The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักภาษาฯ ป.5 หน่วยที่ 10 การอ่าน.ppt

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wirongrong.19, 2021-12-29 02:09:34

หลักภาษาฯ ป.5 หน่วยที่ 10 การอ่าน.ppt

หลักภาษาฯ ป.5 หน่วยที่ 10 การอ่าน.ppt

๑๐หน่วยการเรียนรู้ที่

อ่านได้คล่อง…ต้องรู้วธิ ี

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕

แผนผงั สาระการเรียนรู้ การอ่านออกเสียง เลือกเร่ืองเพ่ือเข้าสู่เนื้อหา
บทร้อยแก้ว
มารยาทในการอ่าน การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
การอ่าน เป็ นทานองเสนาะ
การเลือกอ่านหนังสือ
ท่ีมีคุณค่าตามความสนใจ การอ่านจับใจความ

การอ่านงานเขยี นเชิงอธิบาย คาสั่ง แบบทดสอบ
ข้อแนะนา และปฏิบัตติ าม ท้ายหน่วยการเรียนรู้

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕

เร่ืองที่ ๑
การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว

ตวั ชี้วดั

❖ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง (ท ๑.๑ ป. ๕/๑)
❖ อธิบายความหมายของคา ประโยค และข้อความท่ีเป็ นการบรรยาย

และการพรรณนา (ท ๑.๑ ป. ๕/๒)
❖ มมี ารยาทในการอ่าน (ท ๑.๑ ป. ๕/๘)

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕

บทร้อยแก้ว

บทร้อยแก้ว คือ ถอ้ ยคำที่เรียบเรียงข้ึนอยำ่ งไพเรำะสละสลวย โดยไม่มีขอ้ บงั คบั
ในกำรแต่ง เช่น จำนวนคำ สมั ผสั เสียงวรรณยกุ ต์ งำนเขียนที่เป็นบทร้อยแกว้

เช่น เรียงควำม นิทำน เรื่องส้นั ข่ำว สำรคดี บทควำม

การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วมี ๓ ข้ันตอน คือ

๑. ข้นั เตรียมการอ่าน คลิก

๒. ข้นั การอ่านออกเสียง คลกิ

๓. ข้นั พฒั นาการอ่านออกเสียง คลกิ

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕

๑. ข้นั เตรียมการอ่าน มวี ธิ ีการดงั นี้

๑. อ่านสารวจเนื้อเรื่องอย่างคร่าว ๆ ในใจ เพื่อสารวจคายากที่อ่านไม่ได้
๒.ตรวจสอบการอ่านคายากทไี่ ม่แน่ใจโดยถามผู้รู้หรือตรวจสอบจาก

พจนานุกรม
๓.พจิ ารณาประเภทของเร่ืองทอี่ ่าน เพื่ออ่านให้ถูกต้องตามลกั ษณะของเร่ือง

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕

๒. ข้นั การอ่านออกเสียง มวี ธิ ีการดงั นี้

๑. อ่านออกเสียงคาให้ถูกต้องตามอกั ขรวธิ ี โดยเฉพาะตวั “ร”
และคาควบกลา้

๒.อ่านเว้นวรรคตอนให้ถูกต้อง
๓.ใช้นา้ เสียงให้สอดคล้องเหมาะสมกบั เนื้อเรื่อง
๔.อ่านเสียงดงั พอประมาณ ชัดเจน และน่าฟัง
๕.ใช้ท่าทางหรือแสดงบุคลกิ ภาพในการอ่านอย่างเหมาะสม

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕

๓. ข้นั พฒั นาการอ่านออกเสียง มวี ธิ ีการดงั นี้

๑. สังเกตปัญหาและข้อบกพร่องในระหว่างการอ่านออกเสียง
๒.ปรับปรุงข้อบกพร่องด้วยการฝึ กฝนให้คล่องแคล่ว
๓.ฝึ กอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วประเภทต่าง ๆ อย่างสมา่ เสมอ

