The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือ ปฐมนิเทศ (ปรับปรุง)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by haris2krabi, 2023-09-16 19:50:06

คู่มือ ปฐมนิเทศ (ปรับปรุง)

คู่มือ ปฐมนิเทศ (ปรับปรุง)

1


2


3 คู่มือด�ำเนินโครงการส�ำหรับนักสื่อสารสุขภาวะ ของศูนย์สื่อสารเด็กไทยฯ ( องค์กรสาธารณประโยชน์ เลขที่ ๔๓๑๔ )


4 สารบัญ ส่วนที่ เนื้อหา หน้าที่ 1 แนะน�ำ สสส. 6 2 ท�ำความรู้จัก “เรา” ศูนย์สื่อสารเด็กไทยฯ 14 3 แนวทางปฏิบัติเมื่อรับทุนสนับสนุน 16 4 แนวทางการบริหารจัดการเงิน 51 5 ข้อพึงระวัง 66 6 Media Lab ก�ำกับและควบคุมสื่อ 71 7 ตัวอย่างแบบฟอร์มที่จ�ำเป็น 101 8 ช่องทางในการติดต่อ 114


5 แนะน�ำ สสส. 1


6 แนะน�ำ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เป็นหน่วยงาน ของรัฐที่มิใช่ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ พ.ศ. 2544 และอยู่ภายใต้การก�ำกับดูแล โดยคณะ กรรมการที่มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน เริ่มด�ำเนินงานเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2544 ด้วยเจตนาที่จะให้มีกองทุนเพื่อท�ำหน้าที่ในการโน้มน�ำและสนับสนุนให้ ประชาชนเกิดพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สิ่งแวดล้อม และ สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับอันตรายจากการบริโภคสุราและยาสูบ หรือสารอื่นที่ ท�ำลายสุขภาพ หรือจากพฤติกรรมการด�ำรงชีวิตที่ไม่ถูกต้อง


7 วิสัยทัศน์ “ทุกคนบนแผ่นดินไทยมีขีดความสามารถ สังคม สิ่งแวดล้อม ที่เอื้อต่อสุข ภาวะ” หมายถึง ทุกคนบนผืนแผ่นดินไทย ไม่แบ่งแยก เชื้อชาติ สัญชาติ สถานะทาง เศรษฐกิจและสังคม ควรมีความรู้ ความสามารถที่จะดูแลตนเองและครอบครัวให้มี สุขภาวะที่ดี รวมถึง สังคมไทยและสภาพแวดล้อม ที่รวมถึงการมีกฎหมาย มาตรการ ค่านิยม วัฒนธรรม และระบบสุขภาพที่สนับสนุนและเอื้ออ�ำนวยให้ทุกคนสามารถ ด�ำรงชีวิตได้อย่างมีสุขภาวะ พันธกิจ “จุดประกาย กระตุ้น สาน และเสริมพลังบุคคล และองค์กรทุกภาคส่วน ให้ มีขีดความสามารถและสร้างสรรค์ระบบสังคม ที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ” สสส. เป็นองค์ประกอบหนึ่งของระบบสุขภาพไทยมีบทบาทหน้าที่ในการจุด ประกายกระตุ้น และสนับสนุนพัฒนาการของระบบสุขภาพให้เป็นไปในทิศทางที่พึง ประสงค์ตามวิสัยทัศน์ข้างต้น สสส. ไม่มีบทบาทหน้าที่ในการเป็นผู้รับผิดชอบปฏิบัติการประจ�ำหรือปฏิบัติ การซ�้ำซ้อน แต่สสส. จะด�ำเนินงานด้วยการส่งเสริมสนับสนุนหน่วยงานต่างๆที่รวม เรียกว่า “ภาคี” โดยสสส. เน้นบทบาทการพัฒนาความเข้มแข็งของระบบสุขภาพ ในส่วนที่เป็นภาคสังคมท้องถิ่น และภาคนโยบายสาธารณะ สสส. ไม่มีภารกิจให้ บริการสุขภาพแต่อาจสนับสนุนให้การบริหารจัดการระบบบริการสุขภาพสอดรับ กับพัฒนาการของภาคสังคมท้องถิ่น และนโยบายสาธารณะ


