The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E8 รายงานผลการพัฒนาครึ่งแผนยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560-2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by E-Library DAS, 2021-09-10 00:34:49

รายงานผลการพัฒนาครึ่งแผนยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560-2564

E8 รายงานผลการพัฒนาครึ่งแผนยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560-2564

Keywords: E8,รายงานผลการพัฒนาครึ่งแผนยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560-2564

ISBN : 978-616-11-4362-6

รายงานผลการพฒั นาครง่ึ แผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข
พ.ศ. 2560-2564

ที่ปรกึ ษา นายแพทยธ์ เนศ ดสุ ติ สุนทรกุล
รักษาราชการแทน ผู้อานวยการกองยทุ ธศาสตร์และแผนงาน
สานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ

คณะผู้จัดทา ปาณบดี เอกะจมั ปกะ
พลู สนิ ศรปี ระยูร
ศุภราภรณ์ ธรรมชาติ

ISBN 978-616-11-4362-6
Website http://bps.moph.go.th/new_bps/monitoringandevaluation
จดั ทาโดย กองยุทธศาสตรแ์ ละแผนงาน สานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสุข
จานวนพมิ พ์ 1,000 เลม่
พิมพท์ ่ี โรงพมิ พเ์ ทพอกั ษรการพมิ พ์

คำนำ

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) สอดคล้องกับ
ยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ ๒๐ ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุขและแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประกอบด้วย 4
ยทุ ธศาสตรค์ วามเป็นเลศิ คือ 1) ยุทธศาสตรด์ ้านสง่ เสรมิ สุขภาพ ปอ้ งกันโรคและคุ้มครองผู้บริโภคเป็น
เลิศ (Promotion Prevention & Protection Excellence) 2) ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ
(Service Excellence 3) ยุทธศาสตร์ด้านบุคลากรเป็นเลิศ (People Excellence) และ 4) ยุทธศาสตร์
ด้านบริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล (Governance Excellence) เพ่ือมุ่งสู่เป้าหมาย “ประชาชน
สุขภาพดี เจ้าหน้าทม่ี คี วามสุข ระบบสขุ ภาพยั่งยนื ” ซ่ึงหนว่ ยงานในกระทรวงสาธารณสุขท้ังส่วนกลาง
และสว่ นภมู ิภาคได้มีการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง เป็นระยะเวลา 3 ปี ต้ังแต่
พ.ศ. 2560-2562 ถือว่าเป็นการดาเนินงานมาจนถึงคร่ึงแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.
2560-2564 แล้ว จึงควรมีการประเมินผลการดาเนินงานท่ีผ่านมา กองยุทธศาสตร์และแผนงาน
สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จึงได้จัดทารายงานผลการพัฒนาคร่ึงแผนยุทธศาสตร์กระทรวง
สาธารณสุข พ.ศ. 2560-2564 เพ่ือเป็นข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนาแผนยุทธศาสตร์กระทรวง
สาธารณสุขในระยะต่อไป

รายงานฉบับน้ีได้นาเสนอผลการพัฒนาในภาพรวมของคร่ึงแผนยุทธศาสตร์กระทรวง
สาธารณสุข และผลการพัฒนารายยุทธศาสตร์ว่าสามารถบรรลุเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ในแผนเพียงใด
ตลอดจนจัดทาข้อเสนอเพื่อแก้ไขปัญหาการดาเนินงาน เพ่ือเร่งรัดให้การดาเนินงานบรรลุเป้าหมายท่ี
กาหนดไวใ้ น พ.ศ. 2564

กองยทุ ธศาสตร์และแผนงาน สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงาน
ผลการพัฒนาคร่ึงแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560-2564 จะเป็นประโยชน์แก่
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ได้รับทราบรายงานผลการพัฒนาครึ่งแผน
ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560-2564 และนารายงานฯ มาใช้ในการพัฒนาและ
ขับเคล่อื นแผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุขในระยะต่อไปใหม้ ีประสิทธภิ าพย่งิ ข้นึ

กองยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงาน
สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มิถุนายน 2563



บทสรปุ ผบู้ รหิ าร

กระทรวงสาธารณสุขขับเคล่ือนแผนยุทธศาสตร์ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) ประกอบด้วย 4
ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ ยุทธศาสตร์ด้าน
บริการเป็นเลิศ ยุทธศาสตร์ด้านบุคลากรเป็นเลิศ และยุทธศาสตร์ด้านบริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล เพื่อมุ่งสู่
เป้าหมาย “ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน” โดยได้ดาเนินการในระยะแรก
พ.ศ. 2560-2564 มาครึ่งแผนยุทธศาสตร์ฯ แล้ว กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สานักงานปลัดกระทรวง
สาธารณสุข จึงได้ประเมินผลการพัฒนาสุขภาพคร่ึงแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ. 2560-
2564) โดยกรอบการประเมินแบง่ เปน็ 2 สว่ นคือ การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพบางประเด็น และการ
ประเมนิ ผลผลติ และผลลพั ธใ์ นภาพรวม และรายยุทธศาสตร์ สาหรับวิธีการประเมินใช้การทบทวนเอกสาร
ทีเ่ ก่ียวข้อง (Documentary Research) และการสัมภาษณผ์ ู้บรหิ าร ผูท้ รงคุณวุฒิ

ผลการพัฒนาครึ่งแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ. 2560-2564) มีตัวช้ีวัดทั้งหมด 118
ตัวช้ีวัด เป็นตัวช้ีวัดตามแผนยุทธศาสตร์ฯ 116 ตัวชี้วัด และเป็นตัวชี้วัดท่ีเพ่ิมใหม่ 2 ตัวช้ีวัด (ER คุณภาพ และ
Digital Transformation) พบว่า บรรลุค่าเป้าหมายของแผนยุทธศาสตร์ฯ จานวน 33 ตัวชี้วัด (ร้อยละ 28.0)
ขณะท่ียังมีสถานการณ์การบรรลุเป้าหมายต่ากว่าที่กาหนด จานวน 60 ตัวชี้วัด (ร้อยละ 50.9) โดยเป็นระดับต่า
กว่าค่าเป้าหมาย จานวน 25 ตัวชี้วัด (ร้อยละ 21.2) ระดับต่ากว่าค่าเป้าหมายระดับเสี่ยง จานวน 17 ตัวชี้วัด
(รอ้ ยละ 14.4) ระดบั ต่ากวา่ คา่ เปา้ หมายระดบั วิกฤต จานวน 18 ตวั ชี้วัด (ร้อยละ 15.3) นอกจากนี้ยังประเมินไม่ได้
จานวน 25 ตัวชีว้ ัด (ร้อยละ 21.2)

ผลการพัฒนาในภาพรวมของครึ่งแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ. 2560-2564) พบว่า
สขุ ภาพกายของคนไทยมีแนวโน้มดีขึ้น โดยอายุคาดเฉลี่ยเม่ือแรกเกิดเพิ่มข้ึนเป็น 75.7 ปี ใน พ.ศ. 2563 และอายุ
คาดเฉลีย่ ของการมีสขุ ภาพดที ัง้ เพศชายและเพศหญงิ เพิ่มข้นึ เป็น 68 ปี และ 72.3 ปี ตามลาดับ อัตรามารดาตายมี
แนวโน้มลดลง เป็น 19.9 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน ใน พ.ศ. 2561 อัตราตายทารกมีแนวโน้มลดลงเป็น 9.3 ต่อการ
เกิดมีชีพพันคน ใน พ.ศ. 2562 และคนไทยส่วนใหญ่ป่วยและตายด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อย่างไรก็ตามโรคติดต่อ
ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย โดยเฉพาะโรคอุบตั ใิ หม่-อบุ ัติซ้า และภาวะภยั พิบัติ ซึ่งจะมีผลต่ออายุ
คาดเฉลีย่ เมอ่ื แรกเกิดและอายคุ าดเฉล่ยี ของการมีสขุ ภาพดลี ดลง ทาใหไ้ ม่สามารถบรรลุเป้าหมายที่กาหนดในระยะ
20 ปี (อายุคาดเฉลี่ย ไม่น้อยกว่า 85 ปี และอายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 75 ปี ใน พ.ศ. 2579)
ดังน้ัน หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขควรมีการปรับเปลี่ยนแผนงาน โครงการ และกลยุทธ์เชิงรุก ท่ีจะ
ส่งผลตอ่ การเพ่ิมอายุคาดเฉล่ียเมื่อแรกเกิด และอายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี อาทิเช่น การลดปัจจัยเสี่ยงของ
โรคท่ีสามารถป้องกันได้ อุบัติเหตุทางถนน เด็กต่ากว่า 15 ปี เสียชีวิตจากการจมน้า โรคซึมเศร้า จะส่งผลให้
ประชาชนไทยมีสขุ ภาพดี สาหรับสขุ ภาพจิตประชากรไทยส่วนใหญ่มสี ขุ ภาพจิตเทา่ กับและสงู กว่าคนทัว่ ไป เพ่ิมขึ้น
จากร้อยละ 82.2 ใน พ.ศ. 2551 เป็นร้อยละ 84.2 ใน พ.ศ. 2561 แต่หากพิจารณาอัตราผู้ป่วยนอกด้วยโรคจิต
พบว่าอยู่ระหว่าง 374-742 ต่อประชากรแสนคน ใน พ.ศ. 2561 แต่อัตราการฆ่าตัวตายเพ่ิมขึ้น จาก 6.3 ต่อ
ประชากรแสนคน ใน พ.ศ. 2560 เปน็ 6.6 ต่อประชากรแสนคน ใน พ.ศ. 2562



ผลการพฒั นารายยุทธศาสตร์ พบวา่
✦ 1. ด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ พบว่า การสร้างเสริม

สุขภาพ กลุ่มวัย ไม่ประสบความสาเร็จเท่าท่ีควร โดยเฉพาะในประเด็นการติดตามและกระตุ้นพัฒนาการ
เด็กล่าช้ายังไม่ครอบคลุม สูงดีสมส่วนในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ยังต่ากว่าค่าเป้าหมายท่ีกาหนด การเสียชีวิตจาก
การจมนา้ ของเด็กอายตุ า่ กว่า 15 ปี ยงั ไม่บรรลคุ ่าเปา้ หมาย และการมพี ฤติกรรมสุขภาพท่ีไม่เหมาะสมของทุกกลุ่ม
วัย ส่วนด้านการป้องกันและควบคุมโรค พบว่า อัตราป่วยและตายด้วยโรคติดต่อสาคัญยังเป็นปัญหาสาธารณสุข
แต่มีแนวโน้มของโรคคงท่ี ได้แก่ อุจจาระร่วงเฉียบพลัน ไข้เลือดออก โรติดต่อทางเพศสัมพันธุ์ โรคเอดส์ และวัณ
โรค และอัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเร้ือรังมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน ได้แก่ มะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ
สาหรบั ระบบการจดั การภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขมีประสิทธิภาพในการควบคุมจัดการโรคระบาด โดยจากการ
สารวจความพร้อมในการรับมือกับโรคระบาดร้ายแรง ใน พ.ศ. 2562 พบว่า ไทยมีความพร้อมในการรับมือโรค
ระบาดเปน็ อันดับ 6 ของโลก

ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ พบว่า มีการพัฒนากระบวนการ
ออกใบอนญุ าตผลิตภัณฑ์สุขภาพ ส่งผลให้สามารถอนุญาตแล้วเสร็จเพ่ิมขึ้นจาก 605,019 รายการ ใน พ.ศ. 2559
เป็น 810,302 รายการ ใน พ.ศ. 2561 ส่วนการตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพยังไม่ครอบคลุม การซ้ือสินค้าทาง
สุขภาพในระบบออนไลน์ การคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคด้านบริการสขุ ภาพ แม้ว่าสถานพยาบาลเอกชนมีคุณภาพมาตรฐาน
แตค่ ่ารักษาพยาบาลแพง จึงควรกาหนดมาตรฐานค่ารกั ษาพยาบาลของสถานพยาบาลเอกชน และสถานบรกิ ารด้าน
เสรมิ ความงามมีจานวนเพิ่มขึน้ มกี ารโฆษณาชวนเชื่อท่ีเกินจริง จึงควรเพ่ิมการดูแลกวดขันคลินิกที่ให้บริการเสริม
ความงามมากขึ้น

✦ 2. ด้านบริการเป็นเลิศ พบว่า มีการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในระดับปฐมภูมิ มีคลินิกหมอ
ครอบครัว คณะกรรมการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตระดับอาเภอครบทุกแห่ง ดูแลและแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชน
ในพืน้ ท่ี ในระดบั ทุติยภมู แิ ละตติยภูมิ มีความเช่ียวชาญเพิ่มจาก 19 สาขา เป็น 20 สาขา คือ เพิ่มสาขากัญชาทาง
การแพทย์ มีการขยายคลินิกและบริการสุขภาพด้านต่างๆ เช่น ขยายบริการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจเพิ่มข้ึนเป็น 24
แหง่ ใน พ.ศ. 2561

สาหรับการลดอัตราป่วยและตายในสาขาโรคไม่ติดต่อเร้ือรังในผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ผู้ปว่ ยไตเร้ือรัง ตา่ กวา่ คา่ เปา้ หมายท่กี าหนด สว่ นอตั ราตายของโรคหลอดเลือดหัวใจ ตา่ กวา่ คา่ เป้าหมายระดับเสยี่ ง
การลดแออดั ลดรอคอย พบว่า การดาเนินงานในผ้ปู ่วยมะเรง็ 5 อันดับ ที่รักษาด้วยการผ่าตัด เคมีบาบัด และรังสี
รักษา ต่ากว่าค่าเป้าหมายที่กาหนด ขณะท่ีการผ่าตัดแบบวันเดียวกลับบ้านได้ (One Day Surgery) บรรลุค่า
เป้าหมายที่กาหนด และสามารถลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลของผู้ป่วย ใน พ.ศ. 2561 จานวน 3,718,000
บาท ใน พ.ศ. 2562 จานวน 9,688,000 บาท และลดวนั นอนในโรงพยาบาล 7,436 วัน ใน พ.ศ. 2561 และ 19,376
วนั ใน พ.ศ. 2562

✦ 3. ดา้ นบุคลากรเป็นเลศิ พบวา่ กระทรวงสาธารณสุขได้มกี ารผลติ กาลังคนด้านสขุ ภาพ ในหลกั สูตร
ต่างๆ ได้แก่ การผลิตพยาบาลศาสตรบัณฑิต มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน ต้ังแต่ พ.ศ. 2560-2562 ส่วนการผลิต
สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต การแพทย์แผนไทยบัณฑิต และประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง มีแนวโน้มลดลง การ
พัฒนาศกั ยภาพ อาสาสมัครประจาครอบครวั (อสค.) ต่ากวา่ คา่ เปา้ หมายระดบั วิกฤต สว่ นการกระจายกาลงั คนดา้ น
สุขภาพ ใน 4 สาขาหลัก ยังมคี วามเหลือ่ มลา้ ระหวา่ งภาค เขตสุขภาพและกระจุกตัวอยู่ในกรุงเทพมหานคร จึงได้มี
การกระจายอานาจให้เขตสุขภาพมีการบริหารจดั การกาลังคนด้านสุขภาพ แต่ยังไม่ก้าวหน้ามากนัก ด้านการสร้าง



ขวัญกาลังใจและธารงรักษาบุคลากร มีการปรับปรุงการจ่ายค่าตอบแทนแก่เจ้าหน้าท่ีท่ีปฏิบัติงานให้กับหน่วย
บริการสาธารณสุข รวมท้ังการขับเคล่ือนแผนสร้างสุข ส่งผลให้ดัชนีความสุขของคนทางาน เป็นร้อยละ 63.6 ใน
พ.ศ. 2562 บรรลุค่าเป้าหมายที่กาหนด (ร้อยละ 50) และอัตราการคงอยู่ของบุคลากร เป็น ร้อยละ 97.1 ใน
พ.ศ. 2562

✦ 4. ด้านบริหารเป็นเลิศดว้ ยธรรมาภิบาล พบวา่ การพฒั นาคณุ ธรรมและความโปร่งใสของหน่วยงาน
ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข และการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มีผลการดาเนินงาน บรรลุค่า
เป้าหมายที่กาหนด ส่วนการจัดซ้ือยาร่วมของยาและเวชภัณฑ์ท่ีไม่ใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์ และวัสดุทันตกรรม
ดาเนินการได้ต่ากว่าค่าเป้าหมายท่ีกาหนด มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในโรงพยาบาลเพื่อมุ่งสู่การเป็น
Smart Hospital แต่ยังไม่มีการดาเนนิ งานทช่ี ดั เจนของหน่วยงานระดับกรมในส่วนกลาง และจากการประเมินของ
สานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิตัล ได้แบ่งการจัดกลุ่มเป็น 4 กลุ่ม พบว่า กระทรวงสาธารณสุขถูกจัดอยู่ในกลุ่มท่ี 3
Rising Star คอื กลุ่มที่มีความพร้อมรัฐบาลดิจิตัลต่าถึงปานกลาง แต่มีการพัฒนาความพร้อมฯ ท่ีดีข้ึนจากปีท่ีแล้ว
อยา่ งโดดเดน่ และด้านหลักประกนั สุขภาพ แมว้ ่าประชาชนมหี ลักประกนั สขุ ภาพเพ่ิมขน้ึ แตก่ ารลดความเหลื่อมล้า
ของ 3 กองทนุ ยงั ไมก่ า้ วหนา้ ดาเนินการเฉพาะเรอ่ื ง “เจ็บปว่ ยฉุกเฉินวกิ ฤต มสี ทิ ธทิ กุ ที่”

ขอ้ เสนอการพัฒนาแผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขระยะต่อไป
✦1. ข้อเสนอต่อตัวชี้วัดแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ. 2560-2564) พบว่า ตัวช้ีวัดแผน
ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2560-2564 และตัวชวี้ ัดที่เพิ่มระหว่างปีงบประมาณ 2560-2562 มีท้ังหมด
118 ตัวชว้ี ดั ควรคงไวเ้ ปน็ ตวั ชวี้ ดั ตามแผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560-2564 จานวน 91 ตัวช้ีวัด
(ร้อยละ 77.1) ยกเลิกตัวชี้วัดในระดับแผนยุทธศาสตร์ให้เป็นการวัดผลในระดับกรม จานวน 18 ตัวช้ีวัด
(รอ้ ยละ 15.3) ปรับเปล่ยี นตวั ชีว้ ดั โดยใหไ้ ปวดั ผลที่ผปู้ ่วยและความสามารถในการจัดการปัญหา จานวน 6 ตัวช้ีวัด
(ร้อยละ 5.1) และเพ่มิ การวดั ผลเชงิ คุณภาพ จานวน 3 ตวั ชวี้ ดั (ร้อยละ 2.5)
✦2. ประเดน็ การพฒั นาระยะต่อไป จาแนกตามรายยุทธศาสตร์
ประเด็นการพัฒนาด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ ควรเพิ่มสัดส่วนการ
จัดสรรและการใช้จ่ายงบประมาณด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและคุ้มครองผู้บริโภค ควรนาแนวคิดสมัยใหม่
มาสรา้ งสรรค์ความรอบรดู้ า้ นสุขภาพ (Health Literacy) การจดั ทาแผนสารองฉุกเฉนิ เพ่อื เตรียมความพรอ้ มในการ
รองรับภัยก่อการรา้ ยหรอื สถานการณ์ฉุกเฉิน การพัฒนากลุ่มวัย เน้นการฝากครรภ์คุณภาพและขับเคล่ือนสุขภาพ
มารดาและทารกในเขตสุขภาพที่มีผลการดาเนินงานต่ากว่าค่าเป้าหมาย ส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยเรียน ทบทวน
กลยุทธ์การดาเนินงานของทีมผู้ก่อการดี เพื่อหาแนวทางป้องกันเด็กเสียชีวิตจากการจมน้า การรณรงค์การมี
พฤติกรรมสขุ ภาพที่พงึ ประสงค์ด้วยสื่อท่ีเหมาะสมตามกลุ่มอาชีพ ควรมีการประเมินระบบการส่งเสริมสุขภาพ
ดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชน การออกมาตรการควบคุมค่ารักษาพยาบาลใน
สถานพยาบาลเอกชน โดยใช้ราคากลาง (Diagnosis Related Group : DRG) ด้านส่ิงแวดล้อม เร่งรัดการ
ดาเนินงานของจังหวัดให้มีระบบจัดการปัจจัยเส่ียงจากส่ิงแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพผ่านเกณฑ์
พ้ืนฐานให้ครบทุกจังหวัด และเร่งรัดให้มีการควบคุมการจัดการขยะติดเชื้อด้วยระบบ Digital Inflections
Control ให้แลว้ เสร็จภายในปี พ.ศ. 2564



ประเด็นการพัฒนาด้านบริการเป็นเลิศ การนาระบบการแพทย์ทางไกล (Telemedicine)
เทคโนโลยี AI มาช่วยในการวินิจฉัยและรักษาผู้ป่วย ควรขยายสิทธิ และเพ่ิมรายการยาในการรับยาที่ร้านยา
เน้นการสนับสนุนงบประมาณและคิดค้นมาตรการท่ีเป็นนวัตกรรมใหม่ๆ ในการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกัน
โรคของประชาชนในอาเภอผ่านกลไกคณะกรรมการพัฒนาสุขภาพระดับอาเภอ และควรประเมินผลสัมฤทธิ์
ของการดาเนินงานคลินิกหมอครอบครัว ควรเพ่ิมศักยภาพของโรงพยาบาลศูนย์ในการผ่าตัดปลูกถ่ายอวัยวะ
เพ่มิ กลุม่ โรคและความสามารถในการผ่าตัดท่ีมีการทาลายเนื้อเย่ือน้อย (MIS) ส่วนโรงพยาบาลทั่วไปขนาดเล็ก
(M1) ควรมีศักยภาพในการรักษาผู้ป่วยมะเร็งแบบครบวงจร โรงพยาบาลชุมชน ควรเพิ่มศักยภาพในการดูแล
ผู้ป่วยด้วยโรคซับซ้อนในสาขาไตและหัวใจ และเพิ่มกลุ่มโรคที่สามารถทาหัตถการแบบวันเดียวกลับบ้านได้
นอกจากน้คี วรพัฒนาหอ้ งฉุกเฉินใหม้ มี าตรฐาน (ER คุณภาพ) และเพิ่มบริการนอกเวลาสาหรับผู้ป่วยไม่ฉุกเฉิน
เพื่อลดความแออดั ในห้องฉกุ เฉนิ ของโรงพยาบาล

ประเด็นการพัฒนาด้านบุคลากรเป็นเลิศ เน้นการกระจายอานาจให้เขตสุขภาพบริหารจัดการ
กาลังคน การขับเคลื่อนองค์กรแห่งความสุขโดยปรับระบบให้มีการทางานท่ีบ้าน (Work From Home) ควร
ทบทวนเปา้ หมายการผลติ และความยั่งยืนของอาสาสมัครประจาครอบครัว (อสค.)