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕

งานเขยี นทเี่ ป็ นบทร้อยแก้วน้ัน มีหลายประเภท

บทร้อยแกว้ ท่ีเป็นบรรยำยโวหำร

บทร้อยแกว้ ท่ีเป็นพรรณนำโวหำร

ขอ้ ควำมท่ีมีควำมหมำยโดยนยั

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕ คลิกเพ่ือดูตวั อยำ่ งกำรเขียนท่ีเป็นร้อยแกว้ ประเภทต่ำง ๆ

ตวั อย่าง บทร้อยแก้วทเ่ี ป็ นบรรยายโวหาร

พระตาหนักจติ รลดารโหฐาน

พระตำหนกั จิตรลดำรโหฐำน สร้ำงข้ึนเม่ือ พ.ศ.
๒๔๕๖ ในรัชสมยั พระบำทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลำ้ -
เจำ้ อยหู่ วั ณ บริเวณทุ่งสม้ ป่ อย ซ่ึงเป็นทุ่งนำระหวำ่ ง
พระรำชวงั สวนดุสิตกบั วงั พญำไท
(ปัจจุบนั คือโรงพยำบำลพระมงกฎุ เกลำ้ ) โดย
โปรดเกลำ้ ฯ ใหเ้ จำ้ พระยำยมรำช (ป้ัน สุขมุ )
เสนำบดีกระทรวงนครบำลจดั สร้ำงพระตำหนกั ข้ึน

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕

ตวั อย่าง บทร้อยแก้วท่เี ป็ นบรรยายโวหาร (ต่อ)

โดยมีพระยำวศิ ุกรรมศิลปประสิทธ์ิ (นอ้ ย ศิลปี ) เป็นผคู้ วบคุมและดำเนินกำรก่อสร้ำง
เพอ่ื ทรงใชเ้ ป็นที่รโหฐำนสำหรับทรงพระรำชนิพนธ์หนงั สือ รวมท้งั รำชเสวกจะไดม้ ี
โอกำสเฝ้ำทูลละอองธุลีพระบำทเป็นกำรส่วนพระองค์ โปรดเกลำ้ ฯ พระรำชทำนนำม
ทุ่งสม้ ป่ อยวำ่ สวนจิตรลดำ พระรำชทำนนำมพระตำหนกั วำ่ “พระตำหนกั จิตรลดำ-
รโหฐำน” บริเวณรอบพระตำหนกั มีกำรขดุ คูและทำกำแพงร้ัวเหลก็ โดยรอบ มีประตู
๔ ทิศ พระรำชทำนชื่อประตูตำมสวนจิตรลดำของพระอินทร์และทำ้ วโลกบำล คือ
พระอินทร์อยชู่ ม พระยมอยคู่ ุน้ พระวริ ุณอยเู่ จน และพระกเุ วรอยเู่ ฝ้ำ

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕

ตัวอย่าง บทร้อยแก้วทีเ่ ป็ นบรรยายโวหาร (ต่อ)

พระตำหนกั จิตรลดำรโหฐำนสร้ำงเป็นตึก ๒ ช้นั ลกั ษณะสถำปัตยกรรมแบบตะวนั ตก
พระบำทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลำ้ เจำ้ อยหู่ วั ไดเ้ สดจ็ พระรำชดำเนินมำประทบั เป็นคร้ังครำว
เมื่อมีพระรำชพิธีต่ำง ๆ กท็ รงกระทำกำรที่พระตำหนกั จิตรลดำรโหฐำนเช่นเดียวกบั พระรำชวงั
ต่อมำโปรดเกลำ้ ฯ ใหส้ ร้ำงพระรำชมนเทียรสถำนข้ึนใหม่เป็นท่ีประทบั ที่วงั พญำไท ในรัชสมยั
พระบำทสมเดจ็ พระปกเกลำ้ เจำ้ อยหู่ วั โปรดเกลำ้ ฯ ใหป้ ระกำศยกสวนจิตรลดำเป็นพระรำชฐำน
อยใู่ นเขตพระรำชวงั ดุสิต ในรัชกำลปัจจุบนั พระบำทสมเดจ็ พระเจำ้ อยหู่ วั ภูมิพลอดุลยเดช
โปรดเกลำ้ ฯ ใหใ้ ชพ้ ระตำหนกั จิตรลดำรโหฐำนเป็นที่ประทบั ถำวร

