เป้าหมายการพัฒนา ตัวชีว้ ดั /เปา้ หมาย
ขนั ท่ี 2
รพ. มีระบบการจัดการ AMR อย่างบูรณาการ ≥
ร้อยละ 70
DRP ลดลง รอ้ ยละ 20
ร้อยละของปรมิ าณการใช้ยาที่ออกฤทธ์ิกว้าง/สงวน
ส้าหรับเชือดือยาต่อการใช้ยาต้านจุลชีพชนิดฉีด
ทังหมด (ลดลงร้อยละ 20)
อตั ราการตดิ เชอื ดือยาในกระแสเลือดต่อผู้ป่วยท่ีติด
เชอื แบคทเี รียสา้ คัญ 8 ชนิด ลดลงร้อยละ 50
83 ระบบจัดการการดือยาต้านจุลชีพของประเทศ มี ร
สมรรถนะตามเกณฑ์สากล (JEE) ระดับ 4
คา่ ใช้จ่ายดา้ นยา ลดลงรอ้ ยละ 50
ลดอตั ราตายทารกแรกเกดิ ในประเทศไทย < 2.5 ตอ่ 1,000 ทารกเกิดมีชีพ
1. โรงพยาบาลระดับ A,S,M,F มีบริการผู้ป่วยระยะ ร้อยละ 85 ของผู้ป่วยกลุ่มโรคที่ต้องได้รับการดูแล
ทา้ ยตามมาตรฐาน แบบประคับประคอง (8 กลุ่มโรค) ได้รับการดูแล
2. ผู้ป่วยระยะท้ายเข้าถึง (Accessibility) บริการ ตามมาตรฐานและภายในเวลาท่ีกา้ หนด
ดแู ลแบบประคับประคอง มีการพัฒนาระบบเครือข่ายในโรงพยาบาลระดับ
A,S,M,F รอ้ ยละ 50
พัฒนาองค์ความรู้ในการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง
ในโรงพยาบาลระดับ A,S,M,F ร้อยละ 50
จัดท้าคลงั เครอ่ื งมือส้าหรบั การดูแลผูป้ ว่ ยแบบระคับ
ประคองที่บ้านในพืนที่รับผิดชอบโรงพยาบาลระดับ
A,S,M,F ร้อยละ 50
ผลการด่าเนนิ งานตามแผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560-2564 ผลการประเมนิ
ครึงแผนเมือเทียบกับ
2560 2561 2562 เปา้ หมายแผนยุทธศาสตร์
กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ.
- รอ้ ยละ 7.3 รอ้ ยละ 41.4
2560-2564
(65 จาก 894 แหง่ ) (371 จาก 896 แห่ง)
-
- ร้อยละ 82.9 รอ้ ยละ 96.6
บรรลคุ า่ เป้าหมาย
(97 จาก 117 แห่ง) (115 จาก 119 แหง่ )
ประเมินไม่ได้เนอื่ งจากไม่
- -- มขี ้อมูล
- - รอ้ ยละ 69.85 ประเมินไม่ไดเ้ น่อื งจากมี
ข้อมลู ปีเดียว
- อัตราการติดเชอื ร้อยละ อัตราการติดเชือ รอ้ ยละ ต่้ากวา่ คา่ เป้าหมายระดบั
36.89 36.74 เทยี บกบั ปี 2561 วกิ ฤต (รอ้ ยละ 0.8)
ระดบั 3 (ประเมนิ ทกุ 5 ป)ี
- - ลดลงร้อยละ 0.42
- ต่้ากวา่ ค่าเปา้ หมายระดบั
3.2 ตอ่ ทารกเกดิ มีชีพ - เส่ียง (รอ้ ยละ 75.0)
พนั คน - ประเมินไมไ่ ดเ้ นอ่ื งจากไม่
- 3.3 ต่อทารกเกดิ มชี พี มีข้อมูล
พันคน
- - 3.2 ต่อทารกเกดิ มีชพี ต่้ากวา่ คา่ เปา้ หมายระดบั
- พันคน เสี่ยง (รอ้ ยละ 72.0)
- -
ร้อยละ 33.7 ต้า่ กว่าค่าเป้าหมายระดบั
- (32,716 จาก 97,011 วกิ ฤต (รอ้ ยละ 39.6)
- ราย)
- ประเมินไมไ่ ด้เนื่องจากไม่
มขี ้อมูล
- ประเมนิ ไม่ไดเ้ นือ่ งจากไม่
มขี ้อมลู
- ประเมนิ ไม่ไดเ้ น่ืองจากไม่
มีขอ้ มูล
เป้าหมายการพัฒนา ตัวชวี้ ดั /เปา้ หมาย
พัฒนา OPIOIDS MODEL ใน รพ. ระดับ A,S,M,F
ร้อยละ 50
84 ประชาชนเข้าถึงบริการการแพทย์แผนไทย พัฒนาระบบการดแู ลผูป้ ว่ ยแบบประคบั ประคองที่
การแพทย์ทางเลือกและสมุนไพรที่ได้คุณภาพและ บ้านในพืนท่รี บั ผิดชอบของโรงพยาบาลระดบั A,S,
มาตรฐาน M,F ร้อยละ 50
ผู้ปว่ ยนอกไดร้ ับบริการแพทยแ์ ผนไทยฯ ทไี่ ด้
ผู้ป่วยโรคซมึ เศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต ร้อย มาตรฐาน ร้อยละ 20 (ไม่รวมสง่ เสริมฯ)
ละ 85 และอัตราการฆ่าตัวตายส้าเร็จ ไม่เกิน 5.1
ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต ร้อยละ
70
1. อัตราตายผู้ป่วยติดเชือในกระแสเลือดแบบ อัตราการฆา่ ตัวตายส้าเรจ็ ไม่เกนิ 6.0 ต่อแสน
รุนแรงชนิด Community acquired ลดลง ประชากร
2. โรงพยาบาลระดับ S ขึนไปมีการจัดตังทีม 1. อัตราการเสียชีวิตจากภาวการณต์ ิดเชอื ในกระแส
Capture the fracture เพ่ือดูแลผู้ป่วยสูงอายุที่มี เลอื ดแบบรุนแรงของผูป้ ว่ ยทีเ่ ขา้ รับการรกั ษาใน
ภาวะกระดูกสะโพกหักจากโรคกระดูกพรุน ลด โรงพยาบาลชนิด community acquired sepsis
อัตราการเกิดกระดูกสะโพกหักซ้าซ้อนได้และ นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 24 ในกลุม่ ผ้ปู ว่ ย [รวมผูป้ ว่ ยท่ีขอ
สามารถผ่าตัดผู้ป่วยกระดูกสะโพกหักแบบ Early ไปเสยี ชีวิตทบี่ ้าน และไมน่ ับรวมผปู้ ว่ ย palliative
Surgery ภายใน 72 ชั่วโมง (รหัส Z 51.5)] และนอ้ ยกวา่ ร้อยละ 48 ในกลุ่ม
ผ้ปู ่วย hospital-acquired sepsis
2. ร้อยละ 40 ของโรงพยาบาลระดบั S ท่มี ีทมี
Capture the fracture
2.1 ร้อยละของผู้ป่วย Capture the fracture ที่มี
ภาวะกระดูกหักซา้ (Refracture) < ร้อยละ 20
ผลการดา่ เนนิ งานตามแผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2560-2564 ผลการประเมิน
ครึงแผนเมือเทยี บกับ
2560 2561 2562 เปา้ หมายแผนยุทธศาสตร์
- -- กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ.
2560-2564
ประเมินไม่ไดเ้ น่ืองจาก
ไม่มีข้อมูล
- - - ประเมินไมไ่ ด้เน่ืองจาก
ไม่มีข้อมูล
ร้อยละ 19.8 รอ้ ยละ 24.7 ร้อยละ 21.4 บรรลคุ า่ เปา้ หมาย
(33,881,067 จาก (38,962,148 จาก (35,442,813 จาก
170,944,646 ครงั ) 157,557,465 ครงั ) 165,564,954 ครัง) ต้่ากวา่ ค่าเป้าหมาย
(ร้อยละ 97.4)
รอ้ ยละ 54.4 ร้อยละ 61.2 ร้อยละ 68.2
ต่า้ กวา่ ค่าเปา้ หมาย
6.6:แสนประชากร 6.3:แสนประชากร 6.6:แสนประชากร (รอ้ ยละ 90.0)
รอ้ ยละ 33.1 รอ้ ยละ 34.8 รอ้ ยละ 32.3 ตา้่ กว่าค่าเป้าหมาย
(84,859 จาก (23,180 จาก (24,188 จาก ระดบั เส่ียง
256,755 ราย) 66,637 ราย) 74,983 ราย) (รอ้ ยละ 65.4)
- 54 ทมี จากทุกเขต รอ้ ยละ 100 (รพ. S 50 บรรลุค่าเปา้ หมาย
สขุ ภาพ จาก 50 แหง่ )
รอ้ ยละ 80.8 (รพ. M1,
M2) 97 จาก 120 แห่ง
- - - ประเมนิ ไมไ่ ด้เน่ืองจาก
ไม่มขี ้อมูล
เปา้ หมายการพฒั นา ตัวช้วี ัด/เปา้ หมาย
อัตราการตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ ร้อยละของผู้ป่วย Capture the fracture ที่ได้ รับ
ไมเ่ กนิ 20 ตอ่ แสนประชากร การผ่าตัดภายใน 72 ชั่วโมงหลังจากได้รับการรักษา
ในโรงพยาบาล (Early surgery) > ร้อยละ 50 ขนึ ไป
ผปู้ ่วยกล้ามเนือหวั ใจตายเฉียบพลัน (STEMI) ได้รับ
การสวนหัวใจและขยายหลอดเลือดและให้ยา
ละลายลิ่มเลือดไดร้ อ้ ยละ 80 ในโรงพยาบาลซึ่งเป็น
ศนู ยห์ วั ใจ
อตั ราการตายของผ้ปู ่วยโรคหลอดเลือดหัวใจไม่เกิน
24 ต่อแสนประชากร
85 จัดตังคลินิกหัวใจล้มเหลว (Heart Failure Clinic)
ในทุกโรงพยาบาล (49 แห่ง) โดยเป็นแบบสห
วิชาชีพและผู้ป่วยหวั ใจล้มเหลวที่หัวใจกล้ามเนือบีบ
ตัวอ่อน ไดร้ บั ยาท่ีเหมาะสมมากกว่าร้อยละ 50
จดั ตงั Anticoagulant Clinic ในทกุ โรงพยาบาล
โดยเป็นแบบสหวิชาชพี และผู้ป่วยหวั ใจเต้นผิด
จังหวะตอ้ งได้รับยาตา้ นการแขง็ ตวั ของเลอื ด
มากกวา่ รอ้ ยละ 60
มีการประชาสมั พนั ธ์ "Heart Attack Alert"
Campaign เพอื่ ใหผ้ ปู้ ว่ ยท่มี ีอาการมาถงึ
โรงพยาบาลได้เรว็ ภายใน 12 ชั่วโมง ประมาณ 50%
อัตราการเสยี ชีวติ จากโรคมะเร็งลดลง รอ้ ยละ 5 ร้อยละ 85 ของผปู้ ่วยมะเรง็ 5 อนั ดบั แรกได้รับการ
รกั ษาภายในระยะเวลาท่ีกา้ หนด
- ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยการ
ผ่าตดั ภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์
ผลการดา่ เนนิ งานตามแผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2560-2564 ผลการประเมนิ
ครงึ แผนเมอื เทียบกับ
2560 2561 2562 เปา้ หมายแผนยทุ ธศาสตร์
- -- กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.
2560-2564
ประเมนิ ไมไ่ ด้เน่ืองจาก
ไม่มขี ้อมูล
- - รอ้ ยละ 88.2 ประเมินไม่ไดเ้ นอ่ื งจาก
31.8 ต่อแสนประชากร 31.8 ตอ่ แสนประชากร (30 จาก 34 แห่ง) ไมม่ ขี อ้ มลู ผปู้ ่วยที่
ไดร้ ับการสวนหวั ใจ
- - 31.4 ตอ่ แสนประชากร และขยายหลอดเลอื ด
ต่า้ กว่าค่าเป้าหมาย
รอ้ ยละ 53.8 ระดับเส่ยี ง
(64 จาก 119 แหง่ ) (ร้อยละ 69.2)
ต่า้ กวา่ คา่ เป้าหมาย
ระดับเส่ียง
(ร้อยละ 57.9)
- - - ประเมินไม่ไดเ้ น่อื งจาก
ไมม่ ขี ้อมูล
- - - ประเมินไมไ่ ด้เนอื่ งจาก
ร้อยละ 79.0 ไมม่ ีขอ้ มลู
ต้่ากว่าค่าเปา้ หมาย
(ร้อยละ 76.7)
ร้อยละ 72.1 ร้อยละ 70.8
(9,597 จาก 13,312 (9,268 จาก 13,097
ราย) ราย)
เป้าหมายการพฒั นา ตวั ชี้วัด/เปา้ หมาย
- ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็งท่ีได้รับการรักษาด้วยเคมี
บ้าบัดภายในระยะเวลา 6 สปั ดาห์
- ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยรังสี
รักษาภายในระยะเวลา 6 สปั ดาห์
อัตราตายจากโรคมะเรง็ ตบั 23.7 ต่อแสนประชากร
อัตราตายจากโรคมะเรง็ ปอด 19 ต่อแสนประชากร
86 มีผู้ป่วยโรคไตเรือรังระยะสุดท้ายลดลง และ ร้อยละ 69 ของผ้ปู ่วย CKD ที่มอี ัตราการลดลงของ (
Excellent Center ของกระทรวงสาธารณสุขด้าน eGFR<4 ml/min/1.73m2/yr -
โรคไตมีศักยภาพตดิ 1 ใน 3 ของเอเชยี
ร้อยละของผู้ป่วยต้อกระจกชนิดบอด (Blinding
ความชุกตาบอดลดลงต้่ากวา่ 0.50 Cataract) ไดร้ บั การผ่าตัดภายใน 30 วนั ≥ รอ้ ยละ 80
อัตราส่วนของจ้านวนผู้ยินยอมบริจาคอวัยวะจาก
อวัยวะและเนือเยื่อเพียงพอส้าหรับการปลูก ผู้ป่วยสมองตาย (acutual deceased donor) ต่อ
ถ่ายให้ผู้ป่วยในประเทศไทยท่ีรอปลูกถ่ายอวัยวะ จ้านวนผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล (hospital
และเนือเยื่อ ทมี่ คี ุณภาพและปลอดภัย death) 1.0 : 100
ผู้ใช้ ผู้เสพ ท่ีบ้าบัดครบตามเกณฑ์ที่ก้าหนดของแต่
1. ผู้ป่วยยาเสพติดเข้าถึงการบ้าบัดรักษาท่ีมี ละระบบ หยุดเสพต่อเน่ืองหลังจ้าหน่ายจากการ
ประสิทธภิ าพ บา้ บดั 3 เดือน (ร้อยละ 76)
2. ผู้เสพ และผู้ติด สามารถอยู่ในสังคมร่วมกับ ผู้ป่วยยาเสพติดท่ีบ้าบัดครบตามเกณฑ์ท่ีก้าหนด
ผู้อ่นื โดยไม่ก่อผลกระทบ (ลดความรุนแรง/การเสพ และได้รบั การติดตามดแู ลตอ่ เนอ่ื ง 1 ปี (ร้อยละ 80)
ติดซ้า) โรงพยาบาลระดบั M และ F สามารถให้บริการ
IMC ในรูปแบบตา่ งๆ (variety of care) ได้ไม่นอ้ ย
1. ผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าถึงและได้รับ กวา่ รอ้ ยละ 50
บริการระบบการดูแลระยะกลางในสถานพยาบาล ลดการกลับเข้ารักษาในโรงพยาบาลซ้าโดยไม่จ้า
ใกล้บ้านและมีความเช่ือมโยงกับระบบการแพทย์ เป็นได้ ไม่นอ้ ยกว่า ร้อยละ 20
ปฐมภูมิ ชุมชนและหน่วยงานอื่นท่ีเก่ียวข้องอย่าง
บรู ณาการ
ผลการดา่ เนนิ งานตามแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560-2564 ผลการประเมิน
ครึงแผนเมือเทยี บกบั
2560 2561 2562 เปา้ หมายแผนยุทธศาสตร์
รอ้ ยละ 81.9 กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ.
