The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มคู่มือ In หลักสูตร 4 ปี (26.5.65)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Meany Wiriyakit, 2022-06-10 03:26:22

เล่มคู่มือ In หลักสูตร 4 ปี (26.5.65)

เล่มคู่มือ In หลักสูตร 4 ปี (26.5.65)

คำนำ

วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มีพันธกิจในการผลิตบัณฑิตครูให้มีความรู้
ทักษะ สมรรถนะ และจิตวิญญาณความเป็นครูสูง เป็นท่ีต้องการของหน่วยงานผู้ผลิตและผู้ใช้ครูทั่วประเทศ
เพ่ือให้พันธกิจหลักของวิทยาลัยการฝึกหัดครูเป็นไปตามเป้าหมาย ทางวิทยาลัยการฝึกหัดครูได้จัดทาคู่มือ
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ตามประกาศและข้อบังคับของคุรุสภา สาหรับนักศึกษาครูช้ันปีท่ี ๔ ท่ีต้องออก
ไปปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา เพื่อให้เข้าใจจุดประสงค์ในจุดประสงค์การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ปฏิบัติงาน
ได้สอดคล้องเหมาะสม รวมทั้งเพื่อให้ ครูพี่เล้ียง ผู้บริหารสถานศึกษา อาจารย์นิเทศก์ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกคน
ใช้เป็นแนวทางในการนิเทศและประเมนิ การปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ

ฝ่ายวิชาการ/ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร หวังเป็น
อย่างยิ่งว่าคู่มือฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์แก่นักศึกษาครู ผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เล้ียง อาจารย์นิเทศก์ และผู้มีส่วน
เกี่ยวขอ้ งทุกคน

คณะผจู้ ดั ทา
ฝ่ายวิชาการ/ฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพครู
วิทยาลยั การฝกึ หัดครู มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนคร

พฤษภาคม 2565

สารบญั

คานา ก
สารบญั ข
บทที่ 1 บทนำ 1
2
จดุ มุ่งหมำยในกำรออกปฏิบตั ิกำรสอนในสถำนศึกษำของครุ ุสภำ 3
จุดมงุ่ หมำยในกำรออกปฏิบตั กิ ำรสอนในสถำนศกึ ษำของวิทยำลยั กำรฝกึ หดั ครู 4
คำอธิบำยรำยวชิ ำ 5
บทท่ี 2 แนวทำงกำรปฏบิ ัติกำรสอนในสถำนศึกษำของนกั ศึกษำ 5
แนวทำงกำรสอนของนักศกึ ษำ 7
ขน้ั ตอนกำรปฏิบตั งิ ำนของฝำ่ ยฝึกประสบกำรณ์วชิ ำชพี ครู 8
กำหนดกำรปฏบิ ัตงิ ำนของฝ่ำยฝกึ ประสบกำรณ์วิชำชพี ครู 9
ขนั้ ตอนกำรปฏิบตั งิ ำนของนักศึกษำ 11
ขอบข่ำยภำระงำนของนักศึกษำปฏบิ ัติกำรสอนในสถำนศึกษำสำขำวิชำเฉพำะ 13
หนำ้ ท่ีและควำมรบั ผดิ ชอบของนักศึกษำ 14
กำรวำงตนสำหรับนกั ศึกษำปฏิบตั กิ ำรสอนในสถำนศึกษำ 16
กำรปฏิบตั ิตนสำหรับนักศกึ ษำปฏบิ ตั ิกำรสอนในสถำนศกึ ษำ 17
บทท่ี 3 คณุ สมบตั ิและบทบำทหนำ้ ทข่ี องบคุ ลำกรผู้เกย่ี วข้อง 17
คณุ สมบตั ิและบทบำทหน้ำท่ีของครพู ่เี ลีย้ ง 17
คุณสมบัติและบทบำทหน้ำที่ของอำจำรย์นเิ ทศก์ 18
คณุ สมบัติและบทบำทหน้ำทข่ี องอำจำรย์ประจำสำขำวิชำ 19
บทท่ี 4 กำรประเมินผลกำรปฏบิ ัตกิ ำรสอนในสถำนศกึ ษำ 19
กำรประเมนิ ผลตำมหลกั สตู ร 20
กำรวดั ผลและประเมินผลกำรเรียน 21
หลกั ฐำนทีใ่ ช้ในกำรประเมินรำยวิชำฝกึ ประสบกำรณใ์ นสถำนศกึ ษำ 22
แนวทำงประเมนิ ผลกำรปฏบิ ตั ิกำรสอนในสถำนศึกษำ

บรรณานุกรรม

ภาคผนวก ก ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา
ภาคผนวก ข รปู แบบการเขยี นโครงการหรือกิจกกรรมเพ่อื พัฒนาผู้เรียนหรือโรงเรียน/โครงงานวิชาการ
ภาคผนวก ค แบบรายงานผลการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา
ภาคผนวก ง แฟ้มสะสมผลงาน
ภาคผนวก จ ตวั อย่างรายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ และการเขียนบทความวิจัย

บทท่ี 1

บทนำ

สมรรถนะทางวิชาชีพครูเปน็ สมรรถนะที่นักศึกษาครูหลักสูตรการผลิตครู 4 ปีทุกคนต้องถูกทดสอบและ
ประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ด้านการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนตามมาตรฐานวิชาชีพครู โดยประเมิน ใน
3 ด้านได้แก่ 1) สมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ 2) สมรรถนะด้านความสัมพันธ์กับผู้ปกครองและชุมชน และ
3) สมรรถนะด้านการปฏิบัติหน้าที่ครู และจรรยาบรรณของวิชาชีพ โดยคะแนนท่ีได้จากการประเมินจะเป็น
คะแนนส่วนหนึง่ ในการขอรับใบประกอบวิชาชีพครู

นอกจากนี้ข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับท่ี 4) พ.ศ.2562 ระบุถึงมาตรฐานความรู้และ
ประสบการณ์วชิ าชีพครู ประกอบดว้ ย 3 มาตรฐาน ได้แก่

1. มาตรฐานด้านความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ จะต้องผ่านการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตาม
หลักสูตรปริญญาทางการศึกษา เป็นเวลาไม่น้อยกว่าหน่ึงปี และผ่านเกณฑ์การประเมินปฏิบัติการสอนตาม
หลกั เกณฑ์ วิธีการ และเงอ่ื นไขท่คี ณะกรรมการครุ ุสภากาหนด ดงั ตอ่ ไปน้ี

1.1 การปฏิบตั วิ ิชาชพี ระหวา่ งเรยี น
1.2 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ
ทั้งน้ีสาระการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน และการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาใน
สาขาวิชาเฉพาะ และสมรรถนะ ประกอบด้วย การปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของผู้ประกอบวิชาชีพครู
และการปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู ซ่ึงประกอบด้วย การปฏิบัติหน้าที่ครู การจัดการเรียนรู้ และ
ความสัมพนั ธ์กับผปู้ กครองชมุ ชน
2. มาตรฐานการปฏิบัติงาน โดยผูป้ ระกอบวิชาชพี ครู ตอ้ งมีมาตรฐานการปฏิบัติงาน ดงั ตอ่ ไปน้ี
2.1 การปฏิบัตหิ น้าท่ีครู

2.1.1 มุ่งมั่นพัฒนาผเู้ รียน ด้วยจติ วญิ ญาณความเปน็ ครู
2.1.2 ประพฤติตนเปน็ แบบอย่างที่ดี มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมีความเปน็ พลเมอื งทเ่ี ข้มแขง็
2.1.3 สง่ เสรมิ การเรียนรู้ เอาใจใส่ และยอมรับความแตกต่างของผเู้ รยี นแตล่ ะบุคคล
2.1.4 สร้างแรงบันดาลใจผ้เู รยี นใหเ้ ปน็ ผ้ใู ฝเ่ รียนรู้ และผ้สู รา้ งนวตั กรรม
2.1.5 พฒั นาตนเองใหม้ ีความรอบรู้ ทันสมัย และทนั ตอ่ การเปล่ยี นแปลง
2.2 การจัดการเรยี นรู้
2.2.1 พัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษา การจดั การเรียนรู้ สือ่ การวัดและการประเมนิ ผลการเรยี นรู้
2.2.2 บรู ณาการความรู้และศาสตร์การสอน ในการวางแผนและจัดการเรียนรู้ ที่สามารถพัฒนา
ผเู้ รยี นใหม้ ปี ญั ญาร้คู ิด และมคี วามเป็นนวตั กร
2.2.3 ดูแลช่วยเหลือและพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลตามศักยภาพ สามารถรายงานผลการ
พฒั นาคุณภาพผเู้ รียนไดอ้ ย่างเป็นระบบ
2.2.4 จัดกิจกรรมและสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียนโดยตระหนัก
ถงึ สุขภาวะของผ้เู รยี น
2.2.5 วิจัยสรา้ งนวัตกรรมและประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทัลให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรขู้ องผู้เรยี น

2

2.2.6 ปฏิบตั ิงานร่วมกับผูอ้ น่ื อยา่ งสร้างสรรค์และมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมการพัฒนาวชิ าชีพ
3.3 ความสมั พนั ธก์ ับผ้ปู กครองและชุมชน

3.3.1 รว่ มมอื กับผู้ปกครองในการพัฒนาและแกป้ ญั หาผู้เรียนใหม้ ีคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์
3.3.2 สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชนเพ่ือสนับสนุนการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ
ของผเู้ รยี น
3.3.3 ศึกษาเขา้ ถึงบริบทของชุมชนและสามารถอย่รู ่วมกันบนพ้ืนฐานความแตกต่างทางวัฒนธรรม
3.3.4 สง่ เสรมิ อนรุ ักษ์วฒั นธรรมและภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น
3. มาตรฐานได้การปฏิบัติตน โดยมาตรฐานด้านความรู้และประสบการณว์ ชิ าชพี ประกอบด้วย
3.1 การเปล่ยี นแปลงบรบิ ทของโลก สงั คม และแนวคดิ ของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3.2 จติ วทิ ยาพัฒนาการ จติ วิทยาการศึกษา และจิตวทิ ยาการใหค้ าปรกึ ษาในการวเิ คราะห์และพัฒนา
ผเู้ รียนตามศักยภาพ
3.3 เนอื้ หาวชิ าที่สอน หลักสตู ร ศาสตร์การสอน และเทคโนโลยีดิจทิ ัลในการจดั การเรียนรู้
3.4 การวดั ประเมนิ ผลการเรียนรู้และการวจิ ัยเพ่ือแกป้ ญั หาและพฒั นาผู้เรียน
3.5 การใชภ้ าษาไทย ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร และการใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการศกึ ษา
3.6 การออกแบบและการดาเนินการเกยี่ วกบั งานประกนั คุณภาพทางการศึกษา

จดุ มุ่งหมำยในกำรปฏบิ ตั กิ ำรสอนในสถำนศึกษำของคุรุสภำ

การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาสาหรับนักศึกษาในหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร 4 ปี)
เป็นวิธีการและเวทีท่ีจะบ่มเพาะความเป็นครูอย่างแท้จริงให้กับนักศึกษา โดยนักศึกษาจะได้นาความรู้ทั้ง
ภาคทฤษฎแี ละปฏบิ ัตทิ ี่ได้ศึกษาตามตามโครงสร้างหลกั สูตรทผ่ี ่านการรับรองโดยคุรุสภา มาถา่ ยทอดให้กบั ผู้เรียน
ผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีตนเองเลือกและกาหนดอยา่ งเป็นระบบ ภายใต้คาแนะนาอย่างใกลช้ ิดจากครูพ่ีเลี้ยง
และอาจารยน์ เิ ทศก์ นอกจากน้นั นกั ศกึ ษาจะได้เรยี นรู้เกีย่ วกับการแก้ปญั หาในชนั้ เรยี น ตลอดจนไดเ้ รียนรู้ การใช้
ชีวติ รว่ มกบั บคุ ลากรในสถานศึกษาด้วย

ในมาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ นักศึกษาจะต้องใช้ความรู้ตามมาตรฐานความรู้ท้ัง 6 ด้านไปปฏิบัติ
การสอนในสถานศึกษาตามหลักสูตรปริญญาทางการศึกษาเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 ภาคเรียน และผ่านเกณฑ์
การประเมิน ปฏิบัติการสอนตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการคุรุสภากาหนด ได้แก่ การฝึก
ปฏบิ ัติวิชาชีพระหว่างเรียน และการปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศึกษาในสาขาวชิ าเฉพาะตามมาตรฐานการปฏบิ ัติงานและ
มาตรฐาน การปฏิบัติตน ซ่ึงหมายถึง มำตรฐำนควำมรู้และประสบกำรณ์วิชำชีพ นักศึกษาต้องผ่านข้อกาหนด
เกีย่ วกับความรู้และประสบการณใ์ นการจัดการเรียนรู้ หรอื การจดั การศึกษาซง่ึ ผู้ต้องการประกอบวชิ าชีพทางการ
ศึกษาต้องมีเพียงพอท่ีสามารถนาไปใช้ในการประกอบวิชาชีพได้ มำตรฐำนกำรปฏิบัติงำน นักศึกษาต้องผ่าน
ข้อกาหนด เกี่ยวกับคุณลักษณะหรือการแสดงพฤติกรรมการปฏิบัติงานและการพัฒนางาน ซ่ึงผู้ประกอบวิชาชีพ
ทางการศึกษา ตอ้ งปฏิบตั ิตามเพ่ือให้เกิดผลตามวตั ถปุ ระสงค์และเป้าหมายการเรยี นรู้ หรอื การจดั การศึกษา รวมทั้ง
ต้องฝึกฝน ให้มที กั ษะหรอื ความชานาญสงู ขึ้นอย่างต่อเนื่อง มำตรฐำนกำรปฏบิ ตั ติ น นักศกึ ษาต้องมจี รรยาบรรณ
ของวชิ าชพี ทกี่ าหนดขึ้นเป็นแบบแผนในการประพฤติตนซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องปฏบิ ตั ิตามเพื่อรักษา

3

และส่งเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียง และฐานะของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาให้เป็นท่ีเช่ือถือศรัทธาแก่ผู้รับ
บรกิ ารและสงั คมอันจะนามาซงึ่ เกียรตแิ ละศกั ด์ิศรแี หง่ วิชาชีพ

สถานศึกษาที่รับนักศึกษาไปปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ จะได้รับประโยชน์ร่วมกัน
โดยเฉพาะการสร้างบุคลากรทางการศึกษาที่สามารถช่วยสอนในรา ยวิชาที่สถานศึกษายังขาดแคลนบุคลากร
ตลอดปีการศึกษา และพัฒนาการวิจัยโดยเกิดความร่วมมือในการทาวิจัยเพ่ือพัฒนาผู้เรียน ซ่ึงนักศึกษาปฏิบัติ
การสอนเป็นผู้วิจัย และสื่อกลางในการประสานงานเพ่ือให้ได้นวัตกรรมท่ีเกิดขึ้นจากงานวิจัยเพ่ือพัฒนาผู้เรียน
ของนักศกึ ษาปฏิบตั ิการสอนไปใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ของสถานศกึ ษา

จดุ ม่งุ หมำยในกำรปฏิบัติกำรสอนในสถำนศึกษำของวทิ ยำลัยกำรฝึกหัดครู

วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ได้จัดการเรียนการสอนท้ังภาคทฤษฎีและ
ภาคปฏิบัติให้นักศึกษาครุศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร 4 ปี) ได้เรียนทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน โดยกาหนด
นักศึกษาได้ ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาหมวดวิชาชีพครูและเข้าร่วมอบรมสัมมนา ตลอดจนเข้าร่วมกิจกรรมท่ี
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครจัดให้ตั้งแต่ชั้นปี 1 – ชั้นปี 3 ซ่ึงนักศึกษาต้องผ่านการเรียนรายวิชาต่างๆ ที่สอดคล้อง
กับรายวิชาชีพครู และปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในชั้นปีที่ 4 เพ่ือให้เป็นไปตามข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วย
มาตรฐานวชิ าชีพ พ.ศ. 2556 และจดุ มุ่งหมายของวิทยาลัยการฝกึ หดั ครู ดงั นี้

1. เพื่อให้นักศึกษาได้นาเอาความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติที่ได้เรียนมา ไปทดลองปฏิบัติจริง และ
ปรับปรุงใหเ้ หมาะสมกบั ผู้เรยี น และปญั หาทเี่ กดิ ข้ึน

2. เพ่ือให้นักศึกษาได้เรียนรู้การบริหารจัดการศึกษาและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของสถานศึกษา
ปฏิบัติการวิชาชีพครูที่ไปปฏิบัติการสอน ตลอดจนเรียนรู้ปัญหาและวิธีการในการแก้ปัญหาและการพัฒนา
นักเรยี นในทกุ ด้าน

3. เพือ่ ให้นักศกึ ษาได้เรยี นรวู้ ิธีการปรบั ตัวเขา้ กับสังคมในฐานะที่เป็นครู การทางานรว่ มกับผู้อื่น และการ
สร้างความสัมพันธท์ ดี่ กี บั ผเู้ รยี น คณาจารย์ และบุคลากรอ่นื ๆ ในสถานศกึ ษาฝึกปฏิบตั ิการวชิ าชีพครู

4. เพื่อให้นักศึกษาเรยี นรู้วิธกี ารวางแผนการทางานและมีความรับผดิ ชอบในหนา้ ที่ที่ไดร้ บั มอบหมายโดย
เน้นการปฏิบัติการสอนสาขาวิชาเอก/วิชาเฉพาะหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาเอก นอกจากรับผิดชอบในหน้าท่ีการ
สอบแล้วต้องทาหน้าที่อื่นๆท่ีเก่ียวข้องกับการเรียนการสอน เช่น การมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร การวิจัย
เพ่ือพฒั นาการเรียนรู้ การทาหน้าที่สนับสนนุ ดา้ นการเรียนการสอนภายใต้ การดูแลของครูพ่เี ลย้ี ง

4
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ

1002101 กำรปฏบิ ัตกิ ำรสอนในสถำนศกึ ษำในสำขำวิชำเฉพำะ 1

School Internship 1

การปฏิบัติการสอนวิชาเอกในสถานศึกษาที่ได้รับการรับรองจากกระทรวงศึกษาธิการและคุรุสภา

ประยุกต์ใช้ความรู้โดยเน้นการบูรณาการการสอนในสถานศึกษา ปฏิบัติงานในหน้าท่ีครู ประพฤติตนเป็น

แบบอย่างที่ดีมีคุณธรรมและจริยธรรมตามจรรยาบรรณวิชาชีพ ออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้เรียนมี

ความสุขเกิดกระบวนการคิดข้ันสูง การวัดและประเมินผล และนาผลไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน การเลือกใช้และ

ผลิตสื่อนวัตกรรมท่ีสอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ บูรณาการบริบทชุมชนเข้ากับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งใน

และนอกห้องเรียน สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชนในการพัฒนาและแก้ปัญหาผู้เรียนให้มี

คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ด้วยกระบวนการวิจัยทสี่ ่งเสริมใหเ้ กิดความก้าวหน้าทางวิชาชีพ ในข้ันตอนเสนอโครงร่าง

และจัดเก็บข้อมูลงานวิจัย จัดทาโครงการท่ีเก่ียวข้องกับการส่งเสริม อนรุ ักษว์ ฒั นธรรม และภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่นและ

จัดทารายงานผลการจัดการเรียนรู้และพัฒนาผู้เรียนในสถานศึกษาไปประเมินสะท้อนกลับ (AAR) เป็นรายบุคคล

และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) เป็นระยะอย่างต่อเน่ือง เพื่อนาไปใช้ใน

