประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้ ดาเนินการอยา่ งเป็นระบบ และมีการจัดสภาพ
แวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทีก่ ระตุ้นใหผ้ ูเ้ รียนเป็นผู้ใฝร่ ู้ใฝ่เรยี น

๓. สถานศกึ ษามีการปรบั แผนพฒั นาคุณภาพ กาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพนั ธกิจสอดคล้องกบั
สภาพปญั หาความตอ้ งการพัฒนาของสถานศกึ ษา นโยบายการปฏริ ูปการศกึ ษา ตรงกบั ความตอ้ งการของชุมชน
ท้องถิ่นและสอดคลอ้ งกบั แนวทางการปฏริ ูปตามแผนการศกึ ษาชาติ ดาเนนิ การอยา่ งเปน็ รปู ธรรม มกี ารส่งเสริม
พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาใหม้ คี วามรู้ความสามารถ มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพและทักษะตาม
มาตรฐานตาแหน่ง มีการบรหิ ารจดั การขอ้ มลู สารสนเทศใหม้ คี วามทันสมยั ถูกต้อง ครบถ้วน นาไปประยกุ ต์ใช้ได้
ดาเนินการอย่างเปน็ ระบบ และมีการจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทก่ี ระต้นุ ให้ผเู้ รยี นเป็นผู้ใฝ่รใู้ ฝเ่ รียน
สถานศึกษามแี ผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี สอดคลอ้ งกบั การพฒั นาผ้เู รยี นทกุ กลุม่
เปา้ หมาย ดาเนินการอยา่ งเปน็ รูปธรรม มกี ารส่งเสรมิ พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาใหม้ ีความรู้
ความสามารถ มีความเชยี่ วชาญทางวิชาชีพและทักษะตามมาตรฐานตาแหน่ง มีการบรหิ ารจัดการข้อมลู
สารสนเทศใหม้ ีความทนั สมยั ถูกตอ้ ง ครบถ้วน นาไปประยกุ ต์ใชไ้ ด้ ดาเนินการอย่างเปน็ ระบบ และมกี ารจดั สภาพ
แวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่ีกระต้นุ ให้ผ้เู รียนเป็นผูใ้ ฝร่ ใู้ ฝ่เรียนสถานศึกษามกี ารปรับแผนพฒั นาคณุ ภาพ
การจดั การศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี ให้สอดคลอ้ งกับสภาพปัญหา ความต้องการพฒั นา และนโยบาย
การปฏิรปู การศึกษา โดยมีสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา และผเู้ ก่ียวขอ้ งทกุ ฝา่ ยได้มสี ่วนร่วมใน
การพัฒนาและรับผดิ ชอบ

๔. ผู้เกยี่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ย และเครือข่ายการพฒั นาคณุ ภาพสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการร่วมวางแผนพัฒนา
คุณภาพการศกึ ษา และรบั ทราบ รับผิดชอบตอ่ ผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพอื่ ให้มีคุณภาพและได้
มาตรฐาน

๕. สถานศึกษามกี ารนเิ ทศ กากับ ติดตาม และประเมนิ ผลการบริหารและการจัดการศกึ ษาท่ี
เหมาะสม เปน็ ระบบและตอ่ เนือ่ ง มกี ารนเิ ทศการสอนของครูผูส้ อนทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ เปดิ โอกาสให้
ผเู้ กย่ี วข้องมสี ว่ นร่วมในกระบวนการนิเทศและมสี ่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษา

๖. สถานศกึ ษามีรปู แบบการบริหารและการจัดการศึกษาเชิงระบบ โดยทกุ ฝ่ายมสี ว่ นรว่ ม ยึดหลัก
ธรรมาภิบาล แนวคดิ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยมงุ่ พฒั นาผเู้ รยี นตามแนวทางปฏริ ปู การศกึ ษา

๗. สถานศึกษามกี ารระดมทรัพยากรเพื่อการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาจากเครอื ข่ายอปุ ถมั ภ์ สง่ ผลให้
สถานศึกษา มสี อื่ และแหลง่ เรยี นรู้ที่มคี ณุ ภาพ

๘. สถานศึกษามกี ารจัดระบบการจัดหา การพฒั นาและการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือใชใ้ น
การบริหารจัดการและการจดั การเรยี นรู้ท่ีเหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา

๒๒

วิธีการพัฒนา ผลการพฒั นา
การพัฒนาครแู ละ
บุคลากรให้มีความ จานวนคร้ังที่ครไู ดร้ ับการอบรมพัฒนาทางวิชาชีพ ภาคเรียนท่ี ๑
เช่ียวชาญทางวชิ าชพี
๒๔ คน ๓๐ คน ยงั ไม่เคยรบั การพัฒนา
(.....) ระดบั ยอดเยยี่ ม ๑ ครัง้ ต่อภาคเรียน
() ระดบั ดีเลิศ ๒๔ คน ๒ ครง้ั ต่อภาคเรียน
(.....) ระดบั ดี มากกว่า ๒ คร้ังต่อภาคเรยี น
(…..) ระดบั ปานกลาง ๓๒ คน
(…..) ระดับกาลังพฒั นา

จานวนคร้งั ที่ครไู ดร้ บั การอบรมพฒั นาทางวชิ าชีพ ภาคเรียนท่ี ๒

๑๖ คน ๔๕ คน ยงั ไมเ่ คยรบั การพฒั นา
๑๗ คน ๑ ครงั้ ต่อภาคเรยี น
๒ ครัง้ ตอ่ ภาคเรยี น
๔๔ คน มากกว่า ๒ ครัง้ ตอ่ ภาคเรยี น

๒๓

๓. จุดเด่น
โรงเรยี นมกี ารบริหารและการจดั การอยา่ งเปน็ ระบบ โรงเรยี นไดใ้ ช้เทคนิควธิ กี ารประชมุ ท่ีหลากหลายวธิ ี

เช่น การประชุมแบบมีสว่ นร่วม การประชุมระดมสมอง การประชุมกลมุ่ เพ่ือให้ทกุ ฝ่ายมีส่วนรว่ มในการกาหนด
วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ เป้าหมายที่ชดั เจน มีการปรับแผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษา แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปี
ท่สี อดคล้องกบั ผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา ความตอ้ งการพัฒนาและนโยบายการปฏริ ูปการศึกษา ครูผู้สอน
สามารถจัดการเรียนรูไ้ ดอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพ มกี ารดาเนนิ การนเิ ทศ กากับ ติดตาม ประเมนิ ผล การดาเนนิ งาน และ
จัดทารายงานผลการจัดการศึกษา และโรงเรียนไดใ้ ช้กระบวนการวจิ ยั ในการรวบรวมขอ้ มูลเพ่ือใชเ้ ป็นฐานใน
การวางแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

๔. จดุ ควรพฒั นา
๑. สรา้ งเครือข่ายความรว่ มมอื ของผมู้ ีสว่ นเก่ยี วขอ้ งในการจดั การศึกษาของโรงเรียนใหม้ คี วามเขม้ แข็ง มี

ส่วนร่วมรับผิดชอบตอ่ ผลการจัดการศึกษา และการขับเคลื่อนคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา
๒. เปดิ โอกาสใหผ้ ู้ปกครองนักเรียนไดม้ สี ่วนร่วมในการเสนอความคิดเหน็ ในการจัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนา

ผเู้ รียน โดยการสง่ เสรมิ เครอื ขา่ ยผู้ปกครองนกั เรยี นตามระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน

๒๔

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ
ระดบั คุณภาพ : ดีเลิศ
๑. กระบวนการพัฒนา