ร้อยละ 73.5 รอ้ ยละ 70.6
รอ้ ยละ 74.6 (13,203 จาก 17,961 (12,496 จาก 17,711 2560-2564
25.1 ตอ่ แสนประชากร
ราย) ราย) บรรลคุ ่าเปา้ หมาย
ร้อยละ 52.7 ร้อยละ 55.0
(4,102 จาก 7,787 ราย) (5,239 จาก 9,526 ราย)
24.3 ตอ่ แสนประชากร 21.6 ต่อแสนประชากร
21.0 ตอ่ แสนประชากร 21.4 ตอ่ แสนประชากร 21.3 ตอ่ แสนประชากร ตา้่ กวา่ ค่าเปา้ หมาย
(รอ้ ยละ 87.9)
ร้อยละ 63.1 ร้อยละ 59.7 ร้อยละ 60.3
ตา่้ กว่าคา่ เปา้ หมาย
(381,185 จาก 604,189 ราย) (197,507 จาก 330,600 ราย) (243,653 จาก 404,007 ราย) (ร้อยละ 87.4)
รอ้ ยละ 84.1 รอ้ ยละ 84.6 รอ้ ยละ 83.5 บรรลุค่าเป้าหมาย
(43,736 จาก 52,014 ราย) (40,248 จาก 47,552 ราย) (50,489 จาก 60,438 ราย)
- ต่้ า ก ว่ า ค่ า เ ป้ า ห ม า ย
ร้อยละ 0.2 รอ้ ยละ 0.3 ระดบั วิกฤต
(ร้อยละ 30.0)
รอ้ ยละ 94.1 ร้อยละ 64.7 รอ้ ยละ 53.6 ต่้ากว่าค่าเปา้ หมายระดบั
เสี่ยง (รอ้ ยละ 70.5)
ร้อยละ 74.9 รอ้ ยละ 48.6 ร้อยละ 41.2 ต่้ากว่าค่าเปา้ หมายระดับ
- เส่ยี ง (ร้อยละ 51.5)
รอ้ ยละ 56.6 รอ้ ยละ 74.3
(460 จาก 813 แหง่ ) (604 จาก 813 แห่ง) บรรลคุ ่าเป้าหมาย
- - - ประเมนิ ไมไ่ ดเ้ น่อื งจาก
ไมม่ ขี อ้ มูล
เป้าหมายการพัฒนา ตวั ชว้ี ดั /เป้าหมาย
2. ลดความแออดั ของสถานพยาบาล หนว่ ยบรกิ าร IMC มรี ะบบตดิ ตามประเมินผลและ
3. โรงพยาบาลระดับ M และ F สามารถให้บริการ เชือ่ มโยงแผนการรกั ษากบั ระบบบริการสุขภาพทกุ
ก า ร ดู แ ล ร ะ ย ะ ก ล า ง ใ น รู ป แ บ บ ที่ ห ล า ก ห ล า ย ระดบั ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 30
(Variety of Care) และขยายขอบเขตบริการยังโรค
หรือกลุ่มอาการที่ซับซ้อนขึน เพื่อตอบสนองความ ร้อยละ 15 ของผ้ปู ่วยทเี่ ขา้ รับการผา่ ตดั แบบ One
ต้องการของผู้ปว่ ยไดอ้ ย่างเหมาะสม day Surgery : จ้านวน 12 กลุ่มโรค (เฉพาะปี
2561) และเพ่ิมหัตถการอยา่ งน้อยร้อยละ 5 ต่อปี
ประชาชนเข้าถงึ บรกิ ารท่ีมคี ณุ ภาพสูงสดุ ตาม ร้อยละ 25 ของจา้ นวนผู้ป่วยทเ่ี ข้ารบั การผ่าตดั แบบ
มาตรฐานอย่างเบ็ดเสร็จในเขตสุขภาพ Minimally Invasive Surgery : จา้ นวน 2 กลมุ่ โรค
(เฉพาะปี 2561) และเพิม่ หัตถการอยา่ งนอ้ ยรอ้ ยละ
ศกั ยภาพการดแู ลรักษาพยาบาลของสถาน 5 ต่อปี
บริการในแตล่ ะเขตสขุ ภาพเพิ่มขนึ และการสง่ ต่อ
ออกนอกเขตสุขภาพลดลง
87
1. Emergency Care System (ECS) คณุ ภาพ รอ้ ยละของ ER คุณภาพใน รพ. ระดบั F2 ขนึ ไป
โรงพยาบาล F2 ขนึ ไป > 80%
2. อตั ราการเสยี ชวี ิตผู้เจ็บป่วยฉุกเฉนิ วกิ ฤต ภายใน ER คุณภาพ / SMART ER
24 ชว่ั โมง < 6% 1) ECS คณุ ภาพ โรงพยาบาล F2 ขึนไป > 70%
3. อัตรากา้ ลงั เหมาะสม 2) อัตราการเสยี ชวี ิตผู้เจบ็ ป่วยฉกุ เฉนิ วกิ ฤต ภายใน
24 ช่ัวโมง < 12%
- EP 2.4 : 100,000 ประชากร 3) ผ้ปู ่วยไมฉ่ กุ เฉินมาใชบ้ รกิ ารหอ้ งฉุกเฉิน < 40%
- Registered Nurse (RN) 18 : 100,000
ประชากร
- EN/ENP 4.1 : 100,000 ประชากร
- Paramedic 4.1 : 100,000 ประชากร
- Emergency Medical Technician
Intermediate (EMT-I) 3.1 : 100,000 ประชากร
- Emergency Medical Technician Basic
(EMT-B) 3.1 : 100,000 ประชากร
ผลการด่าเนินงานตามแผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560-2564 ผลการประเมนิ
ครงึ แผนเมือเทียบกบั
2560 2561 2562 เปา้ หมายแผนยทุ ธศาสตร์
- -- กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.
2560-2564
ประเมินไมไ่ ด้เนื่องจาก
ไม่มขี ้อมูล
- รอ้ ยละ 36.3 รอ้ ยละ 90.8 บรรลคุ ่าเป้าหมาย
ผา่ ตดั ใน 12 กลมุ่ โรค (9,688 ราย)
ไม่ไดด้ ้าเนินการ- และเพิม่ เปน็ 24 กล่มุ โรค ประเมนิ ไม่ได้เนอ่ื งจาก
(3,718 ราย) (12,528 ราย) ไมม่ ีข้อมูลจา้ นวน
รอ้ ยละ 58.2 ไมไ่ ดด้ า้ เนนิ การ- ผ่าตดั 1 กลมุ่ โรค
(464 จาก 797 แห่ง) ผู้ป่วยทังหมดทวี่ นิ จิ ฉยั
- - ว่าสามารถผ่าตดั แบบ
รอ้ ยละ 80.1
(644 จาก 797 รพ.) MIS ได้
ตา่้ กว่าค่าเปา้ หมาย
- ระดบั เสีย่ ง (รอ้ ยละ
58.2)
- - บรรลุคา่ เปา้ หมาย
รอ้ ยละ 2.0 ร้อยละ 5.7 บรรลุค่าเปา้ หมาย
(5,987 จาก 298,977 (7,613 จาก 133,643
ประเมินไม่ได้เนื่องจาก
ราย) ราย) ไมม่ ขี อ้ มูล
เปา้ หมายการพัฒนา ตัวช้ีวัด/เป้าหมาย
Community-Based EMS
1) จังหวัดทีด่ า้ เนนิ การผา่ นเกณฑ์ Community-
Based EMS > 30%
2) ผ้ปู ว่ ยฉุกเฉนิ มาโดยระบบ EMS > 30%
Value-Based ECS
88 1) ระดับความสา้ เรจ็ ในการพฒั นาขอ้ มลู และ
สารสนเทศ ECS เท่ากบั 3
1.ลดโรคในกล่มุ เสีย่ ง ลดหรือป้องกันโรคและภัย 2) ระดับความสา้ เรจ็ ECS Value-based
สขุ ภาพจากการประกอบอาชพี และสิง่ แวดลอ้ มท่ี Payment เท่ากบั 2
สา้ คัญ 3) ระดับความสา้ เร็จการก้าหนดมาตรฐานอาคาร
2. หน่วยบรกิ ารสาธารณสขุ สามารถผ่านเกณฑก์ าร สถานทีห่ อ้ งฉกุ เฉนิ เท่ากบั 3
ประเมนิ สา้ หรบั การจดั บริการอาชวี อนามัย และเวช
กรรมสง่ิ แวดล้อมในเขตพัฒนาพนื ท่ีพเิ ศษ (Eastern -
Economic Corridor: EEC,Special Economic
Zone: SEZ, Border Health, sea & Island) รอ้ ยละการผา่ นเกณฑข์ องหนว่ ยบรกิ ารสาธารณสขุ
สา้ หรบั การจัดบริการอาชวี อนามยั และเวชกรรม
สงิ่ แวดลอ้ ม ในเขตพฒั นาพนื ทพี่ เิ ศษตามเกณฑ์ที่
ก้าหนด (รอ้ ยละ 95)
3) มรี ะบบการสง่ ตอ่ ทีมีประสทิ ธภิ าพ
ศักยภาพการดูแลรักษาพยาบาลของสถาน ส่งต่อผปู้ ่วยนอกเขตสขุ ภาพ ลดลงรอ้ ยละ 10 ต่อปี
บริการในแต่ละเขตสุขภาพเพ่ิมขึนและการส่งต่อ
ออกนอกเขตสุขภาพลดลง
ผลการด่าเนินงานตามแผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2560-2564 ผลการประเมิน
ครงึ แผนเมือเทยี บกับ
2560 2561 2562 เป้าหมายแผนยทุ ธศาสตร์
- -- กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.
ร้อยละ 18.9 ร้อยละ 21.5 ร้อยละ 22.5 2560-2564
(98,732 จาก 521,422 (111,256 จาก 404,902 (54,628 จาก 242,683
ประเมนิ ไม่ไดเ้ น่ืองจาก
ราย) ราย) ราย) ไม่มีข้อมูล
- - - ตา้่ กว่าค่าเปา้ หมาย
ระดับเสี่ยง
(ร้อยละ 75.0)
ประเมินไมไ่ ดเ้ นื่องจาก
ไม่มีข้อมลู
ประเมินไม่ไดเ้ นอ่ื งจาก
ไมม่ ขี อ้ มลู
ประเมินไม่ไดเ้ นอ่ื งจาก
ไม่มีข้อมลู
ผา่ นเกณฑร์ ะดับเร่ิมตน้ รอ้ ยละ 72.6 ผ่านเกณฑร์ ะดับเริ่มต้น บรรลุค่าเป้าหมาย
พัฒนาขนึ ไปร้อยละ 21.0 (45 จาก 62 แห่ง) พัฒนาขึนไปร้อยละ 95.2
(13 จาก 62 แห่ง) (59 จาก 62 แหง่ )
ลด 19.7% เพ่ิม 0.6% ลด 3.7% ต่้ากว่าค่าเป้าหมาย
ระดับวกิ ฤต
(ร้อยละ 37.0)
เป้าหมายการพฒั นา ตัวชี้วดั /เปา้ หมาย
4) มเี ครอื งมอื และเทคโนโลยีทางการแพทยท์ นั สมยั และสามารถแขง่ ขนั ไดใ้ นระดบั สากล
ประเทศไทยเปน็ เมอื งสมุนไพรมีมลู คา่ การตลาด มลู คา่ ผลติ ภณั ฑส์ มนุ ไพร
สมุนไพรเพม่ิ ขนึ เปน็ 2.90-3.62 ลา้ นบาท
จ้านวนเมอื งสมนุ ไพร 13 จังหวดั
5) มีความร่วมมือทั้งระหว่างหน่วยงานภายในประเทศและหน่วยงานต่างประเทศโดยเฉพาะในการ
ปอ้ งกนั และรกั ษาโรคทีมีความส่าคญั
หมายเหตุ : (รอ้ ยละ) ในคอลมั น์ ผลการประเมนิ ครง่ึ แผนฯ หมายถงึ ผลการด้าเนินงานทที่ า้ ได้เมอ่ื
89
ผลการดา่ เนนิ งานตามแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560-2564 ผลการประเมิน
2560 2561 2562 ครงึ แผนเมอื เทียบกับ
เป้าหมายแผนยทุ ธศาสตร์
กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.