การพฒั นาตนเองให้มีความรอบรู้ ทนั สมัยและทันต่อการเปล่ยี นแปลง

1002102 กำรปฏิบตั ิกำรสอนในสถำนศกึ ษำในสำขำวิชำเฉพำะ 2

School Internship 2

การปฏบิ ตั ิการสอนวิชาเอกในสถานศกึ ษาที่ไดร้ บั การรับรองจากกระทรวงศกึ ษาธิการและคุรุสภา

(ต่อเนอ่ื ง) ปฏบิ ตั งิ านในหนา้ ท่ีครู ประพฤตติ นเป็นแบบอย่างท่ีดมี คี ณุ ธรรมและจริยธรรมตามจรรยาบรรณ

วิชาชีพ ออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีความสุข เกิดกระบวนการคิดข้ันสูงการวัดและ

ประเมินผล และนาผลไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน และนาไปสู่การเป็นนวัตกร โดยออกแบบนวัตกรรมทาง

การศึกษาที่ทันสมัย บูรณาการบริบทชุมชนเข้ากับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน

สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชนในการพัฒนาและแก้ปัญหาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะท่ี

พึงประสงค์ด้วยกระบวนการวิจัยท่ีถูกต้องตามระเบียบวิธีวิจัย (ต่อเน่ือง) การเขียนรายงานการวิจัย และ

การนาเสนอผลการวิจัย สะท้อนผลการเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นกับตนเองได้อย่างชัดเจน จากการเข้าร่วม

กจิ กรรมทีส่ ง่ เสรมิ ให้เกดิ ความก้าวหนา้ ทางวิชาชีพ โครงการท่เี กย่ี วข้องกับการสง่ เสริม อนุรักษว์ ัฒนธรรม

และภูมิปัญญาท้องถิ่นและนาผลจากการเรียนรู้ในสถานศึกษาไปประเมินสะท้อนกลับ (AAR) เป็น

รายบุคคลและร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกันในรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) เป็นระยะอย่าง

ตอ่ เน่ือง เพ่อื นาไปใชใ้ นการพฒั นาตนเองใหม้ ีความรอบรู้ ทันสมยั และทันตอ่ การเปลยี่ นแปลง

บทท่ี 2

แนวทางการปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศึกษาของนกั ศึกษา

นักศึกษาต้องปฏิบัติการสอน ตามข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556 ประกาศ
คณะกรรมการคุรุสภาเรื่อง สาระความรู้ สมรรถนะและประสบการณ์วิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพครู ผู้บริหาร
สถานศึกษาผู้บริหารการศึกษา และศึกษานิเทศก์ ตามข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวชิ าชพี พ.ศ. 2556 และ
ข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วย จรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2556 ในตาแหน่ง “ผู้ประกอบวิชาชีพครู” โดยนักศึกษาท่ี
จะไปปฏิบตั ิการสอนในสถานศกึ ษาในสาขาวชิ าเฉพาะ ต้องมคี ณุ สมบตั ิ ดงั นี้

1. ต้องเป็นนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร 4 ปี) วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัย
ราชภฏั พระนคร ชน้ั ปีท่ี 4

2. ต้องสอบผ่านรายวิชาในรายวิชาเอกที่จาเป็นสาหรับการออกปฏิบัติการสอนในวิชาเฉพาะตามแผนการ
ศึกษาในหลักสูตร และไม่อนุญาตให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียน วิชาอ่นื ใดนอกเหนือจากรายวิชาการปฏิบัติการสอน
ในสถานศึกษาในสาขาวชิ าเฉพาะ (School Internship)

แนวปฏิบัติการสอนของนกั ศึกษา

เพื่อให้สอดคล้องกับประกาศคุรุสภา เรื่อง การรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรทางการศึกษา เพ่ือ
การประกอบวิชาชีพ พ.ศ. 2557 วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ได้กาหนดแนวปฏิบัติของ
นกั ศกึ ษาเพ่ือการประกอบวชิ าชีพครูไว้ ดงั ต่อไปน้ี

1. นักศึกษาต้องปฏิบัติการสอนตามข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556 ในตาแหน่ง
“ผู้ประกอบวชิ าชีพครู” ดงั รายละเอียดในภาคผนวก ก

2. นักศึกษาต้องแสดงหลักฐานผลของการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามประกาศคณะกรรมการคุรุ
สภาเร่ือง สาระความรู้ สมรรถนะและประสบการณ์วิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึ กษา
ผู้บริหารการศึกษา และศึกษานิเทศก์ ตามข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556 ในตาแหน่ง
“ผปู้ ระกอบวชิ าชีพครู” ดงั รายละเอียดในภาคผนวก ก

3. นักศกึ ษาตอ้ งปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษาท่ีได้รบั การรับรองมาตรฐานจากกระทรวงศึกษาธิการ เปน็
ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ภาคการศึกษา โดยปฏิบัติหน้าที่เป็น “ครูผู้สอน” กรณีที่นักศึกษา ไม่สามารถ
ปฏบิ ัตกิ ารสอนได้ให้นกั ศึกษาลงทะเบยี นซ้าในภาคการศึกษาถดั ไป

4. นักศึกษาต้องทาวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน โดยนาเอาปัญหาท่ีได้จากการสอนมาใช้เป็น
แนวทางในการกาหนดโครงร่างการวจิ ัยในรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวชิ าเฉพาะ (School
Internship) และจดั ทารายงานการวิจยั เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน

กรณีที่นักศึกษาเปล่ียนสถานศึกษาในการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ (School
Internship) นกั ศกึ ษาต้องดาเนินการการวิจัยเพื่อพฒั นาการเรียนการสอน โดยคานงึ ถงึ ปญั หาท่ีเกิดกับนักเรียนท่ี
สอนในสถานศึกษาใหม่ โดยอาจจะใช้โครงร่างวิจัยเดิมท่ีเขียนไว้มาปรับปรุงในส่วนของความเป็นมาและ
ความสาคัญของปัญหา ขอบเขตการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ท้ังน้ีต้องมีหลักฐานที่ผ่านการพิจารณา
เห็นชอบเป็นลายลักษณ์อักษรจากครูพี่เล้ียง อาจารย์นิเทศก์ และอาจารย์ประจาสาขาวิชาว่าให้ใช้โครงร่างการ
วิจัยเดมิ มาใช้ดาเนนิ การวิจัยใชไ้ ด้

6

5. นักศึกษาต้องมีหลักฐานที่แสดงการเข้าร่วมกิจกรรมครบตามเกณฑ์ท่ีกาหนดและผ่านการประเมิน
ท้ังนี้นักศึกษาต้องทารายงานสรุปกิจกรรมที่ตนเองปฏิบัติที่ได้รับมอบหมายและนอกเหนือจาก ภาระงานสอน
พร้อมหลักฐานตามมาตรฐานบัณฑิต ได้แก่ (1) ความรู้ (2) การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา (3) การปฏิบัติตน
และ (4) การพัฒนาคณุ ลักษณะความเป็นครู

6. นักศึกษาต้องปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในรายวิชาทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติท่ีเป็นวิชาเฉพาะของ
ตนเองอย่างน้อย 1 รายวิชา และ ไม่เกิน 2 รายวิชา ซ่ึงมีผลรวมของเวลาในการปฏิบัติการสอนอย่างน้อย 8
ชั่วโมงต่อสัปดาห์ แต่ไม่เกิน 12 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ รวมไม่น้อยกว่า 120
ช่ัวโมงต่อภาคการศึกษา และมีเวลาเตรียมสอน ตรวจงาน และการปฏิบัติงานอ่ืนที่สถานศึกษามอบหมายให้
ปฏิบัติไม่ว่าจะเป็นการปฏิบัติในสถานศึกษาหรือนอกสถานศึกษาก็ตามโดยการรับรู้และการนิเทศของครูพี่เลี้ยง
และอาจารย์นเิ ทศกข์ องสถาบนั ไม่นอ้ ยกวา่ ภาคการศกึ ษาละ 120 ช่วั โมง

7. นักศึกษาต้องปฏิบัติการสอนและปฏิบัติหน้าที่อ่ืนๆ ท่ีได้รับหมอบหมาย โดยต้องอยู่ประจา
ณ สถานศกึ ษาในเวลาราชการ สัปดาห์ละไมต่ า่ กวา่ 5 วันทาการ และตอ้ งมีเวลาปฏิบัติงานไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80
ของเวลาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาทั้งหมด นับตั้งแต่วันท่ีประกาศ และรวบรวมหลักฐานการปฏิบัติงาน ณ
สถานศกึ ษาตาม “สมุดลงเวลาสาหรับนักศกึ ษาปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศกึ ษา”

8. นกั ศกึ ษาตอ้ งพบคณาจารย์และเขา้ รว่ มสัมมนาการศึกษากับคณาจารยแ์ ละเพอื่ นนักศึกษา โดยใช้
วธิ ีการแบบใดแบบหนึ่งหรือแบบผสมผสานหลากหลายรปู แบบ ผา่ นเทคโนลีการสือ่ สารหรอื เทคโนโลยดี ิจทิ ัล
ต่างๆ หรือแบบตัวต่อตัวท่ีมหี ลกั ฐานเชงิ ประจักษ์แสดงให้เหน็ ถงึ กระบวนการแลกเปลีย่ นเรยี นรูร้ ะหว่างคณาจารย์
ครูพี่เลี้ยง และนักศึกษา เพอื่ พฒั นาการฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารสอนของนักศึกษาท่เี ป็นระบบและมีความนา่ เชื่อถือได้ไม่
น้อยกว่า 15 ชวั่ โมงตอ่ ภาคการศกึ ษา

9. นักศึกษาต้องได้รับประเมนิ ผลการฝกึ ปฏิบัติวชิ าชีพระหวา่ งเรียนและการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา
อย่างเป็นระบบ

10. นักศึกษาตอ้ งมีการปฏิบตั ิตนท่ีเหมาะสมกับความเป็นครูและผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา โดยมี
ผลการรบั รองความประพฤตจิ ากมหาวิทยาลยั

11. นักศึกษาต้องมีรายงานผลการผ่านเกณฑ์การประเมนิ การปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศึกษาตามมาตรฐาน
ประสบการณ์วชิ าชพี ครทู ่ีครุ สุ ภากาหนด ไดแ้ ก่

11.1 สามารถจัดการเรียนรูใ้ นสาขาวชิ าเฉพาะ
11.2 สามารถประเมนิ ปรับปรงุ และพฒั นาการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกบั ศักยภาพของผเู้ รียน
11.3 สามารถทาวจิ ัยเพอ่ื พัฒนาผเู้ รยี น
11.4 สามารถจัดทารายงานผลการจดั การเรยี นรูแ้ ละพัฒนาผู้เรยี น

7

ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั งิ านของฝา่ ยฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ครู

1. จดั ทาตารางกาหนดการปฎิทนิ การฝึกปฏิบตั ิการสอนในสถานศกึ ษาในสาขาวิชาเฉพาะ
2. สารวจความต้องการรับนักศึกษาฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ โดยส่งหนังสือ
ไปยงั โรงเรยี นเครือข่ายฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพครู
3. จัดสมั มนาเชงิ ปฏบิ ัติการ เร่ือง แนวทางการนเิ ทศนักศึกษาฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพครูของครูพี่เล้ยี ง
อาจารย์นิเทศ และผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
4. ประชาสัมพันธเ์ รื่องบันทึกข้อตกลงทางวชิ าการ MOU กับโรงเรียนเครือขา่ ยฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพครู
5. ส่งสรุปรายชื่อสถานศึกษาและจานวนนักศึกษาของแต่ละสถานศึกษาที่รับนักศึกษาในแต่ละปี
การศึกษาให้กับสาขา
6. จัดทาหนังสือส่งตัวนักศึกษาและคาสั่งแต่งต้ังอาจารย์นิเทศก์ ของนักศึกษาฝึกปฏิบัติการสอนใน
สถานศกึ ษาในสาขาวชิ าเฉพาะ
7. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เร่ือง การจัดทาคู่มือและเครื่องมือติดตามประเมินผลการฝึกประสบการณ์
วชิ าชีพครู (Practicum และ School Internship I และ II)
8. จดั การปฐมนเิ ทศนักศกึ ษาฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศึกษาในสาขาวชิ าเฉพาะ
9. จดั ทาหนังสอื เรียกตัวนักศึกษากลับมาเพ่อื สัมมนากลางภาค
10. จดั สมั มนาปลายภาคนักศกึ ษาฝกึ ปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศึกษาในสาขาวชิ าเฉพาะ
11. จดั ทาหนังสือเรยี กตัวนักศึกษากลับมาเพ่อื สัมมนากลางภาค
12. จัดสัมมนาปลายภาคนักศึกษาฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะในหัวข้อการ
เตรียมตัวเพ่ือสอบบรรจุครู การอบรมคุณธรรมจริยธรรม พิธีครุสิทธิ์ และนาเสนอปัญหา ประโยชน์ท่ีได้จากการ
ออกฝกึ ปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษาในสาขาวิชาเฉพาะ (นาเสนอสาขาละ 15 นาท)ี
13. จัดทารายงานและสรปุ ผลการดาเนนิ งานเสนอผูบ้ รหิ าร

8
กาหนดการปฏิบตั งิ านของฝ่ายฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพครู

รายละเอียด ผู้รับผิดชอบ ชว่ งเวลา

จัดทาตารางกาหนดการปฎิทินการฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศึกษาฯ ฝ่ายฝกึ ฯ พฤศจิกายน

สารวจความต้องการรบั นักศึกษาฝกึ ปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษาใน ฝ่ายฝกึ ฯ พฤศจิกายน
สาขาวิชาเฉพาะ โดยสง่ หนังสือไปยงั โรงเรียนเครือข่ายฝึกประสบการณ์

ประชาสมั พันธ์เรอื่ งบนั ทึกข้อตกลงทางวชิ าการ MOUกบั โรงเรยี น ฝา่ ยฝึกฯ ธนั วาคม
เครือข่ายฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ครู

ส่งสรปุ รายชอื่ สถานศกึ ษาและจานวนนักศึกษาของแต่ละ ฝ่ายฝึกฯ มกราคม
สถานศึกษาที่รับนักศกึ ษาในแต่ละปกี ารศึกษาใหก้ บั สาขา

สาขาส่งสรปุ รายชอื่ นักศกึ ษา สถานศึกษา และรายชื่ออาจารย์นิเทศ สาขาวชิ า กมุ ภาพันธ์
ให้กบั ฝา่ ยฝกึ ฯ

จดั ทาหนงั สอื สง่ ตัวนักศกึ ษาและคาส่งั แต่งตัง้ อาจารยน์ เิ ทศก์ ของ ฝา่ ยฝึกฯ กมุ ภาพันธ์
นกั ศึกษาฝกึ ปฏิบตั ิการสอนในสถานศกึ ษาในสาขาวชิ าเฉพาะ

รับหนังสอื สง่ ตัวและประสานกับสถานศึกษาทไี่ ด้ฝึกประสบการณฯ์ นักศึกษา มีนาคม

จัดประชุมเชิงปฏบิ ตั กิ าร เรื่อง การจัดทาคู่มือและเคร่ืองมือติดตาม ฝ่ายฝกึ ฯ / สาขาวชิ า เมษายน
ประเมินผลการฝึกประสบการณว์ ิชาชีพครู (School Internship)

จัดการปฐมนเิ ทศนกั ศึกษาฝึกปฏบิ ัติการสอนในสถานศกึ ษาฯ ฝ่ายฝกึ ฯ/สาขาวิชา ปลายเมษายน

จดั สมั มนาเชงิ ปฏิบตั กิ าร เร่ือง แนวทางการนเิ ทศนักศึกษาฝกึ

ประสบการณว์ ชิ าชพี ครูสาหรับครูพีเ่ ลีย้ ง อาจารยน์ ิเทศก์ และ ฝา่ ยฝึกฯ ปลายเมษายน

ผู้บริหารสถานศึกษา

นกั ศึกษาออกฝกึ ปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ นกั ศึกษา/อ.นเิ ทศก์ พฤษภาคม - กันยายน

จดั ทาหนังสือเรียกตวั นกั ศึกษากลบั มาเพื่อสมั มนากลางภาค ฝ่ายฝึกฯ/สาขาวิชา มถิ ุนายน/กรกฎาคม

ส่งแบบประเมนิ แฟ้มสะสมผลงาน และรายงานการวจิ ัย นักศกึ ษา 1 อาทิตย์ก่อนวนั สน้ิ สดุ
การออกฝึกฯ

สง่ แบบบันทึกลงเวลาเข้าปฏิบตั ิงานในสถานศึกษา นักศกึ ษา ภายใน 1 สัปดาห์หลงั
จากส้ินสุดการออกฝึกฯ

สง่ เกรด ออนไลน์ สาขาวิชา ตามประกาศมหาวิทยาลัย

จดั สัมมนาปลายภาคนกั ศึกษาฝกึ ปฏบิ ัติการสอนในสถานศึกษาใน ฝ่ายฝกึ ฯ/สาขาวชิ า

สาขาวชิ าเฉพาะ

1. การเตรียมตวั เพื่อสอบบรรจุครู วันสนิ้ สดุ การออกฝึกฯ
2. การอบรมคณุ ธรรมจริยธรรม (กันยายน)
3. พธิ คี รุสิทธิ์

4. การนาเสนอปัญหา ประโยชนท์ ่ีไดจ้ ากการออกฝกึ ปฏบิ ตั ิการ

สอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ (นาเสนอสาขาละ 15 นาท)ี

9

ขนั้ ตอนการปฏบิ ัติงานของนักศึกษา

ก่อนการปฏิบัตกิ ารสอน
นักศึกษาตอ้ งดาเนินการดังนี้
1. ติดต่อหารือกับอาจารย์ผู้ประสานงานวิชาการปฏิบัติการสอนของสาขาวิชา เพื่อพิจารณา

สถานศึกษาท่ีจะไปปฏิบัติการสอน โดยต้องเป็นสถานศึกษาที่ได้รับการรบั รองมาตรฐานจากกระทรวงศึกษาธิการกับ
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครเท่านั้น นักศึกษาสามารถตรวจสอบสถานศึกษาที่จะไปปฏิบัติการสอนใน
สถานศกึ ษาในสาขาวิชาเฉพาะได้ท่ฝี า่ ยฝึกฯ

2. แจ้งรายชื่อสถานศึกษาท่ีจะไปปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ ที่ฝ่ายฝึกฯ
ก่อนวนั เปิดภาคเรยี นของสถานศกึ ษาท่ีนกั ศึกษาปฏิบตั ิการสอน 1 เดอื น

3. เข้าร่วมปฐมนิเทศเพ่ือรับฟังแนวทางการปฏิบัติและประเมินผลรายวิชาการปฏิบัติการสอน ใน
สถานศึกษาในสาขาวชิ าเฉพาะ และรบั เอกสารค่มู ือรายวชิ าการปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ

4. เลือกตวั แทนนักศกึ ษาเป็นผ้ปู ระสานงานของแตส่ ถานศึกษา แล้วประสานงานกบั ฝา่ ยฝึกฯ
5. นักศกึ ษาผู้ประสานงานสถานศกึ ษาติดตอ่ ขอรับเอกสารรายงานตวั ท่ีฝ่ายฝกึ ฯ โดยนกั ศึกษาทกุ คนต้อง
สง่ มอบในวันรายงานตวั ต่อสถานศกึ ษาตามวันและเวลาที่สถานศึกษากาหนด
6. เขียนแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา และแผนการจัดการเรียนรู้รายสัปดาห์ ในรายวิชาท่ีได้รับ
มอบหมาย เพ่ือให้ครูพี่เล้ียงและอาจารย์นิเทศก์เพื่อตรวจสอบความถูกต้องล่วงหน้าก่อนวันไปปฏิบัติการสอนใน
สาขาวิชาเฉพาะอย่างน้อย 1 สัปดาห์
7. นัดหมายการไปรายงายตัวท่ีสถานศึกษาแล้วแจง้ อาจารยผ์ ู้ประสานสาขาวิชาและอาจารย์นิเทศก์ ให้
ทราบ และใหไ้ ปสง่ นักศึกษารายงานตัวตอ่ สถานศึกษา

