The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือ ปฐมนิเทศ (ปรับปรุง)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by haris2krabi, 2023-09-16 19:50:06

คู่มือ ปฐมนิเทศ (ปรับปรุง)

คู่มือ ปฐมนิเทศ (ปรับปรุง)

51 แนวทางการบริหาร จัดการเงิน


52


53


54


55


56


57


58


59


60


61


62


63


64


65 เอกสารประกอบ ใบส�ำคัญรับเงิน งน. 1 ที่ หมวด เอกสาร 1 ค่าตอบแทบ ส�ำเนาบัตร ปชช. 2 ค่าอาหาร ส�ำเนาบัตร ปชช. , ใบลงทะเบียน ต่อ มื้อ/วัน/คน (ถ้า เป็นจ่ายต่อคนให้ใช้ใบส�ำคัญรับคนละใบ) ถ้าจ้างเกิน 10,000 ขึ้นไปต้อง หัก ภาษี ณ.ที่จ่าย 1% 3 ค่าที่พัก บิลเงิน / ใบเสร็จ/ใบก�ำกับภาษี ใบลงทะเบียน รายชื่อ ผู้เข้าพัก พร้อม หมายเลขห้อง พัก 4 ค่าพาหนะ ค่าTAXI ส�ำเนาบัตร ปชช. 5 ค่าพาหนะ รถยนต์ ส่วนตัว 1. ส�ำเนาบัตร ปชช. / ชื่อผู้ที่โดยสารมาด้วย (ถ้ามี) 2. ส�ำเนา ทะเบียนรถ 3. google map หรือ app ค�ำนวณระยะทาง 6 ค่าพาหนะ รถตู้ 1. ส�ำเนาบัตร ปชช. ของคนขับรถตู้ 2. ส�ำเนา ทะเบียนรถ ของรถตู้ 3. ชื่อผู้ที่โดยสารมาด้วย 7 ค่าพาหนะ รถทัวร์ + รถไฟ 1. ส�ำเนาบัตร ปชช. 2. กากตั๋วรถ ไป - กลับ 8 ค่าจ้าง 1. ส�ำเนาบัตร ปชช. 2. ถ้าจ้างเกิน 10,000 ขึ้นไปต้อง หัก ภาษี ณ.ที่จ่าย 1% 9 ค่าอุปกรณ์ 1. ส�ำเนาบัตร ปชช. กรณีไม่มี บิลเงินสด 2. ใบเสร็จ / ใบก�ำกับภาษี


66 ข้อพึงระวัง


67


68


69


70


71 Media Lab ก�ำกับและควบคุมสื่อ


72


73


74 Media Lab ก�ำกับและควบคุมสื่อ กระบวนการกำกับดูแลและการประเมินผลการเผยแพร่สื่อ ค วาม สำคั ญ ใ น ห น้าที่ นี้ คื อ ก าร ติ ด ตามโครงก าร ย่ อ ย ผ ลิ ต ผ ล งาน สื่ อ กิจกรรม โดยพิจารณาความเหมาะสม รวมถึงควบคุมและเสริมหนุนการเผย แพร่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อสังคมในวงกว้าง โดยมีกระบวนการสำคัญ ดังนี้ 1.ผลิตสื่อ 2.ตรวจสอบภายใน โครงการย่อย รายงานกิจกรรรมและ อัลบั้มภาพกิจกรรม Line Group google form Media Lab รายงานผล การดำเนินงาน กิจกรรม ปจด. ส่งผลงานตรวจสอบ โดยพิจารณา 3 ส่วนสำคัญ ได้แก่ 1) ด้านเนื้อหา 2) ด้านคุณภาพสื่อ 3) ด้านจริยธรรม/ความถูกต้อง ผ่านโปรแกรม “ Trello ”


75 เริ่มต้นใช้งาน Trello การติดตั้งและใช้งานแอปพลิเคชันใหม่ไม่ใช่เรื่องเล็ก ๆ เราจะแนะน�ำใช้งาน Trello ด้วยความเร็วและไม่ซับซ้อน เพื่อใช้ติดตามความก้าวหน้าในกิจกรรมร่วมกันใน Trello ได้ทันที! ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม..


76 การใช้งานกระดานเบื้องต้น กระดาน Trello มีส่วนประกอบส�ำคัญ 4 ชิ้น A - กระดาน หมายถึง กิจกรรมสื่อเพื่อติดตามข้อมูล B - รายการ ช่วยให้การ์ด (C) เป็นระเบียบในความคืบหน้าในขั้นตอนต่าง ๆ โดย สามารถใช้เพื่อสร้างเวิร์กโฟลว์ที่การ์ดจะถูกย้ายข้ามรายการตั้งแต่ต้นจนจบ หรือ เพียงท�ำหน้าที่เป็นที่เพื่อติดตามความคิดและข้อมูล ไม่จ�ำกัดจ�ำนวนรายการที่คุณ สามารถเพิ่มลงในกระดานและสามารถจัดเรียงตามที่คุณต้องการได้ C - การ์ด หน่วยพื้นฐานของกระดาน คือ การ์ด การ์ดถูกน�ำมาใช้เพื่อแสดงงาน และความคิด การ์ดสามารถเป็นสิ่งที่ต้องท�ำ หรือสิ่งที่ต้องจดจ�ำ D - เมนู ศูนย์ควบคุมภารกิจส�ำหรับกระดานกิจกรรม