ประเด็นการพัฒนาด้านบริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล สนับสนุนการนาเทคโนโลยีมาช่วยพัฒนา
ระบบบริหารและระบบบริการของโรงพยาบาล เน้นการพัฒนาคุณภาพข้อมูล เพ่ือใช้ในการวิเคราะห์และ
คาดการณแ์ นวโนม้ ปัญหาสุขภาพ การมเี จา้ ภาพหลักและจัดทาแผนเพ่ือลดความเหลื่อมล้าของ 3 กองทุน ควร
พัฒนาโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลสังกัดกรมมุ่งสู่มาตรฐานความเป็นเลิศในระดับสากล (JCI : Joint
Commission International) ส่วนโรงพยาบาลชุมชน ใหผ้ ่านการรับรองคุณภาพมาตรฐาน HA ข้ัน 3 ทุกแห่ง
และพัฒนาศักยภาพหน่วยบริการปฐมภูมิให้มีมาตรฐาน และเสริมสร้างสมรรถนะนักวิจัยด้านสุขภาพ เพื่อให้
เกดิ งานวจิ ยั และนวตั กรรมท่ีมีคุณค่า

ประเด็นการพัฒนาด้านการติดตามประเมินผล หน่วยงานระดับกรมควรมีการประเมินยุทธศาสตร์
มาตรการ และกิจกรรมของแผนงานโครงการสาคัญที่กรมไม่บรรลุผลสาเร็จ การจัดเก็บข้อมูลควรมีการ
วางแผนและออกแบบการจัดเก็บข้อมูลในตัวชี้วัดที่ประเมินไม่ได้ และควรมีการทบทวนตัวช้ีวัดแผน
ยทุ ธศาสตรใ์ ห้วัดในระดับผลลัพธแ์ ละผลกระทบมากข้ึน เพอื่ สะทอ้ นผลสัมฤทธข์ิ องการดาเนินงาน



สารบัญ

หนา้

คำนำ ก
บทสรุปผูบ้ ริหำร ข
บทที่ 1 บทนำ 1
2
1.1 หลักการและเหตผุ ล 3
1.2 วตั ถุประสงค์ 3
1.3 ขอบเขตของการประเมนิ ผล 4
1.4 กรอบการประเมนิ ผลคร่ึงแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ. 2560-2564) 5
1.5 วิธกี ารศกึ ษา 5
1.6 ขั้นตอนการทางาน 6
1.7 ระยะเวลาดาเนนิ การ 6
1.8 ผลทค่ี าดว่าจะได้รับ 7
บทท่ี 2 แผนยทุ ธศำสตรก์ ระทรวงสำธำรณสขุ (พ.ศ. 2560-2564) 8
2.1 ความเช่อื มโยงของยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับท่ี 12
13
(พ.ศ. 2560-2564) แผนการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์กระทรวง 13
สาธารณสขุ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) 24
2.2 เป้าหมายและตัวชวี้ ัดหลกั ระดบั องค์กรของแผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสขุ
2.3 แผนงาน โครงการ ตัวช้วี ดั ภายใตแ้ ผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสขุ (พ.ศ. 2560-2564) 25
บทที่ 3 ผลกำรพฒั นำภำพรวมคร่งึ แผนยทุ ธศำสตร์กระทรวงสำธำรณสขุ (พ.ศ. 2560-2564) 34
44
3.1 สถานะสขุ ภาพคนไทย 45
3.2 ระบบสขุ ภาพ
บทท่ี 4 ผลกำรพัฒนำครึ่งแผนยุทธศำสตรก์ ระทรวงสำธำรณสุข (พ.ศ. 2560-2564) รำยยทุ ธศำสตร์ 49
4.1 ผลการดาเนินงานเมอ่ื เปรยี บเทียบเป้าหมายของแผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ.2560-2564) 115
116
4.2 ผลการพฒั นาครึ่งแผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560-2564 จาแนกรายยุทธศาสตร์ 119
122
บทที่ 5 ขอ้ เสนอกำรพฒั นำแผนยุทธศำสตรก์ ระทรวงสำธำรณสุขระยะต่อไป
5.1 ข้อเสนอต่อตวั ชีว้ ดั แผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสขุ (พ.ศ. 2560-2564)
5.2 ประเด็นการพฒั นาระยะตอ่ ไป

เอกสำรอ้ำงอิง

สารบญั ตาราง

ตารางท่ี หน้า

3.1 อายุคาดเฉลย่ี เมื่อแรกเกดิ และอายุคาดเฉลย่ี ของการมีสุขภาพดีของประชากรไทย พ.ศ. 2552-2583 25

3.2 อายุคาดเฉล่ยี เมื่อแรกเกดิ และอายคุ าดเฉล่ยี ของการมีสขุ ภาพดีของประชากรในประเทศพัฒนาแลว้ และประเทศใน 26

อาเซยี น พ.ศ.2558 และ พ.ศ.2559

3.3 อตั รามารดาตายต่อการเกดิ มีชีพแสนคน เมื่อเปรยี บเทยี บกบั กลมุ่ ประเทศอาเซียน ใน พ.ศ. 2558 27

3.4 อัตราทารกตายตอ่ การเกดิ มชี ีพพันคน เม่อื เปรยี บเทยี บกับกลุ่มประเทศอาเซียน ใน พ.ศ. 2533, 2543, 2556 28

และ พ.ศ. 2559

3.5 10 ลาดบั แรก อตั ราป่วยของผปู้ ่วยในตอ่ ประชากรแสนคน 29

3.6 จานวนและอตั ราตายตอ่ ประชากรแสนคน พ.ศ. 2557-2561 30

3.7 เปรยี บเทยี บการสูญเสยี ปสี ุขภาวะ 10 อันดบั แรกของประชากรไทย ระหว่าง พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2557 จาแนก 31

ตามเพศและสาเหตุ

3.8 ดชั นคี วามอยเู่ ยน็ เป็นสขุ รว่ มกนั ในสังคมไทย พ.ศ. 2555-2561 32

3.9 อตั ราผู้ปว่ ยนอกดว้ ยโรคจติ และปัญหาทางสุขภาพจิตต่อประชากรแสนคน พ.ศ. 2558-2561 33

4.1 ผลการดาเนินงานสามปีของตัวชี้วัดแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ. 2560-2564) จาแนกราย 46

ยุทธศาสตร์

4.2 ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนขนั้ พ้ืนฐานในเดก็ 0-5 ปี พ.ศ. 2559-2562 49

4.3 พฤตกิ รรมทางเพศของนักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 และ ปวช. 2 พ.ศ. 2557-2561 50
4.4 ความครอบคลุมของการตรวจคัดกรองเบาหวาน ความดนั โลหติ สงู มะเรง็ 52

4.5 พฤตกิ รรมสขุ ภาพของคนวัยทางานอายุ 15 ปขี ้ึนไป พ.ศ. 2547, พ.ศ. 2548, พ.ศ. 2550, พ.ศ. 2553, พ.ศ. 2558 52

และ พ.ศ. 2561

4.6 ความชุก (ร้อยละ) ของภาวะสุขภาพคนไทย พ.ศ. 2547, พ.ศ. 2548, พ.ศ. 2550, พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2558 และ 53

พ.ศ. 2561

4.7 การดแู ลส่งเสริมสขุ ภาพและการฟนื้ ฟูสมรรถนะผ้สู ูงอายุในชุมชน พ.ศ. 2560-2562 53

4.8 ร้อยละของผสู้ ูงอายุที่มีพฤตกิ รรมสง่ เสริมสุขภาพและพฤตกิ รรมเสย่ี ง พ.ศ. 2550, 2554, 2557 และ 2560 54
4.9 ความชกุ ของโรคเรอื้ รังในผู้สงู อายุ 60 ปีข้ึนไป พ.ศ. 2557 54

4.10 อตั ราป่วยและตายดว้ ยโรคตดิ ต่อท่ีสาคญั ต่อประชากรแสนคน พ.ศ. 2558-2562 55
4.11 สถานการณ์วัณโรคของประเทศไทย พ.ศ. 2555-2562 56
4.12 อัตราป่วยและตายดว้ ยโรคไมต่ ิดตอ่ ท่ีสาคญั พ.ศ. 2558-2562 56

4.13 ร้อยละของผู้ปว่ ยเบาหวานรายใหมจ่ ากกลมุ่ เสยี่ งฯ พ.ศ. 2560-2562 57

4.14 รอ้ ยละของผสู้ งสัยปว่ ยความดนั โลหิตสงู ได้วัดความดันโลหติ สูงที่บา้ น พ.ศ. 2561-2562 57

4.15 รอ้ ยละผปู้ ว่ ยโรคความดนั โลหิตสูงทค่ี วบคุมความดันโลหิตได้ดี พ.ศ. 2560-2562 57

4.16 ร้อยละของผลติ ภณั ฑอ์ าหารสดและอาหารแปรรูปท่ีผ่านการตรวจวเิ คราะห์ทางหอ้ งปฏิบตั กิ าร พ.ศ. 2560-2562 58

4.17 รอ้ ยละของผลิตภณั ฑ์สุขภาพท่ไี ดร้ ับการตรวจสอบไดม้ าตรฐานตามเกณฑท์ ่กี าหนด พ.ศ. 2560-2561 58

4.18 รอ้ ยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามยั สง่ิ แวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN พ.ศ. 2560-2562 61

4.19 ร้อยละของจังหวัดท่ีมีระบบจัดการปัจจัยเส่ียงจากส่ิงแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการ มีประสิทธิภาพและ 62
ย่ังยืน

สารบญั ตาราง (ตอ่ )

ตารางท่ี หนา้

4.20 ตารางเป้าหมายตัวชวี้ ดั แผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2560-2564 ด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค 66
และค้มุ ครองผู้บรโิ ภคเป็นเลิศ (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
72
4.21 อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลอื ดสมอง พ.ศ. 2560-2562 72
4.22 ผู้ปว่ ยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้าตาลได้ พ.ศ. 2560-2562 72
4.23 ผปู้ ว่ ยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคมุ ระดับความดันโลหิตได้ พ.ศ. 2560-2562 72

4.24 รอ้ ยละของผปู้ ว่ ยเบาหวาน ความดนั โลหิตสงู ทข่ี ้นึ ทะเบียน ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอด 73
เลือด พ.ศ. 2560-2562 73
73
4.25 ร้อยละของโรงพยาบาลท่ใี ชย้ าอย่างสมเหตสุ มผล RDU ข้นั ที่ 3 ≥ ร้อยละ 80 78
78
4.26 รอ้ ยละของโรงพยาบาลมรี ะบบการจดั การด้ือยาต้านจลุ ชีพอยา่ งบูรณาการ (AMR) (≥ ร้อยละ 70) 78
79
4.27 การลดการใช้ยาปฏชิ ีวนะโดยไม่จาเป็น พ.ศ. 2560-2562 79
80
4.28 ร้อยละของผปู้ ่วยมะเร็งทไี่ ด้รบั การรกั ษาดว้ ยการผ่าตัดภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์ 82
4.29 รอ้ ยละของผูป้ ว่ ยมะเร็งทไ่ี ด้รับการรกั ษาด้วยเคมีบาบัดภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์
91
4.30 รอ้ ยละของผ้ปู ว่ ยมะเร็งที่ได้รบั การรกั ษาดว้ ยรังสรี กั ษาภายในระยะเวลา 6 สปั ดาห์
91
4.31 ร้อยละของผู้ปว่ ยโรคไตเร้ือรงั ที่มีอตั ราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/1.73 m2/yr 96
4.32 รอ้ ยละของผ้ปู ว่ ยต้อกระจกชนดิ บอด (Blinding Cataract) ได้รับการผ่าตดั ภายใน 30 วนั พ.ศ. 2560-2562
98
4.33 รอ้ ยละของผู้ใช้ ผ้เู สพ ทบ่ี าบัดครบตามเกณฑ์ท่กี าหนด พ.ศ. 2560-2562
100
4.34 ตารางเป้าหมายตัวชี้วัดแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560-2564 ด้านบริการเป็นเลิศ (Service 101
Excellence) 103
110
4.35 การผลติ บุคลากรด้านสุขภาพ 4 สาขาหลักในประเทศไทย (ข้อมูลแผนการผลิตระหว่างปี 2556-2570 จากการ
สารวจในปี พ.ศ. 2560) 119

4.36 การผลติ บคุ ลากรตามแผนการผลิตในหลักสูตรต่างๆ ของกระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2560-2562
4.37 ตารางเป้าหมายตวั ชี้วัดแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560-2564 ด้านบุคลากรเป็นเลิศ (People

Excellence)
4.38 รางวัลด้านการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการทางานทสี่ านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขได้รับ พ.ศ.

2560-2562
4.39 จานวนผลงานของกระทรวงสาธารณสขุ ทไี่ ด้รับรางวัลเลศิ รัฐแต่ละสาขา ปี พ.ศ. 2560-2562
4.40 รอ้ ยละของโรงพยาบาลท่ีผา่ นการรับรองคณุ ภาพมาตรฐาน HA ขน้ั 3 พ.ศ. 2560-2562

4.41 กฎหมายท่ตี ราออกเป็นพระราชบญั ญตั ิ ของกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560-2562

4.42 ตารางเปา้ หมายตวั ชว้ี ดั แผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560-2564 ด้านบริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิ
บาล (Governance Excellence)

5.1 ขอ้ เสนอตวั ช้ีวัดแผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560-2564

สารบญั ภาพ

ภาพที่ หนา้

1.1 กรอบการประเมินผลครึ่งแผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสขุ (พ.ศ. 2560-2564) 4
2.1 ผังความเช่ือมโยงยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูปประเทศ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ สู่แผนยุทธศาสตร์ 12

กระทรวงสาธารณสขุ 27
3.1 อตั รามารดาตายต่อการเกดิ มีชพี แสนคน พ.ศ. 2555-2561 28
3.2 อตั ราทารกตายต่อการเกดิ มีชีพพันคน พ.ศ. 2556-2562 33
33
3.3 รอ้ ยละของระดบั สุขภาพจติ คนไทย อายุ 15 ปีขน้ึ ไป พ.ศ. 2551-2561 41
3.4 อตั ราการฆ่าตวั ตายตอ่ ประชากรแสนคน พ.ศ. 2552-2562 46

3.5 สดั ส่วนบุคลากรทางการแพทย์ตอ่ ประชากร 1,000 คน ในกลุ่มประเทศอาเซียน พ.ศ.2559 47
51
4.1 ผลการดาเนินงานสามปีของตัวช้ีวัดครึ่งแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ. 2560-2564) จาแนกราย 51
ยทุ ธศาสตร์ 59
63
4.2 ผลการพฒั นาครึ่งแผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560-2564 (จานวน 118 ตัวชว้ี ดั ) 75

4.3 อัตราป่วยโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสัมพันธใ์ นวัยรุ่นและเยาวชนอายุ 15-24 ปี พ.ศ. 2558-2562 92
4.4 อัตราคลอดมีชีพของหญงิ อายุ 15-19 ปี ตอ่ พนั ประชากร พ.ศ. 2558-2561 93
4.5 ร้อยละของประชาชนทม่ี คี วามรู้และพฤติกรรมการบรโิ ภคผลิตภัณฑ์สขุ ภาพที่ถกู ต้อง พ.ศ. 2558-2562 94
4.6 การพัฒนาชมุ ชนเขม้ แขง็ ในการจดั การอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชน พ.ศ. 2562 99

4.7 ร้อยละของผู้ป่วยนอก ที่ได้รับบริการรักษาพยาบาล การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ด้วยการแพทย์แผนไทย 104
และการแพทยท์ างเลือก พ.ศ. 2557-2562
105
4.8 อัตราส่วนกาลังคนด้านสขุ ภาพตอ่ ประชากรใน 4 สาขาหลกั ของประเทศ พ.ศ. 2558-2562 105
4.9 อตั ราสว่ นกาลังคนด้านสขุ ภาพใน 4 สาขาหลกั ต่อประชากร พ.ศ. 2558-2562 จาแนกภาค 106
4.10 คา่ เฉลยี่ ความสุขของคนทางานในกระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2560 และ พ.ศ. 2562 107
107
4.11 ร้อยละการจัดซ้ือรว่ มกันของ ยา เวชภัณฑ์ทไี่ ม่ใชย่ า วัสดุวทิ ยาศาสตร์ และวัสดุทันตกรรม ของหน่วยงานสังกัด 108
กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2557-2562 108
109
4.12 ร้อยละของหน่วยบริการสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ประสบภาวะวิกฤตการเงินระดับ 7 พ.ศ.
2554-2562

4.13 ความครอบคลมุ สิทธใิ นระบบหลกั ประกันสขุ ภาพ ปีงบประมาณ 2545-2562
4.14 อัตราบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว (บาท/ผูม้ สี ทิ ธ)ิ ปงี บประมาณ 2546-2562
4.15 พฒั นาการชุดสิทธิประโยชน์และการจดั การเพมิ่ การเข้าถึงบรกิ ารในระบบหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ
4.16 อตั ราผปู้ ่วยนอกใชบ้ รกิ ารสขุ ภาพ พ.ศ. 2546-2561
4.17 อตั ราผู้ปว่ ยในใชบ้ ริการสุขภาพ พ.ศ. 2546-2561
4.18 ครวั เรอื นทีเ่ กิดวกิ ฤตทิ างการเงินจากการจา่ ยคา่ รักษาพยาบาล พ.ศ. 2533-2560
4.19 ครวั เรอื นท่ีต้องกลายเปน็ ครัวเรือนยากจนภายหลงั จากการจา่ ยค่ารกั ษาพยาบาล พ.ศ. 2533-2560
4.20 ความแตกตา่ งอัตราการใช้สทิ ธิ (compliance rate) เม่อื ไปใช้บริการผปู้ ่วยในของผมู้ ีสิทธใิ น 3 ระบบ

