The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมเล่มรายงานวิจัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by choopun.j, 2022-12-13 11:52:26

รวมเล่มรายงานวิจัย

รวมเล่มรายงานวิจัย

รายงานการวิจัย

การพัฒนาทักษะการอา่ นภาษาอังกฤษโดยใชเ้ ทคโนโลยีการเรียนรรู้ ่วมกัน
ผ่านสอื่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (E-collaborative learning) สาหรับนกั ศึกษา

สาขาวิศวกรรม วทิ ยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจดั การ
The Development of English Reading Skill Through Employing

An E-Collaborative Learning for Engineering Students of
College of Industrial Technology and Management, RUTS

จติ ตมิ า ชพู ันธ์ุ Jittima Choopun
นภดล ศรภักดี Napadon Sornpakdee
วชริ ย่งั ยืน Wachira Yangyeun

วิทยาลัยเทคโนโลยอี ุตสาหกรรมและการจัดการ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชยั

ไดร้ ับการสนับสนนุ งบประมาณการวจิ ยั เงนิ รายได้
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564



การพฒั นาทกั ษะการอ่านภาษาองั กฤษโดยใช้เทคโนโลยกี ารเรยี นรู้ร่วมกันผ่าน
ส่ืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (E-collaborative learning) สาหรับนกั ศึกษาสาขาวิศวกรรม

วทิ ยาลยั เทคโนโลยีอตุ สาหกรรมและการจดั การ

จิตติมา ชพู นั ธุ์1 นภดล ศรภกั ดี2 และ วชิร ยง่ั ยนื 3

บทคดั ย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถปุ ระสงคเ์ พื่อ 1) พฒั นาสือ่ อิเลก็ ทรอนกิ สท์ เี่ น้นกระบวนการเรยี นรู้ร่วมกันโดย
ใช้เทคโนโลยี (E-collaborative learning) สาหรับนักศึกษาสาขาวิศวกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยี
อตุ สาหกรรมและการจัดการ 2) เปรียบเทียบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของนกั ศึกษาก่อน
และหลังการเรียนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯ และ 3) ศึกษาพฤติกรรมสารสนเทศของนักศึกษาสาขา
วิศวกรรมหลังการเรียนโดยใช้ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่
2 และ 3 สาขาวิชาวิศวกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ ท่ีลงทะเบียนเรียน
รายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการทางาน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน 20 คน ใช้เวลา
ในการทดลอง 4 สปั ดาห์ จานวน 14 ชว่ั โมง เคร่ืองมือที่ใช้ในการวจิ ัยประกอบดว้ ย 1) แบบสอบถาม
ความต้องการด้านหัวเรื่อง 2) ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ท่ีเน้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยี
(E-collaborative learning) จานวน 4 หน่วยการเรียน 3) แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่าน
ภาษาอังกฤษ 4) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาท่ีมีต่อส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ และ 5) แบบวัด
พฤติกรรมสารสนเทศ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และ
การทดสอบสถิติค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1) ประสิทธิภาพของส่ืออิเล็กทรอนิกส์ที่เน้น
กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยี (E-collaborative learning) สาหรับนักศึกษาสาขา
วศิ วกรรม มีคา่ เท่ากบั 75/76.5 ซ่งึ เป็นไปตามเกณฑ์ท่ตี ง้ั ไว้และอยใู่ นระดบั ดี 2) ความสามารถในการ
อ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษาฯ สูงขึ้นหลังเรียนจากส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่
ระดับ 0.05 3) นักศึกษามีความพึงพอใจในการเรียนจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯ และ 4) นักศึกษา
มีพฤติกรรมสารสนเทศในระดับมาก

คาสาคญั : การเรียนรู้รว่ มกนั ผ่านสือ่ อเิ ล็กทรอนิกส์ ภาษาองั กฤษเพือ่ การทางาน นกั ศึกษา
วศิ วกรรมพฤตกิ รรมสารสนเทศ

1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาศกึ ษาทวั่ ไป วิทยาลยั เทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ มทร. ศรวี ชิ ยั นครศรีธรรมราช
2 อาจารย์ สาขาวิศวกรรม วิทยาลยั เทคโนโลยีอตุ สาหกรรมและการจดั การ มทร. ศรวี ชิ ยั
3 อาจารย์ หลกั สตู รระบบสารสนเทศทางธุรกิจ วทิ ยาลยั เทคโนโลยีอตุ สาหกรรมและการจดั การ มทร. ศรีวิชยั นครศรธี รรมราช



The Development of English Reading Skill Through Employing
An E-Collaborative Learning for Engineering Students of College of

Industrial Technology and Management, RUTS

Jittima Choopun1, Napadon Sornpakdee 2, and Wachira Yangyeun3

Abstract

The purposes of this research were 1) to construct an e-collaborative learning
for English reading skill development for Engineering students of College of Industrial
Technology and Management, RUTS, 2) to compare students’ English reading abilities
before and after using e-collaborative learning for English reading skill development,
3 ) to study students’ opinions toward the constructed e-collaborative learning for
English reading skill development, and 4) to study students’ information behavior.
The samples consisted of 20 second and third year engineering students during the
first semester of the academic year 2021 The duration of the experiment covered 14
class sessions over a four-week period. The research instruments were
1) questionnaire used to survey the requirement of English for engineering topics,
2) 4 units of e-collaborative learning for English reading skill development, 3) English
reading ability test, 4) questionnaire used to study students’ opinions toward using
the constructed e-collaborative learning for English reading skill development, and 5)
questionnaire used to study students’ information behavior. The data were analyzed
by the statistical percentage, mean, standard deviation (SD), and t-test for dependent
samples. The findings revealed that 1) the efficiency of e-collaborative learning for
English reading skill development for Engineering students was 75/76.5. This means
that the constructed e-collaborative learning for English reading skill development
was effective, 2) students’ English reading abilities after using e-collaborative learning
for English reading skill development were significantly higher than the abilities
before using e-collaborative learning at the 0.05 level, 3) students’ opinions toward
e-collaborative learning for English reading skill development were high level, and 4)
students’ information behavior was high level.
Keywords: E-collaborative learning for English reading skill development,

English for Work, engineering students, information behavior

1 Assistant Professor, Department of General Education, College of Industrial Technology and Management, RUTS, Nakhon Si Thammarat,
80210

2 Lecturer, Department of Engineering, College of Industrial Technology and Management, RUTS, Nakhon Si Thammarat, 80210
3 Lecturer, Information Technology Program, College of Industrial Technology and Management, RUTS, Nakhon Si Thammarat, 80210



กติ ติกรรมประกาศ

งานวิจัยน้ีได้รับการสนับสนุนงบประมาณการวิจัยเงินรายได้ ทุนวิจัยทั่วไป (General
Research Fund) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดย
เป็นการวิจัยที่มุ่งเน้นการพัฒนาผู้สอนเพื่อสร้างสะสมองค์ความรู้ที่มีศักยภาพ และเพื่อก่อให้เกิดองค์
ความรู้ใหม่ในการปรับปรุงการเรียนการสอนในรายวิชาภาษาอังกฤษเพ่ือการทางานให้กับนักศึกษา
หลกั สูตรวชิ าวศิ วกรรม ไดม้ ีประสทิ ธภิ าพมากยิ่งข้ึน

ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัยที่ได้ให้การสนับสนุนทุนในการทา วิจัยน้ี
ขอขอบคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.อนุชาติ ศรีศิริวัฒน์ อาจารย์ ดร.สุภรพรรณ คนเฉียบและ
คุณวีระศักด์ิ ชานิธุระการ ที่ให้ความกรุณาในการตรวจสอบและประเมินคุณภาพเครื่องมือวิจัย
ขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายท่ีได้ให้ความช่วยเหลือในการตอบแบบสอบถามความต้องการด้าน
หัวเร่ือง ขอขอบคุณผู้ร่วมวิจัยที่อุทิศกาลังกายและกาลังใจช่วยในการวิจัยครั้งนี้ลุล่วงได้ด้วยดี
ตลอดจนครอบครัวและกัลยาณมิตรที่ให้ความห่วงใย เป็นกาลังใจให้เสมอมา ขอขอบใจนักศึกษา
หลักสูตรวิศวกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและวิศวกรรมโยธา ชั้นปีท่ี 2-4 วิทยาลัยเทคโนโลยี
อตุ สาหกรรมและการจัดการทกุ คน ทใี่ ห้ความรว่ มมืออย่างดีย่งิ ในการศึกษาวิจยั คร้ังนี้ ประโยชนอ์ ันใด
ที่เกิดจากงานวิจัยนี้ย่อมเป็นผลมาจากความกรุณาของท่าน ผู้วิจัยจึงใคร่ขอขอบพระคุณมา
ณ โอกาสน้ี

จิตติมา ชพู ันธ์ุ
นภดล ศรภกั ดี

วชริ ยั่งยืน
30 กนั ยายน 2565



สารบัญ หน้า

บทคัดย่อภาษาไทย................................................................................................................. ข
บทคดั ย่อภาษาองั กฤษ............................................................................................................ ค
กติ ติกรรมประกาศ.................................................................................................................. ง
สารบัญ..................................................................................................................... .............. ฉ
สารบญั ตาราง......................................................................................................................... ช
สารบญั ภาพ............................................................................................................................ 1
บทที่ 1 บทนา......................................................................................................................... 1
3
ท่ีมาและความสาคญั ของปัญหา................................................................................... 4
วัตถปุ ระสงค์ของโครงการวจิ ยั ..................................................................................... 4
ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะได้รบั ........................................................................................... 5
ขอบเขตของโครงการวิจยั ............................................................................................ 6
นิยามศพั ท์เฉพาะ......................................................................................................... 7
ขอ้ ตกลงเบ้ืองตน้ .......................................................................................................... 8
กรอบแนวคดิ การวิจัย.................................................................................................. 8
บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม เอกสาร และงานวจิ ัยท่ีเกี่ยวขอ้ ง......................................... 8
1. การอา่ น .................................................................................................................. 9
- ความหมายของการอา่ น.......................................................................................... 10
- ความเข้าใจในการอ่าน............................................................................................ 12
- ทักษะการอา่ นเพอ่ื ความเขา้ ใจ............................................................................... 13
- ทฤษฎีการสอนอา่ นภาษาอังกฤษ............................................................................ 13
2. ภาษาองั กฤษเพือ่ จดุ ประสงค์เฉพาะ (English for Specific Purposes)................... 14
- ความหมายและลักษณะของภาษาอังกฤษเพื่อจุดประสงคเ์ ฉพาะ........................... 15
- ประเภทของภาษาอังกฤษเพอ่ื จดุ ประสงค์เฉพาะ.................................................... 19
- การพัฒนาและออกแบบการเรยี นวิชาภาษาองั กฤษเพ่ือจดุ ประสงคเ์ ฉพาะ............. 22
- การวิเคราะหค์ วามต้องการของผเู้ รียน (Needs analysis)..................................... 22
3. การจัดการเรยี นการสอนผา่ นเวบ็ (Web-based instruction)................................... 23
- ความหมายและลกั ษณะของการเรยี นการสอนผ่านเว็บ.......................................... 24
- ประเภทของการเรยี นการสอนผ่านเว็บ................................................................... 25
- สว่ นประกอบของการเรยี นการสอนผ่านเว็บ........................................................... 28
- การออกแบบบทเรียนผ่านเว็บ................................................................................ 31
- ความร้เู ก่ยี วกับโปรแกรม Google Sites................................................................ 31
4.พฤติกรรมสารสนเทศ....................................................................................................
- ความหมายของพฤติกรรมสารสนเทศ.....................................................................



สารบัญ (ตอ่ ) หนา้
33
- แนวคดิ เกย่ี วกับพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ................................................... 35
- ความหมายและความสาคัญของสารสนเทศ............................................................. 36
- ลกั ษณะของสารสนเทศ............................................................................................ 36
5. งานวจิ ยั ทีเ่ ก่ยี วข้อง..................................................................................................... 39
บทท่ี 3 วิธกี ารดาเนินการวิจยั ................................................................................................ 39
กลมุ่ ตัวอยา่ ง.................................................................................................................. 39
ตวั แปรทศี่ กึ ษา.............................................................................................................. 40
ระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการทดลอง......................................................................................... 40
รูปแบบการวจิ ัย............................................................................................................. 40
เครื่องมือที่ใช้ในการวจิ ยั ................................................................................................ 41
การสรา้ งและพัฒนาเครื่องมือ....................................................................................... 47
การเก็บรวบรวมขอ้ มูล................................................................................................... 48
การวิเคราะห์ข้อมลู ....................................................................................................... 50
บทที่ 4 ผลการวิจัย.................................................................................................................
ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ความต้องการดา้ นหัวเรือ่ งของนักศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี 50
สาขาวิศวกรรม.............................................................................................................
ตอนท่ี 2 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู เพ่ือหาประสทิ ธิภาพของสื่ออเิ ล็กทรอนิกสท์ ีเ่ นน้ 51
กระบวนการเรียนรรู้ ่วมกนั โดยใช้เทคโนโลยี (E-collaborative learning).................
ตอนที่ 3 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลเพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอา่ น 53
ภาษาอังกฤษของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างกอ่ นและหลังการเรยี นจาก
สอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ฯ....................................................................................................... 55
ตอนท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ความคิดเหน็ ของนักศึกษากลุม่ ตัวอย่างที่มีตอ่
สือ่ อเิ ล็กทรอนิกสฯ์ ....................................................................................................... 57
ตอนท่ี 5 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลพฤตกิ รรมสารสนเทศของนกั ศึกษากลุ่มตวั อยา่ ง 60
หลงั การเรยี นจากสื่ออิเล็กทรอนิกสฯ์ ......................................................................... 62
บทที่ 5 สรปุ ผลการวจิ ัย อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ......................................................... 62
สรปุ ผลการวจิ ัย............................................................................................................. 65
อภิปรายผล .................................................................................................................. 66
ข้อเสนอแนะ................................................................................................................. 72
เอกสารอ้างองิ ............................................................................................................... 113
ภาคผนวก............................................................................................................ ..........
ประวตั ผิ วู้ ิจัย..................................................................................................................



สารบญั ตาราง

ตารางที่ หนา้
ตารางท่ี 1 เน้ือหาและทกั ษะการอา่ นของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯ ในแตล่ ะหน่วยการเรยี น......... 43
ตารางที่ 2 ตารางกาหนดเนื้อหาของแบบทดสอบความสามารถในการอา่ นภาษาอังกฤษ...... 45
ตารางท่ี 3 ผลการวเิ คราะห์แบบสอบถามความต้องการดา้ นหวั เรือ่ งของนกั ศกึ ษา................ 50
ตารางที่ 4 คะแนนเฉลี่ย (x)̄ สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) คา่ ร้อยละ (%)
52
และลาดับทข่ี องคะแนนเฉลย่ี จากการทาแบบทดสอบของแต่ละหนว่ ยการเรียน...
ตารางที่ 5 คะแนนจากการทาแบบทดสอบทง้ั 4 หน่วยการเรียนและคะแนนจาก 52

การทาแบบทดสอบหลังเรียนของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างจานวน 20 คน............... 54
ตารางที่ 6 คะแนนความสามารถในการอ่านภาษาองั กฤษของนักศกึ ษากลุม่ ตวั อยา่ งกอ่ น
54
และหลังการเรยี นจากส่อื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ฯและผลตา่ งของคะแนนในการทดสอบ
ทัง้ 2 คร้ัง.............................................................................................................. 55
ตารางที่ 7 เปรียบเทยี บคะแนนเฉล่ยี ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน คะแนนผลต่างเฉล่ยี และ
คา่ สถติ ทิ ี (t-test) ของนักศึกษากลมุ่ ตัวอยา่ ง จานวน 20 คน............................... 57

ตารางที่ 8 คาระดบั คะแนนเฉล่ยี (x̄) และสวนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ของความคิดเห็น
ของนักศึกษากลมุ่ ตวั อย่าง...................................................................................

ตารางท่ี 9 คาระดบั คะแนนเฉล่ีย (x̄) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของพฤติกรรม
สารสนเทศของนักศกึ ษากลมุ่ ตัวอย่าง...................................................................



สารบัญภาพ หนา้

ภาพที่ 7
ภาพท่ี 1 กรอบแนวการวิจัยของการพัฒนาส่ืออิเลก็ ทรอนิกสท์ เ่ี น้นกระบวนการเรียนรู้
17
ร่วมกันโดยใชเ้ ทคโนโลยี (E-collaborative learning)........................................
ภาพท่ี 2 กระบวนการการพัฒนาและออกแบบการเรียนวิชาภาษาองั กฤษเพ่ือ 18
28
วตั ถปุ ระสงคเ์ ฉพาะ............................................................................................... 33
ภาพที่ 3 องคป์ ระกอบของแบบฝึกในรายวิชาภาษาองั กฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะตาม
44
แนวคิดของฮทั ชินสันและวอเทอรส์ .......................................................................
ภาพที่ 4 ทฤษฎกี ารเรยี นรขู้ องกาเย่ (Robert Gagné) 9 ขน้ั ตอน......................................
ภาพท่ี 5 รูปแบบของกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ........................................................
ภาพที่ 6 ขน้ั ตอนของการพัฒนาสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ทเี่ นน้ กระบวนการเรยี นรรู้ ่วมกนั โดย

ใชเ้ ทคโนโลยี (E-collaborative learning) ......................................................