พจนำนุกรมวสิ ำมำนยนำมไทย : วดั วงั ถนน สะพำน ป้อม ของ กนกวลี ชูชยั ยะ

หมำยเหตุ รัชกำลปัจจุบนั ในท่ีน้ีหมำยถึง รัชกำลพระบำทสมเดจ็ พระบรมชนกำธิเบศร
มหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถบพิตร

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕

ตวั อย่าง บทร้อยแก้วที่เป็ นพรรณนาโวหาร

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕

ตัวอย่าง ขอ้ ควำมท่ีมีควำมหมำยโดยนยั คือ ขอ้ ควำมท่ีมีควำมหมำย
ไม่ตรงตวั หรือมีควำมหมำยแฝงใหค้ ิด

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕

สรุปความรู้

การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วได้ถูกต้องตามอกั ขรวธิ ี โวหาร
และประเภทของงานเขยี น จะทาให้เกดิ ความไพเราะ การอ่าน
มปี ระสิทธิภาพ ผู้ฟังสามารถเข้าใจได้ชัดเจน

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕

เรื่องท่ี ๒
การอ่านออกเสียงบทร้อยกรองเป็ นทานองเสนาะ

ตวั ชี้วดั

❖ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง (ท ๑.๑ ป. ๕/๑)
❖ อธิบายความหมายของคา ประโยค และข้อความทเี่ ป็ นการบรรยาย

และการพรรณนา (ท ๑.๑ ป. ๕/๒)
❖ มมี ารยาทในการอ่าน (ท ๑.๑ ป. ๕/๘)

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕

บทร้อยกรอง

บทร้อยกรอง คือ ถอ้ ยคำที่เรียบเรียงใหเ้ ป็นระเบียบ
ถูกตอ้ ง ตำมขอ้ กำหนดของกำรแต่งบทร้อยกรองน้นั ๆ
คำ ในบทร้อยกรองมีควำมหมำยเท่ำกบั พยำงค์

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕

กำรอ่ำนออกเสียงบทร้อยกรองแต่ละคร้ังควรศึกษำบทร้อยกรองน้นั
ก่อน เพอ่ื ใหส้ ำมำรถอ่ำนไดถ้ ูกตอ้ ง ดงั น้ี

๑. คาศัพท์ยากในบทร้อยกรอง ตอ้ งศึกษำคำอ่ำนและควำมหมำยให้
เขำ้ ใจก่อน

๒. รูปแบบของบทร้อยกรอง ตอ้ งศึกษำประเภทของบทร้อยกรอง
จำนวนคำในแต่ละวรรค และลกั ษณะกำรสมั ผสั คลอ้ งจอง (ฉนั ทลกั ษณ์)

๓. จงั หวะการอ่าน ตอ้ งศึกษำจงั หวะกำรอ่ำนของบทร้อยกรองประเภท
น้นั ๆ เพรำะบทร้อยกรองแต่ละประเภทมีจงั หวะกำรอ่ำนแตกต่ำงกนั

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕

๔. วธิ ีอ่าน มี ๒ วธิ ี คือ
๔.๑ อ่านออกเสียงปกติ คือ อ่ำนออกเสียงปกติเหมือนกำรอ่ำนบท

ร้อยแกว้ ทว่ั ไป แต่มีกำรเวน้ วรรค และเนน้ จงั หวะกำรสมั ผสั ตำมบท
ร้อยกรองแต่ละประเภท ซ่ึงแตกต่ำงกนั

๔.๒ อ่านออกเสียงเป็ นทานอง คือ อ่ำนมีสำเนียงสูง ต่ำ หนกั เบำ
ยำว ส้นั เอ้ือนเสียง และเนน้ สมั ผสั ใหช้ ดั เจน ไพเรำะ เสียงเป็นกงั วำน
แสดงอำรมณ์ตำมเน้ือหำของบทร้อยกรอง

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕

หลกั สาคญั ในการอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง

๑. อ่ำนออกเสียงใหช้ ดั เจนและถูกตอ้ งตำมอกั ขรวิธี
๒. อ่ำนเวน้ จงั หวะใหถ้ ูกตอ้ งตำมลกั ษณะของบทร้อยกรองแต่ละประเภท