77


78


79 1. Descriptive Analytics (การวิเคราะห์แบบพื้นฐาน) การวิเคราะห์ข้อมูลแบบพื้นฐานเป็นการดูข้อมูลแบบเบื้องต้นโดยสรุปและ รายงานสิ่งที่เกิดขึ้น ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะท�ำให้ทราบเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เกิดขึ้นในอดีต เช่นการรับทราบพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายที่เคยรับชมผลงานก่อนหน้านี้ พฤติการเข้าถึงของผู้ชมในกิจกรรมที่ผ่านมา ช่องทางที่มีคนเข้าถึง แน่นอนว่าการวิเคราะห์ข้อมูลแบบพื้นฐานมักเป็นจุดเริ่มต้นของการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งก็อาจจะมีการเจาะลึกหรือดูข้อมูลเชิงลึกในบางเรื่องเพื่อน�ำไปสู่การคาดเดาต่อไป อย่างไรก็ตาม ข้อจ�ำกัดของการวิเคราะห์แบบนี้ คือการที่ผู้วิเคราะห์จะมีแค่ข้อมูล ตรงหน้าเท่านั้น ท�ำให้มีข้อจ�ำกัดจากจ�ำนวนข้อมูลที่เกิดขึ้น 2. Diagnostic Analytics (การวิเคราะห์แบบวินิจฉัย) ถ้าหากการวิเคราะห์ข้อมูลแบบพื้นฐานท�ำการคาดเดาโดยอาศัยข้อมูลและการตั้ง ค�ำถามที่เหมาะสม การวิเคราะห์ข้อมูลแบบวินิจฉัยจะเป็นการเจาะลึกและกรอง ข้อมูลวิเคราะห์พื้นฐานดังกล่าว เพื่อค้นหาสาเหตุและลักษณะของสิ่งที่เกิดขึ้น ทั้งนี้ การวิเคราะห์แบบวินิจฉัยมักจะเกิดขึ้นต่อเนื่องจากการวิเคราะห์แบบพื้น ฐานโดยเกิดจากการตั้งค�ำถามเช่น “อะไรคือสาเหตุที่ท�ำให้คนเข้าเว็บไซต์เพิ่ม ขึ้น” “อะไรคือสาเหตุที่ท�ำให้โฆษณานี้มีคนคลิกมาเป็นพิเศษ” แล้วก็จะท�ำการ วิเคราะห์หาค�ำตอบจากข้อมูลที่มี หรือสามารถน�ำไปสู่การตั้งค�ำถามต่อๆ ไปได้ เช่น “สิ่งที่เกิดขึ้นนี้ดีหรือไม่ดี” เป็นต้น


80 3. Predictive Analyitcs (การวิเคราะห์แบบพยากรณ์) ถ้าเราบอกว่าการวิเคราะห์ข้อมูลปรกติ คือ การดูว่าเกิดอะไรขึ้นที่ผ่านมา และ พยายามหาค�ำตอบจากสิ่งเหล่านั้น การวิเคราะห์ข้อมูลแบบพยากรณ์คือการใช้ เทคโนโลยีอย่าง Machine Learning / AI ในการทลายข้อจ�ำกัดการวิเคราะห์ แบบเดิมๆ เพื่อสามารถหารูปแบบ (Pattern) หรือความสัมพันธ์ของข้อมูล ต่างๆ ซึ่งปรกติเป็นเรื่องยากที่จะท�ำได้ แล้วสามารน�ำมาพยากรณ์ได้ถึงรูป แบบที่มีแนวโน้มจะเกิดขึ้น (หรือมีความเป็นไปได้ที่จะเกิดขึ้น) 4. Prescriptive Analytics (การวิเคราะห์แบบให้ค�ำแนะน�ำ) การวิเคราะห์แบบแนะน�ำนั้นจะมาต่อเนื่องกับการวิเคราะห์แบบพยากรณ์ กล่าว คือพอเราสามารถพยากรณ์ได้ว่ามีอะไรที่มีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้น ระบบก็จะ สามารถให้คะแนะน�ำต่อได้ว่าเราจะสามารถรับมือหรือแก้ไขสถานการณ์ได้อย่างไร หรือในอีกทางหนึ่งก็เช่นการแนะน�ำให้เห็นถึงโอกาสใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น เป็นต้น จากรูปแบบ 4 อย่างที่หยิบมาเล่าในบทความนี้นั้น จะเห็นว่าการ วิเคราะห์แบบพื้นฐานและการวิเคราะห์แบบวินิจฉัยนั้นเป็นสิ่งที่เราท�ำกัน อยู่บ้างแล้วในปัจจุบัน แต่การวิเคราะห์แบบพยากรณ์กับการวิเคราะห์แบบ ให้ค�ำแนะน�ำนั้นเป็นโอกาสใหม่ที่เกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยี Machine Learning / AI เข้ามาช่วยเนื่องจากเป็นการเรียนรู้จากข้อมูลต่างๆ ซึ่งท�ำให้ โอกาสการใช้ประโยชน์ของข้อมูลเหล่านี้เปิดกว้างมากขึ้นกว่าแต่ก่อน ด้วยเหตุนี้เอง จึงไม่น่าแปลกใจที่ว่าเรื่องของ AI จึงเป็นสิ่งที่หลายๆ ธุรกิจให้ความส�ำคัญมากเช่นเดียวกับที่ผลส�ำรวจหลายๆ ที่ก็ชี้ให้เห็นว่าธุรกิจที่ มีการน�ำเทคโนโลยีนี้มาผนวกกับการท�ำการตลาดนั้น จะมีประสิทธิภาพในการ ท�ำงานมากขึ้น เช่นเดียวกับผลลัพธ์ที่ได้ก็ดีขึ้ตามมาด้วยเช่นกัน