โรงเรียนได้ดาเนนิ การสง่ เสรมิ ให้ครูจัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผ้เู รียนเป็นสาคัญโดยการดาเนินงาน/
โครงการ /กิจกรรมอยา่ งหลากหลาย ได้แก่ โครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษา โครงการส่งเสริมความเปน็ เลศิ
ทางวิชาการ โครงการโรงเรียนคณุ ภาพ SMT โครงการหน่งึ ตาบลหนง่ึ โรงเรียนคุณภาพ โครงการพัฒนางาน
บคุ ลากร โครงการพัฒนาการเรยี นการสอนกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน โครงการฝกึ อบรมหลักสตู รนายหมลู่ ูกเสอื สามญั
รุ่นใหญ่ โครงการพฒั นาการเรียนการสอนในแต่ละกลุ่มสาระฯ โครงการคา่ ยคุณธรรมเฉลมิ พระเกยี รติของ
นกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๔ โครงการพธิ ีแสดงตนเปน็ พุทธมามกะ โครงการทศั นศกึ ษานอกสถานท่ี โครงการ
ส่งเสรมิ คณุ ธรรม โครงการส่งเสรมิ วฒั นธรรม ประเพณี และสง่ิ แวดลอ้ ม โครงการกจิ กรรมส่งเสริมห้องสมุดเฉลมิ
พระเกยี รติ โครงการแขง่ ขนั กฬี าภายใน โครงการค่ายภาษาองั กฤษ โครงการสง่ เสริมการสอนภาษาอังกฤษเพอ่ื
เตรียมความพรอ้ มสู่ประชาคมอาเซียน โครงการ TO BE NUMBER ONE เป็นตน้ มกี ารประชมุ ปฏิบตั ิการปรบั ปรงุ
หลักสูตรสถานศึกษา ปรับโครงสรา้ งรายวิชา หนว่ ยการเรียนรู้ จัดกจิ กรรมลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้ กาหนด
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ใหส้ อดคลอ้ งกบั หน่วยการเรยี นรู้ สนบั สนนุ ใหค้ รจู ัดการเรยี นการสอนท่ีสร้างโอกาสให้
นักเรียนทุกคนมสี ่วนร่วม ไดล้ งมือปฏบิ ัตจิ ริงจนสรุปองคค์ วามรูไ้ ดด้ ้วยตนเอง จัดกจิ กรรมให้ผู้เรียนไดฝ้ ึกทกั ษะ
แสดงออก นาเสนอผลงาน คดิ เป็น ทาเปน็
รกั การอา่ น แสวงหาความรู้จากสอ่ื เทคโนโลยดี ้วยตนเอง ครใู ช้สื่อการเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี
ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น จัดการเรียนการสอนทสี่ ง่ เสรมิ ให้ผูเ้ รยี นมีทักษะการคิด เช่น การจัดการเรียนร้ดู ้วยโครงงาน โดย
นักเรียนได้เรียนรู้จากแหลง่ เรียนรู้ทั้งภายใน แหลง่ เรียนรู้ภายนอกโรงเรยี นและภูมิปัญญาท้องถ่นิ มีการตรวจสอบ
และประเมินความรคู้ วามเข้าใจของผูเ้ รียนอย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ นักเรยี น ผูป้ กครองสามารถ
ตรวจสอบผลการประเมินได้ด้วยตนเองและครทู ุกคนทางานวจิ ยั ในชัน้ เรียนปกี ารศึกษาละ ๑ เรือ่ ง

๒. ผลการดาเนนิ งาน
จากการดาเนนิ งาน/ โครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลายของสถานศกึ ษาเพือ่ พัฒนาครูให้มกี ระบวนการ

จดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ ส่งผลให้ผู้เรียนมสี ว่ นรว่ มในการวิเคราะห์ตนเอง กาหนดเนอ้ื หาสาระ
มกี จิ กรรมทส่ี อดคลอ้ งกับความสนใจและความถนดั เปน็ รายบุคคลอย่างเป็นรปู ธรรมทั้งระบบ ผเู้ รยี นได้เรียนรู้โดย
ผา่ นกระบวนการคดิ ได้ลงมอื ปฏบิ ัติจรงิ ดว้ ยตนเอง กลา้ คิด กลา้ แสดงออก สามารถวางแผนการทางาน การ
แสวงหาความร้จู ากสอ่ื เทคโนโลยีได้ดว้ ยตนเอง และมีสว่ นรว่ มในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สือ่ การเรยี นรู้
สง่ิ อานวยความสะดวกที่เอ้อื ต่อการเรยี นรู้ สถานศึกษาจดั การเรียนการสอนแบบบูรณาการให้ผ้เู รยี นไดเ้ รยี นรทู้ ั้ง
แหลง่ เรียนรูภ้ ายในและแหล่งเรยี นร้ภู ายนอกทมี่ อี ยู่ในทอ้ งถิ่น ชุมชนได้มสี ว่ นร่วมในการแสวงหาความรู้ของผเู้ รียน
มวี ิทยากรท้องถ่ิน หน่วยงาน องค์กรต่างๆ ได้ให้ความร่วมมอื ในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน สถานศึกษามี
ระบบการวดั และประเมินความรคู้ วามเข้าใจ ประเมนิ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนร้ขู องผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบ มี
ประสิทธภิ าพ ครูใช้วิธกี ารประเมินผเู้ รียนทีห่ ลากหลาย และประเมนิ จากสภาพจรงิ มขี ้นั ตอนการตรวจสอบและ
ประเมินอยา่ งเปน็ ระบบนกั เรยี นและผูป้ กครองสามารถเข้าระบบตรวจสอบผลการประเมนิ ได้ดว้ ยตนเอง

๒๕

๓. จุดเดน่
๑. ครูทกุ คนมคี วามต้ังใจ มงุ่ ม่ันในการพฒั นาการจดั การเรยี นการสอนอยา่ งเต็มเวลาและความสามารถ
๒. ครจู ัดกจิ กรรมการเรียนการสอนทส่ี รา้ งโอกาสให้ผเู้ รียนทกุ คนมีส่วนร่วม เรยี นรู้ดว้ ยการคดิ ไดล้ งมือ

ปฏบิ ัตจิ รงิ ด้วยวิธกี ารและแหล่งการเรยี นรู้ที่หลากหลาย
๓. ครใู ห้นักเรียนมีส่วนรว่ มในการจดั บรรยากาศ จดั สภาพแวดลอ้ มท่เี อ้อื ต่อการเรยี นรู้
๔. ครูจัดกิจกรรมให้นักเรยี นแสวงหาความร้จู ากสอื่ เทคโนโลยดี ว้ ยตนเองอยา่ งตอ่ เน่อื ง โดยบูรณาการ

สาระการเรยี นรู้และทกั ษะดา้ นต่างๆ
๕. สถานศึกษาจัดกิจกรรมให้ผูเ้ รียนไดฝ้ กึ ทกั ษะแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ และนาเสนอผลงานตาม

ความถนดั และความร้คู วามสามารถของผ้เู รียน

๔. จุดควรพัฒนา
๑. สง่ เสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนร้ใู ห้ผู้เรียนไดเ้ รียนรโู้ ดยใชก้ ระบวนการวิจัยอยา่ งเป็นรูปธรรมและ

ตอ่ เนอ่ื ง
๒. ควรใหข้ อ้ มูลย้อนกลับแกน่ ักเรียนทนั ทีเพือ่ ให้นกั เรียนนาไปใช้พฒั นาตนเอง
๓. ควรนาภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ มามสี ว่ นร่วมในการจดั กจิ กรรมให้นกั เรียนไดเ้ รยี นรู้

๒๖

สรุปผลการประเมินในภาพรวม

ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาอยูใ่ นระดบั ดีเลิศ
จากผลการดาเนินงาน โครงการ และกิจกรรมตา่ งๆ ส่งผลใหส้ ถานศกึ ษาจัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ประสบผลสาเร็จตามท่ีตัง้ เป้าหมายไว้ในแต่ละมาตรฐาน จากผลการประเมินสรุปว่าไดร้ ะดับดี ทงั้ นเ้ี พราะ
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผูเ้ รยี น อยใู่ นระดับดีเลศิ มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ อยใู่ นระดบั ดี
เลิศ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ อยู่ในระดับดีเลิศ ทั้งนี้
สถานศกึ ษามกี ารจดั กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี นอย่างหลากหลายท่ีเป็นไปตามปัญหาและความต้องการพฒั นา
ตามสภาพของผู้เรยี น สอดคล้องกบั จุดเน้นของสถานศกึ ษาและสภาพของชมุ ชนท้องถิ่น จนมีผลการพัฒนา
คุณภาพผู้เรียนอยใู่ นระดบั ดีเลิศ พัฒนาการของค่าเฉล่ียผลการทดสอบระดบั ชาติขัน้ พนื้ ฐาน (O-NET) ช้นั
มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ เพิม่ ขน้ึ ในกลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ และผลคะแนน
(O-NET) ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ เพิ่มข้ึน ในกลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทยและกลุม่ สาระ
การเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ ผู้เรยี นมีความสามารถในการอ่านและการเขียน การสื่อสารทงั้ ภาษาไทยและ
ภาษาอังกฤษ ความสามารถในการคิดคานวณ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารได้ดี และมคี วาม
ประพฤตดิ า้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม คา่ นิยมและคุณลักษณะตามที่สถานศกึ ษากาหนดปรากฏอย่างชัดเจน ดงั ท่ี
ปรากฏผลการประเมินในมาตรฐานที่ ๑ ในมาตรฐานท่ี ๒