2560-2564
100,000 ล้านบาท 280,000 ล้านบาท - ต้่ากว่าคา่ เป้าหมาย
(พ.ศ. 2557) 4 จังหวัด 14 จังหวัด (รอ้ ยละ 96.6)
- บรรลุคา่ เป้าหมาย
ไมไ่ ดก้ ้าหนดตวั ชวี ดั
-
อเทียบกบั เป้าหมาย
รายงานผลการพฒั นาคร่งึ แผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564
4.2.3 ผลการพฒั นาบคุ ลากรเปน็ เลศิ (People Excellence)
การพัฒนากาลังคนถือเป็น ของบุคลากรด้านสุขภาพเพื่อธารง ระดบั ต่ากวา่ ค่าเป้าหมาย 1 ตัวช้ีวัด
หน่ึงในนโยบายของกระทรวง รักษาบุคลากรให้เพียงพอและมี (ร้อยละ 16.7) ตา่ กว่าค่าเป้าหมาย
สาธารณสุข ที่มุ่งเน้นการจัดการ ความเป็นมืออาชีพ โดยมีผลการ ระดับเส่ียง 1 ตัวชี้วัด (ร้อยละ
กาลังคน การพัฒนาบุคลากร การ พัฒนาพบว่า บรรลุค่าเป้าหมาย 16.7) และต่ากว่าเป้าหมายระดับ
ผลิตและการกระจายกาลังคนให้ จานวน 2 ตัวช้ีวัด (ร้อยละ 33.3) วิกฤต 2 ตวั ช้วี ดั (ร้อยละ 33.3)
สอดคล้องกับแผนพัฒนาระบบ ชณะท่ียังมีสถานการณ์การบรรลุ
บริการสุขภาพในแต่ละระดับ เป้าหมายต่ากว่าท่ีกาหนด 4
ตลอดจนการสร้างขวัญและกาลังใจ ตวั ชวี้ ัด (ร้อยละ 66.7) โดยเปน็
ผลการพฒั นาทสี่ าคัญ มีดงั น้ี
1) การวางแผนกาลังคนดา้ นสขุ ภาพ
ประเทศไทยยังคงมีความตอ้ งการกาลังคนด้านสุขภาพท้ังแพทย์ พยาบาลวิชาชพี ทันตแพทย์ และ
เภสัชกร เพ่ิมขึ้น จากการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุขจึงได้จัดทาแผนปฏิรูปกาลังคนและ
ภารกิจบริการด้านสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2561-2570 ประกอบด้วย 3 มาตรการสาคัญ
คอื
1) ปฏิรปู ระบบบริการเพือ่ ก้าวขา้ มความขาดแคลนกาลังคน
2) ยกระดบั การให้บรกิ ารสขุ ภาพท่ีได้มาตรฐานอย่างทั่วถงึ และ
3) เพ่ิมประสิทธภิ าพบริหารจดั การกาลังคนด้านสุขภาพ เพอ่ื สรา้ งความเข้มแข็งของระบบสุขภาพ
เพอ่ื มุ่งสเู่ ป้าหมายบคุ ลากรเพยี งพอต่อการยกระดบั คุณภาพและมาตรฐานบรกิ ารสุขภาพ มกี าร
กระจายบคุ ลากรเพอื่ ใหป้ ระชาชนเข้าถึงบรกิ ารอย่างทัว่ ถงึ และเป็นธรรม การเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการบรหิ าร
บุคลากร และบุคลากรมีความสุขในการทางาน
2) การผลิตและพฒั นากาลงั คนดา้ นสขุ ภาพ
1. การผลติ กาลังคนด้านสุขภาพ
ศักยภาพของสถาบันการศึกษาในการผลิตบุคลากรด้านสุขภาพของประเทศไทยเพิ่มขึ้นมาเป็น
ลาดับนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 เป็นต้นมา ที่เริ่มมีโครงการผลิตแพทย์และพยาบาลเพ่ิม จนกระทั่งปัจจุบันมี
การผลติ กาลังคนดา้ นสขุ ภาพท้งั จากสถาบนั การศึกษาภาครัฐและเอกชน ดังตารางที่ 4.35 แต่อย่างไรก็ตาม
เม่ือเปรียบเทียบกับประเทศใน ASEAN พบว่า ประเทศไทย มีการผลิตแพทย์ ในสัดส่วน 4.58 คนต่อ
ประชากรแสนคนต่อปี และมีการผลิตพยาบาล 14.78 คน ต่อประชากรแสนคนต่อปี ซึ่งอยู่อันดับ 7 ของ
ภูมิภาค ในขณะที่มาเลเซียมีความสามารถในการผลิตแพทย์และพยาบาล ในสัดส่วน 12 และ 32.8 คนต่อ
ประชากรแสนคนต่อปี ตามลาดับ เช่นเดียวกับเวียดนาม ที่มีแผนเพิ่มการผลิตแพทย์ และพยาบาลใน
สดั ส่วน 11.6 คนตอ่ ประชากรแสนคน
90
รายงานผลการพฒั นาครง่ึ แผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564
ตารางที่ 4.35 การผลิตบุคลากรด้านสขุ ภาพ 4 สาขาหลกั ในประเทศไทย (ขอ้ มูลแผนการผลิตระหวา่ ง
ปี 2556-2570 จากการสารวจในปี พ.ศ. 2560)
สาขา จานวนสถาบันการศกึ ษา (แหง่ ) จานวนการผลติ เฉล่ยี (คนต่อป)ี
รฐั เอกชน รวม รฐั เอกชน รวม
แพทย์ 19 2 21 3,288 118 3,336
พยาบาลวิชาชพี 63 23 86 8,200 2,500 10,843
ทันตแพทย์ 11 2 13 826 200 970
เภสัชกร 14 5 19 1,700 300 2,000
ทมี่ า : แผนปฏิรูปกาลงั คนและภารกิจบรกิ ารด้านสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข, สานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ
นอกจากนี้ กระทรวงสาธารณสุขได้ผลิตบุคลากรตามแผนการผลิตในหลักสูตรต่างๆ ได้แก่
พยาบาลศาสตรบัณฑิต ปีละประมาณ 4,000 คน สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต การแพทย์แผนไทยบัณฑิต
ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชั้นสงู ปีละประมาณ 200-400 คน ดงั ตารางที่ 4.36
ตารางท่ี 4.36 การผลิตบคุ ลากรตามแผนการผลติ ในหลกั สตู รต่างๆ ของกระทรวงสาธารณสขุ
พ.ศ. 2560-2562
สาขา 2560 2561 2562
พยาบาลศาสตรบณั ฑิต แผน รบั แผน รบั แผน รับ
สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสขุ ชมุ ชน
สาธารณสขุ ศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าทันต 4,000 3,826 4,000 3,928 3,620 3,576
สาธารณสขุ 430 401 355 311 200 189
การแพทยแ์ ผนไทยบัณฑติ สาขาวิชาการแพทย์ 293 228 335 285 330 312
แผนไทย/ประยุกต์
สาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าเวชระเบยี น/ 282 267 290 197 240 206
วทิ ยาศาสตร์บณั ฑิต สาขาวชิ าเวชระเบียน
ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชั้นสงู สาขาปฏบิ ตั ิการ -- 50 43 50 44
ฉุกเฉนิ การแพทย์
ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ช้ันสูง สาธารณสขุ ศาสตร์ 188 135 200 148 200 138
สาขาวิชาเทคนิคเภสชั กรรม
386 349 318 271 310 276
ท่มี า : สถาบนั พระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
2. การพฒั นากาลงั คนด้านสขุ ภาพ
กระทรวงสาธารณสุขมีการพัฒนาบุคลากรด้านสุขภาพ จานวน 41,735 จาก 70,384 คน ใน
พ.ศ. 2560 จานวน 60,127 จาก 75,359 คน ใน พ.ศ. 2561 คิดเป็นร้อยละ 59.3 และ 79.8 ตามลาดับ
ต่ากว่าค่าเป้าหมาย (ร้อยละ 85 ใน พ.ศ. 2564) นอกจากนี้ได้มีการพัฒนาเครือข่ายกาลังคนด้านสุขภาพ
พะ
91
รายงานผลการพฒั นาครึ่งแผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564
โดยพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครประจาครอบครัวให้มีความรู้ด้านสุขภาพ เป็นแกนนาในการดูแลสุขภาพ
ของครอบครัว จานวน 1,358,609 คน (สะสม) ใน พ.ศ. 2562 ต่ากว่าค่าเป้าหมายระดับวิกฤต
(4,000,000 คน) และครอบครัวสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ตามเกณฑ์ท่ีกาหนดเพ่ิมขึ้นจาก ร้อยละ
93.5 ใน พ.ศ. 2560 เป็นร้อยละ 98.7 ใน พ.ศ. 2562 บรรลุค่าเป้าหมาย (รอ้ ยละ 70)
3) การพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การกาลงั คนด้านสขุ ภาพ
1. การกระจายกาลงั คนดา้ นสขุ ภาพ
กาลังคนด้านสุขภาพของประเทศมีการกระจายอยู่ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนหลากหลายสังกัด
สาหรับกาลังคนด้านสุขภาพใน 4 สาขาหลัก ได้แก่ แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกรและพยาบาลวิชาชีพ มี
อัตราส่วนต่อประชากรดีข้ึน แต่การกระจายบุคลากรยังมีความเหล่ือมล้า โดยมีการกระจุกตัวอยู่ใน
กรงุ เทพมหานคร ดังภาพที่ 4.8 และภาพที่ 4.9
ภาพท่ี 4.8 อตั ราสว่ นกาลงั คนด้านสขุ ภาพต่อประชากรใน 4 สาขาหลกั ของประเทศ พ.ศ. 2558-2562
แพทย์ : ประชากร ทนั ตแพทย์ : ประชากร
อัตราส่วนต่อประชากร 2,500 2,035 2,065 อัตราส่วนต่อประชากร 10,000 9,352 9,425
2,000 1,843 1,771 1,674 9,500
9,000
1,500 8,500 8,472
8,000
1,000 7,500 8,159 8,151
500 พ.ศ.
2558 2559 2560 2561 2562
- พ.ศ.
2558 2559 2560 2561 2562
อัตราส่วนต่อประชากร เภสชั กร : ประชากร อัตราส่วนต่อประชากร พยาบาลวชิ าชพี : ประชากร
6,000 5,317 5,137 4,750 4,569 4,358 433
440 423
4,000 420 405
2,000 395
- พ.ศ. 400
2558 2559 2560 2561 2562
379
380
360
340 พ.ศ.
2558 2559 2560 2561 2562
ท่ีมา : รายงานทรัพยากรสาธารณสุข พ.ศ. 2558-2562, กองยทุ ธศาสตร์และแผนงาน สานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
92
รายงานผลการพัฒนาคร่งึ แผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564
ภาพที่ 4.9 อัตราสว่ นกาลงั คนด้านสขุ ภาพใน 4 สาขาหลกั ตอ่ ประชากร พ.ศ. 2558-2562 จาแนกภาค
แพทย์ กทม. ทนั ตแพทย์
ภาคเหนือ
กทม. ภาคกลาง ใต้ ภาคกลาง
ภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนอื ตะวนั ออกเฉียงเหนือ
ใต้
3500 3,338 13,547
2500
1500 3,207 13000 12,732
ัอตรา ่สวน ่ตอประชากร 2,846 2,719 11,164 10,941 11,163
2,623 ัอตรา ่สวน ่ตอประชากร
2,488 2,428
2,364
2,304 2,191 2,115 2,015 9,148 9,004 8,499 8,995 8,054
1,921 2,089 1,903 1,806 8,806 9,071 7,665
1,865 1,727 7,327 7,450
2,034 8000 8,728 8,126 8,305 6,943
8,356 5381
1,856 5458 5278
5667
พ.ศ.
716 710 630 601 565 พ.ศ. 3658
500
2561 2562 3000
2558 2559 2560 2558 2559 2560 2561 2562
เภสชั กร พยาบาลวชิ าชพี
กทม. ภาคกลาง กทม. ภาคกลาง
ภาคเหนอื ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ภาคเหนือ
ใต้ ใต้ ตะวันออกเฉียงเหนอื
7,599 7,494 603 587
7500 6,835 6,472 559 520
5500 533
ัอตรา ่สวน ่ตอประชากร 3500 5,629 5,386 5,155 4,906 6,395 ัอตรา ่สวน ่ตอประชากร 500 451 453 405
1500 5,521 5,232 4,735 453 423 454 435 393
4,868 436 410
5,044 4,309 4,515 406 400 362
2112 300 399 390
4,636 4,684 4,321 4,086 194 160
2769 2497 2169 205 172 168
1890 พ.ศ.
2558 2559 2560 2561 100 2560 2561
พ.ศ. 2562
2558 2559
2562
ทีม่ า : รายงานทรัพยากรสาธารณสุข พ.ศ. 2558-2562, กองยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงาน สานกั งานปลัดกระทรวง
สาธารณสขุ
2. การบริหารจัดการกาลงั คนด้านสุขภาพของเขตสขุ ภาพ
กระทรวงสาธารณสุขเสริมสร้าง เขตสุขภาพมีการบริหารจัดการระบบการผลิตและ
ความเข้มแข็งของเขตสุขภาพ โดยให้เขตสุขภาพ พัฒนากาลังคนด้านสุขภาพผ่านเกณฑ์ระดับ 5 ทั้ง
จดั ทาแผนการจดั ระบบบริการสุขภาพและกาลังคน 5 องค์ประกอบ จานวน 6 เขตสุขภาพ ต่ากว่าค่า
ด้านสุขภาพ (Service Blue print & HRH Blue เป้าหมายระดับวิกฤต เป้าหมายคือ ระดับ 5
print) เพ่ือให้ประชาชนเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ คะแนนท้ัง 5 องค์ประกอบ จานวน 12 เขตสุขภาพ
มาตรฐาน เป็นธรรม และเพ่ิมประสิทธิภาพการ ส่วนเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการกาลังคนด้าน
บริหารจัดการและการพัฒนากาลังคน นอกจากน้ี สุขภาพ ยังไม่มีการดาเนินงานในช่วง พ.ศ. 2560-
ได้มีการกระจายอานาจการบริหารจัดการกาลังคน 2562
ด้านสุขภาพ ผลการประเมินพบว่า ใน พ.ศ. 2562
93
รายงานผลการพัฒนาครง่ึ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564
3. การสรา้ งขวญั กาลังใจและธารงรกั ษาบคุ ลากร
- ค่าตอบแทนกาลงั คนดา้ นสุขภาพ - ดัชนคี วามสขุ
การจ่ายค่าตอบแทนกาลังคน เป็น
ในปีงบประมาณ 2560 กระทรวง
การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนกาลังคนและสร้าง สาธารณสุข ได้ขบั เคล่ือนแผนสร้างสุขเพื่อพัฒนาให้
แรงจูงใจให้บุคลากรด้านสุขภาพปฏิบัติงานในระบบ หน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นองค์กร
ราชการ กระทรวงสาธารณสุขจึงได้มีการปรับปรุง แห่งความสุขและนาดัชนีความสุขของคนทางาน
การจ่ายค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ ว่าด้วยการจ่ายเงิน (Happinometer) และดัชนีความสุขขององค์กร
เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานให้กับหน่วยบริการในสังกัด ( Happy work place index) ม า ใ ช้ ใ น ก า ร วั ด
กระทรวงสาธารณสุข ฉบับท่ี 11 พ.ศ. 2559 ให้กับ ความสุขของเจ้าหน้าท่ีกระทรวงสาธารณสุขและ
แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ สห องค์กร ผลการสารวจ พบว่า เจ้าหน้าที่กระทรวง
สาขาวิชาชพี ผทู้ ่ีปฏบิ ัติงานให้บริการผู้ป่วย สายงาน สาธารณสุขมีค่าเฉลี่ยความสุขภาพรวมสูงข้ึน จาก
ระดับปริญญาตรีและต่ากว่าระดับปริญญาตรี ใน ร้อยละ 62.6 ใน พ.ศ. 2560 เป็นร้อยละ 63.6 ใน
ลักษณะเหมาจ่าย เพ่ือสร้างแรงจูงใจให้อยู่ในพื้นที่ พ.ศ. 2562 โดยด้านท่ีได้คะแนนมากที่สุด คือ จิต
เฉพาะและขาดแคลน และ ฉบับท่ี 12 พ.ศ. 2559 วิญญาณดี และด้านท่ีได้คะแนนน้อยท่ีสุด คือ
และ พ.ศ. 2561 ให้กับเจ้าหน้าท่ีท่ีปฏิบัติงานใน การเงินดี ดังภาพท่ี 4.10
หน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จ่ายตาม
ภาระงานและปริมาณงานซ่ึงเกิดขึ้นจริงและที่เกิน
กว่าปริมาณภาระงานปกติตามเกณฑ์มาตรฐานท่ี
กาหนดไว้ เพ่ือกระตุ้นให้เกิดประสิทธิภาพในการ
ดาเนนิ งาน
ภาพท่ี 4.10 ค่าเฉลยี่ ความสขุ ของคนทางานในกระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2560 และ พ.ศ. 2562
คา่ เฉล่ยี (ร้อยละ) 2560 2562
80 65.54
66.12
70 55.69
55.98
60 68.43
50 70.19
70.47
71.4
65.92
64.89
62.48
63.82
62.69
65.11
50.65
52.55
61.52
62.75
63.87
65.25
54.09
56.15
62.60
63.63
40
30
20
10
0
สขุ ภาพ ผอ่ นคลายดี นา้ ใจดี จิตวญิ ญาณ ครอบครัวดี สังคมดี ใฝร่ ูด้ ี สุขภาพ การงานดี ความผูกพัน ชวี ติ กับ ความสขุ
กายดี ดี การเงนิ ดี การทางาน ภาพรวม
ทม่ี า: กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ
94
รายงานผลการพัฒนาครึง่ แผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564
นอกจากน้ี พบว่า ดัชนีสุขภาวะองค์กรลดลงจาก ร้อยละ 56.7 ใน พ.ศ. 2560 เหลือ ร้อยละ
55.3 ใน พ.ศ. 2562
- การคงอยูข่ องบคุ ลากร
กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายในการสร้างแรงจูงใจเพ่ือให้บุคลากรคงอยู่ในระบบ เช่น การ
เลอ่ื นข้นั ตาแหนง่ การจ่ายคา่ ตอบแทนท่เี ป็นธรรม การศึกษาต่อ การฝึกอบรม เป็นต้น พบว่าอัตราการคง
อยู่ของบุคลากรด้านสุขภาพ อยู่ระหว่าง ร้อยละ 97.1-97.4 ใน พ.ศ. 2560-2562 บรรลุค่าเป้าหมาย
(ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95)
95
ตารางที่ 4.37 ตารางเปา้ หมายตวั ชว้ี ดั แผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2560-2564 ด้านบ
เปา้ หมายการพฒั นา ตวั ชีว้ ัด/เป้าหมาย
1) วางแผนอัตราก่าลังให้สอดคลอ้ งกับกรอบความตอ้ งการอตั รากา่ ลังคนของประเทศ
2) กระจายสดั ส่วนบุคลากรสขุ ภาพ ท้งั ในเขตเมืองและชนบทใหม้ คี วามสมดุลกนั
3) ธา่ รงรักษาก่าลังคนด้านสขุ ภาพ
บุคลากรด้านสุขภาพมีเพียงพอ และมีความ ระดับความสา้ เรจ็ ของเขตสุขภาพท่มี กี ารบรหิ าร
เป็นมืออาชีพ จัดการระบบการผลติ และพัฒนาก้าลังคนผา่ นเกณฑ์
ระดบั 5 ทัง 5 องคป์ ระกอบ
ร้อยละ 85 ของบุคลากรทไ่ี ดร้ บั การพฒั นาตาม
เกณฑ์ท่ีก้าหนด
96 การผลติ และพัฒนาก้าลังคน (พยาบาลศาสตร์
บัณฑติ )
การผลิตและพัฒนากา้ ลงั คน (สาธารณสุขศาสตร์
บณั ฑติ สาขาสาธารณสุขชุมชน)
การผลิตและพฒั นาก้าลงั คน (สาธารณสุขศาสตร์
บณั ฑิต สาขาวชิ าทนั ตสาธารณสขุ )
การผลติ และพัฒนาก้าลังคน (การแพทย์แผนไทย
บัณฑติ สาขาวิชาการแพทยแ์ ผนไทย/ประยกุ ต์)
การผลติ และพัฒนากา้ ลังคน (สาธารณสขุ ศาสตร์
บณั ฑิต สาขาวิชาเวชระเบียน/วทิ ยาศาสตร์บัณฑติ
สาขาวชิ าเวชระเบยี น)
บคุ ลากรเปน็ เลศิ (People Excellence)
ผลการดา่ เนนิ งานตามแผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2560-2564 ผลการประเมนิ
2560 2561 2562 ครงึ แผนเมอื เทียบกบั
เป้าหมายแผนยุทธศาสตร์
กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ.