1

บทท่ี 1

บทนำ

1.ทม่ี ำและควำมสำคัญของปญั หำ

ในปัจจุบันภาษาอังกฤษเป็นภาษาท่ีใช้ส่ือสารกันในชีวิตประจาวันและมีบทบาทสาคัญใน
หลายๆงาน ทั้งงานด้านการแพทย์ วศิ วกรรม การศกึ ษาและการทอ่ งเทยี่ ว ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่ใช้
กันในระดับสากลและใช้ในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Nishanthi, 2018) ภาษาอังกฤษเป็นภาษา
หลักที่นาไปใช้ในการแสวงหาความรู้เพ่ือเข้าถึงสารสนเทศทางวิชาการและทางวิชาชีพต่าง ๆ
เป็นประตสู ูโ่ อกาสแหง่ การเรยี นรู้ และเปน็ ทกั ษะการเรียนร้ตู ลอดชีวติ (Mardani & Afghary, 2017)

การเป็นผู้ที่สามารถใช้ภาษาในการส่อื สาร หรอื Communication ถอื เป็นหนึ่งในทักษะแห่ง
ศตวรรษท่ี 21 ซ่ึงประกอบด้วยทักษะการเป็นผู้นาผู้ตามที่ดี (Leadership) ทักษะความรู้ความเข้าใจ
ใช้ดิจิทัล (Digital literacy) ทักษะการสื่อสาร (Communication) ทักษะการรู้จักตัวตนและอยู่
ร่วมกับผู้อื่น (Emotional intelligence) ทักษะการเป็นผู้ริเริ่มก่อการ (Entrepreneurship) ทักษะ
ความเป็นนานาชาติ (Global citizen) ทักษะการแก้ปัญหา (Problem solving) และทักษะการ
ทางานเป็นทีม (Teamwork) (เกษม, 2559)

นอกจากน้ีการเป็นผู้ที่มีทักษะสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพและมีความสามารถทางภาษา
นับเป็นคุณสมบัติท่ีสาคัญที่กาหนดไว้ในประกาศรับสมัครงาน (Job advertisement) ในทุกตาแหน่ง
และเป็นปัจจัยสาคัญในการเติบโตและการพัฒนาของแต่ละบุคคลในการก้าวไปสู่การทางานใน
ตลาดแรงงาน ในสถาบันการศึกษาจะมุ่งสร้างให้ผู้เรียนหรือบัณฑิตเป็นผู้ท่ีมีทักษะทางสังคมที่ใช้เพ่ือ
ปฏิสัมพันธ์กับผู้คน อุปนิสัย บุคลิกภาพ และทัศนคติต่าง ๆ หรือที่เรียกว่า Soft skills และมีทักษะ
ในการสือ่ สาร (Chamundeshwari, 2018)

สาหรับผู้ที่ประกอบอาชีพเป็นวิศวกรทักษะที่มีความจาเป็นมีอยู่ด้วยกันหลายทักษะ รวมถึง
ทักษะการส่ือสาร การทางานเป็นทีมและทางานกับผู้อ่ืน การเป็นผู้นา และมีความสามารถในการ
แก้ปัญหาต่าง ๆ (Teng et al. 2019; Winberg et al. 2020) และยังรวมถึงการเป็นผู้ที่สามารถใช้
ภาษาในการส่ือสารทั้งภาษาแม่และภาษาอังกฤษ ในโลกของการทาธุรกิจในหลายๆบริษัทมีการใช้
ภาษาองั กฤษมากย่ิงขนึ้ ถ้าหากมคี วามร้แู ละใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้ โอกาสทีจ่ ะได้รบั การจ้าง
ให้ทางานกจ็ ะมเี พ่ิมขึ้น (Chavez et al.2017)

ภาษาอังกฤษมีบทบาทสาคัญในการเรียนของสาขาวิชาวิศวกรรม นักศึกษาจะต้องเป็นผู้ท่ี
สามารถใช้ทักษะภาษาอังกฤษ คือ ทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนในการสื่อสารได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ และสามารถนาไปใชใ้ นการทางานหรือประกอบอาชีพหลงั จบการศึกษาได้ (Gözüyeşil,
2014; Sureeyatanapas, Boonma & Thalangkan, 2016) หากนักศึกษาเป็นผู้ที่มีความรู้
ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเมื่อจบการศึกษาก็จะสามารถสมัครเข้าทางานในบริษัทหรือ
หน่วยงานทม่ี ีชอื่ เสียงได้

การสื่อสารโดยการใช้ภาษาอังกฤษอย่างคล่องแคล่วและถูกต้องกลายเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับ
การเรียนและการประกอบอาชีพ ทักษะทางภาษาอังกฤษทั้งสี่มีความสาคัญเท่าเทียมกันและ

2

จาเป็นต้องมีความชานาญ การอ่านและการฟังเป็นทักษะรับสาร (Receptive skills) การเขียนและ
การพูดเรียกว่าทักษะส่งสาร (Productive skills) ทักษะการอ่านเป็นทักษะที่สาคัญในการศึกษาทุก
ระดับ เนื่องจากการเรียนวิชาต่าง ๆ ทั้งในและนอกห้องเรียนต้องใช้การอ่านเป็นสื่อในการเรียนรู้
โดยเฉพาะการเรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศในประเทศไทยทักษะการอ่านเป็นทักษะที่
สาคัญมากท่ีสุด เพราะผู้เรียนมีโอกาสใช้ทักษะฟัง พูด และเขียนน้อยกว่าทักษะการอ่าน ดังน้ันการ
อ่านจึงเป็นเป้าหมายสาคัญในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ เพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้เปน็ เครอ่ื งมือนาไปสู่
การแสวงหาความรู้ท้ังปวง (วิสาข์, 2543) การอ่านเป็นพ้ืนฐานสาหรับกิจกรรมในแต่ละวัน เช่น การ
อ่านคู่มือ การอ่านฉลาก คาแนะนาบนขวดยา การอ่านป้าย การอ่านเส้นทางระหว่าง
การเดินทาง การอ่านแผ่นพับ และรายการต่าง ๆ หากมีไหวพริบในการอ่านแล้วบุคคลน้ันสามารถ
ทาความเข้าใจและพฒั นาตนเองได้

นอกจากน้ีผลการศึกษาของนักวิจัยหลายท่านยังแสดงให้เห็นว่าในการทางานทางด้าน
วิศวกรรม การประกอบธุรกิจก่อสร้างน้ันวิศวกรเป็นบุคลากรที่สาคัญของบริษัทที่จะขับเคลื่อน
โครงการต่าง ๆ ให้เป็นไปตามเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ วิศวกรต้องมีความสามารถในการสื่อสารและ
สามารถติดต่องานในระดับสากลได้ทั้งหน่วยงานภายในและภายนอกได้ (ทิยาพร, 2559) จะต้องเป็น
ผู้ท่ีใช้ภาษาอังกฤษได้ทุกทักษะ และในบรรดาส่ีทักษะการอ่านนับว่าเป็นทักษะท่ีมีความสาคัญและมี
การใช้บอ่ ยมากที่สุด เพราะในการทางานวิศวกรจาเป็นจะต้องอ่านข้อมูล อ่านไปรษณยี ์อิเล็กทรอนิกส์
ข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตท่ีเป็นภาษาอังกฤษ ข่าวสาร ความรู้ต่าง ๆ ในปัจจุบันจะถ่ายทอดเป็น
ภาษาอังกฤษโดยส่วนใหญ่ ดังนั้นหากต้องการสร้างมูลค่าให้กับตนเองก็จาเป็นต้องเพิ่มทักษะในการ
อา่ น (Çal, Admiraal & Mearns , 2022)

วทิ ยาลยั เทคโนโลยอี ตุ สาหกรรมและการจดั การ มทร.ศรีวชิ ยั เป็นสถาบันอดุ มศึกษาแห่งหน่ึง
ท่ีผลิตบัณฑิตท่ีมีความรูความสามารถทางดานวิศวกรรมโยธา วิศวกรรมไฟฟ้า ทั้งดานทฤษฎีและ
ปฏิบตั ทิ ม่ี ีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพ และจติ สานึกรับผดิ ชอบตอสังคม รวมถึงการเป็นผู้
ท่ีมีความสามารถในการติดตอส่ือสาร ใชภาษาไทย ภาษาตางประเทศ รวมถึงการใชเทคโนโลยี
สารสนเทศไดเปนอยางดี ตามโครงสร้างของหลักสูตรกาหนดให้นักศึกษาจะต้องเรียนรายวิชาหมวด
วิชาศึกษาทั่วไป กลุมวิชาภาษา ซ่ึงจาแนกออกเป็นรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (General English)
และภาษาองั กฤษเพอื่ จุดประสงคเ์ ฉพาะ (English for Specific Purposes) รายวชิ าภาษาอังกฤษเพ่ือ
การทางาน และรายวิชาการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษเป็นรายวิชาท่ีนักศึกษาสาขาวิศวกรรม
จะต้องลงทะเบยี นเรียน

นอกจากนี้สืบเน่ืองมาจากการใชเ้ ทคโนโลยีเพ่ือเช่ือมโยงข้อมลู ตา่ ง ๆ ของทกุ ภูมิภาคของโลก
เข้าด้วยกัน โลกมีความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว กระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมท่ีเกิดขึ้นใน
ศตวรรษที่ 21 ส่งผลต่อวิถีการดารงชีพของสังคมอย่างท่ัวถึง ครูผู้สอนจึงต้องมีความต่ืนตัวและ
เตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักเรียนมีทักษะสาหรับการออกไป
ดารงชีวิตในโลกในศตวรรษท่ี 21 โดยทักษะทส่ี าคญั ท่สี ดุ คอื ทกั ษะการเรยี นรู้ (Learning skill) สง่ ผล
ให้มีการเปล่ียนแปลงการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เด็กในศตวรรษที่ 21 นี้ มีความรู้ ความสามารถ และ
ทักษะจาเป็น ซ่ึงเป็นผลจากการปฏิรูปเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการ
เตรียมความพรอ้ มดา้ นตา่ ง ๆ ท่เี ปน็ ปัจจยั สนับสนนุ ที่จะทาให้เกิดการเรยี นรู้ (พรนภัส ,2563)

3

เพ่ือเป็นการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับกระแสการเปลี่ยนแปลงของบริบทโลก โดยการนา
แนวคิดการเรียนรู้สมัยใหม่มาประยุกต์ใช้กับการสอน เน้นการจัดการเรียนการสอนแบบผู้เรียนเป็น
ศูนย์กลาง มุ่งเน้นการสร้างสรรค์องค์ความรู้ด้วยตัวผู้เรียนเองตามทักษะความรู้ความสามารถและ
สตปิ ัญญาของเอกตั บุคคล นาชอ่ งทางการเรียนรขู้ องเทคโนโลยสี ารสนเทศมาประยกุ ตเ์ ปน็ เครื่องมือให้
ผู้เรียนสามารถเรียนรไู้ ด้ด้วยตนเองจากที่บา้ น และเน้นกิจกรรมการเรียนรู้ระหว่างเพื่อนร่วมชั้นกับครู
ในห้องเรียน เพิ่มความร่วมมือระหว่างผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ได้ดีขึ้น ดังน้ัน การนาสื่อสังคม (Social
media) มาเป็นแหลง่ การเรียนรู้และช่องทางการส่ือสารระหว่างผู้เรียนกบั เพ่ือนรว่ มชนั้ หรือผู้เรียนกับ
ครูมีประสิทธิภาพมากขึ้น ดังที่ ณัฐพล (ออนไลน์, 2554) กล่าวว่า ส่ือสังคมช่วยปลูกฝังให้ผู้เรียนรู้จกั
การใช้เทคโนโลยีเพ่ือช่วยให้เกิดการเรียนรู้ ท้ังน้ีเม่ือได้นารูปแบบการสอนการอ่านภาษาอังกฤษโดย
การใช้ภาระงานเป็นเครื่องมือสาคัญในการพัฒนาทักษะภาษาเป้าหมายของผู้เรียนร่วมกับความ
ทนั สมยั ของสื่อเทคโนโลยชี ่วยสอนในปจั จบุ ันจะเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เพิ่มพูนย่ิงขึ้น
และสร้างบรรยากาศในการเรียนให้น่าเรียนและมคี วามแปลกใหมเ่ ปลี่ยนจากยคุ เดมิ ๆ

ด้วยเหตุผลและความจาเป็นที่กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะพัฒนาผ่านส่ือ
อิเล็กทรอนิกส์ท่ีใช้เทคโนโลยีการเรียนรู้ร่วมกัน (E-collaborative learning) เพื่อเพิ่มความสามารถ
ในการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษาสาขาวิศวกรรม อีกทั้งยังเป็นการศึกษาวิจัยที่ตอบสนองต่อ
ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ระยะปานกลาง 5 ปี พ.ศ. 2561-2565 กลยุทธ์
ด้านการจดั การศึกษา กลยุทธ์ท่ี 5 พฒั นาระบบนิเวศน์ (Ecosystem) ที่เออ้ื ต่อการเรียนรู้รปู แบบใหม่
มาตรการที่ 2 สนับสนุนการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลสาหรับการเรียนรู้ เพ่ิมช่องทางการ
จัดการเรียนการสอน Online สนับสนุนอุปกรณ์การเข้าถึงเทคโนโลยีดิจิทัล เป็นรูปแบบท่ีส่งผลดีท้ัง
ต่อตัวผู้สอนและผู้เรียน กล่าวคือ ด้านผู้เรียนได้รับการส่งเสริมและการพัฒนาทักษะการเป็นพลเมือง
โลก การพัฒนาศักยภาพด้านเทคโนโลยีดิจิทัล การพัฒนาความเป็นเลิศและโดดเด่นเฉพาะทางด้าน
การปฏิบัติพัฒนากระบวนการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียน ส่วนในด้านผู้สอนได้รับการส่งเสริมในการ
สร้างนวัตกรรมและการใช้เทคโนโลยี ทาให้มีการพัฒนาเป็น Smart Teacher ให้มีความเช่ียวชาญ
ด้านวิชาชีพตามสาขาเปา้ หมายการพฒั นาของมหาวิทยาลยั

2.วัตถปุ ระสงค์ของโครงกำรวจิ ัย
2.1 เพื่อพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยี

(E-collaborative learning) สาหรบั นักศึกษาสาขาวศิ วกรรม
2.2 เพ่อื เปรียบเทียบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมก่อน

และหลงั การเรยี นโดยใชส้ ่อื อิเล็กทรอนกิ ส์ท่ีเน้นกระบวนการเรยี นรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยี
2.3 เพ่ือศึกษาพฤติกรรมสารสนเทศของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมหลังการเรียนโดยใช้ส่ือ

อเิ ล็กทรอนกิ สท์ ีเ่ นน้ กระบวนการเรยี นรรู้ ว่ มกันโดยใชเ้ ทคโนโลยี

4

3.ประโยชนท์ ี่คำดว่ำจะได้รบั

3.1 ได้ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ท่ีเน้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยีที่ผ่านการสารวจ
ความต้องการหัวเรื่อง (Need assessment) จากนักศึกษาและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องผ่านการตรวจจาก
ผู้เชี่ยวชาญ ทาให้ส่ือที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นประกอบไปด้วยเน้ือหาที่ตรงกับความต้องการของผู้เรียน และ
เปน็ ประโยชน์ในการนาไปใชใ้ นการประกอบอาชีพท่ีตรงกบั สาขาวศิ วกรรม

3.2 เพ่ือเปน็ แนวทางสาหรับผสู้ อนวชิ าภาษาอังกฤษและผทู้ ี่มสี ่วนเก่ียวข้องในการใช้หลักสูตร
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา วิศวกรรมไฟฟ้า และหมวดวิชาศึกษาทั่วไปในรายวิชา
ภาษาอังกฤษในการปรบั ปรุงและจัดการเรยี นการสอนวชิ าภาษาองั กฤษได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพมากขนึ้

3.3 ผวู้ ิจยั สามารถนาองค์ความรู้มาเขียนรายงานผลของโครงการวจิ ัยในรูปแบบของบทความ
วิจัยและได้รับตีพิมพ์เผยแพร่บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ ในเอกสารสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการ
ระดับนานาชาติ (Proceedings) สามารถนาไปใช้ประโยชนใ์ นดา้ นวชิ าการ การเรยี นการสอน

4.ขอบเขตของโครงกำรวิจยั (the Scope of the Study)
4.1 ขอบเขตของโครงการวจิ ัย
1. กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ช้ันปีที่ 2 และ 3 สาขาวิศวกรรม

วทิ ยาลยั เทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 ซึ่งไดม้ าโดยการสุ่ม
แบบเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling) จานวน 20 คน

2. ตัวแปรท่ีศึกษา
ตัวแปรต้น คือ การเรียนโดยใช้เทคโนโลยีการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
(E-collaborative learning)
ตัวแปรตาม คอื
1. ความสามารถในการอา่ นภาษาองั กฤษ
2. ความคดิ เหน็ ท่มี ีต่อส่อื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ฯ
3. พฤติกรรมสารสนเทศ (Information behavior)
4.2 ขอบเขตดา้ นเน้ือหา
เน้ือหาที่ใช้ในสื่ออิเลก็ ทรอนิกสท์ ่ีเน้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันโดยใชเ้ ทคโนโลยี ผู้วิจัยสร้าง
ขึ้นโดย
1. ยึดหลักสูตรรายวิชาภาษาอังกฤษเพ่ือการทางาน (English for Work) รหัสวิชา
00-035-004 การอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ (English Reading and Writing) รหัสวิชา
00-035-002 วิชาการออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก (Reinforced Concrete Design) รหัสวิชา
09-111-307 และรายวิชาวิศวกรรมก่อสร้างและการจัดการ (Construction Engineering and
Management) รหัสวิชา 09-114-401 ตามท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขา
วิศวกรรมโยธา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559) วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชยั

5

2. ยึดผลสารวจความต้องการหัวเร่ือง (Topics) ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี
หลักสูตรวิศวกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและวิศวกรรมโยธา เพื่อใช้เป็นขอบเขตของหัวเรื่องในการ
สรา้ งส่อื ฯ

4.3 เคร่อื งมอื ท่ใี ชใ้ นโครงการวจิ ัย
1. แบบสอบถามความต้องการด้านหัวเร่ือง (Topics) เพ่ือสอบถามนักศึกษาระดับ

ปริญญาตรี หลักสตู รวศิ วกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟา้ และวศิ วกรรมโยธา
2. ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยี

(E-collaborative learning) จานวน 4 หนว่ ยการเรยี น
3. แบบทดสอบวัดความสามารถในการอา่ นภาษาองั กฤษ
4. แบบสอบถามความคิดเหน็ ที่มตี ่อส่ืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ฯ
5. แบบสอบถามวดั พฤติกรรมสารสนเทศ

4.4 การวเิ คราะห์ข้อมลู
4.4.1 การวิเคราะห์ขอ้ มลู เชิงปรมิ าณ
1. คานวณหาค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉล่ีย และค่าร้อยละ เพ่ือนามาหา

ประสทิ ธภิ าพของส่อื อเิ ลก็ ทรอนิกสท์ ่เี น้นกระบวนการเรียนรโู้ ดยใช้เทคโนโลยี
2. เปรียบเทียบความสามารถในการอา่ นภาษาองั กฤษของกลุ่มตัวอย่างก่อนและหลัง

การเรียนโดยใช้เทคโนโลยีการเรียนรู้ร่วมกันผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ คานวณค่าสถิติ t-test แบบจับคู่
โดยใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ในการวิเคราะห์ขอ้ มลู

3. วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯและ
แบบสอบถามวัดพฤติกรรมสารสนเทศ ซ่ึงมีลักษณะเป็นแบบมาตรประมาณค่า (Rating scales)
โดยนาค่าระดับที่ได้มาหาค่าเฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการ
วิเคราะหข์ ้อมูล

4.4.2 การวเิ คราะหข์ ้อมูลเชิงคณุ ภาพ
ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ในขั้นตอนของการสอบถามความต้องการ
หัวเรอื่ งและการสมั ภาษณ์นักศกึ ษาเก่ยี วกับพฤติกรรมสารสนเทศ

5. นยิ ำมศัพท์เฉพำะ (Definition of key terms)

5.1 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยี (E-collaborative
learning) หมายถึง สื่อท่ผี ้วู ิจัยพฒั นาขน้ึ เพ่ือฝกึ ทกั ษะการอา่ นภาษาองั กฤษสาหรับนักศึกษา หลักสูตร
วิศวกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและวิศวกรรมโยธา โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวการสอนอ่าน
เพ่อื การส่อื สารเพ่อื ให้นักศึกษาไดฝ้ ึกอา่ นอยา่ งมจี ดุ ประสงค์ โดยพิจารณาให้สอดคล้องกับจดุ มงุ่ หมาย
ของรายวิชาและคาอธิบายรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการทางาน (English for Work) รหัสวิชา 01-
312-006 สือ่ สามารถนาไปใช้เสรมิ การสอนรายวชิ าดังกล่าว