ในด้านกระบวนการบริหารจดั การมผี ลประเมนิ ในรายมาตรฐานอยูใ่ นระดบั ดีเลิศ สถานศกึ ษามี
การวางแผน ออกแบบกิจกรรมและดาเนนิ งานตามแผนทเี่ กดิ จากการมีส่วนรว่ ม ใช้ผลการประเมนิ และ
การดาเนินงานท่ผี า่ นมาเปน็ ฐานในการพฒั นา และสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนา ตรวจสอบผลการดาเนินงาน
และการปรบั ปรุงแกไ้ ขงานให้ดขี ึ้นอย่างตอ่ เน่อื ง ครจู ดั กระบวนการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรียนเปน็ สาคญั มผี ล
ประเมินอยู่ในระดับดีเลศิ ครูสามารถวิเคราะห์ ออกแบบและจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ทเี่ ป็นไปตามความต้องการของ
หลักสูตร และบริบทสถานศึกษา พัฒนากจิ กรรมการเรยี นรู้ สรา้ งสอ่ื การเรียนรู้ นวตั กรรมใหม่ ติดตาม ตรวจสอบ
ช่วยเหลอื นกั เรยี นเพือ่ พฒั นาและแก้ปัญหารายบคุ คล จัดกจิ กรรมแนะแนว การบริการใหค้ าปรกึ ษาให้ผู้เรยี นได้
รจู้ กั ตนเองในการวางแผนการศกึ ษาต่อ การทางาน และการประเมินผลจากสภาพจริงทกุ ขั้นตอน สถานศกึ ษา
ดาเนนิ งานตามระบบการประกนั คณุ ภาพภายในอย่างเป็นขน้ั ตอน จนเกดิ คณุ ภาพ ประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล
จนมีผลประเมินอย่ใู นระดบั ดีเยยี่ ม โดยสถานศกึ ษาใหค้ วามสาคัญกับผูเ้ ก่ียวข้องทุกฝา่ ยเพ่อื ให้เกิดความรว่ มมือใน
การวางระบบและดาเนนิ งานประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษาเปน็ อยา่ งดี และผ้มู ีสว่ นเกย่ี วข้องมคี วามม่ันใจ
ต่อระบบการบริหารและการจัดการของสถานศกึ ษาในระดบั สูง
แนวทางการพัฒนาในอนาคต

๑. การจัดกิจกรรมการเรยี นรูท้ ่ีเนน้ การพฒั นาผเู้ รียนเปน็ รายบุคคลให้ชัดเจนข้ึน
๒. การสง่ เสริมให้ครเู หน็ ความสาคัญของการจัดการเรยี นรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญการจดั ทาการวิจยั ใน
ชน้ั เรยี นเพ่ือพัฒนาผู้เรยี นใหส้ ามารถเรยี นรไู้ ดเ้ ต็มศักยภาพ
๓. การพัฒนาบคุ ลากรโดยส่งเข้ารบั การอบรม แลกเปล่ยี นเรียนรใู้ นงานที่ไดร้ บั มอบหมาย ตดิ ตามผล

๒๗

การนาไปใช้และผลทเ่ี กดิ กบั ผู้เรียนอยา่ งต่อเน่อื ง
๔. การพัฒนาสถานศกึ ษาใหเ้ ป็นสังคมแหง่ การเรียนรขู้ องชุมชน

ความตอ้ งการและการช่วยเหลือ
๑. การพัฒนาครูผ้สู อนในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ท่สี อดคลอ้ งกับการพัฒนาผเู้ รียนในศตวรรษที่ ๒๑
๒. การจัดการเรยี นการสอนให้สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรียนรตู้ ามแนวทางของการประเมนิ O-NET

และ PISA
๓. การจดั สรรครูผู้สอนใหต้ รงตามวชิ าเอกทโี่ รงเรยี นมคี วามต้องการและจาเปน็

๒๘

บรรณานกุ รม

สานกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศึกษา (องค์การมหาชน). พระราชบญั ญัติการศกึ ษา
แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕. กรุงเทพฯ : พรกิ หวาน
กราฟฟคิ , ๒๕๔๗.

สานักทดสอบทางการศึกษา. สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน. การจดั ทารายงานประจาปี
ของสถานศกึ ษาตามกฎกระทรวงว่าดว้ ยระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ ีการประกนั คุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย
จากัด, ๒๕๕๔.

_______. การประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ตามกฎกระทรวง
วา่ ดว้ ยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธกี ารประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๓. กรงุ เทพฯ :
โรงพิมพช์ ุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากดั , ๒๕๕๔.

_______. คมู่ ือการประเมนิ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพอ่ื การประกนั คุณภาพภายในของ
สถานศกึ ษา สังกดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน. ๒๕๕๙

_______. แนวทางการประเมนิ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน เพ่อื การประกันคณุ ภาพ
ภายในของสถานศึกษา. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพส์ านกั งานพระพุทธศาสนาแห่งชาต,ิ ๒๕๕๔.

_______. แนวทางการพัฒนาระบบการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ตามกฎกระทรวง
วา่ ด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓. กรงุ เทพฯ :
โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากัด, ๒๕๕๔.

_______. แนวทางการเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report :
SAR). ๒๕๕๙

_______. แนวทางการประเมินตนคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดบั การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน
และระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐานศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ สงั กดั สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ัน
พืน้ ฐาน, ๒๕๖๑.

๒๙

ภาคผนวก

๓๐

คณะกรรมการจัดทาเอกสารรายงาน
การประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)

๑. นายวรี ยทุ ธ ชานัย ประธานกรรมการ
๒. นายรุ่งโรจน์ ตัณฑรตั น์ รองประธานกรรมการ
๓. นางไพจติ ร สขุ เกษม กรรมการ
๔. วา่ ท่รี ้อยตรีสมประสงค์ บญุ วงศ์ กรรมการ
๕. นางศริ ิพร แพงมา กรรมการ
๖. นางสาวอบุ ล ชรู ตั น์ กรรมการ
๗. นางกนกอร ทพิ ยโสต กรรมการ
๘. นางสาวภทั รา เทพมงคล กรรมการ
๙. นางสาวญาฐิษตา วงศก์ อ่ กรรมการและเลขานกุ าร
๑๐. นางปนดั ดา เนนิ นิล กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ
๑๑. นางสาวกวินตรา โลกานติ ย์ กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร

๓๑

คาสง่ั โรงเรยี นทา่ บอ่

ท่ี ๖๖ / ๒๕๖๒

เรอื่ ง แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศกึ ษา สาหรับจัดทารายงานผลการประเมินตนเอง

(Self Assessment Report : SAR) และรองรับการประเมินคณุ ภาพภายนอก

..............................................................................................................

ตามที่พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และแก้ไขเพ่มิ เตมิ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ หมวด ๖

มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศกึ ษา มาตรา ๔๘ ให้สถานศกึ ษาจดั ให้มรี ะบบการประกันคุณภาพภายใน

สถานศึกษาและถอื วา่ การประกนั คุณภาพการภายใน เป็นสว่ นหน่งึ ของกระบวนการบริหารการศึกษาทต่ี อ้ ง

ดาเนนิ การอยา่ งตอ่ เน่อื ง โดยมีการจัดทารายงานประจาปี เสนอตอ่ หน่วยงานตน้ สังกดั หน่วยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ งและ

เปดิ เผยต่อสาธารณชน เพ่อื นาไปสู่การพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพ่อื รับรองการประกนั คณุ ภาพ

ภายนอก เพ่ือใหก้ ารดาเนินงานของโรงเรียนเป็นไปอย่างมีระบบและสอดคล้องกับพระราชบัญญัติฯ ดงั กล่าว จงึ

แตง่ ตง้ั คณะกรรมการดาเนนิ การ ดังน้ี

๑. คณะกรรมการอานวยการ ประกอบดว้ ย

๑.๑ ผอู้ านวยการโรงเรยี นท่าบอ่ ประธานกรรมการ

๑.๒ นายรงุ่ โรจน์ ตณั ฑรตั น์ รองประธานกรรมการ

๑.๓ นางไพจติ ร สุขเกษม กรรมการ

๑.๔ วา่ ทร่ี .ต.สมประสงค์ บุญวงศ์ กรรมการและเลขานุการ

๑.๕ นางสาวญาฐิษตา วงศ์กอ่ กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ

๑.๖ นางปนัดดา เนนิ นิล กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

๒. คณะกรรมการดาเนินงาน ประกอบดว้ ย

๒.๑ นายร่งุ โรจน์ ตัณฑรัตน์ ประธานกรรมการ

๒.๒ นางไพจติ ร สุขเกษม รองประธานกรรมการ

๒.๓ ว่าท่ี ร.ต.สมประสงค์ บญุ วงศ์ กรรมการ

๒.๔ หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้ทกุ กล่มุ สาระ กรรมการ