2560-2564
3 ใน 5 องคป์ ระกอบ ระดบั 3 คะแนน ระดบั 5 คะแนน ต่้ากว่าคา่ เป้าหมาย
(5 จาก 10 เขตสขุ ภาพ) ระดบั วิกฤต
(5 จาก 9 เขตสุขภาพ ) (6 จาก 9 เขตสขุ ภาพ) (ร้อยละ 50.0)
รอ้ ยละ 59.3
(41,735 จาก 70,384 ร้อยละ 79.8 - ตา่้ กว่าคา่ เปา้ หมาย
(60,127 จาก 75,359 (รอ้ ยละ 93.9)
คน) ร้อยละ 98.8
รอ้ ยละ 95.7 คน) (3,576 จาก 3,620 คน)
(3,826 จาก 4,000 คน) ร้อยละ 98.2
(3,928 จาก 4,000 คน)
ร้อยละ 93.3 ร้อยละ 87.6 รอ้ ยละ 94.5
(401 จาก 430 คน) (311 จาก 355 คน) (189 จาก 200 คน)
รอ้ ยละ 77.8 รอ้ ยละ 85.1 รอ้ ยละ 94.6
(228 จาก 293 คน) (285 จาก 335 คน) (312 จาก 330 คน)
รอ้ ยละ 94.7 ร้อยละ 67.9 รอ้ ยละ 85.8
(267 จาก 282 คน) (197 จาก 290 คน) (206 จาก 240 คน)
- ร้อยละ 86.0 รอ้ ยละ 88.0
(43 จาก 50 คน) (44 จาก 50 คน)
เป้าหมายการพฒั นา ตัวช้วี ัด/เป้าหมาย
1.ค่าคะแนนเฉล่ียความสุขของบุคลากร (Happinometer) การผลิตและพัฒนาก้าลังคน (ประกาศนียบัตร
และค่าคะแนนเฉลี่ยสขุ ภาวะองค์กร ≥ 70 วชิ าชีพชนั สงู สาขาปฏบิ ัตกิ ารฉุกเฉินการแพทย์)
2.สัดส่วนอัตราก้าลังระหว่างเขตสุขภาพต่างกันไม่ การผลิตและพัฒนาก้าลังคน (ประกาศนียบัตร
เกนิ ร้อยละ 5 วิชาชีพชันสูง สาธารณสุขศาสตร์ สาขาวิชาเทคนิค
เภสชั กรรม)
ร้อยละของหน่วยงานที่มีการน้าดัชนีความสุขของ
คนท้างาน (Happinometer) ไปใช้ไม่น้อยกว่าร้อย
ละ 90
97 1.อัตราการคงอยขู่ องบุคลากรดา้ นสขุ ภาพ อัตราการคงอยขู่ องบุคลากรดา้ นสุขภาพ
(Retention Rate) ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 95 (Retention Rate) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
มีอาสาสมัครประจ้าครอบครัวในทุกครอบครัว อาสาสมัครประจ้าครอบครัว (อสค.) มีความรอบรู้
และทุกครอบครัวมีศักยภาพในการดูแลสุขภาพ ด้านสุขภาพและเป็นแกนน้าในการดูแลสุขภาพ
ตนเองไดต้ ามเกณฑ์ที่กา้ หนด ครอบครวั (4,000,000 คน)
ร้อยละ 70 ของครอบครัวสามารถดูแลสุขภาพ
ตนเองได้ตามเกณฑ์ที่กา้ หนด
หมายเหตุ : (รอ้ ยละ) ในคอลมั น์ ผลการประเมินครง่ึ แผนฯ หมายถงึ ผลการดา้ เนนิ งานที่ทา้ ไดเ้ ม
ผลการดา่ เนนิ งานตามแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2560-2564 ผลการประเมิน
ครงึ แผนเมอื เทียบกับ
2560 2561 2562 เปา้ หมายแผนยุทธศาสตร์
กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ.
ร้อยละ 71.8 ร้อยละ 74.0 รอ้ ยละ 69.0
(135 จาก 188 คน) (148 จาก 200 คน) (138 จาก 200 คน) 2560-2564
ร้อยละ 90.4 รอ้ ยละ 85.2 รอ้ ยละ 89.0
(349 จาก 386 คน) (271 จาก 318 คน) (276 จาก 310 คน)
ร้อยละ 91.6 รอ้ ยละ 68.1 ร้อยละ 64.4 ระดบั ต่้ากวา่ ค่าเปา้ หมาย
(10,003 จาก 10,916 (1,263 จาก 1,854 จงั หวัด (1,199 จาก ระดบั เส่ียง
1,862 หน่วยงาน) (ร้อยละ 69.8)
หนว่ ยงาน) หนว่ ยงาน) ร้อยละ 53.1 ระดับกรม
บรรลุค่าเปา้ หมาย
รอ้ ยละ 97.4 ร้อยละ 97.4 (163 จาก 307
(176,998 จาก 181,774 (183,135 จาก 188,032 หน่วยงาน) ต่้ากวา่ คา่ เป้าหมาย
รอ้ ยละ 97.1 ระดับวิกฤต
คน) คน) (รอ้ ยละ 34.0)
546,629 คน 903,246 คน (185,349 จาก 190,869
คน) บรรลุค่าเป้าหมาย
ร้อยละ 93.5 (สะสม)
(212,772 จาก 227,527 1,358,609 คน
(สะสม)
ครอบครวั )
ร้อยละ 91.3 รอ้ ยละ 98.7
มอ่ื เทียบกบั เป้าหมาย (204,873 จาก 224,332 (6,543 จาก 6,559
ครอบครวั ) ครอบครวั )
รายงานผลการพฒั นาคร่ึงแผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564
4.2.4 บริหารเปน็ เลศิ ด้วยธรรมาภบิ าล (Governance Excellence)
กระทรวงสาธารณสุขได้พัฒนาระบบ เป้าหมาย 4 ตัวช้ีวัด (ร้อยละ 16.7) ต่ากว่าค่า
บริหารจัดการด้านสาธารณสุขโดยใช้หลักธรรมาภิ เป้าหมายระดับเสี่ยง 5 ตัวช้ีวัด (ร้อยละ 20.8) ต่า
บาล มกี ารพัฒนาคุณภาพองค์กร พัฒนาระบบข้อมูล กว่าค่าเป้าหมายระดับวิกฤต 2 ตัวช้ีวัด (ร้อยละ 8.3)
ข่าวสารดา้ นสขุ ภาพ ระบบบริหารจัดการด้านการเงิน นอกจากนี้ ประเมินไม่ได้ 3 ตัวชี้วัด (ร้อยละ 12.5)
การคลัง การพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรม รวมทั้ง เนอื่ งจากไมร่ ะบุเป้าหมายและกาหนดค่าเป้าหมายไม่
ดา้ นกฎหมาย และพัฒนาระบบหลกั ประกันสุขภาพท่ี ชัดเจน ได้แก่ รพศ./รพท./รพช. แลกเปล่ียนข้อมูล
เป็นธรรมและย่ังยืน มีผลการพัฒนา พบว่า บรรลุค่า เพื่อส่ง-รับผู้ป่วย ผู้รับบริการสุขภาพเข้าถึงข้อมูล
เป้าหมาย 10 ตัวช้ีวัด (ร้อยละ 41.7) ขณะที่ยังมี สุขภาพตนเองได้ และกาหนดมาตรฐานการจ่ายเงิน
สถานการณ์บรรลุเป้าหมายต่ากว่าท่ีกาหนด จานวน ในแต่ละระบบของหลักประกันสุขภาพให้เป็นราคา
11 ตัวชี้วัด (ร้อยละ 45.8) โดยเป็นระดับต่ากว่าค่า เดียวกันในทกุ ประเภทและระดบั การบรกิ าร
ผลการพฒั นาทส่ี าคัญ มดี งั น้ี
1) การพฒั นาคณุ ธรรมและความโปรง่ ใส
1. การป้องกันการทจุ รติ ในการดาเนนิ งานของกระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุขได้กาหนดมาตรการ ความโปร่งใสในการทางาน (ITA) เพิ่มขน้ึ จากร้อยละ
ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (3 ป 1 ค) 84.1 (333 จาก 396 แห่ง) ใน พ.ศ. 2560 เป็นร้อย
ไดแ้ ก่ 1) การปลูกจิตสานึก 2) ปอ้ งกัน 3) ปราบปราม ละ 96.9 (1,792 จาก 1,850 แห่ง) ใน พ.ศ. 2562
และ 4) สร้างเครือข่าย ตามเป้าหมายท่ียึดหลักการ บรรลุค่าเป้าหมาย (ร้อยละ 90) นอกจากนี้
บรหิ ารกิจการบา้ นเมืองท่ดี ี ผ่านกระบวนการประเมิน กระทรวงสาธารณสุข ยังได้รับรางวัลทางด้านการ
ITA เนน้ การประเมนิ ตนเองตามแบบประเมินหลักฐาน ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงาน
เชิงประจักษ์ พบว่า หน่วยงานในสังกัดกระทรวง ของหนว่ ยงานภาครฐั ในปงี บประมาณ 2560-2562
สาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมินคุณธรรมและ ดงั ตารางที่ 4.38
ตารางท่ี 4.38 รางวลั ด้านการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการทางานที่สานักงานปลัด
กระทรวงสาธารณสุขได้รับ พ.ศ. 2560-2562
รางวัลทีไ่ ด้รับ พ.ศ. หน่วยงานผมู้ อบรางวลั
2560 ป.ป.ช.
โล่เกียรติยศหน่วยงานที่มีผลคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ
ดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 สูงสุดในกลุ่ม 2560 ป.ป.ช.
หน่วยงานภาครัฐ ประเภทหนว่ ยงานภาครัฐระดบั กรม
โล่เกียรติยศหน่วยงานที่นาการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงาน 2561 ป.ป.ช.
ของหนว่ ยงานภาครัฐไปขยายผลเพื่อพฒั นาและยกระดับคุณธรรมและความโปร่งใสใน
หนว่ ยงานจนประสบความสาเรจ็ 2561 ป.ป.ช.
โล่เกียรติยศหน่วยงานท่ีมีผลคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ 2562 ป.ป.ช.
ดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 สูงสุดในกลุ่ม
ประเภทส่วนราชการระดบั กรมหรอื เทียบเทา่
โล่เชิดชูเกียรติอันดับหนึ่ง ตอบแทนการทาคุณงามความดีในการส่งเสริมการป้องกัน
และปราบปรามการทุจรติ ประจาปี 2561
รางวัลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
ระดับ A
ทีม่ า : ศูนย์ปฏิบตั กิ ารต่อตา้ นการทจุ ริต กระทรวงสาธารณสขุ
98
รายงานผลการพัฒนาครง่ึ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564
2. การพฒั นาระบบควบคุมภายในของกระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุขกาหนดนโยบายให้ การคลัง วา่ ด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการ
หน่วยงานในสังกัดมีกลไกการตรวจสอบภายในทุก ควบคุมภายในสาหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561
ระดับ เพื่อให้ข้อมูลรายงานทางการเงินมีความน่า ผลการประเมิน พบว่า หน่วยงานในสังกัดสานักงาน
เช่ือถือ พัฒนาคุณภาพกระบวนการปฏิบัติงานด้วย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ กองในส่วนกลาง
การประเมินระบบการควบคุมภายในและการบริหาร สานักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลศูนย์
ความเสี่ยง เพื่อเพิ่มคุณค่าการดาเนินงานของ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน ผ่านเกณฑ์
หน่วยงานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลย่ิงขึ้น การประเมินเพ่ิมข้ึน จากร้อยละ 4.5 ใน พ.ศ. 2560
จากนโยบายดังกล่าว กระทรวงสาธารณสุขได้จัดวาง เป็นร้อยละ 40.5 ใน พ.ศ. 2562 (398 จาก 982
ระบบการควบคมุ ภายในตามหลักเกณฑ์กระทรวง แห่ง) บรรลคุ า่ เป้าหมาย (ร้อยละ 20)
3. การจดั ซอ้ื ยารว่ มของยา เวชภัณฑท์ ี่ไมใ่ ช่ยา วัสดุวทิ ยาศาสตรแ์ ละวัสดทุ นั ตกรรม
กระทรวงสาธารณสุขดาเนินการสร้าง จัดซ้ือยาร่วมกันของหน่วยงานในจังหวัดต่างๆ ให้
ระบบธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ เพ่ือให้เกิด เกิดประสิทธิภาพสูงสุด เป็นการเพิ่มอานาจการ
ความโปร่งใสและเป็นธรรม โดยมีนโยบายในการ ต่อรอง สามารถจัดซ้ือร่วมกันของ ยา เวชภัณฑ์ท่ี
พัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ เพื่อให้ ไม่ใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์ และวัสดุทันตกรรม
ได้มาซ่ึงเวชภัณฑ์ที่ดี มีคุณภาพ ลดต้นทุนในด้าน เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 20.4 ในปีงบประมาณ 2557
การบริหารจัดการ และดาเนินมาตรการเพิ่ม เป็นร้อยละ 27.5 ในปีงบประมาณ 2562 ต่ากว่าค่า
ประสิทธิภาพการจัดซื้อยาของกระทรวงสาธารณสุข เป้าหมาย (ร้อยละ 30 ใน พ.ศ. 2564) ดังภาพท่ี 4.11
โดยการจดั ซื้อยาร่วมกันในระดับเขตสาหรับรายการ .