ระหว่างการปฏิบตั ิการสอน
ระหว่างการปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศกึ ษาในสาขาวชิ าเฉพาะ นักศกึ ษาต้องปฏบิ ตั ิ ดังนี้
1. รายงานตัวกับผู้บริหารสถานศึกษาและรับการปฐมนิเทศจากผู้บริหารสถานศึกษาในครั้งแรกที่เข้า

สถานศกึ ษา หากเปน็ ไปไดใ้ หร้ ายงานตวั พร้อมกนั เปน็ กลมุ่ โดยมอี าจารยน์ เิ ทศรว่ มดว้ ย
2. ดาเนินการสอนให้ครบทุกหน่วยการเรียน ตามท่ีได้กาหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ จนเสร็จ

สมบูรณ์ และเป็นไปตามระยะเวลาที่กาหนดของสถานศึกษา และดาเนินงานที่ได้รับมอบหมายต่างๆ ท่ีจะต้อง
ปฏิบัติในระหวา่ งการปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศึกษาภาคปฏิบัตงิ านต่าง ๆ ได้แก่

2.1 งานฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามลักษณะวิชาเอก สัปดาห์ละประมาณ 8 - 12 ชั่วโมง
นักศึกษาจะต้องตรวจการบ้าน งานมอบหมายอื่นๆ และจะต้องส่งคืนให้แก่นักเรียนจนเรียบร้อย รวมทั้ง จะต้อง
ดาเนิน ประเมนิ ผลในรายวชิ าทร่ี ับผิดชอบใหเ้ รยี บรอ้ ย

2.2 ฝึกทางานในหน้าท่ีครูประจาชั้นและงานธุรการชั้นเรียน เช่น ทาบัญชีเรียกชื่อ สมุดประจาชั้น
ตรวจสุขภาพนักเรียน และจัดชั้นเรยี น เป็นตน้

2.3 ทาแผนการจัดการเรียนรู้ตามรายวชิ าทต่ี ้องสอน โดยทาลว่ งหนา้ อย่างน้อย 1 สปั ดาห์ และต้อง
ส่งให้ครูพ่ีเล้ียงตรวจก่อนนาไปใช้สอน ทั้งนี้รูปแบบของแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาท่ีได้รับมอบหมาย ให้สอน
กาหนดให้ใช้รูปแบบของวิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร หรือตามที่อาจารย์นิเทศก์ และครูพี่
เล้ียงเห็นสมควร

10

2.4 ผลติ สอ่ื การสอนสาหรับใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน
2.5 ดาเนินการและจัดทาสรุปโครงการพัฒนาสถานศึกษาหรือพัฒนานักเรียนฝ่ายฝึกประสบการณ์
วิชาชีพครู จานวน 1 โครงการท่ีบูรณาการกับชุมชน ท้องถิ่น โดยเป็นโครงการใหม่หรือโครงการต่อเน่ืองท่ีผ่านความ
เห็นชอบของผู้บริหารสถานศึกษา ในภาคเรียนท่ี 1 หรือ 2 ท้ังนี้ นักศึกษาสามารถร่วมมือดาเนินกิจกรรมและ
รายงานโครงการดงั กลา่ วร่วมกันได้ แตต่ อ้ งแยกรายงานสง่ แกอ่ าจารยน์ เิ ทศเปน็ รายบุคคล
2.6 จัดทาร่างโครงการวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้เพื่อแก้ไขปัญหาด้านการเรียนการสอนคนละ 1
โครงการ
2.7 ประชุมสมาชิกในหน่วยฝึกการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา เพื่อแลกเปล่ียนประสบการณ์ และ
แก้ไขปัญหาที่พบในขณะท่ีปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาพร้อมท้ังบันทึกการประชุมไว้ทุกครั้งแล้ว นาผลของการ
ประชมุ เสนอตอ่ ครพู ่เี ลย้ี งโดยผา่ นผบู้ รหิ ารสถานศึกษา และอาจารย์นิเทศก์จากวทิ ยาลัยการฝกึ หดั ครู
2.8 ทาบนั ทกึ กจิ กรรมประจาวนั โดยบนั ทกึ งานต่างๆ ที่นกั ศึกษาทาในแตล่ ะวันไวอ้ ย่างละเอยี ด
2.9 เข้าร่วมกิจกรรมตา่ ง ๆ ของสถานศกึ ษาหรือชมุ ชนอย่างสมา่ เสมอ
3. เขา้ รว่ มกิจกรรมท่ีฝ่ายฝึกฯกาหนด
4. เขา้ รบั การนเิ ทศ ปรับปรงุ แก้ไข และพัฒนางานต่างๆ ตามคาแนะนาของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา
ครพู ่ีเล้ียงอยา่ งสมา่ เสมอ และ อาจารยน์ ิเทศก์จากมหาวิทยาลัยอย่างนอ้ ย 1 ครัง้
5. นักศึกษาต้องดาเนินการสอนให้ครบทุกหน่วยการเรียน ตามที่ได้กาหนดไว้ในแผนการจัดการ
เรียนรู้จนเสร็จสมบูรณ์ และเป็นไปตามระยะเวลาที่กาหนดของสถานศึกษา โดยต้องตรวจการบ้าน งานมอบหมาย
อ่ืนๆ และจะต้องส่งคืนให้แก่ผู้เรียนจนเรียบร้อย รวมทั้งจะต้องดาเนินการประเมินผลในรายวิชาท่ีรับผิดชอบ ให้
เรียบร้อย กรอกคะแนน และรายงานผลการเรียนรู้/ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนที่เป็นแบบฟอร์มของสถานศึกษา น้ันให้
เสร็จสิ้น
6. หากนักศึกษาพบว่ามีปัญหากับครูพ่ีเล้ียงและ/หรืออาจารย์นิเทศก์ในระหว่างฝึกประสบการณ์
วิชาชพี ให้นักศกึ ษารายงานฝ่ายฝึกฯเพ่ือหาแนวทางแก้ไขทันที โดยมแี นวปฏิบัติดังนี้
6.1 กรณีที่พบปญั หากับครูพีเ่ ล้ยี งหรือสถานศึกษา

6.1.1 วเิ คราะหส์ าเหตุของปญั หารว่ มกบั อาจารยน์ ิเทศก์
6.1.2 ดาเนนิ การแกป้ ัญหาร่วมกับสถานศกึ ษา
6.1.3 สรุปชแี้ จงให้เกดิ ความเขา้ ใจรว่ มกนั ทกุ ฝา่ ยที่เก่ยี วขอ้ ง
6.1.4 มกี ารนาเสนอสรปุ ข้อมูลต่อฝา่ ยฝึกประสบการณว์ ิชาชีพครูเพื่อเก็บไว้เป็นหลักฐานต่อไป
6.2 กรณีทพ่ี บปัญหากับอาจารยน์ เิ ทศก์
6.2.1 ขอคาปรึกษาจากคณะกรรมการฝา่ ยฝกึ ฯ
6.2.2 ดาเนนิ การแกป้ ญั หาร่วมกับคณะกรรมการฝา่ ยฝกึ ฯ
6.2.3 หากเป็นปัญหาระดับร้ายแรงและส่งผลกระทบต่อช่ือเสียงขององค์กรจะต้องมี การ
บันทึกไวเ้ ปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษร และดาเนินตามกระบวนการพิจารณาท่กี าหนดไว้ตอ่ ไป

11

หลงั การปฏิบตั กิ ารสอน
หลงั ปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะให้นักศึกษาปฏบิ ัติ ดังน้ี
1. สง่ คนื และ/หรือ จัดเกบ็ วสั ดุ อุปกรณ์ เคร่อื งมือ และ/หรอื หนงั สอื ทุกเล่มทนี่ ักศึกษาได้ขอยืมมา

ใชใ้ นระหวา่ งการปฏิบัตกิ ารสอนใหเ้ รยี บรอ้ ย และ ตอ้ งอยู่ในสภาพใช้งานได้เหมอื นเดมิ
2. ในกรณีที่สถานศึกษาไม่กาหนดวันปิดภาคเรียน โดยดาเนินภารกิจต่อเน่ืองสู่ภาคเรียนที่ ๒ ให้

นักศึกษาแจ้งหรือกล่าวลาผู้บรหิ าร หัวหน้าแผนก หัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้ ครูประจาช้ัน ครูพ่ีเลี้ยง และหรือ
ครูทา่ นอนื่ ๆ ทีเ่ ก่ยี วข้อง รวมท้งั ผู้เรียนตามระเบียบปฏบิ ัติ และมารยาทท่ดี ีตลอดจนเปน็ การสรา้ งความสัมพนั ธอ์ ันดี

3. รวบรวมผลงานและรายงานผลรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ ตาม
เอกสารคู่มือรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา เอกสารประประเมินผลท้ังหมดที่ได้จากการนิเทศของ
สถานศึกษา ผู้บริหาร สถานศึกษา ครพู เี่ ลย้ี ง อาจารยน์ เิ ทศก์ ตลอดจนเอกสารประกอบการฝึกปฏบิ ัติการสอนใน
สถานศึกษา อาทิ รายงานผล การปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา โครงรา่ ง/รายงานการวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้เพ่ือ
พัฒนาผู้เรียน รายงานผลการดาเนินงานโครงการเพื่อพัฒนาสถานศึกษา/ โครงงานวิชาการ แฟ้มสะสมผลงาน
แผนการจัดการ เรียนรู้ ตลอดจนหลักฐานอื่น ๆ ท่ีต้องนาเสนอว่านักศึกษามีความสามารถในการปฏิบัติการสอน
ตามเกณฑ์การประเมินการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาแก่อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาปฏิบัติการสอนในสาขาวิชา
เม่ือเสร็จสิ้น การสอบปลายภาค (ของสถานศึกษาที่ฝึกปฏิบัติการสอน) ไม่เกิน 7 วัน ในกรณีที่นักศึกษามอบให้
เปน็ ของสถานศกึ ษานัน้ ๆ ใหน้ ักศึกษาจัดรวบรวมอยู่ในแฟ้มสะสมผลงาน

4. เข้ารว่ มกจิ กรรมปจั ฉิมนเิ ทศ

ขอบข่ายภาระงานของนักศึกษาในการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาเป็นงานภาคปฏิบัติของนักศึกษา เป็นงานท่ีนักศึกษาจาเป็นต้อง ฝึก

และปฏิบัติ ตลอดจนต้องศึกษาหาความรู้ นักศึกษาที่ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษามีขอบข่ายภาระงานที่ต้อง
ปฏบิ ตั ิ ดังต่อไปนี้

1. งานดา้ นวชิ าการ
1.1 งานด้านการจัดการเรียนการสอน
1.1.1 ศึกษาหลักสูตรแกนกลาง หลักสูตรสถานศึกษา มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการ

เรียนรู้แกนกลาง แนวทางจัดการเรียนรู้การจัดประสบการณ์ คู่มือครู หนังสือเรียนและหนังสืออ่านประกอบ
เพ่ือใหท้ ราบแนวปฏบิ ัติในการจัดการเรยี นรทู้ ีช่ ดั เจน

1.1.2 วางแผนการจัดการเรียนรู้โดยจัดทาโครงการสอนระยะยาว ให้เสร็จสิ้นก่อนเปิดภาคเรียน
ของสถานศึกษาไม่น้อยกว่า 1 สัปดาห์ และทาแผนการจัดการเรียนรู้หรือแผนการจัดประสบการณ์ส่งครูพ่ีเลี้ยง
ล่วงหนา้ กอ่ นสอน 1 สปั ดาห์ โดยเนน้ การจัดการเรยี นร้ทู ่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสาคญั

1.1.3 สงั เกตการจัดการเรยี นร้ขู องครูพ่ีเลย้ี งในสปั ดาหแ์ รกเพ่ือศึกษาวิธีการ และกาหนดแผนการ
จดั การเรยี นรู้ของตนเอง

1.1.4 เตรียมการสอนก่อนเข้าสอนทุกคร้ัง และต้องปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนท่ีได้รับมอบหมาย
ตามตารางและวิชาทก่ี าหนดไว้ โดยมีชว่ั โมงการสอน สัปดาห์ละ 8-12 ชัว่ โมง

1.1.5 จัดหา จัดทา และพัฒนาสอื่ การเรยี นรู้ เพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนทุกครั้ง
1.1.6 วัดผลและประเมนิ ผลการเรียนการสอนตามสภาพจริงดว้ ยวธิ กี ารท่ีหลากหลาย

12

1.2 งานด้านบรรยากาศในชนั้ เรียนและสถานศกึ ษา
1.2.1 จัดตกแต่งห้องเรียนให้มีบรรยากาศที่ส่งเสริมการเรียนรู้ จัดมุมวิชาต่างๆ หรือมุม

ประสบการณ์ตา่ ง ๆ และปา้ ยนเิ ทศ
1.2.2 ส่งเสริมให้นกั เรียนดแู ลรักษาความสะอาดภายในห้องเรียน และบริเวณรอบๆ อาคารเรียนให้สะอาด

1.3 การวิจัยเพอ่ื พฒั นาการเรียนรู้
ทาการวิจยั เพ่อื พฒั นาการเรียนรูค้ นละ 1 เรื่อง โดยนาปัญหาที่พบจากการสงั เกตการสอนและการสอน

มาดาเนินการวิจัยเพ่ือพัฒนาหรือแก้ปัญหาการเรียนการสอน หรือตัวนักเรียนเป็นการดาเนินการวิจัยอย่างง่าย แต่
ครบกระบวนการ และเขยี นรายงานวิจัยในลักษณะงานวิชาการเป็นรายงานการวจิ ยั เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ฉบับสมบรู ณ์

1.4 งานโครงการและการจดั ทารายงาน
นักศึกษาที่ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาจะต้องจัดทาโครงการพัฒนานักเรียนหรือสถานศึกษา/

โครงงานวิชาการ อย่างน้อย 1 โครงการ ต่อภาคการศึกษาโดยนักศึกษาจะต้องประชุมร่วมกันระหว่างนักศึกษา เพื่อ
วางแผนจัดทาโครงการพัฒนานักเรยี น หรือสถานศึกษา / โครงการวิชาการ อย่างน้อย 1 โครงการปรึกษา หารือ
แลกเปลยี่ นความคิดเหน็ ในการแก้ปญั หาต่าง ๆ สัปดาห์ละ 1 ครงั้ และรายงานผลการประชมุ ต่อผู้บริหาร

1.4.1 จดั ทารายงานผลการปฏิบตั ิการสอนในสถานศกึ ษาในแต่ละภาคการศกึ ษา
1.4.2 จัดทารายงานผลการดาเนนิ งานโครงการต่าง ๆ ทไ่ี ด้รับมอบหมาย หรืออนุมตั ิ
1.4.3 จดั ทาแฟ้มสะสมผลงานของนักศึกษา
2. งานดา้ นการปกครอง
2.1 หนา้ ทกี่ ารปกครองนกั เรียนในขณะที่ทาการสอน รวมทงั้ การอบรมนกั เรียนควบคกู่ ับการเรยี นการสอน
2.2 หน้าท่ีในการอบรมส่ังสอนนักเรียนตามโอกาสต่าง ๆ เช่น การอบรมนักเรียนหน้าแถวในตอนเช้า
หรือวนั สดุ สปั ดาห์ เป็นต้น
2.3 ชว่ ยสอดส่องดแู ลความประพฤติของนกั เรียนท้ังในสถานศกึ ษาและนอกสถานศึกษา
2.4 ให้ความร่วมมือพบกับผู้ปกครองนักเรียนในบางโอกาส เม่ือต้องการความร่วมมือในการแก้ไข
ปญั หาเกยี่ วกับความประพฤติของนักเรียน
3. งานดา้ นธุรการในชั้นเรยี น
งานด้านธุรการในสถานศึกษาเป็นงานที่จาเป็นอย่างหน่ึง ซ่ึงนักศึกษาฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา
ควรฝึกปฏบิ ัติไว้เมือ่ ออกไปเปน็ ครจู ะได้สามารถทางานดา้ นธรุ การไดอ้ ย่างราบร่ืน มีดงั นี้
3.1 ทาบัญชเี รียกชอ่ื นกั เรียน
3.2 ทาระเบียนต่าง ๆ
3.3 ทาสมุดประจาตวั นกั เรียน
3.4 งานอืน่ ๆ ทสี่ ถานศึกษามอบหมาย
4. งานกจิ กรรมพัฒนานักเรียนต่าง ๆ
หนา้ ท่ขี องนกั ศกึ ษาฝกึ ปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศึกษาเก่ียวกับงานกิจกรรม ประกอบด้วย
4.1 จดั กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น
4.2 ตรวจสุขภาพนกั เรียน (ในตอนเชา้ ) หรือดแู ลความเรียบรอ้ ยการแต่งกาย
4.3 ดูแลให้ความช่วยเหลือให้ความปลอดภยั แก่นักเรียนในขณะอยู่ในสถานศึกษา เช่น การข้ามถนน
ตอนเช้าและตอนเย็นหลงั จากสถานศกึ ษาเลิก

13

4.4 งานกิจกรรมอืน่ ๆ ตามทส่ี ถานศึกษามอบหมาย
5. งานพฒั นาชมุ ชน

นักศึกษาฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาควรฝึกงานหลาย ๆ ด้านเพื่อให้เกิดความชานาญ นักศึกษา
จะต้องมีสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชน งานด้านพัฒนาชุมชนเป็นงานสาคัญมากอย่างหนึ่งที่นักศึกษาไม่ควรละเลย เพราะใน
ปัจจุบันเป้าหมายของการศึกษา คือ เพื่อพัฒนาชุมชนให้เกิดความเจริญก้าวหน้า ดังนั้น นักศึกษาฝึกปฏิบัติ การ
สอนในสถานศึกษาควรมีสว่ นรว่ มทากจิ กรรมกับสถานศกึ ษาในการพัฒนาชุมชน

หนา้ ท่แี ละความรับผิดชอบของนกั ศึกษา แบ่งออกเป็น 6 ดา้ น ดงั นี้
1. หนา้ ทีแ่ ละความรบั ผิดชอบตอ่ การสอน
1.1 ปฏิบัติการสอนตามข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556 และประกาศ

คณะกรรมการคุรุสภาเรื่อง สาระความรู้ สมรรถนะและประสบการณ์วิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพครู ผู้บริหาร
สถานศึกษาผู้บริหารการศึกษา และศึกษานิเทศก์ ตามข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556 ใน
ตาแหนง่ “ผู้ประกอบวชิ าชพี ครู”

1.2 จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาให้เสร็จสิ้นก่อนเปิดภาคเรียนของสถานศึกษาไม่น้อยกว่า 1
สปั ดาห์ และ แผนการจดั การเรียนรรู้ ายสปั ดาหใ์ หค้ รพู ่เี ลย้ี งตรวจกอ่ นเข้าสอนอยา่ งน้อย 1 สัปดาห์