ถำ้ อ่ำนทำนองเสนำะตอ้ งรู้จกั ทอดจงั หวะ เอ้ือนเสียง หรือหลบเสียง
๓. น้ำเสียงชดั เจน นุ่มนวลน่ำฟัง เสียงไม่เบำหรือดงั จนเกินไป
๔. เนน้ เสียงแสดงอำรมณ์ใหเ้ ป็นไปตำมเน้ือเร่ือง เช่น รัก ร่ำเริง โกรธ

เศร้ำ โดยใชน้ ้ำเสียงใหเ้ ขำ้ กบั สถำนกำรณ์น้นั ๆ

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕

จังหวะการอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง

จงั หวะกำรอ่ำนออกเสียงบทร้อยกรองแต่ละประเภทแตกต่ำงกนั ไป
ตำมจำนวนคำในแต่ละวรรค และจงั หวะกำรลงสมั ผสั ดงั น้ี

กาพย์ยานี ๑๑

ใชจ้ งั หวะกำรอ่ำนวรรคหนำ้ เป็น ๒/๓ วรรคหลงั เป็น ๓/๓ ตำมแผนผงั ดงั น้ี

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕

ตวั อย่าง กาพย์ยานี ๑๑

มวลผ/ู้ ชูปรีชำ// เสำะวิทยำ/ไม่ห่ำงเหิน//
ผดิ ชอบ/กอบไม่เกิน// รู้ดำเนิน/ตำมเหตุผล//

ช่ือวำ่ /ปรีชำดี// ผดิ ชอบมี/พิจำรณ์ยล//
ผนู้ ้นั /จกั พลนั ดล// พพิ ฒั นพ์ น้ /จกั พรรณนำ

พระยำอปุ กิตศิลปสำร (นิ่ม กำญจนำชีวะ)
จำกหนงั สือ บทอำขยำนภำษำไทย ช่วงช้นั ที่ ๑ - ช่วงช้นั ที่ ๔

ของกระทรวงศึกษำธิกำร

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕

กลอนสุภาพ (กลอน ๘)

ใชจ้ งั หวะกำรอ่ำนเป็น ๓/๒/๓ หรือ ๓/๓/๓ ข้ึนอยกู่ บั จำนวนคำ
ในแต่ละวรรค ตำมแผนผงั ดงั น้ี

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕

ตวั อย่าง กลอนสุภาพ

พอฟ้ำคล้ำ/ค่ำพลบ/เสียงกบเขียด// ร้องกรีดเกรียด/เกรียวแซ่/ดงั แตรสงั ข/์ /
เหมือนเสียงฆอ้ ง/กลองโหม/ประโคมวงั // ไม่เห็นฝ่ัง/ฟั่นเฟื อน/ดว้ ยเดือนแรม//
ลำพรู ำย/ชำยตล่ิง/ลว้ นห่ิงหอ้ ย// สวำ่ งพรอย/แพร่งพรำย/ข้ึนปลำยแขม//
อร่ำมเรือง/เหลืองงำม/วำมวำมแวม// กระจ่ำงแจ่ม/จบั น้ำ/เห็นลำเรือ

นิรำศวดั เจำ้ ฟ้ำ ของ สุนทรภู่

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕

กลอนบทละคร

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕

ตวั อย่าง กลอนบทละคร

เมื่อน้นั // โฉมจนั ท/์ กลั ยำ/มำรศรี//
อยดู่ ว้ ย/ยำยตำ/ไดห้ ำ้ ปี // ยำกแคน้ /แสนทว/ี ทุกเวลำ//
คร้ันค่ำ/ตกั น้ำ/ตำขำ้ ว// คร้ันรุ่ง/เชำ้ เจำ้ /เขำ้ ป่ ำ//*(วรรคน้ีเวลำอ่ำนควรใชว้ ธิ ีรวบและยดื คำ)
เกบ็ ผกั /เท่ียวหกั /ฟื นมำ// กลั ยำ/คำ้ ขำย/ไดเ้ ล้ียงตวั

บทละครนอก เรื่อง สังขท์ อง ตอน กำเนิดพระสังข์
พระรำชนิพนธใ์ นพระบำทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลำ้ นภำลยั