81 ข้อบังคับกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ว่าด้วยการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา พ.ศ. 2559 โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงข้อบังคับกองทุนสนับสนุนการสร้าง เสริม สุขภาพ ว่าด้วยการบริหารจัดการ ทรัพย์สินทางปัญญา ให้มีความเหมาะ สมยิ่งขึ้น อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 21 (5) (ฉ) และ (7) แห่งพระราช บัญญัติกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ พ.ศ. 2554 ประกอบกับมติ คณะกรรมการ กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ในการประชุม ครั้ง ที่ 11/2558 เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ จึงออก ข้อบังคับไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ข้อบังคับกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุข ภาพ ว่าด้วยการบรหิ ารจัดการทรัพย์สินทางปัญญาพ.ศ.2559” ข้อ 2 ข้อบังคับนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกข้อบังคับกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพว่าด้วย การ บริหารจัดการทรัพย์สิน ทางปัญญา พ.ศ. 2557 ข้อ 4 ในข้อบังคับนี้ “กองทุน” หมายความว่า กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุข ภาพ “สํานักงานกองทุน” หมายความว่า สํานักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ “ผู้จัดการ” หมายความว่า ผู้จัดการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ “ทรัพย์สินทางปัญญา” หมายความว่า ผลงานที่เกิดจากการใช้ ปัญญาและความคิดสร้างสรรค์ทําการศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา ออกแบบ ประดิษฐ์ หรือสร้างสรรค์ของผู้สร้างสรรค์ โดยการจ้างหรือโดยการให้ทุน หรือ โดยคําสั่งหรือความควบคุมของสํานักงานกองทุน หรือโดยการใช้ ทรัพยากร ของสํานักงานกองทุนในการสร้างสรรค์ ผลงานไม่ว่าจะขอจด ทะเบียน ตามกฎหมายหรือไม่ก็ตาม อาทิ ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตรการประดิษฐ์ อนุ สิทธิ บัตร สิทธิบัตร การออกแบบผลิตภัณฑ์ เครื่องหมายการค้า เครื่องหมาย รับรอง เครื่องหมายบริการ เครื่องหมายร่วม ความลับ


82 ทางการค้า แบบผังวงจรรวม สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการ คุ้มครองพันธุ์พืช “การบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา” หมายความว่า การกระทํา ใด ๆ เกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อให้ได้มาหรือรักษาไว้ซึ่งสิทธิหรือ การ คุ้มครองและปกป้องทรัพย์สินทางปัญญา (Protection) การนํา ทรัพย์สินทาง ปัญญาไปใช้ประโยชน์ (Utilization) การบังคับใช้สิทธิ (Enforcement) และ การดําเนินการอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับ ทรัพย์สินทาง ปัญญา “การจ้าง” หมายความว่า การจ้างทําของตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ รวมถึงการจ้างเหมาบริการ แต่ไม่รวมถึงการจ้างลูกจ้างหรือ การ จ้างเจ้าหน้าที่ตามข้อบังคับกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ว่าด้วยการ บริหารงานบุคคลและการจ้างแรงงานตามประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ “การให้ทุน” หมายความว่า การให้เงินสนับสนุนเพื่อจัดกิจกรรม สร้างเสริมสุข ภาพตามหลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรเงินเพื่อการสนับสนุน โครงการและกิจกรรม “กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ” หมายความว่า กิจกรรมที่มุ่งกระทํา เพื่อสร้างเสริมให้ บุคคลมีสุขภาวะทางกาย จิต ปัญญา และสังคม โดย สนับสนุนพฤติกรรมของบุคคล สภาพ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่จะนําไปสู่ การมีร่างกายที่ แข็งแรง สภาพจิตที่สมบูรณ์ อายุยืนยาว และคุณภาพชีวิต ที่ดี ไม่ว่าจะพัฒนาเป็นโครงการ (project) ชุดโครงการ (project package) หรือแผนงาน (program) ตามหลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรร เงินเพื่อการสนับสนุน โครงการและ กิจกรรม หรือเป็นการดําเนินการอื่นใด ตามวัตถุประสงค์ของกองทุน “ผลประโยชน์” หมายความว่า ผลตอบแทนเป็นตัวเงินหรือ ผลประโยชน์อื่นใด ที่สามารถคํานวณมูลค่าเป็นตัว เงินได้ซึ่งเกิดขึ้นจากการ นําทรัพย์สินทางปัญญาไปใช้ ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ “ผู้สร้างสรรค์” หมายความว่า บุคคลธรรมดาหรือคณะบุคคลที่ ดําเนินการ หรือมีส่วนร่วมในการดําเนินการ ศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา ออกแบบ ประดิษฐ์ หรือ สร้างสรรค์ทรัพย์สินทางปัญญา “หน่วยงานต้นสังกัด” หมายความว่า ผู้รับทุนที่มีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็นต้น สังกัดของผู้สร้างสรรค์ ไม่ว่าจะอยู่ในฐานะข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง เจ้าหน้าที่ หรือ ผู้ปฏิบัติงานเป็นประจําอยู่ในหน่วยงานนั้น และมีนิติสัมพันธ์กับกองทุนไม่ว่าจะเป็น ผู้รับทุนจากกองทุนโดยตรงหรือเป็นผู้รับทุน รายย่อยต่อจากผู้รับทุนอีกทอดหนึ่ง