เน้ือหาของสื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์ฯ มีทง้ั หมด 4 หน่วยการเรียน ประกอบดว้ ย
Unit 1 : Job advertisement
Unit 2: Workplace safety

6

Unit 3 : Materials
Unit 4 : User manual
ในแบบฝึกจะมีทักษะในการอ่านเพื่อความเข้าใจ ได้แก่ ทักษะการอ่านเพื่อหาใจความสาคัญ
การหารายละเอียดของข้อมูล การวิเคราะห์ความหมายของคาศัพท์จากบริบท และการบอก
ความหมายของคาทใ่ี ช้อ้างองิ อา่ น
กิจกรรมการเรียนผ่านการปฏิบัติภาระงานเพ่ือมุ่งเน้นการฝึกทักษะการอ่าน ในรูปแบบไฟล์
เอกสาร ภาพ บนเว็บไซต์ เพื่อให้นักศึกษาสามารถเข้าไปศึกษา และทากิจกรรมบนเว็บไซต์ผ่าน
โทรศัพท์มือถือ หรือ อุปกรณ์ส่ือสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์อื่น ๆซ่ึงผู้เรียน
สามารถเรียนรู้และทากิจกรรมนอกเหนือจากในชน้ั เรียนได้
5.2 ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษ หมายถึง คะแนนที่ได้จากการทาแบบทดสอบ
วัดความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างก่อนและหลังการเรียนจาก
สื่ออิเล็กทรอนกิ สฯ์ ท่ีผู้วิจัยสรา้ งขนึ้
5.3 ความคิดเห็น หมายถึง ค่าระดับคะแนนท่ีได้จากการทาแบบสอบถามความคิดเห็นของ
นกั ศกึ ษาที่มีต่อสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯ ดา้ นต่างๆ ซึง่ ได้แก่ 1) ด้านเน้อื หา 2) ด้านรปู แบบการจัดกิจกรรม
และ 3) ดา้ นรปู แบบการเรยี นผา่ นเว็บ
5.4 พฤติกรรมสารสนเทศ หมายถึง แนวทาง วิธีการรูปแบบ แหล่งสารสนเทศ และวิธีการ
หา และการประเมินสารสนเทศท่ีนักศึกษาใช้ในการศึกษาค้นคว้าเพื่อทางานท่ีได้รับมอบหมาย
โดยวัดค่าระดับคะแนนท่ีได้จากการทาแบบสอบถามวดั พฤติกรรมสารสนเทศของนักศึกษา ด้านต่างๆ
ซ่ึงได้แก่ 1) ด้านความต้องการสารสนเทศ 2) ด้านการแสวงหาสารสนเทศ 3) ด้านการประเมิน
คณุ ภาพสารสนเทศ และ 4) ด้านการใช้สารสนเทศ
5.5 นักศึกษา หมายถึง ผู้ที่กาลังศึกษาอยู่ในระดับระดับปริญญาตรี ช้ันปีท่ี 2 และ 3
หลกั สูตรวศิ วกรรม สาขาวิศวกรรมโยธาและวิศวกรรมไฟฟา้ ซง่ึ ลงทะเบยี นเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ
เพ่ือการทางาน (English for Work) รหัสวิชา 01-312-006 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
ของวทิ ยาลัยเทคโนโลยีอตุ สาหกรรมและการจัดการ

6. ขอ้ ตกลงเบือ้ งต้น
เกณฑ์ประสิทธิภาพของส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯในการวิจัยครั้งน้ีกาหนดไว้ 75/75 โดยให้ถือค่า

ความคลาดเคล่ือนในการยอมรับหรือไม่ยอมรบั ประสิทธภิ าพของแบบฝึกฯไวร้ ้อยละ 2.5-5 กลา่ วคอื
1.1 เมื่อประสิทธิภาพของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯสูงกว่าท่ีตั้งไว้ร้อยละ 2.5 ขึ้นไป ให้ถือว่า

สื่ออิเล็กทรอนกิ ส์ฯ มปี ระสิทธภิ าพดมี าก
1.2 เม่ือประสิทธิภาพของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯสูงกว่าหรือเท่ากับเกณฑ์ที่ต้ังไว้ แต่ไม่เกิน

ร้อยละ 2.5 ใหถ้ อื วา่ สื่ออเิ ล็กทรอนิกส์ฯ มีประสทิ ธิภาพดี
1.3 เม่ือประสิทธิภาพของส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ ต่ากว่าเกณฑ์ที่ต้ังไว้ แต่ไม่ต่ากว่าร้อยละ 2.5

ให้ถือวา่ สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ สฯ์ ยังมีประสิทธิภาพเป็นท่ียอมรบั ได้หรอื อยใู่ นระดบั พอใช้
1.4 เม่ือประสิทธิภาพของส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ ต่ากว่าเกณฑ์และมากกวา่ รอ้ ยละ 2.5 ให้ถือว่า

ส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์ฯ มปี ระสทิ ธิภาพตา่

7

2. คะแนนที่ได้จากการสอบคร้ังแรก (Pre-test) เป็นเคร่ืองบ่งชี้ถึงความสามารถในการอ่าน
ภาษาอังกฤษของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างแต่ละคนก่อนการเรียนจากส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ ท่ีผู้วิจัยสร้าง
ขน้ึ

3. คะแนนท่ไี ดจ้ ากการสอบหลงั เรยี น (Post-test) เป็นเครือ่ งบ่งช้ีถึงความสามารถในการอ่าน
ภาษาองั กฤษของนักศึกษากลุม่ ตวั อย่างแตล่ ะคนหลงั การเรยี นจากสอื่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ฯ ทผ่ี ูว้ ิจัยสรา้ งข้นึ
7. กรอบแนวคดิ กำรวิจัย (Conceptual framework)

งานวิจยั นผี้ ู้วจิ ัยไดก้ าหนดกรอบแนวการวจิ ัยดงั แสดงในภาพท่ี 1

ภำพที่ 1 กรอบแนวการวจิ ัยของการพัฒนาสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ทเ่ี น้นกระบวนการเรยี นรูร้ ่วมกันโดย
ใชเ้ ทคโนโลยี (E-collaborative learning)

8

บทที่ 2
กำรทบทวนวรรณกรรม เอกสำร และงำนวจิ ยั ทเี่ กย่ี วขอ้ ง

การวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยต่าง ๆ เพื่อเป็นพื้นฐานและ
แนวทางในการพัฒนาส่ืออิเล็กทรอนิกส์ท่ีเน้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยี
(E-collaborative learning) สาหรับนกั ศกึ ษาสาขาวิศวกรรมดงั ตอ่ ไปนี้

1. การอา่ น
1.1 ความหมายของการอา่ น
1.2 ความเข้าใจในการอ่าน
1.3 ทักษะการอา่ นเพื่อความเข้าใจ
1.4 ทฤษฎีการสอนอ่านภาษาอังกฤษ

2. ภาษาองั กฤษเพื่อจดุ ประสงค์เฉพาะ (English for Specific Purposes)
2.1 ความหมายและลกั ษณะของภาษาอังกฤษเพือ่ จุดประสงค์เฉพาะ
2.2 ประเภทของภาษาอังกฤษเพ่ือจุดประสงค์เฉพาะ
2.3 การพฒั นาและออกแบบการเรยี นวิชาภาษาอังกฤษเพื่อจุดประสงคเ์ ฉพาะ
2.4 การวิเคราะหค์ วามต้องการของผเู้ รียน (Needs analysis)

3. การจัดการเรยี นการสอนผ่านเวบ็ (Web-based instruction)
3.1 ความหมายและลกั ษณะของการเรียนการสอนผา่ นเว็บ
3.2 ประเภทของการเรียนการสอนผา่ นเวบ็
3.3 ส่วนประกอบของการเรียนการสอนผา่ นเวบ็
3.4 การออกแบบบทเรียนผ่านเวบ็

4. พฤติกรรมสารสนเทศ
4.1 ความหมายของพฤตกิ รรมสารสนเทศ
4.2 แนวคดิ เก่ียวกบั พฤตกิ รรมการแสวงหาสารสนเทศ
4.3 ความหมายและความสาคญั ของสารสนเทศ
4.4 ลกั ษณะของสารสนเทศ

5. งานวิจัยทีเ่ กยี่ วข้อง

1.กำรอำ่ น
1.1 ควำมหมำยของกำรอ่ำน

การอ่านเปน็ สิ่งสาคัญในการดารงชีวติ ของมนุษยแ์ ละยงั มีบทบาทในหลากหลายดา้ น เช่น การอ่านเพ่ือ
ความบันเทิง การอ่านเพื่อศึกษาหาความรู้ การอ่านเพ่ือการส่ือสาร รวมถึงการอ่านเพ่ือรับรู้ข้อมูล
ข่าวสารต่าง ๆ การอ่านเป็นหนึ่งในทักษะสาคัญในการเรียนรู้ภาษา เป็นทักษะท่ีช่วยฝึกให้นักเรียน
สามารถเรียนรทู้ กั ษะฟัง พูด และเขียนไดด้ ีข้ึน และยังเป็นพ้นื ฐานของการเรยี นรู้ ทาให้มนุษย์สามารถ
เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ตลอดชีวิต (Farrell, 2009; Maxom, 2009; รัศมีและวิสาข์, 2563)
มนี ักการศึกษาหลายท่านได้ใหค้ วามหมายของการอา่ นไว้ดังน้ี

9

เกรบ (Grabe, 2009) ได้อธิบายว่าการอ่านเป็นกระบวนการท่ีเกี่ยวข้องกับผู้อ่าน ข้อความ และ
ปฏิสมั พันธร์ ะหวา่ งผอู้ า่ นกบั ขอ้ ความ

ริชาร์ดส์ (Richards , 2010) การอ่านเป็นกระบวนการท่ีต้องใช้ทักษะหลายด้าน ในการอ่าน
ผู้อ่านต้องสามารถใช้ความรู้พื้นฐานและประสบการณ์เดิมในการเชื่อมโยงเข้ากับเนื้อหาใหม่ท่ีกาลัง
อ่าน ผู้อ่านจะต้องเข้าใจความหมายของคาศัพท์ได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง ซ่ึงการอ่านเกี่ยวข้องกับ
การรวบรวมตวั อักษรเปน็ คาศพั ท์แล้วรวมคาศพั ทเ์ ข้าดว้ ยกันเพื่อใหเ้ กิดความหมาย
ในการอ่านเพื่อความเข้าใจ ผู้อ่านจะได้รับข้อมูลจากข้อความท่ีเป็นลายลักษณ์อักษรและจาเป็นต้อง
ถอดรหัสข้อมูลเหล่านี้เป็นข้อความที่มีความหมายเพ่ือให้สามารถเข้าใจเน้ือหาที่อ่านและบรรลุ
วัตถุประสงค์ของการอ่าน (Namaziandost , Mehdi, & Ziafar, 2019)

พิมานมาศ (Pimanmas, 2015) ได้กล่าวว่าการอ่านเป็นกระบวนการที่มีความเก่ียวข้องกนั
ระหว่างผู้เขียนกับผู้อ่าน เพ่ือให้เกิดความเข้าใจในการอ่านผู้อ่านจะต้องมีการถอดรหัสคา การสร้าง
ความหมายจากขอ้ ความทอ่ี ่าน รวมถึงการใชค้ วามรูเ้ ดิมมาชว่ ยในการสร้างความเข้าใจจดุ มุ่งหมายของ
ผูเ้ ขียน

จากการอธิบายความหมายของการอ่านตามทัศนะของนักการศึกษาที่กล่าวมาแล้วน้ันอาจมี
การให้คาจากัดความท่ีแตกต่างกันไปบ้างตามทฤษฎีของแต่ละบุคคล อย่างไรก็ตามสิ่งหน่ึงท่ีส่วนใหญ่
มีความคิดเห็นที่สอดคล้องกันว่า การอ่านเป็นกระบวนการทางภาษาท่ีสลบั ซับซ้อน ซ่ึงการท่ีผู้อ่านจะ
เข้าใจความหมายของส่ิงที่อ่านได้อย่างถูกต้องนั้นจาเป็นจะต้องอาศัยการเช่ือมโยงระหว่าง
ประสบการณ์และความรู้เดิมกับข้อมูลท่ีอ่าน และทักษะท่ีจาเป็นสาหรับการอ่านมาช่วยในการทา
ความเขา้ ใจ เช่น ความรู้ด้านคาศพั ท์ โครงสรา้ งทางภาษา โครงสร้างประโยค และการตีความ เป็นตน้

1.2 ควำมเข้ำใจในกำรอ่ำน
การท่ีผู้อ่านสามารถเข้าใจความหมายของส่ิงที่ผู้เขียนต้องการส่ือสารได้ ถือเป็นเป้าหมายท่ี
สาคัญของการอ่าน และการท่ีผู้อ่านจะเกิดความรู้ความเข้าใจในส่ิงท่ีอ่านได้น้ัน จาเป็นจะต้องมีกลวิธี
ในการอ่าน รวมถึงข้ึนอยู่กับองค์ประกอบและปัจจัยต่าง ๆ นักการศึกษาหลายท่านได้กล่าวถึงความ
เข้าใจในการอ่านไวด้ ังนี้
มิลเลอร์ (Miller, 1990) กล่าวว่า ความเขา้ ใจในการอา่ นเปน็ กระบวนการสร้างความเขา้ ใจใน
สัญลักษณ์หรือข้อความท่ีสื่อความคิดของผู้เขยี น โดยผ้อู ่านจะต้องนาเอาความรู้และประสบการณ์เดิม
มาปฏิสัมพันธก์ ับสิ่งทีผ่ ู้เขยี นนาเสนอ
นูแนน (Nunan, 1995) ได้กล่าวว่าการอ่านประกอบด้วยความสามารถในการเชื่อมโยงคา
หรือประโยค ความรู้เร่ืองไวยากรณ์ ความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการอ่านแบบต่าง ๆ การนาความรู้เดิมมา
ทาความเข้าใจกับเร่ืองที่อ่าน และการทาความเข้าใจกับบริบทเพื่อตีความในส่ิงที่ผู้อ่านไม่ได้กล่าวถึง
โดยตรง ซง่ึ การนาองคป์ ระกอบเหลา่ น้มี าเชือ่ มโยงกับเรื่องท่ีอา่ น สามารถช่วยในการสอื่ ความหมายให้
เกดิ ความเขา้ ใจไดด้ ียงิ่ ขึ้น
กล่าวโดยสรุปความเข้าใจในการอ่านนั้นต้องอาศัยองค์ประกอบหลายด้านด้วยกัน ซึ่งอาจ
ประกอบด้วยพื้นความรู้หรือประสบการณ์เดิม ความสามารถทางภาษา ความรู้ในเนื้อหาและ
จุดประสงค์ในการอ่าน การเช่ือมโยงคาหรือประโยค การใช้เทคนิคการอ่านแบบต่าง ๆ การทาความ

10

เข้าใจกับบริบท ความน่าสนใจของเน้ือเร่ือง ซ่ึงองค์ประกอบเหล่านี้จะส่งผลต่อความเข้าใจและ
ประสิทธภิ าพในการอา่ นของผูอ้ ่านแตล่ ะคน

นอกจากนี้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอ่าน ส่ิงสาคัญท่ีผู้สอนควรคานึงถึง คือ ระดับ
ความสามารถในการอ่าน เพื่อให้การจัดกิจกรรมมีความสอดคล้องกับจุดประสงค์ในการเรียนรู้และ
เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน มีนักการศึกษาได้กล่าวถึงระดับความสามารถในการอ่านเพื่อความ
เขา้ ใจไว้ ดงั น้ี

เซียร์ฟอสส์และรีดเดนซ์ (Searfoss & Readence, 1994) ได้แบ่งระดับความเข้าใจในการ
อา่ นออกเปน็ 3 ระดับ ไดแ้ ก่

1. ระดับความเข้าใจตามตัวอักษรที่ปรากฏ (Text-explicit) คือ ความสามารถในการหา
คาตอบข้อมูลหรือบอกในสิ่งท่ีผู้เขียนเขียนไว้ได้โดยตรงจากการอ่าน คาตอบหรือข้อมูลที่ได้ก็จะต้อง
เป็นไปตามตัวอกั ษรทป่ี รากฏ

2. ระดับความเข้าใจตามความหมายที่แฝงอยู่ (Text-implicit) คือ ความสามารถในการหา
คาตอบหรือข้อมูลท่ีผู้เขียนไม่ได้เขียนไว้โดยตรง แต่ผู้อ่านจะต้องประมวลข้อมูลในบริบทที่เกี่ยวข้อง
แล้วคิดหาคาตอบ ซ่ึงมีได้หลากหลายข้ึนอยู่กับประสบการณ์และความสามารถในการอ่านเพ่ือตีความ
ของผูอ้ ่านแตล่ ะคน ทงั้ นีเ้ พราะความเข้าใจในระดับนีผ้ ู้อ่านต้องใช้ความรู้ที่ได้จากการอ่านเช่ือมโยงกับ
ประสบการณเ์ ดิมของผอู้ ่านเอง แล้วจึงอนมุ านเป็นความหมายที่แฝงอยู่

3. ระดับความเข้าใจจากประสบการณ์ (Experience-based) คือ ความสามารถในการหา
คาตอบหรือข้อมูลโดยใช้ประสบการณ์ของผู้อ่านว่าเร่ืองจะดาเนินต่อไปอย่างไร เพราะอะไร ซึ่งหาก
คาตอบหรือขอ้ มูลที่ไดน้ ้ีไมม่ ีปรากฏในเน้ือเร่ือง คาตอบหรือข้อมลู นี้สามารถมีไดม้ ากกว่าหน่งึ

เฮอร์เบอร์และโจน (Herber & Joan, 1993) แบ่งระดับความเข้าใจในการอ่านไว้ 3 ระดับ
ไดแ้ ก่

1. ความเข้าใจในระดับตามตัวอักษร (Literal comprehension) หมายถึง การอ่านตาม
บรรทดั มีจดุ มงุ่ หมายเพ่ือระบุข้อมลู ท่ีผูเ้ ขียนนาเสนอในบทอา่ น เน่อื งจากบทอา่ นนน้ั มีข้อมูลเฉพาะอยู่

2. ความเข้าใจในระดบั ตคี วาม (Interpretive comprehension) หมายถึง การอ่านระหว่าง
บรรทัด จุดมุ่งหมายของความเข้าใจในระดับนี้เพื่อลงความเห็นอย่างมีเหตุมีผลจากข้อมูลท่ีนาเสนอใน
ขอ้ ความท่อี ่านตามตัวอักษร

3. ความเข้าใจในระดับประยุกต์ (Applied comprehension) หมายถึง การอ่านนอกเหนือ
บรรทดั ซ่งึ จุดมุง่ หมายของความเข้าใจในระดับน้ี คือ การเช่ือมโยงความรู้เดิมและประสบการณเ์ ดิมให้
เข้ากบั ใจความท่ไี ดจ้ ากบทอา่ น