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕

โคลงสี่สุภาพ

ใชจ้ งั หวะกำรอ่ำนวรรคหนำ้ ๒/๓ หรือ ๓/๒ ข้ึนอยกู่ บั ควำมหมำยของคำ
ส่วนวรรคหลงั แบ่งเป็น ๒/๒ ตำมแผนผงั ดงั น้ี

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕

ตวั อย่าง โคลงสี่สุภาพ

ควำมรู้/รู้ยงิ่ ได้ สินศกั ด์ิ//
เป็นท่ี/ชนพำนกั // นอบนิ้ว//
เรียนต่อ//
อยำ่ เกียจ/เกลียดหน่ำยรัก// เหนื่อยแพ/้ แรงโรย

รู้ชอบ/ใช่หอบหิ้ว//

โคลงโลกนิติ
พระนิพนธ์ในสมเดจ็ พระเจำ้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยำเดชำดิศร

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕

สรุปความรู้

การอ่านออกเสียงบทร้อยกรองเป็ นทานองเสนาะได้ถูกต้องตามอกั ขรวธิ ี
และฉันทลกั ษณ์ของบทร้อยกรองน้ัน ๆ รู้จกั ทอดจังหวะ เอือ้ นเสียง แสดงอารมณ์
ตามเนื้อหาจะทาให้ผู้ฟังเข้าใจเร่ืองได้ชัดเจน และบทร้อยกรองน้ันมคี วามไพเราะ
ยง่ิ ขึน้

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕

เรื่องที่ ๓
การอ่านจับใจความ

ตวั ชี้วดั

❖ แยกข้อเท็จจริงและข้อคดิ เห็นจากเร่ืองทอี่ ่าน (ท ๑.๑ ป. ๕/๔)
❖ วิเคราะห์และแสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกบั เรื่องทอี่ ่านเพื่อนาไปใช้ในการ

ดาเนินชีวติ (ท ๑.๑ ป. ๕/๕)
❖ มมี ารยาทในการอ่าน (ท ๑.๑ ป. ๕/๘)

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕

การอ่านจับใจความ

กำรอ่ำนจบั ใจควำม คือ กำรอ่ำนท่ีมุ่งจบั ประเดน็ สำคญั หรือใจควำมสำคญั ของ
เร่ืองท่ีอ่ำนซ่ึงมกั จะเป็นกำรอ่ำนในใจ นอกจำกตอ้ งเขำ้ ใจสำระสำคญั ของเรื่องแลว้
เพอ่ื ใหไ้ ดร้ ับประโยชนแ์ ละมีประสิทธิภำพในกำรอ่ำนยงิ่ ข้ึน ควรฝึ กควำมสำมำรถ
ในกำรอ่ำนเพม่ิ เติม ดงั น้ี

๑. สำมำรถแยกขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ คิดเห็นจำกเรื่องท่ีอ่ำน
๒. สำมำรถแสดงควำมคิดเห็นเก่ียวกบั เร่ืองท่ีอ่ำนอยำ่ งมีเหตุผล
๓. สำมำรถนำควำมรู้และขอ้ คิดจำกเรื่องท่ีอ่ำนไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕

ข้นั ตอนการอ่านจับใจความ

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕

กำรแยกขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ คิดเห็น

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕

ข้นั ตอนการแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕

ตวั อย่าง การแยกข้อเทจ็ จริงและข้อคิดเห็น

อุตรดิตถเ์ ป็นเมืองท่ีงำมดว้ ยวถิ ีวฒั นธรรม ประชำชนมีควำมเป็นอยอู่ ยำ่ ง
เรียบง่ำย ในเดือนตุลำคมจะมีกำรจดั เทศกำลผลไม้ เพรำะอุตรดิตถเ์ ตม็ ไปดว้ ย
ผลหมำกรำกไมม้ ำกมำยนบั ไม่ถว้ น สมกบั สมญำนำมที่ไดร้ ับวำ่ อุตรดิตถ์
เมืองมหศั จรรยแ์ ห่งผลไม้