8


9 สสส.จะด�ำเนินบทบาท ดังนี้ จุดประกายกระตุ้นและสนับสนุนงบประมาณสมทบแก่ภาคีผู้รับผิดชอบ นโยบายสาธารณะ เพื่อเกิดการเรียนรู้ ตระหนักถึงปัญหาของโทษภัยของ สุรา ยาสูบ และปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ต่อสุขภาพ เพื่อให้ภาคีเหล่านี้ร่วมด�ำเนินมาตรการลด ปัจจัยเสี่ยงดังกล่าว มาตรการการบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง และมาตรการสร้าง เสริมสุขภาพ กระตุ้นและสนับสนุนภาคีวิชาการ ภาคีปฏิบัติการ ภาคีนโยบาย ให้ท�ำงาน ร่วมกันเพื่อพัฒนาความรู้กระบวนการเรียนรู้ และจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่าง เป็นระบบเพื่อใช้สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สนับสนุนงบประมาณสมทบเพื่อพัฒนาขีดความสามารถบุคลากร และการ บริหารจัดการเพื่อสร้างเสริมสุขภาพในองค์กร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ ชุมชน กระตุ้นและสนับสนุนงบประมาณเพื่อส่งเสริมบทบาทของสื่อสาธารณะ สื่อมวลชน และเทคโนโลยีการสื่อสาร เพื่อประโยชน์ในการปรับเปลี่ยนค่านิยม ความ เชื่อ พฤติกรรมของประชาชนให้ไปสู่การลดปัจจัยเสี่ยงเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ


10 ในการด�ำเนินพันธกิจดังกล่าว สสส. จะใช้ขีดความสามารถในการจัดการและ จัดงบประมาณสมทบเพื่อการจุดประกายกระตุ้นและสนับสนุนเพิ่มประสิทธิภาพ แต่มิใช่จัดงบประมาณให้ในลักษณะงานประจ�ำหรือที่มิได้พัฒนาแนวคิดแนวทาง ใหม่ๆ ยุทธศาสตร์การท�ำงานสร้างเสริมสุขภาพ ยุทธศาสตร์หลัก : สานสามพลัง ยุทธศาสตร์ สานสามพลัง ประกอบด้วยพลังทางปัญญา พลังทางสังคม และพลังนโยบาย เป็นยุทธศาสตร์หลักส�ำหรับขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงและแก้ไข ปัญหาสุขภาวะที่ยาก และส�ำคัญในสังคมไทยอย่างสร้างสรรค์ที่กองทุนได้ใช้อย่าง ได้ผลตลอดมากองทุนยังคงใช้ยุทธศาสตร์นี้เป็นยุทธศาสตร์หลักต่อไป โดยกองทุน เป็นกลไกที่ช่วยสร้างความเข้มแข็งและสนับสนุนให้เกิดความเชื่อมโยงของ “พลัง” ทั้งสาม