83 “ผู้รับทุน” หมายความว่า บุคคล คณะบุคคล นิติบุคคล หรือ หน่วย งานของรัฐ ที่เป็นคู่สัญญารับทุนจาก กองทุนเพื่อจัดกิจกรรมสร้าง เสริมสุข ภาพหรือทําหน้าที่พัฒนาให้เกิดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพหรือ สนับสนุน ทุนให้แก่ ผู้รับทุนรายย่อยตามสัญญารับทุน “ผู้ร่วมทุน” หมายความว่า บุคคล คณะบุคคล หรือนิติบุคคลที่มี ความ สนใจและลงทุนสร้างผลงานร่วมกับ กองทุนไม่ว่าจะเป็นการลงทุนใน รูปของเงิน สนับสนุนหรือทรัพย์สินที่สามารถประเมินมูลค่าเป็นตัวเงินได้ “ศูนย์บริหารทรัพย์สินทางปัญญา” หมายความว่า ส่วนงานที่ ผู้ จัดการมอบหมายหรือจัดตั้งขึ้นใหม่ เพื่อทําหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุน การ สร้างทรัพย์สินทางปัญญา (Creation) ส่งเสริมและสนับสนุนการ คุ้มครอง และ ปกป้องทรัพย์สินทางปัญญา (Protection) ส่งเสริมและ สนับสนุน การนําทรัพย์สินทางปัญญาไปใช้ประโยชน์ (Utilization) และ ส่งเสริมและ สนับสนุนการบังคับใช้สิทธิ์ (Enforcement) ข้อ 5 ให้ประธานกรรมการรักษาการตามข้อบังคับนี้ และมีอํานาจออกคําสั่ง หรือประกาศเพื่อกําหนด หลักเกณฑ์ วิธีการ หรือเงื่อนไขในการปฏิบัติตาม ข้อบังคับนี้ ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามข้อบังคับนี้ ให้ประธาน กรรม การโดยคําแนะนําของ คณะกรรมการบริหารทรัพย์สินทางปัญญา เป็นผู้ วินิจฉัยชี้ขาด และคําวินิจฉัยนั้นให้ถือเป็นที่สุด หมวด 1 การถือครองและบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา ข้อ 6 ให้กองทุน ผู้รับทุน หน่วยงานต้นสังกัด และผู้ร่วมทุน เป็นเจ้าของ ทรัพย์สิน ทางปัญญาร่วมกัน ภายใต้เงื่อนไขตามข้อบังคับนี้ เว้นแต่จะมีการตกลง กันเป็น อย่างอื่น หรือในกรณีที่ทรัพย์สินทางปัญญาเกิดจาก การจ้าง ให้กองทุน เป็นเจ้าของ ทรัพย์สินทางปัญญาแต่เพียงฝ่ายเดียว ข้อ 7 ให้ผู้รับทุน หน่วยงานต้นสังกัด และผู้ร่วมทุน มีสิทธิใช้ประโยชน์จาก ทรัพย์สินทางปัญญาเฉพาะ ในกิจการของตนเองเท่าที่ไม่ขัดกับวัตถุประสงค์ ภายใต้ ข้อบังคับนี้ โดยไม่สามารถโอน จําหน่าย หรืออนุญาตให้ผู้ใดมีสิทธิใช้


84 ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญาได้ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากสํานักงาน กองทุนหรือมีการตกลงกัน เป็นอย่างอื่น การใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญาตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้รับทุน หน่วยงานต้นสังกัด และผู้ร่วมทุน ขออนุญาตใช้สิทธิต่อสํานักงานกองทุน ตาม วิธีการที่สํานักงานกองทุนกําหนด ข้อ 8 ให้กองทุนเป็นผู้มีสิทธิบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญาแต่เพียง ฝ่ายเดียว เว้นแต่จะมีการตกลงกัน เป็นอย่างอื่น เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการ ทรัพย์สินทางปัญญาตามวรรคหนึ่ง ให้กองทุน มีอํานาจมอบหมายหรือ จ้างให้หน่วย งานภาครัฐหรือเอกชนเป็นผู้รับผิดชอบการ บริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา ก็ได้โดยต้องคํานึงถึงประโยชน์แก่ส่วนร่วม ประสิทธิภาพและประสิทธิผลเป็น สําคัญ ข้อ 9 กองทุนอาจสงวนสิทธิความเป็นเจ้าของทรัพย์สินทางปัญญาแต่ เพียงฝ่ายเดียวหรือไม่โอนสิทธิการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญาให้แก่ผู้รับ ทุน หน่วยงานต้นสังกัด หรือผู้ร่วมทุนก็ได้ ในกรณีที่ทรัพย์สินทาง ปัญญานั้นมี ลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ (1) ทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวกับสิ่งจําเป็นในการป้องกันประเทศ (2) ทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวกับการป้องกันหรือบรรเทาสาธารณภัย ต่าง ๆ (3) ทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวกับการได้มา การสงวน หรือรักษา ซึ่ง ทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อม (4) ทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวกับการป้องกันหรือบรรเทาการขาดแคลน อาหาร ยา หรือสิ่งจําเป็นอื่น (5) ทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวกับการประกอบกิจการอันเป็น สาธารณูปโภค พื้นฐาน (6) ทรัพย์สินทางปัญญาที่อาจมีผลกระทบต่อประชาชนหรือสังคมในวง กว้าง (7) ทรัพย์สินทางปัญญาอื่นที่มีลักษณะทํานองเดียวกันตามที่สํานักงาน กองทุน กําหนด