1.3 ปฏบิ ัตกิ ารสอนในชัน้ เรยี นท่ีไดร้ ับมอบหมายตามตารางและวชิ าทกี่ าหนดไว้
1.4 เตรยี มการสอน วิธีการสอน สอ่ื การเรยี นการสอน ให้เหมาะสมกับเน้ือหาวิชา ก่อนเข้าสอนทุกครั้ง
1.5 จดั บรรยากาศของชน้ั เรียนใหเ้ ปน็ บรรยากาศแหง่ การเรียนรู้
1.6 ตรวจงานทม่ี อบหมายให้ผ้เู รียนทาทุกคร้ังดว้ ยความละเอียดรอบคอบ
1.7 มีการประเมินการสอนดว้ ยตนเอง เพ่ือปรบั ปรงุ การเรยี นการสอน และจัดทาผลการเรียนรู้รวมท้ัง
กรอกเกรดตามแบบฟอร์มของสถานศึกษา
1.8 ดูแล ใหค้ าปรึกษา แนะนา เกย่ี วกับการเรยี นการสอนของนักเรียนท่ีตนเองรบั ผิดชอบอย่างสมา่ เสมอ
2. หนา้ ทีแ่ ละความรบั ผิดชอบตอ่ อาจารยผ์ ู้ประสานงานวิชาปฏบิ ัตกิ ารสอนสาขาวิชา
2.1 สง่ ตารางสอนให้แกอ่ าจารยผ์ ปู้ ระสานงานวชิ าปฏิบตั ิการสอน ภายในระยะเวลาท่ีกาหนด
2.2 ประสานงานกับอาจารย์ผู้ประสานงานวิชาปฏิบัติการสอนสาขาวิชา เพื่อนาส่งแบบรายงานผล
สารวจรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 1 และ 2 ก่อนเปิดภาคเรียนอย่างน้อย 1
เดือน และคู่มือรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ 1 และ 2 ท่ีมีผลการประเมินและ
ลายมือชื่อของผู้ที่เก่ียวข้องเมื่อฝึกปฏิบัติการสอนแล้วเสร็จหลังจากปิดภาคเรียนการศึกษาของสถานศึกษาน้ันๆ
ไมเ่ กนิ 7 วัน
3. หน้าทแ่ี ละความรับผิดชอบต่อสถานศกึ ษา
3.1 ปฏิบตั ิตามระเบียบข้อบังคับของสถานศึกษาอย่างเคร่งครัด เช่น การลงเวลาไป - กลับ การลาป่วย
การลากจิ ธรุ ะส่วนตวั การแต่งกาย และการประพฤตปิ ฏิบตั ิตนใหเ้ หมาะสมเปน็ แบบอย่างครูท่ีดี เป็นต้น
3.2 ปฏิบัติตามคาสั่งท่ีได้รับมอบหมายจากผู้บริหาร หรือผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าท่ีแทน
และใหค้ วามร่วมมือในกจิ กรรมต่าง ๆ ของสถานศึกษา
3.3 ปฏิบัตงิ านท่ีได้รบั มอบหมายใหส้ าเร็จลุล่วงตามความสามารถ และรายงานผลตอ่ สถานศึกษาและ
บนั ทึกในคูม่ ือรายวชิ าการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวชิ าเฉพาะ 1 และ 2 อย่างตอ่ เนือ่ ง
3.4 มีปฏสิ มั พนั ธ์ทดี่ ตี ่อบคุ ลากรในสถานศึกษา

14

4. หนา้ ทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบต่อครูพี่เล้ยี ง
4.1 ให้ความเคารพและปฏบิ ัติตนตามคาแนะนาจากครูพ่ีเล้ยี ง
4.2 ตดิ ตามและปรึกษาครพู ่ีเลีย้ งเกย่ี วกับการจัดการเรยี นการสอนอย่างสมา่ เสมอ

5. หน้าทแ่ี ละความรบั ผิดชอบตอ่ อาจารยน์ ิเทศก์
5.1 เช่ือฟงั ให้ความเคารพ และปฏิบัติตามคาแนะนาของอาจารยน์ เิ ทศก์
5.2 ติดตามและเข้ารับการปรึกษาอาจารย์นิเทศก์เกี่ยวกับการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาอย่าง

นอ้ ย 3 คร้งั ตอ่ ภาคการศกึ ษา
5.3 สง่ แผนการจัดการเรียนรู้ ร่างโครงการวิจัยและ/หรอื รายงานการวจิ ัยในชัน้ เรียน โครงงานวชิ าการ

และ/หรือโครงการเพื่อพัฒนาสถานศึกษา รายงานผลการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ตามระยะเวลาท่ีกาหนด
และสรปุ ตามแบบฟอร์มในคู่มือรายวชิ าการปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษาในสาขาวชิ าเฉพาะ

6. หนา้ ที่และความรบั ผดิ ชอบต่อฝ่ายฝกึ ฯ
6.1 ตดิ ตามประกาศจากฝา่ ยฝกึ ฯอยา่ งสมา่ เสมอ
6.2 เข้าร่วมกิจกรรมที่ฝ่ายฝึกฯข้ึนทุกครั้งและต้องสรุปการเข้าร่วมกิจกรรมตามแบบฟอร์มในคู่มือ

รายวชิ าวิชาการปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ
6.3 นักศึกษาท่ีมีปัญหาท่ีอาจส่งผลต่อการจบการศึกษาให้เขียนเป็นคาร้องเป็นลายลักษณ์อักษรเป็น

รายกรณอี ย่างเร่งด่วน เพื่อทางฝ่ายฝึกฯจะดาเนนิ การประสานตอ่ ไป

การวางตนของนักศกึ ษาปฏิบัติการสอนในสถานศกึ ษา
1. การวางตนต่อผบู้ ริหารสถานศึกษา
1.1 ให้ความเคารพนับถือ
1.2 ใหค้ วามรว่ มมือ และขอคาแนะนาปรกึ ษา
1.3 มีเจตคตทิ ีด่ ี
1.4 รับผิดชอบงานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย
1.5 เผยแพรค่ ณุ งามความดี
1.6 รกั ษาความลับของข้อมลู ต่าง ๆ ทีไ่ ดจ้ ากสถานศกึ ษา
2. การวางตนต่อครพู ่เี ลี้ยงหรือหัวหน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้
2.1 ใหค้ วามเคารพนับถือ
2.2 ขอคาแนะนาเก่ียวกบั การเตรียมการสอน
2.3 ขอคาติชมหลังจากการสอนเพื่อการปรับปรงุ แก้ไข
2.4 ใหค้ วามรว่ มมือกับอาจารย์พเ่ี ลี้ยงหรอื หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้
2.5 ติดตอ่ ส่ือสารให้ขอ้ มูลเพ่ือให้รบั รู้กิจกรรมโดยตลอด
2.6 แสดงความมีนา้ ใจใหค้ วามช่วยเหลือตามแต่เวลาและโอกาส
3. การวางตนต่อครปู ระจาชั้น
3.1 ใหค้ วามเคารพนบั ถือ
3.2 รายงานความเปน็ ไปของนักเรยี นให้ทราบ ตลอดจนปญั หาต่าง ๆ ทีเ่ กดิ ขึน้
3.3 ใหข้ อ้ มลู นักเรียนเป็นรายบคุ คล
3.4 ขอความรว่ มมือในการแก้ปัญหานักเรียน

15

4. การวางตนตอ่ ครูอืน่ ๆ
4.1 มีสัมมาคารวะตอ่ ครทู ุกท่าน
4.2 แสดงความมีนา้ ใจ ใหค้ วามช่วยเหลอื และเป็นมิตรทงั้ ต่อหน้าและลบั หลัง
4.3 มีความจรงิ ใจเสมอต้นเสมอปลาย
4.4 แสดงความสามารถใหป้ รากฏเป็นทเี่ ช่อื ถอื
4.5 สง่ เสรมิ ใหเ้ กิดความสามัคคใี นหมคู่ ณะ
4.6 มคี วามสารวมท้ังกาย วาจา ใจ

5. การวางตนตอ่ นักเรยี น
5.1 เอาใจใสใ่ นผลการเรยี นและความประพฤตขิ องนักเรยี น
5.2 รักษาความดงี ามของตนทเี่ ปน็ ผลใหน้ กั เรียนยอมรับดว้ ยความเคารพเลอ่ื มใส
5.3 เป็นตัวอย่างที่ดีแก่นักเรียนด้วยกาย วาจา ใจ และจริยธรรม ตลอดจนทาตนเป็นท่ีไว้วางใจแก่

นกั เรียนทมี่ าขอคาปรึกษาในปญั หาต่าง ๆ ท่เี กิดขน้ึ
5.4 แสดงความกระตอื รือร้นเก่ียวกับประสบการณก์ ารเรียนรู้ซงึ่ กาลังพฒั นาอยู่สาหรบั นักเรยี น
5.5 มคี วามสนใจและพร้อมที่จะชว่ ยปรบั ปรุงชั้นเรยี น
5.6 มีความตระหนักว่านักเรียนแต่ละคนมีความแตกต่างกันและต้องให้ความสนใจโดยใช้หลัก

จิตวทิ ยาการเรยี นรู้
5.7 ใหค้ วามยตุ ิธรรมในการตัดสินการกระทาของนกั เรยี น
5.8 ให้ความอบอนุ่ ใจ มีความเมตตากรณุ าต่อนักเรียนโดยเสมอภาค
5.9 ให้กาลงั ใจแกน่ ักเรยี นทีป่ ฏบิ ัตงิ านไดด้ ี
5.10 แสดงความมใี จกว้าง อดทน อดกลน้ั ต่อสถานการณ์ทีไ่ ม่พงึ ประสงค์
5.11 ไม่นาความลับส่วนตวั ของนกั เรยี นมาเปิดเผย

6. การวางตวั ต่ออาจารยน์ ิเทศก์
6.1 มีสมั มาคารวะต่ออาจารย์ทุกคนในทุกสาขาวิชา
6.2 เตรยี มใหพ้ รอ้ มอย่เู สมอเพือ่ รอรับการนิเทศ
6.3 ปฏิบตั ติ ามคาช้แี นะด้วยเหตผุ ลอนั ควรตอ่ การปฏบิ ัติ
6.4 มคี วามขยัน อดทน อดกลั้น มีความรบั ผดิ ชอบต่อหน้าที่ และปฏิบัติงานเตม็ กาลังความสามารถ
6.5 ขอคาปรกึ ษาแนะนาเม่ืออาจารยน์ ิเทศกม์ าตรวจเยี่ยมหรอื ทาการนเิ ทศ
6.6 เชือ่ ฟังในสิ่งทร่ี บั การชแี้ นะหรือตักเตอื น
6.7 มีปญั หาคบั ข้องใจแจง้ ให้อาจารย์นิเทศก์ทราบ

7. การวางตนตอ่ เพื่อนนกั ศึกษาร่วมสถาบันและตา่ งสถาบัน
7.1 แสดงความเป็นมิตรตอ่ กันและกัน
7.2 ใหค้ วามร่วมมือและช่วยเหลือเกื้อกูลกันทั้งในทางวิชาการ กิจกรรมของหมู่คณะตลอดจนปัญหา ส่วน

ตัวบางประการเกี่ยวกับความคดิ เห็นและการตัดสินใจ
7.3 ให้คาแนะนาทีเ่ ปน็ ประโยชนใ์ นการพัฒนาปรบั ปรุง

16

8. การวางตนตอ่ เจ้าหน้าทีแ่ ละคนงานภารโรง
8.1 แสดงความเป็นมิตรดว้ ยการทกั ทาย พดู คยุ อยา่ งสภุ าพ
8.2 ให้ความช่วยเหลือเท่าท่ีจะทาได้
8.3 แสดงความมนี ้าใจ สภุ าพ อ่อนโยน

การปฏิบัติตนสาหรบั นักศกึ ษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา
1. ต้องแตง่ เคร่ืองแบบตามระเบยี บของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครกาหนด
2. ตอ้ งไมป่ ระพฤตติ นให้เป็นทเี่ ส่อื มเสียช่ือเสียงของสถาบนั
3. มีความสามคั คกี ลมเกลยี วไมท่ ะเลาะววิ าท
4. ปฏิบตั ติ ามคาแนะนา ตักเตอื นของผ้บู รหิ ารสถานศึกษา ครพู ี่เลยี้ ง อาจารย์นิเทศก์อย่างเครง่ ครัด
5. ปฏิบัติงานตามกาหนดเวลาของทางสถานศึกษาและปฏิบัติตามระเบียบต่างๆ ของทางราชการ

เช่นเดยี วกับครปู ระจาการ
6. ลงเวลามาปฏิบัตงิ านให้เปน็ ปัจจุบัน
7. วัน เวลาที่นักศึกษาไม่มีชวั่ โมงสอน ต้องปฏิบัติงานหรอื ช่วยเหลืองานในช้นั ของตนหรืองานอ่ืนที่ได้รับ

มอบหมาย
8. กรณีที่นักศึกษาจาเป็นต้องลาต้องมเี วลาปฏิบัติงานไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 ของเวลาปฏิบัตงิ านทั้งหมด

และนักศึกษาต้องปฏิบัติให้ถูกตอ้ งตามระเบียบของสถานศึกษาในการลาให้ถูกต้อง และ ในกรณีที่นักศึกษาไม่อยู่
ในสถานศึกษาให้แจ้งอาจารย์นิเทศก์ทราบล่วงหน้าทุกคร้ัง และในกรณีมหาวิทยาลัยเรียกตัวให้แจง้ ผู้บริหารและ
ครูพ่ีเล้ยี งทราบลว่ งหนา้

9. ถ้ามเี หตทุ ่ีอาจก่อให้เกดิ ความเสียหายแก่สถานศึกษา ตอ้ งรบี รายงานตอ่ ผู้บรหิ ารสถานศึกษาทราบ
10. นักศึกษาต้องสง่ แผนการจัดการเรียนรู้ ให้ครูพ่เี ลีย้ งตรวจและลงลายมือก่อนสอนอย่างน้อย 1 สปั ดาห์
11. ต้องเข้าร่วมประชุมสัมมนา การปฐมนิเทศ การสัมมนากลางภาค การสัมมนาปลายภาค กิจกรรมเสริม
ทักษะอาชีพ และกิจกรรมที่ฝ่ายฝึกฯ วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร จัดทุกครั้ง ตลอดจน
ตรวจสอบการลงทะเบยี นเขา้ กจิ กรรมต่างๆและส่งผล/บันทึกผลการเขา้ ร่วมกิจกรรมเปน็ หลกั ฐานทุกกิจกรรม
12. นักศึกษาต้องจัดทา “รายงานผลการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา” ตามรูปแบบท่ีฝ่ายฝึกประสบการณ์
วิชาชพี ครูวชิ าชพี ครู วิทยาลยั การฝึกหัดครู มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนครกาหนด

บทที่ 3

คณุ สมบตั แิ ละบทบาทหนา้ ทีข่ องบคุ ลากรผ้เู กี่ยวข้อง

การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาของนักศึกษาจะประสบความสาเร็จได้น้ัน ต้องได้รับความร่วมมือจาก
ทุกฝ่ายทั้งจากสถาบันผู้ผลิตครู (วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร) สถานศึกษาเครือข่าย ท่ีรับ
นักศึกษาเข้าปฏิบัติการสอน รวมทั้งนักศึกษาท่ีจะออกไปปฏิบัติการสอนเอง ได้แก่ ครูพ่ีเล้ียง อาจารย์นิเทศก์
ผู้บริหารสถานศึกษา และอาจารย์ผู้ประสานงานวิชาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะของ
สาขาวิชา โดยบคุ ลากรของแตล่ ะฝ่ายจะต้องมีคุณสมบตั แิ ละบทบาทหนา้ ท่ี ดังตอ่ ไปนี้

1. คณุ สมบัติและบทบาทหน้าทขี่ องครูพีเ่ ลี้ยง
1.1 คุณสมบัตขิ องครูพเี่ ล้ียง คุณสมบัติตามท่คี รุ ุสภากาหนด ดงั น้ี
1.1.1 มีคณุ วฒุ ิไม่ต่ากว่าปริญญาตรที างวชิ าชีพครใู นสาขาวชิ าเฉพาะ และ
1.1.2 มปี ระสบการณใ์ นการสอนในสาขาวชิ าเฉพาะอย่างน้อย 2 ปี
1.2 บทบาทหน้าที่ของครพู ีเ่ ลี้ยง
1.2.1 แนะนานกั ศกึ ษาใหน้ กั เรียนรู้จัก
1.2.2 แนะนาสภาพการเรยี นและปญั หาของผู้เรยี นใหน้ กั ศึกษาทราบ
1.2.3 เปดิ โอกาสใหน้ ักศึกษาไดส้ ังเกตการสอนของตนกอ่ นลงมอื ปฏิบัติจรงิ
1.2.4 ให้คาแนะนาเก่ียวกับการทาแผนการจดั การเรียนรู้ ตรวจสอบ พร้อมท้ังเขียนข้อเสนอแนะ

ล่วงหน้ากอ่ นท่นี กั ศกึ ษาจะทาการสอน
1.2.5 สาธติ การสอน แนะนา และทากิจกรรมต่าง ๆ ในช้นั เรียนให้ดูเปน็ แบบอยา่ ง
1.2.6 สังเกตการสอนและการทางานของนักศึกษาอยู่เสมอ ไม่ปล่อยให้สอนโดยลาพังให้

คาปรกึ ษา และแนะนาเกย่ี วกับการปฏิบตั ิงานด้านต่าง ๆ ใหเ้ หมาะสม ชว่ ยแก้ไขข้อบกพร่องตามหลักการ เพื่อให้
การสอน เปน็ ไปได้ดว้ ยดี

1.2.7 ช่วยแนะนานกั ศึกษาในดา้ นการจดั การเลือก การทา และการใชส้ ื่อการสอน ตลอดจน
แหล่งวทิ ยาการตา่ ง ๆ

1.2.8 ปรึกษาหารือ และวางแผนร่วมกับอาจารย์นิเทศก์ เพ่ือพฒั นาและแก้ไขปัญหาด้านต่าง ๆ
ของนักศึกษา และการจัดโครงการเพ่ือพัฒนาผเู้ รียน

1.2.9 ประเมนิ ผลตามแบบบันทึก หรือแบบประเมนิ ในคู่มอื รายวิชาการปฏิบตั ิการสอนใน
สถานศึกษาในสาขาวชิ าเฉพาะ

2. คุณสมบตั แิ ละบทบาทหน้าท่ีของอาจารย์นเิ ทศก์
2.1 คุณสมบัติของอาจารยน์ ิเทศก์ คณุ สมบัติตามทคี่ ุรุสภากาหนด ดังนี้
2.1.1 อาจารย์นเิ ทศก์มคี ณุ วฒุ ิไมต่ า่ กวา่ ปริญญาโท (กรณีหลักสูตร ป.ตร)ี ในสาขาวิชาที่จะนิเทศ
2.1.2 มีประสบการณ์ในการนเิ ทศมาแล้วไม่น้อยกวา่ 2 ปี
หมายเหตุ 1. ในกรณที ่ีมีประสบการณ์ไม่ได้มาตรฐาน ให้ใช้การนิเทศร่วมกับผู้ท่ีมีประสบการณ์ ตามมาตรฐาน
2. อาจารยน์ ิเทศกม์ ีจานวนท่ีเหมาะสม ท้งั นี้ไมเ่ กนิ 1:10

18

2.2 บทบาทหน้าทแี่ ละความรับผิดชอบของอาจารย์นเิ ทศก์
2.2.1 ความดแู ลเพอื่ สร้างความคุ้นเคย สรา้ งความเข้าใจการปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศกึ ษาพร้อมทง้ั ให้

คาแนะนานักศึกษาทงั้ ในด้านการเรยี นการสอน งานในหนา้ ท่คี รู การปรับตวั การปฏิบตั งิ าน การแตง่ กายตามระเบยี บ และ
ความมวี ินยั ในการปฏบิ ตั ิงาน

2.2.2 ตรวจบันทึกกิจกรรมพิเศษ งานพิเศษท่ีมอบหมายให้นักศึกษาปฏิบัติ เช่น การจัดทา
โครงการเพื่อพฒั นาสถานศกึ ษา การทาโครงงานวิชาการ การวจิ ัยเพอื่ พฒั นาผูเ้ รียน เป็นตน้

2.2.3 ใหค้ าแนะนาเกีย่ วกบั สาระการเรียนรู้ การจดั การเรียนรู้ และตรวจแผนการเรยี นรู้และตดิ ตาม ผล
การพฒั นาการทาแผนการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษาอย่างสม่าเสมอพร้อมทั้งขอ้ เสนอแนะ ประเมินคณุ ลักษณะและการ
ประเมนิ การปฏิบตั ิงาน ตามแบบบนั ทกึ หรือแบบประเมินในค่มู อื รายวชิ าการปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศึกษา

2.2.4 สังเกตการสอนของนกั ศึกษาในช้ันเพ่ือตดิ ตามการพัฒนาของนักศึกษา และบนั ทึกผลการ
นิเทศไมน่ ้อยกว่า ๓ ครงั้ /ภาคการศึกษา

2.2.5 พบผ้บู รหิ ารสถานศึกษาและครูพี่เลยี้ ง เพอ่ื ทราบนโยบายของสถานศึกษาและสร้างสัมพันธภาพ อัน
ดีตามโอกาสอันสมควร ตลอดจนรว่ มพฒั นานักศึกษารว่ มกัน

2.2.6 เข้าร่วมสมั มนาการปฏิบัติการสอน ปฐมนเิ ทศ สัมมนากลางภาค ปจั ฉิมนเิ ทศ ทฝ่ี ่ายฝึก
ประสบการณ์วชิ าชีพทุกครั้ง เพ่ือทราบปญั หาและเสนอแนะแนวทางแกไ้ ขต่อนักศึกษา

2.2.7 ประเมินผลตามแบบบันทึก หรือแบบประเมินในคู่มือรายวิชาการปฏิบัติการสอนใน
สถานศึกษา

3. บทบาทหนา้ ที่ของอาจารย์ประจาสาขาวิชา
อาจารย์ประจาสาขาวิชา มีหน้าที่ติดต่อประสานงานระหว่างนักศึกษา ฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

ครู และสถานศึกษา ท้ังน้ีอาจเป็นประธานสาขา และ/หรือ อาจารย์ประจาสาขาที่ประธานสาขามอบหมาย โดย
ทาหนา้ ท่ีหลกั ดังน้ี

3.1 ประสานงานกับนักศึกษาเพื่อรวบรวมผลสารวจรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาใน
สาขาวชิ าเฉพาะและดาเนินการสรุปผลการพิจารณาความเหมาะสมให้เป็นไปตามท่ีครุ ุสภากาหนด ไดแ้ ก่ รายวชิ า
จานวนชั่วโมงสอน ครูพี่เลี้ยง สถานศกึ ษา และอาจารยน์ ิเทศก์

3.2 ส่งนักศึกษารายงานตัวเขา้ ปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศึกษา
3.3 รวบรวมและสรุปผลการประเมินจากครูพ่ีเล้ียง อาจารย์นิเทศก์ และอาจารย์ประจาสาขาวิชา
ตามแบบคู่มือรายวชิ าการปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษาในสาขาวชิ าเฉพาะ
3.4 จัดทาคะแนนและกรอกคะแนนของนักศึกษา ลงในระบบสง่ เกรดออนไลนข์ องมหาวิทยาลัย

บทที่ 4

การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศกึ ษา

การปฏิบตั ิการสอนในสถานศกึ ษาเป็นการศึกษาเรยี นรภู้ าคสนามที่มีความสาคัญย่งิ สาหรบั นักศึกษาใน
หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร 4 ปี) ท่ีได้ถูกกาหนดข้ึนตามเง่ือนไขของพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากร
ทางการศึกษา พ.ศ. 2556 ซึ่งได้กาหนดให้คุรุสภาเป็นองค์กรหลักในการขับเคล่ือนวิชาชีพครูให้มีคุณภาพ
มาตรฐาน (มาตรา 8 และมาตรา 9) โดยครจู ะมีต้องใบอนุญาตประกอบวิชาชีพจึงจะสามารถปฏบิ ัติการสอนได้
(มาตรา 43) ท้ังน้ีเพื่อเป็นการประกันว่าครูจะต้องมีความรู้ ความสามารถเพียงพอที่จะยกระดับมาตรฐาน
การศกึ ษาของชาติได้

การประเมินผลตามหลักสูตร

ในส่วนของนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะนั้นจะต้องผ่านการปฏิบัติการสอน
ในสถานศึกษาตามหลักสูตรปริญญาทางการศึกษาเป็นเวลาไมน่ ้อยกวา่ 1 ภาคการศกึ ษา และฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารวิชาชีพ
ระหว่างเรียน ไม่น้อยกว่า 540 ช่ัวโมง ชั่วโมงท่ีหลักสูตรกาหนด และจะต้องปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ ให้
ครบถ้วนตามที่คุรุสภากาหนด มาตรา 48, 49 และ 50 ซ่ึงประกอบด้วย มาตรฐานความรู้และประสบการณ์
วิชาชีพ มาตรฐานการปฏิบัติงาน และมาตรฐานการปฏิบัติตน (จรรยาบรรณวิชาชีพครู) ซึ่งการปฏิบัติการสอน
ในสถานศึกษาจะเป็นวิธีการและเวทีท่ีจะบ่มเพาะความเป็นครูอย่างแท้จริงให้กับนักศึกษา โดยนักศึกษาจะได้
นาความรู้ท้ังภาคทฤษฎี และปฏิบัติท่ีได้เรียนมาบรู ณาการถ่ายทอดให้กับผู้เรียนผา่ นกระบวนการจดั การเรียนรู้
ท่ีตนเองเลือกและกาหนดอย่างเป็นระบบ ภายใต้คาแนะนาอย่างใกล้ชิดจากครูพ่ีเล้ียง และอาจารย์นิเทศก์
รวมท้ังนักศึกษาจะได้เรียนรู้การแก้ปัญหาในชั้นเรียน และเรียนรู้การใช้ชีวิตร่วมกับบุคลากรในสังคมท้ังในด้าน
การวางตัวและการปฏิบัติหน้าที่ต่อบุคลากรระดับต่างๆ วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
ได้กาหนดจุดมุ่งหมายของการประเมินผลในการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา คือ นักศึกษาต้องมีคุณสมบัติ
ตามทคี่ ุรสุ ภากาหนด ดังน้ี

1. ความรู้
1.1 เรียนครบตามหลกั สตู รท่ไี ด้รบั การรับรองจากคุรุสภา
1.2 ผ่านเกณฑ์การประเมินของสถาบันการผลติ ครู

2. การปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา
2.1 ปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษาท่ีมีคณุ สมบัตติ ามท่ีคณะกรรมการครุ ุสภากาหนดเปน็ เวลาไม่น้อย

กว่า 1 ปี
2.2 มีรายงานผลการผ่านเกณฑ์การประเมินการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามมาตรฐาน

ประสบการณ์วชิ าชพี ครทู คี่ รุ สุ ภากาหนด ได้แก่
2.2.1 สามารถจัดการเรยี นรใู้ นสาขาวิชาเฉพาะ
2.2.2 สามารถประเมิน ปรับปรุง และพัฒนาการจดั เรียนรู้ให้เหมาะสมกบั ศักยภาพของผู้เรียน
2.2.3 สามารถทาวจิ ยั เพื่อพฒั นาผเู้ รียน
2.2.4 สามารถจัดทารายงานผลการจดั การเรียนรู้และพฒั นาผ้เู รยี น

20

3. การปฏิบัติตน มีการปฏบิ ัตติ นที่เหมาะสมกับความเปน็ ครู โดยมีผลการรบั รองความ ประพฤติจาก
สถาบนั การผลิตครู

4. การพัฒนาคุณลักษณะเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาคุณลักษณะความเป็นครู โดยมีหลักฐานที่แสดง
การเขา้ รว่ มกิจกรรมครบตามเกณฑท์ ่ีกาหนด และผ่านการประเมนิ จากสถาบนั การผลิตครู

การวดั ผลและประเมินผลการเรยี น
1. แบบประเมนิ สมรรถนะทางวิชาชีพครู ดา้ นการจดั การเรยี นร*ู้
2. แบบประเมนิ สมรรถนะทางวิชาชีพ ดา้ นความสมั พันธก์ ับผปู้ กครองและชมุ ชน*
3. แบบประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพดา้ นปฏบิ ัติหนา้ ทค่ี รูและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
4. การเข้ารว่ มการประชุมกับฝ่ายฝึกฯ

หมายเหตุ รายการท่ี 1-3 ใช้เพ่ือขอรบั ใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพครู ด้านการปฏิบัติงาน

ท่ี ผ้ปู ระเมิน แบบประเมิน คะแนนเตม็
1 - อาจารยน์ ิเทศก์ 50:40:10
แบบประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู
- ครูพเี่ ล้ียง ด้านการจัดการเรยี น
- ผ้บู ริหารสถานศึกษาหรือผ้ทู ี่ไดร้ ับ
มอบหมาย ไม่ใชค่ รูพ่เี ลี้ยง) แบบประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพ
2 - อาจารยน์ เิ ทศก์
- ครูพ่เี ลี้ยง ด้านความสัมพันธ์กับผู้ปกครองและ 30:40:30(15)
- ผู้บริหารสถานศึกษาหรือผทู้ ่ีได้รบั ชุมชน (2.1)
มอบหมาย ไม่ใชค่ รูพ่เี ลี้ยง)
3 ผู้แทนคณะกรรมการสถานศึกษา แบบประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพ 15
ด้านความสัมพันธ์กับผู้ปกครองและ (ประเมิน
4 - อาจารยน์ เิ ทศก์ ชมุ ชน (2.2) ภาพรวม)
- ครพู ีเ่ ล้ยี ง แบบประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู 30:40:30
- ผู้บริหารสถานศกึ ษาหรือผู้ที่ได้รบั ดา้ นปฏบิ ตั ิหน้าที่ครู และจรรยาบรรณ
มอบหมาย ไม่ใชค่ รูพี่เล้ยี ง) ของวชิ าชพี

5 ฝา่ ยฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี ครู เชค็ ช่อื เข้าร่วมกจิ กรรม 10

* นักศกึ ษาต้องเข้ารว่ มกิจกรรมของฝา่ ยฝึกประสบการณ์วชิ าชีพครูทกุ คร้ัง
จึงจะได้รบั การประเมินจากฝา่ ยฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี ครู

** รายการท่ี 1-3 ต้องประเมิน 3 คร้ัง/ภาคเรยี น/ผปู้ ระเมิน

21
หลกั ฐานทใี่ ช้ในการประเมินรายวชิ าฝึกประสบการณใ์ นสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2565

วนั เดือน ปี แบบประเมนิ ดา้ นการจัดการเรียนรู้ ผปู้ ระเมิน

- แผนการจัดการเรยี นรู้ - อาจารย์นเิ ทศก์ (สง่ งานทท่ี ่าน)

- คลปิ การสอน 3 คลิป - ครพู เ่ี ล้ียง

- ภาพถ่ายการจัดกจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้ - ผ้บู รหิ ารโรงเรียน

ในคมู่ ือ ฯ

- โครงการวจิ ยั ในช้นั เรียนหรอื รายงานวิจัย

ฉบับสมบรู ณ์

- บทความวิจัยจานวน 15 หนา้

- แบบรายงานการพฒั นาผูเ้ รยี นเป็น

รายบคุ คล

- แบบประเมินพฤติกรรมท่ัวไป

แบบประเมินสมรรถนะทางวิชาชพี ด้านความสัมพนั ธก์ บั ผู้ปกครองและชุมชน

- โครงการส่งเสรมิ ผ้เู รยี นให้มีคุณลักษณะอัน - อาจารยน์ เิ ทศก์ (ส่งงานทที่ า่ น)

พึงประสงค์ และประเพณวี ัฒนธรรม ภูมิ - ครูพเ่ี ลย้ี ง

ปญั ญาท้องถนิ่ ร่วมกบั ชุมชน (โครงการ - ผบู้ รหิ ารโรงเรียน

วิชาการ) - กรรมการสถานศึกษา

- ภาพบันทึก/คลิป การทากิจกรรมร่วมกับ

ชมุ ชน

- การบันทึกผลบริบทชุมชน วฒั นธรรมและ

ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นท่ีมีผลต่อการจัดกิจกรรม

การเรยี นรู้ในเล่มค่มู อื ฯ

- แผนการจดั การเรยี นรู้

แบบประเมนิ สมรรถนะทางวชิ าชีพครู ด้านปฏบิ ัติหน้าท่คี รู และจรรยาบรรณของวิชาชพี

- การสังเกตพฤติกรรมโดยทั่วไปและ อาจารยน์ ิเทศก์

พฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ในชัน้ เรียน ครูพ่เี ลี้ยง

ผูบ้ ริหารโรงเรียน

การนาเสนอข้อค้นพบจากการ ไปฝึ ก

ประสบการณ์ที่โรงเรียน ประเมินการ

แลกเปล่ียนเรียนรู้ในรูปแบบชุมชนแห่งการ

เรียนรู้ (PLC) นักศึกษาทุกโรงเรียนจัดบอร์ด

นิทรรศการ(inforgraphic) ลักษณะงานครู /

ข้อค้นพบ / สิ่งที่ได้รับจากสถานการณ์จริง

ให้สาขาวิชาฟงั ในชนั้ เรียน

22 สัดส่วน 20 % (เรม่ิ ต้น)
สดั สว่ น 30 % (พัฒนาการ)
กาหนดการนเิ ทศนกั ศึกษาเพือ่ ทดสอบและประเมนิ ฯ สดั ส่วน 50 % (คะแนนสุดทา้ ย)
ครัง้ ท่ี 1 ประเมนิ ในชว่ งสัปดาหท์ ่ี 3-5 ของภาคเรียน
คร้ังท่ี 2 ประเมินในช่วงสัปดาห์ท่ี 7-9 ของภาคเรียน
ครง้ั ที่ 3 ประเมินในช่วงสัปดาหท์ ่ี 11-14 ของภาคเรียน

แนวทางประเมินผลการปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศึกษา
ประเมินผลการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาเป็นกระบวนการตัดสินคุณค่าความสามารถทางด้าน

“สมรรถภาพแห่งความเป็นครู” ของนักศึกษาเพ่ือให้การประเมินผลมีความหมายถูกต้องและยุติธรรมจึงมี
หลักการของการประเมินผลการปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศึกษา ดงั น้ี

1. เปน็ การประเมินผลเพอื่ การพฒั นาสมรรถภาพตา่ ง ๆ ในการเปน็ ครูโดยพิจารณาประเมินเพื่อวินิจฉัย
ผลสาเร็จและสภาพปัญหาอุปสรรคท่ีควรปรับปรุงแก้ไขเป็นช่วง ๆ ซึ่งจะช่วยให้นักศึกษาได้ทราบผลการ
ประเมนิ และการพฒั นาสมรรถภาพในการเป็นครูได้เพิ่มข้ึนตามลาดบั

2. เป็นการประเมินแบบอิงเกณฑ์โดยจะต้องนาผลของการตัดสนิ และรายการประเมินไปพิจารณาตาม
เกณฑท์ ีก่ าหนดให้ แลว้ จึงตัดสนิ วา่ ได้ผลการประเมิน เปน็ A, B+, B, C+, C, D+, D หรอื E

3. เป็นการประเมินสมรรถภาพของนักศึกษาให้ครอบคลุมในหลายๆด้านทั้งมาตรฐานความรู้และ
ประสบการณ์วิชาชีพ มาตรฐานการปฏิบัติงาน และมาตรฐานการปฏิบัติตน โดยพิจารณาผลการประเมินจาก
บุคลากรท่ีเกี่ยวข้องกับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูทุกฝ่ายซ่งึ ได้แก่ ฝ่ายสถานศึกษาฝึกปฏิบัติการวชิ าชพี ครู
และฝา่ ยมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนคร

4. ประเมินผลจะต้องมีการประเมินเก่ียวกับเวลาในการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ และการปฏิบัติงานที่
มหาวิทยาลัย กาหนดการประเมนิ ในรายวิชาการปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศึกษา ถา้ ไดค้ ะแนนต่ากว่า “C” ถอื ว่า
สอบตก นกั ศกึ ษาจะตอ้ งลงทะเบยี นเรยี นวชิ าน้ีใหม่

ประเมนิ ผลการปฏบิ ัติการสอนในสถานศึกษา จะประเมนิ ตามภารกิจของนักศึกษาซ่ึงมหี ลายด้านจึง
จาเป็นต้องมีแบบประเมินให้สอดคล้องกับงานแต่ละด้าน ซ่ึงผู้ท่ีทาหน้าท่ีประเมินผลการฝึกปฏิบัติการสอนใน
สถานศึกษา ประกอบด้วย 2 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายสถานศึกษาฝึกปฏิบัติการวิชาชีพครูท่ีนักศึกษาไปปฏิบัติการสอน
และฝา่ ยมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนคร

ฝ่ายสถานศกึ ษาจะประเมนิ โดยครพู เ่ี ล้ยี งประจาตัวนักศึกษาแต่ละคน และผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาหรือ
บุคลากรที่ผู้บริหารมอบอานาจหรือคณะกรรมการทส่ี ถานศึกษาแต่งตั้งขึ้น สาหรบั ฝ่ายมหาวทิ ยาลยั จะประเมิน
โดยอาจารย์นิเทศก์ และอาจารย์ประจาสาขาวิชา ผู้ประเมินแต่ละฝ่ายจะกากับการปฏิบัติงานของนักศึกษา
อยา่ งใกล้ชิดและปรบั ปรุงแกไ้ ขสิ่งท่บี กพร่องแล้วทาการสรปุ ตัดสนิ ผลการประเมินลงในแบบประเมินใหค้ รบแล้ว
ส่งให้นักศึกษานากลับไปส่งต่อให้อาจารย์ประจาสาขาวิชาดาเนินการ สรุปผลการฝึกประสบการณ์ และจัดทา
คะแนน ส่งผลการเรยี นตอ่ ไป โดยจะประเมนิ ตามประเดน็ ต่อไปน้ี

1. การปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยครูพี่เล้ียงและอาจารย์นิเทศก์ โดยประเมินไม่น้อย
กวา่ 3 ครงั้ ตอ่ ภาคการศกึ ษา

2. การปฏิบัติการสอน โดยครพู ี่เล้ียง และอาจารยน์ เิ ทศก์ โดยประเมนิ ไมน่ ้อยกว่า 3 ครั้ง ตอ่ ภาคการศกึ ษา
3. แผนการจัดการเรยี นรู้ โดยครูพ่ีเลีย้ ง และอาจารยน์ ิเทศก์

23

4. โครงการหรือกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยครูพี่เลยี้ ง และอาจารย์นิเทศก์
5. การวิจยั เพื่อพฒั นาการเรยี นรู้ โดยอาจารยน์ เิ ทศก์ และอาจารย์ประจาสาขาวชิ า
6. รายงานผลการปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา โดยครพู ี่เล้ียง และอาจารย์ประจาสาขาวชิ า
7. แฟม้ สะสมผลงาน โดยอาจารยป์ ระจาสาขาวิชา
8. การรว่ มกิจกรรมการสัมมนา ปฐมนเิ ทศ สัมมนากลางภาค และปัจฉิมนิเทศ โดยอาจารย์ประจา
สาขาวชิ า

คะแนน เกรด
85 – 100 A
76 - 84 B+
71 - 75 B
66 - 70 C+
61 - 65 C
56 – 60 D+
50 - 55 D
ตา่ กว่า 55 E

บรรณานกุ รม

ข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยจรรยาบรรณวิชาชีพ พ.ศ. 2556 (2556, 19 กันยายน).ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 130 ตอน
พเิ ศษ 130 ง หน้า 72 – 74.

ข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วย มาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556 (2556, 17 กันยายน).ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 130 ตอน
พเิ ศษ 130 ง หนา้ 65 – 71.

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน,สานักงาน. (2554).แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา.กรุงเทพ : โรงพิมพ์สานักงาน
พระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ.

คณะกรรมการอุดมศึกษา, สานักงาน. (2558, 2 เมษายน). แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาฉบับที่ 11
(2555-2559).http://planning.nida.ac.th/main/images/Planning%20Division/Plan/
PlanHEdu11_2555-2559.pdf.