๒.๕ นางสาวภทั รา เทพมงคล กรรมการ

๒.๖ นางสาวกวินตรา โลกานิตย์ กรรมการ

๒.๗ นางสาวอบุ ล ชูรัตน์ กรรมการ

๒.๘ นางสาวญาฐษิ ตา วงศ์กอ่ กรรมการและเลขานุการ

๒.๙ นางปนดั ดา เนินนิล กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร

๓๒

มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรยี น
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผูเ้ รียน
๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรยี น
๑) มคี วามสามารถในการอา่ น เขียน การสอ่ื สาร และการคดิ คานวณ
๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ และ
แกป้ ญั หา
๓) มีความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม
๔) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร
๕) มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสตู รสถานศึกษา
๖) มีความรู้ ทกั ษะพนื้ ฐาน และเจตคตทิ ่ดี ีตอ่ งานอาชีพ
๑.๒ คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ของผูเ้ รยี น
๑) การมคี ณุ ลกั ษณะและค่านยิ มท่ดี ตี ามทส่ี ถานศึกษากาหนด
๒) ความภมู ิใจในทอ้ งถิ่น และความเป็นไทย
๓) ยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและความหลากหลาย
๔) สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผเู้ รยี น

๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ทิ างวชิ าการของผู้เรยี น

๑) มีความสามารถในการอา่ น เขียน การส่ือสาร และการคดิ คานวณ

กรรมการประกอบดว้ ย

๑. นางรัชนก สบุ นิ ประธานกรรมการ

๒. นางกรรณกิ า คาทะริ รองประธานกรรมการ

๓. นางสาวสุวิมล โพธศิ์ ิริ กรรมการ

๔. นางสาวอมรรตั น์ สนิ ไชย กรรมการ

๕. นางอนันท์ ศรีโคตร กรรมการ

๖. นางสาวศิริพร เถอื กคา กรรมการ

๗. นางสาวขวญั หทยั โคธเิ สน กรรมการ

๘. นางสาวศรัญญา บุญมาไชย กรรมการ

๙. นายจีระพฒั น์ ศรีนอ้ ย กรรมการ

๑๐. นายชัชวาล สาครเสถยี ร กรรมการ

๑๑. นางสาววฒั นารมย์ พรหมมา กรรมการและเลขานุการ

๑๒. นางสาววชั ราภรณ์ คนยนื กรรมการและผ้ชู ่วยเลขานุการ

๓๓

๑.๑ ผลสมั ฤทธทิ์ างวชิ าการของผู้เรียน

๒) มีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดวจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลย่ี นความคดิ เห็น

และแก้ปัญหา

๓) มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม

กรรมการประกอบด้วย

๑. นายสวุ ิทย์ ดวงดี ประธานกรรมการ

๒. นายนพพร ศรีทองอนิ ทร์ รองประธานกรรมการ

๓. นางมะลิ พอ่ ค้าช้าง กรรมการ

๔. นางเกษแก้ว หนูภกั ดี กรรมการ

๕. นายอเุ ทน ทนทาน กรรมการ

๖. นายสนั ติ แซงบุญเรือง กรรมการ

๗. นางสาวธดิ าวรรณ ไกรจมู พล กรรมการ

๘. นายธนกฤต กอ้ นตะ๊ เสน กรรมการ

๙. นายอธวิ ัฒน์ แกว้ วงศา กรรมการ

๑๐. นายสุทธศิ ักดิ์ บัวจาน กรรมการ

๑๑. นางสาววชิราพร บนุ นท์ กรรมการและเลขานกุ าร

๑๒. นางสาวจฑุ ารตั น์ พรมมา กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ

๑.๑ ผลสัมฤทธิท์ างวชิ าการของผู้เรยี น

๔) มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร

๕) มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษา

กรรมการประกอบด้วย

๑. นางไพจติ ร สุขเกษม ประธานกรรมการ

๒. วา่ ที่ ร.ต.สมประสงค์ บญุ วงศ์ รองประธานกรรมการ

๓. หัวหน้ากลุ่มสาระฯทุกกลุ่มสาระฯ กรรมการ

๔. นายตรีภพ นามบุปผา กรรมการ

๕. นางพิชญานี สรรพศิลป์ กรรมการ

๖. นายธรรมนญู ผา่ นสาแดง กรรมการ

๗. นายธนากร สีขาว กรรมการ

๘. นางสาวอจั ฉรา ทองโพช กรรมการ

๙. นายวสันต์ พินจิ มนตรี กรรมการ

๑๐. นายสถาพร เข็มพันธ์ กรรมการ

๑๑. นางสาวปริญนภา บญุ ชว่ ย กรรมการ

๑๒. นางสาวอบุ ล ชูรตั น์ กรรมการและเลขานกุ าร

๑๓. นางจาตุพร เลพล กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

๓๔

๑.๑ ผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการของผเู้ รียน

๖) มีความรู้ ทกั ษะพน้ื ฐาน และเจตคติที่ดีตอ่ งานอาชีพ

กรรมการประกอบด้วย

๑. นายณฐั วัติ พงษ์เผ่า ประธานกรรมการ

๒. นายเชาวรตั น์ ศรีชมภู รองประธานกรรมการ

๓. นางวรัทยา มาร์เมท กรรมการ

๔. นายธรี พงษ์ เครือแก้ว กรรมการ

๕. นายอภวิ ัฒน์ โกสลิ า กรรมการ

๖. นายนฐั ธิกร สวุ ัฒนะ กรรมการ

๗. นางสาวภัทรา เทพมงคล กรรมการ

๘. นางกฤตยิ า จงรักษ์ กรรมการ

๙. นางสาววิมลรตั น์ บุญยืน กรรมการ

๑๐. นางสาวนิศารัตน์ โคตรรกั ษา กรรมการ

๑๑.นางสาวณฐั รยิ า วงศโ์ ยธา กรรมการและเลขานกุ าร

๑๒. นายทปี กร ดอนเกิด กรรมการและผูช้ ่วยเลขานุการ

๑.๒ คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงคข์ องผเู้ รียน

๑) มีคุณลกั ษณะและค่านิยมที่ดีตามทส่ี ถานศึกษากาหนด

๒) ความภมู ใิ จในท้องถน่ิ และความเป็นไทย

๓) ยอมรบั ท่ีจะอยูร่ ่วมกนั บนความแตกตา่ งและความหลากหลาย

กรรมการประกอบดว้ ย

๑. นายพรหม กรมวังกอ้ น ประธานกรรมการ

๒. นายวนั ชยั โสภาพร รองประธานกรรมการ

๓. นายเจษฎา ขามรัตน์ กรรมการ

๔. นางขนษิ ฐา ศรบี ุญ กรรมการ

๕. นางสาวกรรณกิ าร์ ระวิโรจน์ กรรมการ

๖. นายตรเี ทพ ถาบุตร กรรมการ

๗. นางสาวเบญจมาศ ปานกลิน่ กรรมการ

๘. นายวิทยา จอมทอง กรรมการ

๙. นางสาววรญั ญา เครือแกว้ กรรมการ

๑๐. นางสาววไิ ลวลั ย์ พรหมมา กรรมการ

๑๑. นายพษิ ณุ สาระจนั ทร์ กรรมการและเลขานกุ าร

๑๒. นางสาววภิ าดา คาพาย กรรมการและผ้ชู ่วยเลขานุการ

๑.๒ คุณลักษณะท่พี งึ ประสงคข์ องผู้เรียน ๓๕

๔) สขุ ภาวะทางร่างกาย และจติ สงั คม ประธานกรรมการ
รองประธานกรรมการ
กรรมการประกอบด้วย กรรมการ
กรรมการ
๑. นายนิคม เคหฐาน กรรมการ
กรรมการ
๒. นายสุชนิ โพธิวิทย์ กรรมการ
กรรมการ
๓. นายสมสุข ศรเี มือง กรรมการ
กรรมการและเลขานกุ าร
๔. นายสรไกร พรูแลน่ เร็ว กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร

๕. นายนิโรจน์ น่ิมวิวฒั น์

๖. นายนนั ทภพ บบุ พศิริ

๗. นายเอกพงษ์ ดวงมาลา

๘. นายภูมอิ สิ รา ตรีชติ

๙. นางสาวศรญั ยา อนุ่ จารย์

๑๐. นางสาวศิริญญา สวุ ัฒ

๑๑. นายภกั ดี วงษาเนาว์

มาตรฐานดา้ นกระบวนการบริหารจัดการ

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ

๑) มเี ปา้ หมายวสิ ยั ทัศน์และพันธกจิ ท่สี ถานศกึ ษากาหนดชดั เจน

๒) มรี ะบบบรหิ ารจัดการคุณภาพการของสถานศึกษา

๓) ดาเนนิ งานพฒั นาวิชาการทีเ่ นน้ คณุ ภาพผเู้ รียนรอบด้านตามหลักสตู รสถานศึกษาและทกุ