85 หมวด 2 การโอนสิทธิการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา ข้อ 10 ให้สํานักงานกองทุนมีอํานาจโอนสิทธิการบริหารจัดการ ทรัพย์สิน ทางปัญญาให้แก่ผู้รับทุน หน่วยงานต้นสังกัด หรือผู้ร่วมทุน ไ ด ้ ใ น ก ร ณี ที่ ห น ่ ว ย งา น นั้ น ส า ม ารถแสดงได้ว่า มี คุ ณ ส ม บั ติ ดั ง ต่อไปนี้ (1) กําหนดนโยบายและแนวทางปฏิบัติด้านการบริหารจัดการทรัพย์สิน ทางปัญญาอย่างชัดเจน (2) กําหนดโครงสร้างองค์กรให้มีหน่วยงานที่รับผิดชอบงานด้านการ บริหาร จัดการทรัพย์สินทางปัญญา อย่างชัดเจน (3) กําหนดให้มีบุคลากรที่รับผิดชอบทํางานด้านการบริหารจัดการ ทรัพย์สินทางปัญญาเตม็ เวลา (4) เคยมีผลงานหรือความสําเร็จในการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา ในอดีต หรือกําหนดแผนหรือ แนวทางที่ชัดเจนเกี่ยวกับการผลักดันให้เกิด การนํา ทรัพย์สินทางปัญญาไปใช้ประโยชน์ภายใน 3 ปี (5) คุณสมบัติอื่นตามที่สํานักงานกองทุนกําหนด การโอนสิทธิการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญาตามวรรคหนึ่งไม่ กระทบสิทธิ ความเป็นเจ้าของทรัพย์สิน ทางปัญญาตามข้อ 6 ข้อ 11 ผู้รับทุน หน่วยงานต้นสังกัด หรือผู้ร่วมทุนที่มีคุณสมบัติครบ ถ้วน ตามข้อ 10 และต้องการจะขอรับ โอนสิทธิ์การบริหารจัดการทรัพย์สินทาง ปัญญา ให้ยื่นคําขอพร้อมหลักฐานที่เกี่ยวข้องต่อผู้จัดการในระหว่าง การจัดทํา ทรัพย์สิน ทางปัญญาหรือภายหลังการจัดทําทรัพย์สินทางปัญญาแล้วเสร็จ ข้อ 12 ในกรณีที่ผู้จัดการพิจารณาแล้วเห็นว่าผู้ยื่นคําขอมีคุณสมบัติ ครบถ้วน ตามข้อ 10 ให้ผู้จัดการพิจารณาอนุมัติเป็นรายกรณี แต่ถ้าผู้จัดการ พิจารณาแล้ว เห็นว่าผู้ยื่นคําขอรายใดมีคุณสมบัติไม่ครบ ครบถ้วนตามข้อ 10 หรือ มีเหตุอื่นใดที่ไม่ ควรโอนสิทธิ์การบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา ให้ผู้จัดการ ทําหนังสือ แจ้งให้ ผู้ยื่นคําขอรายนั้นทราบโดยเร็ว และให้ผู้ยื่นคําขอนั้นมีสิทธิ อุทธรณ์ผลการพิจารณา ต่อผู้จัดการภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งผลการ พิจารณา


86 ข้อ 13 ในกรณีที่สํานักงานกองทุนตกลงโอนสิทธิการบริหารจัดการ ทรัพย์สิน ทางปัญญาให้แก่ผู้รับทุน หน่วยงานต้นสังกัด หรือผู้ร่วมทุนแล้ว หาก หน่วยงานนั้น ไม่สามารถผลักดันให้เกิดการนําทรัพย์สินทางปัญญาไปใช้ ประโยชน์ ได้ภายใน 3 ปี นับแต่วันที่สํานักงานกองทุนตกลงโอนสิทธิการบริหารทรัพย์สิน ทางปัญญานั้น ให้ สํานักงานกองทุนเรียกคืนสิทธิ์การบริหารจัดการทรัพย์สินทาง ปัญญา เว้นแต่ผู้รับ ทุน หน่วยงานต้นสังกัด หรือผู้ร่วมทุนแสดงได้ ว่าจะผลักดัน ให้เกิดการนําทรัพย์สิน ทางปัญญาไปใช้ประโยชน์ได้ภายในเวลาที่สํานักงานกองทุน กําหนด หมวด 3 การจัดสรรผลประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญา ข้อ 14 ให้กองทุนจัดสรรผลประโยชน์ภายหลังหักค่าใช้จ่ายต่างๆ แล้วตาม สัดส่วนดังต่อไปนี้ เว้นแต่จะมีการตกลงกันเป็นอย่างอื่น (1) ร้อยละ 50 ของผลประโยชน์ทั้งหมด ให้จัดสรรแก่ผู้สร้างผลงานและ หน่วยงานต้นสังกัด หากผู้สร้างผลงานเป็นผู้รับทุนให้จัดสรรส่วนนี้ให้แก่ ผู้สร้าง ผลงานทั้งหมด (2) ร้อยละ 50 ของผลประโยชน์ทั้งหมด ให้จัดสรรแก่กองทุนและผู้ร่วม ทุน ทุกฝ่ายตามสัดส่วน การลงทุน (3) ร้อยละ 20 ของผลประโยชน์ที่กองทุนได้รับตาม (2) ให้จัดสรรแก่ ผู้รับ ทุนที่ทําหน้าที่พัฒนาให้เกิด กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพหรือสนับสนุน ทุน ให้แก่ผู้รับทุนรายย่อยตามสญั ญารับทุนโดยไม่ได้เป็นหน่วยงานต้นสังกัด ค่าใช้จ่ายตามวรรคหนึ่ง ให้หมายความรวมถึง ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการ ดําเนิน การขอรับความคุ้มครองและ ป้องกันสิทธิในประเทศ ได้แก่ ค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับ การตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การแก้ไขเพิ่มเติม การจดทะเบียน การ ชําระ ค่าธรรมเนียมรายปี การคุ้มครองหรือรักษาสิทธิเกี่ยวกับทรัพย์สินทาง ปัญญา ของผลงาน ตลอดจนค่าใช้จ่าย ในการดําเนินการนําผลงานไปใช้ประโยชน์ ใน เชิงพาณิชย์ และค่าบริหารจัดการผลงานในเชิงพาณิชย์ ให้กองทุน ผู้รับทุน หน่วยงานต้นสังกัด และผู้ร่วมทุน รับผิดชอบค่าใช้จ่าย ตามวรรคหนึ่งหน่วยงานละ หนึ่งส่วน เว้นแต่จะมีการตกลงกันเป็นอย่างอื่น