ยาท่ีมีการใช้ร่วมกันในทุกจังหวัด เพื่อพัฒนาการ
ภาพที่ 4.11 ร้อยละการจดั ซือ้ ร่วมกันของ ยา เวชภัณฑ์ทีไ่ มใ่ ชย่ า วสั ดุวทิ ยาศาสตร์ และวสั ดุทนั ตกรรม
ของหนว่ ยงานสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ ปีงบประมาณ 2557-2562
รอ้ ยละ
30 28.8 29.3 27.5
25.0
20.4 20.1
20
10
0
2557 2558 2559 2560 2561 2562
ทมี่ า : กองบริหารการสาธารณสขุ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ
99
รายงานผลการพฒั นาครง่ึ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564
2) การพฒั นาองคก์ รคณุ ภาพ
1. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครฐั (PMQA)
กระทรวงสาธารณสขุ ไดน้ าเกณฑ์คุณภาพ ส่งเสริมการเท่าเทียมทางเพศในการให้บริการ
การบริหารจัดการภาครัฐมาเป็นเครื่องมือในการ สาธารณะเพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืน จากองค์การสห
พัฒนาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการองค์กร เพ่อื ยกระดบั ประชาชาติ ซึ่งประเทศไทยเป็น 1 ใน 8 ประเทศท่ี
การปฏิบัติราชการให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล ได้รบั รางวัลจากผลงานที่สมัครทั้งหมด 437 ผลงาน
ตั้งแต่ พ.ศ. 2550 เป็นต้นมา พบว่า หน่วยงาน จาก 79 ประเทศทว่ั โลก
สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ กรม สานักงาน ใน พ.ศ. 2562 กระทรวงสาธารณสุข
สาธารณสุขจังหวัด สานักงานสาธารณสุขอาเภอ โดยสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข และ กรม
รวม 963 หน่วยงาน ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพการ ควบคุมโรคได้รับ “รางวัลเลิศรัฐ ระดับยอดเย่ียม”
บรหิ ารจดั การภาครฐั ร้อยละ 99.4 (957 หน่วยงาน) ซ่ึงเป็นรางวัลที่มอบให้กับหน่วยงานที่ได้รับรางวัล
ในปีงบประมาณ 2562 บรรลุค่าเป้าหมาย (ร้อยละ เลิศรัฐท้ัง 3 สาขา คือ สาขาบริการภาครัฐ สาขา
90) นอกจากนี้ กระทรวงสาธารณสุขได้รับรางวัล คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ และสาขาการ
องค์กรภาครัฐยอดเย่ียม ประจาปี พ.ศ. 2561 บริหารราชการแบบมีส่วนร่วม สาหรับผลงานที่
(United nations Public Service Awards 2018) กระทรวงสาธารณสุขได้รับรางวัลในแต่ละสาขา
เร่ือง โครงการป้องกัน ควบคุมมะเร็งปากมดลูก เพิ่มข้ึนจาก 21 รางวัล ใน พ.ศ. 2560 เป็น 81
แบบบรู ณาการของ สสจ.รอ้ ยเอด็ ในสาขาการ รางวลั ใน พ.ศ. 2562 ดงั ตารางที่ 4.39
ตารางที่ 4.39 จานวนผลงานของกระทรวงสาธารณสขุ ท่ไี ด้รบั รางวลั เลศิ รัฐแต่ละสาขา
ปี พ.ศ. 2560-2562
ประจาปี พ.ศ. 1. สาขาบรกิ าร รางวลั เลศิ รฐั 3. สาขาการบรหิ าร รวมจานวนผลงานที่
ภาครัฐ 2. สาขาคณุ ภาพการ ราชการแบบมสี ว่ นรว่ ม กระทรวงสาธารณสุข
2560 บรหิ ารจดั การภาครฐั ได้รบั รางวลั เลิศรฐั
2561 15 1
2562 36 5 3 21
68 5 9 44
4 81
ทม่ี า : สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ
2. การพัฒนาคุณภาพสถานบรกิ ารสขุ ภาพ
ระบบบริการสุขภาพของทุกประเทศ ดูแลผู้ป่วย อาศัยมาตรฐานท่ีอิงหลักการสากลเป็น
ที่สังคมคาดหวัง คือคุณภาพและความปลอดภัย กรอบในการพัฒนา โดยใช้กระบวนการพัฒนา
เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้ประชาชนมารับบริการ คุณภาพสถานพยาบาลตามมาตรฐาน HA (Hospital
สุขภาพท่ีได้มาตรฐาน กระทรวงสาธารณสุขจึง Accreditation: HA) สามารถใช้ได้กับโรงพยาบาล
ได้มีการพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัยในการ ทุ ก ร ะ ดั บ โ ด ย มี ส ถ า บั น รั บ ร อ ง คุ ณ ภ า พ
100
รายงานผลการพฒั นาครึ่งแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564
สถานพยาบาลเป็นผู้ประเมินและรับรองคุณภาพ 99.4 ใน พ.ศ. 2562 ต่ากว่าค่าเป้าหมาย (ร้อยละ
ของสถานบริการ ผลการประเมินพบว่า โรงพยาบาลศูนย์ 100 ใน พ.ศ. 2564) ส่วนโรงพยาบาลชุมชน ผ่าน
โรงพยาบาลท่ัวไป โรงพยาบาลในสังกัดกรมการ การรับรองคุณภาพมาตรฐาน HA ขั้น 3 ร้อยละ
แพทย์ กรมควบคุมโรค และกรมสุขภาพจิต ผ่าน 89.0 ใน พ.ศ. 2562 ต่ากว่าค่าเป้าหมาย (ร้อยละ
การรับรองคุณภาพมาตรฐาน HA ข้ัน 3 ร้อยละ 100 ใน พ.ศ. 2564) ดังตารางที่ 4.40
ตารางที่ 4.40 ร้อยละของโรงพยาบาลทีผ่ ่านการรับรองคุณภาพมาตรฐาน HA ข้ัน 3
พ.ศ. 2560-2562
หนว่ ยงาน พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562
โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาล รอ้ ยละ 97.0 รอ้ ยละ 98.2 ร้อยละ 99.4
สังกัดกรมการแพทย์ กรมควบคมุ โรค กรมสุขภาพจติ (160 จาก 165 แหง่ ) (162 จาก 165 แหง่ ) (164 จาก 165 แหง่ )
โรงพยาบาลชมุ ชน รอ้ ยละ 74.1 รอ้ ยละ 80.4 รอ้ ยละ 89.0
(578 จาก 780 แห่ง) (627 จาก 780 แหง่ ) (653 จาก 734 แหง่ )
ท่มี า : กองบริหารการสาธารณสขุ , สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
3. การพัฒนาคณุ ภาพโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบล
ระบบสุขภาพปฐมภูมิของไทยมีสถานี 5 ดี เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 34.8 ใน พ.ศ. 2561
อนามัยครอบคลุมทุกตาบลท่ัวประเทศ ต่อมาใน (3,409 จาก 9,802 แห่ง) เป็นร้อยละ 70.1 ใน
พ.ศ. 2551 ได้มีการยกระดับสถานีอนามัยเป็น พ.ศ. 2562 (6,914 จาก 9,863 แห่ง) ต่ากว่า
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.) โดยมี ค่าเป้าหมายระดับเส่ียง (ร้อยละ 100 ใน พ.ศ.
การให้บริการด้านส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค 2564) เน่ืองจากสถานการณ์การระบาดของโรคติด
การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสุขภาพ ทาให้ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ที่แพร่ระบาดเพิ่มข้ึนอย่าง
ประชาชนได้รับบริการสุขภาพใกล้บ้าน กระทรวง รวดเร็วและขยายเป็นวงกว้างมากข้ึน จึงให้เล่ือน
สาธารณสุขจึงมีการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล การประเมิน รพ.สต. ติดดาวไปก่อน ตามหนังสือ
ส่งเสริมสขุ ภาพตาบลตามมาตรฐาน 5 ดาว ผลการ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ด่วนท่ีสุด
ประเมิน พบว่า รพ.สต. ผ่านเกณฑ์คุณภาพ 5 ดาว ที่ สธ 0239.01/434 ลงวนั ท่ี 26 มีนาคม 2563
3) การพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การด้านสาธารณสขุ
1. พฒั นาระบบขอ้ มลู ข่าวสารเทคโนโลยสี ขุ ภาพแหง่ ชาติ
กระทรวงสาธารณสุข ได้ดาเนินการ ถูกตอ้ ง ครบถ้วน เช่ือถือได้ ทันต่อสถานการณ์และ
พัฒนาคุณภาพระบบข้อมูลและสารสนเทศสุขภาพ เอ้อื ตอ่ การนาไปใช้ประโยชน์ในทุกระดับ
ในระดับประเทศ เพื่อให้ข้อมูลสุขภาพมีคุณภาพ
101
รายงานผลการพฒั นาคร่งึ แผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564
1.1 พฒั นาคณุ ภาพขอ้ มลู การปว่ ยและการตาย
กระทรวงสาธารณสุขพัฒนาระบบ การตาย โดยการอบรมบุคลากรท่ีเก่ียวข้องกับ
ข้อมูลการเกิด การป่วย และการตาย มาตลอด การระบุสาเหตุการตาย ตรวจสอบความถูกต้อง
เพื่อให้ได้ข้อมูลท่ีมีคุณภาพ น่าเชื่อถือและทันเวลา ของข้อมูล พบว่า จังหวัดที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพ
สาหรับคุณภาพข้อมูลบริการสุขภาพของผู้ป่วย ข้อมูลสาเหตุการตาย เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 38.1
พบว่า ดาเนินการใน พ.ศ. 2560 เพียงปีเดียว มี ใน พ.ศ. 2560 (29 จาก 76 จังหวัด) เป็นร้อยละ
ความถูกต้องครบถ้วนเพียงร้อยละ 41.2 ต่ากว่า 55.3 ใน พ.ศ. 2562 (42 จาก 76 จังหวัด) บรรลุ
ค่าเป้าหมายระดับเส่ียง (มากกว่าร้อยละ 80 ใน ค่าเป้าหมาย (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของจังหวัด
พ.ศ. 2564) และการพัฒนาคุณภาพข้อมูลสาเหตุ ท้ังหมด)
1.2 การพฒั นาสุขภาพดว้ ยเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัล
กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายที่จะให้ กระทรวงสาธารณสุขมีการประยุกต์ใช้
ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงข้อมูลสุขภาพได้ เทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือสนับสนุนการจัดบริการ
อย่างสะดวกและรวดเร็ว จึงได้มีการแลกเปล่ียน ภายในโรงพยาบาล ลดขั้นตอนการปฏิบัติ และ
ข้อมูลการดูแลด้านสุขภาพของผู้ป่วย (HIE) ด้วย เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการรับบริการที่มี
ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ คุณภาพดี มีความปลอดภัย และทันสมัยอย่าง
และตติยภูมิ พบว่าใน พ.ศ. 2560 หน่วยบริการ เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม โดยพัฒนาโรงพยาบาล
สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลสุขภาพได้ ร้อยละ 98.3 ให้เป็น Smart Hospital เริ่มใน พ.ศ. 2562 พบว่า
(881 จาก 896 แห่ง) และใน พ.ศ. 2561 ดาเนินการ โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป ผ่านเกณฑ์
นาระบบ Smart Health ID มาใช้ พบว่า โรง ก้าวสู่การเป็น Smart Hospital ร้อยละ 100 (119
พยาบาลศนู ย์ โรงพยาบาลท่ัวไปท่ีใช้ระบบนี้จานวน จาก 119 แห่ง) โรงพยาบาลสังกัดระดับกรม ผ่าน
88 จาก 116 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 75.9 สาหรับ เกณฑ์ร้อยละ 75.0 (39 จาก 52 แห่ง) และ
ผู้รับบริการเข้าถึงข้อมูลสุขภาพตนเอง มีการจัดทา โรงพยาบาลชุมชนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 72.0 (560
หนังสือแสดงความยินยอมให้เปิดเผยข้อมูลทาง จาก 778 แห่ง) ต่ากว่าค่าเป้าหมายระดับเส่ียง
อิเล็กทรอนิกส์เพื่อการบริการสุขภาพ (Consent (ร้อยละ 100 ของหน่วยบริการสุขภาพ มีการ
form) ซึ่งท้ังสองเร่ืองดังกล่าวยังไม่มีความคืบหน้า ดาเนินงาน Smart Tools and Smart Services
ในการดาเนินงาน และไม่ระบุเป้าหมายการ ใน พ.ศ. 2564)
ดาเนนิ งานทชี่ ัดเจน จึงไมส่ ามารถประเมินได้
2. วจิ ัยและนวัตกรรม
กระทรวงสาธารณสุขจัดสรรงบประมาณ และมีการนางานวิจัยสมุนไพร /งานวิจัยการแพทย์
เพอ่ื การพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรม ร้อยละ 2.8- แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกมาใช้ทางการ
5.3 ในปงี บประมาณ 2560-2561 และมีการพัฒนา แพทย์ 44 เรื่อง ใน พ.ศ. 2560-2562 (เป้าหมาย
งานวิจัยจากงานประจาสู่งานวิจัย (R2R) พบว่า 62 เรอื่ ง) ใน พ.ศ. 2562 มีการขึ้นทะเบียนตารับยา
ผลงานวิจัยที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ เพิ่มข้ึน แผนไทยแห่งชาติ จานวน 324 ตารับ ใน พ.ศ.
จาก ร้อยละ 56.1 ใน พ.ศ. 2560 เป็น ร้อยละ 2560-2562. ต่ากว่าค่าเป้าหมายระดับเสี่ยง (500
73.2 ใน พ.ศ. 2562 บรรลุคา่ เปา้ หมาย (ร้อยละ 40) ตารับ) มีการคิดค้นนวัตกรรมเทคโนโลยีสุขภาพ
102
รายงานผลการพัฒนาครง่ึ แผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564
หรือพัฒนาต่อยอดการให้บรกิ ารสาธารณสขุ เพ่มิ ข้นึ 2561 ข้ึนทะเบียนตารับยาได้ 16 ตารับยา คิดเป็น
จาก 5 เรอ่ื ง ใน พ.ศ. 2560 เปน็ 27 เร่ือง ใน พ.ศ. ร้อยละ 47.1 (16 จาก 34 ตารับยา) และใน พ.ศ.
2562 บรรลคุ ่าเป้าหมาย (รอ้ ยละ 25 ของจานวน 2562 มีการเพิ่มบัญชีตารับยามุ่งเป้าเป็น 70
นวตั กรรมฯ เพ่ิมขึน้ ) รายการ ขึ้นทะเบียนตารับยาได้ 15 รายการ คิด
เพ่ือความมั่นคงด้านยาและเสริมสร้าง เป็นร้อยละ 21.4 ต่ากว่าค่าเป้าหมายระดับวิกฤต
เศรษฐกิจของประเทศ กระทรวงสาธารณสุขได้มี (เป้าหมาย ร้อยละ 80 ของยากลุ่มเป้าหมายที่ผลิต
การประกาศขนึ้ ทะเบียนตารับยาตามบัญชียามุ่งเป้า หรือนาเข้าเพื่อทดแทนยาต้นแบบเพ่ิมข้ึน ใน พ.ศ.
ใน พ.ศ. 2560 จานวน 34 ตารับยา ใน พ.ศ. 2564)
3. การพัฒนากฎหมายดา้ นสขุ ภาพ
กระทรวงสาธารณสุขได้ออกกฎหมาย ละ 92.1 (72 จังหวัด จาก 76 จังหวัด) เป็น ร้อยละ 97.4
ด้านสาธารณสุข ให้มีประสิทธิภาพและทันสมัยเพื่อ (74 จาก 76 จังหวัด) บรรลุค่าเป้าหมาย (ร้อยละ 80)
คุ้มครองสขุ ภาพอนามัยของประชาชน และได้มีการ โดยมีกฎหมายท่ีตราออกเป็นพระราชบัญญัติ ระหว่าง
บังคับใช้กฎหมายด้านสาธารณสุขเพ่ิมขึ้นจาก ร้อย ปี 2560-2562 จานวน 13 ฉบบั ดงั ตารางท่ี 4.41
ตารางที่ 4.41 กฎหมายทีต่ ราออกเป็นพระราชบัญญัติ ของกระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2560-2562
พ.ศ. จานวน พ.ร.บ. (ฉบบั ) ช่ือ พ.ร.บ.
2560 1 พระราชบัญญัติควบคุมส่งเสริมการตลาดอาหารสาหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.
2560
1 พระราชบญั ญตั ิควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสบู พ.ศ. 2560
2561 1 พระราชบญั ญตั ิความม่นั คงดา้ นวคั ซีนแห่งชาติ พ.ศ. 2561
2562 1 พระราชบัญญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี 7) พ.ศ. 2562
1 พระราชบญั ญตั สิ ขุ ภาพจิต (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2562
1 พระราชบัญญตั สิ ถานประกอบการเพื่อสุขภาพ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2562
1 พระราชบญั ญัตยิ า (ฉบบั ที่ 6) พ.ศ. 2562
1 พระราชบญั ญัติผลิตภัณฑส์ มุนไพร พ.ศ. 2562
1 พระราชบัญญัติระบบสขุ ภาพปฐมภมู ิ พ.ศ. 2562
1 พระราชบญั ญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. 2562
1 พระราชบญั ญตั เิ ครื่องมอื แพทย์ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2562
1 พระราชบัญญัติวตั ถุอันตราย (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2562
1 พระราชบญั ญัตคิ วบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากส่ิงแวดล้อม พ.ศ.
2562
รวม 13
ทีม่ า : กองกฎหมาย สานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ
103
รายงานผลการพฒั นาครึ่งแผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564
4. การบริหารจัดการดา้ นการเงินการคลงั ของโรงพยาบาล
จากการทโ่ี รงพยาบาลไดร้ บั งบประมาณ ในการดาเนินงาน ส่งผลให้แนวโน้มโรงพยาบาลท่ี
ค่าใช้จ่ายรายหัวต่อประชากรไม่เพียงพอต่อการ ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินระดับ 7 ลดลงอย่าง
รกั ษาผปู้ ่วย และการบริหารจัดการด้านการเงินการ ต่อเน่ือง จากร้อยละ 15.2 ใน พ.ศ. 2558 (136
คลังไม่มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้โรงพยาบาลประสบ แห่ง) เป็นร้อยละ 0.1 (1 แห่ง) ใน พ.ศ. 2562
ปัญหาขาดสภาพคล่องทางการเงิน กระทรวง ตา่ กว่าค่าเปา้ หมาย (ไม่มีหน่วยบริการประสบวิกฤต
สาธารณสุขได้เพ่ิมประสิทธิภาพในการบริหาร ทางการเงินระดบั 7) ดงั ภาพที่ 4.12
จัดการการเงินการคลัง และเพ่ิมเงินสารองฉุกเฉิน
ภาพที่ 4.12 รอ้ ยละของหน่วยบรกิ ารสังกัดสานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข ทปี่ ระสบภาวะ
วิกฤตการเงนิ ระดับ 7 พ.ศ. 2554-2562
ร้อยละ 13.7 6.5 8.7 15.2 12.9 9.7 4.7 0.1 พ.ศ.