บทที่ 1

บทนำ

รำยงำนผลกำรพัฒนำครึง่ แผนยุทธศำสตรก์ ระทรวงสำธำรณสุข พ.ศ.2560-2564

1. บทนำ

1.1 หลักกำรและเหตุผล

การเปล่ียนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง
ส่ิงแวดล้อม และความเจริญทางด้านเทคโนโลยี ได้แก่ การเปิดเสรี
ภาคสินค้า บริการต่างๆ และการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจที่หลาก
หลายขึ้น การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชนบทไปสู่
ความเป็นเมืองมีแนวโน้มมากข้ึน การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ส่งผลต่อภาวะโลกร้อน ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ
ตลอดจนความเส่ยี งตอ่ การเกิดวิกฤตจิ ากภัยพบิ ตั ิต่างๆ การรบั รู้ข้อมูล
ข่าวสารท่ีทันสมัย มีผลต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนไทย ทาให้
แบบแผนการเจ็บป่วยและการเสียชีวิตของประชาชนเปล่ียนไปจาก
เดิมจากกลุ่มโรคติดต่อเป็นกลุ่มโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง เนื่องจากการ
ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของตนเองและบุคคลในครอบครัว กระทรวง
สาธารณสุขจึงได้จัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
ระยะ 20 ปี ท่ีเชื่อมโยงกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี
(พ.ศ. 2561-2580) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) แผนปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข
และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ โดยได้กาหนดเป้าหมาย
“ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าท่ีมีความสุข ระบบสุขภาพย่ังยืน”
ประกอบด้วยความเป็นเลิศ 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านส่งเสริมสุขภาพ
ป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ 2) ด้านบริการเป็นเลิศ
3) ด้านบุคลากรเป็นเลิศ และ 4) ด้านบริหารเป็นเลิศด้วย
ธรรมาภิบาล ซ่ึงหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขท้ังส่วน
กลางและส่วนภูมิภาค ได้จัดทาแผนปฏิบัติราชการและแผนปฏิบัติ
การฯ โดยกาหนดโครงการ กิจกรรม เป้าหมายและตัวช้ีวัด และได้มี
การขับเคล่ือนแผนปฏิบัติราชการและแผนปฏิบัติการฯ ไปสู่การ
ปฏิบัติอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลาสามปี ต้ังแต่ พ.ศ. 2560-2562
ถือว่าเป็นการดาเนินงานมาจนถึงครึ่งแผนยุทธศาสตร์กระทรวง
สาธารณสุข (พ.ศ. 2560-2564) แล้ว ควรจะต้องมีการประเมินผล
การดาเนินงานท่ีผ่านมา และปัญหาอุปสรรค เพ่ือปรับปรุงแก้ไข
แผนงาน/โครงการ/ตัวชี้วัด ให้สามารถตอบสนองต่อเป้าหมายของ
แผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข

2

รำยงำนผลกำรพัฒนำครงึ่ แผนยุทธศำสตรก์ ระทรวงสำธำรณสุข พ.ศ.2560-2564

กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้จัดทารายงานผลการพัฒนาคร่ึง
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ.2560-2564) ขึ้น เพื่อนาข้อมูลมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาแผน
ยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสขุ ในระยะตอ่ ไปใหม้ ีประสทิ ธิภาพยิ่งขน้ึ

1.2 วัตถุประสงค์

1.2.1 เพื่อประเมินผลกระทบด้าน 1. 2.2 เพื่อป ร ะเมิน ผล ผ ลิ ต 1.2.3 เพ่ือจัดทาข้อเสนอเชิง

สุขภาพบางประเด็นในมิติต่างๆ ผลลัพธ์ว่าบรรลุวัตถุประสงค์หรือ นโยบายในการทบทวนตัวช้ีวัด

ได้แก่ มิติสุขภ าพกายและมิติ เป้าห มาย ที่กา หนด ไว้ใ นแผ น เป้าหมาย มาตรการ สาหรับใช้ใน

สุขภาพจิต ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข การพัฒนาแผนยุทธศาสตร์กระทรวง

(พ.ศ.2560-2564) สาธารณสุขในช่วงคร่ึงหลังของแผน

ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข

(พ.ศ.2563-2564) ให้มีประสิทธิภาพ

ยิง่ ข้ึน

1.3 ขอบเขตของกำรประเมนิ ผล

การประเมินผลคร่ึงแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ.2560-2564) มีขอบเขตของการประเมินผล ดังน้ี

1.3.1 การประเมนิ ผลกระทบสุขภาพบางประเด็น คือ การ

ประเมินผลกระทบสุขภาพในมิติต่างๆ เช่น สุขภาพกาย
สุขภาพจติ

1.3.2 การประเมินผลผลิต / ผลลัพธ์ ของตัวชี้วัดตามแผน

ยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข ระยะแรก (พ.ศ.2560-2564)
ในภาพรวม และรายยุทธศาสตร์ ซง่ึ ในแต่ละปีงบประมาณมีทั้ง
ตัวชี้วดั เดิม ตวั ช้วี ัดตอ่ เนื่อง และตวั ชี้วัดใหม่

3

รำยงำนผลกำรพฒั นำครึง่ แผนยุทธศำสตรก์ ระทรวงสำธำรณสุข พ.ศ.2560-2564

1.4 กรอบกำรประเมนิ ผลครงึ่ แผนยทุ ธศำสตร์ กระทรวงสำธำรณสขุ (พ.ศ. 2560-2564)

กรอบการประเมนิ ผลครงึ่ แผน 1) การประเมินผลกระทบดา้ นสขุ ภาพ
ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ. 2560-2564) บางประเด็น
แบง่ การประเมนิ เป็น 2 ส่วน คือ
2) การประเมนิ ผลผลิตและผลลพั ธใ์ นภาพรวม
ดงั ภาพที่ 1 และรายยทุ ธศาสตร์

ภำพท่ี 1.1 กรอบกำรประเมนิ ผลคร่งึ แผนยทุ ธศำสตร์ กระทรวงสำธำรณสขุ (พ.ศ. 2560-2564)

กพาแ.รผศสปน.การย2รธะะทุ5าเทมร6ธณร0นิศว-าผส2งสลุข5ตค6รร4์ ึ่ง ผลกระทบด้าน สุขภาพกาย สขุ ภาพจิต รายงานจากการสารวจของ
สุขภาพบาง ดัชนีการมสี ุขภาวะ หน่วยงานภายในและภายนอก
ประเดน็ กระทรวงสาธารณสุข

ผลลัพธ์/ผลผลติ การบรรลุวัตถปุ ระสงค์เป้าหมาย ระบบรายงาน HDC/Health
KPI/ระบบรายงานของกรม
- ภาพรวมของยุทธศาสตรฯ์ และรายงานการสารวจจาก
- รายยทุ ธศาสตร์ หน่วยงานอื่น ๆ

กระบวนการ - การขับเคลอื่ นแผนสู่การ ออกแบบเครอื่ งมอื การวัด
ดาเนนิ งาน ปฏิบตั ใิ นส่วนกลางและ กระบวนการดาเนินงาน
ภูมิภาค
- ยทุ ธศาสตร์/มาตรการการ เอกสารการจัดสรร
ดาเนนิ งานเพ่ือให้บรรลุ งบประมาณและรายงาน
เป้าหมายของแผนงาน/ การใช้จา่ ยงบประมาณ
โครงการ ดว้ ยระบบ GFMIS และ
SMS
ปจั จยั นาเขา้ การจดั สรรและการใช้จ่าย
งบประมาณตามโครงการฯ

ข้อเสนอเพือ่ การพฒั นา จดั ประชมุ ข้อเสนอและประเดน็ นาเสนอ
ยทุ ธศาสตร์ ในระยะครึ่ง นาเสนอ/ระดม การพฒั นายุทธศาสตร์ ผ้บู ริหาร
หลงั ของแผนยทุ ธศาสตร์ ความคดิ เห็น ในระยะคร่ึงหลงั ของ
กระทรวงสาธารณสขุ แผนยุทธศาสตร์
พ.ศ. 2560-2564 กระทรวงสาธารณสุข
พ.ศ. 2560-2564

4

รำยงำนผลกำรพัฒนำคร่งึ แผนยทุ ธศำสตรก์ ระทรวงสำธำรณสุข พ.ศ.2560-2564

1.5 วิธีกำรศกึ ษำ

1.5.1 ทบทวนเอกสาร (Documentary Research) โดยเก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจากรายงานการ

วิจัย เอกสาร สถิติและรายงานจากแหล่งต่างๆ ได้แก่ กรมในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ระบบรายงาน HDC
ระบบรายงาน Health KPI สานกั งานพัฒนานโยบายสขุ ภาพระหว่างประเทศ สานักงานสถิติแห่งชาติ สานักงาน
สภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิตัล ฯลฯ รายงานจากต่างประเทศ ได้แก่
Human Development Report, World Health Statistics เปน็ ต้น

1.5.2 สัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ รวม 10 ท่าน โดยการสุ่มแบบเจาะจงเพื่อให้

ขอ้ เสนอต่อการพัฒนาแผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงสาธารณสขุ (พ.ศ.2560-2564) ดงั นี้

1) นพ.ศุภกจิ ศิรลิ กั ษณ์ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
2) นพ.สุระ วิเศษศักด์ิ ผตู้ รวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสขุ ภาพท่ี 4
3) นพ.ไชยนนั ท์ ทยาววิ ัฒน์ สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 2
4) นพ.ภูษติ ประคองสาย ทป่ี รึกษาระดับกระทรวง ผู้ทรงคณุ วุฒิดา้ นสง่ เสรมิ สขุ ภาพ
5) นพ.สมบตั ิ แทนประเสรฐิ สุข ผูท้ รงคณุ วุฒิ กรมควบคุมโรค
6) นพ.ววิ ฒั น์ โรจนพทิ ยากร ผู้อานวยการศูนยน์ โยบายและการจัดการสขุ ภาพ
คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี
7) นพ.พนิ ิจ ฟา้ อานวยผล ผูอ้ านวยการสานักงานพัฒนาระบบขอ้ มูลขา่ วสารสขุ ภาพ
สถาบนั วจิ ัยระบบสาธารณสุข
8) นพ.ฑิณกร โนรี ผู้จัดการสานักงานวจิ ัยและพัฒนากาลังคนด้านสุขภาพ IHPP
9) นพ.จนิ ดา โรจนเมธินทร์ ผอู้ านวยการกองยทุ ธศาสตร์และแผนงาน กรมการแพทย์
10) นพ.ปยิ ะวัฒน์ เลาวหุตานนท์ ผู้อานวยการสานกั นิเทศระบบการแพทย์ กรมการแพทย์

1.6 ข้ันตอนกำรทำงำน

1.6.1 ศึกษาทบทวนนโยบายด้านสุขภาพ แผนยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผน

แม่บทที่เกี่ยวข้อง แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข รายงานการประเมินผลด้านสุขภาพ และ
งานวิจยั ท่ีเก่ียวข้องจากหน่วยงานทัง้ ภายในและภายนอกกระทรวงสาธารณสขุ

1.6.2 จัดทากรอบการประเมินผลคร่ึงแผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ. 2560-2564)
1.6.3 จัดทาแบบสัมภาษณ์และสัมภาษณ์ผู้บริหาร ผู้ทรงคุณวุฒิ เพ่ือให้ข้อเสนอในการพัฒนาแผนยุทธศาสตร์

กระทรวงสาธารณสขุ ในระยะต่อไป

1.6.4 เก็บรวบรวมข้อมูลผลการดาเนินงานจากหน่วยงานท้ังภายในและภายนอกกระทรวงสาธารณสุข ได้แก่

กรมวชิ าการ หนว่ ยงานในกากบั กระทรวงสาธารณสขุ สานกั งานสถติ ิแห่งชาติ องคก์ ารระหว่างประเทศ

5

รำยงำนผลกำรพฒั นำคร่ึงแผนยุทธศำสตรก์ ระทรวงสำธำรณสุข พ.ศ.2560-2564

1.6.5ประมวลผล วเิ คราะห์ข้อมลู และตรวจสอบความถูกตอ้ งของข้อมลู
1.6.6 สังเคราะห์และจดั ทารายงานผลการพฒั นาครึ่งแผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงสาธารณสขุ (พ.ศ.2560-2564)
1.6.7 จัดประชุมเพ่ือนาเสนอรายงานผลการพัฒนาคร่ึงแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ.2560-

2564) ตอ่ ผู้บริหารและหน่วยงานทีเ่ กยี่ วข้อง

1.6.8 จดั พมิ พร์ ายงานผลการพัฒนาครึง่ แผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ. 2560-2564) ในรูปแบบ

เอกสาร และเผยแพร่บน Website

1.7 ระยะเวลำดำเนนิ กำร
ปงี บประมาณ 2563

1.8 ผลท่ีคำดวำ่ จะไดร้ บั

1.8.1 หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องได้รับทราบรายงาน 1.8.2 เพื่อให้ผู้บริหารและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง

ผลการพัฒนาคร่ึงแผนยุทธศาสตร์กระทรวง นาผลการประเมินมาใช้ในการพัฒนาช่วงครึ่ง
สาธารณสุข (พ.ศ. 2560-2564) หลังของแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
พ.ศ. 2563-2564 ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพย่ิงขน้ึ

6

บทท่ี 2

แผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสขุ
(พ.ศ. 2560-2564)

รายงานผลการพัฒนาครง่ึ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564

2. แผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสขุ
(พ.ศ. 2560-2564)

2.1 ความเชอื่ มโยงของยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่
12 (พ.ศ. 2560-2564) แผนการปฏริ ูปประเทศดา้ นสาธารณสขุ และแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ แผน
ยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580)

การจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ได้เช่ือมโยงกับ
ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-
2564) แผนการปฏริ ปู ประเทศดา้ นสาธารณสุข และแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ ดงั นี้

2.1.1 ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580)

ยทุ ธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) เปน็ ยุทธศาสตรช์ าตฉิ บบั แรกของประเทศไทยตาม
รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 65 รัฐพึงจัดให้ยุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมาย
การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดทาแผนต่างๆ ให้สอดคล้อง
และบรู ณาการกนั เพอื่ ใหเ้ กดิ เป็นพลงั ผลกั ดนั ร่วมกนั ไปสู่เปา้ หมายดงั กล่าว และได้มีการตราพระราชบัญญัติ
การจัดทายุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 ดาเนินการเสร็จและประกาศใช้ ณ วันท่ี 8 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ทั้งน้ี
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) จะต้องนาไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้ประเทศไทยบรรลุวิสัยทัศน์
“ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง” เพ่ือความสุขของคนไทยทุกคน ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ประกอบด้วย เป้าหมาย
และประเดน็ การพฒั นาตามยทุ ธศาสตร์ 6 ดา้ น ไดแ้ ก่

1) ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ า้ นความมนั่ คง
2) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน
3) ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ า้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์
4) ยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านการปรบั เปลีย่ นคา่ นยิ มและวัฒนธรรมการสร้างโอกาส

และความเสมอภาคทางสงั คม

5) ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านการสรา้ งการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ิตท่เี ป็นมติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม
6) ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ

กระทรวงสาธารณสขุ เกี่ยวขอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์ชาตทิ งั้ 6 ดา้ น สาหรับยุทธศาสตร์ท่เี ก่ียวขอ้ งโดยตรง ได้แก่

ยุทธศาสตร์ชาตทิ ่ี 3 ยุทธศาสตร์ชาติที่ 4

8

รายงานผลการพฒั นาครง่ึ แผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564

2.1.2 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564)

ประเทศไทยมียุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี โดยแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
(พ.ศ. 2560-2564) เป็นแผนที่ใช้ในการเช่ือมโยงสู่การพัฒนา ประกอบด้วย 10 ยุทธศาสตร์ โดยมี 6
ยทุ ธศาสตร์ สอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี และอีก 4 ยทุ ธศาสตร์ เป็นยุทธศาสตร์สนับสนนุ คอื

135

24

6 8 10

79

กระทรวงสาธารณสขุ เก่ียวขอ้ งกบั ยุทธศาสตรท์ ง้ั 10 ยทุ ธศาสตร์ ยุทธศาสตรท์ ี่ 1
สาหรับยุทธศาสตร์ที่เก่ยี วขอ้ งโดยตรง ไดแ้ ก่ ยทุ ธศาสตร์ที่ 2

2.1.3 แผนการปฏริ ปู ประเทศดา้ นสาธารณสขุ

แผนการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข
ดาเนินการภายใต้กรอบของรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ที่กาหนดไว้ เพ่ือ
มุ่งเน้นให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตท่ีดี สังคมมี
โอกาสทัดเทียมกัน และประเทศมีการพัฒนาอย่าง
ย่ังยืน โดยคานึงถึงการเปลี่ยนแปลงปัจจัยท้ัง
ภายนอกและภายในท่ีจะส่งผลถึงการสาธารณสุข
ของประเทศและความสอดคล้องกับทิศทางของ
การพฒั นาประเทศ ทั้งในระยะกลางและระยะยาว
เพ่ือตอบสนองต่อเป้าพึงประสงค์รวม แบ่งเป็น 4
ประเดน็ การปฏริ ูป ดงั นี้

9

รายงานผลการพฒั นาคร่ึงแผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564 ประเด็นด้านระบบบริการสาธารณสุข
ม่งุ พัฒนาระบบบริการปฐมภมู ิ การแพทย์
ประเด็นด้านระบบบริหารจัดการด้านสุขภาพ
ที่ให้ความสาคัญกับการมีกลไกในการกาหนด 2 แผนไทย การแพทย์ฉุกเฉิน และการ
นโยบายสุขภาพแห่งชาติที่มีความเป็นเอกภาพ สรา้ งเสรมิ ป้องกันและควบคมุ โรค

1 การกระจายอานาจในการบริหารจัดการไปยัง
เขตสุขภาพ การมีระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ

และการวางแผนกาลังคนดา้ นสขุ ภาพ 4 ประเด็นด้านความยั่งยืนและเพียงพอ
ด้านการเงินการคลังสุขภาพ โดยการ
3 ประเด็นด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ให้ความ ปฏริ ูประบบหลักประกันสุขภาพภาครัฐ
สาคัญในการสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ ทุกระบบให้มีประสิทธิภาพ มีความเป็น
ใหก้ บั ประชาชน รวมถงึ การคุ้มครองผบู้ รโิ ภค ธรรม และยงั่ ยืน

2.1.4 แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580)

แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580) เป็นแผนที่กาหนดเป้าหมายการพัฒนาตาม
ยุทธศาสตร์ชาติลงสู่แผนระดับต่างๆ ท่ีมีผลผูกพันต่อหน่วยงานของรัฐที่จะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามน้ัน
ประกอบด้วย 23 แผนแม่บท ดงั นี้

กระทรวงสาธารณสขุ เก่ียวข้องโดยตรง 2 ประเดน็ ไดแ้ ก่ ประเด็นที่ 13 และ 17
10

รายงานผลการพฒั นาครึง่ แผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564

2.1.5 แผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสขุ ระยะ 20 ปี

หลังจากท่ีนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา) ได้มีข้อส่ังการ ให้ทุกส่วนราชการจัดทา
แผนงานในภารกิจหลักของหน่วยงานระยะ 20 ปี เพื่อให้สอดรับกับการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี
กระทรวงสาธารณสุขในฐานะสว่ นราชการ จงึ ไดจ้ ดั ทาแผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุข ขึ้น
ภายใต้สถานการณ์การเปลี่ยนแปลง อาทิ การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ การเปลี่ยนจากสังคมชนบทสู่สังคมเมือง
การเชื่อมต่อการค้า การลงทุนทัว่ โลก ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยี ขณะทีง่ บประมาณภาครัฐเริ่มมีจากัด ทา
ให้ระบบสุขภาพไทยต้องเตรียมรับมือกับส่ิงต่างๆ เหล่านี้ เพื่อสร้างความเข้มแข็ง ม่ันคง และยั่งยืนให้กับ
ระบบสุขภาพทัดเทียมกับนานาประเทศในเอเชีย โดยแผนแบ่งเป็น 4 ระยะ ระยะละ 5 ปี มีจุดเน้นหนักแต่
ละระยะ คือ ระยะท่ี 1 พ.ศ. 2560-2564 ปฏิรูประบบ ระยะที่ 2 พ.ศ. 2565-2569 สร้างความเข้มแข็ง
ระยะท่ี 3 พ.ศ. 2570-2574 สู่ความยั่งยืน ระยะที่ 4 พ.ศ. 2575-2579 เป็น 1 ใน 3 ของเอเชีย และ
นบั ต้งั แตว่ ันที่ 4 ธันวาคม 2560 คณะรัฐมนตรมี มี ติกาหนดให้แผนมี 3 ระดบั ดังนี้

แผนระดบั 1 ยุทธศาสตรช์ าติ มแี ผนเดียวเทา่ นัน้

แผนระดบั 2 ไดแ้ ก่ แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ
แผนการปฏริ ปู ประเทศ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ
นโยบายและแผนระดับชาติวา่ ดว้ ยความมั่นคงแหง่ ชาติ