87 หมวด 4 คณะกรรมการบริหารทรัพย์สินทางปัญญา ข้อ 15 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการบริหาร ทรัพย์สินทางปัญญา” ประกอบด้วย ประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการ ไม่ น้อยกว่า 3 คน ซึ่งคณะกรรมการกองทุนแต่งตั้งจากบุคคลผู้มีความรู้ ความ สามารถและมีประสบการณ์ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ การบริหาร กฎหมาย และ ด้านอื่นๆ ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา โดย ให้ผู้จัดการเป็นกรรมการและเลขานุการ ข้อ 16 ให้คณะกรรมการบริหารทรัพย์สินทางปัญญามีวาระการดํารงตํา แหน่ง คราวละ 3 ปี ในกรณีที่กรรมการบริหารทรัพย์สินทางปัญญาพ้นจากตําแหน่งก่อนวาระ ให้มีการแต่งตั้งกรรมการบริหาร ทรัพย์สินทางปัญญาแทนตําแหน่งที่ว่างลง เว้น แต่วาระการดํารงตําแหน่งของกรรมการบริหารทรัพย์สินทางปัญญา จะเหลือไม่ ถึงเก้าสิบวัน และให้ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งแทนตําแหน่งที่ว่างลง อยู่ในตําแหน่งเท่ากับ วาระที่เหลืออยู่ของ กรรมการบริหารทรัพย์สินทางปัญญาซึ่งพ้นจากตําแหน่ง นั้น เ มื่ อ ค ร บ กําหนดวาระตาม ว ร ร ค ห นึ่ ง หา ก ยั ง มิ ไ ด ้ มี ก ารแต่ง ตั้งคณะกรรมการ บริหารทรัพย์สินทางปัญญาขึ้นใหม่ ให้คณะกรรมการ บริหารทรัพย์สินทางปัญญา ซึ่งพ้นจากตําแหน่งตามวาระนั้นอยู่ปฏิบัติ หน้าที่ในตําแหน่งต่อไปจนกว่า คณะกรรมการบริหารทรัพย์สินทาง ปัญญาซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่เข้ารับหน้าที่แล้ว กรรมการบริหารทรัพย์สิน ทางปัญญาซึ่งพ้นจากตําแหน่งตามวาระอาจได้รับ แต่งตั้งอีกได้ ข้อ 17 นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ ให้กรรมการบริหาร ทรัพย์สิน ทางปัญญาพ้นจากตําแหน่ง เมื่อเกิดเหตุอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ (1) ตาย (2) ลาออก (3) คณะกรรมการกองทุนให้พ้นจากตําแหน่ง เพราะบกพร่องต่อหน้าที่ มี ความประพฤติเสื่อมเสีย หรือ หย่อนความสามารถ


88 ข้อ 18 ให้คณะกรรมการบริหารทรัพย์สินทางปัญญามีอํานาจและหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (1) กําหนดนโยบาย มาตรการ แผนงาน หลักเกณฑ์ และวิธีปฏิบัติเกี่ยว กับการบริหารทรัพย์สินทางปัญญา (2) กํากับติดตามและเสนอแนะแนวทางการดําเนินงานของศูนย์บริหาร ทรัพย์สินทางปัญญา (3) ให้ความเห็นและข้อเสนอแนะต่อสํานักงานกองทุนเกี่ยวกับการ พิจารณา คําขอรับโอนสิทธิการบริหาร จัดการทรัพย์สินทางปัญญาตามข้อ 10 และการจัดสรร ผลประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญาตามข้อ 13 (4) ให้คําปรึกษา ความเห็น และข้อเสนอแนะต่อศูนย์บริหารทรัพย์สินทาง ปัญญาเกี่ยวกับการเจรจา ต่อรองกับผู้รับทุน หน่วยงานต้นสังกัด และผู้ ร่วมทุน ในเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา (5) แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็นที่ปรึกษาหรือแต่งตั้งคณะทํางานเพื่อ พิจารณา หรือปฏิบัติงานอย่างหนึ่งอย่างใด (6) แต่งตั้งคณะกรรมการระงับข้อพิพาท เพื่อระงับข้อพิพาทระหว่าง กองทุนกับผู้รับทุน ผู้ร่วมทุน และหรือ หน่วยงานต้นสังกัด อันเกิดจากการ บริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญาตามข้อบังคับนี้ (7) กําหนดหลักเกณฑ์หรือสัดส่วนของผู้ที่ต้องรับผิดชอบในความเสียหาย ใด ๆ อันเกิดจากการใช้ประโยชน์ ทรัพย์สินทางปัญญาตามข้อบังคับนี้ (8) กระทําการอื่นใดที่จําเป็นหรือที่เกี่ยวเนื่อง เพื่อประโยชน์ในการบริหาร ทรัพย์สินทางปัญญาของกองทุน ข้อ 19 ในกรณีที่มิได้กําหนดไว้เป็นอย่างอื่นเป็นการเฉพาะ ให้การระงับข้อ พิพาทที่เกิดจากการตีความหรือการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา เป็นไป ตามข้อบังคับนี้ ข้อ 20 ให้คณะกรรมการระงับข้อพิพาทระงับข้อพิพาทที่เกิดจากการ ตีความ หรือการใช้ทรัพย์สินทางปัญญาตามข้อบังคับนี้ด้วยวิธีการที่เหมาะสม คํา วินิจฉัย ของคณะกรรมการระงับข้อพิพาทให้เป็นที่สุดและผูกพันคู่พิพาทนับแต่ วันมีคํา วินิจฉัย