1.3 ทกั ษะกำรอ่ำนเพือ่ ควำมเข้ำใจ
การอ่านเป็นกระบวนการที่ประกอบด้วยทักษะต่าง ๆท่ีช่วยให้เข้าใจในส่ิงท่ีอ่านได้ดีขึ้น
ทักษะการอ่านเป็นส่วนประกอบที่สาคัญในการพัฒนาทักษะการอ่านของผู้เรียน ฮูดและโซโลมอน
(Hood & Soloman,1985) ไดอ้ ธบิ ายถงึ ทกั ษะการอ่านเพ่อื ความเข้าใจท่ีสาคัญ ดังนี้

11

1. การอ่านผ่านอย่างเร็ว (Skimming) เป็นการอ่านเพ่ือหาประเด็นหลัก ภาพรวม ข้อมูล
ทั่วไป หรอื เกบ็ รายละเอยี ดบางอย่าง

2. การอ่านเพื่อหาข้อมูลเฉพาะ (Scanning) เป็นการอ่านเพื่อหาเฉพาะข้อมูลที่ผู้อ่าน
ต้องการโดยไมส่ นใจขอ้ มูลอนื่ ๆ เชน่ การอา่ นตารางรถประจาทางเพอ่ื หาเวลาที่รถออก

3. ทักษะการอ้างอิง (Reference skills) ใช้เพ่ือบอกตาแหน่งหรือท่ีมาของข้อมูลที่ต้องการ
จากขอ้ ความทีจ่ ัดไว้อย่างเป็นระบบ เช่น การหาคาศัพทจ์ ากหน้าในพจนานกุ รม

4. การทานายหรือการคาดเดา (Predicting) ใช้เม่ือต้องการหาความหมายของคาศัพท์ใน
ขณะทีอ่ า่ น ซง่ึ การคาดเดานี้จะต้องอาศยั ประสบการณ์เดิมและพนื้ ความรู้ทางภาษามาประกอบดว้ ย

5. การละเว้นคาท่ีไม่คุ้นเคย (Deducting the meaning of unfamiliar words) ในขณะท่ี
อ่านผู้อ่านจะอ่านข้ามคาที่ไม่ทราบความหมาย แต่หากว่าคาท่ีไม่ทราบนั้นมีความสาคัญต่อข้อความท่ี
อา่ นก็อาจทาใหค้ วามเข้าใจในการอ่านคลาดเคลอื่ นไป ดงั นนั้ ส่ิงท่ีสามารถชว่ ยได้ คือ การสังเกตบริบท
ทางภาษาท่แี วดล้อม (Clues) ความรู้เดิมเกย่ี วกับเรื่องทอ่ี า่ นและการสังเกตคาอนื่ ๆที่คุ้นเคย

6. การอ่านเพื่อหาใจความสาคัญ (Reading for main ideas) เป็นทักษะในการอ่านอย่าง
ระมัดระวงั เพ่ือหาใจความสาคญั โดยไมส่ นใจในรายละเอยี ดทไ่ี ม่จาเป็น

7. การอ่านรายละเอียด (Reading for details) เป็นการอ่านอย่างละเอียดรอบคอบ และมี
ความจาเป็นมากสาหรับเนอ้ื หาทต่ี อ้ งการการตีความหรือตอ้ งการความชัดเจน

สาหรับผู้เรียนทางด้านวิศวกรรม ทักษะการอ่านเพื่อความเข้าใจเป็นส่ิงท่ีจาเป็นซ่ึงจะช่วยให้
ผู้เรียนเข้าใจในสิ่งที่อ่านได้ดีขึ้น ซ่ึงพริทชาร์ดและนาส์ร (Pritchard & Nasr, 2004) ได้อธิบายถึง
ทกั ษะการอ่านทผ่ี เู้ รยี นสาขาดังกลา่ วจาเปน็ จะต้องมีดงั น้ี

1. การอ่านเพื่อหาประเด็นหลกั ภาพรวม หรือขอ้ มลู ท่ัวไป (Skimming)
2. การอา่ นเพือ่ หาข้อมูลเฉพาะท่ีต้องการ (Scanning)
3. การทาความเขา้ ใจความหมายสิ่งทผ่ี เู้ ขยี นระบุไว้โดยตรงและโดยนัย
4. การอา่ นเพอื่ ทาความเขา้ ใจรปู ภาพ แผนผัง และตาราง (Figures, diagrams, and tables)
5. การอ่านคาส่ัง คาชแ้ี จง การอธิบายขน้ั ตอนตา่ ง ๆ (Instructional language)
6. การอ่านเพือ่ หาจดุ มงุ่ หมายของผู้เขยี น
7. การจดจาคาทม่ี ีความหมายเหมือนกนั
8. การเดาความหมายคาจากองค์ประกอบย่อยภายในคา ส่วนนาหน้าคา (Prefixes)
สว่ นท้ายคา (Suffixes) หรือ รากศพั ท์ (Roots) และ Word families
9. การทาความเข้าใจคานามทีส่ ร้างมาจากคาประเภทอ่ืน (Nominal compounds)
10. การอ่านแลว้ ย่อความหรือสรุปความ
จากทักษะการอา่ นเพื่อความเขา้ ใจรปู แบบต่าง ๆทกี่ ลา่ วมาขา้ งต้น สามารถสรปุ ได้ว่าการอ่าน
เป็นทักษะที่ต้องอาศัยความรู้ทางภาษา เนื้อหา และรูปแบบของเร่ืองที่อ่าน ตลอดจนความเข้าใจใน
จุดประสงค์ของผู้เขียน ผู้อ่านจึงควรได้รับการฝึกทักษะการอ่านแบบต่าง ๆ เพื่อสามารถเลือกใช้วิธีที่
เหมาะสมกับลักษณะเนื้อหาและวัตถุประสงค์ในการอ่านอันจะนาไปสู่ความเข้าใจเน้ือเรื่องท่ีอ่านได้ดี
ยง่ิ ข้นึ

12

1.4 ทฤษฎีกำรสอนอ่ำนภำษำองั กฤษ
ปัจจุบันการสอนภาษาอังกฤษได้เปล่ียนแปลงไปจากเดิมที่มุ่งเน้นการสอนภาษาเพื่อการ
สื่อสารเพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้ภาษาท่ีถูกต้องในสถานการณ์จริง ไม่เพียงแต่เน้นกฎไวยากรณ์เหมือนเช่น
แต่ก่อน ดังน้ันผู้สอนจาเป็นต้องออกแบบ วางแผนกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึก
ปฏบิ ตั ิทีส่ อดคลอ้ งกับความรขู้ องผู้เรียนให้มากที่สุด
แนวคิดการสอนการอ่านภาษาอังกฤษที่ผู้สอนสามารถนาไปเป็นแนวทางในการสอนที่มี
ประสิทธิภาพตามทลี่ าพพ์และฟลดั (Lapp, Flood, Brock, & Fisher: 2008) และ บารเ์ รท็ บาร์เชอร์
และรดั เดล (Barrett, Barchers, & Ruddell) ได้เสนอไว้ มดี งั นี้
1. ทฤษฎีการอ่านรูปแบบล่างข้ึนบน (Bottom-up theory of reading) ให้ผู้อ่านคานึงถึง
หน่วยเล็ก ๆของคาต้ังแต่ตัวอักษรเมื่อต้องการอ่านคาพิจารณาคา เมื่ออ่านวลีพิจารณาวลี เม่ืออ่าน
ประโยคการอ่าน คือ การจาคาเพื่อให้เข้าใจบทอ่าน ต้องใช้ความรู้ภาษาเกี่ยวกับคาศัพท์ โครงสร้าง
ไวยากรณ์และความสัมพันธ์ของประโยค ซ่ึงตรงกับแนวคิดเก่ียวกับการสอนอ่านท่ียึดเน้ือหาเป็นหลัก
(Text-based) ถือว่าเน้ือเร่ืองเป็นเร่ืองจุดเร่ิมต้นในการอ่านการถอดสัญลักษณ์ที่ใช้แทนเสียงเป็น
ส่ิงสาคัญในกระบวนการอ่าน การอ่านเป็นการวิเคราะห์หน่วยย่อย ๆของหน่วยใหญ่โดยการวเิ คราะห์
เสยี ง สระ พยัญชนะรวมเปน็ คา
2. ทฤษฎกี ารอา่ นรูปแบบบนลงล่าง (Top-down theory of reading) ผอู้ ่านสามารถเข้าใจ
บทอ่านได้ดีเม่ือเช่ือมโยงความรู้และประสบการณ์เดิมของผู้อ่านมาใช้คาดเดา ตรงกับแนวคิดท่ียึด
ผู้เรียนเป็นหลัก โดยนาประสบการณ์ โลกทัศน์ ความเช่ือต่าง ๆ และนาส่ิงเหล่าน้ีมาช่วยแปล
ความหมายในกระบวนการอ่านน้ัน ๆ ยิ่งเมื่อผู้อ่านมีความรู้ มีประสบการณ์ในเร่ืองที่อ่านมากเท่าไร
ยิ่งไมต่ อ้ งถอดหรอื แปลความหมายของการอา่ นนั้น ๆ
3. ทฤษฎีการอา่ นแนวปฎิสัมพันธ์ (Interactive theory of reading) มคี วามคดิ วา่ เม่ือผู้อ่าน
ไม่สามารถเข้าใจความหมายในเน้ือเรื่องในครั้งแรก แต่เม่ืออ่านซ้าหลายๆคร้ังจะเข้าใจได้ดีเพราะอ่าน
จะได้ใช้ความรู้ประสบการณ์ของตัวเองมาใช้ มีความคล้ายคลึงกับแนวคิดที่ยึดเนื้อหาและผู้เรียน
ร่วมกันซึง่ ถือเป็นการตอบสนองตัวอักษรลาดับเหตุการณ์และโครงสร้างประโยคต้องนามาใช้พร้อมกับ
ความเข้าใจในกลุ่มคาซึ่งผู้อ่านต้องนาความรู้ทางภาษาไปสู่การแปลความหมาย ผู้อ่านต้องมีความรู้
2 ด้านคือความรู้ด้านโครงสร้างภาษา (Syntactical knowledge) และความรู้ด้านความหมาย
(Semantic knowledge) ซ่ึงแนวคิดน้ีเรียกว่ากระบวนการปฏิสัมพันธ์ในการอ่าน เป็นการนาเอา
ความรปู้ ระสบการณ์เดมิ และความรู้ท่ีอา่ นจากเนื้อหาจริงจากการอ่านมาวิเคราะห์ชว่ ยเหลือเพื่อความ
เข้าใจกับเน้ือหาที่อ่าน ทฤษฎีการอ่านแบบปฎิสัมพันธ์มีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับความ
เข้าใจของผู้อ่าน ประกอบไปด้วย ผู้อ่าน (Reader) เน้ือเร่ืองท่ีอ่าน (Text) และบริบทแวดล้อมในการ
อ่าน (Context) ซ่ึงสามารถอธิบายไดด้ งั นี้
3.1 องค์ประกอบในตัวผู้อ่าน จะประกอบไปด้วยพื้นความรู้เดิมของผู้อ่าน อายุ
วุฒิภาวะของผู้อ่าน (Maturation) ความรู้เกี่ยวกับคาศัพท์ พ้ืนฐานทางด้านสังคมและวัฒนธรรม
จุดม่งุ หมายในการอ่านและความสามารถในการแปล
3.2. องค์ประกอบเกี่ยวกับเรื่องท่ีอ่าน ประกอบไปด้วยรูปแบบของเรื่องท่ีอ่าน (Type of
material) รูปแบบการเขยี น โครงสร้างของเนอ้ื เรือ่ ง เนอ้ื หา และความยากของเน้อื เรื่อง

13

3.3 องค์ประกอบเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม ประกอบไปด้วยการให้ตัวชี้แนะจากผู้เขียน
จุดมุ่งหมายในการเรยี น รปู แบบการจัดกลมุ่ และการปฏสิ มั พนั ธร์ ะหว่างผเู้ รยี นและผสู้ อน

4. ทฤษฎกี ารอ่านแนวร่วมสัมพันธ์ (Trans active theory of reading) เปน็ แนวคิดเดียวกับ
แนวทางปฏิสัมพันธ์ที่คิดว่าบริบทมีความสาคัญมากต่อการอ่าน โดยเช่ือว่าผู้สอนควรเสริม
ประสบการณท์ เ่ี กี่ยวข้องกอ่ นใหผ้ ้เู รยี นอ่านบทอ่าน

5. ทฤษฎีการพัฒนาทางภาษาและการอ่านออกเขียนได้ตามแนวปัญหาเชิงสังคม (The
socio-cognitive theory of language and literacy development) เชื่อว่าผ้เู รียนได้สงั่ สมความรู้
และประสบการณ์เดิมมาตั้งแต่เด็ก สาระความรู้ใหม่จะถูกเช่ือมโยงสัมพันธ์กับความรู้และ
ประสบการณเ์ ดิม ทาให้เกดิ กรอบมโนทศั น์ที่กว้างมากขน้ึ และพัฒนาการของผู้อ่านเกิดจากปฏิสัมพันธ์
กับผู้อ่ืน อีกทั้งผู้สอนเป็นผู้ช่วยให้ความรู้และช่วยแก้ไขให้แก่ผู้เรียนโดยสรุปทฤษฎีการสอนอ่านเป็น
กระบวนการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้อ่านกับบทอ่าน โดยผสมผสานระหว่างความรู้เดิมและความรู้ใหม่
เพ่ือทาให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจในการอ่านบทอ่านได้มากข้ึน ทั้งน้ีต้องอาศัยความชว่ ยเหลือจากผู้สอน
อธบิ ายให้การแนะนารว่ มด้วยเพือ่ ใหผ้ เู้ รียนเข้าใจมากยง่ิ ข้นึ

2. ภำษำอังกฤษเพอื่ จดุ ประสงคเ์ ฉพำะ (English for Specific Purposes)
2.1 ควำมหมำยและลักษณะของภำษำองั กฤษเพอื่ จุดประสงค์เฉพำะ
นักการศึกษาหลายท่านได้อธิบายความหมายของภาษาอังกฤษเพ่ือจุดประสงค์เฉพาะ

(English for Specific Purposes หรือ ESP) ไว้ว่าเป็นการสอนท่ีเน้นความต้องการของผู้เรียนใน
สถานการณต์ ่าง ๆ ดังน้ี

สตรีเวนส์ (Strevens, 1988 ) ได้ให้ความหมายของภาษาอังกฤษเพ่ือจุดประสงค์เฉพาะไว้วา่
เป็นการสอนภาษาอังกฤษที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน หัวขอ้ และเนื้อหาจะอยู่ในขอบเขต
ท่ีผู้เรียนต้องการ มีความสัมพันธ์กับอาชีพหรือวัตถุประสงค์เฉพาะ การสอนอาจจะมุ่งเน้นไปที่ทักษะ
เฉพาะด้าน เชน่ การฟัง การอ่าน เป็นต้น

ฮัทชินสันและวอเทอร์ส (Hutchinson & Waters,1987) กล่าวว่าเนื่องจากผู้เรียนมีความ
ต้องการใช้ภาษาอังกฤษต่างกันตามวัตถุประสงค์ในการเรียนของตน ทาให้ภาษาอังกฤษเพ่ือ
วัตถุประสงค์เฉพาะเป็นรูปแบบการเรียนการสอนหนึ่งท่ีสาคัญและได้รับความนิยมมากในการเรียน
ภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาที่สองหรอื เป็นภาษาตา่ งประเทศ

ราฮ์มัน (Rahman, 2015) กล่าวว่าภาษาอังกฤษเพ่ือวตั ถุประสงค์เฉพาะมีความแตกต่างจาก
ภาษาอังกฤษท่ัวไป (General English) ท้ังในด้านกระบวนการเรียนการสอน สภาพแวดล้อม และ
วัตถุประสงค์ในการเรียน ทั้งน้ีผู้เรียนท่ีเรียนภาษาอังกฤษเพ่ือวัตถุประสงค์เฉพาะส่วนใหญ่จะเป็น
ผู้ใหญ่ท่ีผ่านการเรียนภาษาอังกฤษมาแล้ว และต้องการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการประกอบอาชีพตาม
สายงานของตน

นอกจากนี้ โรบินสัน (Robinson, 1980 : 13) สรุปความหมายของภาษาอังกฤษเพื่อ
วตั ถปุ ระสงค์เฉพาะวา่ เป็นการเรียนการสอนภาษาอังกฤษทีม่ กี ารกาหนดเปา้ หมายอย่างชัดเจน โดย
มงุ่ ท่ีความสาเร็จในการแสดงออกถึงบทบาทต่าง ๆ ทจี่ าเป็นในการศึกษาหรือทางวิชาชีพและข้ึนอยู่
กับการวิเคราะห์ความต้องการของผ้เู รียน

14

ดังน้ันภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะจึงแตกต่างกันในเรื่องของทักษะ หัวเร่ือง
สถานการณ์ หน้าที่ทางภาษาและตัวภาษา เป็นการเรียนภาษาอังกฤษท่ีมีท้ังก่อนเข้าสู่บทบาททาง
อาชีพหรือการศึกษาสาขานั้น ๆ หรือเป็นการเรียนควบคู่ไปพร้อมกับการเรียนวิชาชีพหรือวิชาการ
แขนงนั้น ๆ หรือเป็นการเรียนสาหรับผู้ท่ีมีความรู้ความสามารถในงานอาชีพหรือในแนวทางวิชาการ
แขนงน้ัน ๆ เป็นอย่างดีแล้วในภาษาแม่ แต่จาเป็นต้องแสดงบทบาททางอาชีพหรือทางวิชาการ
เหลา่ นนั้ ดว้ ยภาษาอังกฤษ

สาหรับลกั ษณะของภาษาอังกฤษเพ่ือวตั ถุประสงค์เฉพาะนนั้ โรบินสัน (Robinson, 1991 : 3)
ได้อธิบายไวด้ ังนี้

1. มุ่งเนน้ ที่เปา้ หมายในการเรยี นของผ้เู รียนซึง่ ผูเ้ รยี นส่วนใหญ่มคี วามต้องการที่จะนาไปใช้ใน
การทางาน ไมไ่ ด้เรียนเพราะมคี วามสนใจในดา้ นภาษาและวฒั นธรรม

2. การจัดหลักสูตรสาหรับวิชาภาษาอังกฤษเพ่ือวัตถุประสงค์เฉพาะต้องมีความเหมาะสมกับ
เวลาท่จี ัดไว้

3. การจัดหลักสูตรสาหรับวิชาภาษาอังกฤษเพ่ือวัตถุประสงค์เฉพาะสาหรับรายวิชาหนึ่งๆ
ผู้เรียนจะมีความตอ้ งการและมเี ป้าหมายในการเรยี นท่เี หมอื นหรือคลา้ ยคลึงกนั