16 12.8
12 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562
8
4
0
2554
ทีม่ า : กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลกั ประกนั สขุ ภาพ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ
4) พัฒนาระบบหลักประกนั สขุ ภาพ
กระทรวงสาธารณสุข ได้ดาเนินการสร้าง การรักษาพยาบาลสูง รัฐบาลปัจจุบันได้ลงนาม
หลักประกันสุขภาพให้กับคนไทย สามารถเข้าถึง ข้อตกลงร่วมกับประเทศสมาชิกสหประชาชาติ ท้ัง
บริการด้านสุขภาพได้ตามความจาเป็นท้ังในหน่วย 193 ประเทศ ในการขบั เคลอ่ื นเปา้ หมายการพัฒนาท่ี
บรกิ าร ในชุมชนหรือท่ีบ้าน โดยครอบคลุมท้ังบริการ ยั่งยืนของโลก พ.ศ. 2557-2578 ซึ่งมีความพยายาม
สร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค การรักษาพยาบาล ในการบรรลุเป้าหมายต่างๆ โดย “ไม่ท้ิงใครไว้ข้าง
ตลอดจนการฟ้ืนฟูสมรรถภาพ โดยไม่ต้องกังวล หลัง LEAVE NO ONE BEHIND” มผี ลการประเมิน
เรือ่ งภาระค่าใชจ้ ่ายแมว้ ่าจะเปน็ โรคที่มีค่าใช้จ่ายใน ที่สาคัญดงั นี้
1) คนไทยมีหลักประกันสุขภาพครอบคลุมเพิ่มข้ึนจากร้อยละ 92.47 ในงบประมาณ 2545
เป็นร้อยละ 99.92 ในปีงบประมาณ 2562 โดยมีคนไทย 47.5 ล้านคน หรือร้อยละ 99.88 ใช้สิทธิ
หลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ (บัตรทอง) ดงั ภาพท่ี 4.13
104
รายงานผลการพฒั นาครงึ่ แผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564
ภาพที่ 4.13 ความครอบคลมุ สิทธิในระบบหลักประกนั สุขภาพ ปงี บประมาณ 2545-2562
98.75 99.16 99.47 99.95 99.90 99.87 99.84 99.92 99.95 99.95 99.94 99.92
99.36
100 97.82
99.93 99.87 99.83 99.78 99.90 99.93 99.93 99.92 99.88
98 95.47 96.25 98.36 98.90 99.31
99.15
96 97.22
93.01
ร้อยละความครอบคลุมสิทธิหลักประกนั สุขภาพถ้วนหนา้90.7995.26
92.47 94.33
94 (Universal Health Coverage: UHC)
91.33
92 รอ้ ยละความครอบคลุมสิทธิหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ
(Universal Coverage Scheme: UCS)
90
2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 25522553 2554 25552556 2557 2558 2559 2560 2561 2562
ทมี่ า : สานักงานหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ
2) การจัดสรรงบประมาณเหมาจ่ายรายหัว ของผู้มีสิทธิในหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
เพ่ิมขึ้น 2.8 เท่า จาก 1,202.4 บาท ต่อประชากรผู้มีสิทธิในปีงบประมาณ 2545 เป็น 2,895 บาท ใน
ปีงบประมาณ 2557 และเพ่ิมเป็น 3,426.6 บาท ในปงี บประมาณ 2562 ดงั ภาพท่ี 4.14
ภาพที่ 4.14 อัตราบริการทางการแพทยเ์ หมาจ่ายรายหวั (บาท/ผู้มีสทิ ธ)ิ ปงี บประมาณ 2546-2562
บาท
3,500
3,000
2,500
2,000
1,500
1,000
500
-
2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562
ผูป้ ว่ ยนอก ผ้ปู ว่ ยใน
เหมาจา่ ยรายหวั อนื่ ๆ อตั ราเหมาจา่ ยรายหวั (บาท/ผู้มสี ทิ ธ)ิ
ท่มี า : สานกั งานหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ
3) ใน พ.ศ. 2559-2562 กระทรวงสาธารณสุขมีการพัฒนาและขยายชุดสิทธิประโยชน์
อยา่ งต่อเน่อื งจนถงึ ปจั จุบัน ท้ังดา้ นการรกั ษาพยาบาล บริการฟ้นื ฟสู มรรถภาพและยังเพ่ิมการดูแลกลุ่ม
เฉพาะ ไดแ้ ก่ ผู้ติดเชอ้ื เอชไอวีและผปู้ ว่ ยเอดส์ ผปู้ ่วยจิตเวชเร้ือรังในชุมชน และผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพึ่งพิง
ดงั ภาพที่ 4.15
105
รายงานผลการพัฒนาคร่งึ แผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564
ภาพที่ 4.15 พัฒนาการชุดสิทธิประโยชน์และการจดั การเพิ่มการเขา้ ถึงบริการในระบบ
หลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ
- การปอ้ งกนั การตดิ เชอ้ื เอชไอวใี นกลมุ่ เสยี่ ง
- การดูแลระยะยาวดา้ นสาธารณสขุ สาหรบั ผสู้ งู อายทุ ม่ี ภี าวะพงึ่ พงิ ในพนื้ ท่ี (Long Term Care)
- การดูแลผปู้ ว่ ยจติ เวชเรื้อรงั ในชมุ ชน
- ขยายการตรวจคดั กรองมะเรง็ ปากมดลกู
- ประกาศนโยบาย “เจ็บปว่ ยฉกุ เฉนิ วิกฤต มีสทิ ธทิ กุ ท่ี” (UCEP) เรม่ิ 1 เม.ย. 60 ต่อยอด เจบ็ ปว่ ยฉกุ เฉนิ 3
กองทนุ
- บรกิ ารระดับปฐมภมู ิทมี่ คี ลนิ กิ หมอครอบครัว (PCC)
- เพมิ่ วคั ซนี HPV ปอ้ งกนั มะเรง็ ปากมดลกู สาหรบั นกั เรียนหญงิ ชนั้ ป. 5
- ตรวจคดั กรองมะเร็งลาไสใ้ หญ่
- ตรวจคดั กรองและเพมิ่ ยารักษาไวรสั ตบั อกั เสบซี
- ผา่ ตดั วนั เดยี วกลบั บา้ นได้ (One Day Surgery : ODS)
เพมิ่ สทิ ธปิ ระโยชนด์ า้ นวัคซนี และยา
1) วคั ซีนรวม 5 ชนิด คอตบี บาดทะยัก ไอกรน ไวรัสตบั อกั เสบบี และเยื่อหมุ้ สมองอกั เสบ
(DTP-HB-Hib)
2) วคั ซนี พษิ สนุ ขั บา้
3) เพ่มิ ยาตา้ นไวรสั เอชไอวี : Raltegravir (ปอ้ งกนั ถา่ ยทอดเชอ้ื เอชไอวจี ากมารดาสทู่ ารก)
4) เพมิ่ ยา Bevacizumab สาหรบั โรคหลอดเลอื ดดาในจอตาอดุ ตนั
เพิ่มสทิ ธิประโยชนส์ ง่ เสริมสขุ ภาพปอ้ งกนั โรค 8 รายการ ในหญงิ ตง้ั ครรภแ์ ละทารก
ที่มา : สานักงานหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ
4) การใชบ้ ริการผปู้ ่วยนอกและผูป้ ว่ ยในของผมู้ ีสทิ ธิหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ
ประชาชนผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติใช้บริการผู้ป่วยนอกมีจานวนเพิ่มข้ึนจาก 174.63 ล้านคร้ัง
ในปี 2559 เป็น 182.69 ล้านคร้ัง ใน พ.ศ. 2562 โดยอัตราการใช้บริการผู้ป่วยนอก เพ่ิมข้ึนจาก 3.618
ครง้ั ต่อคนตอ่ ปี ในปี 2559 เป็น 3.834 ครง้ั ตอ่ คนต่อปี ในปี 2562
สาหรับการใช้บริการผู้ป่วยในเพ่ิมขึ้นจาก 6.06 ล้านครั้ง ในปี 2559 เป็น 6.30 ล้านครั้ง
ในปี 2562 โดยอัตราการใชบ้ ริการผูป้ ว่ ยใน เพมิ่ ข้นึ จาก 0.126 ครง้ั ต่อคนตอ่ ปี ในปี 2546 เปน็ 0.132 ครั้ง
ตอ่ คนตอ่ ปี ในปี 2562 ดงั ภาพที่ 4.16 และภาพท่ี 4.17
106
รายงานผลการพฒั นาครง่ึ แผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564
ภาพที่ 4.16 จานวนและอตั ราการใช้บรกิ ารผปู้ ่วยนอกของผมู้ ีสิทธหิ ลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ
พ.ศ. 2546-2562
จานวน (ล้านคร้งั ) อัตรา (ครัง้ /คน/ป)ี
200 3.340 3.522 3.618 3.821 3.834 4
160 3.693 3
120 2
80 111.95
112.49
111.64
114.77
119.29
128.76
147.60
146.02
146.30
148.81
151.86
161.72
170.34
174.63
184.28
177.27
182.69
3.123 3.061 3.068 3.072 3.119
2.450 2.407 2.367 2.416 2.554 2.749
40 1
00
2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562
จานวนผูป้ ว่ ยนอก อัตราการใชบ้ ริการผ้ปู ่วยนอก
ทีม่ า : สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ภาพที่ 4.17 จานวนและอัตราการใชบ้ ริการผู้ป่วยในของผู้มีสิทธิหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ
พ.ศ. 2546-2562
จานวน (ล้านครัง้ ) อัตรา (ครัง้ /คน/ป)ี
8.00 0.094 0.089 0.092 0.100 0.105 0.110 0.112 0.116 0.116 0.116 0.120 0.118 0.120 0.126 0.125 0.130 0.132 0.15
6.00 4.30 0.12
4.00 4.16 0.09
4.34 0.06
4.73
4.88
5.17
5.29
5.55
5.53
5.62
5.82
5.74
5.78
6.06
6.03
6.22
6.30
2.00 0.03
0.00 0
2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562
จานวนผูป้ ว่ ยใน อตั ราการใช้บริการผู้ป่วยใน
ที่มา : สานักงานหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ
5) การปกปอ้ งความเส่ียงทางการเงนิ ของครัวเรือน
การลดภาระรายจ่ายด้านค่ารักษาพยาบาลของครัวเรือน พบว่า ครัวเรือนที่เกิดวิกฤต
ทางการเงินจากการจ่ายค่ารักษาพยาบาล (Catastrophic health expenditure) มีแนวโน้มลดลงเร่ือยๆ
จากร้อยละ 7.94 (7.1 แสนครวั เรือน) ในปี 2531 เหลือร้อยละ 4.06 (6.6 แสนครัวเรือน) ในปี 2545 และ
เหลือร้อยละ 2.26 (4.8 แสนครัวเรือน) ในปี 2560 เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 2.3 ส่วนครัวเรือนท่ีกลายเป็น
ครัวเรือนยากจนภายหลังจากการจ่ายค่ารักษาพยาบาล ลดลงจากร้อยละ 2.36 (2.5 แสนครัวเรือน) ในปี
2531 เหลอื ร้อยละ 1.33 (2.2 แสนครวั เรือน) ในปี 2545 และเหลอื ร้อยละ 0.24 (5.2 หมืน่ ครัวเรือน) ในปี
2560 เป้าหมายไมเ่ กินร้อยละ 0.47 ดังภาพที่ 4.18 และภาพท่ี 4.19
107
รายงานผลการพฒั นาคร่งึ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564
ภาพท่ี 4.18 ครัวเรอื นทเ่ี กดิ วกิ ฤตทางการเงนิ จากการจ่ายค่ารักษาพยาบาล พ.ศ. 2531-2560
ร้อยละ 710,000
10.0 ครัวเรอื น
8.0
6.0 660,000
4.0 ครวั เรอื น
2.0 7.94
0.0 7.07 480,000
6.82 ครัวเรือน
6.79
5.97 พ.ศ.
5.30
5.74
4.06
4.08
3.85
3.24
3.13
3.29
2.88
2.47
2.63
2.28
2.23
2.01
2.06
2.26
2531
2533
2535
2537
2539
2541
2543
2545
2547
2549
2550
2551
2552
2553
2554
2555
2556
2557
2558
2559
2560
ทีม่ า : การสารวจภาวะเศรษฐกจิ และสังคมของครวั เรอื น สานกั งานสถิติแห่งชาติ ปี 2531-2560, วเิ คราะห์โดย
สานกั งานหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ
หมายเหตุ : คานวณจาก ครัวเรือนที่มรี ายจา่ ยดา้ นสุขภาพของครวั เรือน มากกว่ารอ้ ยละ 10 ของรายจา่ ยทงั้ หมดของ
ครวั เรอื น
ภาพที่ 4.19 ครวั เรือนทตี่ อ้ งกลายเปน็ ครวั เรือนยากจนภายหลงั จากการจ่ายค่ารักษาพยาบาล
พ.ศ. 2533-2560
รอ้ ยละ 250,000
3.0 ครัวเรอื น
220,000
ครัวเรอื น
2.36
2.0 2.34 520,000
2.33 ครวั เรอื น
1.0 2.45
2.20 พ.ศ.