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕

ตวั อย่าง การแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น

วธิ ีการ
จบั ใจควำมโดยแยกขอ้ ควำมเป็นประโยคยอ่ ย ดงั น้ี
๑. อุตรดิตถเ์ ป็นเมืองท่ีงำมดว้ ยวถิ ีวฒั นธรรม
๒. ชำวอุตรดิตถม์ ีควำมเป็นอยเู่ รียบง่ำย
๓. จงั หวดั อุตรดิตถม์ ีกำรจดั เทศกำลผลไมใ้ นเดือนตุลำคม
๔. จงั หวดั อุตรดิตถม์ ีผลไมห้ ลำยชนิด
๕. อุตรดิตถไ์ ดร้ ับสมญำนำมวำ่ “เมืองมหศั จรรยแ์ ห่งผลไม”้

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕

วเิ คราะห์ประโยค แยกเป็ นข้อเทจ็ จริงและข้อคดิ เห็น

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕

สรุปความตามข้อเทจ็ จริงได้ดงั นี้
เมืองอุตรดติ ถ์มผี ลไม้อุดมสมบูรณ์

การแสดงความคดิ เห็นเกยี่ วกบั เรื่องทอ่ี ่านเพ่ือนาไปใช้
ในการดาเนินชีวติ
อุตรดติ ถ์เป็ นเมืองทน่ี ่าเทยี่ ว และควรไปเทยี่ วในเดือน
ตุลาคมเพราะมกี ารจัดเทศกาลผลไม้

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕

สรุปความรู้

กำรอ่ำนจบั ใจควำม เป็นกำรอ่ำนเพือ่ มุ่งคน้ หำสำระสำคญั ของเรื่อง
หรือจบั ประเดน็ สำคญั ของเร่ืองท่ีอ่ำน กำรแยกขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ คิดเห็น
จำกเร่ืองที่อ่ำนทำใหเ้ ขำ้ ใจเน้ือเร่ืองและจุดประสงคข์ องเร่ืองน้นั ๆ ไดด้ ี
ยงิ่ ข้ึน

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕

เร่ืองที่ ๔

การอ่านงานเขยี นเชิงอธิบาย คาส่ัง ข้อแนะนา และปฏิบตั ติ าม

ตวั ชี้วดั

❖ อ่านงานเขยี นเชิงอธิบาย คาสั่ง ข้อแนะนา และปฏิบัติตาม (ท ๑.๑ ป. ๕/๖)
❖ มีมารยาทในการอ่าน (ท ๑.๑ ป. ๕/๘)

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕

งานเขยี นเชิงอธิบาย คาสั่ง ข้อแนะนา และปฏิบตั ิตาม

การอ่านงานเขยี นเชิงอธิบาย คาส่ัง ข้อแนะนา และปฏิบตั ิตาม
เป็นกำรอ่ำนเพือ่ คน้ ควำ้ ขอ้ มลู ควำมรู้ หรือวธิ ีกำรนำไปใช้ ซ่ึงตอ้ งอ่ำน
อยำ่ งละเอียดใหไ้ ดค้ วำมครบถว้ นจึงจะไดร้ ับส่ิงที่ตอ้ งกำรและนำไปใช้
ประโยชน์ไดอ้ ยำ่ งถูกตอ้ ง กำรอ่ำนงำนเขียนเชิงอธิบำย คำสง่ั ขอ้ แนะนำ
และปฏิบตั ิตำมมีหลำกหลำยประเภท เช่น

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕

ตวั อย่าง : การใช้พจนานุกรม

พจนำนุกรม เป็นหนงั สือรวบรวมคำท่ีมีใชอ้ ยใู่ นภำษำไทย โดยเรียงลำดบั
ตำมตวั อกั ษร และกำหนดวธิ ีอ่ำน ควำมหมำย ชนิดและท่ีมำของคำ เพื่อใช้
เป็นมำตรฐำนในกำรใชภ้ ำษำไทยใหเ้ ป็นแนวทำงเดียวกนั

กำรใชพ้ จนำนุกรมช่วยใหเ้ ขำ้ ใจควำมหมำยของคำ สำมำรถอ่ำนและเขียน
คำไดถ้ ูกตอ้ ง นอกจำกน้นั ยงั รู้จกั ชนิดและที่มำของคำอีกดว้ ย