กลุ่มเป้าหมาย

๔) พฒั นาครูและบคุ ลากรให้มคี วามเช่ียวชาญทางวชิ าชพี

๕) จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทีเ่ อื้อตอ่ การจัดการเรยี นรู้อยา่ งมคี ุณภาพ

๖) จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื สนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การและการจัดการเรียนรู้

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ

๑. การมีเปา้ หมาย วสิ ยั ทัศนแ์ ละพนั ธกิจท่ีสถานศึกษากาหนดชัดเจน

๒. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพการของสถานศึกษา

กรรมการประกอบด้วย

๑. นายร่งุ โรจน์ ตณั ฑรัตน์ ประธานกรรมการ

๒. นายคานึง เล่อื นแกว้ รองประธานกรรมการ

๓. หัวหนา้ กล่มุ สาระทุกกลุม่ สาระการเรยี นรู้ กรรมการ

๔. หวั หนา้ กิจกรรมทุกกจิ กรรม กรรมการ

๕. นายสารวย วเิ ศษเรยี น กรรมการ

๖. นายเทพฤทธ์ิ สดุ จริง กรรมการ

๗. นายวัชระ ปะตโิ ก ๓๖
๘. นางสาวธิติสุดา แกว้ หาญ
๙. นางสาวมทั นา บวั เงนิ กรรมการ
๑๐. นางสาวกัลยานี ภมู ฐิ าน กรรมการ
๑๑. นางสาวสะใบคา ทองอบุ ล กรรมการ
๑๒. นางสาวอลศิ รา พมิ พ์จาปา กรรมการ
กรรมการและเลขานกุ าร
กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ

๓. ดาเนนิ งานพฒั นาวชิ าการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรยี นรอบดา้ นตามหลักสตู รสถานศึกษาและทุก

กลุ่มเป้าหมาย

๔. พัฒนาครแู ละบุคลากรให้มีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ

กรรมการประกอบดว้ ย

๑. นางไพรนิ ทร์ ลลี าคา ประธานกรรมการ

๒.นางศิรลิ กั ษณ์ พจนสุนทร รองประธานกรรมการ

๓. นายนเรศ คาทวี กรรมการ

๔. นางสุภลกั ษณ์ ผิวนวล กรรมการ

๕. นางนิตยา ศรปี ระดิษฐ์ กรรมการ

๖. นางสาวพนิดา หนเู พลา กรรมการ

๗. นางสาวสกุนตลา โลหะปาน กรรมการ

๘. นางชฏาวัลย์ กาญจนแ์ กว้ กรรมการ

๙. นางสาวชลธิชา บุนนท์ กรรมการ

๑๐. นางสาวพรศริ ิ ทองเพชร กรรมการ

๑๑. นางกนกอร ทพิ ยโสต กรรมการและเลขานกุ าร

๑๒. นางสาวธนิกานต์ ศรตี ้นวงศ์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ

๕) จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทเ่ี ออ้ื ต่อการจัดการเรียนร้อู ย่างมคี ุณภาพ

กรรมการประกอบดว้ ย

๑. นางวิมลจันทร์ ปานขาว ประธานกรรมการ

๒. นางสังวาลย์ นามสอี นุ่ รองประธานกรรมการ

๓. นางรัชนี กุลสทิ ธาวเิ วท กรรมการ

๔. นางสาวสจุ ติ รา วงศ์รตั น์ กรรมการ

๕. นางสาวเยาวเรศ อาจนาวัง กรรมการ

๖. นายทองพาส บุดดา กรรมการ

๗. นางสาววัลลี จาปาทอง กรรมการ

๓๗

๘. นางสาวสรุ ีย์ฉาย ซาบุญมี กรรมการ

๙. นางสาวชราลัย จดชยั ภูมิ กรรมการ

๑๐. นายสทุ ธริ ัตน์ ตนั เขยี ว กรรมการและเลขานุการ

๑๑. นายจีรชัย แกว้ ผาบ กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ

๖) จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื สนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการและการจัดการเรยี นรู้

กรรมการประกอบดว้ ย

๑. นางภาณดิ า ศรีเชยี งสา ประธานกรรมการ

๒. นางจารวุ รรณ ตมุ้ มี รองประธานกรรมการ

๓. นางน้าทิพย์ แสนบวั กรรมการ

๔. นางปิยนุช ดวงดี กรรมการ

๕. นางนันทรตั น์ เข็มอุทา กรรมการ

๖. นางสาวชนิ มนา อนิ ทรกั ษา กรรมการ

๗. นางปยิ ะธดิ า วงศรที า กรรมการ

๘. นางสาวเนอื งนิตย์ สสี ะเทอื น กรรมการ

๙. นางสาวยลดา ลอื ชยั กรรมการ

๑๐. นางสาวชนิดา พรรณรังษี กรรมการ

๑๑. นางชมัยพร ถ่นิ สาราญ กรรมการและเลขานกุ าร

๑๒. นางสาวศริ ประภา อ่อนฉลวย กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร

มาตรฐานด้านกระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคญั

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญ

๑) จดั การเรยี นร้ผู ่านกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ รงิ และสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวันได้

๒) ใช้สื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่งเรยี นรูท้ ่เี ออ้ื ตอ่ การเรียนรู้

๓) มกี ารบริหารจดั การชัน้ เรียนเชงิ บวก

๔) ตรวจสอบและประเมินผ้เู รียนอยา่ งเปน็ ระบบและนาผลมาพัฒนาผู้เรยี น

๕) มีการแลกเปลี่ยนเรยี นรแู้ ละใหข้ อ้ มลู สะทอ้ นกลบั เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั

๑) จัดการเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั จิ ริง และสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้

๒) ใช้ส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่งเรยี นรทู้ ี่เออื้ ตอ่ การเรยี นรู้

๓) มีการบรหิ ารจดั การชนั้ เรยี นเชิงบวก

กรรมการประกอบด้วย

๑. นายธรี ยุทธ ตุม้ มี ประธานกรรมการ

๒. นางอภญิ ญา วานิช รองประธานกรรมการ

๓๘

๓. นายวีรยุทธ วาทยะจินดา กรรมการ

๔. นางสาววราภรณ์ วงศไ์ ชยา กรรมการ

๕. นางสาวอรวรรณ พทุ ธโคตร กรรมการ

๖. นายสุริยา ห้าวหาญ กรรมการ

๗. นางสาวสวุ ณี ชะนะไล กรรมการ

๘. นายวรวฒุ ิ ใจดี กรรมการ

๙. นางสาวรชั ฎา เหลา่ ฆ้อง กรรมการ

๑๐. นายเอกวทิ ย์ อมตฉายา กรรมการและเลขานุการ

๑๑. นางสาววมิ ลวรรณ ลกั ษณะลาย กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคญั

๔) ตรวจสอบและประเมินผ้เู รียนอยา่ งเปน็ ระบบและนาผลมาพฒั นาผูเ้ รียน

๕) มีการแลกเปล่ียนเรยี นรู้และให้ขอ้ มูลสะทอ้ นกลับเพ่อื พัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้

กรรมการประกอบด้วย

๑. นายภราดร หนภู ักดี ประธานกรรมการ

๒. นางสาวญาฐษิ ตา วงศก์ อ่ รองประธานกรรมการ

๓. หวั หน้ากล่มุ สาระทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ กรรมการ

๔. หัวหนา้ กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน กรรมการ

๕. หวั หนา้ ชุมนมุ ทุกคน กรรมการ

๖. นางสาวศริ พิ ร แพงมา กรรมการ

๗. นายชานนท์ ตรงดี กรรมการ

๘. นางสาวศวิ รรณ อะวะตา กรรมการ

๙. นายสทิ ธิโชค ประเสรฐิ ศรี กรรมการ

๑๐. นางสาวนิตยิ า สมั พนั ธะ กรรมการ

๑๑. นางปนดั ดา เนินนลิ กรรมการและเลขานุการ

๑๒. นางสาวกวินตรา โลกานติ ย์ กรรมการและผูช้ ่วยเลขานกุ าร

ให้คณะกรรมการท่ไี ดร้ ับแต่งต้ัง ปฏบิ ัติหน้าที่ เพื่อให้บรรลุตามแนวทางการดาเนินงานการ
ประกันคณุ ภาพการศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร โดยมแี นวดาเนินงานดงั น้ี