1.69
2.01
1.33
1.10
1.00
0.91
0.80
0.79
0.71
0.56
0.53
0.50
0.46
0.32
0.30
0.24
0.0
2531
2533
2535
2537
2539
2541
2543
2545
2547
2549
2550
2551
2552
2553
2554
2555
2556
2557
2558
2559
2560
ท่ีมา : การสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน สานักงานสถิติแห่งชาติ ปี 2531-2560, วิเคราะห์โดย
สานักงานหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ
6) การลดความเหลอื่ มลา้ ระหว่าง 3 กองทุน
กระทรวงสาธารณสุขลดความเหล่ือมล้าในการใช้สิทธิของแต่ละระบบประกันสุขภาพ
ภาครัฐ 3 ระบบหลัก ได้แก่ ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ ระบบประกันสังคม ระบบประกัน
สุขภาพแห่งชาติ โดยได้ดาเนินการประกาศนโยบาย "เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกที่" Universal
Coverage for Emergency Patients (UCEP) เพื่อลดความเหล่ือมล้าในการเข้าถึงบริการของผู้ป่วย
ฉุกเฉนิ วกิ ฤตในการ
108
รายงานผลการพัฒนาคร่ึงแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564
ฉกุ เฉนิ วิกฤตในการเข้าไปรบั การรักษาทีโ่ รงพยาบาลรัฐหรือเอกชนที่อยู่ใกล้ที่สุดหรือไปถึงเร็วที่สุด โดยไม่
ต้องสารองเงินค่ารักษาพยาบาลในระยะเบื้องต้น 72 ช่ัวโมงแรก หรือพ้นภาวะวิกฤต ไม่ว่าสิทธิใดก็ตาม
เริ่มดาเนินการ 1 เมษายน 2560 ตลอดระยะเวลา 2 ปี ผู้ป่วยฉุกเฉินมีโอกาสการรอดชีวิตและลดความ
พิการ 41,903 ราย นอกจากน้ี ได้ทาการศึกษาความแตกต่างอัตราการใช้สิทธิ เม่ือไปใช้บริการสุขภาพ
แบบผูป้ ่วยใน (IP) ของท้งั 3 กองทุน คือกองทุนหลกั ประกนั สุขภาพแห่งชาติ กองทุนสวัสดิการข้าราชการ
กองทุนประกันสังคม เทียบในภาพรวมมีความแตกต่างร้อยละ 1.54 ใน พ.ศ. 2558 ลดลงเหลือเป็นร้อย
ละ 1.35 ใน พ.ศ. 2560 แสดงถึงความเหล่ือมล้าในการใชบ้ ริการผู้ป่วยในของผมู้ สี ิทธทิ ัง้ 3 กองทุนมีความ
แตกต่างกนั เลก็ น้อยมาก ดงั ภาพท่ี 4.20
ภาพท่ี 4.20 ความแตกต่างอัตราการใชส้ ิทธิ (compliance rate) เม่อื ไปใชบ้ ริการผปู้ ว่ ยใน
ของผู้มีสทิ ธใิ น 3 ระบบ
ปี 58 60 ปี 58 60
CR-UC
CR-CS 87.58 % 87.85 % CR dif-UC 0.62 % 0.67 %
CR-SS 90.34 % 86.26 % CR dif-CS 2.14 % 0.92 %
CR-T 90.06 % 84.71 % CR dif-SS 1.86 % 2.47 %
88.20 % 87.18 % CR dif-T 1.54 % 1.35 %
ทมี่ า : การสารวจอนามัยและสวัสดิการ (Health Welfare Survey พ.ศ. 2560, สานักงานสถิติแห่งชาติ ประมวลผลโดย
สานักงานหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติ ณ วันที่ 24 เมษายน 2562
7) กาหนดให้มีมาตรฐานการจ่ายเงินของแตล่ ะระบบหลักประกันสขุ ภาพภาครัฐ ใหแ้ ก่
สถานพยาบาลเปน็ ราคาเดียวกัน ในทุกประเภทและระดับการบรกิ าร
ผลการประเมิน พบว่า มีการดาเนินการ 1 เรื่อง คือ วิธีการจ่ายเงินเกี่ยวกับระบบ
เบิกจ่ายฯ สาหรับผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต และกาหนดอัตราค่าบริการการแพทย์ฉุกเฉินวิกฤต การเข้ารับการ
รักษา 72 ชั่วโมงแรก ในโรงพยาบาลเอกชนนอกระบบคู่สัญญา แบบ Fee schedule จัดทาระบบ
Clearing House และส่งให้กองทุนต่างๆ เบิกจ่ายตามแนวทางที่กาหนด, จัดระบบ Call Center ให้
คาแนะนาบริการเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต และรับข้อร้องเรียน ประเมินไม่ได้เน่ืองจากค่าเป้าหมายไม่ชัดเจน
(กาหนดให้มมี าตรฐานการจา่ ยเงินของแตล่ ะระบบหลักประกนั สุขภาพภาครฐั ใหแ้ ก่สถานพยาบาลเป็นราคา
เดยี วกันในทุกประเภทและระดบั การบริการ)
109
ตารางที่ 4.42 ตารางเปา้ หมายตวั ชว้ี ดั แผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2560-2564 ดา้ นบ
(Governance Excellence)
เปา้ หมายการพัฒนา ตวั ชีว้ ัด/เปา้ หมาย
1) การพัฒนาคณุ ธรรมและความโปร่งใส ร้อยละ 90 ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวง
1.ทุกหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่าน สาธารณสขุ ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ITA (1,665 แห่ง
เกณฑ์ จาก 1,750 แหง่ )
ร้อยละ 30 ของการจดั ซอื ยาร่วมของยา เวชภัณฑ์ท่ี
2.ทุกหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีการ ไม่ใช่ยา วสั ดุวิทยาศาสตร์ และวสั ดทุ ันตกรรม
จั ดซือ ร่ว มข อ งย า เว ชภั ณฑ์ท่ีไ ม่ใช่ย า วัส ดุ
วทิ ยาศาสตร์ และวสั ดุทันตกรรม จ
110 3. 1 ใน 5 ของกระทรวงท่ีมีระบบการควบคุม ร้อยละ 20 ของหน่วยงานภายในกระทรวง
ภายในทีด่ ี สาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมินระบบควบคุม
ภายใน
2) การพัฒนาองคก์ รคุณภาพ ระดบั ความสา้ เรจ็ ของการพัฒนาคณุ ภาพการบริหาร
จัดการภาครัฐของส่วนราชการในสังกัด สป.สธ.
ไม่มกี ารตงั เปา้ หมาย 20 ปี (ส่วนกลางร้อยละ 90/สสจ.ร้อยละ 90/สสอ.ร้อยละ
1.พฒั นาหน่วยบริหารในสังกัด สป.สธ. ใหม้ คี ณุ ภาพ 80)
มาตรฐาน PMQA และได้รบั การรับรองจาก - กรม (9 กรม)
หนว่ ยงานภายนอก
2.โรงพยาบาลสงั กดั สธ. มคี ุณภาพมาตรฐานผา่ น - สสจ. (76 แหง่ )
การรบั รอง Hospital Accreditation (HA) ขนั 3
3.หน่วยบรกิ ารปฐมภูมทิ ่ผี ่านเกณฑ์การพัฒนา - สสอ. (878 แหง่ )
คณุ ภาพมาตรฐานและรบั รองจากหน่วยงาน
ภายนอก
บรหิ ารเปน็ เลศิ ดว้ ยธรรมาภบิ าล
ผลการดา่ เนนิ งานตามแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2560-2564 ผลการประเมนิ
2560 2561 2562 ครงึ แผนเมือเทยี บกบั
เปา้ หมายแผนยุทธศาสตร์
กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ.
2560-2564
ร้อยละ 84.1 รอ้ ยละ 95.5 ร้อยละ 96.9 บรรลคุ ่าเปา้ หมาย
(333 จาก 396 แหง่ ) (1,764 จาก 1,848 แหง่ ) (1,792 จาก 1,850 แห่ง)
รอ้ ยละ 28.8 ร้อยละ 29.3 รอ้ ยละ 27.5 ต่้ากว่าคา่ เป้าหมาย
(12,996,379,876.39 (12,555,367,879.04 (20,640,723,225.34 (รอ้ ยละ 91.7)
จาก 45,114,888,365.73
จาก จาก บรรลคุ า่ เป้าหมาย
บาท) 42,879,158,876.42 75,185,854,607.96
ร้อยละ 4.5 บาท) บาท)
(42 จาก 930 แห่ง) รอ้ ยละ 22.2 ร้อยละ 40.5
(206 จาก 930 แหง่ ) (398 จาก 982 แห่ง)
บรรลคุ า่ เปา้ หมาย
- ร้อยละ 100 รอ้ ยละ 100
(9 จาก 9 กรม) (9 จาก 9 กรม)
- ร้อยละ 100 รอ้ ยละ 96.1
(76 จาก 76) (73 จาก 76)
- รอ้ ยละ 75.7 ร้อยละ 99.6
(665 จาก 878 แห่ง) (875 จาก 878 แหง่ )
เปา้ หมายการพฒั นา ตัวชี้วัด/เปา้ หมาย
ร้อยละ 100 ของ รพศ./รพท./รพ.สังกัดกรม พ./
กรม คร. / กรม สจ. ที่ผ่านการรับรองคุณภาพ
มาตรฐาน HA ขัน 3
ร้อยละ 100 ของ รพช. ที่ผ่านการรับรองคุณภาพ
มาตรฐาน HA ขนั 3
ร้อยละ 100 ของ รพ.สต. ที่ผ่านเกณฑ์การพัฒนา
คณุ ภาพ รพ.สต. ติดดาว (สามดาว)
ร้อยละ 100 ของ รพ.สต. ท่ีผ่านเกณฑ์การพัฒนา
คณุ ภาพ รพ.สต. ติดดาว (ห้าดาว)
3) การพฒั นาระบบข้อมลู ขา่ วสารเทคโนโลยสี ขุ ภาพแห่งชาติ
111 ไม่มีการตังเปา้ หมาย 20 ปี จังหวัดที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพข้อมูลสาเหตุการตาย
(ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 40 ของจังหวดั ทังหมด)
ข้อมลู บริการสขุ ภาพ : คณุ ภาพเวชระเบียนและการ
วินิจฉัยโรคผู้ป่วยนอกมีความถูกต้องครบถ้วน
มากกวา่ ร้อยละ 80
4) มรี ะบบเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ด้านสุขภาพ
1.หน่วยบริการทุกหน่วยสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล รพศ./รพท./รพช. แลกเปลี่ยนข้อมูลเพ่ือส่ง-รับ เ
สุขภาพร่วมกันได้ (Health Information Exchange ผู้ปว่ ยรักษาต่อเน่ือง
(HIE)
2.ประชาชนผู้รับบริการสุขภาพทุกคนเข้าถึงข้อมูล ผู้รับบริการสุขภาพจากหน่วยบริการระดับทุติยภูมิ
สุขภาพตนเองได้ (Personal Health Record) และตติยภูมิ สังกัด สป. สธ. เข้าถึงข้อมูลสุขภาพ
ตนเองได้
ผลการด่าเนนิ งานตามแผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2560-2564 ผลการประเมิน
ครงึ แผนเมือเทยี บกับ
2560 2561 2562 เปา้ หมายแผนยทุ ธศาสตร์
กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.
ร้อยละ 97.0 ร้อยละ 98.2 รอ้ ยละ 99.4
(160 จาก 165 แห่ง) (162 จาก 165 แห่ง) (164 จาก 165 แหง่ ) 2560-2564
ตา้่ กว่าค่าเป้าหมาย
(รอ้ ยละ 99.4)
รอ้ ยละ 74.1 รอ้ ยละ 80.4 รอ้ ยละ 89.0 ต่้ากว่าคา่ เป้าหมาย
(578 จาก 780 แห่ง) (627 จาก 780 แหง่ ) (653 จาก 734 แห่ง) (ร้อยละ 89.0)
-
ร้อยละ 17.5 - -
(1,685 จาก 9,607 แหง่ ) ต่า้ กวา่ ค่าเปา้ หมาย
ร้อยละ 34.8 ร้อยละ 70.1 ระดับเสยี่ ง
- (3,409 จาก 9,802 แห่ง) (6,914 จาก 9,863 แหง่ ) (รอ้ ยละ 70.1)
ร้อยละ 38.1 ร้อยละ 51.3 รอ้ ยละ 55.3 บรรลคุ ่าเป้าหมาย
(29 จาก 76 จงั หวัด) (39 จาก 76 จังหวัด) (42 จาก 76 จงั หวัด)
ต่้ากว่าคา่ เปา้ หมาย
ร้อยละ 41.2 - - ระดบั เสยี่ ง
(4,328 จาก 10,508 (รอ้ ยละ 51.5)
รายการ)
ร้อยละ 98.3 ร้อยละ 75.9 หนว่ ยงานยกเลิกตัวชวี ดั ประเมนิ ไม่ได้
(881 จาก 896 แหง่ ) (88 จาก 116 แหง่ ) หน่วยงานยกเลิกตัวชีวดั เนอ่ื งจากไม่ระบุ
เปา้ หมาย
จดั ท้าหนงั สือแสดงความ 37 จาก 79 คน ประเมินไม่ได้
ยนิ ยอมใหเ้ ปิดเผยข้อมลู (รพ.วังนอ้ ย ทดลองใช้) เน่ืองจากไม่ระบุ
เพอื่ การรักษาพยาบาลทาง เปา้ หมายการ
ดา้ เนนิ งานท่ชี ดั เจน
ส่ืออิเลก็ โทรนิสก์
เปา้ หมายการพัฒนา ตัวชวี้ ดั /เปา้ หมาย
หนว่ ยบริการสขุ ภาพ ร้อยละ 100 มกี ารดา้ เนินงาน
Smart Tools and Smart Services เพอื่ กา้ วส่กู าร
เปน็ Smart Hospital
-รพศ./รพท.
-รพช.
-รพ.สงั กัดกรม
5) การบริหารจดั การดา้ นการเงินการคลัง
112 5.1 วางรากฐานใหร้ ะบบหลักประกันสขุ ภาพครอบคลมุ ประชากรในทกุ ภาคส่วนอยา่ งมคี ุณภาพ
โดยไม่มีความเหลอื มล้าของคณุ ภาพบริการในแตล่ ะระบบ
5.2 มกี ารบรู ณาการข้อมลู ระหว่างทุกระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพเพอื เพิมประสิทธิภาพในการ
บรหิ ารจัดการ
ระบบประกันสุขภาพภาครัฐทุกระบบมีประสิทธภิ าพ มีชุดสิทธปิ ระโยชน์หลกั /กลาง สา้ หรับผู้มสี ทิ ธิ
เป็นธรรมและย่ังยืน ประชาชนเข้าถึงบริการท่ีมีคุณภาพ ประกนั สขุ ภาพทกุ ระบบ เพมิ่ ขึนอยา่ งน้อยปลี ะ 1
เร่อื ง
สะดวก และทดั เทยี ม
ระบบการบรหิ ารจดั การท่เี ป็นมาตรฐานเดยี วกนั
ระหว่างระบบประกนั สขุ ภาพ 5 เรอ่ื ง
กา้ หนดให้มีมาตรฐานการจา่ ยเงนิ ของแตล่ ะระบบ ก
หลักประกันสขุ ภาพภาครัฐให้แกส่ ถานพยาบาลเป็น ก
ราคาเดียวกนั ในทุกประเภทและระดับการบริการ ก
7
ผลการด่าเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560-2564 ผลการประเมนิ
ครงึ แผนเมอื เทียบกบั
2560 2561 2562 เป้าหมายแผนยทุ ธศาสตร์
กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.
- - ร้อยละ 100
(119 จาก 119 แห่ง) 2560-2564
- - รอ้ ยละ 72.0 ตา้่ กวา่ คา่ เป้าหมาย
(560 จาก 778 แหง่ ) ระดบั เสีย่ ง
(รอ้ ยละ 75.7)
- - รอ้ ยละ 75.0 -
(39 จาก 52 แห่ง)
-
-
2 เรอื่ ง 5 เร่อื ง 2 เรอื่ ง บรรลุคา่ เปา้ หมาย
- 1 เรอ่ื ง - ต้่ากวา่ คา่ เปา้ หมาย
(UCEP) หนว่ ยงานยกเลิกตัวชวี ดั ระดบั วิกฤต (รอ้ ยละ
ก้าหนดอัตราคา่ บรกิ าร
การแพทยฉ์ ุกเฉินวกิ ฤต หน่วยงานยกเลกิ ตัวชวี ดั 20.0)
กรณีการเขา้ รับการรกั ษา ประเมนิ ไม่ได้เนอ่ื งจาก
72 ช่ัวโมงแรก คา่ เปา้ หมายไมช่ ดั เจน
เปา้ หมายการพัฒนา ตวั ชว้ี ดั /เป้าหมาย
5.3 สร้างและพัฒนากลไกการดุลดา้ นการเงินการคลังสขุ ภาพ
ไม่มีหน่วยบรกิ ารประสบภาวะวกิ ฤตการเงินระดบั 7 รอ้ ยละของหน่วยบริการสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ ท่ี
ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินระดบั 7 (ไตรมาส 4)
6) มีการท่าวจิ ัยและนา่ ผลการวจิ ัยไปใช้ประโยชนแ์ ละสร้างนวตั กรรมใหมๆ่
หนว่ ยงานในสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ เปน็ หนว่ ยงาน รอ้ ยละ 40 ผลงานวจิ ัย/R2R ด้านสขุ ภาพทใี่ ห้
ท่ีผลิตองค์ความรู้ วิจัย/นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือ หน่วยงานตา่ งๆ น้าไปใชป้ ระโยชน์ทังหมด
สนองตอบการพัฒนาระบบการแพทย์/ สาธารณสุขของ ร้อยละของงบประมาณด้านการวิจยั และพฒั นาไม่
ประเทศและใช้ประโยชน์ในเชงิ พาณชิ ยไ์ ด้
น้อยกว่า 1.5 ของงบประมาณทงั หมด
113 รอ้ ยละ 80 ของยากลมุ่ เป้าหมายที่ผลิตหรอื นา้ เข้า
เพอื่ ทดแทนยาต้นแบบเพมิ่ ขนึ
รอ้ ยละ 38 รายการยาและเครือ่ งมือแพทยท์ ไี่ ดร้ บั
การขนึ ทะเบียน
-รายการยา
-รายการเคร่อื งมือแพทย์
จา้ นวนต้ารบั ยาแผนไทยแหง่ ชาติ 500 ต้ารบั ทผี่ า่ น
ความเห็นชอบจากคณะกรรมการคมุ้ ครอง และ
ส่งเสริมภูมิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย
รอ้ ยละ 25 จ้านวนนวตั กรรมท่ีคิดค้นใหม่
เทคโนโลยสี ขุ ภาพหรอื พัฒนาตอ่ ยอดการให้บริการ
ด้านสขุ ภาพเพ่มิ ขึน
ผลการดา่ เนินงานตามแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560-2564 ผลการประเมิน
2560 2561 2562 ครงึ แผนเมือเทยี บกับ
เป้าหมายแผนยุทธศาสตร์
กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ.