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕

หลกั การใช้พจนานุกรม
๑. การเรียงลาดบั คา

๑.๑ หาคาตามลาดบั พยญั ชนะ
พยญั ชนะจะเรียงลำดบั ก-ฮ โดยมี ฤ ฤๅ อยหู่ ลงั ตวั ร และ ฦ ฦๅ
อยหู่ ลงั ตวั ล ดงั น้ี

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕

๑.๒ หาคาตามลาดบั รูปสระ
๑) คำแต่ละคำจะเรียงตำมรูปสระ ดงั น้ี

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕

๑.๓ คาทมี่ ตี วั สะกดการันต์เหมือนกนั จะเรียงลาดบั ตามรูปวรรณยกุ ต์

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕

๒.การบอกคาอ่าน
คำอ่ำนจะอยใู่ นวงเลบ็ ทำ้ ยคำศพั ทน์ ้นั
เช่น พยญั ชนะ [พะยนั ชะนะ]

๓.การบอกความหมายของคา
ควำมหมำยของคำจะอยหู่ ลงั คำศพั ท์ คำอ่ำน และอกั ษรยอ่ ที่บอก
ชนิดของคำตำมหลกั ไวยำกรณ์ เรียงตำมลำดบั กนั เช่น
นิทรรศการ [นิทดั สะกำน] น. กำรแสดงผลงำน สินคำ้ ผลิตภณั ฑ์
หรือกิจกรรมใหค้ นทว่ั ไปชม

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕

ตัวอย่าง : การใช้วสั ดุอุปกรณ์

คู่มือกำรใชว้ สั ดุอุปกรณ์ เป็นงำนเขียนท่ีอธิบำยวธิ ีใชว้ สั ดุอุปกรณ์ต่ำง ๆ
ก่อนใชค้ วรอ่ำนข้นั ตอนในกำรใชว้ สั ดุอุปกรณ์น้นั อยำ่ งละเอียด เพ่ือใหใ้ ชไ้ ด้
อยำ่ งถูกตอ้ งตำมวธิ ี และมีประสิทธิภำพในกำรทำงำน

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕

ตัวอย่างคู่มือการใช้วสั ดุอุปกรณ์ : การใช้เตารีดไฟฟ้า

➢ เสียบปลก๊ั ไฟเตำรีดในเตำ้ รับท่ีมีสำยดินต่อ
➢ หมนุ ป่ ุมควบคุมอุณหภูมิไปตำมอุณหภูมิท่ีตอ้ งกำร
➢ ต้งั เตำรีด
➢ เม่ือสญั ญำณไฟสีเหลืองดบั ลง รอสกั ครู่ก่อนท่ีจะเร่ิมรีด
➢ เร่ิมรีดผำ้ จำกผำ้ ที่ไม่ตอ้ งกำรควำมร้อนสูงก่อน เช่น ผำ้ เชด็ หนำ้
➢ เมื่อรีดผำ้ เสร็จ หมุนป่ ุมควบคุมอุณหภูมิไปท่ีตำแหน่ง ๐ ต้งั เตำรีด

ข้ึนและถอดปลกั๊ ไฟเตำรีดออก

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕

การอ่านฉลากยา

ฉลำกยำ คือ ป้ำยบอกช่ือยำและขอ้ ควำมท่ีแสดงรำยละเอียดเก่ียวกบั ยำ
ซ่ึงติดอยทู่ ่ีภำชนะหรือซองบรรจุยำ ประกอบดว้ ย ช่ือยำ ส่วนประกอบของยำ
สรรพคุณ ขนำดและวธิ ีใช้ คำเตือน กำรเกบ็ รักษำ วนั หมดอำยุ ก่อนใชย้ ำตอ้ ง
อ่ำนฉลำกยำใหเ้ ขำ้ ใจและปฏิบตั ิตำมอยำ่ งถูกตอ้ ง

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕

ตวั อย่างการอ่านฉลากยา : ยาเมด็ บรรเทาปวดลดไข้

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ที่ ๕

ตวั อย่าง : คู่มือและเอกสารของโรงเรียนทเี่ กยี่ วข้องกบั นักเรียน

ตวั อย่าง คู่มือและเอกสารของโรงเรียนทเี่ กยี่ วข้องกบั นักเรียน

หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๕


Click to View FlipBook Version