๑. ศึกษา วิเคราะห์ มาตรฐาน ตวั บ่งชี้ และเกณฑ์การประเมนิ ในมาตรฐานทรี่ ับผดิ ชอบ
๒. สร้างเครอ่ื งมอื ในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ตามมาตรฐานตัวบง่ ช้ี ทีเ่ กีย่ วขอ้ งเกบ็ รวบรวมข้อมูลและ
วิเคราะหข์ อ้ มลู

๓๙

๓. ใหข้ ้อเสนอแนะ/แนวทางการพฒั นา จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา ตามยุทธศาสตร์การบรหิ าร
โรงเรยี น

๔. ส่งรายงานผลการวเิ คราะห์ ขอ้ เสนอแนะ ในมาตรฐานท่ีรบั ผิดชอบ ภายในวันท่ี ๒๙ มนี าคม
๒๕๖๒

ท้ังน้ี ตั้งแต่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒
สงั่ ณ วนั ที่ ๒๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๒

(นายวรี ยทุ ธ ชานัย)
ผอู้ านวยการโรงเรียนทา่ บอ่

๔๐

ประกาศโรงเรยี นทา่ บอ่
เรื่อง ใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน

เพอื่ การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑
..............................................................................................................
โดยท่มี กี ารประกาศใช้กฎกระทรวงวา่ ด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธกี ารประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ.
๒๕๕๙ ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอ่ื ง ใหใ้ ชม้ าตรฐานการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน เพ่ือการประกนั คณุ ภาพภายใน
ของสถานศึกษา กาหนดการจดั ระบบ โครงสรา้ ง และกระบวนการจัดการศกึ ษาใหย้ ึดหลกั ทส่ี าคญั ข้อหนึง่ คอื มี
การกาหนดมาตรฐานการศกึ ษา และจัดระบบประกนั คุณภาพการศกึ ษาทุกระดบั และประเภทการศึกษา โดย
มาตรา ๓๑ ใหก้ ระทรวงมอี านาจหนา้ ทก่ี ากับดแู ลการศกึ ษาทุกระดับ และทุกประเภท กาหนดนโยบาย แผนและ
มาตรฐานการศกึ ษา ให้สถานศกึ ษาจดั ใหม้ รี ะบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา และให้ถอื วา่ การประกนั
คุณภาพภายในเป็นสว่ นหนึ่งของการบรหิ ารการศกึ ษาทตี่ ้องดาเนนิ การอย่างตอ่ เน่ือง โดยมกี ารจดั ทารายงาน
ประจาปีเสนอต่อหน่วยงานตน้ สงั กดั หนว่ ยงานที่เกยี่ วข้อง และเปดิ เผยต่อสาธารณชน เพอื่ นาไปสูก่ ารพฒั นา
คณุ ภาพมาตรฐานการศกึ ษา และเพื่อรองรบั การประเมินคณุ ภาพภายนอก
เพอ่ื ใหก้ ารบริหารจัดการกิจการของโรงเรียนท่าบ่อเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และตามระบบประกัน
คณุ ภาพการศึกษา จงึ ประกาศการใช้มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา เพ่ือเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพ
และมาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน และการประเมนิ คุณภาพภายใน

ประกาศ ณ วันที่ ๑๑ มิถนุ ายน ๒๕๖๑

(นายสมพงษ์ โสภิณ)
ผู้อานวยการโรงเรียนท่าบ่อ

๔๑

มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แนบทา้ ยประกาศโรงเรียนทา่ บ่อ
เรื่อง การใชม้ าตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน

เพ่อื การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

มาตรฐาน/ตวั บง่ ชี้
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพผู้เรียน

๑.๑ ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผเู้ รียน
๑) มีความสามารถในการอ่าน เขยี น การสอ่ื สาร และการคิดคานวณ
๒) มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ และแกป้ ญั หา
๓) มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม
๔) มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร
๕) มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสตู รสถานศกึ ษา
๖) มีความรู้ ทกั ษะพ้นื ฐาน และเจตคติที่ดตี ่องานอาชีพ
๑.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรยี น
๑) การมีคณุ ลักษณะและค่านิยมทด่ี ีตามที่สถานศึกษากาหนด
๒) ความภมู ิใจในท้องถิน่ และความเป็นไทย
๓) การยอมรับทีจ่ ะอยูร่ ่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย
๔) สขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจติ สงั คม

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
๑) มเี ป้าหมายวสิ ัยทศั น์และพันธกิจท่ีสถานศกึ ษากาหนดชดั เจน
๒) มีระบบบริหารจัดการคณุ ภาพการของสถานศกึ ษา
๓) ดาเนินงานพฒั นาวิชาการท่เี นน้ คณุ ภาพผูเ้ รยี นรอบด้านตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาและทกุ กลุม่ เป้าหมาย
๔) พัฒนาครูและบุคลากรใหม้ ีความเชยี่ วชาญทางวิชาชพี
๕) จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมที่เอือ้ ต่อการจดั การเรียนรู้อยา่ งมคี ุณภาพ
๖) จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ สนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการและการจัดการเรียนรู้

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั
๑) จัดการเรยี นรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัตจิ ริง และสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวันได้
๒) ใช้สือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง่ เรยี นรู้ทีเ่ ออื้ ตอ่ การเรยี นรู้
๓) มกี ารบริหารจัดการช้นั เรียนเชิงบวก
๔) ตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอย่างเป็นระบบและนาผลมาพฒั นาผู้เรียน
๕) มีการแลกเปลีย่ นเรยี นร้แู ละให้ขอ้ มูลสะท้อนกลบั เพ่อื พัฒนาและปรบั ปรุงการจัดการเรยี นรู้

๔๒

ประกาศโรงเรยี นทา่ บ่อ

เรือ่ ง การกาหนดค่าเปา้ หมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑
ระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐานเพอ่ื การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา
..............................................................................................................

ตามความในพระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และท่ีแก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕
มาตรา ๙(๓) ได้กาหนดการจดั ระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศกึ ษาโดยยดึ หลกั สาคญั ข้อหนงึ่ คอื มีการ
กาหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกนั คุณภาพการศึกษาทุกระดบั และประเภทการศกึ ษา การ
ประกาศใชก้ ฎกระทรวงว่าดว้ ยระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ กี ารประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ หมวด ๒ ข้อ
๑๔(๑) ใหก้ าหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา และประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอื่ ง ใหใ้ ชม้ าตรฐาน
การศึกษาขั้นพน้ื ฐานเพอื่ การประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ลงวันที่ ๑๑ ตลุ าคม ๒๕๕๙ เพื่อใช้เป็นหลักใน
การส่งเสริม สนับสนุน กากับดแู ล และตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา โรงเรียนทา่ บ่อ จึงปรับมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐานและไดก้ าหนดคา่ เปา้ หมายของการพัฒนาตามมาตรฐาน
การศึกษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พื้นฐานและการมีสว่ นรว่ มของ
ผู้เกย่ี วข้อง ท้งั บคุ ลากรทกุ คนในโรงเรียน ผูป้ กครอง และประชาชนในชมุ ชน เพอื่ นาไปสู่การพัฒนาคณุ ภาพตาม
มาตรฐานการศึกษา การประเมนิ คุณภาพภายในและเพ่ือรองรบั การประเมนิ คุณภาพภายนอก

เพือ่ ใหก้ ารพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรียนทา่ บอ่ มคี ณุ ภาพและไดม้ าตรฐาน
โรงเรียนจงึ ไดก้ าหนดคา่ เปา้ หมายการพฒั นาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ระดับ
การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ตามเอกสารแนบทา้ ยประกาศน้ี เพือ่ เปน็ เปา้ หมายในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศกึ ษา ระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐานและการประเมนิ คุณภาพภายใน

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

(นายสมพงษ์ โสภิณ)
ผู้อานวยการโรงเรยี นท่าบ่อ

๔๓

ค่าเป้าหมายแนบทา้ ยประกาศโรงเรียนท่าบอ่
เร่อื ง การกาหนดเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑

ระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐานเพอื่ การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา

มาตรฐาน/ประเดน็ พจิ ารณา น้าหนกั คะแนน

มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผู้เรียน (๕๐ คะแนน) แต่ละข้อ รวม
๑. ผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผ้เู รียน (๓๐ คะแนน)
๑.๑ มีความสามารถในการอา่ น เขยี น การส่อื สาร และการคิดคานวณ ๕
๑.๒ มีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอย่างมวี ิจารณญาณ อภิปราย ๔

แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแกป้ ญั หา ๔ ๓๐
๑.๓ มีความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม ๖
๑.๔ มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร ๕
๑.๕ มีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนตามหลักสตู รสถานศกึ ษา ๖
๑.๖ มีความรู้ ทักษะพ้นื ฐาน และเจตคติทด่ี ีต่องานอาชพี

๒. คณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงคข์ องผูเ้ รยี น (๒๐ คะแนน)
๔ ๒๐
๒.๑ การมีคณุ ลกั ษณะและค่านยิ มท่ีดตี ามท่สี ถานศึกษากาหนด ๔
๒.๒ ความภมู ใิ จในท้องถิ่นและความเป็นไทย
๒.๓ ยอมรบั ทจี่ ะอยรู่ ว่ มกันบนความแตกตา่ งและความหลากหลาย ๔
๒.๔ สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ (๒๐ คะแนน) ๓
๑. มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพนั ธกิจทส่ี ถานศึกษากาหนดชดั เจน ๔
๒. มีระบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพการของสถานศกึ ษา ๓
๓. ดาเนนิ งานพฒั นาวชิ าการทเ่ี นน้ คุณภาพผ้เู รียนรอบด้านตามหลกั สูตร
๓ ๒๐
สถานศึกษาและทกุ กลมุ่ เป้าหมาย ๔
๔. พฒั นาครูและบคุ ลากรให้มีความเช่ยี วชาญทางวชิ าชีพ
๕. จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทเ่ี อ้อื ตอ่ การจัดการเรียนรอู้ ย่างมี ๓

คุณภาพ
๖. จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ สนบั สนุนการบรหิ ารจัดการและการ

จัดการเรียนรู้

๔๔

มาตรฐาน/ประเด็นพจิ ารณา นา้ หนักคะแนน

แตล่ ะข้อ รวม

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ (๓๐ คะแนน)

๑. จัดการเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏิบัติจรงิ และสามารถนาไป ๖
ประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาวนั ได้

๒. ใชส้ ่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่งเรียนรูท้ ่ีเอือ้ ต่อการเรียนรู้ ๖

๓. มีการบรหิ ารจัดการชัน้ เรียนเชิงบวก ๖ ๓๐
๔. ตรวจสอบและประเมนิ ผูเ้ รยี นอย่างเป็นระบบและนาผลมาพัฒนาผเู้ รียน ๖

๕. มกี ารแลกเปลีย่ นเรยี นรแู้ ละให้ขอ้ มูลสะทอ้ นกลบั เพ่อื พฒั นาและปรับปรงุ ๖
การจดั การเรียนรู้

๔๕

คา่ เป้าหมายแนบท้ายประกาศโรงเรยี นทา่ บ่อ
เรอื่ ง การกาหนดเป้าหมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑

ระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐานเพอื่ การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

มาตรฐาน/ประเดน็ พจิ ารณา ค่าเป้าหมาย
ระดับคณุ ภาพ คา่ รอ้ ยละ
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผู้เรียน ระดับดเี ลศิ รอ้ ยละ ๗๐-๘๙
๑. ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน ระดบั ดเี ลศิ รอ้ ยละ ๗๐-๘๙
๑.๑ มีความสามารถในการอ่าน เขียน การสอื่ สาร และการคิดคานวณ ระดบั ดีเลิศ รอ้ ยละ ๗๐-๘๙
๑.๒ มีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอย่างมวี จิ ารณญาณ อภิปราย
ระดับดี รอ้ ยละ ๖๐-๖๙
แลกเปลย่ี นความคิดเห็นและแกป้ ัญหา
๑.๓ มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม ระดับดี ร้อยละ ๖๐-๖๙
๑.๔ มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร ระดับดี ร้อยละ ๖๐-๖๙
๑.๕ มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลักสตู รสถานศกึ ษา ระดบั ดีเลิศ
๑.๖ มีความรู้ ทกั ษะพ้ืนฐาน และเจตคติท่ีดีต่องานอาชีพ ระดับดีเลิศ ร้อยละ ๗๐-๘๙
ระดบั ดีเลศิ ร้อยละ ๗๐-๘๙
๒. คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ของผ้เู รยี น ระดบั ดีเลิศ ร้อยละ ๗๐-๘๙
๒.๑ การมคี ุณลักษณะและคา่ นิยมท่ีดีตามท่ีสถานศกึ ษากาหนด ระดบั ดีเลิศ ร้อยละ ๗๐-๘๙
๒.๒ ความภมู ิใจในทอ้ งถน่ิ และความเปน็ ไทย ระดับดี ร้อยละ ๗๐-๘๙
๒.๓ ยอมรบั ท่จี ะอยู่ร่วมกนั บนความแตกตา่ งและความหลากหลาย ระดับดีเลิศ
๒.๔ สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม ระดับดีเลิศ รอ้ ยละ ๖๐-๖๙
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ระดับดเี ลิศ รอ้ ยละ ๗๐-๘๙
๑. มเี ป้าหมายวสิ ยั ทศั น์และพนั ธกจิ ท่ีสถานศึกษากาหนดชัดเจน ระดับดเี ลศิ รอ้ ยละ ๗๐-๘๙
๒. มรี ะบบบรหิ ารจัดการคุณภาพการของสถานศกึ ษา ระดับดเี ลศิ ร้อยละ ๗๐-๘๙
๓. ดาเนินงานพฒั นาวิชาการท่ีเนน้ คณุ ภาพผเู้ รียนรอบด้านตามหลักสูตร ร้อยละ ๗๐-๘๙
ร้อยละ ๗๐-๘๙
สถานศึกษาและทุกกลุม่ เป้าหมาย
๔. พฒั นาครแู ละบุคลากรให้มีความเช่ยี วชาญทางวชิ าชพี ระดบั ดเี ลิศ ร้อยละ ๗๐-๘๙
๕. จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่เี อ้อื ตอ่ การจดั การเรยี นรู้อย่างมี ระดบั ดี ร้อยละ ๖๐-๖๙

คุณภาพ ระดับดี รอ้ ยละ ๖๐-๖๙
๖. จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนบั สนุนการบริหารจัดการและการ

จดั การเรียนรู้

๔๖

มาตรฐาน/ประเด็นพิจารณา คา่ เป้าหมาย
ระดับคณุ ภาพ ค่าร้อยละ
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ ระดับดีเลิศ รอ้ ยละ ๗๐-๘๙
๑. จัดการเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ัตจิ รงิ และสามารถนาไป ระดบั ดเี ลิศ ร้อยละ ๗๐-๘๙
ประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจาวันได้
๒. ใช้สือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหลง่ เรยี นรทู้ ีเ่ อ้ือต่อการเรียนรู้ ระดบั ดเี ลิศ รอ้ ยละ ๗๐-๘๙
๓. มกี ารบริหารจดั การชัน้ เรียนเชิงบวก ระดบั ดเี ลิศ รอ้ ยละ ๗๐-๘๙
๔. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบและนาผลมาพัฒนาผเู้ รยี น ระดบั ดีเลศิ ร้อยละ ๗๐-๘๙
๕. มกี ารแลกเปล่ยี นเรียนรู้และใหข้ ้อมูลสะท้อนกลับเพอื่ พฒั นาและปรบั ปรงุ ระดับดเี ลศิ ร้อยละ ๗๐-๘๙
การจดั การเรียนรู้

การกาหนดคา่ เป้าหมาย

๑. ศกึ ษาข้อมูลเดมิ ผลการประเมินตา่ งๆ ทผี่ า่ นมา เพ่ือเปน็ ขอ้ มลู ฐานในการกาหนดคา่ เปา้ หมาย

๒. การกาหนดคา่ เปา้ หมายแต่ละมาตรฐานควรกาหนดเป็นระดับคณุ ภาพ ๕ ระดับ เพือ่ ให้สอดคล้องกับ

การประเมิน ดงั น้ี

ตารางเทยี บเคยี ง

ระดับคุณภาพ คา่ ร้อยละ

ระดับ ๕ ยอดเยี่ยม มากกวา่ ร้อยละ ๙๐

ระดบั ๔ ดเี ลิศ ร้อยละ ๗๐-๘๙

ระดับ ๓ ดี รอ้ ยละ ๖๐-๖๙

ระดับ ๒ ปานกลาง รอ้ ยละ ๕๐-๕๙

ระดบั ๑ กาลังพัฒนา น้อยกว่าร้อยละ ๕๐

๓. การกาหนดค่าเป้าหมาย ในแต่ละประเด็นพิจารณา จะกาหนดเป็นระดบั คุณภาพ หรือ เปน็ ร้อยละ
ตามความเหมาะสมกับบรบิ ทของสถานศึกษา