4. ผเู้ รียนส่วนใหญท่ ่ีเรยี นวชิ าภาษาองั กฤษเพือ่ วัตถปุ ระสงคเ์ ฉพาะจะเป็นผูใ้ หญ่
นอกจากนี้ จอห์นส์และดัดลีย์ อิวานส์ (Johns & Dudley-Evans, 2000 : 4-5) ได้กล่าวว่า
วิชาภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะเป็นวิธีการสอนท่ีสนองตอบต่อการประกอบอาชีพและ
กระบวนการสอนกจ็ ะแตกต่างกับการสอนวชิ าภาษาอังกฤษทว่ั ไป

2.2 ประเภทของภำษำองั กฤษเพอ่ื วัตถุประสงค์เฉพำะ
เน่ืองจากการสอนภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะเป็นการสอนภาษาอังกฤษให้
สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน โดยความต้องการท่ีแตกต่างกันออกไปและผู้เรียนเอง
ก็แตกต่างกันในหลายด้าน ดังน้ัน เพื่อให้การเรียนการสอนสอดคล้องกับปัจจัยดังกล่าว นักการศึกษา
จงึ ไดแ้ บ่งการสอนภาษาองั กฤษเพ่ือวัตถปุ ระสงค์เฉพาะไวห้ ลากหลายสาขา ดังน้ี
สตรีเวนส์ (Strevens, 1988 : 90-93) และแมคโดนัฟ (McDonough, 1984 : 6) ได้จาแนก
ประเภทของภาษาอังกฤษเพ่ือวตั ถปุ ระสงค์เฉพาะไว้ 2 ประเภท คือ
1. ภาษาองั กฤษเพอื่ วัตถุประสงค์ทางวิชาการ (English for Academic Purposes) เชน่
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เกษตรศาสตร์ เภสัชศาสตร์ วศิ วกรรมศาสตร์ เป็นตน้
2. ภาษาอังกฤษเพ่ือวัตถุประสงค์ทางวิชาชีพ (English for Occupational Purposes) เช่น
แอรโ์ อสเตส มัคคุเทศก์ ขา้ ราชการ ตารวจ เลขานกุ าร เปน็ ตน้
อีเวอร์ (Ewer, 1979 : 46-47 อ้างถึงใน อมรรัตน์, 2550 : 3) ได้แบ่งภาษาอังกฤษเพื่อ
วัตถุประสงค์เฉพาะทางด้านอาชีวศึกษา (English for Vocational Purposes หรือ EVP) ไว้ดังน้ี คือ
ภาษาอังกฤษสาหรับช่างไฟฟ้า ช่างก่อสร้าง เลขานุการ พนักงานบริษัท พนักงานบัญชี พนักงาน
ธนาคาร พนักงานโรงแรม พนักงานสายการบิน พนักงานที่เก่ียวข้องกับธุรกิจท่องเที่ยว พนักงาน
ควบคมุ การจราจรทางอากาศ และพนกั งานทาโปรแกรมคอมพวิ เตอร์

15

ฮัทชินสันและวอเทอรส์ (Hutchinson & Waters, 1996 : 16-19) ได้แบ่งประเภทของ
ภาษาอังกฤษเพ่ือวตั ถปุ ระสงคเ์ ฉพาะไวด้ งั น้ี

1. ภาษาอังกฤษสาหรับสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (English for Science and
Technology หรอื EST) ซึ่งแบ่งออกเป็นสาขายอ่ ยอกี อีก 2 สาขาคือ

1.1 ภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์ทางวิชาการ (English for Academic Purposes หรือ
EAP) เช่น ภาษาองั กฤษด้านการแพทย์ เปน็ ต้น

1.2 ภาษาอังกฤษเพ่ือวัตถุประสงค์ทางอาชีพ (English for Occupational Purposes หรือ
EOP) เช่น ภาษาองั กฤษสาหรบั ช่างเทคนคิ เป็นต้น

2. ภาษาอังกฤษสาหรับสาขาธรุ กจิ และเศรษฐศาสตร์ (English for Business and
Economics หรอื EBE) ซงึ่ แบง่ ออกเป็นสาขายอ่ ยอกี 2 สาขาคอื

2.1 ภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์ทางวิชาการ (English for Academic Purposes หรือ
EAP) เชน่ ภาษาอังกฤษดา้ นเศรษฐศาสตร์ เปน็ ต้น

2.2 ภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์ทางอาชีพ (English for Occupational Purposes หรือ
EOP) เช่น ภาษาอังกฤษสาหรับเลขานุการ เป็นต้น

3. ภาษาองั กฤษสาหรับสาขาสงั คมศาสตร์ (English for Social Science หรือ ESS) ซึ่งแบง่
ออกเปน็ สาขาย่อยอีก 2 สาขาคอื

3.1 ภาษาอังกฤษเพ่ือวัตถุประสงค์ทางวิชาการ (English for Academic Purposes หรือ
EAP) เชน่ ภาษาองั กฤษด้านจติ วทิ ยา เป็นตน้

3.2 ภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์ทางอาชีพ (English for Occupational Purposes หรือ
EOP) เช่น ภาษาองั กฤษสาหรบั ครู เป็นตน้

2.3 กำรพัฒนำและออกแบบกำรเรยี นวชิ ำภำษำองั กฤษเพอื่ วตั ถุประสงค์เฉพำะ
การออกแบบและพัฒนาการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษเพ่ือวัตถุประสงค์ จะเน้นทักษะ
ภาษาอังกฤษตามความต้องการของผู้เรียน ซ่ึงมีความแตกต่างกันไปตามสถานการณ์เฉพาะ ทั้งนี้จะ
เน้นภาษาอังกฤษในบริบทเฉพาะมากกว่าการเรียนไวยากรณ์และโครงสร้างทางภาษา ในขณะท่ี
ภาษาอังกฤษทว่ั ไปจะเน้นการเรียนการสอนทุกทักษะเทา่ กันทัง้ ฟงั พูด อา่ น และเขยี น
Sysoyev (2000) ได้เสนอแนะกระบวนการพัฒนาและการออกแบบวิชาภาษาอังกฤษเพื่อ
วตั ถปุ ระสงคเ์ ฉพาะ ประกอบด้วยขน้ั ตอนดังนี้
1. การวิเคราะห์ผเู้ รียน (Students analysis)
เป็นข้ันตอนเร่ิมต้นที่มีความสาคัญ การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นการสอบถามความสนใจและ
ความต้องการของผู้เรียน ทาให้ผู้สอนได้ทราบระดับความรู้พื้นฐาน ความสามารถของผู้เรียน กลวิธี
การเรียนหรือแรงจูงใจ รวมถึงศึกษาเป้าหมายของผู้เรียนท่ีได้ต้ังไว้ วิธีการวิเคราะห์ผู้เรียนสามารถทา
ได้โดยการใช้แบบสอบถาม การสารวจ การสัมภาษณ์รายบุคคล หรือการสนทนากลุ่ม อย่างไรก็ตาม
ข้อมูลท่ีได้จากการวิเคราะห์ผู้เรียนอาจจะไม่สามารถนามาใช้ได้ทั้งหมด ผู้สอนจะต้องนาข้อมูลไป
พิจารณาร่วมกบั หลักสตู ร นโยบายของมหาวิทยาลัย หรือเกณฑ์มาตรฐานอ่ืน ๆ

16

2. การกาหนดเป้าหมายและจุดประสงค์ (Formulation of goals and objectives of the
course) เป็นข้ันตอนท่ีช่วยให้ผู้สอนได้กาหนดโครงสร้างของรายวิชา ส่ือการสอน เวลาสอน รูปแบบ
กจิ กรรมและวิธกี ารสอน

3. การกาหนดเนือ้ หา (Conceptualizing the content)
ในการกาหนดเนื้อหาผู้สอนควรเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Learner-centred approach)
เพราะเป็นวิธีการท่ีสามารถตอบสนองความสนใจและความต้องการที่แตกต่างกันของผู้เรียนได้ การ
กาหนดเน้อื หามีความแตกต่างกัน โดยที่ผสู้ อนอาจจะเลอื กกาหนดการพัฒนาทักษะพ้ืนฐาน สมรรถนะ
ด้านการสื่อสาร (Communicative competence ) สมรรถนะระหว่างวัฒนธรรม (Intercultural
competence) หรอื ทางด้านคาศัพท์
4. การเลอื กและพัฒนาส่อื การสอน (Selecting and developing ESP materials)
การเลอื กสื่อการสอนข้ึนอยู่กับเนื้อหาท่ีผสู้ อนกาหนดไว้ และจะตอ้ งพจิ ารณาผู้เรียนซง่ึ ในการ
สอนในรายวิชาเดียวกันแต่ผู้เรียนต่างกลุ่มกัน ผู้สอนจาเป็นท่ีจะต้องศึกษาระดับความสามารถทาง
ภาษา ความสนใจและความสอดคลอ้ งกับเนอ้ื หาที่เรยี น
5. การวางแผนรายวิชา (Planning the course)
หลังจากทผี่ สู้ อนกาหนดเป้าหมาย จุดประสงคแ์ ละส่ือการสอนแล้ว จากนน้ั จะต้องดาเนินการ
การกาหนดลักษณะกิจกรรม ซึ่งควรจะต้องมีลักษณะเป็นกิจกรรมท่ีเน้นการสื่อสารและดาเนินการ
สอนเป็นข้ันตอนดังนี้ 1) การนาเข้าสู่บทเรียน 2) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และ 3) การสรุป
กิจกรรมท่ีใช้ควรเริ่มจากกิจกรรมง่ายๆ หรือกิจกรรมท่ีเช่ือมโยงกับสงิ่ ทผ่ี ู้เรยี นมีความรเู้ ดมิ อยู่ จากนั้น
จึงเพมิ่ ความยากของกจิ กรรม ในขณะทีส่ อนผู้สอนสามารถปรับเปล่ยี นกจิ กรรมให้สอดคลอ้ งกับความ
สนใจหรอื ความตอ้ งการของผู้เรยี นได้
6. การประเมนิ รายวชิ า (Course evaluation)
การประเมินรายวิชาเป็นขั้นตอนสุดท้ายและมีความสาคัญเช่นเดียวกับข้ันตอนอ่ืน ๆ ผู้สอน
ควรมกี ารประเมนิ ผลรายวิชาเพ่ือทจี่ ะหาแนวทางปรับปรงุ และเพมิ่ ประสิทธิภาพ การประเมนิ สามารถ
ดาเนินการในแบบ Implicit evaluation ทาในระหว่างที่มีการเรียนการสอน โดยผู้สอนสังเกต ให้
คะแนนการทากิจกรรม และ Explicit evaluation ผู้สอนใช้การประเมินรูปแบบน้ีเมื่อเสร็จส้ินการ
เรียนทั้งหมด โดยใช้การตอบแบบสอบถาม ซักถาม อภิปราย ความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อวิธีการ
สอน กิจกรรม สื่อการสอน และอ่ืน ๆ ผู้สอนจะต้องเป็นผู้ที่เปิดรับข้อมูลและนาข้อมูลท่ีได้ไปปรับปรุง
และพัฒนา
กระบวนการการพัฒนาและออกแบบการเรียนวิชาภาษาอังกฤษเพ่ือวัตถุประสงค์เฉพาะ
สามารถแสดงในภาพท่ี 2

17

ภำพท่ี 2 กระบวนการการพัฒนาและออกแบบการเรยี นวิชาภาษาองั กฤษเพ่ือวตั ถุประสงคเ์ ฉพาะ
แหลง่ ทีม่ า: Sysoyev, P. 2000. Developing an English for Specific Purposes Course Using
a Learner Centred Approach: A Russian Experience. The Internet TESL Journal 3:
1-7.

นอกจากนี้ ในการเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะแบบฝึกเป็นส่อื การสอน
หนึ่งท่ีผู้สอนใช้เป็นส่วนเพ่ิมเติมหรือเป็นหนังสือเรียนในการเรียนทักษะต่าง ๆของภาษาอังกฤษ หาก
แบบฝึกมีการจัดทาขึ้นอย่างมีระบบจะเป็นเคร่ืองมือท่ีช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการใช้ภาษาได้ดีข้ึน
ช่วยในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน ผู้เรียนสามารถใช้แบบฝึกในการศึกษาเร่ืองนั้น
ซา้ ๆดว้ ยตนเองจนเกดิ ความเข้าใจ

ในการสร้างหรือพฒั นาแบบฝึกทกั ษะภาษาองั กฤษ ฮทั ชนิ สันและวอเทอร์ส (Hutchinson &
Waters, 1987) ได้เสนอแนะว่าแบบฝึกควรประกอบไปดว้ ยองคป์ ระกอบดังนี้

1. ข้อมูลทางภาษา (Output) อาจเป็นลักษณะของข้อความ บทสนทนา รูปภาพ แผนที่
วีดีทัศน์ แผนภูมิ หรือข้อความใดๆ ที่ใช้ในการส่ือสาร ข้อมูลภาษา รูปภาพแต่ละชนิดข้ึนอยู่กับความ
ต้องการ ซึง่ ไดม้ าจากการวเิ คราะห์ความต้องการของผเู้ รยี น

2. เน้ือหาท่ีมุ่งเน้น (Content) หมายถึง เนื้อหาที่เป็นสื่อบอกความหมาย อาจะเป็นเน้ือหา
ทางภาษาศาสตร์ (Linguistic content) หรือเนื้อหาอยู่ในรูปของบริบทท่ีไม่เกี่ยวกับภาษาศาสตร์
(Non-linguistic content)

3. ตัวภาษาที่มุ่งเน้น (Language) มีจุดประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกใช้ภาษา ได้วิเคราะห์และ
สังเคราะห์ภาษา

4. ภาระงาน (Tasks) ให้ผู้เรียนรู้จักการใช้ภาษา ควรการสร้างภาระงานที่เน้นการสื่อสาร
มีความสัมพันธ์กับเน้ือหาและตัวภาษาที่มุ่งเน้น เพื่อให้แบบฝึกมีรูปแบบท่ีชัดเจนและมีขั้นตอนในการ
ปฏิบัติกิจกรรมที่แน่นอน ในการสร้างแบบฝึกผู้สอนควรแบ่งแบบฝึกออกเป็นหน่วยหรือบทเรียน

18

(Unit) เช่นเดียวกับการเรียนท่ัวไปซึ่งเป็นการช่วยให้ผู้เรียนรู้สึกคุ้นเคยและมีโอกาสฝึกซ้าๆ จนเกิด
ความชานาญและเกิดการเรียนรู้ในที่สุด องค์ประกอบของแบบฝึกในรายวิชาภาษาอังกฤษเพ่ือ
วัตถุประสงค์เฉพาะสามารถแสดงในภาพที่ 3

ภำพที่ 3 องคป์ ระกอบของแบบฝึกในรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อวัตถปุ ระสงคเ์ ฉพาะตามแนวคิดของ
ฮทั ชินสันและวอเทอร์ส (Hutchinson & Waters, 1987)
แหล่งทม่ี า: Hutchinson, T. & Waters, A.1987. English for Specific Purposes. Oxford
University Press, Oxford.

นอกจากนี้ในการออกแบบหลักสูตรภาษาอังกฤษเพ่ือวัตถุประสงค์เฉพาะส่ิงท่ีต้องคานึงถึงใน
การออกแบบหลักสตู ร ฮัทชนิ สนั และวอเทอรส์ (Hutchinson & Waters, 1994) ได้ใช้คาถาม 6 ขอ้
ต่อไปน้เี ป็นแนวทางคือ

1. ทาไมผูเ้ รยี นจึงต้องการท่ีจะเรียนภาษา (Why does the student need to learn?)
2. มีใครบ้างท่ีเก่ียวข้องในกระบวนการการเรียนน้ี (Who is going to be involved in the
process?)
3. จะใช้สถานทใ่ี ดในการเรยี น (Where is the learning to take place?)
4. การเรียนจะเกดิ ข้ึนเม่ือใด (When is the learning to take place?)
5. อะไรบ้างทผี่ ู้เรยี นจาเปน็ ต้องเรียน (What does the student need to learn?)
6. การเรียนจะประสบความสาเร็จได้อย่างไร ต้องใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ใดและใช้วิธีการสอน
แบบใด (How will the learning be achieved?) (What learning theory will underline the
course?) และ (What kind of methodology will be employed?)
จากคาถามข้างต้นสามารถนามาสรุปออกมาเป็นองค์ประกอบที่มีผลต่อการจัดหลักสูตร
ภาษาองั กฤษเพ่ือวตั ถุประสงค์เฉพาะ สามารถที่จะอธบิ ายได้ดังนี้

19

1. Language description
เป็นระบบของภาษาท่ีแบ่งย่อยออกมาเพื่อใช้อธิบายจุดประสงค์ของการเรียนรู้นั้น ๆ
เพ่ือตอบคาถามว่าลักษณะของภาษาประกอบไปด้วยอะไรบ้าง (What?) ที่ผู้เรียนจาเป็นต้องเรียน
ซงึ่ จะออกมาในลักษณะของหลกั สตู ร
2. Learning theories
เป็นพื้นฐานทางทฤษฎีท่ีเก่ียวกับการเรียนรู้ โดยช่วยให้เราเข้าใจว่าคนเราเรียนรู้อย่างไร
เพื่อตอบคาถามทวี่ ่าการเรยี นจะประสบผลสาเร็จอย่างไร (How?) ซ่งึ จะออกมาในรูปของกลวธิ ีในการ
สอน
3. Needs analysis
เป็นการวิเคราะหห์ าความต้องการของผู้เรียน โดยจะตอบข้อคาถามท่ีเกี่ยวกับผเู้ รียนเปน็ ใคร
และใครบ้างที่เกยี่ วข้องกับกระบวนการการเรียนการสอนนี้ (Who?) ทาไมผู้เรียนจึงต้องการท่ีจะเรียน
(Why?) แลว้ จะเรียนทใ่ี ด (Where?) และเรียนเมื่อใด (When?) ซึง่ จะออกมาในลักษณะของเปา้ หมาย
เฉพาะและสถานการณก์ ารเรยี นรู้
จากหลักการและทฤษฎีที่นาเสนอมาทั้งหมดสามารถสรุปได้ว่าในการจัดการเรียนการสอน
ภาษาอังกฤษเพ่ือจุดประสงค์ใดก็ตาม สิ่งท่ีสาคัญที่สุดประการหนึ่งท่ีต้องคานึงถึงคือ การวิเคราะห์
ความต้องการของผู้เรียนในสายอาชีพนั้น ๆ

2.4 กำรวเิ ครำะหค์ วำมต้องกำรของผเู้ รยี น (Needs analysis)
ในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะใดนั้น การศึกษาและ

วิเคราะห์ความต้องการของผู้เรยี นนับว่ามีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะการสารวจหาความต้องการ
ของผู้เรียนว่าจะเป็นตัวกาหนดแนวทางในการจัดการเรียนการสอนว่าควรเป็นไปในทิศทางใด จึงจะ
สามารถตอบสนองและสอดคล้องกับความตอ้ งการของผู้เรียนในการนาไปใชม้ ากทีส่ ดุ