แผนระดับ 3 ได้แก่ แผนปฏิบัติการด้าน ระยะที่ ... (พ.ศ. ...-...) และแผนปฏิบัติ

ราชการของส่วนราชการระยะ 5 ปี และรายปี

ดังนั้น กระทรวงสาธารณสุข 1) สง่ เสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และค้มุ ครองผู้บรโิ ภคเปน็ เลิศ
จึงไดม้ ีการเปล่ียนช่ือจากแผนยุทธศาสตร์
ชาติ ระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุข เป็น (Promotion, Prevention & Protection Excellence)
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
ประกอบดว้ ย ยทุ ธศาสตรค์ วามเป็นเลิศ 4 2) บริการเปน็ เลิศ (Service Excellence)
ดา้ น คือ
3) บคุ ลากรเปน็ เลิศ (People Excellence)

4) บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล (Governance Excellence)

ความเชอื่ มโยงของยทุ ธศาสตรช์ าตสิ แู่ ผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ดังภาพท่ี 2.1

11

รายงานผลการพฒั นาครง่ึ แผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564

12
ภาพที่ 2.1 ผังความเช่ือมโยงยุทธศาสตรช์ าติ แผนปฏิรูปประเทศ แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ สแู่ ผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสขุ

ระดบั ของแผน

ยุทธศาสตรช์ าติ ความม่นั คง การสรา้ งความสามารถ การพัฒนาและเสริมสรา้ ง การสร้างโอกาสและ การสรา้ งการเตบิ โต การปรบั สมดุลและ
20 ปี พ.ศ. ในการแข่งขัน ศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ความเสมอภาคทางสงั คม พัฒนาระบบ
2561-2580 บนคณุ ภาพชีวติ
ท่เี ปน็ มิตรตอ่ ส่ิงแวดล้อม การบรหิ ารจัดการภาครฐั

แผนพฒั นาฯ 12 5. เสรมิ สร้าง 3. สรา้ งความเข้มแข็งทาง 1. เสริมสรา้ งและพฒั นา 2. สรา้ งความเป็นธรรม 4. การเติบโตทเี่ ป็นมติ ร 6. บริหารจดั การในภาครฐั
(2560-2564) ลดความเหล่อื มลา้ ในสังคม กับส่ิงแวดล้อม ป้องกันการทจุ รติ และ
ความมัน่ คง เศรษฐกจิ และแขง่ ขันได้อย่างยั่งยืน ศักยภาพทนุ มนษุ ย์ ธรรมาภิบาล
แผนปฏริ ปู 18. การเติบโตอยา่ งย่งั ยืน
ประเทศ 11 ด้าน 10. ความรว่ มมอื 7. โลจิสตกิ ส์ 8. วทิ ยาฯ เทคโนฯ นวตั กรรม 19. การบรหิ ารจดั การนา้ 3. กฎหมาย 4. ยุตธิ รรม
แผนแมบ่ ทภายใต้ ระหว่างประเทศ 9. พัฒนาภาค เมือง พืนทเ่ี ศรษฐกิจ 11. ทุจริต
ยุทธศาสตรช์ าติ ทังระบบ
7. สาธารณสุข 20. การบรกิ ารประชาชน
แผนยุทธศาสตร์ ละประสิทธิภาพภาครฐั
กระทรวง 1.ความมั่นคง 3. การเกษตร 2. การตา่ งประเทศ 15. พลังทางสังคม
สาธารณสขุ 21. การต่อตา้ นการทจุ รติ
ระยะ 20 ปี 4. อตุ สาหกรรมและบรกิ ารแห่ง 11. การพฒั นาศกั ยภาพคน 16. เศรษฐกจิ ฐานราก และประพฤตมิ ชิ อบ
อนาคต ตลอดชว่ งชีวิต
17. ความเสมอภาคและ 22. กฎหมายและ
5. การท่องเทยี่ ว 13. การเสรมิ สร้างให้คนไทย หลกั ประกันทางสังคม กระบวนการยตุ ิธรรม
7. โครงสรา้ งพนื ฐาน โลจสิ ตกิ ส์ มสี ขุ ภาวะที่ดี

ดิจิทลั 23. การวิจัยและพัฒนา
8. ผ้ปู ระกอบการและวสิ าหกิจขนาด นวตั กรรม

กลางและขนาดยอ่ มยุคใหม่

9. เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ

1. ส่งเสรมิ สขุ ภาพ ป้องกนั โรค 2. บรกิ ารเปน็ เลศิ 3. บคุ ลากรเปน็ เลศิ 4. บรหิ ารเปน็ เลศิ ดว้ ย
และคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคเปน็ เลศิ (Service Excellence) (People Excellence) ธรรมาภบิ าล

(PP&P Excellence) (Governance Excellence)

ท่ีมา : ดดั แปลงจากแผนปฏบิ ตั ิราชการ ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563-2565) ของกระทรวงสาธารณสขุ , หน้า 74

รายงานผลการพัฒนาคร่ึงแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564

2.2 เป้าหมายและตวั ชว้ี ดั หลกั ระดบั องคก์ รของแผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสขุ
เปา้ หมาย (Ultimate Goal)

ประชาชนสขุ ภาพดี เจา้ หนา้ ที่มคี วามสุข ระบบสขุ ภาพยั่งยืน

ตัวชวี้ ดั หลกั ระดบั องคก์ ร (Corporate KPIs) ระยะ 20 ปี

1) อายคุ าดเฉลี่ยเมอ่ื แรกเกดิ (Life Expectancy : LE) ไม่นอ้ ยกวา่ 85 ปี
2) อายคุ าดเฉล่ยี ของการมีสุขภาพดี (Health Adjusted Life Expectancy: HALE) ไมน่ อ้ ยกวา่ 75 ปี
3) ดชั นคี วามสุขของคนทางาน (Happinometer) ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 70
4) ดัชนสี ุขภาวะองคก์ ร (Happy Public Organization Index) ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 70
5) การเข้าถึง (Access) อตั ราการเข้าถงึ บริการแพทย์แผนไทย รอ้ ยละ 20
6) ความครอบคลุม (Coverage) สัดส่วนแพทย์ 1 คน ต่อประชากร 1,500 คน และ สัดส่วนเตียงของ

โรงพยาบาลสังกดั กระทรวงสาธารณสขุ 2 ตอ่ 1,000 ประชากร

7) มีคุณภาพ (Quality) รพศ., รพท., รพ.สังกัดกรมการแพทย์, กรมควบคุมโรค และกรมสุขภาพจิตได้รับการ

รบั รองคณุ ภาพตามมาตรฐาน HA ร้อยละ 100 และ รพช. รอ้ ยละ 100

8) มีธรรมาภิบาล (Governance) หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านการประเมิน ITA ไม่น้อยกว่า

ร้อยละ 95

2.3 แผนงาน โครงการ ตัวชวี้ ดั ภายใตแ้ ผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสขุ (พ.ศ. 2560-2564)

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ. 2560-2564) ประกอบด้วย 15 แผนงาน 45 โครงการ 116
ตัวชว้ี ดั จาแนกรายยทุ ธศาสตร์ ดังน้ี

1) ดา้ นสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ปอ้ งกันโรค และคุ้มครองผบู้ รโิ ภคเปน็ เลศิ
(Promotion, Prevention& Protection Excellence)

วตั ถปุ ระสงค์

เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพดี ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
และลดปัจจัยเส่ียงด้านสุขภาพ โดยมีระบบตอบสนองต่อภัยสุขภาพต่างๆ ตลอดจนมีการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน
สขุ ภาพท่ดี ี อยใู่ นสภาพแวดลอ้ มทีเ่ ออื้ ต่อการมีสขุ ภาพดี สง่ ผลใหอ้ ายขุ ัยเฉลยี่ และคุณภาพชวี ติ ดีข้ึน

13

รายงานผลการพฒั นาคร่งึ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564

เปา้ หมายการพฒั นา

1) ประชาชนทกุ กล่มุ วยั มีสุขภาพทดี่ ี
2) มีระบบปอ้ งกนั ควบคุมโรค ระบบเฝ้าระวงั โรคทส่ี ามารถตอบสนองได้ทนั ที
3) มีระบบคุ้มครองผู้บรโิ ภคท่ีมปี ระสิทธิภาพ
4) มรี ะบบการบริการจัดการส่งิ แวดล้อมท่ีเอ้อื ตอ่ สุขภาพของประชาชน
5) ทกุ ภาคส่วนมสี ่วนร่วมในการสง่ เสริมสขุ ภาพ ปอ้ งกนั โรค

มาตรการ

1) พัฒนาระบบส่งเสริมสขุ ภาพโดยการพัฒนาศกั ยภาพคนไทยทุกกลมุ่ วยั (ดา้ นสขุ ภาพ)
2) พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการบริการ (ANC /WCC /NCD)
3) พัฒนาระบบฐานขอ้ มูลรายบุคคล และเชอ่ื มโยงระบบขอ้ มลู กับหนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วข้อง
4) ส่งเสรมิ การผลิตและพฒั นาศกั ยภาพบุคลากร
5) เสรมิ สรา้ งความเขม้ แข็งของการป้องกันควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพ
6) ส่งเสรมิ สนบั สนนุ และสร้างความรอบรู้ดา้ นสุขภาพเพ่ือปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรมการบริโภค
7) ผลักดนั และบงั คับใชก้ ฎหมาย
8) บริหารจดั การสงิ่ แวดล้อมทเ่ี ออื้ ต่อการมีสุขภาพท่ดี ี
9) สนับสนนุ การมีส่วนร่วมของเครือขา่ ย

ประกอบดว้ ย 4 แผนงาน 12 โครงการ 27 ตัวชวี ัด

แผนงานท่ี 1 : การพัฒนาคุณภาพชีวติ คนไทยทุกกลมุ่ วัย (ด้านสขุ ภาพ)

โครงการ ตัวชีวัด

1. โครงการพฒั นาและสรา้ งเสริมศกั ยภาพคนไทย 1) ร้อยละ 100 สถานบริการสาธารณสขุ ที่มีการคลอดมาตรฐาน
กลมุ่ สตรแี ละเดก็ ปฐมวัย 2) อตั ราส่วนการตายมารดาไทยไมเกนิ 15 ตอ่ การเกิดมีชีพแสนคน
3) รอ้ ยละ 85 ของเด็กอายุ 0 - 5 ป มีพัฒนาการสมวัย
2. โครงการพฒั นาและสร้างเสริมศกั ยภาพคนไทย 4) รอ้ ยละ 63 ของเด็กอายุ 0 - 5 ป สูงดีสมส่วน
กล่มุ วยั เรยี นและวยั ร่นุ 5) เดก็ ไทยมีระดับสตปิ ัญญาเฉลยี่ ไมตา่ กว่า100
6) ร้อยละ 80 ของเด็กไทยมีความฉลาดทางอารมณอ์ ยใู่ นเกณฑ์ปกตขิ น้ึ ไป
3. โครงการพฒั นาและสร้างเสรมิ ศกั ยภาพคนไทย 7) ร้อยละ 66 ของเด็กวยั เรียน สงู ดสี มส่วน
กลุ่มวยั ท้างาน 8) รอ้ ยละ 60 เด็กกลมุ่ อายุ 0-12 ป ฟันดีไม่มผี ุ
9) อัตราการคลอดมชี ีพ ไมเกิน 34 ตอประชากรหญิงอายุ 15-19 ป
4. โครงการพฒั นาและสรา้ งเสริมศกั ยภาพคนไทย 10) รอ้ ยละ 56 ของประชาชนวยั ทางาน อายุ 30-44 ป
กลมุ่ วัยผสู้ ูงอายุ
มีคา่ ดัชนีมวลกายปกติ
11) LTC ร้อยละ 95
12) อัตราของผู้สูงอายทุ ี่ช่วยเหลือตนเองได้ เพม่ิ ขึน้ หรือคงที่
13) รพช. มหี น่วยบรกิ ารผสู้ ูงอายอุ ย่างน้อย รอ้ ยละ 75

14

รายงานผลการพฒั นาครง่ึ แผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564

แผนงานท่ี 2 : การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอ้าเภอ

โครงการ ตัวชวี ดั

5. โครงการการพฒั นาคุณภาพชวี ิตระดบั อ้าเภอ 14) ร้อยละ 80 ของอาเภอท่ีมคี ณะกรรมการพัฒนาคณุ ภาพ
(พชอ.) ชวี ติ ระดับอาเภอ (พชอ.) ทมี่ ีคุณภาพ (702 อาเภอ)

แผนงานที่ 3 : การป้องกัน ควบคมุ โรคและลดปจั จยั เสยี่ งด้านสขุ ภาพ

โครงการ ตัวชีวัด

6. โครงการพัฒนาระบบการตอบโต้ภาวะฉกุ เฉินและภยั 15) ร้อยละ100 ของจงั หวดั มศี นู ย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
สขุ ภาพ (EOC) และทีมตระหนักรู สถานการณ
(Situation Awareness Team: SAT) ทีส่ ามารถปฏบิ ตั งิ านไดจรงิ
7. โครงการควบคมุ โรคตดิ ตอ่
16) ร้อยละ 94 ของกลุ่มประชากรหลักทเ่ี ข้าถึงบรกิ าร
ป้องกัน HIV และโรคติดต่อทางเพศสัมพนั ธุ์เชงิ รกุ

17) รอ้ ยละ 80 ของตาบลจดั การสุขภาพในการเฝา้ ระวงั
ปอ้ งกนั แก้ไขปญั หาโรคพยาธิใบไมต้ ับและมะเรง็ ทอ่ น้าดี

8. โครงการควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ และภยั สขุ ภาพ 18) อตั ราการเสยี ชวี ติ จากการจมนา้ ของเด็กอายุนอ้ ยกว่า
15 ปี ไม่เกนิ 3.0
9. โครงการสง่ เสริมและพฒั นาความปลอดภยั ด้านอาหาร
10. โครงการคมุ้ ครองผู้บรโิ ภคดา้ นผลติ ภณั ฑ์สุขภาพและ 19) อตั ราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตทุ างถนน ลดลงรอ้ ยละ
50 จากปี 2554
บรกิ ารสุขภาพ
20) อตั ราผู้ปว่ ย DM รายใหม่จากกลุ่มเสยี่ งฯ ไมเ่ กินร้อยละ 2.16
แผนงานที่ 4 : การบริหารจัดการสิง่ แวดล้อม 21) อัตราผูป้ ่วย HT รายใหม่ โดยมมี าตรการในกลุ่มสงสยั ปว่ ย

ใหว้ ัดความดันโลหติ ทบี่ า้ น≥รอ้ ยละ 40
22) ร้อยละ 70 ของผลติ ภัณฑ์อาหารสด และอาหารแปรรปู

มคี วามปลอดภัย

23) ร้อยละ 99 ผลติ ภัณฑส์ ขุ ภาพทไี่ ด้รับการตรวจสอบได้
มาตรฐานตามเกณฑท์ ก่ี าหนด

24) รอ้ ยละ 100 ของสถานพยาบาลผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน
ที่กฎหมายกาหนด

25) สถานประกอบการเพ่ือสขุ ภาพไดรบั การส่งเสรมิ พฒั นา
ใหไ้ ดม้ าตรฐานตามท่กี ฎหมายกาหนด

โครงการ ตัวชีวัด

11. โครงการบรหิ ารจดั การสงิ่ แวดลอ้ ม 26) โรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ มกี ารควบคมุ การ
จัดการมลู ฝอยตดิ เชือ้ ด้วยระบบ Digital Infectious Control

12. โครงการคุม้ ครองสุขภาพประชาชนจากมลพิษ 27) รอ้ ยละ 70 ของจังหวัดทีม่ รี ะบบจัดการปัจจยั เส่ยี ง จากสง่ิ
สิง่ แวดล้อมในพนื ท่เี ส่ยี ง แวดลอ้ มและสขุ ภาพ ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก

หมายเหตุ : ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2561 ตัวชี้วัดท่ี 26 กรมอนามัย ขอเปล่ียนตัวช้ีวัดเป็น ร้อยละของโรงพยาบาลท่ีพัฒนาอนามัย
สิง่ แวดลอ้ มได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital

15

รายงานผลการพัฒนาคร่ึงแผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564

2) ดา้ นบรกิ ารเปน็ เลศิ (Service Excellence)

วัตถปุ ระสงค์

เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการที่มี
คุณภาพ ประสิทธิภาพครอบคลุมทั่วถึงลดความ
เหล่ือมล้าของผู้รับบริการในด้านการแพทย์และ
สาธารณสุข รวมทั้งมีระบบการส่งต่อที่มีคุณภาพ
เพ่ือให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้อย่างเท่า
เทียมกัน

เป้าหมายการพฒั นา

1) มีหมอครอบครวั ดแู ลประชาชนทุกครัวเรอื น
2) มีระบบบรกิ ารสขุ ภาพทไ่ี ดค้ ุณภาพมาตรฐาน
3) มรี ะบบการส่งต่อทมี่ ีประสทิ ธิภาพ
4) มเี ครอ่ื งมอื และเทคโนโลยีทางการแพทยท์ ี่ทนั สมัยและสามารถแข่งขนั ไดใ้ นระดับสากล
5) มีความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภายในประเทศและหน่วยงานต่างประเทศโดยเฉพาะ

การป้องกันและรกั ษาโรคทีม่ ีความสาคัญ

มาตรการ

1) พฒั นาระบบการแพทยป์ ฐมภูมิ (Primary Care Cluster) โดยให้มแี พทย์เวชศาสตร์ครอบครัว

ดูแลทกุ ครวั เรือน

2) พัฒนาระบบบริการตามแผนพัฒนาบริการสุขภาพ (Service Plan) ท่ีครอบคลุมทุกระบบ ใน

การใหบ้ รกิ ารทกุ พ้นื ที่

3) พัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและพัฒนาระบบเครือข่ายการส่งต่อทุกระดับ

ให้มปี ระสิทธิภาพ

4) สง่ เสริมการใช้บริการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก ภูมิปญั ญาและสมนุ ไพรไทย
5) สนบั สนนุ หน่วยงานบริการดา้ นสขุ ภาพใหไ้ ด้มาตรฐานสากล
6) ส่งเสรมิ การพฒั นานวัตกรรมดา้ นสขุ ภาพและเทคโนโลยที างการแพทย์
7) สนับสนนุ การพฒั นาบคุ ลากรใหม้ คี วามเชย่ี วชาญเฉพาะด้าน

ประกอบด้วย 5 แผนงาน 22 โครงการ 60 ตัวชวี ัด

16

รายงานผลการพัฒนาครึ่งแผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564

แผนงานท่ี 5 : การพฒั นาระบบการแพทยป์ ฐมภมู ิ

โครงการ ตวั ชวี ัด

13. โครงการพฒั นาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ 28) มคี ลนิ ิกหมอครอบครวั ท่ีเปิดดาเนนิ การในพ้นื ที่ 3,250 ทีม

แผนงานที่ 6 : การพฒั นาระบบบริการสขุ ภาพ (Service Plan)

โครงการ ตวั ชวี ัด

14. โครงการพฒั นาระบบบริการสขุ ภาพ 29) ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคมุ ระดับนา้ ตาลได้ ≥ 40%

สาขาโรคไม่ติดต่อเรือรงั 30) ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสงู สามารถควบคมุ ระดบั

ความดันโลหิตได้ ≥ 50%

31) ผูป้ ว่ ยเบาหวาน ความดนั โลหิตสงู ที่ขึน้ ทะเบยี นไดร้ ับการ

ประเมนิ โอกาสเสี่ยงต่อโรคหวั ใจและหลอดเลอื ด (CVD Risk)

ได้ ≥ 90%

32) อตั ราตายของผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมอง (I60-I69)

น้อยกว่าร้อยละ 7

15. โครงการป้องกนั และควบคุมการดอื ยาต้านจุลชพี และ 33) RDU ขน้ั ท่ี 3 ≥ ร้อยละ 80

การใชย้ าอยา่ งสมเหตสุ มผล 34) โรงพยาบาลมรี ะบบการจดั การ AMR อยา่ งบูรณาการ

≥ ร้อยละ 70

35) DRP ลดลง รอ้ ยละ 20 (Drug Related Problem)

36) ปริมาณการใชย้ าต้านจลุ ชพี ที่ออกฤทธิ์กวา้ ง ทไ่ี มเ่ หมาะสม

ลดลงรอ้ ยละ 20

37) การป่วยจากการติดเชอื้ ดอ้ื ยาตา้ นจลุ ชพี ลดลงรอ้ ยละ 50

38) ระบบจดั การการดือ้ ยาตา้ นจลุ ชีพของประเทศมีสมรรถนะ

ตามเกณฑส์ ากล (JEE) ระดบั 4

39) คา่ ใชจ้ ่ายดา้ นยาลดลง ร้อยละ 50

16. โครงการพัฒนาศนู ย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์ 40) ส่งตอ่ ผปู้ ว่ ยนอกเขตสขุ ภาพ ลดลงร้อยละ 10 ตอ่ ปี