บรรจบ อรชร และคณะ. (2551). คู่มือการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู (ระหว่างเรียน). กรุงเทพ ฯ :คณะครุ
ศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบุรี.

ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เร่ืองสาระความรู้และสมรรถนะของผู้ประกอบการวิชาชีพครู ผู้บริหาร
สถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษาตามมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ (2556, 17
ตลุ าคม) ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ท่ี 130 ตอนพเิ ศษ 156 ง หนา้ 43 – 54.

ประกาศคุรุสภา เรื่อง การรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรทางการศึกษาเพื่อการประกอบวิชาชีพ พ.ศ.
2557 (2557,31 มกราคม) ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 131 ตอนพิเศษ 46 ง หน้า 16 – 19.

พระราชบญั ญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 (2547, 23 ธนั วาคม) ราชกิจจา
นุเบกษา เลม่ ที่ 121 ตอนพเิ ศษ 79 ก หนา้ 22 – 74.

สนอง ศิริกุลวัฒนา (ผู้รวบรวม) .ม.ป.ป. แผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2535. กรุงเทพ ฯ : พัฒนา
หลกั สูตร.

ภาคผนวก ก

ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา

เรื่อง รายละเอียดของมาตรฐานความรู้และประสบการณว์ ิชาชีพครู ตามข้อบังคับครุ ุสภา
ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒

เรอ่ื ง หลักเกณฑ์และวิธีการทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู พ.ศ. ๒๕๖๓

เรื่อง หลกั เกณฑ์และวธิ ีการทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๔

หน้า ๑๐ ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓
เล่ม ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๑๐๙ ง ราชกิจจานุเบกษา

ประกาศคณะกรรมการครุ ุสภา

เรือ่ ง รายละเอยี ดของมาตรฐานความรแู้ ละประสบการณ์วิชาชพี ครู
ตามขอ้ บังคบั คุรสุ ภา ว่าดว้ ยมาตรฐานวิชาชพี (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ. 2562

อาศัยอานาจตามความในขอ้ ๖ และข้อ ๑๐ แห่งข้อบังคบั คุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวชิ าชพี
พ.ศ. 2556 ซ่งึ แกไ้ ขเพิม่ เตมิ โดยขอ้ บงั คบั ครุ สุ ภา ว่าด้วยมาตรฐานวชิ าชีพ (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒
ประกอบกับมติคณะกรรมการคุรุสภา ในการประชุมคร้ังท่ี ๘/๒๕๖๒ เม่ือวันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๒
คณะกรรมการคุรุสภาจึงออกประกาศคณะกรรมการคุรุสภากาหนดรายละเอียดสาระความรู้ และ
สมรรถนะตามมาตรฐานความรู้และประสบการณว์ ชิ าชพี ครูไว้ ดงั ต่อไปน้ี

ขอ้ ๑ ประกาศนีใ้ ห้ใชบ้ ังคบั ตัง้ แตว่ นั ถัดจากวันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน็ ตน้ ไป
ขอ้ ๒ ให้ยกเลิกความในหมวด ๑ ผู้ประกอบวิชาชีพครู ของประกาศคณะกรรมการคุรุสภา
เร่ือง สาระความรู้ สมรรถนะและประสบการณ์วิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา
ผู้บริหารการศึกษา และศึกษานเิ ทศก์ ตามขอ้ บังคบั ครุ ุสภา ว่าดว้ ยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๕๖
ขอ้ ๓ มาตรฐานความรู้และประสบการณว์ ชิ าชีพครู มีรายละเอียด ดงั ต่อไปน้ี

(ก) มาตรฐานความรู้
1. การเปลย่ี นแปลงบริบทของโลก สังคม และแนวคิดของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
๑.๑ สาระความรู้
(๑) การเปลย่ี นแปลงบรบิ ทของโลกและสังคม
(2) แนวคดิ ของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
๑.๒ สมรรถนะ
(๑) รอบรู้บริบทการเปล่ียนแปลงของสังคม ท้ังภายใน และ

ภายนอกประเทศ ทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ การศึกษา
(๒) ประยุกต์ใช้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการ

เรยี นรูใ้ ห้กบั ผเู้ รียนได้
2. จิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยาการศึกษา และจิตวิทยาให้คาปรึกษาในการ

วิเคราะห์ และพฒั นาผเู้ รยี นตามศักยภาพ

๒.๑ สาระความรู้
จิตวิทยาเพ่ือการวิเคราะห์ และพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ

ครอบคลุม
(1) จิตวิทยาพฒั นาการ
(2) จติ วทิ ยาการศึกษา
(3) จติ วทิ ยาให้คาปรึกษา

หน้า ๑๑ ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓
เล่ม ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๑๐๙ ง ราชกจิ จานุเบกษา

๒.๒ สมรรถนะ
(1) เขา้ ใจธรรมชาตขิ องผู้เรยี น
(2) ช่วยเหลือและสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เต็มตาม

ศักยภาพได้
(3) ใหค้ าแนะนาชว่ ยเหลอื ผเู้ รียนใหม้ คี ุณภาพชีวิตทด่ี ขี ึ้นได้

3. เน้ือหาวิชาที่สอน หลักสูตร ศาสตร์การสอน และเทคโนโลยีดิจิทัล
ในการจัดการเรียนรู้

๓.๑ สาระความรู้

(1) เนือ้ หาวิชาเอก
(2) หลักสูตร
(3) ศาสตร์การสอน
(4) เทคโนโลยดี ิจทิ ลั ในการจัดการเรยี นรู้
๓.๒ สมรรถนะ
(1) รอบรู้ในเนื้อหาของสาขาวิชาเอกท่ีสอน และบูรณาการ
องค์ความรู้ในวชิ าเอกสาหรบั การเรยี นการสอนได้
(2) วิเคราะห์ จัดทา ใช้ ประเมิน และพัฒนาหลักสูตรของ
สถานศกึ ษาได้
(3) จัดทาแผนการเรียนรู้ และนาแผนการเรียนรู้ไปสู่การปฏิบัติ
ใหเ้ กิดผลจริงไดอ้ ย่างเหมาะสมกบั ผู้เรียน
(4) บริหารจัดการชัน้ เรียนใหผ้ ู้เรียนเกิดการเรียนรไู้ ด้

(5) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การสือ่ สารได้
(6) แสวงหาแหล่งเรยี นรทู้ ี่หลากหลายใหแ้ ก่ผเู้ รยี นได้
(7) ประยุกต์ใช้ หรือพัฒนาสื่อ และนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ของ
ผู้เรยี นได้
4. การวัด ประเมินผลการเรียนรู้ และการวิจัยเพื่อแก้ปัญหา และพัฒนา
ผู้เรียน
๔.๑ สาระความรู้
(1) การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้
(2) การวิจัยเพื่อแกป้ ญั หาและพัฒนาผู้เรยี น
๔.๒ สมรรถนะ
(1) วัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน และนาผลการประเมิน
ไปใช้ในการพฒั นาผูเ้ รยี นได้

หน้า ๑๒ ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓
เล่ม ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๑๐๙ ง ราชกิจจานเุ บกษา

(2) เลอื กใชผ้ ลการวจิ ยั ไปใช้ในการจดั การเรียนรูไ้ ด้
(3) ทาวจิ ัยเพื่อพฒั นาการเรยี นการสอน และพัฒนาผเู้ รยี นได้
5. การใช้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษเพ่ือการสอื่ สาร และการใช้เทคโนโลยีดิจทิ ลั
เพ่อื การศึกษา
๕.๑ สาระความรู้
(1) การใช้ภาษาไทยเพอื่ การสือ่ สาร
(2) การใชภ้ าษาอังกฤษเพ่อื การสื่อสาร
(3) การใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทัลเพ่อื การศกึ ษา

๕.๒ สมรรถนะ
ใช้ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาไทย และ

ภาษาอังกฤษ เพ่ือการส่ือความหมายได้อย่างถูกต้องในการเรียนการสอน หรือที่เก่ียวข้องกบั วชิ าชพี ครู
และการใช้เทคโนโลยีดจิ ิทัลเพอื่ การศึกษา

6. การออกแบบ และการดาเนินการเกย่ี วกับงานประกันคณุ ภาพการศึกษา
๖.๑ สาระความรู้
- การประกันคุณภาพการศึกษา
๖.๒ สมรรถนะ
- จัดการคุณภาพ พัฒนา และประเมินคุณภาพการจัดกิจกรรม

การเรียนรู้ได้
(ข) มาตรฐานประสบการณว์ ชิ าชีพ
ผ่านการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามหลักสูตรปริญญาทางการศึกษา

เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี และผ่านเกณฑ์การประเมินปฏิบัติการสอนตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
เงือ่ นไขที่คณะกรรมการครุ สุ ภากาหนด ดงั นี้

(1) การฝึกประสบการณว์ ิชาชีพระหว่างเรยี น
(2) การปฏบิ ัติการสอนในสถานศกึ ษาในสาขาวิชาเฉพาะ
สาระการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน และการปฏิบัติการสอน
ในสถานศึกษาในสาขาวชิ าเฉพาะ และสมรรถนะ ประกอบด้วย
1. การปฏิบัตติ ามมาตรฐานการปฏบิ ัติงานของผู้ประกอบวชิ าชีพครู

๑.๑ สาระการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ และการปฏิบัติการสอน
ในสถานศึกษา

(1) การปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ครู
(2) การจดั การเรยี นรู้
(3) ความสัมพันธ์กบั ผ้ปู กครองและชมุ ชน

หน้า ๑๓ ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓
เล่ม ๑๓๗ ตอนพเิ ศษ ๑๐๙ ง ราชกิจจานเุ บกษา

๑.๒ สมรรถนะ
๑.๒.๑ การปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีครู
(1) มุง่ ม่ันพฒั นาผู้เรยี นดว้ ยจิตวญิ ญาณความเปน็ ครู
(2) ส่งเสริมการเรยี น เอาใจใส่ และยอมรับความแตกตา่ ง

ของผ้เู รียนแตล่ ะบคุ คล
(3) สร้างแรงบันดาลใจผู้เรียนให้เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ และ

ผสู้ ร้างนวัตกรรม
(4) พัฒนาตนเองให้มีความรอบรู้ ประพฤติตนเป็น

แบบอยา่ งทด่ี ี มคี ุณธรรมจริยธรรม และเปน็ พลเมืองดี
๑.๒.2 การจัดการเรยี นรู้
(1) การมีส่วนร่วมในการพัฒนาและส่งเสริมหลักสูตร

สถานศึกษา
(2) การจัดทาแผนการสอนและจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้

การพัฒนาผู้เรียนตามความถนดั และความสนใจ ให้มีปัญญารู้คิด มีความเป็นนวัตกร และมีความสขุ
ในการเรียน

(3) ดูแล ช่วยเหลือ พัฒนา และรายงานผลการพัฒนา
ผ้เู รยี นเปน็ รายบุคคลอย่างเป็นระบบ

(4) วิจัย สร้างนวัตกรรม และประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
ใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ การเรยี นรูข้ องผเู้ รยี น

(5) ทางานเป็นทีมอย่างสร้างสรรค์ และร่วมกิจกรรม

พฒั นาวชิ าชีพ
(6) ส่อื และการวดั การประเมนิ ผลการเรียนรู้
(7) การบูรณาการความรแู้ ละศาสตร์การสอน
(8) การจดั กิจกรรมเพอื่ สร้างบรรยากาศการเรียนรู้

๑.๒.3 ความสัมพนั ธ์กบั ผู้ปกครองและชมุ ชน
(1) ร่วมมือกับผู้ปกครองในการพัฒนา และแก้ปัญหา

ผ้เู รียนให้มีคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์
(2) สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชน

เพื่อสนับสนนุ การเรยี นรูท้ ีม่ ีคณุ ภาพของผเู้ รียน
(3) ศึกษา เขา้ ถึงบริบทของชมุ ชน และสามารถอย่รู ว่ มกนั

บนพ้นื ฐานความแตกต่างทางวัฒนธรรม
(4) ส่งเสรมิ อนรุ กั ษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น

หน้า ๑๔ ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓
เล่ม ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๑๐๙ ง ราชกิจจานุเบกษา

ในสถานศกึ ษา 2. การปฏบิ ตั ติ นตามจรรยาบรรณของวิชาชพี ครู
๒.๑ สาระการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ และการปฏิบัติการสอน

- จรรยาบรรณของวชิ าชีพครตู ามข้อบังคบั คุรุสภา
๒.๒ สมรรถนะ

- ประพฤติปฏิบตั ิตนตามจรรยาบรรณของวิชาชพี ครู

ประกาศ ณ วนั ท่ี 30 มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖3
ณัฏฐพล ทีปสวุ รรณ

รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ
ประธานกรรมการคุรุสภา

หน้า ๑๕ ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓
เล่ม ๑๓๗ ตอนพเิ ศษ ๑๐๙ ง ราชกิจจานเุ บกษา

ประกาศคณะกรรมการคุรสุ ภา

เร่ือง หลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารทดสอบและประเมนิ สมรรถนะทางวิชาชีพครู พ.ศ. ๒๕๖๓

โดยที่เป็นการสมควรให้มีการกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการทดสอบและประเมินสมรรถนะ
ทางวิชาชีพครู ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงือ่ นไขในการขอรบั ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู เพื่อเป็น
ส่วนหนึ่งของกลไกและระบบการคัดกรองผู้ประกอบวิช าชีพครูให้ได้ผู้มีจิตวิญญาณของ ความเป็นครู
และมคี วามรู้ความสามารถตามมาตรฐานวชิ าชีพครูทีค่ รุ ุสภากาหนด

อาศัยอานาจตามความในขอ้ ๖ และขอ้ ๗ แหง่ ข้อบงั คับคุรสุ ภา ว่าดว้ ยใบอนญุ าตประกอบ
วิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๕๙ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติมโดยข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ ประกอบกับมติคณะกรรมการคุรุสภา ในการประชุมคร้ังที่ ๖/๒๕๖๒
เมื่อวันท่ี ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๒ และการประชุมครั้งที่ ๒/๒๕๖3 เมื่อวันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๖๓
คณะกรรมการคุรุสภาจึงออกประกาศหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวชิ าชีพครู
ไว้ดังต่อไปน้ี

ขอ้ ๑ ประกาศน้ีเรียกว่า “ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เร่ือง หลักเกณฑ์และวิธีการ

ทดสอบและประเมนิ สมรรถนะทางวชิ าชีพครู พ.ศ. ๒๕๖๓”
ขอ้ ๒ ประกาศนใ้ี ห้ใชบ้ งั คบั ตง้ั แต่วันถัดจากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน็ ตน้ ไป
ขอ้ ๓ ในประกาศน้ี
“คณะกรรมการ” หมายความวา่ คณะกรรมการครุ ุสภา
“คณะอนุกรรมการ” หมายความว่า คณะอนุกรรมการอานวยการทดสอบและประเมิน

สมรรถนะทางวิชาชพี ครูเพอ่ื ขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชพี ครู
“สมรรถนะทางวิชาชีพครู” หมายความว่า ความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ การปฏิบัติงาน

และการปฏิบตั ติ น ตามมาตรฐานวิชาชีพครทู ่ีคุรสุ ภากาหนด
“การทดสอบและประเมิน” หมายความว่า การทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู

ตามหลักเกณฑ์ วธิ กี าร และเง่อื นไขในการขอรบั ใบอนญุ าตท่กี าหนดในข้อบังคบั ครุ ุสภา
“หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี าร” หมายความวา่ หลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารทดสอบและประเมินสมรรถนะ

ทางวชิ าชีพครูตามที่คณะอนุกรรมการกาหนด

“ผู้เข้าทดสอบและประเมิน” หมายความว่า ผู้เข้ารับการทดสอบและประเมินสมรรถนะ
ทางวชิ าชีพครูเพ่ือขอรบั ใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพครูตามหลกั เกณฑ์และวธิ ีการท่ีคณะอนุกรรมการกาหนด

“ชาวไทย” หมายความวา่ บุคคลที่มสี ัญชาตไิ ทย
“ชาวตา่ งประเทศ” หมายความวา่ บุคคลที่ไม่มสี ัญชาติไทย
“ปริญญาทางการศึกษาหรือเทียบเท่า” หมายความว่า คุณวุฒิปริญญาตรี ปริญญาโท และ
ปริญญาเอกทางการศึกษา หรือเทียบเท่า หรือปริญญาอื่นท่ีมีคุณวุฒิประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู

หน้า ๑๖ ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓
เล่ม ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๑๐๙ ง ราชกิจจานุเบกษา

ท่ีคุรุสภารับรอง และปริญญาทางการศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่างประเทศท่ีผ่านการรับรอง หรือ
เทียบคุณวุฒิจากหน่วยงานท่ีรับผิดชอบภายในประเทศไทยเพ่ือใช้เป็นคุณวุฒิในการขอรับใบอนุญาต
ประกอบวิชาชพี ครู

“ปริญญาอ่ืน” หมายความว่า คุณวุฒิไม่ต่ากว่าปริญญาที่คุรุสภารับรอง โดยผ่านการรับรอง
ความรู้ หรือการรับรองคุณวุฒิตามที่คุรุสภากาหนดเพ่ือใช้เป็นคุณวุฒิในการขอรับใบอนุญาตประกอบ
วชิ าชีพครู

“การรับรองความรู้” หมายความว่า การรับรองความรู้ของผู้ประสงค์ประกอบวิชาชีพครู
วา่ มคี วามร้เู ทยี บเคยี งไดก้ บั มาตรฐานความรู้วชิ าชีพครตู ามข้อบังคบั ครุ สุ ภา

“การรับรองคุณวุฒิ” หมายความว่า การรับรองคุณวฒุ ิการศกึ ษาไม่ตา่ กวา่ ปริญญา เพื่อการ
ประกอบวิชาชีพครู ตามประกาศคณะกรรมการครุ ุสภา

ขอ้ ๔ ใหป้ ระธานกรรมการรกั ษาการตามประกาศน้ี และให้มอี านาจออกคาส่งั และประกาศ
รวมท้ังให้มีอานาจตีความและวินิจฉัยช้ีขาดปัญหาอันเก่ียวกับการปฏิบัติตามประกาศนี้ และแจ้งให้
คณะกรรมการทราบ

ส่วนที่ ๑
คณะอนกุ รรมการ

ขอ้ ๕ ให้มีคณะอนุกรรมการ ซึ่งเเต่งต้ังโดยคณะกรรมการ จานวนไม่เกิน ๑๕ คน
ประกอบดว้ ย

(๑) ประธานอนุกรรมการ ซึ่งคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพเสนอช่ือจากผู้ทรงคุณวุฒิ
ทางการศกึ ษา

(๒) อนุกรรมการ โดยตาแหน่ง ๓ คน ประกอบด้วย ประธานสภาคณบดีคณะครุศาสตร์/
ศึกษาศาสตร์แหง่ ประเทศไทย เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา และ
ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม

(๓) อนุกรรมการ จานวนไม่เกิน ๑๐ คน ซึ่งคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพเสนอช่ือจาก
ผู้ทรงคุณวุฒิทางการศึกษา ซึ่งมีคุณวุฒิ และมีตาแหน่งทางวิชาการ ผลงานทางวิชาการ และ/หรือ

ประสบการณ์ในด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องด้านใดด้านหน่งึ หรือหลายด้านรวมกัน ได้แก่ การจัดการศกึ ษา
ในระดบั ปริญญาทางการศกึ ษา หรือเทยี บเท่า การวดั และประเมนิ ผล การสร้างข้อสอบ การจัดทาคลงั
ข้อสอบ การสร้างเครื่องมือประเมิน การบริหารจัดการทดสอบ และการประเมิน โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิ
หรอื ผู้เชีย่ วชาญด้านกฎหมาย อยา่ งนอ้ ย ๑ คน