นักการศึกษาได้วิเคราะห์และแบ่งประเภทของความต้องการของผู้เรียนดังนี้ 1) ความ
ตอ้ งการเป้าหมาย (Target needs) เป็นสง่ิ ทผ่ี เู้ รยี นจาเปน็ ต้องเรียนในแต่ละเน้ือหาวชิ าและ 2) ความ
ต้องการในการเรียนรู้ (Learning needs) เป็นสิ่งท่ีผู้เรียนจาเป็นต้องทาเพื่อให้เกิดการเรียนรู้
โดยฮัทชินสันและวอเทอร์ส (Hutchinson & Waters, 1994) ได้กล่าวถึงความต้องการเป้าหมาย
(Target needs) วา่ ประกอบไปด้วย 3 ส่งิ ดว้ ยกัน คอื

1. ส่ิงท่ีจาเปน็ (Necessities) สาหรับผเู้ รียนทจี่ ะเรียนรเู้ พือ่ ใหบ้ รรลุตามวตั ถุประสงค์ของการ
เรยี นรู้

2. ส่ิงท่ีผเู้ รยี นยงั ขาดหรือสงิ่ ที่ผเู้ รยี นยังไม่รู้ (Lacks)
3. สิ่งท่ผี ูเ้ รยี นต้องการท่จี ะเรียนรู้ (Wants)
ในการรวบรวมข้อมูลท่ีเก่ียวกับความต้องการเป้าหมาย (Target needs) มีกรอบท่ีใช้
พิจารณาในการเกบ็ รวบรวม ดงั นี้
1. ทาไมจึงจาเป็นต้องรู้ภาษา เช่น เพ่ือใช้ในอาชีพการงาน เพ่ือใช้ในการเรียน เพื่อใช้ในการ
สอบ หรือเพอ่ื ใชใ้ นการเลอ่ื นตาแหน่ง

20

2. จะมีการนาความรู้ทางภาษาไปใช้อย่างไร เช่น นาไปใช้ในการพูดหรือเขียน หรือใช้ใน
ลักษณะของการอา่ นคมู่ ือหรือการอา่ นตารา

3. เน้ือหาวิชาจะเป็นอะไรบ้าง เช่น เพ่ือนาไปใช้สาหรับการเรียนวิชาชีววิทยา หรือ
สถาปตั ยกรรม

4. ผู้เรียนจะนาภาษาไปใช้กับใคร เช่น นาไปใช้กับเจ้าของภาษา หรือไม่ใช่เป็นเจ้าของภาษา
นาภาษาไปใช้ในระดับไหน เช่น นาไปใช้กับระดับท่ัวไปหรือกับระดับผู้เช่ียวชาญ และมีความสัมพันธ์
กบั ผูเ้ รยี นลกั ษณะใด เชน่ เป็นเพือ่ นร่วมงาน ลกู คา้ หรือ ผูใ้ ต้บังคับบญั ชา เป็นตน้

5. จะมีการนาภาษาไปใช้ท่ีไหนหรือสถานการณ์ใด เช่น ที่ทางาน ที่โรงแรม ใช้ในประเทศ
ตนเอง หรือใช้ในต่างประเทศและภาษาท่ีจะนาไปใช้ในลักษณะใด เช่น ใช้เพ่ือการประชุมหรือใช้พูด
สนทนาโตต้ อบทางโทรศพั ท์

6. จะมีการนาภาษาไปใช้เมอ่ื ใด บ่อยแคไ่ หน และปรมิ าณท่ีใช้มากนอ้ ยเพยี งใด
นอกจากน้ี บรัมฟิท (Brumfit ,1984) ได้กล่าว่าการสอนและวิธีสอนเกี่ยวข้องอย่างมาก
กับความต้องการของผู้เรียน และวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอนเกิดข้ึนจากความต้องการ
(Objectives spring from needs) ถ้าบทเรียนไม่ได้สร้างขึ้นจากความต้องการของผู้เรียนแล้วทุก ๆ
อย่างกจ็ ะประสบความล้มเหลว ไมว่ ่าจะเป็นผสู้ อนหรือผเู้ รียน และเวลากจ็ ะเสยี ไปโดยเปลา่ ประโยชน์
บรัมฟิท ไดเ้ สนอแนะการวเิ คราะห์ความตอ้ งการของผู้เรียนจะควรเป็นไปใน 2 ลกั ษณะร่วมกนั คอื
1. ลักษณะที่ยึดเป้าหมายการเรียนเป็นศูนย์กลาง ซ่ึงจะพิจารณาในประเด็นของบทบาทของ
ผู้เรียนในการนาภาษาไปใช้ในอนาคต และจะระบุว่าทักษะทางภาษาหรือความรู้ทางภาษาศาสตร์ใด
ที่ผู้เรียนต้องมจี งึ จะเพยี งพอทจี่ ะสามารถแสดงบทบาทของตน
2. ลักษณะที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยพิจารณาว่าผู้เรียนน้ันมีความสามารถอะไรมากอ่ น
ผู้เรียนมีปัญหาอะไรบ้าง และทักษะอะไรท่ีผู้เรียนมีดีอยู่แล้วและสามารถส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนได้ดี
ข้ึน แนวความคิดของบรัมฟิทดังกล่าวใกล้เคียงกับการวิเคราะห์ความต้องการของ นูแนน
(Nunan,1993) แตท่ ่ีแตกต่างกันออกไป คือ
1. การวิเคราะห์ผู้เรียน (Learner analysis) เป็นการยึดจากข้อมูลที่เก่ียวกับตัวผู้เรียนโดย
คาถามหลักทสี่ าคัญ คือ ผเู้ รียนมจี ุดประสงค์อะไรในการเรยี นรู้ภาษา
2. การวิเคราะห์ภาระงาน (Task analysis) เป็นการระบุและจัดระบบของทักษะทางภาษาที่
จาเปน็ ต้องใช้ภาษาเพอ่ื สือ่ สารจริง ๆ ในโลกภายนอก
เม่ือพิจารณาจากข้อมูลที่เก่ียวข้องกับการวิเคราะห์ความต้องการของผู้เรียนสามารถสรุปได้ว่า
การวิเคราะห์ความต้องการของผู้เรียนเป็นสิ่งท่ีจาเป็นและมีความสาคัญมาก โดยต้องทาก่อนการ
วางแผนหลักสูตร เพื่อให้หลักสูตรน้ันตรงกับความต้องการของผู้เรียน ซ่ึงจะเป็นแรงจูงใจในการเรียน
ของผูเ้ รียน และจะทาให้การเรียนน้นั ประสบความสาเร็จตามท่ีผู้เรียนได้ตั้งเป้าหมายไว้ หรือจะกล่าวอีก
นัยหน่ึงก็คือ ความต้องการในการเรียนจะเป็นตัวกาหนดทิศทางของหลักสูตรให้บรรลุวัตถุประสงค์
ปลายทาง โดยอาศัยข้อมูลที่รวบรวมได้จากการสารวจมาวิเคราะห์แล้วจัดกิจกรรม การเรียนการสอน
และเนื้อหาที่จะสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนเป็นสาคัญ ซ่ึงตรงกับที่ยาลเดน
(Yalden,1983) กล่าวถึงความจาเป็นในการสารวจความต้องการในการเรียนภาษาอังกฤษว่ามีผลช่วย

21

ให้ทราบรายละเอียดเก่ียวกับเนื้อเร่ือง หัวข้อ และกิจกรรมที่ใช้ในการเรียนการสอน ซ่ึงจะช่วยให้
การเรยี นการสอนน้ันนา่ สนใจ และตรงกบั ความต้องการของผู้เรียน

หลังจากวิเคราะห์ความต้องการของผูเ้ รียนแล้ว ข้ันต่อไปคือแนวทางในการวางแผนหลักสตู ร
การสอนภาษาอังกฤษเพ่ือวัตถุประสงค์เฉพาะ คือ พิจารณาเลือกลักษณะภาษาท่ีจะใช้สอนให้
สอดคล้องกับความตอ้ งการดงั น้ี

1. ทกั ษะทางภาษา (Language skills) คือ การเลือกใช้ทักษะ ฟงั พูด อา่ น หรอื เขยี น
2. เน้ือหาเฉพาะ (Special content) คือ ศัพท์เทคนิค โครงสร้างประโยคที่จาเป็นและ
เกีย่ วขอ้ งกบั สาขาวิชาเฉพาะเหลา่ นน้ั เช่น เคมี ฟิสกิ ส์ เป็นตน้
3. ทกั ษะทางหน้าทีภ่ าษา (Functional skills) คือ การนาภาษาไปใช้ในลักษณะต่าง ๆในวิชา
เฉพาะเหล่านั้น เช่น เพื่อการแปล การตีความ การเขียนตามคาบอก การพูดโทรศัพท์ การคัดย่อ
บทความ เปน็ ตน้
เมื่อมีการวิเคราะห์องค์ประกอบดังกล่าว ซึ่งเป็นความต้องการในการส่ือสารด้านต่าง ๆ
ผู้ออกแบบหลักสูตรจะสามารถจัดบทเรียนและเน้ือหาในบทเรียนนั้น ๆได้ง่ายข้ึน เพราะมีแนวทาง
ในการจัดให้บรรลจุ ุดประสงค์ตามท่ีตอ้ งการ
ในการท่ีจะให้ได้มาซ่ึงข้อมูลอันเป็นองค์ประกอบหรือปัจจัยที่จะต้องเข้ามาวิเคราะห์นั้นต้อง
ใช้วิธีเก็บข้อมูลต่าง ๆ กันตามความสะดวกและเหมาะสม ฮัทชินสันและวอเทอรส์ (Hutchinson &
Waters,1987: 58-59) ได้เสนอวธิ กี ารในการรวบรวมข้อมูลเกีย่ วกับความต้องการของผ้เู รยี นไว้ดงั น้ี
1. ใชแ้ บบสอบถาม (Questionnaires)
2. ใช้แบบสมั ภาษณ์ (Interview)
3. ใชก้ ารสงั เกต (Observation)
4. การรวบรวมขอ้ มูลจากแหลง่ ตา่ ง ๆ (Data collection)
5. การขอคาปรกึ ษาจากบคุ คลอืน่ ท่ีเกี่ยวข้อง (Informal consultations with sponsors,
learners, and others)
ในกรณีที่มีความซับซ้อนในการวิเคราะห์หาความต้องการ Long (2005) ได้เสนอแนะว่า
อาจจะใชว้ ิธกี ารในการรวบรวมข้อมลู มากกวา่ หน่ึงวธิ ี (Triangulated sources) ซง่ึ ข้ึนอยกู่ บั เวลาและ
แหล่งข้อมูลที่พึงจะหาได้ และส่ิงสาคัญท่ีพึงระลึกเสมอ คือ การวิเคราะห์ความต้องการท่ีได้อาจจะไม่
สามารถนาไปใชไ้ ดก้ ับทกุ ๆ กิจกรรมการเรยี นการสอนเสมอไป
ราจัน (Rajan, 2001) ได้กล่าวว่า ในขั้นตอนการศึกษาความต้องการของผู้เรียนควร
ประกอบดว้ ย 4 ขั้นตอนหลกั ดงั ตอ่ ไปนี้
1. การกาหนดวัตถุประสงคโ์ ดยรวมถึงความจาเปน็ และสาเหตุท่ตี อ้ งจดั ทาหลกั สูตรนีข้ นึ้ มา
2. การศึกษาความต้องการของผเู้ รียนโดยการสัมภาษณ์ หรือแจกแบบสอบถาม เพอ่ื ให้ทราบ
ถึงความต้องการท่ีหลากหลาย ซึ่งอาจจะคานึงถึงความต้องการทางด้านภาษาของผู้เรียนเมื่อสาเร็จ
การศึกษา (Target needs) ความต้องการและความสนใจส่วนตัวของผู้เรียนเกี่ยวกับภาษาอังกฤษ
(Learner needs) ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในสถานประกอบการหรือนายจ้างของผู้เรียน
(Sponsor needs) และการวัดระดับความสามารถของผู้เรียนก่อนการเรียน เพ่ือวัดระดับ
ความสามารถ และศกึ ษาปัญหาทางดา้ นภาษาองั กฤษของผู้เรยี น (Starting language needs)

22

3. นาผลท่ีได้จากการศึกษาความต้องการของผู้เรียนมากาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ของ
หลกั สูตร

4. จดั เตรียมเนื้อหาทีต่ รงกับความต้องการของผู้เรียน
กล่าวโดยสรุป การวิเคราะห์ความต้องการของผู้เรียนน้ันเป็นส่ิงสาคัญที่จะช้ีให้เห็นถึง
องค์ประกอบในการร่างหลักสูตรการสอน ผู้สอนจะต้องรู้ว่าผู้เรียนมีความต้องการจะเรียนรู้ในสิ่ง
ใดบ้างและนาความรู้ไปใช้เพื่อจุดประสงค์ใด โดยดาเนินการศึกษาความต้องการ นาข้อมูลที่ได้มา
วิเคราะห์ มาออกแบบการสอนและผลิตสื่อการสอนท่ีเหมาะสมตามความต้องการของผู้เรียน ท้ังน้ี
เพ่ือให้การเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพ่ือจุดประสงค์เฉพาะได้ผลตามจุดประสงค์ที่กาหนดไว้และ
สอดคล้องกับความต้องการของผูเ้ รียนอย่างแทจ้ ริง

3. กำรจดั กำรเรยี นกำรสอนผำ่ นเว็บ (Web-based instruction)
3.1 ควำมหมำยและลกั ษณะของกำรเรียนกำรสอนผ่ำนเว็บ
การพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนผู้สอนควรมีการเลือกใช้ส่ือท่ีสนับสนุนให้ผู้เรียนสามารถใช้

เวลาใดก็ได้ สถานท่ีใดกไ็ ด้ ขึน้ อยูก่ บั ความพรอ้ มของนกั เรียน โดยไมจ่ ากดั การปฏิสมั พันธไ์ วแ้ ต่เพยี งใน
ห้องเรียน ผู้สอนสามารถให้ผลย้อนกลับแก่นักเรียนได้ทันที โดยไม่ต้องรอให้ถึงเวลาเรียน ซึ่งการ
จัดการเรียนการสอนในปัจจุบันได้นาโปรแกรมสาเร็จรูป โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การเรียน
การสอนทางไกลและการเรยี นการสอนผา่ นเครอื ขา่ ยออนไลน์ (ทศิ นา, 2556: 149–155)

การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บถือเป็นสื่อรูปแบบหน่ึงที่ผู้สอนสามารถเลือกนามาใช้เพื่อ
ช่วยให้การเรียนการสอนมีคุณภาพและประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซ่ึงได้มีผู้อธิบายความหมายและ
ลักษณะของการจดั การเรยี นการสอนผา่ นเวบ็ ไว้ดังนี้

พรทิพย์ (2556: 46) ได้ให้ความหมายของการเรียนการสอนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตการ
เรียนการสอนผ่านเว็บไว้ว่า การเรียนการสอนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Online instruction) เป็น
การจัดการเรียนการสอนที่มีสภาพการเรียนที่ต่างไปจากรูปแบบเดิม โดยอาศัยทั้งศักยภาพและ
ความสามารถของอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นการเรียนการสอนท่ีมีเทคโนโลยีสูงสุดในขณะน้ี ให้เข้ามาช่วย
เอ้ืออานวยเป็นเคร่ืองมือและเป็นแหล่งสนับสนุนการเรียนการสอน ให้เกิดการเรียนรู้อย่างมี
ความหมายเช่ือมโยงเครือข่ายที่สามารถเรียนรู้ได้ทุกสถานที่ทุกเวลา ซ่ึงให้มีชื่อเรียกหลายลักษณะ
ได้แก่ การเรียนรู้ผ่านเว็บ (Web-based learning) เว็บฝึกอบรม (Web-based training) การสอน
ผ่านอินเทอร์เน็ต (Internet-based instruction) การสอนผ่านเวิลด์ไวด์เว็บ (Web-based
instruction) การเรียนรู้ผ่านเวิลด์ไวด์เว็บ (WWW-based instruction) การเรียนผ่านเว็บ (Web-
based leaning) และ อนิ เทอรเ์ น็ตฝกึ อบรม (Inter-based training)

คาน (Khan, 1997) ได้อธิบายว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการเรียนการสอนท่ีอาศัย
โปรแกรมไฮเปอร์มีเดียท่ีช่วยในการสอน โดยการใช้ประโยชน์จากคุณลักษณะและทรัพยากรของ
อินเทอร์เน็ต มาสร้างให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมายโดยส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนรู้อย่าง
มากมายและสนบั สนุนการเรยี นรู้ในทกุ ทาง

พาร์สัน (Parson, 1997) ไดใ้ ห้ความหมายของการเรยี นการสอนผา่ นเวบ็ วา่ เปน็ การสอนท่ี
นาเอาส่งิ ท่ตี อ้ งการส่งใหบ้ างสว่ นหรอื ทัง้ หมดโดยอาศยั เว็บ โดยเว็บสามารถกระทาได้ในหลากหลาย

23

รูปแบบและหลายขอบเขตทเ่ี ช่ือมโยงกัน ท้ังการเชอ่ื มตอ่ บทเรียน วัสดชุ ่วยการเรยี นร้แู ละการศึกษา
ทางไกล

ดริสคอล (Driscoll, 1997) ได้ให้ความหมายว่าเป็นการใช้ทักษะหรือความรู้ต่างๆ ถ่ายโยง
ไปสู่ทใี่ ดที่หน่ึง โดยการใช้เวิลดไ์ วด์เว็บเป็นช่องทางในการเผยแพรส่ ง่ิ เหลา่ นนั้

นิตยา (2560: 19) ได้ให้ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บไว้ว่าเป็นบทเรียนที่ได้มี
การพัฒนาขึ้นมาประกอบด้วยภาพน่ิง ภาพเคล่ือนไหว ข้อความ และเสียง โดยผ่านการเช่ือมโยงผ่าน
เครอื ข่ายอนิ เทอร์เนต็ ความเรว็ สูง

กุลนิษฐ์ (2564:14) อธิบายว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการใชเ้ ครื่องมือหรือสื่อท่ีจัดทา
ข้ึนในลักษณะส่ือหลายมิติมาช่วยในการเรียนรู้ โดยใช้เทคโนโลยีของเว็บและเบราเซอร์เป็น
ตัวจัดการให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด สามารถปรับปรุงพัฒนาเน้ือหาให้ทันสมัยได้อย่างรวดเร็วและ
ตลอดเวลา