2560-2564
รอ้ ยละ 9.7 ร้อยละ 4.7 ร้อยละ 0.1 ต่้ากว่าคา่ เป้าหมาย
(87 จาก 896 แห่ง) (42 จาก 896 แหง่ ) (1 จาก 896 แห่ง) (รอ้ ยละ 99.9)
ร้อยละ 56.1 รอ้ ยละ 60.4 ร้อยละ 73.2 บรรลคุ า่ เปา้ หมาย
(1,518 จาก 2,704 เรอื่ ง) (2,239 จาก 3,710 เร่อื ง) (3,055 จาก 4,173 เรอื่ ง)
บรรลุคา่ เปา้ หมาย
รอ้ ยละ 5.3 ร้อยละ 2.8 -
(2,992,421 จาก (143,256,600 จาก ต่้ากวา่ คา่ เปา้ หมาย
5,504,437,270 บาท) 5,217,079,700 บาท) ร้อยละ 21.4 ระดับวิกฤต
(ขนึ ทะเบยี นตา้ รบั ยา 15 (รอ้ ยละ 64.8)
ร้อยละ 100 ร้อยละ 47.1
(ขึนบญั ชีมุ่งเปา้ 34 จาก (ขึนทะเบียนต้ารับยา 16 จาก 70 ต้ารับยา) บรรลุค่าเปา้ หมาย
34 ต้ารบั ยา) จาก 34 ตา้ รบั ยา)
ร้อยละ 95.4 รอ้ ยละ 93.2 ร้อยละ 99.9 ต้ากว่าค่าเปา้ หมาย
(19,944 จาก 20,908 (39,343 จาก 42,196 (32,159 จาก 32,197 ระดับเส่ยี ง
(ร้อยละ 64.8)
รายการ) รายการ) รายการ)
ร้อยละ 99.97 ร้อยละ 99.98 ร้อยละ 99.99 บรรลุคา่ เปา้ หมาย
(339,760 จาก 339,875 (350,709 จาก 350,796 (1,128,529 จาก
1,128,659 รายการ)
รายการ) รายการ) 108 ต้ารบั
103 ตา้ รับ 113 ต้ารับ
5 เร่ือง 17 เรอ่ื ง 27 เรือ่ ง
เปา้ หมายการพัฒนา ตัวชี้วดั /เปา้ หมาย
จา้ นวนงานวจิ ยั สมนุ ไพร/งานวจิ ัยการแพทย์แผน
ไทยและการแพทยท์ างเลือกทน่ี า้ มาใช้จรงิ ทางการ
แพทย์ หรือการตลาด จา้ นวน 62 เร่อื ง
7) การปรบั โครงสรา้ งและพฒั นากฎหมายด้านสขุ ภาพ
ประเทศไทยมีกฎหมายด้านสาธารณสุขท่ีมี รอ้ ยละ 80 ของกฎหมายที่ควรปรบั ปรุงไดร้ ับการ
ประสิทธิภาพและทันสมัยเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ แกไ้ ข และมกี ารบงั คบั ใช้
ของประชาชน -กฎหมายท่มี ีการบงั คับใช้ รอ้ ยละ 80
-การพัฒนากฎหมาย อย่างนอ้ ย 1 ฉบับตอ่ ปี
หมายเหตุ : (ร้อยละ) ในคอลมั น์ ผลการประเมนิ คร่งึ แผนฯ หมายถงึ ผลการด้าเนนิ งานที่ท้าไดเ้ ม
114
ผลการด่าเนินงานตามแผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560-2564 ผลการประเมนิ
ครงึ แผนเมอื เทียบกบั
2560 2561 2562 เปา้ หมายแผนยทุ ธศาสตร์
13 เรอ่ื ง 10 เร่อื ง 21 เรื่อง กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.
2560-2564
ตา้ กว่าคา่ เป้าหมาย
ระดบั เส่ียง
(รอ้ ยละ 71.0)
บรรลุคา่ เป้าหมาย
ร้อยละ 92.1 ร้อยละ 76.3 รอ้ ยละ 97.4
(70 จาก 76 สสจ.) (58 จาก 76 สสจ.) (74 จาก 76 สสจ.)
2 พรบ. 1 พรบ. 10 พรบ.
มอ่ื เทยี บกบั เปา้ หมาย
บทที่ 5
ข้อเสนอการพฒั นาแผนยทุ ธศาสตร์
กระทรวงสาธารณสุขระยะตอ่ ไป
รายงานผลการพฒั นาครงึ่ แผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564
5. ข้อเสนอการพฒั นาแผนยทุ ธศาสตร์
กระทรวงสาธารณสขุ ระยะตอ่ ไป
จากการสังเคราะห์ข้อมูล ผลการดาเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ใน
ปงี บประมาณ 2560-2562 และการสัมภาษณ์ผบู้ รหิ าร ผ้ทู รงคุณวุฒิ มีขอ้ เสนอดงั นี้
5.1 ข้อเสนอตอ่ ตวั ชวี้ ดั แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสขุ (พ.ศ. 2560-2564)
5.2 ประเด็นการพฒั นาระยะต่อไป
5.1 ข้อเสนอตอ่ ตวั ชว้ี ดั แผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสขุ (พ.ศ. 2560-2564)
ตัวช้ีวดั แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข (ร้อยละ 77.1) ยกเลิกตัวชี้วัด จานวน 18 ตัวชี้วัด
พ.ศ. 2560-2564 และตัวช้ีวัดที่เพ่ิมระหว่างปี (ร้อยละ 15.3) ปรับเปล่ียนตัวชี้วัด จานวน 6 ตัวช้ีวัด
งบประมาณ 2560-2562 มีท้ังหมด 118 ตัวชี้วัด (ร้อยละ 5.1) และเพ่ิมการวัดผล จานวน 3 ตัวช้ีวัด
ควรคงไว้เป็นตัวช้ีวัดตามแผนยุทธศาสตร์กระทรวง (ร้อยละ 2.5) รายละเอยี ดดังนี้
สาธารณสุข พ.ศ. 2560-2564 จานวน 91 ตัวช้ีวัด
5.1.1 ตวั ชว้ี ดั ดา้ นสง่ เสริมสขุ ภาพ ปอ้ งกนั โรค และคมุ้ ครองผู้บรโิ ภคเปน็ เลิศ
มีท้ังหมด 31 ตัวช้ีวัด ควรคงไว้ 27 ตัวช้ีวัด (ร้อยละ 87.1) ยกเลิก 3 ตัวช้ีวัด (ร้อยละ 9.7) และ
ปรบั เปลยี่ น 1 ตวั ชี้วัด (ร้อยละ 3.2) มีข้อเสนอเพื่อการพัฒนาตัวชี้วัดแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
พ.ศ. 2560-2564 ดงั นี้
1) ยกเลิกตวั ชว้ี ัดในระดับแผนยุทธศาสตร์ใหเ้ ปน็ การวดั ผลระดบั กรม มี 3 ตัวช้วี ัด ดงั นี้
- ตวั ชว้ี ดั สถานบริการสาธารณสุขทม่ี กี ารคลอดมาตรฐาน
- ตวั ช้ีวดั ตาบลจัดการสุขภาพในการเฝ้าระวัง ป้องกันแก้ไขปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและ
มะเร็งท่อน้าดี
- ตัวชีว้ ัด สถานพยาบาลผา่ นเกณฑ์มาตรฐานท่ีกฎหมายกาหนด
2) ปรับเปลี่ยนตัวช้ีวัด มี 1 ตัวคือ ตัวชี้วัด จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีม
ตระหนักรู้สถานการณ์ (Situation Awareness Team: SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้ จริง มีครบในทุก
จงั หวัดแล้ว ควรปรบั เปลย่ี นตัวช้วี ดั ทสี่ ามารถสะท้อนความสามารถในการจดั การภาวะฉุกเฉนิ ของจังหวดั
5.1.2 ตวั ช้ีวดั ดา้ นบรกิ ารเปน็ เลศิ
มีท้ังหมด 57 ตัวช้ีวัด ควรคงไว้ 37 ตัวชี้วัด (ร้อยละ 64.9) ยกเลิก 12 ตัวชี้วัด (ร้อยละ 21.1)
ปรับเปลี่ยน 5 ตัวช้ีวัด (ร้อยละ 8.8) และเพิ่มการวัด 3 ตัวชี้วัด (ร้อยละ 5.3) มีข้อเสนอเพื่อการพัฒนา
ตวั ชีว้ ดั แผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2560-2564 ดงั นี้
116
รายงานผลการพัฒนาครงึ่ แผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564
1) ยกเลิกตัวช้ีวดั ในระดบั แผนยทุ ธศาสตร์ให้เป็นการวัดผลระดบั กรม มี 12 ตัวชีว้ ดั ไดแ้ ก่
- ตัวชวี้ ดั มกี ารพฒั นาระบบเครอื ขา่ ยในโรงพยาบาลระดบั A,S,M,F
- ตัวชี้วัด พฒั นาองคค์ วามรู้ในการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองในโรงพยาบาลระดับ
A,S,M,F
- ตัวชว้ี ัด จัดทาคลังเครื่องมือสาหรับการดูแลผู้ป่วยแบบระคับประคองที่บ้านในพื้นที่
รบั ผดิ ชอบโรงพยาบาลระดบั A,S,M,F
- ตัวชี้วดั พัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองที่บ้านในพื้นที่รับผิดชอบของ
โรงพยาบาลระดบั A,S,M,F
- ตัวชว้ี ัด ตัวชี้วัด จัดตั้ง Heart Failure Clinic ในทุกโรงพยาบาล โดยเป็นแบบ
สหวิชาชีพและผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวที่หัวใจกล้ามเน้ือบีบตัวอ่อน ได้รับยาท่ี
เหมาะสม
- ตัวชว้ี ดั จัดตัง้ Anticoagulant Clinic ในทกุ โรงพยาบาล โดยเป็นแบบสหวิชาชีพและ
ผปู้ ว่ ยหวั ใจเตน้ ผดิ จังหวะต้องได้รบั ยาต้านการแขง็ ตัวของเลือด
- ตัวช้วี ดั มีการประชาสัมพันธ์ "Heart Attack Alert" Campaign เพ่ือให้ผู้ป่วยที่มี
อาการมาถงึ โรงพยาบาลได้เรว็ ภายใน 12 ชัว่ โมง
- ตัวชีว้ ดั ผปู้ ่วยไม่ฉุกเฉนิ มาใชบ้ ริการห้องฉกุ เฉิน
- ตัวชว้ี ัด จังหวดั ท่ดี าเนนิ การผา่ นเกณฑ์ Community-Based EMS
- ตวั ชวี้ ัด ระดบั ความสาเร็จในการพัฒนาข้อมูลและสารสนเทศ ECS
- ตวั ชี้วดั ระดบั ความสาเร็จ ECS Value-based Payment
- ตวั ชี้วดั ระดบั ความสาเร็จการกาหนดมาตรฐานอาคารสถานท่ีหอ้ งฉกุ เฉนิ
2) ปรบั เปลี่ยนตัวชีว้ ัด มี 5 ตวั ช้วี ดั ดังน้ี
- ตัวชี้วดั การพัฒนา OPIOIDS MODEL ใน รพ. ระดับ A,S,M,F ควรปรับเปล่ียนให้
เป็นการวัดในผู้ป่วยประคับประคองระยะท้ายท่ีได้รับยาบรรเทาอาการปวด
และจดั การอาการตา่ งๆ ดว้ ย OPIOIDS
- ตวั ช้วี ดั อัตราส่วนของจานวนผู้ยินยอมบริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตาย (acutual
deceased donor) ต่อจานวนผูป้ ว่ ยเสียชีวิตในโรงพยาบาล ควรปรับเปล่ียน
ตัวช้ีวัดเป็นการวัดผู้ป่วยท่ีได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะในโรงพยาบาลสังกัด
กระทรวงสาธารณสุข
- ตัวชี้วดั โรงพยาบาลระดับ M และ F สามารถให้บริการ IMC ในรูปแบบต่างๆ
(variety of care)
- ตวั ชว้ี ัด ลดการกลับเขา้ รักษาในโรงพยาบาลซ้าโดยไม่จาเปน็ ได้
- ตัวชว้ี ัด หน่วยบริการ IMC มีระบบติดตามประเมินผลและเช่ือมโยงแผนการรักษากับ
ระบบบริการสุขภาพทุกระดับ ควรปรับเปลี่ยนตัวช้ีวัดเป็น ผู้ป่วยที่ได้รับการ
ดูแลระยะกลางในโรงพยาบาลระดับ M และ F
117
รายงานผลการพัฒนาครงึ่ แผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560-2564
3) เพมิ่ การวดั ผล มี 3 ตวั ชว้ี ดั ดังนี้
- ตวั ชี้วัด มคี ลนิ ิกหมอครอบครวั ท่เี ปดิ ดาเนินการในพื้นที่ ควรเพิ่มการวัดอัตราการมาใช้
บริการคลินิกหมอครอบครัวของประชาชนและอัตราการลดความแออัดของ
สถานบรกิ ารทตุ ยิ ภมู ขิ ึ้นไป
- ตัวช้ีวัด อัตราการเสียชีวิตจากภาวการณ์ติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด
community acquired และในกลุ่มผู้ป่วย hospital-acquired sepsis ผล
การดาเนินงานมีการวัดเฉพาะการติดเช้ือของผู้ป่วยท่ีมาจากบ้านหรือชุมชน
ควรเพม่ิ การวดั ผลการตดิ เชอื้ ของผปู้ ่วยทรี่ กั ษาในโรงพยาบาล
- ตัวชวี้ ัด จานวนเมืองสมุนไพร ควรเพิ่มการวัดรายได้ของผลิตภัณฑ์สมุนไพรของ
จงั หวัดทเี่ ป็นเมอื งสมุนไพร
5.1.3 ตัวชี้วดั ดา้ นบุคลากรเปน็ เลศิ จานวน 1 ตัวชี้วัดคือ บุคลากรที่ได้รับการพัฒนา
ตามเกณฑ์ท่ีกาหนด ควรยกเลิกตัวชี้วัดตัวชี้วัดใน
มีทั้งหมด 6 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ควรคงไว้ 5 ระดับแผนยุทธศาสตร์ ให้เป็นการวัดผลในระดับ
ตัวช้ีวัด (ร้อยละ 83.3) และยกเลิก 1 ตัวชี้วัด (ร้อยละ หนว่ ยงาน
16.7) มีข้อเสนอเพ่ือการพัฒนาตัวช้ีวัดแผน
ยทุ ธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560-2564
5.1.4 ตวั ชวี้ ดั ดา้ นบรหิ ารเปน็ เลศิ ดว้ ยธรรมาภบิ าล
มีท้ังหมด 24 ตัวชี้วัด ตัวช้ีวัด ควรคงไว้ 22 ตัวช้ีวัด (ร้อยละ 91.7) และยกเลิก 2 ตัวชี้วัด
(ร้อยละ 8.3) มขี ้อเสนอเพ่อื การพัฒนาตวั ชวี้ ดั แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560-2564 ดงั นี้
1) ตัวชี้วัด รพศ./รพท./รพช. แลกเปล่ียน 2) ตัวชี้วัด ร้อยละของงบประมาณด้านการ
ข้อมูลเพ่ือส่ง-รับผู้ป่วยรักษาต่อเนื่อง ควร วิ จั ย แ ล ะ พั ฒ น า ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า 1.5 ข อ ง
ยกเลิกตัวชี้วัด เน่ืองจากเป็นส่วนหน่ึงของการ งบประมาณท้ังหมด ควรยกเลิกตัวชี้วัดในระดับ
พัฒนาโรงพยาบาลท่ีนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ แผนยุทธศาสตร์ ให้เป็นการวัดผลในระดับ
(Smart Hospital) และเสนอให้ใช้ตัวช้ีวัด เขต หน่วยงาน ดังตารางที่ 5.1
สขุ ภาพมีการดาเนินงาน Digital Transformation
เพอ่ื กา้ วสกู่ ารเปน็ Smart Hospital
118