17. โครงการพฒั นาระบบบริการสุขภาพ 41) < 2.5 ต่อ 1,000 ทารกเกิดมีชีพ

สาขาทารกแรกเกิด 42) ร้อยละ 85 ของผู้ป่วยกลมุ่ โรคทต่ี อ้ งได้รบั การดูแลแบบ
18. โครงการพัฒนาระบบการดูแลแบบประคบั ประคอง ประคบั ประคอง (8 กลมุ่ โรค) ไดร้ บั การดแู ลตามมาตรฐาน
และภายในเวลาท่กี าหนด
19. โครงการพฒั นาระบบบริการการแพทย์แผนไทยและ
การแพทยท์ างเลอื ก 43) มกี ารพัฒนาระบบเครือข่ายในโรงพยาบาลระดบั
A, S, M, F ร้อยละ 50
20. โครงการพฒั นาระบบบรกิ ารสุขภาพ
สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช 44) พฒั นาความรู้ในการดูแลผปู้ ว่ ยแบบประคับประคองใน
โรงพยาบาลระดบั A, S, M, F ร้อยละ 50

45) จดั ทาคลงั เครอื่ งมอื สาหรับการดแู ลผปู้ ว่ ยแบบประคบั -
ประคองท่บี า้ นในพ้นื ทร่ี ับผดิ ชอบของโรงพยาบาลระดับ
A, S, M, F ร้อยละ 50

46) พฒั นา OPIOIDS MODEL ใน รพ.ระดบั A, S, M, F รอ้ ยละ 50
47) พัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยแบบประคบั ประคองทบ่ี า้ นใน

พน้ื ที่รบั ผดิ ชอบของโรงพยาบาลระดับ A,S,M,F รอ้ ยละ 50
48) ผ้ปู ่วยนอกไดร้ บั บรกิ ารแพทยแ์ ผนไทยฯ ทไี่ ด้มาตรฐาน

ร้อยละ 20

49) ผู้ปว่ ยโรคซมึ เศรา้ เข้าถงึ บริการสุขภาพจติ ร้อยละ 70
50) อัตราการฆา่ ตัวตายสาเรจ็ ไมเ่ กนิ 6.0 ต่อแสนประชากร

17

รายงานผลการพฒั นาครึ่งแผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564

21. โครงการพัฒนาระบบบริการสขุ ภาพ 5 สาขาหลัก 51) อตั ราการเสยี ชีวติ จากภาวการณ์ตดิ เชอื้ ในกระแสเลือด

(สูตนิ รเี วช ศัลยกรรม อายุรกรรม กุมารเวชกรรม แบบรุนแรงของผปู้ ่วยทเ่ี ขา้ รับการรักษาในโรงพยาบาล

และออรโ์ ธปิดิกส์) ชนิด community acquired sepsis นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 24
ในกลมุ่ ผูป้ ว่ ย [รวมผูป้ ่วยทขี่ อไปเสยี ชีวิตท่บี า้ น

และไม่นับรวมผปู้ ว่ ย palliative (รหสั Z 51.5)] และน้อยกว่า

ร้อยละ 48 ในกลุ่มผู้ปว่ ย hospital-acquired sepsis

52) ร้อยละ 40 ของโรงพยาบาลระดบั S ที่มีทมี Capture the fracture

53) รอ้ ยละของผู้ป่วย Capture the fracture ที่มีภาวะกระดูกหักซา้

(Refracture) < รอ้ ยละ 20

54) ร้อยละของผ้ปู ่วย Capture the fracture ที่ได้รบั

การผา่ ตัดภายใน 72 ชว่ั โมง หลงั จากไดร้ ับการรกั ษา

ในโรงพยาบาล (Early surgery) > ร้อยละ 50 ขึ้นไป

22. โครงการพัฒนาระบบบริการสขุ ภาพ สาขาโรคหวั ใจ 55) ผปู้ ่วย STEMI, ได้รบั การสวนหัวใจและขยายหลอดเลอื ด

และให้ยาละลายลิ่มเลอื ดได้ รอ้ ยละ 80 ในโรงพยาบาล

ซ่ึงเปน็ ศนู ย์หวั ใจ

56) อตั ราการตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลอื ดหัวใจไมเ่ กนิ

24 ตอ่ แสนประชากร

57) จัดตั้ง Heart Failure Clinic ในทกุ โรงพยาบาล โดยเป็น

แบบสหวชิ าชพี และผู้ป่วยหัวใจลม้ เหลวทห่ี วั ใจกล้ามเนือ้

บีบตัวออ่ น ได้รับยาที่เหมาะสม มากกวา่ รอ้ ยละ 50

58) จดั ตั้ง Anticoagulant Clinic ในทุกโรงพยาบาล

โดยเป็นแบบสหวิชาชีพ และผู้ป่วยหวั ใจเต้นผิดจังหวะ

ต้องไดร้ บั ยาต้านการแข็งตัวของเลือด มากกวา่ รอ้ ยละ 60

59) มีการประชาสมั พนั ธ์ “Heart Attack” Campaign

เพอ่ื ให้ผปู้ ่วยทม่ี ีอาการมาถึงโรงพยาบาลได้เรว็ ภายใน

12 ช่ัวโมง ประมาณ 50%

23. โครงการพฒั นาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคมะเร็ง 60) รอ้ ยละ 85 ของผปู้ ว่ ยมะเร็ง 5 อันดบั แรกไดรับการ

รกั ษาภายในระยะเวลาท่ีกาหนด

61) อตั ราตายจากโรคมะเรง็ ตบั 23.7 ตอ่ แสนประชากร

62) อตั ราตายจากโรคมะเรง็ ปอด 19 ต่อแสนประชากร

24. โครงการพัฒนาระบบบรกิ ารสุขภาพ สาขาโรคไต 63) รอ้ ยละ 69 ของผ้ปู ว่ ย CKD ทมี่ ีอตั ราการลดลงของ

eGFR<4 ml/min1.73m2/yr

25. โครงการพัฒนาระบบบริการสขุ ภาพ สาขาจักษุวิทยา 64) รอ้ ยละของผปู้ ว่ ยต้อกระจกชนดิ บอด (Blinding Cataract)

ได้รับการผา่ ตัดภายใน 30 วัน ≥ รอ้ ยละ 80

26. โครงการพฒั นาระบบบริการสุขภาพ สาขาปลูกถา่ ย 65) อตั ราส่วนของจานวนผู้ยินยอมบริจาคอวัยวะจากผปู้ ่วย

อวัยวะ สมองตาย (acutual deceased donor) ตอ จานวนผู้ปว่ ย
เสียชีวิตในโรงพยาบาล (hospital death) 1.0 : 100

27. โครงการพฒั นาระบบบริการ รักษาผปู้ ่วยยาเสพตดิ 66) ผูป้ ว่ ยยาเสพติดทไ่ี ด้รับการบาบดั รกั ษาและหยดุ เสพ

ต่อเน่ือง ร้อยละ 76

67) ผตู้ ิดและตดิ รนุ แรงคงอยูใ่ นการบาบดั รกั ษาและดแู ล

ตอ่ เนอ่ื งอกี อยา่ งน้อย 1 ปี รอ้ ยละ 80

18

รายงานผลการพัฒนาครงึ่ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564

28. โครงการพฒั นาระบบบรกิ ารสุขภาพการดูแลระยะ 68) โรงพยาบาลระดับ M และ F สามารถให้บริการ IMC

กลาง (Intermediate Care) ในรปู แบบต่างๆ (variety of care) ได้ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 50
69) ลดการกลับเขา้ รักษาในโรงพยาบาลซา้ โดยไม่จาเป็นได้

ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 20

70) หน่วยบริการ IMC มรี ะบบติดตามประเมนิ ผลและเชอื่ มโยง

แผนการรกั ษากบั ระบบบรกิ ารสุขภาพทกุ ระดบั ไม่นอ้ ยกวา่

รอ้ ยละ 30

29. โครงการพัฒนาระบบบริการ one day surgery 71) รอ้ ยละ 15 ของผูป้ ว่ ยทีเ่ ข้ารบั การผา่ ตัดแบบ

One Day Surgery : จานวน 12 กล่มุ โรค (เฉพาะปี 2561)

และเพ่ิมหัตถการอยา่ งนอ้ ยรอ้ ยละ 5 ต่อปี

30. โครงการพฒั นาระบบบรกิ าร Minimally Invasive 72) รอ้ ยละ 25 ของจานวนผู้ปว่ ยที่เข้ารับการผา่ ตดั แบบ

Surgery Minimally Invasive Surgery : จานวน 2 กลมุ่ โรค

(เฉพาะปี 2561) และเพิม่ หัตถการอยา่ งน้อยรอ้ ยละ 5 ต่อปี

แผนงานที่ 7 : การพฒั นาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉนิ ครบวงจรและระบบการสง่ ต่อ

โครงการ ตวั ชวี ัด

31. โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉนิ ครบ มาตรการที่ 1 ER คณุ ภาพ/SMART ER

วงจรและระบบการสง่ ตอ่ 73) ECS คณุ ภาพ โรงพยาบาล F2 ขึน้ ไป > 70%
74) อตั ราการเสยี ชีวิตผูเ้ จ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต ภายใน 24

ช่วั โมง < 12%

75) ผปู้ ว่ ยไม่ฉุกเฉินมาใช้บริการห้องฉุกเฉนิ < 40%

มาตรการที่ 2 Community-Based EMS

76) จังหวดั ทด่ี าเนินการผา่ นเกณฑ์ Community-Based EMS > 30%

77) ผูป้ ่วยฉกุ เฉินมาโดยระบบ EMS > 30%

Value-Based ECS

78) ระดับความสาเรจ็ ในการพฒั นาขอ้ มูลและสารสนเทศ

ECS เท่ากับ 3

79) ระดบั ความสาเร็จ ECS Value-based Payment เท่ากบั 2

80) ระดบั ความสาเร็จการกาหนดมาตรฐานอาคารสถานท่ี

หอ้ งฉุกเฉนิ เทา่ กบั 3

แผนงานที่ 8 : การพฒั นาตามโครงการเฉลมิ พระเกยี รติและพนื ทเ่ี ฉพาะ

โครงการ ตัวชีวัด

32. โครงการเฉลิมพระเกียรติ 81) ลดอตั ราอบุ ัติการณข์ องวัณโรค ร้อยละ 12.5 ต่อปี

82) อัตราความสาเรจ็ การรกั ษาผปู้ ว่ ยวณั โรครายใหมแ่ ละ

กลบั เป็นซ้า ≥ รอ้ ยละ 90

83) ร้อยละความครอบคลมุ การรกั ษาผูป้ ว่ ยวัณโรครายใหม่

และกลับเปน็ ซ้า (TB Treatment Coverage) ≥ รอ้ ยละ 90

ของคา่ คาดประมาณจานวนผปู้ ่วยวัณโรค (172 ตอ่ แสนประชากร)

84) เรง่ รัดการเขา้ ถงึ บรกิ ารตรวจวินจิ ฉยั ในประชากรกลมุ่

เปราะบางและกลุม่ เสย่ี งวัณโรค เชน่ ผ้สู ัมผัส ผ้ตู ดิ เชือ้ เอชไอวี

ผ้ปู ่วยเบาหวาน และผู้ตอ้ งขงั แรงงานข้ามชาติ ใหค้ รอบคลุม

รอ้ ยละ 90

33. โครงการพฒั นาพนื ท่ีพเิ ศษ 85) หนว่ ยบริการสาธารณสขุ ผา่ นเกณฑ์การประเมินการจดั บรกิ าร

อาชวี อนามัยและเวชกรรมส่งิ แวดลอ้ มในเขตพฒั นาพนื้ ทีพ่ ิเศษ

ร้อยละ 95

19

รายงานผลการพฒั นาคร่งึ แผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564 ตัวชวี ดั

แผนงานท่ี 9 : อตุ สาหกรรมทางการแพทย์ 86) มูลคา่ ผลติ ภัณฑ์สมนุ ไพรรวมเพมิ่ ขนึ้ 2.90-3.62 แสนลา้ นบาท
โครงการ 87) จานวนเมืองสมนุ ไพร 13 จังหวัด

34. โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสขุ ภาพและ
การแพทย์

3) ดา้ นบคุ ลากรเปน็ เลศิ (People Excellence)

วัตถุประสงค์

เพ่ือให้มีกาลังคนด้านสุขภาพ
ท่ีเพียงพอและมีคุณภาพ มีการกระจาย
ท่ีเหมาะสม เป็นธรรมและท่ัวถึง เพื่อ
ตอบสนองต่อความต้องการด้านสุขภาพ
ของประชาชนอยา่ งแทจ้ ริง

เปา้ หมายการพฒั นา

1) วางแผนอตั รากาลงั ใหส้ อดคล้องกบั กรอบความต้องการอตั รากาลงั คนของประเทศ
2) กระจายสดั ส่วนบคุ ลากรสขุ ภาพทัง้ ในเขตเมอื งและชนบทใหม้ คี วามสมดลุ กัน
3) ธารงรักษากาลงั คนดา้ นสขุ ภาพ

มาตรการ

1) พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การกาลงั คนดา้ นสุขภาพ
2) สง่ เสรมิ และสนับสนุนการผลติ พฒั นา และธารงรักษากาลังคนดา้ นสขุ ภาพ
3) สร้างเครอื ขา่ ยการผลิตและพัฒนากาลงั คนดา้ นสุขภาพ
4) สง่ เสริมและพฒั นาผู้เชย่ี วชาญในระบบสุขภาพ
5) มีระบบฐานขอ้ มูลผเู้ ชี่ยวชาญ

ประกอบด้วย 1 แผนงาน 3 โครงการ 6 ตัวชวี ดั

แผนงานที่ 10 : การพฒั นาระบบบริหารจัดการก้าลังคนด้านสุขภาพ

โครงการ ตัวชวี ัด

35. โครงการผลติ และพฒั นากา้ ลงั คนดา้ นสุขภาพส่คู วาม 88) ระดับความสาเรจ็ ของเขตสขุ ภาพที่มกี ารบรหิ ารจดั การ
เป็นมอื อาชพี ระบบการผลิตและพฒั นากาลังคนผ่านเกณฑร์ ะดบั 5
ท้ัง 5 องคป์ ระกอบ

89) รอ้ ยละ 85 ของบุคลากรที่ไดร้ ับการพัฒนาตามเกณฑท์ ี่กาหนด

20

รายงานผลการพฒั นาคร่ึงแผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564

36. โครงการ Happy MOPH กระทรวงสาธารณสขุ 90) อตั ราการคงอยู่ของบคุ ลากรดา้ นสขุ ภาพ (Retention Rate)
กระทรวงแห่งความสุข
ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 95
37. โครงการพัฒนาเครอื ขา่ ยกา้ ลงั คนดา้ นสขุ ภาพ
91) รอ้ ยละของหน่วยงานท่ีมีการนาดัชนคี วามสุขของคนทางาน

(Happinometer) ไปใช้ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 90
92) อาสาสมคั รประจาครอบครัว (อสค.) มคี วามรอบรูด้ ้าน

สุขภาพและเปน็ แกนนาในการดูแลสขุ ภาพครอบครัว
(4,000,000 คน)
93) รอ้ ยละ 70 ของครอบครวั สามารถดแู ลสุขภาพตนเอง
ได้ตามเกณฑ์ทีก่ าหนด

4) ดา้ นบริหารเปน็ เลศิ ดว้ ยธรรมาภบิ าล (Governance Excellence)

วตั ถปุ ระสงค์

เพ่ือลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพลงอย่างย่ังยืน ด้วย
การบริหารจัดการอย่างมีธรรมาภิบาล และระบบ
บรหิ ารจดั การที่โปร่งใสเปน็ ธรรม ตรวจสอบได้

เปา้ หมายการพฒั นา

1) วางรากฐานให้ระบบหลักประกันสุขภาพครอบคลุมประชากรในทุกภาคส่วนอย่างมี

คุณภาพโดยไมม่ ีความเหลอื่ มลา้ ของคณุ ภาพบริการในแตล่ ะระบบ

2) มีการบูรณาการข้อมูลระหว่างทุกระบบหลักประกันสุขภาพเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ

บรหิ ารจดั การ

3) สร้างและพฒั นากลไกการดลุ ดา้ นการเงินการคลงั สขุ ภาพ
4) มีระบบเทคโนโลยดี ิจิตอลด้านสุขภาพ
5) มกี ารทาวจิ ยั และนาผลการวิจัยไปใช้ประโยชนแ์ ละสรา้ งนวตั กรรมใหม่ๆ

มาตรการ

1) พัฒนาระบบธรรมาภิบาลและคุณภาพการบรหิ ารจัดการภาครฐั
2) พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ
3) พัฒนาระบบฐานขอ้ มูลบรกิ าร และเชอ่ื มโยงระบบขอ้ มูลกับหน่วยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง (Big Data)
4) บริหารจดั การด้านการเงนิ การคลังสขุ ภาพ
5) พฒั นาและส่งเสรมิ งานวิจัยและองค์ความรู้ด้านสุขภาพ อยา่ งครบวงจร
6) ปรบั ปรงุ โครงสร้างและการพฒั นากฎหมายด้านสขุ ภาพ
7) ปรบั ปรงุ โครงสรา้ งของหนว่ ยงานให้สอดคล้องกับบรบิ ทท่ีเปลยี่ นแปลง
8) ปรับปรงุ และพฒั นากฎหมายดา้ นสขุ ภาพ

21

รายงานผลการพัฒนาคร่ึงแผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564

ประกอบดว้ ย 5 แผนงาน 8 โครงการ 23 ตวั ชวี ัด

แผนงานที่ 11 : การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและองคก์ รคุณภาพ

โครงการ ตัวชวี ดั

38. โครงการประเมนิ คุณธรรม ความโปรง่ ใสและการ 94) ร้อยละ 90 ของหน่วยงานในสงั กัดกระทรวงสาธารณสุข

บริหารความเส่ียง ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ITA (1,665 แหง่ จาก 1,750 แหง่ )

95) รอ้ ยละ 30 ของการจดั ซ้ือยาร่วมของยา เวชภณั ฑ์ท่ไี มใ่ ช่ยา

วสั ดวุ ิทยาศาสตร์ และวัสดทุ ันตกรรม

96) รอ้ ยละ 20 ของหนว่ ยงานภายในกระทรวงสาธารณสุข

ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ระบบควบคุมภายใน

39. โครงการพฒั นาองค์กรคณุ ภาพ 97) ระดับความสาเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจัดการ

ภาครฐั ของส่วนราชการในสังกดั สป.สธ.