11


12 กระบวนการท�ำงานของ สสส. สสส. มิได้เน้นบทบาทท�ำหน้าที่เป็นแหล่งทุนแต่มุ่งเป็นหน่วยกระตุ้น และ สนับสนุนให้เกิดการสร้างเสริมสุขภาพสสส. จึงสร้างระบบการท�ำงานเพื่อให้เกิด การพัฒนาโครงการ และกิจกรรมที่จะก่อผลกระทบ และน�ำไปสู่ความเปลี่ยนแปลง อย่างแท้จริง รวมทั้งมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ขั้นตอนการพิจารณา และพัฒนาข้อเสนอโครงการช่วงระหว่างการด�ำเนินงาน และหลังจากด�ำเนินงาน โครงการเสร็จสิ้นโดยประกอบด้วยระบบงาน 3 ส่วนได้แก่ 1. การพัฒนาข้อเสนอโครงการให้มีคุณภาพสูงโดยส่วนผู้ที่มีความเชี่ยววชาญ และ มีประสบการณ์จากภายนอกในสาขาที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาหลักในข้อเสนอโครงการ ร่วมเป็นคณะผู้พิจารณา และให้ข้อเสนอแนะ(Reviewer) ด้านวิชาการเพื่อพัฒนา โครงการให้มีคุณภาพ 2. การติดตามการประเมินผลและการตรวจสอบเชิงพัฒนาแก่โครงการเพื่อ สนับสนุนการท�ำงานของโครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากสสส. ตลอดจนศึกษา และค้นหาเงื่อนไขอุปสรรคโอกาส และบทเรียนเพื่อสร้างองค์ความรู้ในการท�ำงาน และพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง 3. การขยายผลจากกิจกรรมที่ด�ำเนินการเพื่อเผยแพร่ต้นแบบที่ดีสู่สาธารณะ ผ่าน ช่องทางการสื่อสารต่างๆและการผลักดันให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพใน ประเด็นส�ำคัญ


13 การพิจารณาโครงสร้างการสร้างเสริมสุขภาพ โครงการที่เสนอเข้ามายังส.ส. เพื่อพิจารณาขอรับการสนับสนุนจะเข้าสู่ กระบวนการพิจารณาและทราบผลภายในระยะเวลาประมาณ 60 วันโดยมีขั้นตอน กระบวนการพิจารณาโครงการดังนี้ 1. ขั้นการวิเคราะห์โครงการเบื้องต้น (Screening process) ป็นการวิเคราะห์ ว่าโครงการที่ส่งเข้ามาสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ และแนวทางการสนับสนุนโครง การของสสส. หรือไม่ ตลอดจนตรวจสอบความครบถ้วน และความถูกต้องของ เอกสารโครงการที่ไม่ผ่านการตรวจทาน ในขั้นนี้จะได้รับจดหมายแจ้งสาเหตุที่ไม่ ผ่านการพิจารณา และข้อแนะน�ำในการปรับปรุง หากต้องการเสนอเข้ามาใหม่ ส่วน โครงการที่ผ่านในขั้นนี้จะเข้าสู่ขั้นตอนต่อไป 2 . ขั้นการทบทวนโครงการด�ำเนินการ (Review Process) โดยผู้ทรงคุณวุฒิ ภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ในประเด็นเนื้อหาหลักของโครงการ เพื่อพิจารณาความเป็นไปได้ ความสมเหตุสมผลในด้านต่างๆและประโยชน์ที่จะได้ รับจากโครงการ รวมถึงความสอดคล้องตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนด จากนั้นจึงเข้าสู่ ขั้นตอนพิจารณาอนุมัติ 3 . ขั้นตอนการพิจารณาโครงการ (Approving Process) เป็นการพิจารณา จากความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิที่มีต่อโครงการ เพื่อประกอบการสนับสนุนหรือไม่ สนับสนุนโครงการ โดยทุกโครงการจะได้รับจดหมายแจ้งผลการพิจารณาพร้อม ชี้แจงเหตุผล และข้อเสนอแนะในการปรับปรุงโครงการ 4 . ขั้นท�ำสัญญา (Contracting Process) โครงการที่ผ่านการพิจารณาและได้ รับการอนุมัติจะได้รับการประสานงาน เพื่อให้เกิดข้อตกลงร่วมกันระหว่าง สสส. และผู้เสนอโครงการเกี่ยวกับรายละเอียดการสนับสนุนเช่น งบประมาณ ระยะเวลา การน�ำส่งผลงาน และการเบิกเงินงวดและเงื่อนไขการรับทุนอื่นๆ เป็นต้น