89 บทเฉพาะกาล ข้อ 21 ทรัพย์สินทางปัญญาที่อยู่ระหว่างการจัดทําหรือจัดทําแล้วเสร็จ ก่อนวันที่ข้อบังคับนี้ใช้บังคับ ให้นําข้อบังคับนี้ไปใช้บังคับโดยอนุโลม เว้นแต่เรื่อง การจัดสรรผลประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญาที่เกิดขึ้นก่อน วันที่ข้อบังคับนี้ ใช้ บังคับ ให้ผลประโยชน์นั้นเป็นของกองทุนแต่เพียงฝ่ายเดียว เว้นแต่จะมีการ ตกลง กันเป็นอย่างอื่น ประกาศ ณ วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2559 การบริหารจัดการผลงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ • สสส.ดําเนินการเอง • สสส.มอบสิทธิ์ให้ผู้อื่นดําเนินการ: อนุญาตให้ใช้ โดยสามารถเพิ่มเติม ดัดแปลง และแก้ไขได้ เพื่อให้เกิดการ ใช้งานได้อย่างต่อเนื่องหรือดียิ่งขึ้น หรือ โอนสิทธิการบริหารจัดการ เพื่อใช้ ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์หรือขยายฐานการ ดําเนินงาน ภายในระยะเวลา 3 ปี (ขอ โอนได้เฉพาะภาคี สสส. เท่านั้น) Creative Common Attribution CC- BY–NC-ND ให้เผยแพร่ โดยต้องระบุที่มาแต่ห้าม ดัดแปลงและห้ามใช้เพื่อการค้า


90 หลักการใช้งานโลโก้ของ สสส. สสส. เป็นองค์กรสร้างเสริมสุขภาวะ การใช้ตราสัญลักษร์ (โลโก้) ของ องค์กร จึงต้องสอดคล้องไปกับภารกิจที่องค์กรได้กําหนดไว้ตามเป้าหมายและ วัตถุประสงค์ หลักในงานสร้างเสริมสุขภาวะ ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนร่วม เท่านั้นและไม่ อนุญาตให้นําไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนบุคคลหรือเพื่อการค้าใด ๆ ก็ ตาม หน่วยงานหรือองค์กรที่มีสิทธิใช้ตราสัญลักษณ์ (โลโก้) ของ สสส. ในงาน หรือ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานสร้างเสริมสุขภาวะ ที่ สสส. มีสองแบบคือ งานที่ สสส. ได้ ดําเนินการเองและงานที่ สสส. ร่วมดําเนินงานซึ่งเป็นประโยชน์ต่อสังคม โดยส่วนรวม สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) หมายถึง สสส. ดํา เนินการจัดงาน จัดกิจกรรม หรือจัดทําสื่อประชาสัมพันธ์ใดๆ เพื่อเผยแพร่ เนื้อหา สร้างเสริมสุขภาวะของ สสส. และต้องการใช้ตราสัญลักษณ์ (โลโก้) ของ องค์กร เพื่อ สร้างการรับรู้ สร้างความเข้าใจให้กับกลุ่มเป้าหมาย สสส. สามารถใช้ตราสัญลักษณ์ (โลโก้) ตามเงื่อนไขที่กําหนด ในงานที่ สอดคล้องกับภารกิจ และ บทบาทหน้าที่ขององค์กรได้ การใช้ตราสัญลักษณ์ (โล โก)้ ที่ถูกต้องเท่านั้น การใช้โลโก้ของ สสส. ร่วมกับโลโก้ของกลุ่มอัตลักษณ์อื่น องค์กรพันธมิตรภาคีเครือข่ายที่ได้รับทุนตรงจาก สสส. หรือไม่ได้รับทุนแต่ มีการตกลงทําความร่วมมือตรงกับ สสส. ในการทํางานร่วมกัน องค์กรพันธมิตรสามารถนําตราสัญลักษณ์ (โลโก้) ของ สสส. เฉพาะงานที่ อยู่ในความร่วมมือ โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ o การใช้ตราสัญลักษณ์ (โลโก้) ของ สสส. สําหรับงานที่องค์กรภาคี เครือข่าย ได้รับทุนตรงกับ สสส. ต้องเป็นการวางเป็นตราสัญลักษณ์ ( โลโก้) ร่วมกันระหว่าง สสส. และตราสัญลักษณ์ (โลโก้) ของ สสส. เพียงตราสัญลักษณ์ (โลโก้) เดียวได้ เพื่อไม่ให้เกิด ความเข้าใจผิดว่าเป็นงานที่ดําเนินการตรงโดย สสส. o ในการทํางานร่วมกันระหว่าง สสส. และองค์กรภาคีเครือข่ายที่รับ ทุน ไม่ ว่ากรณีใด ๆ จะไม่สามารถวางตราสัญลักษณ์ (โลโก้) สสส. เพียงตราสัญลักษณ์ (โลโก้) เดียวได้เพื่อไม่ให้เกิดความเข้าใจผิด ว่าเป็นงานที่ดําเนินการตรงโดย สสส.