(สว่ นกลางรอ้ ยละ 90/สสจ.รอ้ ยละ 90/สสอ.รอ้ ยละ 80)

98) รอ้ ยละ 100 ของ รพศ./รพท./รพ.สังกัดกรม พ./กรม คร./

กรม สจ. ทผี่ ่านการรับรองคุณภาพมาตรฐาน HA ขนั้ 3

99) ร้อยละ 100 ของ รพช. ทีผ่ ่านการรบั รองคุณภาพ

มาตรฐาน HA ขน้ั 3

100) รอ้ ยละ 100 ของ รพ.สต. ทผี่ ่านเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพ

รพ.สต. ติดดาว

แผนงานที่ 12 : การพฒั นาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ

โครงการ ตวั ชวี ดั

40. โครงการพฒั นาระบบข้อมูลข่าวสารเทคโนโลยีสุขภาพ 101) ข้อมูลการตายที่ไม่ทราบสาเหตุของจงั หวดั น้อยกว่ารอ้ ยละ 40

แห่งชาติ (NHIS) 102) ขอ้ มูลบรกิ ารสขุ ภาพ : คณุ ภาพเวชระเบียนและการ

วนิ จิ ฉยั โรคผูป้ ว่ ยนอกมคี วามถูกตอ้ งครบถ้วนมากกวา่ รอ้ ยละ 80

41. โครงการพัฒนาสุขภาพด้วยเศรษฐกิจดิจิทลั 103) รพศ./รพท./รพช. แลกเปลย่ี นขอ้ มูลเพ่อื ส่ง-รบั ผปู้ ่วย

รกั ษาต่อเนอ่ื ง

104) ผรู้ บั บริการสุขภาพจากหนว่ ยบรกิ ารระดบั ทตุ ยิ ภมู ิ

และตตยิ ภมู ิ สังกัด สป.สธ.เข้าถงึ ข้อมลู สขุ ภาพตนเองได้

แผนงานที่ 13 : การบรหิ ารจดั การด้านการเงินการคลังสขุ ภาพ

โครงการ ตัวชวี ัด

42. โครงการลดความเหล่อื มลา้ ของ 3 กองทนุ 105) ชดุ สทิ ธปิ ระโยชนห์ ลกั /กลาง สาหรบั ผมู้ ีสิทธปิ ระกนั
43. โครงการบรหิ ารจดั การดา้ นการเงินการคลัง สุขภาพทกุ ระบบ เพม่ิ ขึ้นอย่างน้อยปลี ะ 1 เรอื่ ง

106) ระบบการบรหิ ารจดั การท่เี ปน็ มาตรฐานเดียวกนั ระหวา่ ง
ระบบประกนั สขุ ภาพ 5 เรอื่ ง

107) กาหนดให้มมี าตรฐานการจ่ายเงนิ ของแต่ละระบบหลัก
ประกนั สุขภาพภาครัฐให้แก่สถานพยาบาลเป็นราคา
เดยี วกันในทกุ ประเภทและระดับการบรกิ าร

108) ไมม่ หี นว่ ยบรกิ ารประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน

22

รายงานผลการพฒั นาครง่ึ แผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564

แผนงานท่ี 14 : การพัฒนางานวิจยั และนวัตกรรมด้านสขุ ภาพ

โครงการ ตัวชวี ัด

44. โครงการพฒั นางานวจิ ัย/นวตั กรรมผลติ ภัณฑ์สุขภาพ 109) ร้อยละ 40 ผลงานวจิ ยั /R2R ดา้ นสขุ ภาพท่ใี ห้หนว่ ยงาน

และเทคโนโลยีทางการแพทย์ ตา่ งๆ นาไปใชป้ ระโยชนท์ ัง้ หมด

110) ร้อยละของงบประมาณด้านการวิจยั และพัฒนา

ไมน่ อ้ ยกวา่ 1.5 ของงบประมาณทัง้ หมด

111) ร้อยละ 80 ของยากลุม่ เปา้ หมายทผ่ี ลติ หรอื นาเขา้ เพอ่ื

ทดแทนยาตน้ แบบเพิ่มข้นึ

112) รอ้ ยละ 38 รายการยาและเครอื่ งมอื แพทยท์ ่ีไดร้ บั การ

ข้ึนทะเบียน (ไมส่ ะสม)

113) จานวนตารบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ 500 ตารับท่ีผา่ น

ความเห็นชอบจากคณะกรรมการคุม้ ครอง และสง่ เสรมิ

ภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย

114) ร้อยละ 25 จานวนนวัตกรรมทคี่ ิดคน้ ใหม่ เทคโนโลยี

สุขภาพหรอื พัฒนาต่อยอดการให้บริการดา้ นสุขภาพเพมิ่ ขึ้น

115) จานวนงานวจิ ยั สมุนไพร/งานวจิ ัยการแพทยแ์ ผนไทยและ

การแพทยท์ างเลือกที่นามาใชจ้ ริงทางการแพทย์ หรอื การตลาด

จานวน 62 เร่ือง

แผนงานท่ี 15 : การปรับโครงสรา้ งและการพัฒนากฎหมายดา้ นสขุ ภาพ

โครงการ ตัวชีวดั

45. โครงการปรบั โครงสร้างและพฒั นากฎหมายด้าน 116) ร้อยละ 80 ของกฎหมายทีค่ วรปรบั ปรุงไดร้ บั การแก้ไข
สขุ ภาพ และมีการบังคบั ใช้

23

บทที่ 3

ผลการพฒั นาภาพรวม
คร่งึ แผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสขุ

(พ.ศ. 2560-2564)

รายงานผลการพฒั นาคร่ึงแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564

3. ผลการพฒั นาภาพรวม
ครึ่งแผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ. 2560-2564)

จากการดาเนินงาน 3 ปี ภายใตแ้ ผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ. 2560-2564) มผี ลการพัฒนา
ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ สถานะสุขภาพคนไทย และระบบสุขภาพ ดงั นี้

3.1 สถานะสุขภาพคนไทย

3.1.1 สขุ ภาพกาย

สุขภาพของคนไทยมีแนวโน้มดีข้ึน โดยพิจารณาจากอายุคาดเฉล่ียเม่ือแรกเกิด พบว่า คนไทยมีอายุคาด
เฉลย่ี เมื่อแรกเกิดเพมิ่ ขึ้น จาก 73.9 ปี ใน พ.ศ. 2552 เป็น 75.7 ปี ใน พ.ศ. 2563 โดยเพศชายมีอายคุ าดเฉล่ียเม่ือ
แรกเกิดน้อยกว่าเพศหญิง คาดว่า ใน พ.ศ. 2573 อายุคาดเฉล่ียเมื่อแรกเกิดจะเป็น 77.5 ปี ดังตารางที่ 3.1 และ
ตารางที่ 3.2 สาหรับอายคุ าดเฉล่ยี ของการมสี ุขภาพดขี องคนไทย เพศชายเพ่มิ ขน้ึ จาก 65.0 ปี ใน พ.ศ. 2552 เป็น
68.0 ปี ใน พ.ศ. 2563 และเพศหญิงเพิ่มขึ้นจาก 68.8 ปี ใน พ.ศ. 2552 เป็น 72.3 ปี ใน พ.ศ. 2563 เม่ือ
เปรียบเทียบในกลุ่มประเทศอาเซียนท้ังอายุคาดเฉล่ียเม่ือแรกเกิดและอายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ประเทศ
ไทยจัดอยู่ในลาดับท่ี 4 รองจากประเทศสิงคโปร์ บรูไน และเวยี ดนาม

ตารางท่ี 3.1 อายคุ าดเฉลีย่ เมื่อแรกเกดิ และอายุคาดเฉลย่ี ของการมีสขุ ภาพดขี องประชากรไทย พ.ศ. 2552-2583

อายคุ าดเฉลี่ยเม่ือแรกเกดิ อายคุ าดเฉล่ยี ของการมสี ขุ ภาพดี

พ.ศ. (Life Expectancy) (Health Adjusted Life Expectancy

รวม (ปี) ชาย (ป)ี หญงิ (ป)ี รวม (ปี) ชาย (ป)ี หญิง (ปี)

2552 73.91 70.51 77.31 - 65.0 68.8

2553 - 70.4 77.5 - - -

2557 74.91 71.31 78.51 - 65.5 70.8

2558 74.82 71.62 78.22 - 65.9 71.0

2563 75.72 72.72 78.92 - 68.0 72.3

2568 76.62 73.82 79.52 - - -

2573 77.52 75.02 80.32 - - -

2578 - 74.7 81.3 - - -

2583 - 75.3 81.9 - - -

ท่มี า : พ.ศ. 2553, 2578 และ 2583 ได้จากรายงานการคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ.2553-
2583, สานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ
พ.ศ. 2552, 2557, 2558, 2563, 2568 และ 2573 ได้จากรายงานการศึกษาพยากรณ์อายุคาดเฉลี่ยที่
มีสุขภาวะของประชากรไทย พ.ศ.2558-2573, สานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ
สานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ

หมายเหตุ : 1 = คา่ จริง 2 = ค่าจากพยากรณ์

25

รายงานผลการพฒั นาครง่ึ แผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564

อยา่ งไรกด็ ี อายุคาดเฉลย่ี เม่อื แรกเกดิ เปน็ ไปได้ ใน พ.ศ. 2578 และรายงานของสานักงานพัฒนา
ยากท่ีจะบรรลุเป้าหมาย 20 ปี (เป้าหมายกาหนดไม่ นโยบายสุขภาพระหวา่ งประเทศ ใน พ.ศ. 2560 พบว่า
น้อยกว่า 85 ปี) เนื่องจากรายงานของสานักงานสภา ทุก 5 ปี อายุคาดเฉลี่ยเม่ือแรกเกิดเพ่ิมประมาณ 1 ปี
พฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติคาดว่าอายุคาด คาดว่าอายุคาดเฉล่ียเมื่อแรกเกิดเป็น 78.8 ปี ใน พ.ศ.
เฉลี่ยเม่ือแรกเกิดชาย เป็น 74.7 ปี หญิง เป็น 81.3 ปี 2579

ตารางที่ 3.2 อายุคาดเฉล่ียเมื่อแรกเกิดและอายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดีของประชากรในประเทศพัฒนาแล้ว
และประเทศในอาเซียน พ.ศ.2558 และ พ.ศ.2559

อายคุ าดเฉล่ยี เม่อื แรกเกิด อายุคาดเฉลี่ยของการมีสขุ ภาพดี

ประเทศ (Life expectancy) (Health Adjusted life expectancy)

พ.ศ.2558 พ.ศ.2559 พ.ศ.2558 พ.ศ.2559

รวม ชาย หญงิ รวม ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง

ประเทศพฒั นาแลว้

ญป่ี นุ่ 84.0 80.8 87.0 84.2 81.1 87.1 74.7 72.4 76.8 74.8 72.6 76.9
73.2 72.1 74.3 73.5 72.4 74.5
สวติ เซอร์แลนด์ 83.0 80.9 84.9 83.3 81.2 85.2 73.5 71.9 75.2 73.8 72.2 75.4
72.7 71.5 73.9 73.0 71.8 74.1
สเปน 82.7 79.9 85.4 83.0 80.3 85.7 73.2 71.6 74.8 73.4 71.8 74.9
73.0 71.8 74.2 73.2 72.0 74.3
ออสเตรเลยี 82.6 80.6 84.5 82.9 81.0 84.8 73.0 71.7 74.2 73.2 72.0 74.3
72.7 70.3 74.8 73.0 70.7 75.1
ฝรงั่ เศส 82.7 79.8 85.4 82.9 80.1 85.7

แคนาดา 82.6 80.6 84.5 82.8 80.9 84.7

อติ าลี 82.4 80.2 84.6 82.7 80.5 84.9

สาธารณรัฐ 82.3 79.1 85.3 82.7 79.5 85.6

เกาหลี 82.3 80.5 84.1 82.5 80.6 84.3 72.9 71.7 74.1 73.0 71.8 74.3
นอร์เวย์ 73.0 72.2 73.8 73.0 72.3 73.8

ไอซ์แลนด์ 82.4 80.8 84.0 82.4 80.9 83.9

ประเทศอาเซยี น

สิงคโปร์ 82.7 80.6 84.8 82.9 80.8 85.0 75.9 74.4 77.4 76.2 74.7 77.6
67.7 66.8 68.5 67.9 67.0 68.8
บรูไนฯ 76.2 75.1 77.3 76.4 75.3 77.6 67.3 64.0 70.5 67.5 64.2 70.7
66.6 63.7 69.5 66.8 64.0 69.8
เวยี ดนาม 76.2 71.5 80.7 76.3 71.7 80.9 66.4 65.0 67.9 66.6 65.3 68.1
60.4 59.0 61.6 60.8 59.4 62.1
ไทย 75.3 71.6 79.1 75.5 71.8 79.3 61.5 60.3 62.8 61.7 60.4 63.0
61.6 59.2 64.0 61.7 59.4 64.2
มาเลเซยี 75.1 73.0 77.5 75.3 73.2 77.6 58.1 56.5 59.6 58.4 56.9 59.9
57.5 56.6 58.4 57.9 56.9 58.8
กมั พูชา 69.0 67.0 70.8 69.4 67.3 71.2

อนิ โดนเี ซยี 69.1 67.2 71.2 69.3 67.3 71.4

ฟลิ ปิ ปนิ ส์ 69.2 66.1 72.5 69.3 66.2 72.6

เมียนมาร์ 66.5 64.3 68.7 66.8 64.6 68.9

สปป.ลาว 65.5 63.9 67.0 65.8 64.2 67.4

ท่มี า : พ.ศ. 2558 ได้จาก Global Health Observatory data repository:http://apps.who.int/gho/data/view.main.SDG2016
LEXv?lang=en
พ.ศ. 2559 ไดจ้ าก World health statistics 2019: monitoring health for the SDGs sustainable development goals,
World Health Organization 2019

26

รายงานผลการพฒั นาครึ่งแผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564

มารดาตายมแี นวโนม้ เพมิ่ ข้นึ ใน พ.ศ. 2555-2559 และลดลง เปน็ 19.9 ต่อการเกิดมชี พี แสนคน ใน พ.ศ.
2561 ดังภาพที่ 3.1 เมอ่ื เปรยี บเทียบกบั กล่มุ ประเทศอาเซียน ประเทศไทยมีอัตราสว่ นมารดาตายน้อยเป็นอันดับ
2 รองจากประเทศสิงคโปร์ ดังตารางท่ี 3.3 ส่วนอัตราตายทารกมีแนวโน้มลดลง จาก 11.2 ต่อการเกิดมีชีพพัน
คน ใน พ.ศ. 2556 เป็น 9.3 ต่อการเกิดมีชีพพันคน ใน พ.ศ. 2562 ดังภาพที่ 3.2 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่ม
ประเทศอาเซียน ประเทศไทยจัดอยู่ในลาดบั ท่ี 4 รองจากประเทศสิงคโปร์ บรูไน และมาเลเซยี ดงั ตารางที่ 3.4

ภาพที่ 3.1 อัตรามารดาตายตอ่ การเกิดมีชพี แสนคน พ.ศ. 2555-2561ัอตราตาย ่ตอการเกิด ีมชีพแสนคน21.8 19.9

40
22.2 23.3 24.6 26.6

20 17.6

0 2556 2557 2558 2559 2560 2561
2555

ทีม่ า : สถิตสิ าธารณสขุ , กองยทุ ธศาสตร์และแผนงาน สานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสุข

ตารางที่ 3.3 อัตรามารดาตายตอ่ การเกดิ มีชพี แสนคน เมอื่ เปรียบเทยี บกับกลมุ่ ประเทศอาเซยี น ใน พ.ศ. 2558

กล่มุ ประเทศพัฒนาแล้ว 10 อันดับแรก อตั ราสว่ นการตายมารดาตอ่ การเกดิ มีชพี 100,000 คน
ฟินแลนด์ 3.0
กรีซ 3.0
ไอซแ์ ลนด์ 3.0
โปแลนด์ 3.0
ออสเตรยี 4.0
เบลารสุ 4.0
สาธารณรฐั เช็ก 4.0
อิตาลี 4.0
คูเวต 4.0
สวีเดน 4.0

กลมุ่ ประเทศอาเซยี น 10.0
สิงคโปร์ 20.0
ไทย 23.0
บรูไนฯ 40.0
มาเลเซีย 54.0
เวียดนาม 114.0
ฟลิ ิปปนิ ส์ 126.0
อนิ โดนเี ซยี 161.0
กัมพูชา 178.0
เมียนมาร์ 197.0
สปป.ลาว

ที่มา : World health statistics 2019: monitoring health for the SDGs sustainable development goals, World
Health Organization 2019

27

รายงานผลการพัฒนาครึง่ แผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564

ัอตราตาย ภาพท่ี 3.2 อัตราทารกตายตอ่ การเกิดมชี ีพพนั คน พ.ศ. 2556-2562 9.8 9.3
่ตอการเ ิกด ีม ีชพ ัพนคน 20

11.2 10.9 10.6 10.3 10.1

10

0

2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562

ทีม่ า : สารประชากร สถาบันวิจัยประชากรและสงั คม มหาวิทยาลัยมหดิ ล

ตารางท่ี 3.4 อัตราทารกตายต่อการเกดิ มชี ีพพันคน เม่ือเปรียบเทียบกับกลุ่มประเทศอาเซียน ใน พ.ศ. 2533,
2543, 2556 และ พ.ศ. 2559

ประเทศ อตั ราการตายของทารกตอ่ การเกดิ มชี ีพ 1,000 คน

High income 2533* 2543* 2556* 2559**
สวเี ดน
ญีป่ ุ่น 6.0 3.0 2.0 2
สวิตเซอรแ์ ลนด์ 5.0 3.0 2.0 2
แคนาดา 7.0 5.0 4.0 4
ไอร์แลนด์ 7.0 5.0 5.0 4
World 8.0 6.0 3.0 3
High income 63.0 53.0 34.0 31
Lower Middle income 12.0 8.0 5 5
Upper Middle income
Low income 83.0 66 44 38
ประเทศอาเซยี น
สิงคโปร์ 43.0 31 16 12
บรไู น 105.0 86.0 53 51
มาเลเซยี
ไทย 63 22
เวยี ดนาม 98 89
ฟลิ ปิ ปินส์ 14 9 77
อนิ โดนิเซีย 30 19 11 11
เมยี นมาร์ 37 27 19 17
กมั พชู า 41 30 24 22
62 41 25 22
78 59 40 40
86 82 33 26
111 83 54 49

ทีม่ า : *พ.ศ. 2533, พ.ศ. 2543 และ พ.ศ. 2556 ไดจ้ าก World Health Statistics 2015, World Health Organization.
**พ.ศ. 2559 ไดจ้ าก World Health Statistics 2018, World Health Organization.

28

รายงานผลการพัฒนาครงึ่ แผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564

อย่างไรก็ตาม สาเหตุการป่วยและการตายของคนไทยใน
พ.ศ. 2557-2561 ส่วนใหญ่ป่วยและตายด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
เชน่ มะเร็ง ความดนั โลหิตสูง นอกจากน้ี ยังพบโรคติดต่อที่ยังเป็น
ปัญหาของประเทศไทย ได้แก่ โรคระบบทางเดินหายใจ ท้องร่วง
ดังตารางที่ 3.5 และตารางท่ี 3.6 และจากรายงานภาระโรคและ
การบาดเจ็บของประชากรไทย พ.ศ. 2552 และ 2557 โรคท่ีเป็น
สาเหตุของการสูญเสียปีสุขภาวะของประชากรไทยเพ่ิมขึ้น เช่น
อุบัติเหตุทางถนน โรคหลอดเลือดสมอง การติดเชื้อ HIV เอดส์
โรคมะเร็งตับ โรคหัวใจขาดเลือด โรคเบาหวาน ฯลฯ ดังตารางท่ี
3.7 นอกจากนีย้ ังมีปัจจยั ต่างๆ เช่น โรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ภัยพิบัติ จะมีผลต่ออายุคาดเฉลี่ยเม่ือแรกเกิดและ
อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ท่ีได้กาหนดไว้ในแผน
ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ระยะ 20 ปี คนไทยมีอายุคาด
เฉล่ียเม่ือแรกเกิด ไม่น้อยกว่า 85 ปี และอายุคาดเฉล่ียของการมี
สุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 75 ปี ใน พ.ศ. 2579

ดังน้ัน กระทรวงสาธารณสุข ควรมีการปรับเปล่ียนแผนงาน โครงการ และกลยุทธ์เชิงรุก ที่จะ
ส่งผลต่อการเพ่ิมอายุคาดเฉลี่ยเม่ือแรกเกิด และอายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี อาทิเช่น การลดปัจจัย
เสี่ยงของโรคท่ีสามารถป้องกันได้ อุบัติเหตุทางถนน เด็กต่ากว่า 15 ปี เสียชีวิตจากการจมน้า โรคซึมเศร้า
จะสง่ ผลให้ประชาชนไทยมสี ุขภาพดี

ตารางที่ 3.5 10 ลาดับแรก อัตราปว่ ยของผปู้ ว่ ยในตอ่ ประชากรแสนคน

อันดับ สาเหตกุ ารป่วย (โรค/กลุ่มโรค) 2557 2558 2559 2560 2561
1 ความผดิ ปกติของตอ่ มไร้ท่อ โภชนาการและเมตะบอลิก
2,753.43 3,136.40 3,254.58 3,208.18 3,320.92
อน่ื ๆ
2 ความดนั โลหติ สงู ทไี่ มม่ สี าเหตนุ า 1,544.32 1,882.32 1,993.38 2,076.76 2,230.18
3 เบาหวาน 1,032.50 1,233.46 1,292.79 1,344.95 1,439.04
4 โลหติ จางอน่ื ๆ 1,030.73 1,156.98 1,192.32 1,171.34 1,205.03
5 ไตวาย 813.95 993.89 1,092.81 1,132.17 1,203.44
6 ปอดบวม 596.12 702.44 791.87 810.25 858.80
7 อาการทอ้ งรว่ ง กระเพาะและลาไส้อกั เสบ ซึ่งสนั นิษฐาน
579.96 617.45 687.03 585.44 690.61
วา่ เกิดจากการตดิ เชอื้
8 โรคอ่นื ๆ ของระบบทางเดนิ หายใจ 422.48 495.44 522.50 506.97 505.78
9 ภาวะแทรกซ้อนอืน่ ๆของการตั้งครรภ์ และการคลอด 396.41 451.37 451.03 457.06 444.48
10 โรคหลอดลมอักเสบ ถุงลมโปง่ พองและปอดชนดิ อุดก้นั
347.94 384.06 391.47 386.26 388.95
แบบเรอ้ื รงั อืน่

ท่ีมา : รายงานการปว่ ย พ.ศ. 2557-2561, กองยุทธศาสตรแ์ ละแผนงาน สานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข

29

รายงานผลการพัฒนาคร่ึงแผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564

ตารางท่ี 3.6 จานวนและอตั ราตายตอ่ ประชากรแสนคน พ.ศ. 2557-2561

กลมุ่ สาเหตุ ลาดบั ท่ี 2557 2558 2559 2560 2561
จานวน อตั รา จานวน อตั รา จานวน อตั รา จานวน อตั รา จานวน อัตรา

มะเร็งและเนือ้ งอกทุกชนดิ ร T 1 70,075 107.9 73,938 113.7 77,566 119.3 78,540 120.5 80,665 123.3

ช M 40,161 125.8 42,598 133.4 44,490 139.5 45,016 140.8 46,056 143.7

ญ F 29,914 90.6 31,340 94.7 33,076 99.9 33,524 100.9 34,609 103.7

โรคระบบไหลเวียนโลหิต ร T 2 58,681 90.3 61,871 95.1 69,699 107.2 67,595 103.7 67,355 103.0

ช M 32,820 102.8 34,697 108.7 39,360 123.4 38,345 120.0 38,255 119.4

ญ F 25,861 78.3 27,174 82.1 30,339 91.6 29,250 88.0 29,100 87.2

โรคของระบบทางเดินหายใจ ร T 3 39,638 61.0 39,959 61.4 42,092 64.7 41,735 64.0 41,760 63.8

ช M 24,203 75.8 24,437 76.5 25,895 81.2 25,682 80.3 25,474 79.5

ญ F 15,435 46.7 15,522 46.9 16,197 48.9 16,053 48.3 16,286 48.8

สาเหตตุ ายภายนอกของการ ร T 4 38,451 59.2 38,617 59.4 39,558 60.8 38,937 59.7 38,985 59.6

ป่วยและการตาย ช M 30,143 94.4 30,472 95.4 31,246 98.0 30,789 96.3 30,664 95.7

ญ F 8,308 25.2 8,145 24.6 8,312 25.1 8,148 24.5 8,321 24.9

โรคตดิ เชือ้ และปรสติ ร T 5 41,480 63.9 43,158 66.4 37,271 57.3 36,953 56.7 37,015 56.6

ช M 23,385 73.3 24,512 76.8 21,831 68.4 21,849 68.4 21,791 68.0

ญ F 18,095 54.8 18,646 56.3 15,440 46.6 15,104 45.4 15,224 45.6

โรคของระบบสบื พันธ์แุ ละ ร T 6 19,671 30.3 21,159 32.5 24,156 37.2 22,968 35.2 23,572 36.0

ทางเดนิ ปัสสาวะ ช M 9,364 29.3 10,013 31.4 11,422 35.8 10,863 34.0 11,092 34.6

ญ F 10,307 31.2 11,146 33.7 12,734 38.4 12,105 36.4 12,480 37.4

โรคระบบย่อยอาหาร ร T 7 17,458 26.9 18,509 28.5 20,407 31.4 19,362 29.7 19,247 29.4

ช M 12,001 37.6 12,636 39.6 14,041 44.0 13,165 41.2 13,174 41.1

ญ F 5,457 16.5 5,873 17.7 6,366 19.2 6,197 18.6 6,073 18.2

โรคของตอ่ มไรท้ ่อ โภชนาการ ร T 8 13,303 20.5 14,550 22.4 15,891 24.4 15,600 23.9 16,070 24.6

และเมตะบอลิซึม ช M 5,563 17.4 6,084 19.1 6,712 21.0 6,573 20.6 6,882 21.5

ญ F 7,740 23.4 8,466 25.6 9,179 27.7 9,027 27.2 9,188 27.5

โรคระบบประสาท ร T 9 8,505 13.1 9,945 15.3 11,943 18.4 11,482 17.6 12,577 19.2

ช M 3,960 12.4 4,091 12.8 4,936 15.5 4,675 14.6 5,310 16.6

ญ F 4,545 13.8 5,854 17.7 7,007 21.2 6,807 20.5 7,267 21.8

โรคเลือดและอวัยวะสร้างเลอื ด ร T 10 724 1.1 936 1.4 1,042 1.6 1,082 1.7 1,112 1.7

และความผดิ ปกติเกย่ี วกบั ช M 324 1.0 466 1.5 464 1.5 541 1.7 554 1.7

กลไกของภูมคิ ้มุ กนั ญ F 400 1.2 470 1.4 578 1.7 541 1.6 558 1.7

ทม่ี า : สถติ สิ าธารณสุข พ.ศ. 2561, กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ

30

รายงานผลการพัฒนาคร่งึ แผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564

ตารางที่ 3.7 เปรยี บเทยี บการสญู เสยี ปสี ขุ ภาวะ 10 อนั ดับแรกของประชากรไทย ระหวา่ ง พ.ศ. 2552
และ พ.ศ. 2557 จาแนกตามเพศและสาเหตุ

ชาย

ลาดับ 2552 2557
สาเหตุ
DALYs รอ้ ยละ สาเหตุ DALYs รอ้ ยละ
873 10.1
1 การเสพติดเคร่อื งด่มื ทีม่ ี 506 8.7 อบุ ตั เิ หตุทางถนน
574 606
แอลกอฮอล์ 444 5.1
425 4.9
2 อบุ ัตเิ หตทุ างถนน 501 8.6 โรคหลอดเลือดสมอง 388 4.5
369 6.4 การติดเช้อื เอชไอวี/เอดส์ 383 4.4
3 โรคหลอดเลอื ดสมอง 282 4.9 โรคหัวใจขาดเลอื ด 340 3.9
262 4.5 การเสพติดเคร่อื งดมื่ ท่มี แี อลกอฮอล์ 312 3.6
4 การตดิ เชื้อเอชไอวี/เอดส์ 250 4.3 โรคมะเร็งตบั 290 3.4
218 3.8 โรคเบาหวาน 197 2.3
5 โรคมะเร็งตบั 206 3.5 ภาวะตบั แข็ง
176 3.0 โรคปอดอดุ กั้นเร้อื รงั
6 โรคหวั ใจขาดเลือด 133 2.3 โรคมะเร็งหลอดลมและปอด

7 โรคเบาหวาน

8 โรคปอดอุดกั้นเรือ้ รงั

9 ภาวะตบั แขง็

10 โรคมะเร็งหลอดลมและปอด

หญิง

ลาดับ 2552 2557
สาเหตุ
DALYs ร้อยละ สาเหตุ DALYs ร้อยละ
531 8.4
1 โรคเบาหวาน 380 8.6 โรคเบาหวาน 462 7.3
271 4.3
2 โรคหลอดเลือดสมอง 350 8.0 โรคหลอดเลอื ดสมอง 244 3.9
229 3.6
3 โรคซึมเศรา้ 236 5.4 โรคหวั ใจขาดเลือด 225 3.6
197 3.1
4 โรคหวั ใจขาดเลือด 178 4.0 โรคข้อเสอ่ื ม 160 2.5
137 2.2
5 การตดิ เชื้อเอชไอวี/เอดส์ 160 3.6 การติดเช้อื เอชไอวี/เอดส์ 128 2.0

6 ตอ้ กระจก 154 3.5 อบุ ัติเหตุทางถนน

7 โรคข้อเส่ือม 138 3.1 โรคสมองเส่ือม

8 อบุ ตั ิเหตุทางถนน 129 2.9 โรคมะเร็งตบั

9 โรคโลหติ จาง 117 2.7 โรคไตอักเสบและไตพิการ

10 โรคมะเร็งตบั 114 2.6 โรคมะเร็งเต้านม

ท่มี า : รายงานภาระโรคและการบาดเจบ็ ของประชากรไทย พ.ศ. 2552 และ 2557, สานักงานพัฒนานโยบาย
สขุ ภาพระหวา่ งประเทศ สานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ

31

รายงานผลการพัฒนาครงึ่ แผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564

นอกจากนี้ จากการศึกษาของสานักงานสภา สุขภาพดีต่อประชากรท้ังหมด อายุคาดเฉล่ียเมื่อแรก
พฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้จัดทาดัชนี เกิด และอัตราการฆ่าตัวตายสาเร็จ พบว่าดัชนีการมี
ความอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกันในสังคมไทย รวม 5 สุขภาวะอยู่ในระดับต้องปรับปรุง ร้อยละ 69.2 ใน
องคป์ ระกอบ โดยองค์ประกอบที่เก่ียวข้องกับสุขภาพ พ.ศ. 2555 เพิ่มเป็นระดับดี ร้อยละ 87.4 ใน พ.ศ.
คือ การมีสุขภาวะ วัดจากสุขภาพกาย จิต และสังคม 2561 ดังตารางที่ 3.8
ซง่ึ สขุ ภาพกายและจิตวดั จากร้อยละของประชากรที่มี

ตารางที่ 3.8 ดัชนีความอยเู่ ยน็ เปน็ สขุ ร่วมกันในสงั คมไทย พ.ศ. 2555-2561

ปี การมี เศรษฐกจิ สง่ิ แวดลอ้ ม สังคม การสร้างความเปน็ ภาพรวมดชั นี
สขุ ภาวะ เข้มแขง็ และ และระบบ ประชาธปิ ไตย ธรรมและลดความ ความอยู่เย็น
เป็นธรรม นเิ วศสมดลุ ที่มีธรรมาภิบาล เหล่อื มลา้ ทางสังคม
เป็นสุข

2555 69.20 79.73 60.30 60.76 69.00 67.44

2556 74.26 81.94 62.17 59.75 67.39 68.64

2557 76.64 79.69 65.31 64.45 65.29 69.98

2558 77.05 80.41 68.98 51.65 69.49 68.73

2559 82.35 80.17 65.45 49.40 61.39 66.60

2560 79.82 80.61 63.43 61.89 68.45 70.40

2561 87.37 81.46 73.77 68.46 72.75 76.47

ทีม่ า : กองขบั เคล่ือนและประเมินผลการพัฒนา, สานกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ

3.1.2 สุขภาพจิต ประชากรไทยส่วนใหญ่มีสุขภาพจิตเท่ากับ

และสงู กวา่ คนทว่ั ไป เพม่ิ ขึน้ จากรอ้ ยละ 82.2 ใน พ.ศ. 2551 เป็น
ร้อยละ 84.2 ใน พ.ศ. 2561 และคนไทยที่มีสุขภาพจิตต่ากว่าคน
ทั่วไป ลดลงจากร้อยละ 17.8 ใน พ.ศ. 2551 เหลือร้อยละ 15.8
ใน พ.ศ. 2561 ดังภาพที่ 3.3 ทั้งน้ีจากสภาพเศรษฐกิจที่บีบคั้น
อาการเจ็บป่วยของตนเอง เหตุการณ์ตึงเครียดในชีวิต และการใช้
ส่ือสังคมออนไลน์ มีผลกระทบต่อพฤติกรรมของคนในสังคม เมื่อ
ต้องเผชิญกับวิกฤตที่เกิดขึ้นทาให้ไม่สามารถปรับตัว นามาซ่ึง
ปัญหาความเครียด ภาวะซึมเศรา้ และโรคอุบตั ใิ หม่ท่ีเรียกว่า “โรค
ดิจิทัล” เช่น ติดเกมส์ ช็อปปิ้ง ดูเว็บโป๊ โดยพบอัตราผู้ป่วยนอก
โรคจิตและปัญหาทางสุขภาพจิตที่เข้ามารับการรักษาคงที่ แต่
อัตราการฆ่าตัวตายเพ่ิมขึ้นจาก 6.0 ต่อแสนประชากร ใน พ.ศ.
2552 เป็น 6.6 ต่อแสนประชากร ใน พ.ศ. 2562 โดยเพศชายมี
อตั ราการฆา่ ตวั ตายมากกวา่ เพศหญงิ 4-5 เท่า ดงั ภาพที่ 3.4

32

รายงานผลการพัฒนาครึง่ แผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564

กระทรวงสาธารณสุขควรร่วมมือกับภาคเอกชน ในการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทาง
การแพทย์เพื่อดูแลสุขภาพจิต เช่น AI Chatbot ในการรักษาผู้ป่วยที่มีปัญหาทางสุขภาพจิต เพื่อจะได้ลด
ความเสี่ยงจากการฆ่าตวั ตาย

ภาพที่ 3.3 ร้อยละของระดับสขุ ภาพจิตคนไทย อายุ 15 ปขี ้นึ ไป พ.ศ. 2551-2561

คะแนนเฉลย่ี 33.09 33.3 31.1 33.59 33.35 31.48 31.44 31.56
31.8 37.7 37.2 29.8 37.6 38 19.8 18.7 21.1

100 49.5 51.6 52.2 52.7 50.8 63.9 64.9 2559 2560 63.1
80 27.7 12.8 11.2 18.0 9.7 11.2
2552 2553 2554 2555 2556 16.3 16.4 15.8
60 2557 2558 2561 พ.ศ.
40 54.5

20
0 17.8

2551

ต่ากวา่ คนทว่ั ไป (0.00-27.00) เทา่ กบั คนทว่ั ไป (27.01-34.00) สูงกวา่ คนทว่ั ไป (34.01-45.00)

ทม่ี า : - รายงานการสารวจสขุ ภาพจติ (ความสุข) คนไทย พ.ศ. 2558, สานกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ
- รายงานการสารวจสภาวะทางสังคม วฒั นธรรม และสขุ ภาพจิต พ.ศ. 2561 สานกั งานสถิตแิ ห่งชาติ

ตารางที่ 3.9 อัตราผปู้ ว่ ยนอกดว้ ยโรคจิตและปัญหาทางสขุ ภาพจิตตอ่ ประชากรแสนคน พ.ศ. 2558-2561

โรคจิตและปัญหาทางสุขภาพจิต อัตราผู้ป่วยนอกต่อประชากร 100,000 คน
โรคซึมเศร้า 2558 2559 2560 2561
570.4 473.9 436.2 567.0

โรควติ กกงั วล 746.8 745.5 613.0 742.5

โรคจิตเภท 699.9 738.7 736.6 695.8

ความผดิ ปกตทิ างพฤติกรรม 376.8 330.1 329.2 374.6

ทม่ี า : รายงานผู้ปว่ ยมารับบริการดา้ นจติ เวชภาพรวมทัง้ ประเทศ, กรมสุขภาพจติ กระทรวงสาธารณสุข

ภาพท่ี 3.4 อตั ราการฆ่าตวั ตายตอ่ ประชากรแสนคน พ.ศ. 2552-2562

อัตราตายตอ่ แสนประชากร

12 9.3 9.2 9.7 9.8 9.6 10.5 10.3 10.9 10.4 11.1
10 9.4 6.6
2.4
8 5.9 5.9 6.2 6.1 6.1 6.5 6.4 6.6 6.3
6 6.0

4 2.7 2.6 2.6 2.8 2.6 2.7 2.5 2.6 2.6 2.4
2

0

2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 พ.ศ.

รวม ชาย หญงิ

ที่มา : พ.ศ. 2552-2560 ได้จาก สถิติสาธารณสุข กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สานักงานปลัดกระทรวง
สาธารณสุข ข้อมลู ณ วันที่ 31 ธนั วาคม ของปีถดั ไป
พ.ศ. 2561-2562 ได้จาก กรมสุขภาพจติ ข้อมลู ณ วนั ท่ี 31 มนี าคม 2562 และ 31 มนี าคม 2563

33

รายงานผลการพัฒนาคร่งึ แผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564

3.2 ระบบสขุ ภาพ

3.2.1 ระบบบริการสุขภาพและคุณภาพบริการ

ระบบบริการสุขภาพของประเทศไทย มี

การกระจายตัวของหน่วยบริการสาธารณสุขท่ี

ครอบคลุมและทั่วถึง ตั้งแต่ระดับจังหวัด อาเภอ

และตาบล มีการให้บริการสุขภาพท้ังในระดับปฐม

ภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ กระทรวงสาธารณสุขได้มี

การพัฒนาระบบบริการระดับปฐมภูมิ โดยมีคลินิก

หมอครอบครัว จานวน 1,180 ทีม ใน พ.ศ. 2562

ดูแลประชาชนกว่า 10 ล้านคน การพัฒนาระบบ

บริการทุติยภูมิและตติยภูมิ ใน 20 สาขาท่ีสาคัญ

ไดแ้ ก่ การใหบ้ ริการผปู้ ่วยสาขาโรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอ้ื รัง มี กระทรวงสาธารณสุขดาเนินนโยบาย

การจัดต้ังคลินิกในการดูแลและติดตามผู้ป่วยโรค “ลดแออัด ลดรอคอย ในโรงพยาบาล ” โดย
เบาหวาน ความดันโลหิตสงู ไต และหัวใจ การจัดตั้ง ดาเนินการลดระยะเวลาการรอคอยในผู้ป่วยมะเร็ง
หออภิบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง การขยาย 5 อนั ดับ ทร่ี กั ษาด้วยการผา่ ตดั รกั ษาดว้ ยเคมีบาบัด
การให้บริการให้ยาละลายลิ่มเลือดในโรงพยาบาล รักษาด้วยรังสีบาบัด ภายในระยะเวลาท่ีกาหนด

ชมุ ชนตงั้ แตร่ ะดับ 30 เตยี งข้นึ ไป ซ่งึ ผลการประเมิน การผ่าตัดแบบวันเดียวกลับบ้านได้ (One Day

ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง สามารถ Surgery) และการผ่าตัดท่ีมีการทาลายเน้ือเย่ือน้อย

ควบคุมระดับน้าตาลและความดันโลหิตต่ากว่าค่า (Minimally Invasive Surgery) ผลการประเมิน

เป้าหมายที่กาหนด อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอด พบว่า การผ่าตัดแบบวันเดียวกลับบ้านได้ (One
เลือดสมองต่ากว่าค่าเป้าหมายท่ีกาหนด ผู้ป่วยโรค Day Surgery) บรรลุค่าเป้าหมาย ซ่ึงสามารถลด
ไตเร้ือรังระยะสุดท้าย มีการทางานของไตต่ากว่าค่า ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลของผู้ป่วย ใน พ.ศ.
2561 3,718,000 บาท ใน พ.ศ. 2562 จานวน
เป้าหมายท่ีกาหนด และอัตราตายของโรคหลอด 9,688,000 บาท และลดวันนอนในโรงพยาบาล
เลือดหัวใจต่ากว่าค่าเป้าหมายระดับเส่ียง สาหรับ 7,436 วนั ใน พ.ศ. 2561 และ 19,376 วนั ใน พ.ศ.
สาขาที่บรรลุค่าเป้าหมายคือ สาขาจักษุวิทยามี 2562 แต่การผ่าตัดที่มีการทาลายเนื้อเย่ือน้อย
ผู้ป่วยต้อกระจกชนิดบอดได้รับการผ่าตัดตาภายใน ( Minimally Invasive Surgery) ป ร ะ เ มิ น ไ ม่ ไ ด้
30 วนั บรรลุค่าเปา้ หมายทีก่ าหนด เนอื่ งจากไม่มีข้อมูลจานวนผปู้ ่วยท้งั หมดที่วินิจฉัยว่า

สามารถผ่าตัดแบบ MIS ได้ สาหรับการลด

ระยะเวลาการรอคอยการรักษาโรคมะเร็ง 5 อันดับ

แรก ภายในระยะเวลาท่กี าหนด ตา่ กว่าค่าเป้าหมาย

ที่กาหนด

34

รายงานผลการพัฒนาคร่ึงแผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564

สาหรับเร่ืองศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์

แม้ว่าจะได้มีการลงนามความร่วมมือ 20 โรงเรียนแพทย์

จาก 19 มหาวิทยาลัย กับ 12 เขตสุขภาพของกระทรวง

สาธารณสุข ร่วมมือกันพัฒนาระบบบริการสุขภาพแก่

ประชาชนในพ้ืนที่ทุกเขตสุขภาพ โดยใช้ทรัพยากรร่วมกัน

และจัดทาร่างยุทธศาสตร์การจัดต้ังศูนย์ความเป็นเลิศทาง

การแพทย์ ในภาพรวมของประเทศ ระยะยาว (5-10 ปี)