3.2 ประเภทของกำรเรยี นกำรสอนผ่ำนเวบ็
การเรยี นการสอนผ่านเว็บมรี ูปแบบท่ีแตกต่างกันไป ซง่ึ มนี กั การศึกษาได้จาแนกแบ่งประเภท
ของการเรียนการสอนผา่ นเวบ็ ไว้ดังน้ี
พาร์สัน (Parson, 1997) ได้แบ่งประเภทของการเรียนการสอนผ่านเว็บออกเป็น 3 ลักษณะ
ดังนี้
1. การเรียนการสอนผ่านเว็บแบบรายวิชาเดียว (Stand-alone courses) เป็นรายวิชาที่มี
เครื่องมือและแหล่งท่ีเข้าไปถึงและเข้าหาได้โดยผ่านระบบอินเทอร์เน็ตอย่างมากที่สุด ถ้าไม่มี
การส่ือสารก็สามารถท่ีจะไปผ่านระบบการส่ือสารได้ ลักษณะของการเรียนการสอนผ่านเว็บแบบนี้มี
ลักษณะเป็นแบบวิทยาเขต มีนักศึกษาจานวนมากเข้ามาใช้จริง แต่จะมีการส่งข้อมูลจากรายวิชา
ทางไกล
2. การเรียนการสอนผ่านเว็บแบบเว็บสนับสนุนรายวิชา (Web supported courses)
เป็นรายวิชาที่มีลักษณะเป็นรูปธรรมท่ีมีการพบปะระหว่างครูกับนักเรียนและมีแหล่งให้มาก เช่น
การกาหนดงานให้ทาบนเว็บ การกาหนดให้อ่าน การส่ือสารผ่านระบบคอมพิวเตอร์ หรือการมีเว็บ
ที่สามารถชต้ี าแหน่งบนพน้ื ที่ของเว็บไซตโ์ ดยรวมกิจกรรมตา่ ง ๆ เอาไว้
3. การเรียนการสอนผ่านเว็บแบบศูนย์กลางการศึกษา (Web pedagogical resources)
เป็นชนิดของเว็บไซต์ท่ีมีวัตถุดิบ เคร่ืองมือ ซ่ึงสามารถรวบรวมวิชาขนาดใหญ่เข้าไว้ด้วยกันหรือเป็น
แหล่งสนับสนุนกิจกรรมทางการศึกษา ซึ่งผู้ที่เข้ามาใช้ก็จะมีส่ือให้บริการหลายรูปแบบ เช่น
เปน็ ขอ้ ความเป็นภาพกราฟกิ การสื่อสารระหว่างบคุ คล และการทาภาพเคลอื่ นไหวต่าง ๆ เป็นต้น
ใจทิพย์ (2547) ได้กลา่ วถงึ ประเภทการใชเ้ ว็บเพื่อการเรียนการสอน 4 ลกั ษณะ ดังน้ี
1. เว็บเพ่ือเสริมการสอนรายวิชา เป็นการจัดทาเพื่อให้เป็นแหล่งข้อมูลหรือสารสนเทศ
เพม่ิ เตมิ เสริมจากการเรียนปกติ รวมทงั้ อาจมกี ารจัดกิจกรรมการส่ือสารนอกเวลาการเรียน โดยใชเ้ ว็บ
เป็นช่องทางการส่ือสารหลัก ซ่ึงอาจปิดเฉพาะให้กับผู้เรียนรายวิชานั้นหรืออาจเผยแพร่ให้กับผู้สนใจ
ทว่ั ไปเขา้ ศึกษา

24

2. เว็บเพื่อการเรียนการสอนในหลักสูตร เป็นการกาหนดรายวิชาประกอบเข้าเป็นหลักสูตร
มีการจัดเป็นระบบการเรียนการสอน การติดตามผลการเรียน การบริหารจัดการ และบริการ
สารสนเทศให้กับผเู้ รยี น โดยผ้เู รียนจะต้องลงทะเบียนในหลักสูตรดังกล่าว เว็บในลกั ษณะน้ีมักปรากฏ
ในลักษณะการศกึ ษาทางไกล ซ่ึงอาจกาหนดเป็นโปรแกรมการเรยี นการสอนทั้งหมดผา่ นเครือข่ายหรือ
ควบคู่ไปกับการศึกษาจากสื่อสารเรียน หรือการเรียนที่ผู้เรียนผู้สอนต้องพบปะกันจริง (On line/
off line) ในลักษณะผสมผสาน (Blended หรอื Hybrid learning)

3. เว็บเพ่ือการจัดการเรียนแบบดีกรีร่วม เป็นการพัฒนาเว็บเพ่ือเป็นสื่อกลางระหว่าง
การเรียนการสอนของสถาบันมากกว่าหนึ่งสถาบันร่วมกัน โดยทั่วไปอาจจัดเป็นหลักสูตรร่วมกรณีที่
สถาบันการศึกษามีความชานาญเฉพาะเร่ืองแตกต่างกันหรือการจัดการเป็นหลักสูตรความร่วมมือ
ระหวา่ งสถาบนั ในแตล่ ะประเทศมขี ้อตกลงเรื่องของการบรหิ ารจดั การแตกตา่ งกนั ไปในแต่ละกรณี

4. เว็บที่เป็นแหล่งข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาหรือบทเรียนที่จัดไว้เพื่อให้ผู้สนใจทั่วไป
เข้าไปศกึ ษาอยใู่ นลักษณะของแหลง่ ข้อมลู หรือฐานข้อมลู

3.3 ส่วนประกอบของกำรเรียนกำรสอนผำ่ นเว็บ
รปู แบบของการเรยี นการสอนผา่ นเวบ็ ประกอบดว้ ย 4 ส่วน ดังน้ี
1. ส่ือสาหรับนาเสนอ (Presentation media) หมายถึง ตัวบทเรียนที่นาเสนอผ่านเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตไปยังผู้เรียนในลักษณะของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ ข้อความ (Text) ภาพน่ิง (Still
image) กราฟิก (Graphic) ภาพเคลือ่ นไหว (Animation) วดี ิทัศน์ (Video) และเสียง (Sound)
2. การปฏสิ มั พันธ์ (Interactivity) หมายถึง การโต้ตอบท่ีเกิดขึน้ ระหวา่ งผเู้ รียนกับบทเรยี น
3. การจัดการฐานข้อมลู (Database management) หมายถงึ การจดั การเก่ยี วกบั บทเรยี น
เรมิ่ ตั้งแตก่ ารลงทะเบียนจนถงึ การประเมนิ ผลการเรยี น
4. ส่วนสนับสนุนการเรยี นการสอน (Course support) หมายถึง การบริการต่าง ๆ ที่มีอยู่ใน
เครอื ขา่ ยอินเทอร์เน็ต เพอ่ื สนบั สนุนการเรียนการสอน จาแนกออกเปน็ 2 ประเภทใหญๆ่ ไดแ้ ก่

4.1 Asynchronous หมายถึง สว่ นสนับสนุนการเรยี นการสอนทใี่ ช้งานในลกั ษณะ
Off-line สาหรับการตดิ ตอ่ ส่ือสารระหว่างผเู้ รยี นกบั บทเรยี นหรือผอู้ ่นื ท่ีเกยี่ วขอ้ ง ได้แก่

1. อิเลก็ ทรอนกิ สบ์ อร์ด (Electronic board) เชน่ BBS, Web board
2. จดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (E-mail)
4.2 Synchronous หมายถึง ส่วนสนับสนุนการเรียนการสอนที่ใช้งานในลักษณะ
ออนไลนส์ าหรับการติดต่อส่อื สารระหว่างผเู้ รยี นกับบทเรียนหรือผอู้ ่นื ท่ีเกี่ยวข้อง ไดแ้ ก่
1. การสนทนาผ่านเครอื ข่าย (Internet relay chat)
2. การประชมุ ทางไกลด้วยภาพ (Video conferencing)
3. การบรรยายสด (Live lecture)
4. การติดต่อสอื่ สารผ่านเครอื ข่าย เชน่ Internet phone, Net meeting นอกจากน้ี
ยังมีส่วนสนับสนุนการเรียนการสอน ซ่ึงเป็นการใช้เคร่ืองมือหรือการบริการที่มีอยู่บนเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตอานวยความสะดวกในการศกึ ษาบทเรียน WBI: Web based instruction ได้แก่

25

1. เครอื่ งมือสาหรับคน้ หาข้อมลู ได้แก่ Search engine tool ต่าง ๆ
2. เครอ่ื งมือสาหรบั เขา้ สู่ระบบเครือข่าย ไดแ้ ก่ Telnet, FTP

3.4 กำรออกแบบบทเรียนผ่ำนเว็บ
บทเรียนผ่านเว็บมีการนาเสนอรูปแบบท่ีหลากหลายเพ่ือให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ท่ีง่ายต่อ
ความเข้าใจ ซ่ึงผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองจึงจาเปน็ ตอ้ งมีการออกแบบการเรียนการสอนตาม
ขัน้ ตอนตา่ ง ๆ ดงั ตอ่ ไปนี้
ดิลลอน (Dillon, 1997) ได้อธิบายข้ันตอนในการสร้างบทเรียนท่ีมีลักษณะเป็นสื่อหลายมิติ
(Hypermedia) ซึ่งหลักการนี้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบและพัฒนาเว็บเพื่อการเรียน
การสอน มขี น้ั ตอนดังน้ี
1. ศกึ ษาเกย่ี วกับผูเ้ รียนและเน้ือหาท่ีจะนามาพฒั นาเพื่อกาหนดวตั ถปุ ระสงคแ์ ละแนวทางใน
การจัดกจิ กรรมการเรียน
2. วางแผนเกยี่ วกับการจดั รูปแบบโครงสรา้ งของเนอื้ หาศกึ ษาคุณลักษณะของเนือ้ หาท่จี ะ
นามาใชเ้ ปน็ บทเรียนว่าควรจะนาเสนอในลกั ษณะใด
3. ออกแบบโครงสร้างเพ่อื การเขา้ ถึงข้อมลู อย่างมีประสทิ ธิภาพโดยผูอ้ อกแบบควรศึกษาทา
ความเข้าใจกับโครงสร้างของบทเรียนแบบต่างๆโดยพิจารณาจากลักษณะผู้เรียนและเน้ือหาว่า
โครงสร้างลกั ษณะใดจะเอือ้ อานวยตอ่ การเขา้ ถงึ ข้อมูลของผูเ้ รียนได้ดที ีส่ ุด
4. ทดสอบรปู แบบเพ่ือหาขอ้ ผิดพลาด จากนน้ั ทาการปรับปรุงแกไ้ ข และทดสอบซ้าอีกครั้งจน
แน่ใจวา่ เป็นบทเรยี นที่มปี ระสิทธภิ าพก่อนทีจ่ ะนาไปใช้งาน วิธดี าเนนิ การ 5 ขัน้ ตอนเพ่อื การออกแบบ
และพัฒนาการเรียนการสอนผา่ นเวบ็ ท่มี ีประสิทธภิ าพ คือ
1. ทาการวเิ คราะห์ความต้องการของผเู้ รยี นรวมทงั้ จดุ แขง็ และจุดอ่อนของผเู้ รียน
2. การกาหนดเปา้ หมายวตั ถุประสงค์และกจิ กรรม
3. ควรเลือกเนื้อหาท่ีจะใช้นาเสนอพร้อมกับหางานวิจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องและช่วยสนับสนุน
เน้ือหา
4. การวางโครงสรา้ งและจดั เรียงลาดบั ข้อมูลรวมทงั้ กาหนดสารบัญเคร่ืองมือการเขา้ ส่เู นื้อหา
(Navigational aids) โครงร่างหนา้ จอและกราฟกิ ประกอบ
5. ดาเนินการสร้างเว็บไซต์โดยอาศัยแผนโครงเร่ืองการออกแบบการเรียนการสอนผ่าน
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีหลายขั้นตอน ซ่ึงในการออกแบบน้ันควรศึกษาขั้นตอนการออกแบบ ศึกษา
เนือ้ หา และผเู้ รียน ซ่ึงตอ้ งออกแบบใหม้ คี วามสัมพันธ์กันจึงจะชว่ ยใหไ้ ด้บทเรียนท่ีมคี ุณภาพ
เพอร์นิสิและคาสาติ (Pernici & Casati, 1997) ได้แบ่งกระบวนการออกแบบบทเรียนผ่าน
เว็บ ออกเป็น 4 ขั้นตอน ดังน้ี
1. การวิเคราะห์องค์ประกอบต่าง ๆ ที่จาเป็นต่อการออกแบบ ซึ่งประกอบด้วยการ
ตงั้ วตั ถปุ ระสงค์ การกาหนดผูเ้ รียน และสิง่ ท่จี าเปน็ ในด้านฮารด์ แวรแ์ ละซอฟตแ์ วร์
2. ผู้สอนต้องกาหนดแนวทางในการสร้างเว็บไซต์ ได้แก่ เนื้อหาที่จะใช้ กิจกรรมต่าง ๆ
ขั้นตอนการเรยี นการสอน

26

3. เป็นการออกแบบในแนวกว้าง (Design in the large) โดยผู้สอนจะต้องวางแผนลักษณะ
การเข้าสู่เนื้อหา (Navigation) ซ่ึงรวมถึงการกาหนดรายการต่าง ๆ (Menus) และการเรียงลาดับของ
ขอ้ มูล

4. เป็นการออกแบบในแนวแคบ (Design in the small) คือ การกาหนดรายละเอียดต่าง ๆ
ท่มี ีในแต่ละหนา้

คาน (Khan, 1997) ได้กล่าวว่าการออกแบบเว็บท่ีดีมีความสาคัญต่อการเรียนการสอนเป็น
อย่างมาก ดังน้ันจึงควรทาความเข้าใจถึงคุณลักษณะ 2 ประการของโปรแกรมการเรียนการสอนผ่าน
เวบ็

1. คุณลกั ษณะหลกั (Key features) เป็นคณุ ลักษณะพน้ื ฐานของโปรแกรมการเรียนการสอน
ผ่านเว็บทกุ โปรแกรม ตวั อย่างเชน่ การสนับสนนุ ให้ผ้เู รยี นมีปฏิสัมพนั ธ์กบั บทเรยี น ผสู้ อน หรอื ผ้เู รยี น
คนอ่ืน ๆ การนาเสนอบทเรียนในลกั ษณะของสื่อหลายมติ ิ (Multimedia) การนาเสนอบทเรียนระบบ
เปิด (Open system) กล่าวคือ อนุญาตให้ผู้เรียนสามารถเช่ือมโยงเข้าสู่เว็บเพจอื่น ๆ ท่ีเก่ียวข้องได้
ผู้เรียนสามารถสืบค้นข้อมูลบนเครือข่ายได้ (Online search) ผู้เรียนควรที่จะสามารถเข้าสู่โปรแกรม
การสอนผ่านเวบ็ จากที่ใดกไ็ ดท้ วั่ โลก รวมทง้ั ผเู้ รียนควรทจ่ี ะสามารถควบคุมการเรยี นของตนเองได้

2. คุณลักษณะเพ่ิมเติม (Additional features) เป็นคุณลักษณะประกอบเพ่ิมเติม ซึ่งขึ้นอยู่
กับคุณภาพและความยากง่ายของการออกแบบ เพื่อนามาใช้งานและการนามาประกอบกับ
คุณลักษณะหลักของโปรแกรมการเรียนการสอนผ่านเว็บ ตัวอย่างเช่น ความง่ายในการใช้งานของ
โปรแกรมมีระบบป้องกนั การลกั ลอบข้อมูล รวมทัง้ ระบบใหค้ วามช่วยเหลือบนเครือข่ายมคี วามสะดวก
ในการแกไ้ ขปรับปรงุ โปรแกรม เปน็ ต้น

โจนส์และฟาร์เควอร์ (Jones & Farquar, 1997) ได้แนะนาหลักการออกแบบเบ้ืองต้นที่จะ
เปน็ จุดเริม่ ในการพฒั นาเวบ็ เพ่ือการเรียนการสอน ดังนี้

1. ควรมีการจัดโครงสร้างหรือจัดระเบียบข้อมูลท่ีชัดเจน การที่เน้ือหามีความต่อเน่ืองไปไม่
สนิ้ สดุ หรอื กระจายมากเกินไป อาจทาใหเ้ กดิ ความสับสนต่อผใู้ ช้ได้ ฉะนัน้ จึงควรออกแบบใหม้ ลี ักษณะ
ท่ีชัดเจนแยกย่อยออกเป็นส่วนต่าง ๆ จัดหมวดหมู่ในเรื่องที่สัมพันธ์กัน รวมทั้งอาจมีการแสดงให้ผู้ใช้
เหน็ แผนที่โครงสรา้ งเพื่อปอ้ งกันความสับสนได้

2. กาหนดพนื้ ทส่ี าหรับการเลือก (Selectable areas) ใหช้ ดั เจนซึ่งโดยท่วั ไปจะมีมาตรฐานท่ี
ชัดเจนอยู่แล้ว เช่น ลักษณะของไฮเปอร์เท็กซ์ที่เป็นคาสีฟ้าและขีดเส้นใต้ พยายามหลีกเลี่ยง
การออกแบบทีข่ ัดแย้งกบั มาตรฐานท่ัวไปท่คี นส่วนใหญ่ใช้ ยกเว้นจะมีความจาเปน็ ท่ีต้องใช้ นอกจากน้ี
ยังรวมไปถึงการทาให้ตัวเลือกเกิดการเปลี่ยนแปลง ซ่ึงปกติเม่ือมีการคลิกคาหรือข้อความใด ๆ เมื่อ
กลบั มาท่หี นา้ เดิม คาหรือขอ้ ความน้ัน ๆ ก็จะเปลย่ี นจากสีฟ้าเป็นสีแดงเข้มเพื่อบอกให้ทราบว่าผู้ใช้ได้
เลือกส่วนนั้นไปแล้ว ในการออกแบบจงึ ควรใช้มาตรฐานเดิมแบบนีเ้ ชน่ กนั

3. กาหนดใหแ้ ตห่ นา้ จอภาพส้นั ๆ ทัง้ นจี้ ากการวจิ ยั พบวา่ ผใู้ ชไ้ มช่ อบการเลือ่ นข้นึ ลง (Scroll)
อีกทั้งยังเสียเวลาในการดาวน์โหลดนานและยุ่งยากต่อการพิมพ์ท่ีผู้ใช้ต้องการเนื้อหาเพียงบางส่วน
แต่ถ้ามีความจาเป็นต้องใช้หน้ายาวก็ควรกาหนดเป็นพื้นที่แต่ละส่วนของหน้า โดยให้ผู้เรียนสามารถ
เลือกไปยังจุดตา่ ง ๆ ไดใ้ นหน้าเดียวในลักษณะของบุ๊คมารค์ (Bookmark)

27

4. ลักษณะการเช่ือมโยงที่ปรากฏในแต่ละหน้า หากมีทั้งการเชื่อมโยงในหน้าเดียวกันและ
การเชื่อมโยงไปยังหน้าอื่น ๆ หรือออกจากหน้าจอไปยังหน้าจอใหม่จะก่อให้เกิดการสับสนได้
โดยเฉพาะอย่างย่ิงถ้าผู้เรียนใช้ปุ่มมาตรฐานท่ีมีอยู่ในโปรแกรมค้นผ่าน (Web browser) อาจทาให้
ผเู้ รียนหลงทางได้ ฉะนนั้ จึงตอ้ งออกแบบให้มคี วามแตกตา่ งและชัดเจน

5. ต้องระวังเร่ืองของตาแหน่งในการเชื่อมโยง การที่จานวนการเช่ือมโยงมากเกินไปและ
กระจัดกระจายอยู่ท่ัวไปในหน้าอาจก่อให้เกิดความสับสน การออกแบบท่ีดีควรจัดการเช่ือมโยงไปยัง
หน้าอ่ืน ๆอยู่รวมกันเป็นสัดส่วน มีลาดับก่อนหลัง หรือมีหมายเหตุประกอบ เช่น จัดรวมไว้ส่วนล่าง
ของหน้าจอ เป็นตน้