(๔) เลขาธิการคุรุสภา หรือรองเลขาธิการคุรุสภาที่เลขาธกิ ารคุรุสภามอบหมาย เป็นอนกุ รรมการ
และเลขานกุ าร

หน้า ๑๗ ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓
เล่ม ๑๓๗ ตอนพิเศษ ๑๐๙ ง ราชกิจจานุเบกษา

(๕) พนักงานเจ้าหน้าที่สานักงานเลขาธิการคุรุสภาท่ีเลขาธิการคุรุสภามอบหมายคนหนึ่ง
เปน็ ผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร

ให้คณะอนุกรรมการมีวาระการดารงตาแหน่ง ๒ ปี และเม่ือครบกาหนดวาระ
ให้คณะกรรมการแต่งต้ังคณะอนุกรรมการชุดใหม่ภายใน ๖๐ วัน ทั้งนี้ ให้คณะอนุกรรมการชุดเดิม
มอี านาจและหนา้ ท่ตี อ่ ไปจนกวา่ จะมีการแต่งตง้ั คณะอนกุ รรมการชดุ ใหม่

ข้อ ๖ คณะอนุกรรมการ มอี านาจและหนา้ ท่ี ดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) กาหนดนโยบาย แนวทาง และรายละเอียดของหลักเกณฑ์และวิธีการทดสอบและ
ประเมินสมรรถนะทางวชิ าชีพครู
(๒) อานวยการและดาเนนิ การตามนโยบาย แนวทาง และรายละเอยี ดของหลักเกณฑ์ และ
วิธกี ารทดสอบและประเมนิ สมรรถนะทางวชิ าชีพครู
(๓) กากับ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินการทดสอบและประเมินสมรรถนะ
ทางวิชาชีพครเู พ่ือการขอรับใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพครู และรายงานผลการดาเนินงานต่อคณะกรรมการ
(๔) แตง่ ตัง้ คณะทางานเพือ่ ดาเนินการตามท่ีคณะอนกุ รรมการมอบหมาย
(๕) พิจารณาอนุญาต อนมุ ัติ เหน็ ชอบ หรอื ออกคาส่งั หรือประกาศใด ๆ เพือ่ การปฏิบัตงิ าน
ตามอานาจและหน้าทีข่ องคณะอนุกรรมการ
(๖) ดาเนินการอนื่ ๆ ตามทค่ี ณะกรรมการมอบหมาย

ส่วนที่ ๒
หลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารทดสอบและประเมนิ สมรรถนะทางวิชาชีพครู

ขอ้ ๗ สมรรถนะทางวชิ าชพี ครู ประกอบด้วย
(ก) ความรู้และประสบการณว์ ิชาชพี ตามมาตรฐานวชิ าชีพครู ไดแ้ ก่
(๑) วิชาภาษาและเทคโนโลยดี จิ ิทัล ประกอบดว้ ย
๑) การใช้ภาษาไทยเพอ่ื การสอ่ื สาร
๒) การใช้ภาษาองั กฤษเพือ่ การสื่อสาร
๓) การใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทัลเพ่อื การศึกษา

(๒) วชิ าชีพครู
(๓) วิชาเอก ตามทคี่ ณะอนกุ รรมการกาหนด
(ข) การปฏิบัตงิ านและการปฏบิ ัติตน ตามมาตรฐานวชิ าชีพครู ไดแ้ ก่
(๑) การจัดการเรียนรู้
(๒) ความสัมพันธก์ บั ผู้ปกครองและชมุ ชน
(๓) การปฏิบัตหิ น้าทีค่ รู และจรรยาบรรณของวิชาชีพ
รายละเอยี ดของสมรรถนะทางวิชาชพี ครู ให้เป็นไปตามขอ้ บงั คบั ครุ สุ ภา

หน้า ๑๘ ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓
เล่ม ๑๓๗ ตอนพเิ ศษ ๑๐๙ ง ราชกิจจานเุ บกษา

ขอ้ ๘ เกณฑ์การตัดสินการทดสอบและประเมินแต่ละวิชาต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ ๖๐
รายละเอียดข้ันตอน วิธีการ และเครื่องมือการทดสอบและประเมิน ให้เป็นไปตามที่คณะอนุกรรมการ
กาหนด โดยคานงึ ถงึ ขอ้ จากดั และความแตกตา่ งของผ้เู ขา้ ทดสอบและประเมนิ

ข้อ ๙ คณะอนุกรรมการ อาจกาหนดให้เทียบเคียงผลการทดสอบและประเมินสมรรถนะ
ทางวิชาชพี ครู ตามข้อ ๗ (ก) (๑) และ (๓) จากหน่วยงานอ่นื ได้ ตามหลกั เกณฑ์ท่ีคณะอนกุ รรมการ
กาหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ

ข้อ ๑๐ คุณสมบตั ิของผเู้ ขา้ รับการทดสอบและประเมนิ สมรรถนะทางวชิ าชีพ ตามข้อ ๗ (ก)
(ก) ผศู้ กึ ษาในหลักสตู รปรญิ ญาทางการศึกษา หรอื เทียบเท่า ทค่ี ุรสุ ภารบั รอง

(๑) ผู้มคี ณุ วฒุ ปิ รญิ ญาทางการศกึ ษา หรอื เทียบเท่าท่คี ุรสุ ภารบั รอง หรอื
(๒) ผู้อยู่ระหว่างศึกษาในหลักสูตรปริญญาทางการศึกษา หรือเทียบเท่า
ท่ีครุ ุสภารับรอง ตามหลักเกณฑค์ ณุ สมบัติทีค่ ณะอนุกรรมการกาหนด
(ข) ผมู้ ีคณุ วฒุ ิปรญิ ญาอนื่ ทคี่ ุรสุ ภารบั รอง และมคี ณุ สมบตั อิ ยา่ งใดอย่างหนึ่ง ดงั นี้
(๑) ผ่านการรบั รองความรู้ตามมาตรฐานวิชาชพี ครทู คี่ ุรสุ ภากาหนด หรือ
(๒) ผ่านการรับรองคุณวฒุ กิ ารศกึ ษาเพ่ือการประกอบวชิ าชีพครู
ผู้เข้ารับการทดสอบและประเมินในข้อ ๗ (ก) ต้องชาระค่าสมัครเป็นรายคร้ัง
ตามอตั ราท่ีกาหนดท้ายประกาศน้ี
ขอ้ ๑๑ คุณสมบัตขิ องผู้เขา้ รับการทดสอบและประเมนิ สมรรถนะทางวิชาชพี ครู ตามขอ้ ๗ (ข)
(๑) เป็นชาวไทย หรือชาวตา่ งประเทศ ท่ีอยู่ระหวา่ งศึกษาในหลักสูตรปรญิ ญาทางการศึกษา
หรอื เทยี บเทา่ ท่คี ุรุสภารบั รอง หรือ
(๒) เป็นชาวไทย หรอื ชาวต่างประเทศ ท่มี คี ณุ วุฒปิ ริญญาอืน่ ทคี่ รุ สุ ภารับรองตามข้อ ๑๐ (ข)

ขอ้ ๑๒ กาหนดการทดสอบและประเมินความรู้และประสบการณ์วิชาชีพตามข้อ ๗ (ก)
ในแต่ละปี ให้เปน็ ไปตามประกาศของคณะกรรมการ

ทั้งนี้ ผู้เข้ารับการทดสอบและประเมินจะต้องลงทะเบียน บันทึกข้อมูล สมัครเข้ารับ
การทดสอบและประเมนิ รวมทั้งปฏิบตั ิการอนื่ ๆ ตามระบบ วธิ กี าร ขั้นตอน และเงอ่ื นไขทส่ี านกั งาน
เลขาธิการคุรสุ ภากาหนด

ขอ้ ๑๓ วิธดี าเนินการทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ตามข้อ ๗ (ข)
(๑) ผู้เข้ารับการทดสอบและประเมิน ตามข้อ ๑๑ (๑) ให้มีผู้ประเมินซ่ึงเป็นบุคลากร
ของสถาบันการศึกษา และสถานศึกษา หรือหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ทั้งนี้ อาจมีบุคลากรอื่น
เปน็ ผปู้ ระเมินร่วมด้วย ตามหลกั เกณฑ์และวิธกี ารที่คณะอนกุ รรมการกาหนด
(๒) ผู้เข้ารับการทดสอบและประเมิน ตามข้อ ๑๑ (๒) ให้มีผู้ประเมินซึ่งเป็นบุคลากร
ของสถานศึกษาที่ผู้รับการประเมินปฏิบัติการสอนในสถานศึกษานั้น และบุคลากรอ่ืน ตามหลักเกณฑ์
และวิธกี ารท่คี ณะอนุกรรมการกาหนด

หน้า ๑๙ ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓
เล่ม ๑๓๗ ตอนพเิ ศษ ๑๐๙ ง ราชกิจจานเุ บกษา

ขอ้ ๑๔ ให้ผู้ประเมินตามข้อ ๑๓ ดาเนินการประเมินตามรายละเอียดหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเครื่องมือประเมินท่ีคณะอนุกรรมการกาหนด และรายงานผลการประเมินต่อเลขาธิการคุรุสภา
ตามแนวทางทสี่ านกั งานเลขาธกิ ารคุรุสภากาหนด

ข้อ ๑๕ ให้เลขาธิการคุรุสภาเสนอผลการประเมินตามข้อ ๑๔ ต่อคณะอนุกรรมการ
เพอื่ พิจารณารบั รองผลการประเมนิ

ขอ้ ๑๖ ผู้เข้ารับการทดสอบและประเมินที่เป็นชาวต่างประเทศ ให้ยกเว้นการทดสอบ และ
ประเมินสมรรถนะทางวิชาชพี ตามข้อ ๗ (ก) (๑) เฉพาะการใช้ภาษาไทยเพือ่ การสอ่ื สาร

ขอ้ ๑๗ ผู้เข้ารับการทดสอบและประเมินท่ีมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูจากต่างประเทศแล้ว

ใหย้ กเว้นการทดสอบและประเมนิ สมรรถนะทางวิชาชพี ตามข้อ ๗ (ก)
ข้อ ๑๘ ผู้ผ่านการทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครูต้องผ่านเกณฑ์การตัดสิน

ตามข้อ ๗ (ก) และ (ข)
ผู้ผ่านเกณฑ์การทดสอบและประเมิน ตามข้อ ๗ (ก) ในวิชาใด ๆ ให้ใช้ผลการทดสอบ

และประเมินที่ผ่านเกณฑ์ในวิชาน้ัน ๆ เพ่ือขอรับใบอนุญาตได้ภายใน ๓ ปี นับต้ังแต่วันที่ประกาศผล
การทดสอบและประเมิน หากเกินกาหนด ถือว่าผลการทดสอบและประเมินน้ันส้ินสุดลง ต้องเข้าทดสอบ
และประเมนิ ใหม่

ผู้ผ่านเกณฑ์การทดสอบและประเมินตามข้อ ๗ (ข) สามารถใช้ผลการทดสอบและ
ประเมินประกอบการขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีกาหนด
ในข้อบังคบั คุรุสภาต่อไปได้

ข้อ ๑๙ ให้คณะอนุกรรมการรับรองผลการทดสอบและประเมินตามข้อ ๗ แล้วเสนอ
คณะกรรมการพิจารณาให้ความเหน็ ชอบและประกาศผลตามระบบทีส่ านักงานเลขาธิการคุรสุ ภากาหนด

ขอ้ ๒๐ ให้คณะอนุกรรมการอานวยการทดสอบเพื่อขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู
ท่ีคณะกรรมการแต่งต้ังก่อนประกาศนี้บังคับ มีอานาจหน้าท่ีตามประกาศนี้ต่อไปจนครบวาระตาม
คาสั่ง การใด ๆ ท่ีคณะอนุกรรมการดังกล่าวดาเนินการแล้วให้ถือเป็นการดาเนินการตามอานาจและหน้าท่ี
ของคณะอนกุ รรมการตามประกาศน้ี

ประกาศ ณ วนั ที่ 30 มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖3
ณัฏฐพล ทีปสวุ รรณ

รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ประธานกรรมการครุ ุสภา

อตั ราค่าสมัครเข้ารับการทดสอบและประเมนิ สมรรถนะทางวิชาชพี ครู

ตามประกาศฯ ขอ้ ๗ (ก)

-------------------------------

๑. ผ้ตู ้องการประกอบวชิ าชีพครู ชาวไทย

๑.๑ วชิ าภาษาและเทคโนโลยีดิจทิ ลั

(๑) การใชภ้ าษาไทยเพ่ือการส่ือสาร ๓๐๐ บาท

(๒) การใชภ้ าษาองั กฤษเพอื่ การสือ่ สาร ๓๐๐ บาท

(๓) การใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพือ่ การศึกษา ๓๐๐ บาท

๑.๒ วิชาชีพครู ๓๐๐ บาท

๑.๓ วิชาเอก ๓๐๐ บาท ตอ่ วชิ า

๒. ผู้ต้องการประกอบวชิ าชพี ครู ชาวต่างประเทศ ๕๐๐ บาท
๒.๑ วชิ าภาษาและเทคโนโลยีดิจิทัล ๕๐๐ บาท
(๑) การใชภ้ าษาองั กฤษเพอ่ื การส่ือสาร ๕๐๐ บาท
(๒) การใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพื่อการศึกษา ๕๐๐ บาท ต่อวิชา
๒.๒ วิชาชีพครู
๒.3 วชิ าเอก

๓. ค่าธรรมเนยี มอื่น ๆ ทีเ่ ก่ียวข้องกบั การชาระเงนิ ค่าสมัคร (ถ้าม)ี

หน้า ๑๙ ๑๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔
เล่ม ๑๓๘ ตอนพเิ ศษ ๒๘๓ ง ราชกจิ จานุเบกษา

ประกาศคณะกรรมการครุ สุ ภา

เรอ่ื ง หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารทดสอบและประเมนิ สมรรถนะทางวิชาชีพครู (ฉบบั ท่ี 2)
พ.ศ. ๒๕๖๔

โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เร่ือง หลักเกณฑ์และวิธีการ
ทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู พ.ศ. ๒๕๖๓

อาศัยอานาจตามความในข้อ ๖ และข้อ ๗ แห่งขอ้ บังคับคุรุสภา ว่าด้วยใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี
พ.ศ. ๒๕๕๙ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม ประกอบกับมติคณะกรรมการคุรุสภา ในการประชมุ ครง้ั ท่ี ๕/๒๕๖๔
เม่ือวันศุกร์ท่ี ๙ กรกฎาคม ๒๕๖๔ คร้ังท่ี ๖/๒๕๖๔ เมื่อวันจันทร์ที่ ๖ กันยายน ๒๕๖๔ และ
ครั้งท่ี ๘/๒๕๖๔ เม่ือวันศกุ ร์ท่ี ๒๙ ตลุ าคม ๒๕๖๔ คณะกรรมการครุ ุสภา จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้

ข้อ ๑ ประกาศน้ีเรยี กวา่ “ประกาศคณะกรรมการคุรสุ ภา เรือ่ ง หลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารทดสอบ
และประเมนิ สมรรถนะทางวชิ าชีพครู (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๔”

ข้อ ๒ ประกาศน้ใี ห้ใชบ้ งั คบั ตัง้ แต่วนั ถัดจากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน็ ต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในบทนิยามคาว่า “ปริญญาทางการศึกษาหรือเทียบเท่า” แห่งประกาศ
คณะกรรมการคุรสุ ภา เร่ือง หลักเกณฑ์และวิธีการทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู พ.ศ. ๒๕๖๓

และให้ใชค้ วามต่อไปนีแ้ ทน
“ปริญญาทางการศึกษาหรือเทียบเท่า” หมายความว่า คุณวุฒิปริญญาตรี ประกาศนียบัตร

บัณฑิตวิชาชีพครู ปริญญาโท และปริญญาเอกทางการศึกษา หรือเทียบเท่า ที่คุรุสภารับรอง และ
ปริญญาทางการศกึ ษาจากสถาบันการศึกษาตา่ งประเทศทผ่ี ่านการเทยี บคุณวุฒจิ ากหนว่ ยงานของรฐั ”

ข้อ ๔ ให้ยกเลิกความในข้อ ๕ แห่งประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เร่ือง หลักเกณฑ์และ
วธิ กี ารทดสอบและประเมนิ สมรรถนะทางวิชาชพี ครู พ.ศ. ๒๕๖๓ และใหใ้ ช้ความต่อไปนี้แทน

“ข้อ ๕ ให้มีคณะอนุกรรมการ ซ่ึงแต่งต้ังโดยคณะกรรมการ จานวนไม่เกิน ๑๕ คน
ประกอบดว้ ย

(๑) ประธานอนกุ รรมการ ซึ่งคณะกรรมการแต่งต้ังจากผู้ทรงคุณวฒุ ทิ างการศึกษา
(๒) อนุกรรมการ โดยตาแหน่ง ๓ คน ประกอบด้วย ประธานสภาคณบดีคณะครุศาสตร์/
ศึกษาศาสตร์แห่งประเทศไทย เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และ
ปลัดกระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม

(๓) อนุกรรมการ ซึ่งคณะกรรมการแต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิทางการศึกษา ซึ่งมีคุณวุฒิ และ
มีตาแหน่งทางวิชาการ ผลงานทางวิชาการ และ/หรือประสบการณ์ในด้านต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องด้านใดด้านหนึ่ง
หรือหลายด้านรวมกัน ได้แก่ การจดั การศกึ ษาในระดบั ปริญญาทางการศึกษา หรือเทยี บเทา่ การวัดและ
ประเมินผล การบริหารจัดการทดสอบและการประเมิน โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิ หรือผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมาย
อยา่ งน้อย ๑ คน

หน้า ๒๐ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๔
เล่ม ๑๓๘ ตอนพเิ ศษ ๒๘๓ ง ราชกิจจานุเบกษา

(๔) เลขาธกิ ารคุรุสภา หรือรองเลขาธกิ ารครุ ุสภาท่ีเลขาธกิ ารคุรุสภามอบหมาย เป็นอนกุ รรมการ
และเลขานุการ

(๕) พนักงานเจ้าหน้าท่ีสานักงานเลขาธิการคุรุสภาที่เลขาธิการคุรุสภามอบหมายคนหน่ึง
เปน็ ผู้ช่วยเลขานุการ

ให้คณะอนุกรรมการมีวาระการดารงตาแหน่ง ๒ ปี และเม่ือครบกาหนดวาระให้คณะกรรมการ
ดาเนินการแต่งต้ังคณะอนุกรรมการชุดใหม่ภายใน ๖๐ วัน ทั้งน้ี ให้คณะอนุกรรมการชุดเดิมมีอานาจ
และหนา้ ท่ตี ่อไปจนกวา่ จะมีการแตง่ ตั้งคณะอนุกรรมการชุดใหม่”

ขอ้ 5 ให้ยกเลิกความในข้อ 6 แห่งประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เรื่อง หลักเกณฑ์
และวธิ กี ารทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชพี ครู พ.ศ. ๒๕๖๓ และใหใ้ ชค้ วามต่อไปนแ้ี ทน