น้ัน ยังไม่มีความคืบหน้ามากนัก ส่งผลให้การส่งต่อผู้ป่วย

ออกนอกเขตสขุ ภาพต่ากวา่ ค่าเป้าหมายระดบั วิกฤต

ใน พ.ศ. 2562 กระทรวงสาธารณสุขได้กาหนดให้

มีการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาการใช้กัญชาทาง

การแพทย์ (Medical Cannabis Service Plan) เพื่อเพ่ิม

โอกาสในการรักษาโรคให้กับประชาชนที่เจ็บป่วยทรมาน

จากกล่มุ โรคร้ายแรง เรอื้ รงั และไมต่ อบสนองต่อการรักษา

โดยจัดตง้ั คลินิกบริการกญั ชาทางการแพทย์ในโรงพยาบาล

สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จานวน 222 แห่ง มีผู้มารับ

บริการ 2,194 คน

การเข้าถึงระบบบริการสุขภาพของประชาชน

พบว่า ผู้ป่วยนอกเข้าถึงบริการเพ่ิมข้ึนจาก 3,116.4 ต่อ

ประชากร 1,000 คน ในปีงบประมาณ 2555 เป็น

3,785.6 ต่อประชากร 1,000 คน ในปีงบประมาณ 2562

เช่นเดียวกับผู้ป่วยในเข้าถึงบริการสุขภาพมีแนวโน้ม

เพิ่มขึ้นจาก 27,490 ต่อแสนประชากร ในปีงบประมาณ

2555 เป็น 32,596.9 ต่อแสนประชากร ในปีงบประมาณ

2562 นอกจากนี้ประชาชนได้รับบริการแพทย์แผนไทยท่ี

ได้มาตรฐาน รวมสง่ เสริมสุขภาพ เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 21.7

ใน พ.ศ. 2562 และประชาชนเข้าถึงบริการการแพทย์

ฉุกเฉนิ ลดลงเหลือร้อยละ 22.5 ใน พ.ศ. 2562 ต่ากว่าค่า

เป้าหมายระดับเส่ียง ทั้งนี้ได้มีการพัฒนาระบบการดูแล

ผู้ป่วยแบบประคับประคองในโรงพยาบาลทุกระดับ ผลการพัฒนาด้านบริการเป็นเลิศในครึ่ง
เพิ่มข้ึนจาก 496 แห่ง ใน พ.ศ. 2560 เป็น 816 แห่ง ใน แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พบว่า มีการ
พ.ศ. 2561 ในด้านการพัฒนาคณุ ภาพสถานบรกิ ารสุขภาพ พัฒนาระบบบรกิ ารสขุ ภาพในระดับปฐมภูมิ มีคลินิก
พบว่า โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไปทุกแห่ง ผ่าน
การรับรองคุณภาพมาตรฐาน HA ข้ันที่ 3 และมีโรงพยาบาล หมอครอบครัวและคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ
สังกัดกรมเพียงแห่งเดียวที่ยังไม่ผ่านการรับรองคุณภาพ ชีวิตระดับอาเภอ (พชอ.) ดูแลและแก้ไขปัญหา
มาตรฐาน HA ข้ันท่ี 3 ส่วนโรงพยาบาลชุมชนผ่านการ สุขภาพของประชาชนในพ้ืนที่ มีระบบบริการทุติย
รับรองคุณภาพมาตรฐาน HA ขั้นท่ี 3 ร้อยละ 89 ต่ากว่า ภูมิและตติยภูมิที่มีความเช่ียวชาญ เพ่ิมจาก 19

คา่ เป้าหมายท่กี าหนด สาขา เปน็ 20 สาขา (เพิ่มสาขากัญชาทางการแพทย์)

35

รายงานผลการพัฒนาครึ่งแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564

โดยขยายคลินิกและบริการสุขภาพด้านต่างๆ เพ่ือให้ประชาชนได้รับบริการเพิ่มขึ้น แต่ผลสัมฤทธ์ิท่ีเกิดขึ้นกับผู้มารับ
บรกิ ารยังไม่ดเี ทา่ ทค่ี วร อาทิ ผปู้ ่วยโรคความดันโลหิตสงู เบาหวาน ไต โรคหลอดเลอื ดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจ ยัง
ไม่บรรลุตามเป้าหมายที่กาหนด เนื่องจากมีปัจจัยอ่ืนๆท่ีส่งผลต่อสุขภาพของผู้รับบริการ สาหรับการลดระยะเวลารอ
คอยและลดแออัดดาเนินการในผู้ป่วยมะเร็งและผู้ป่วยที่ผ่าตัดวันเดียวกลับบ้านได้ ดาเนินงานได้ในระดับหน่ึง
แต่ตัวชี้วัดยังไม่สะท้อนผลการดาเนินงานในภาพรวม ส่วนการลดค่าใช้จ่ายในการมารับบริการสุขภาพมีข้อมูล
เพยี งโครงการ One Day Surgery ผา่ ตัดวันเดียวกลบั บ้านได้ เทา่ นั้น

3.2.2 ระบบการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ ป้องกนั โรค และสง่ิ แวดล้อมทดี่ ีเพ่อื สขุ ภาพ

กระทรวงสาธารณสุข ส่งเสริมสุขภาพ 4 กลุ่ม เป้าหมายระดับวิกฤต รวมท้ังมีระดับสติปัญญาเฉล่ีย
วัย เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพที่ดี เร่ิมต้ังแต่ 98.2 ใน พ.ศ. 2559 ซ่ึงต่ากว่าค่าเกณฑ์มาตรฐานสากล
สตรแี ละเด็กปฐมวยั เด็กวัยเรียน วัยรุ่น วัยทางานและ (IQ = 100) กระทรวงสาธารณสุขควรสนับสนุนให้
ผู้สูงอายุ พบว่า มารดาตายมีแนวโน้มลดลงแต่ยังเป็น หน่วยงานส่วนภูมิภาค องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ปัญหาในบางพื้นท่ี ทารกตายมีแนวโน้มลดลงเหลือ และภาคีเครือข่าย ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน รวมถึง
9.3 ต่อการเกิดมีชีพพันคน ใน พ.ศ. 2562 เด็ก 0-5 ปี โรงเรียน ผู้ปกครองและเด็ก ในการส่งเสริมพัฒนาการ
มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 87.1 ใน พ.ศ. 2562 แต่ เด็กวัยเรียนให้มีความสมวัยทั้งด้านร่างกาย อารมณ์
รูปร่างสูงดีสมส่วน ร้อยละ 58.9 ใน พ.ศ. 2562 ต่ากว่า จิตใจและสติปัญญา ส่วนวัยรุ่นมีรูปร่างสูงดีสมส่วน
ค่าเป้าหมายท่ีกาหนด ซึ่งจากการคัดกรองพบเด็กที่มี ลดลงเหลือร้อยละ 59.2 ใน พ.ศ. 2562 มีพฤติกรรม
พัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นด้วย TEDA4I การมเี พศสมั พันธท์ ไ่ี ม่ปลอดภัย ส่งผลให้อัตราป่วยด้วย
ครอบคลุมร้อยละ 53.1 ใน พ.ศ. 2562 จะส่งผลต่อ โรคทางเพศสัมพันธ์ เพ่ิมขึ้นเป็น 174.6 ต่อประชากร
พัฒนาการเด็กในระยะต่อไป เด็กวัยเรียนยังพบปัญหา แสนคน ใน พ.ศ. 2562 วัยทางานมีภาวะอ้วน เพิ่มข้ึน
สูงดีสมส่วนลดลงเหลือร้อยละ 62.4 ใน พ.ศ. 2562 เป็นร้อยละ 7.8 ใน พ.ศ. 2562 และมีพฤติกรรม
ต่ากว่าค่าเป้าหมายท่ีกาหนด นอกจากนี้เด็กวัยเรียนมี สุขภาพท่ีเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเพิ่มข้ึน วัย
พฤติกรรมสุขภาพท่ีพึงประสงค์ด้านการบริโภคอาหาร ผู้สูงอายุได้มีการพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแล
กิจกรรมทางกาย และทันตสุขภาพร้อยละ 46.6 ใน ผู้สงู อายรุ ะยะยาวในชุมชน (Long Term Care) ทาให้
พ.ศ. 2560 และพบอัตราเด็กเสียชีวิตจากการจมน้า ผู้สูงอายุได้รับการดูแลเพิ่มขึ้น แต่ผู้สูงอายุยังมี
4.9 ต่อประชากรแสนคน ใน พ.ศ. 2562 ต่ากว่าค่า พฤติกรรมเส่ียงในเรื่องการด่ืมสุราและสูบบุหร่ี

36

รายงานผลการพัฒนาครงึ่ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564

ในด้านการพฒั นาระบบการเฝ้าระวัง ป้องกัน นอกจากน้ียังได้มีการพัฒนาระบบจัดการ

ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ เพ่ือวัดขนาดความชุก ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข เพ่ือเตรียมความพร้อม

และอุบัติการณ์ของการเจ็บป่วย พบว่า การเสียชีวิต รองรับโรคอุบัติใหม่-อุบัติซ้า และภัยสุขภาพ โดยมี

จากโรคและภัยสุขภาพที่สามารถป้องกันควบคุมได้ การจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (Emergency

ลดลง พบว่า อัตราป่วยและตายด้วยโรคติดต่อที่สาคัญ Operations Center : EOC) ทุกจังหวัดและส่วนกลาง

ได้แก่ อุจจาระร่วงเฉียบพลัน ไข้เลือดออก โรคติดต่อ ฉกุ เฉินไดท้ ุกภยั อย่างเป็นระบโดยมีระบบตอบโต้ภาวะ

ทางเพศสัมพันธ์ยังเป็นปัญหาสาธารณสุขอยู่แต่มี ฉุกเฉินท่ีสามารถตอบโต้ภาวะบ มีความเป็นเอกภาพ

แนวโน้มของโรคคงท่ี ขณะที่โรคเอดส์มีแนวโน้ม แบบบูรณาการ มีประสิทธิภาพ และปลอดภัย ซึ่งใน

เพ่ิมขึ้น สาหรับวัณโรคก็ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุข ช่วงปลาย พ.ศ. 2562 เกิดการระบาดของโรคติดเช้ือ

ต่อเนื่อง แม้ว่าได้มีการคัดกรองวัณโรคเชิงรุกในกลุ่ม ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กระทรวงสาธารณสุข

เส่ยี งแลว้ ก็ตาม แตอ่ ัตราความครอบคลุมการรักษาวัณ ได้ยกระดับศูนย์เป็นระดับ 3 ออกประกาศกระทรวง

โรครายใหมแ่ ละกลับเป็นซา้ กย็ ังคงลดลงเหลือร้อยละ สาธารณสุข (ฉบับท่ี 7) พ.ศ.2563 ประกาศให้โรคติด

76.8 ใน พ.ศ. 2562 ไม่บรรลเุ ป้าหมายท่ีกาหนด ส่วน เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus

อัตราป่วยและตายด้วยโรคไม่ติดต่อท่ีสาคัญ ได้แก่ Disease 2019 (COVID-19) เป็นโรคติดต่ออันตราย

มะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรค ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 ออกมาตรการ

หลอดเลือดสมอง และอุบัติเหตุทางถนน มีแนวโน้ม ต่างๆ สาหรับผู้เดินทางเข้าประเทศไทย การคัดกรอง

เพิ่มข้นึ ส่วนการลดปัจจัยเส่ียงด้านสุขภาพ กระทรวง ผู้เดินทางเข้า ณ ช่องทางเข้า-ออกประเทศ สื่อสาร

สาธารณสุขได้ออกมาตรการสาคัญเพื่อปกป้อง ความเสย่ี งใหค้ วามรู้กับประชาชน และจากการสารวจ

ประชาชนจากปัจจัยเส่ียง เช่น การห้ามใช้ไขมันทรานส์ ความพร้อมในการรับมือกับโรคระบาดร้ายแรง

การควบคุมผลติ ภัณฑ์ยาสูบและเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ (Global Health Security Index) ใน 195 ประเทศ

โดยหา้ มขายผลิตภณั ฑ์ยาสบู แกผ่ ทู้ ่ีมีอายุต่ากว่า 20 ปี ทั่วโลก พ.ศ. 2562 พบว่า ประเทศไทยมีความพร้อม

หา้ มผทู้ ี่มีอายุต่ากว่า 18 ปี เป็นผู้ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบ ในการรับมือโรคระบาด เป็นอันดับท่ี 6 ของโลก รอง

นอกจากนี้ มีการคัดกรองผู้ป่วยเบาหวานและความ จาก สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์

ดันโลหิตสูงเพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ และมีการแนะนา ออสเตรเลีย และแคนาดา

ให้มีการปรับเปล่ียนพฤติกรรม แต่ยังพบอัตราป่วย

ดว้ ยโรคเบาหวานและความดันโลหติ สงู เพิ่มขน้ึ

37

รายงานผลการพัฒนาคร่งึ แผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564

เพ่ือให้ประชาชนได้รับการคุ้มครองสุขภาพด้วยการจัดการอนามัยส่ิงแวดล้อมท่ีดี โดยการสร้าง
สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดีของประชาชน กระทรวงสาธารณสุขได้ดาเนินการพัฒนาโรงพยาบาล
Green& Clean Hospital ให้ได้มาตรฐานอนามัยสิ่งแวดล้อมท่ีกาหนด ผ่านเกณฑ์ตั้งแต่ระดับดีข้ึนไป
จานวน 914 แห่ง ใน พ.ศ. 2562 ยังมีอีก 44 แห่ง ท่ีต้องพัฒนาให้ได้มาตรฐานในระดับดีข้ึนไป การควบคุม
การจัดการมูลฝอยติดเช้ือของโรงพยาบาลต่ากว่าค่าเป้าหมายระดับวิกฤต เน่ืองจากใช้ระบบเอกสารกากับ
การขนส่งมูลฝอยติดเช้ือ แต่ยังไม่มีการควบคุมการจัดการมูลฝอยติดเช้ือด้วยระบบ Digital Infectious
Control และมี 30 จังหวัด ไม่ผ่านเกณฑ์พ้ืนฐานระบบการจัดการปัจจัยเส่ียงจากส่ิงแวดล้อม ต่ากว่าค่า
เป้าหมายระดบั วกิ ฤต

ผลการพัฒนาด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคเป็นเลิศในคร่ึงแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวง
สาธารณสุข พบว่า มีการดาเนินงานสร้างเสริมสุขภาพทุกกลุ่มวัย แต่ไม่ประสบความสาเร็จเท่าที่ควร
โดยเฉพาะในประเด็นการติดตามและกระตุ้นพัฒนาการเด็กล่าช้ายังไม่ครอบคลุม สูงดีสมส่วนในเด็กวัยเรียน
และวัยรุ่น พฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมทุกกลุ่มวัย เนื่องจากการดาเนินงานสร้างเสริมสุขภาพโดย
กระทรวงสาธารณสุขเพียงหน่วยงานเดียวย่อมไม่ประสบผลสาเร็จ ต้องอาศัยความร่วมมือและการกาหนด
บทบาทที่ชัดเจนในการดาเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของ
มนุษย์ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรเอกชน สาหรับการควบคุมและป้องกันโรคยังไม่สามารถลด
การปว่ ยและตายด้วยโรคติดต่อ ได้แก่ วัณโรค เอดส์ และโรคไม่ติดต่อเรื้อรังต่างๆ ได้มากนัก ส่วนระบบการ
จดั การภาวะฉกุ เฉนิ ทางดา้ นสาธารณสขุ มีประสทิ ธภิ าพดีในการจัดการปัญหา แต่ต้องอาศัยความร่วมมือจาก
ทกุ ภาคส่วนและประชาชน เพอื่ ให้กลบั เข้าสภู่ าวะปกติ

3.2.3 ระบบคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์และบรกิ ารสขุ ภาพ

กระทรวงสาธารณสุข พัฒนาระบบและกลไกการควบคุม กากับดูแลผลิตภัณฑ์สุขภาพ ให้มี
คณุ ภาพ ปลอดภยั ตลอดจนพฒั นาศกั ยภาพผูบ้ ริโภคให้มีความรู้เก่ียวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้ดาเนินการเฝ้า
ระวัง ตรวจสอบคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพอาหาร ยา เครื่องสาอาง เคร่ืองมือแพทย์
วัตถเุ สพติด และวตั ถุอันตราย ได้มาตรฐาน ร้อยละ 98.0 ใน พ.ศ. 2562 ต่ากว่าค่าเป้าหมายท่ีกาหนด (ร้อย
ละ 99.0) การพัฒนา ปรับปรุงกระบวนการออกใบอนุญาตผลิตภัณฑ์สุขภาพให้รวดเร็วยิ่งขึ้น โดยปรับลด
ระยะเวลาการพิจารณาอนุญาต นาระบบ e-Submission มาเพิ่มประสิทธิภาพในการออกใบอนุญาตใน
ผู้ประกอบการ ส่งผลให้ลดระยะเวลาพิจารณาอนุญาตลง เฉลี่ยร้อยละ 27.4 สามารถออกใบอนุญาตแล้ว
เสร็จเพม่ิ ขนึ้ จาก 605,019 รายการ ใน พ.ศ. 2559 เป็น 810,302 รายการ ใน พ.ศ. 2561

38

รายงานผลการพัฒนาคร่งึ แผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564

การรณรงค์ส่งเสริมความรู้ด้านการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพท่ีถูกต้อง พบว่า ความรู้และพฤติกรรม
การบริโภคผลติ ภณั ฑ์สขุ ภาพมแี นวโน้มคงที่ แตก่ เ็ ปน็ กลุ่มตัวอย่างที่สารวจเพียง 1,500-3,000 คน และในด้าน
การลดปจั จัยเสีย่ งจากการบรโิ ภคผลติ ภัณฑ์อาหารทีไ่ มเ่ หมาะสม ได้กาหนดให้ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์อาหาร 13 กลุ่ม
ผลิตภัณฑ์ รวม 5,503 ผลิตภัณฑ์ ต้องแสดงฉลากหวาน มัน เค็ม หรือฉลาก GDA ซ่ึงจะแสดงค่าพลังงาน
นา้ ตาล ไขมัน และโซเดียม ใน 1 หน่วยบรรจภุ ัณฑ์

ในด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพ กระทรวง
สาธารณสขุ ได้พัฒนาสถานพยาบาลภาคเอกชนและสถานประกอบการ
เพ่ือสุขภาพ ให้ผ่านการรับรองคุณภาพมาตรฐานท่ีกาหนดและส่งเสริม
ศกั ยภาพในการแขง่ ขนั ของอุตสาหกรรมการแพทย์และการท่องเท่ียว
เชิงสุขภาพ โดยได้ดาเนินการพัฒนาสถานพยาบาลภาคเอกชนผ่าน
เกณฑ์มาตรฐานทุกแห่ง และสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพผ่าน
เกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 95.8 ใน พ.ศ. 2562 ดาเนินนโยบายการ
พัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical
Hub) ผลลัพธ์ที่ได้จากการดาเนินงานคือ มีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ
มาใช้บริการด้านการแพทย์ในประเทศไทย จานวน 534,495 คน มี
ค่าใช้จ่ายบริการด้านการแพทย์ 114,951.86 ล้านบาทต่อปี ใน พ.ศ.
2561 และนักท่องเท่ียวชาวต่างชาติมาใช้บริการเชิงสุขภาพ (สปา
นวดแผนไทย น้าพรุ ้อน) ใน พ.ศ. 2561 มีจานวน 38,178,194 คน มี
ค่าใช้จ่ายดา้ นบรกิ ารเชงิ สุขภาพ 474,205.18 ลา้ นบาทต่อปี

ผลการพัฒนาด้านคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศในครึ่งแผน
ยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข พบว่า การดาเนินงานคุ้มครอง
ผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพมีผลสาเร็จระดับหน่ึง แต่ในปัจจุบัน
พฤติกรรมการบริโภคของประชาชนเปล่ียนไป มีการซื้อสินค้าผ่านระบบ
ออนไลนเ์ พิ่มข้ึน กอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดกฎหมายและ
ไม่ปลอดภัยมากข้ึน ส่งผลต่อการดาเนินงานกากับดูแลผลิตภัณฑ์
สุขภาพไม่ครอบคลุมและทั่วถึง ควรพัฒนากลไกในการตรวจสอบ
ผลติ ภัณฑส์ ขุ ภาพเชิงรุก พฒั นาความรอบรดู้ ้านผลิตภัณฑส์ ุขภาพของ
ประชาชน ในด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพสามารถ
พัฒนาคุณภาพสถานพยาบาลภาคเอกชนให้ได้มาตรฐาน แต่ประชาชน
ได้รับการคุม้ ครองด้านบริการสุขภาพไมด่ ีเทา่ ทีค่ วร เนื่องจากค่ารักษา
พยาบาลแพง จึงควรตรวจสอบและกาหนดมาตรฐานค่ารักษาพยาบาล
ของสถานพยาบาลภาคเอกชน ในส่วนของคลนิ กิ ท่ใี หบ้ ริการด้านเสริม
ความงามมีจานวนเพิ่มขึ้น มีการโฆษณาชวนเชื่อท่ีเกินจริง ทาให้
ผู้บริโภคเส่ียงต่อการรับบริการที่ไม่ได้มาตรฐาน จึงควรเพ่ิมการดูแล
กวดขนั คลินกิ ที่ใหบ้ ริการเสรมิ ความงามมากข้ึน

39


Click to View FlipBook Version