14 ท�ำความรู้จัก “เรา” ศูนย์สื่อสารเด็กไทย เป็นองค์กรที่ขับเคลื่อนการด�ำเนินงานด้านการใช้สื่อเป็นเครื่องมือในการ ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชน ด้วยกระบวนการเรียนรู้และสร้างสรรค์ โดยสอดคล้องกับความต้องการ และการพัฒนาศักยภาพเด็ก เยาวชน และ ครอบครัว ผ่านการมีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์ โดยเริ่มต้นจดทะเบียนเมื่อปี 2558 เป็น องค์กรสาธารณประโยชน์ ทะเบียน เลขที่ 4314 ที่ผ่านมา ได้ด�ำเนินโครงการในการพัฒนาคนรุ่นใหม่ ทั้งในระดับชุมชน จังหวัด และภูมิภาค(ใต้) จนได้รับรางวัล “สื่อสร้างสรรค์ส�ำหรับเด็กและเยาวชนดีเด่น” จาก กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ประจ�ำปี 2561 และ รางวัลผู้ใช้ประโยชน์ ดีเด่น จากสภาผู้ชมและผู้ฟังรายการ องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะ แห่งประเทศไทย


15


16 แนวทางปฏิบัติ เมื่อรับทุนสนับสนุน


17 กระบวนการทำงานของ NODE สสส. ศูนย์สื่อสารเด็กไทยฯ (องค์กรสาธารณประโยชน์ ทะเบียนเลขที่4314) ซึ่งทำหน้าที่เป็น Node หรือ หน่วยจัดการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการสื่อสารสุขภาวะ มีบทบาทหน้าที่ ฐานะกลไกสำคัญในการดำเนินงาน ติดตามและให้คำปรึกษา พี่เลี้ยง ตลอดจนกลุ่ม แกนนำที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ ในการร่วมกับขับเคลื่อนผ่านการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการ สื่อสารสุขภาวะ ผ่านสังคมออนไลน์ 1 2 3 4 พัฒนาข้อเสนอโครงการให้มีคุณภาพ พัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการ ติดตามและเสริมพลัง กำกับควบคุมและการประเมินผลการเผยแพร่สื่อ 5 6 ขยายผลจากกิจกรรมที่ดำเนินการ ถอดบทเรียนการดำเนินงาน โดย สสส. เชิญผู้ที่มีความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ภายนอก ร่วมเป็นคณะผู้พิจารณาและให้ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาโครงการ ปฐมนิเทศเพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารโครงการ และ จัดอบรมพัฒนาศักยภาพให้แก่คณะทำงานของโครงการย่อย ติดตามความก้าวหน้า สนับสนุน และเสริมพลังการทำงาน สร้างพื้นที่ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้สื่อสุขภาวะที่โครงการย่อยผลิตขึ้น กำกับดูแลสื่อที่โครงการย่อยผลิตขึ้น ผ่านรูปแบบ Media Lab โดยพิจารณาความเหมาะสม รวมถึงเสริมหนุนการเผบแพร่สื่อ เพื่อเผยแพร่ต้นแบบสื่อที่ดีสู่สาธารณะผ่านช่องทางการสื่อสารต่างๆ และผลักดันสื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพในประเด็นสำคัญ การถอดบทเรียนโครงการ โอกาสในการพัฒนาต่อยอดขยายผล หรือ ผลงานที่ประสบความสำเร็จเพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ สสส.