91 o การใช้ตราสัญลักษณ์ (โลโก้) ในการทํางาน จะต้องเป็นไปตาม วิธีการใช้ ตราสัญลักษณ์(โลโก)้ ถูกต้องเท่านั้น • ข้อกําหนดและวิธีการใช้ตราสัญลักษณ์(โลโก)้ o การเลือกใช้ตราสัญลักษณ์ (โลโก้) ทั้ง 3 แบบสามารถ เลือกใช้ตามความเหมาะสมได้ ไม่มีข้อจํากัดรวมถึงการ เลือกใช้สี หรือขาวดํา ให้ดู ตามความเหมาะสมโดยมี แนวทางเบื้องต้นในการพิจารณา ดังต่อไปนี้ o การพิจารณาตราสัญลักษณ์ (โลโก้) ให้สัมพันธ์กับขนาด ของพื้นที่ของการ จัดวางตราสัญลักษณ์ (โลโก้) ต้องให้ สมดุลกับองค์ประกอบโดยรวม เช่น หากตรา สัญลักษณ์ (โลโก้) อยู่ในพื้นที่จํากัด และมีตราสัญลักษณ์ (โลโก้) ร่วม หลากหลาย การใช้ตราสัญลักษณ์ (โลโก้) แบบชุดตัวอักษร “สสส” จะช่วยให้ตัวหนังสือโดดเด่น กว่าหรือในกรณีที่มีชื่อ สสส. เพียงชื่อเดียวและต้องการความเป็นทางการที่โดด เด่น การใช้ตราสัญลักษณ์ (โลโก้) แบบชื่อเต็มจะช่วยให้ เข้าใจได้ชัดเจนกว่า เป็นต้น • การพิจารณาวางตราสัญลักษณ์(โลโก)้ บนพื้นหลังที่มีสีอยู่ด้วย การจัดวางตราสัญลักษณ์ (โลโก้) ต้องคํานึงถึงพื้นสีและ องค์ประกอบโดย รวมเป็นสําคัญร่วมกับเป้าหมายของการวางตราสัญลักษณ์ (โลโก)้ การเลือกใช้ตราสัญลักษณ์ (โลโก้) ทั้งแบบสีส้มและสีเขียวและแบบสีเดียว ให้พิจารณาประกอบไปกับพื้นที่ของสื่อที่มีอยู่โดยหากพื้นสี ด้านหลัง มีสีที่หลาก หลายมาก การวางตราสัญลักษณ์ (โลโก้) จําเป็นต้องเลือกสีเดียวให้เหมาะสมและ ให้โดดเด่นพอที่จะจดจําได้ ผู้ใช้งานสามารถเลือกใช้ตราสัญลักษณ์ (โลโก้) สีดํา สีขาว หรือสีเทา แทนการใช้สีหลักส้มเขียวได้ เพื่อให้โดดเด่นพอที่จะจดจําได้ • การจัดวางตราสัญลักษณ์(โลโก)้ ต้องคํานึงถึงเป้าหมายและ วัตถุประสงค์การจัดวางตราสัญลักษณ์ (โลโก้) แต่ละครั้ง จําเป็นต้อง คํานึงถึง เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของการใช้งานเป็นสําคัญร่วมกับ องค์ประกอบอื่น เช่น หากต้องการความเป็นทางการมากการใช้ตรา สัญลักษณ์(โลโก)้ ชื่อเต็มจะช่วยให้ เกิดความชัดเจนขึ้น • การใช้สีและองค์ประกอบต่างๆควบคู่ไปการตราสัญลักษณ์(โลโก)้ มี ลักษณะ สําคัญ ๒ ลักษณะ ได้แก่


92 o เมื่อกิจกรรม หรืองานที่ สสส. เป็นเจ้าภาพหลักและเป็น หน่วยงานหลัก ที่ดําเนินการตรงลักษณะของการใช้สีและ องค์ประกอบทั้งหมดของกิจกรรมหรือ สื่อใดๆ ที่ดําเนินการ ต้องเป็นไปตามที่กําหนดและได้รับการอนุมัติจากฝ่ายที่ดูแล รับผิดชอบ • ข้อควรระหว่างที่สําคัญในการใช้ตราสัญลักษณ์(โลโก)้ การใช้ตราสัญลักษณ์(โลโก)้ สําหรับเรื่องใดๆก็ตามที่เกี่ยวข้องกับ o ผลกระทบทางการเมือง หรือความไม่เป็นกลางทางเมือง o เรื่องที่อาจ จะส่งผลกระทบต่อศาสนา o ผลักดันนโยบาย o เรื่องที่อาจจะส่งผลกระทบต่อประเทศ *ต้องมีการขออนุญาตและได้รับการอนุมัติจากผู้ที่รับผิดชอบก่อน ดําเนินการทุก ครั้ง • นิยามความหมายของศัพท์ในการใช้งาน o “สื่อ” หมายถึงสื่อทุกประเภท ไม่จํากัดรูปแบบและวิธีการ ของการสื่อสาร อาทิเช่น สื่อหลัก โทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ ป้ายกลางแจ้ง จดหมายข่าว หนังสือคู่มือ สื่อ อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น o “พันธมิตรภาคีเครือข่าย” หมายความถึง องค์กรพันธมิตร ภาคีเครือ ข่ายที่รับทุนตรงจาก สสส. หรือไม่ได้รับทุนแต่มี การตกลงทําความร่วมมือตรง กับ สสส. ในการทํางาน ร่วมกัน • การใช้ตราสัญลักษณ์ (โลโก)้ บนพื้นหลังที่ถูกต้อง


93


94


95


96


97


98 หลักการวางโลโก้ ร่วมกับโครงการ


99


100


Click to View FlipBook Version