๔๗

คาสั่งโรงเรยี นท่าบ่อ
ท่ี ๑๗๘/๒๕๖๑

เร่อื ง แต่งต้ังคณะกรรมการจดั ทามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
----------------------------------------------------------------------------------------
พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ ระบใุ หก้ ารประกนั คุณภาพการศึกษาเปน็ สว่ น
หนึง่ ของกระบวนการบริหารการศึกษาท่กี าหนดให้สถานศกึ ษาและหน่วยงานตน้ สงั กัดตอ้ งดาเนินการอยา่ ง
ตอ่ เน่อื งทง้ั ระบบการประกนั คณุ ภาพภายใน และระบบการประกนั คณุ ภาพภายนอก ในสว่ นของการประกนั
คณุ ภาพภายในนั้น ตามประกาศคณะกรรมการประกนั คณุ ภาพภายในระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ระบใุ ห้
สถานศกึ ษากาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เพ่ือเปน็ แนวทางการในการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา
โรงเรยี นทา่ บ่อ จะดาเนินการจดั ทามาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา เพื่อเปน็ แนวทางการ
พัฒนาคุณภาพการศกึ ษา โดยยึดหลักการมสี ่วนรว่ มของชมุ ชนและหนว่ ยงานที่เกย่ี วขอ้ ง ท้ังภาครัฐและเอกชน จงึ
แตง่ ต้ังคณะกรรมการจัดทามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มีหน้าท่ีในการร่วมประชมุ ปรึกษาหารอื และ
ดาเนินการจัดทามาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ให้มีความเหมาะสม สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาชาติ
ดงั นี้

๑. นายสมพงษ์ โสภณิ ตาแหนง่ ผูอ้ านวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ
รองประธานกรรมการ
๒. นำยไพฑูรย์ เชอื้ เมอื ง ตาแหน่ง รองผู้อานวยการโรงเรยี น กรรมการ
กรรมการ
๓. นำยรุ่งโรจน์ ตัณฑรตั น์ ตาแหน่ง รองผู้อานวยการโรงเรียน กรรมการ
กรรมการ
๔. นำงเพญ็ สริ ิ บุญยืน ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ กรรมการ
กรรมการ
๕. นายเจริญ รอดมา ตาแหนง่ ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ
กรรมการ
๖. นางทองวนั เบา้ สิงห์สวย ตาแหน่ง ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการ
กรรมการ
๗. นายสุชิน โพธวิ ทิ ย์ ตาแหน่ง ครชู านาญการพิเศษ กรรมการ
กรรมการ
๘. นายนคิ ม เคหะฐาน ตาแหนง่ ครูชานาญการพเิ ศษ กรรมการ

๙. นางรัชนก สุบนิ ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

๑๐.นางไพรนิ ทร์ สีลาคา ตาแหน่ง ครูชานาญการพิเศษ

๑๑.นายชานนท์ ตรงดี ตาแหนง่ ครูชานาญการพเิ ศษ

๑๒.นายสรุ ยิ า หา้ วหาญ ตาแหน่ง ครูชานาญการ

๑๓.นายพษิ ณุ สาระจนั ทร์ ตาแหน่ง ครูชานาญการ

๑๔.นายเจษฎา ขามรตั น์ ตาแหนง่ ครู

๑๕.นายวิทยา จอมทอง ตาแหน่ง ครู

๔๘
๑๖.นำงสำวญำฐิษตำ วงศก์ อ่ ตาแหนง่ ครชู านาญการพิเศษ กรรมการและเลขานุการ
๑๗.นำงปนดั ดำ เนนิ นิล ตาแหนง่ ครชู านาญการพเิ ศษ กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ
ขอให้คณะกรรมการทไี่ ด้รับการแต่งตั้งทุกคน ปฏิบัติหน้าทีท่ ี่ได้รบั มอบหมาย ให้บรรลตุ ามวัตถุประสงค์
ของการดาเนินงาน เปน็ ไปด้วยความเรยี บรอ้ ย เกิดประโยชน์สูงสดุ ต่อราชการ

ทัง้ น้ี ตงั้ แตว่ นั ที่ ๑๑ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๖๑
สั่ง ณ วนั ที่ ๑๑ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๖๑

(นำยสมพงษ์ โสภิณ)
ผอู้ ่ำนวยกำรโรงเรียนท่ำบ่อ

๔๙

บันทึกการให้ความเห็นชอบการจัดทามาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
.............................................

ตามทโ่ี รงเรยี นทา่ บ่อ ได้จัดทามาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา และนาเสนอขอความเหน็ ชอบตอ่
คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ในการการประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน
โรงเรียนทา่ บอ่ ครั้งท่ี ๕/๒๕๖๑ ในวนั พธุ ที่ ๘ เดือน สงิ หาคม ๒๕๖๑ เวลา ๐๙.๓๐ น. ณ ห้องประชมุ
ประทปี คูหาทองโรงเรียนทา่ บ่อนนั้ ข้าพเจา้ และคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พื้นฐาน ไดศ้ ึกษารายละเอียดของ
การจัดทามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาแล้ว ปรากฏวา่ มีความเหมาะสมสอดคลอ้ งกับผลการดาเนนิ งานของ
สถานศกึ ษา

ขา้ พเจา้ และคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงให้ความเห็นชอบการจัดทามาตรฐานการศึกษาข้ัน
พน้ื ฐาน โรงเรียนท่าบ่อ และขอให้ทางโรงเรียนได้นาผลการจัดทามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ดาเนินงาน
ไปพฒั นาคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐานตามทก่ี าหนดไว้

............................................
(นำยสมเกยี รติ ตระกูลฟำรม์ ธวัช)
ประธานกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานโรงเรียนทา่ บอ่

๘ สงิ หาคม ๒๕๖๑

๕๐

ประกาศโรงเรยี นทา่ บอ่
เรอ่ื ง แต่งต้ังคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบระบบประกนั คณุ ภาพ

และประเมินคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา
..............................................................................................................

ตามทม่ี กี ารประกาศใช้กฎกระทรวงว่าดว้ ยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธกี ารประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ.

๒๕๕๓ และประกาศคณะกรรมการการประกนั คณุ ภาพภายในระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน เรอื่ ง กาหนดหลักเกณฑ์

และแนวปฏบิ ัติเก่ยี วกับการประกันคณุ ภาพภายใน ระดบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑ ที่กาหนดให้

สถานศกึ ษาระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน จัดให้มีการตดิ ตาม ตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษาทัง้ ระดับบคุ คลและระดบั

สถานศกึ ษาอย่างนอ้ ยภาคเรียนละ ๑ ครัง้ พรอ้ มทง้ั จัดทารายงานผลและนาผลการติดตามตรวจสอบคณุ ภาพ

การศกึ ษาไปใชป้ ระโยชนใ์ นการปรับปรงุ พฒั นาสถานศึกษานนั้

เพอ่ื ให้การดาเนินงานเป็นไปดว้ ยความเรยี บร้อย โรงเรียนทา่ บอ่ จึงขอประกาศแตง่ ตง้ั คณะกรรมการ

ติดตาม ตรวจสอบระบบประกันคณุ ภาพและประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษาดังน้ี

๑. นายวีรยุทธ ชานัย ผ้อู านวยการโรงเรยี นทา่ บ่อ ประธานกรรมการ

๒. นายวรี ะศักด์ิ มาตยน์ อก ผู้ทรงคุณวฒุ ภิ ายนอก กรรมการ

๓. นางสาวญาฐิษตา วงศ์กอ่ ครู คศ.๓ กรรมการและเลขานุการ

คณะกรรมการท่ีได้รบั การแต่งต้ัง มหี น้าที่

๑. ติดตาม ตรวจสอบคณุ ภาพการศึกษาท้งั ระดบั บคุ คลและระดบั สถานศกึ ษาอยา่ งนอ้ ยภาคเรยี นละ

๑ ครัง้ และจัดทารายงานผลการติดตามตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา

๒. ประเมินคณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาอย่างนอ้ ยปลี ะ ๑ คร้งั และจัดทา

รายงานผลการประเมินคณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

ใหค้ ณะกรรมการทีไ่ ดร้ บั การแต่งตัง้ ปฏิบัติหนา้ ที่ท่ีไดร้ บั มอบหมายให้เปน็ ไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย มี

ประสิทธิภาพ โดยคานึงถึงประโยชน์ของทางราชการเป็นสาคญั

ท้งั น้ี ตั้งแต่บดั นี้เปน็ ตน้ ไป

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

(นายวรี ยทุ ธ ชานัย)
ผอู้ านวยการโรงเรยี นท่าบ่อ


Click to View FlipBook Version