18 เงื่อนไขสำ�คัญที่เกี่ยวข้องสำ�หรับโครงการ ที่จะไม่ได้รับการพิจารณากลั่นกรอง 1.บุคคลหรือองค์กรที่เสนอโครงการ ที่ได้รับการสนับสนุนจากผู้ผลิตสุราหรือยาสูบ หรือสินค้าทำลายสุขภาพ 2.บุคคลหรือองค์กรที่กำลังได้รับการสนับสนุนจาก สสส. และมีประวัติด่างพร้อยใน การปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามข้อตกลงหรือได้สร้างความเสี่อมเสียแก่ สสส. หรือแก่ บุคคลอื่นๆในสังคม 3.โครงการที่มีจุดมุ่งหมายหรือเกี่ยวพันผลประโยชน์ทางการเมืองอย่างชัดเจน 4.โครงการที่มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการหาทุน หากำไร ลงทุนเพื่อการแสวงหากำไร หรือจัดตั้งกองทุนต่างๆ มุ่งเน้นการตั้งงบประมาณเป็นค่าตอบแทน ให้รางวัล/สิ่งของ หรือจัดซื้อรางวัล 5.โครงการด้านการปฏิบัติการเน้นในพื้นที่ออนกราน์เป็นหลัก เช่น การจัดค่าย การจัด อบรม การแข่งขัน การจัดประกวด การจัดนิทรรศการแสดงผลงาน เป็นต้น 6.โครงการที่มีมุ่งจัดหา ครุภัณฑ์หรืออุปกรณ์ขนาดใหญ่ เช่น อุปกรณ์กล้องถ่ายรูป กล้องวิดีโอ คอมพิวเตอร์ เครื่องอัดสียง ฉาก ชุดไฟสตูดิโอ เป็นต้น 7.โครงการจัดตั้งสำนักงาน หรือโครงการที่มีเจตนาหารายได้เข้าสำนักงานเป็นหลัก 8.โครงการที่มุ่งเน้นค่าใช้จ่ายเป็นเงินเดือน ค่าตอบแทนของผู้เสนอโครงการและคณะ ทำงานหรือค่าใช้จ่ายสำนักงาน 9.โครงการที่การดำเนินงานมีเพียงกิจกรรมเดียว หรือเป็นกิจกรรมระยะสั้น ที่ไม่ส่งผล ต่อการเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย 10.โครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานรัฐ หรือองค์กร หรือชุมชน นั้นอยู่แล้ว 11.โครงการที่ไม่มีการแจกแจงรายละเอียดงบประมาณแบบราคา/หน่วยในแต่ละ กิจกรรมอย่างชัดเจน 12.โครงการที่คาดว่าไม่สามารถดำเนินงานตามระยะเวลาที่กำหนด และไม่สามารถเข้า ร่วมกิจกรรมที่ทางหน่วยจัดการได้ออกแบบไว้


19


20


21


22


23


24


25


26 Digitor เป็นคำ�ที่มาจากคำ�ว่า Digital และ Creator ซึ่งหมายถึง ..ผู้สร้างสรรค์ ในโลกดิจิทัล.. ผ่านการ เป็น “พลเมืองดิจิทัลสร้า งสรรค์สื่อสุขภ า วะ” หรือ “ Digital Citizen Creative for Health ” “ เทคโนโลยี ” เปลี่ยน “ วิถีชีวิต ” ในยุคที่เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการดำเนินชีวิต ของผู้คนในสังคมปัจจุบันอย่างมาก การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น จาก Disruptive Technology หรือ แนวคิด ที่เทคโนโลยีเปลี่ยนวิถีชีวิต เทคโนโลยีดิจิทัลได้ถูกนำ มาอำ นวยความสะดวกใน การดำ เนินชีวิตประจำ วัน การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ จึงมีความจำ เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การใช้ Social Media ของคนรุ่นใหม่ที่สามารถสร้างสรรค์และออกแบบในการสื่อสารที่สามารถ พัฒนาศักยภาพการใช้สื่อเทคโนโลยีดิจิทัลที่ทันสมัย รู้เท่าทัน พลังพลเมือง ดิจิทัลจึงมีความจำ เป็นต่อการสร้าง “นักสื่อสารดิจิทัลสร้างสรรค์” สู่การเปลี่ยนแปลงผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อให้คนไทยเกิดความตระหนัก รู้และมีทันคติเชิงบวกทางสุขภาวะมากขึ้น


27


28


29


30


31


32


33


34


35


36


37


38


39


40


41


42


43


44


45


46


47


48


49


50


Click to View FlipBook Version