“ขอ้ ๖ คณะอนกุ รรมการ มอี านาจและหนา้ ท่ี ดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) กาหนดแนวทาง และรายละเอียดของหลักเกณฑ์และวิธีการทดสอบและประเมินสมรรถนะ
ทางวิชาชีพครู
(๒) อานวยการและดาเนินการตามแนวทาง และรายละเอียดของหลักเกณฑ์และวิธีการทดสอบ
และประเมนิ สมรรถนะทางวิชาชีพครู
(๓) กากับ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินการทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวชิ าชีพครู
เพอื่ การขอรบั ใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพครู และรายงานผลการดาเนนิ งานต่อคณะกรรมการ
(๔) แตง่ ตงั้ คณะทางานเพื่อดาเนนิ การตามทคี่ ณะอนุกรรมการมอบหมาย
(๕) พิจารณาอนุญาต อนุมัติ เห็นชอบ หรือออกคาส่ังหรือประกาศใด ๆ เพ่ือการปฏิบัติงาน
ตามอานาจและหนา้ ที่ของคณะอนกุ รรมการ
(๖) ดาเนนิ การอน่ื ๆ ตามท่ีคณะกรรมการมอบหมาย”
ขอ้ ๖ ให้ยกเลิกความในข้อ ๗ แห่งประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เรื่อง หลักเกณฑ์

และวิธีการทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู พ.ศ. ๒๕๖๓ และให้ใช้ความตอ่ ไปน้ีแทน
“ขอ้ ๗ สมรรถนะทางวชิ าชพี ครู ประกอบด้วย
(ก) ความรู้และประสบการณ์วิชาชพี ตามมาตรฐานวิชาชีพครู ไดแ้ ก่
(๑) วชิ าชีพครู
(๒) วิชาการใชภ้ าษาไทยเพ่ือการส่ือสาร
(๓) วชิ าการใชภ้ าษาองั กฤษเพ่อื การสอ่ื สาร
(๔) วชิ าการใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ลั เพือ่ การศกึ ษา
(๕) วิชาเอก ตามท่ีคณะกรรมการคุรสุ ภากาหนด
(ข) การปฏบิ ัติงานและการปฏบิ ัติตน ตามมาตรฐานวชิ าชพี ครู ไดแ้ ก่
(๑) การจัดการเรียนรู้
(๒) ความสมั พันธ์กับผู้ปกครองและชมุ ชน

หน้า ๒๑ ๑๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔
เล่ม ๑๓๘ ตอนพเิ ศษ ๒๘๓ ง ราชกิจจานุเบกษา

(๓) การปฏบิ ัติหนา้ ท่ีครู และจรรยาบรรณของวิชาชีพ
รายละเอียดของสมรรถนะทางวิชาชีพครู ให้เปน็ ไปตามข้อบงั คับครุ สุ ภา”
ขอ้ ๗ ให้ยกเลิกความในข้อ ๘ แห่งประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เร่ือง หลักเกณฑ์และ
วิธกี ารทดสอบและประเมนิ สมรรถนะทางวชิ าชพี ครู พ.ศ. ๒๕๖๓ และใหใ้ ชค้ วามต่อไปนแ้ี ทน
“ขอ้ ๘ เกณฑ์การตัดสินการทดสอบและประเมินตามข้อ ๗ แต่ละวิชาต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ ๖๐
โดยให้คานึงถึงค่าความคลาดเคล่ือนมาตรฐานของการวัดประกอบการพิจารณาด้วย หรือตามหลักเกณฑ์
ทคี่ ณะกรรมการกาหนด
รายละเอียดข้ันตอน วิธีการ และเคร่ืองมือการทดสอบและประเมินให้เป็นไปตามที่
คณะอนกุ รรมการกาหนด โดยคานงึ ถึงข้อจากดั และความแตกต่างของผู้เข้าทดสอบและประเมนิ ”

ขอ้ ๘ ให้ยกเลิกความในข้อ ๙ แห่งประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เร่ือง หลักเกณฑ์และ
วธิ กี ารทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู พ.ศ. ๒๕๖๓ และให้ใชค้ วามตอ่ ไปนแ้ี ทน

“ข้อ ๙ คณะอนุกรรมการ อาจกาหนดให้เทียบเคียงผลการทดสอบและประเมินสมรรถนะ
ทางวิชาชีพครู ตามข้อ ๗ (ก) (๒) (๓) และ (๔) จากหน่วยงานอ่ืนได้ ตามหลักเกณฑ์ที่คณะอนุกรรมการ
กาหนดโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการ”

ข้อ ๙ ให้ยกเลกิ ความในขอ้ ๑๐ และขอ้ ๑๑ แห่งประกาศคณะกรรมการครุ สุ ภา เรื่อง หลกั เกณฑ์
และวธิ ีการทดสอบและประเมนิ สมรรถนะทางวิชาชีพครู พ.ศ. ๒๕๖๓ และให้ใช้ความต่อไปน้ีแทน

“ข้อ ๑๐ คณุ สมบตั ิของผ้เู ขา้ รับการทดสอบและประเมนิ สมรรถนะทางวิชาชีพตามขอ้ ๗
(ก) เปน็ ผมู้ ีคณุ วุฒทิ ่ีสาเร็จการศกึ ษาในประเทศไทยขอ้ ใดข้อหน่งึ ดังนี้
(๑) วฒุ ไิ มต่ ่ากวา่ ปรญิ ญาทางการศกึ ษา หรือเทยี บเท่า ทค่ี รุ สุ ภารับรอง
(๒) วุฒไิ ม่ตา่ กว่าปรญิ ญาตรีอ่ืนที่คุรุสภารับรอง
(๓) วุฒิไม่ต่ากว่าปริญญาตรีอ่ืน และผ่านการรับรองความรู้ตามมาตรฐานความรู้

วชิ าชีพของครุ ุสภา
(ข) เปน็ ผู้มคี ณุ วฒุ ทิ ่ีสาเร็จการศกึ ษาจากตา่ งประเทศขอ้ ใดขอ้ หนึ่ง ดงั นี้
(๑) วุฒปิ ริญญาทางการศึกษาหรอื เทียบเท่า
(๒) วฒุ ปิ ริญญาอนื่ และมใี บอนุญาตประกอบวชิ าชพี ครจู ากตา่ งประเทศ
(๓) วุฒิปริญญาตรีอ่ืน และมีคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพครูที่ใช้เวลาศึกษา

ไมน่ อ้ ยกวา่ หนึง่ ปี
(๔) วุฒิปริญญาตรีอื่น และผ่านการรับรองความรู้ตามมาตรฐานความรู้วิชาชีพ

ของครุ สุ ภา
(ค) เป็นผู้อยู่ระหว่างศึกษาในหลักสูตรปริญญาทางการศึกษา หรือเทียบเท่าท่ีคุรุสภารับรอง

ตามหลกั เกณฑ์คุณสมบัตทิ ี่คณะอนุกรรมการกาหนด

หน้า ๒๒ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๔
เล่ม ๑๓๘ ตอนพิเศษ ๒๘๓ ง ราชกจิ จานุเบกษา

ผู้เข้ารับการทดสอบและประเมินในขอ้ ๗ (ก) ต้องชาระค่าสมัครเป็นรายครั้งตามอตั รา
ท่กี าหนดทา้ ยประกาศนี้”

ข้อ ๑๐ ให้ยกเลิกความในข้อ ๑๓ แห่งประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เร่ือง หลักเกณฑ์
และวิธีการทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวชิ าชพี ครู พ.ศ. ๒๕๖๓ และใหใ้ ช้ความต่อไปน้ีแทน

“ขอ้ ๑๓ วธิ ดี าเนินการทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ตามข้อ ๗ (ข)
(๑) ผู้เข้ารับการทดสอบและประเมิน ตามข้อ ๑๐ (ค) ให้มีผู้ประเมินซ่ึงเป็นบุคลากร
ของสถาบันการศกึ ษา และสถานศึกษา หรือหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ทั้งน้ี อาจมีบุคลากรอ่นื เป็นผู้ประเมิน
ร่วมด้วย ตามหลกั เกณฑ์และวิธีการทค่ี ณะอนกุ รรมการกาหนด
(๒) ผู้เข้ารับการทดสอบและประเมิน ตามข้อ ๑๐ (ก) (ข) ให้มีผู้ประเมินซ่ึงเป็นบุคลากร

ของสถานศึกษาที่ผู้รับการประเมินปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาน้ัน และบุคลากรอ่ืน ตามหลักเกณฑ์
และวธิ กี ารทคี่ ณะอนกุ รรมการกาหนด”

ขอ้ ๑๑ ให้ยกเลิกความในข้อ ๑๖ แห่งประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เรื่อง หลักเกณฑ์
และวิธกี ารทดสอบและประเมนิ สมรรถนะทางวชิ าชีพครู พ.ศ. ๒๕๖๓ และใหใ้ ชค้ วามตอ่ ไปน้แี ทน

“ข้อ 1๖ ผู้เข้ารับการทดสอบและประเมินที่เป็นชาวต่างประเทศหรือชาวไทยที่อยู่ระหว่างศึกษา
หรือสาเร็จปริญญาทางการศึกษา หรือปริญญาอ่ืนจากต่างประเทศ หรือหลักสูตรภาษาอังกฤษ หรือ
หลกั สูตรนานาชาตใิ นประเทศไทย ให้ยกเวน้ การทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวชิ าชีพ ตามข้อ ๗ (ก) (๒)”

ขอ้ ๑๒ ให้มีการทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ด้านความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ
ตามมาตรฐานวิชาชีพครู ตามข้อ (๗) (ก) (๕) เม่ือคุรุสภาปรับปรุงระบบการออกใบอนุญาต
ประกอบวิชาชีพครู และการรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรทางการศึกษาให้เชื่อมโยงกับวิชาเอก
ทจ่ี ะดาเนินการทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชพี ครู ภายใน ๒ ปี

ขอ้ ๑๓ ให้ผู้เข้ารับการทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ด้านความรู้และ

ประสบการณ์วิชาชีพ ตามมาตรฐานวิชาชีพครู คร้ังที่ ๑/๒๕๖๔ ตามประกาศคณะกรรมการคุรุสภา
เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู พ.ศ. ๒๕๖๓ ได้รับการยกเวน้
การใช้ผลการทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ด้านความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ
ในวชิ าเอก เพอ่ื ขอรับใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพครู

ประกาศ ณ วนั ท่ี 16 พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕64
ตรนี ชุ เทยี นทอง

รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ประธานกรรมการครุ สุ ภา

อัตราค่าสมคั รเข้ารับการทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชพี ครู

ตามประกาศฯ ขอ้ ๗ (ก)

----------------------------

๑. ผตู้ อ้ งการประกอบวชิ าชีพครู ชาวไทย

๑.1 วิชาชพี ครู ๓๐๐ บาท

๑.2 วิชาการใช้ภาษาไทยเพ่ือการสื่อสาร ๓๐๐ บาท

๑.๓ วชิ าการใชภ้ าษาองั กฤษเพ่ือการสอ่ื สาร ๓๐๐ บาท

๑.๔ วิชาการใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพื่อการศกึ ษา ๓๐๐ บาท

๑.๕ วิชาเอก ตามท่คี ณะกรรมการคุรุสภากาหนด ๓๐๐ บาท

๒. ผ้ตู ้องการประกอบวชิ าชพี ครู ชาวตา่ งประเทศ ๕๐๐ บาท
๒.1 วิชาชีพครู ๕๐๐ บาท
๒.2 วิชาการใชภ้ าษาองั กฤษเพอื่ การสื่อสาร ๕๐๐ บาท
๒.๓ วชิ าการใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพอ่ื การศึกษา ๕๐๐ บาท
๒.๔ วิชาเอก ตามท่ีคณะกรรมการครุ สุ ภากาหนด

๓. คา่ ธรรมเนียมอ่นื ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับการชาระเงินคา่ สมคั ร (ถ้าม)ี

1

ภาคผนวก ข
รปู แบบการเขยี นโครงการหรือกจิ กรรมเพ่อื พัฒนาผู้เรยี นหรอื โรงเรยี น / โครงงานวชิ าการ

2

(ตวั อยา่ ง)
โครงการพัฒนาผเู้ รยี น / โครงงานวิชาการ

(นกั ศึกษาต้องระบุรายละเอยี ดใหค้ รบถว้ น ดังน้ี)
1. ชือ่ โครงการ

ระบุ : ชอ่ื โครงการ………………………………………………………………………
2. หน่วยงานท่ีรับผิดชอบ

โรงเรยี น ........................................................................................
ภาคเรยี นที่.............. ปีการศึกษา ..................................
3. นกั ศกึ ษาท่รี ับผิดชอบโครงการ
ระบุ : รายช่ือนักศึกษา

1. ......................................................................... หวั หน้าโครงการ
2. .........................................................................
3. .........................................................................
4. ......................................................................... เลขานุการ
4. อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาโครงการ
ระบุ : รายช่อื อาจารยท์ ี่ปรึกษาโครงการ และสงั กัด
5. หลกั การและเหตุผล
ระบุ : ความสาคัญและเหตผุ ลท่ีจาเป็นต้องจัดทาโครงการนี้
6. วัตถปุ ระสงค์
ระบุ : วัตถปุ ระสงคห์ รือเป้าหมายของโครงการ ตามลาดับความสาคัญเป็นข้อ ๆ
7. กจิ กรรม
ระบุ : กิจกรรมท่ีจะดาเนินการตามโครงการนี้ว่ามีกิจกรรมอะไร หากมีหลายกิจกรรมอาจทา
เป็นตารางที่ระบกุ ิจกรรมเป็นข้อ ๆ โดยเรยี งลาดับความสาคัญ และ ระยะเวลาทดี่ าเนินการแตล่ ะขั้น
8. เป้าหมาย
8.1 ด้านปริมาณ ระบุ : กลุ่มนักเรียนกลุ่มใดเป็นเป้าหมายท่ีเข้าร่วมกิจกรรมน้ี และระบุ จานวน
ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ
8.2 ด้านคณุ ภาพ ระบุ : ว่าทาแล้วจะเกิดประโยชนห์ รือคณุ ค่าอะไรบ้าง
9. ระยะเวลา
ระบุ : เวลา วนั เดอื น ปี ทที่ ากจิ กรรมตามโครงการ
10. สถานท่ี
ระบุ : ระบสุ ถานทีท่ ากจิ กรรมตามโครงการให้ชดั เจน

3

11. งบประมาณ

บอกที่มาของงบประมาณ จานวนงบประมาณ แจกแจงรายละเอียดค่าใช้จา่ ย

12. ผลทคี่ าดว่าจะไดร้ ับ

ระบุ : ส่งิ ท่ีคาดวา่ จะได้รบั จากการทาโครงการน้เี ปน็ ข้อๆ

13. การวัดและประเมินผลโครงการ

ระบุ : วิธีการท่ใี ช้ในการวัดและประเมนิ ผลโครงการเปน็ ข้อๆ

14. แผนการปฏบิ ตั งิ าน (กาหนดการดาเนนิ กิจกรรม)

ระบุ : กาหนดลาดับ/กระบวนการ ระยะเวลาท่ีชัดเจน (วัน เดือน ปี พ.ศ. ท่ีทากิจกรรมตาม

โครงการ)

ลาดบั / ขั้นตอน / กิจกรรม ระยะเวลา ปี พ.ศ.
กระบวนการ ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

1 (P) จดั ประชุมคณะกรรมการทางาน
2 (P) วางแผนการดาเนินงานโครงการ
3 (D) ดาเนินงานตามข้ันตอน ดังน้ี

- ประชาสมั พนั ธ์โดยเวบ็ ไซดข์ องโรงเรียน
- รบั สมคั รนักเรยี นทสี่ นใจเขา้ รว่ มโครงการ
ฯลฯ
4 (D) จดั กิจกรรมตามระยะเวลาทกี่ าหนด
5 (C) ทาการรวบรวม วเิ คราะห์และสรปุ ผลการดาเนนิ งาน
พรอ้ มท้งั นาเสนอผลงาน
6 (C) จัดทารปู เล่มเสนอผลงานตอ่ หน่วยงาน
7(A) นาผลการประเมินไปปรบั ปรุง

4

ตัวอยา่ ง

แบบประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านตามโครงการ................................... (นกั ศกึ ษาปฏบิ ัต)ิ
ประจาปีงบประมาณ/การศกึ ษา พ.ศ. ……..

แบบรายงานผลการปฏบิ ตั งิ านโครงการ
โรงเรียน...............................................
1. ช่ืองาน/โครงการ/กิจกรรม.......................................................................................................
2. กลมุ่ งาน/กลุ่มสาระการเรยี นรู้/งาน .........................................................................................
งบประมาณทไี่ ด้รบั ..............................................................บาท
3. ระยะเวลาดาเนินงาน/โครงการ/กิจกรรม
เรมิ่ ตน้ วนั ที่..............เดอื น ......................................... พ.ศ. ......................
ส้นิ สดุ วนั ท่ี..............เดอื น ........................................ พ.ศ. ......................
4. ผู้รับผิดชอบงาน/โครงการ/กจิ กรรม..........................................................................................
5. การวดั และประเมินผลการดาเนนิ งาน
เกณฑ์การให้คะแนน
1 คะแนน หมายถงึ ประเมนิ แลว้ อยใู่ นระดับ ต่ากว่า 60%
2 คะแนน หมายถึง ประเมินแลว้ อยูใ่ นระดบั 60 – 69 %
3 คะแนน หมายถึง ประเมนิ แลว้ อย่ใู นระดับ 70 – 79 %
4 คะแนน หมายถงึ ประเมนิ แล้ว อยใู่ นระดบั สูงกวา่ 80%

กรณุ าใสเ่ ครือ่ งหมาย/ตามรายการทเ่ี ห็นวา่ เปน็ จรงิ หรือเหมาะสม 1 คะแนน 4
23
1. ผลการดาเนินงาน/โครงการนี้บรรลุวตั ถปุ ระสงคเ์ พยี งใด
2. ผลสาเรจ็ ของงาน/โครงการน้บี รรลวุ ตั ถปุ ระสงคเ์ พยี งใด
3. งบประมาณหรือค่าใช้จ่ายท่ไี ดร้ ับเหมาะสมเพียงใด
4. วัสดุ/อปุ กรณท์ ีใ่ ช้ในการปฏิบตั งิ านเพียงพอ
5. ความร่วมมอื ของผูร้ ว่ มงานมากน้อยเพียงใด
6. โดยภาพรวมผลสัมฤทธข์ิ องงาน/โครงการอย่ใู นระดบั ใด
7. ข้ันตอนการดาเนนิ งานเป็นไปตามกาหนดเวลาเพยี งใด
8. งาน/โครงการ/กิจกรรมสนองมาตรฐานการศึกษามากน้อยเพียงใด
คะแนนเฉลย่ี ต้งั แต่ 3 ขนึ้ ไป แสดงว่า การดาเนินงาน/โครงการไดร้ บั ผลเปน็ ทพี่ อใจ
คะแนนเฉล่ียต่ากว่า 3 ลงมา แสดงวา่ การดาเนนิ งาน/โครงการควรปรับปรงุ

สรุปผลการประเมนิ รวมของงาน/โครงงาน
พอใจ ควรปรับปรงุ

6. ประโยชนท์ ่ไี ดร้ ับ 5 ผลตอ่ โรงเรียนและชุมชน
ผลต่อนกั เรียน
ประโยชนท์ ่ไี ด้รับ
ผลต่อครูและบุคลากร

7. สภาพปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข

หัวข้อ ปญั หา อปุ สรรค การดาเนนิ การ ขอ้ เสนอแนะเพือ่
แกไ้ ขปญั หา ปรับปรงุ พัฒนาต่อไป

1. ดา้ นบคุ ลากร

2. ด้านงบประมาณ
คา่ ใชจ้ ่าย

3. ดา้ นวัสดุ อุปกรณ์

4. การประสานงาน
และการบริหาร

ลงชือ่ .........................................................ผู้รายงาน/ผู้ประเมนิ
(................................................. )

6
ความเหน็ หวั หน้างาน/หวั หน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้

ลงชื่อ .........................................................
(................................................. )

ความเหน็ รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ

ลงชือ่ .........................................................
(................................................. )

ความเห็นหัวหน้างานแผนงานกลุม่ บรหิ ารวิชาการ

ลงชอ่ื .........................................................
(................................................. )

ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรยี น

ลงชื่อ .........................................................
(................................................. )


Click to View FlipBook Version