6. ความเหมาะสมของคาที่ใช้เช่ือมโยงคาท่ีใช้สาหรับการเชื่อมโยงจะต้องเข้าใจง่าย มีความ
ชัดเจน และไมส่ ้ันจนเกินไป

7.ความสาคัญของขอ้ มลู ควรอย่สู ว่ นบนของหนา้ จอภาพ หลีกเล่ยี งการใชก้ ราฟกิ ด้านบนของ
หนา้ จอเพราะถงึ แมจ้ ะดดู ีแตผ่ เู้ รยี นจะเสียเวลาในการได้รับข้อมูลทีต่ ้องการ
นอกจากน้ี ในการออกแบบและพฒั นาบทเรียนบนเวบ็ ผอู้ อกแบบสามารถยดึ ตามการจดั การเรยี นการ
สอนตามกระบวนการ 9 ขั้นตอนของทฤษฎีการเรยี นรู้ของกาเย่ (Gagné,1985) ดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 กระตุ้นหรือเร้าให้ผู้เรียนเกิดความสนใจกับบทเรียนและเน้ือหาท่ีจะเรียน
(Motivate the learner) การเร้าความสนใจผู้เรียนน้ีอาจทาได้โดยการจัดสภาพแวดล้อมให้ดึงดูด
ความสนใจ เช่น การใช้ภาพกราฟิก ภาพเคล่ือนไหว และ/หรือการใช้เสียงประกอบบทเรียนในส่วน
ของบทนา

ข้ันตอนท่ี 2 บอกให้ผู้เรียนทราบถึงจดุ ประสงค์ของบทเรียน (Inform learners of learning
objectives) การบอกให้ผู้เรียนทราบถึงจุดประสงค์ของบทเรียนน้ีมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง
โดยเฉพาะการเรียนการสอนบนเว็บที่ผู้เรียนสามารถควบคุมการเรียนของตนเองได้ โดยการเลือก
ศึกษาเนื้อหาท่ีต้องการศึกษาได้เอง ดังนั้นการท่ีผู้เรียนได้ทราบถงึ จุดประสงค์ของบทเรียนล่วงหนา้ ทา
ให้ผู้เรียนสามารถมุ่งความสนใจไปที่เน้ือหาบทเรียนที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งยังสามารถเลือกศึกษาเนื้อหา
เฉพาะท่ีตนยังขาดความเข้าใจท่ีจะช่วยทา ให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตรงตามจุดประสงค์ของ
บทเรียนทไ่ี ดก้ าหนดไว้

ขั้นตอนท่ี 3 ทบทวนความรู้เดิมที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาบทเรียน ( Recall previous
knowledge) การทบทวนความรู้เดิมช่วยกระตุ้นให้ผู้เรยี นสามารถเรียนรู้เนื้อหาใหม่ได้รวด เร็วยิ่งขน้ึ
รูปแบบการทบทวนความรู้เดิมในบทเรียนบนเว็บทาได้หลายวิธี เช่น กิจกรรมการถาม-ตอบคาถาม
หรอื การแบ่งกลุ่มให้ผเู้ รียนอภปิ รายหรอื สรปุ เนื้อหาทไี่ ด้เคยเรยี นมาแลว้ เป็นต้น

ข้ันตอนที่ 4 นาเสนอบทเรียน (Present the material to be learned) การนาเสนอ
บทเรียนบนเว็บสามารถทาได้หลายรูปแบบด้วยกัน คือ การนาเสนอด้วยข้อความ รูปภาพ เสียง หรือ
แม้กระทั่งวีดิทัศน์ อย่างไรตามส่ิงสาคัญที่ผู้สอนควรให้ความสาคัญ ก็คือ ผู้เรียน ผู้สอนควรพิจารณา
ลกั ษณะของผ้เู รียนเปน็ สาคญั เพือ่ ใหก้ ารนาเสนอบทเรยี นเหมาะสมกับผู้เรียนมากทส่ี ดุ

ข้ันตอนท่ี 5 ชี้แนวทางการเรียนรู้ (Provide guidance for learning) เป็นการชี้แนะให้
ผู้เรียนสามารถนาความรู้ท่ีไดเ้ รยี นใหม่ผสมผสานกับความรู้เก่าที่เคยได้เรยี นไปแล้ว เพื่อให้ผู้เรียนเกิด
การเรยี นรทู้ ่ีรวดเรว็ และมคี วามแมน่ ยามากยิง่ ข้ึน

28

ข้นั ตอนที่ 6 ให้ผ้เู รียนมสี ว่ นรว่ มในการเรียน (Active involvement) ในการจัดการเรียนการ
สอนบนเว็บควรมีการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนซ่ึงอาจทาได้โดยการจัด
กิจกรรมการสนทนาออนไลนร์ ูปแบบ Synchronous หรือการแลกเปล่ียนความคิดเห็นผ่านเว็บบอรด์
ในรปู แบบ Asynchronous เป็นต้น

ข้ันตอนที่ 7 ให้ผลย้อนกลับ (Provide feedback) ลักษณะเด่นประการหนึ่งของการเรียน
การสอนบนเว็บ คือ การท่ีผู้สอนสามารถติดต่อส่ือสารกับผู้เรียนได้โดยตรงอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
บทบาทของผู้สอนนั้น เปลี่ยนจากการเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้แต่เพียงผู้เดียวมาเป็นผู้ให้คาแนะนาและ
ช่วยกากับการเรียนของผู้เรียนรายบุคคล และด้วยความสามารถของอินเทอร์เน็ตท่ีทาให้ผู้เรียนและ
ผ้สู อนสามารถตดิ ต่อกนั ได้ตลอดเวลา ทาใหผ้ สู้ อนสามารถติดตามก้าวหนา้ และสามารถให้ผลย้อนกลับ
แกผ่ เู้ รยี นแต่ละคนได้ด้วยความสะดวก

ข้ันตอนที่ 8 ทดสอบความรู้ (Testing) การทดสอบความรูค้ วามสามารถผเู้ รียนเป็นขั้นตอนท่ี
สาคัญอีกข้ันตอนหน่ึง เพราะทาให้ท้ังผู้เรียนและผู้สอนได้ทราบถึงระดับความรู้ความเข้าใจที่ผู้เรียนมี
ต่อเน้ือหาในบทเรียนน้ันๆ การทดสอบความรู้ในบทเรียนบนเว็บสามารถทาได้หลายรูปแบบ ไม่ว่าจะ
เปน็ ข้อสอบแบบปรนยั หรืออัตนัย การจดั ทากิจกรรมการอภปิ รายกลุ่มใหญห่ รอื กลมุ่ ย่อยเปน็ ตน้

ข้ันตอนท่ี 9 การจาและการนาไปใช้ (Providing enrichment or remediation) สามารถ
ทาได้โดยการกาหนดตัวเช่ือม (Links) ที่อนุญาตให้ผู้เรียนเลือกเข้าไปศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติมในส่ิงท่ี
น่าจะเป็นประโยชนใ์ นการนาองค์ความรทู้ ี่ไดร้ ับมาไปใช้

สาหรบั ในโครงการวจิ ัยนี้ ผูว้ จิ ัยไดเ้ ลอื กรูปแบบการพฒั นาสื่ออิเลคทรอนิกส์ตามกระบวนการ
9 ข้ันตอนของทฤษฎกี ารเรยี นรู้ของกาเย่ (Robert Gagné) ซึ่งสามารถแสดงขน้ั ตอนการเรียนรู้ดงั ภาพ
ท่ี 4

ภำพท่ี 4 ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ของกาเย่ (Robert Gagné) 9 ข้ันตอน
แหลง่ ทมี่ า: Gagné, R. 1985. The Conditions of Learning and the Theory of
Instruction (4th ed.). New York: Holt, Rinehart, and Winston.

3.5 ควำมรู้เก่ยี วกบั โปรแกรม Google Sites
ในขั้นตอนของการพัฒนาส่ืออิเลคทรอนิกส์ผู้วิจัยเลือกใช้โปรแกรม Google Sites เพ่ือสร้าง
เวบไซต์ให้นักศึกษาได้เข้าถึงบทเรียนได้อย่างสะดวก ทั้งนี้เนื่องจากเป็นโปรแกรมที่มีข้อดีหลาย
ประการ ดังที่สุกิจ (2558: 65) ได้อธิบายว่า Google Sites คือ โปรแกรมของ Google ท่ีให้บริการ

29

สร้างเว็บไซต์ฟรี สามารถสร้างเวบ็ ไซตไ์ ด้ง่าย และสามารถรวบรวมความหลากหลายของข้อมูลไวใ้ นที่
เดยี ว

กนกพร (2553: 48-49) ได้กล่าวว่า Google Sites เป็นหนึ่งใน Google Apps for
Education ของ Google ท่ไี ดพ้ ฒั นาขนึ้ มาเพ่ือสนับสนบั สนนุ การเรยี นการสอน สมาชิกของ Google
สามารถสร้างเว็บไซต์ของตนเองได้ฟรี โดยการสร้างเว็บไซต์ด้วย Google Sites น้ัน ทาได้ง่าย
เหมือนกับการแก้ไขเอกสารธรรมดาๆ ช้ินหนึ่ง ผู้ใช้สามารถปรับแต่งรูปลักษณ์ของเว็บไซต์ได้อย่าง
อิสระ และมีข้อมูลที่หลากหลายรูปแบบ เช่น ข้อความ วิดีโอ ปฏิทิน เอกสาร ไฟล์งาน ฯลฯ อีกทั้งยัง
สามารถกาหนดให้ผู้อ่ืน เข้ามาร่วมจัดการเว็บไซต์ร่วมกัน รวมไปถึง สามารถกาหนดให้เว็บไซต์ เป็น
ส่วนตวั หรอื สาธารณะไดอ้ ีกดว้ ย

กลา่ วโดยสรุปโปรแกรม Google Sites มขี ้อดีหลายประการ ดงั นี้
1. สามารถทาหน้าเว็บเพจของตัวเองได้ง่าย ใช้งานสะดวกโดยไม่จาเป็นต้องมีความรู้เรื่อง
ภาษาเขียนเว็บ (HTML)
2. สามารถเผยแพร่ข้อมลู ทเี่ ป็นประโยชน์ และเปน็ ความรูห้ รอื บทเรยี นต่างๆ ได้
3. มีพื้นทฟ่ี รถี ึง 100 เมกะไบต์ ต่อ site
4. สามารถเลือกรูปแบบ Theme หรือ เทมเพลตสาเร็จรูปได้มากมาย คล้าย ๆ กับแบบ
สาเรจ็ เพาเวอร์พอยต์
5. รปู แบบไซต์เป็นแบบมาตรฐานของเวบ็ ไซตท์ ัว่ ไป
6. พัฒนาไดง้ ่าย ปรบั ปรงุ รูปแบบงา่ ย ปรับแต่งข้อมูลแบบออนไลน์
7. สามารถทจ่ี ะเก็บไฟลภ์ าพ หรอื ไฟลช์ นิดต่างๆ ไว้ในไซต์ของเราได้
8. สร้าง link ภายในและภายนอกของไซต์ได้
9. การต้ังค่าสาหรบั การเขา้ ถงึ และใช้ขอ้ มูลรว่ มกัน
10. เป็นที่รวมเข้ากับเคร่ืองมืออ่ืน ๆ ของ Google เพื่อให้คุณสามารถแบ่งปันวิดีโอภาพถ่าย
งานนาเสนอและปฏิทนิ

แนวคดิ กำรเรียนแบบยดื หยนุ่ (Flexible learning approach)
การเรียนแบบยืดหยุ่นเป็นวิธกี ารจัดการเรียนการสอนท่ีเอ้ือให้ผ้เู รียนมีอิสระในการเรยี นและ
สามารถบริหารตนเองได้โดยสามารถตัดสินใจว่าจะเรียนอะไร เรียนอย่างไร เรียนเมื่อใด และเรียนท่ี
ไหนก็ได้ ตามศักยภาพความสนใจและความถนัดของตนเอง โดยเน้นการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่
หลากหลาย ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถในการเลือกและวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศ
รูจ้ กั วางแผนการใช้สารสนเทศใหเ้ กิดประโยชนแ์ ละตรงกับความต้องการมากทส่ี ุด
คุณลักษณะ 3 ประการทใี่ ช้เป็นแนวทางการออกแบบกจิ กรรมการเรยี นแบบยืดหย่นุ
1. รูปแบบวิธีการจัดกิจกรรมต้องมีหลากหลาย เพื่อเอื้อต่อวิธีการเรียนรู้ที่แตกต่างกันของ
ผ้เู รยี น ทาให้ผเู้ รียนมีทางเลือกในการเรียนรู้ ซงึ่ สามารถเกดิ ขึ้นตลอดเวลา การนาวิธีที่ยดื หยุน่ มาใช้ใน
การเรียนและการสอนเพ่ือให้ผู้เรียนมีวิธีการเรียนรู้ได้หลายวิธี เช่น การเรียนแบบเปิด ( Open
learning) การเรียนทางไกล (Distance learning) การเรียนโดยใช้ส่ือคอมพิวเตอร์ (Computer
mediated learning) การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง (Self-directed learning) ซึ่งจะชว่ ยสง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี น

30

1) สามารถเรียนร้ไู ด้มากและรวดเร็วและเขา้ ถงึ แหล่งเรยี นรู้ได้งา่ ย
2) สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองและเรียนรู้ได้ตลอดเวลาตามศักยภาพและความสนใจของ
ตนเอง
2. ผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยเน้ือหาและกิจกรรมต้องตอบสนองความสนใจของผู้เรียน และ
ผู้เรียนสามารถเรียนได้เต็มศักยภาพ โดยเน้นการพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียน การจัด
สภาพการเรียนรคู้ วรจดั ในลักษณะดงั ตอ่ ไปนี้
1) ใหผ้ ้เู รยี นมีอิสระในการเลอื กเวลาเรียนและสถานทไี่ ดต้ ามความต้องการ
2) การจดั หน่วยการเรยี น (Modules) หรอื โปรแกรมการเรียนในรปู แบบตา่ ง ๆ เพอื่ ให้ผเู้ รยี น
สามารถเลือกเรียนเนือ้ หาได้ตามความสนใจ และสามารถเลือกท่ีจะเรียนกับผู้สอนและเพ่ือนคนอ่ืน ๆ
ไดห้ ลากหลาย
3) การประเมินผลจะต้องสอดคล้องกับการท ากิจกรรมการเรียน อาจจัดได้หลากหลายให้
เปน็ ทางเลอื กในการเรียนการสอนได้แก่การเรียนเปน็ คูห่ รือการเรียนเป็นกลุ่มเล็ก ๆ หรือเรยี นโดยการ
ปรกึ ษากบั ผสู้ อน
4) เน้นให้ผู้เรียนลงปฏิบัติหรือลงมือกระทาด้วยตนเอง (Active learners) ไม่ใช่การเรียน
แบบเปน็ ผรู้ บั (Passive learners) แตฝ่ า่ ยเดยี ว
3. มีแหลง่ เรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ ซง่ึ ผ้เู รยี นสามารถเข้าถึงได้อยา่ งรวดเรว็ ทุกเวลา ทกุ สถานที่
ท้ังนี้การเรียนรู้อย่างยืดหยุ่นมีพ้ืนฐานมาจากการเรียนโดยใช้แหล่งข้อมูลเป็นฐาน เพ่ือให้ผู้เรียน
สามารถ
1) เขา้ ถงึ แหล่งข้อมลู การเรยี นรทู้ ่ีหลากหลาย
2) วางแผนการใช้แหล่งข้อมูลเพ่ือเป้าหมายต่าง ๆ
3) เลอื กและวเิ คราะหข์ อ้ มลู จากเนอ้ื หาที่กาหนดให้และนาเสนอในรูปแบบของการรายงาน
4) พฒั นาทักษะการจดั การขอ้ มูลและนาไปประยุกตใ์ ชไ้ ด้อย่างมีประสิทธภิ าพ
กล่าวโดยสรุปลักษณะของการเรียนการสอนผ่านเว็บผู้เรียนเป็นกุญแจและองค์ประกอบที่
สาคัญ ดังที่ว่าความสาเร็จในระบบการเรียนการสอนผ่านเว็บเก่ียวข้องโดยตรงกับวิถีของระบบท้ังใน
ด้านการวางแผนการออกแบบ การประเมินผล และการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบออนไลน์
ซึ่งทัง้ หมดถอื เป็นการสนบั สนุนกจิ กรรมด้านการเรียนการสอน
การเรียนการสอนผ่านเว็บไม่เพียงแต่จะมีความหมายสาหรับผู้เรียนเท่าน้ัน แต่มีความหมาย
กับกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท้ังหมดในระบบการศึกษา เช่น ผู้สอน บุคลากรฝ่ายสนับสนุนและ
สถาบันการศึกษา ยกตัวอย่างเช่น การเรียนการสอนผ่านเว็บมีแนวโน้มท่ีจะมีความหมายต่อผู้เรียนก็
ตอ่ เม่อื สามารถเข้าถึงได้ง่ายมีการจัดการและการนาเสนอท่ีดี ยึดผเู้ รียนเป็นศูนย์กลาง มีประสทิ ธิภาพ
มีความยืดหยุ่น และมีสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่ดีท่ีสามารถอานวยความสะดวกแก่ผู้เรียนได้
เม่ือผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้และบรรลุหรือประสบความสาเร็จในกา รเรียนตาม
วัตถุประสงค์การเรียนรู้และเป้าหมายของการเรียนในรายวิชา มีความสุขจากการเรียนก็จะส่งผลต่อ
ระดับความพึงพอใจและทัศนคติทีด่ ีต่อการเรยี น

31

4. พฤติกรรมสำรสนเทศ

4.1 ควำมหมำยของพฤตกิ รรมสำรสนเทศ

วิลสัน (Wilson, 2000: 50) ได้อธิบายว่าพฤติกรรมสารสนเทศ หรือ Information

behaviour หมายถึง พฤติกรรมทั้งมวลของบุคคลหนึ่ง ซ่ึงเช่ือมโยงบุคคลผูนั้นใหเขาถึงแหลงสาร

สนเทศตางๆ โดยใชชองทางในการเผยแพรจากส่ือตางๆ เชน การดูรายการสารคดีทางโทรทัศน ท้ังที่

ไมมีเจตนาจะรับสารสนเทศจากรายการนั้น เปนตน

อรอุมา (2552) ได้ให้คาจากัดความของพฤติกรรมสารสนเทศว่า หมายถึง การกระทา

วธิ ีการ หรอื กจิ กรรมทแี่ สดงออกมาอย่างมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อแสวงหาข้อมูลสารสนเทศ ท่ี

ต้องการ จากนั้นสารสนเทศที่ได้จะผ่านการประมวลผล วิเคราะห์เพื่อนามาใช้ประโยชน์หรือสนอง

ความตอ้ งการของตนเอง

ดังน้ัน พฤติกรรมสารสนเทศจึงเปนคาที่มีความหมายกวางและเปนการมองกิจกรรมของ

มนุษยในระดับมหภาคโดยครอบคลุมกิจกรรมสาคัญ 2 กิจกรรม คือ 1) การคนหาสารสนเทศท่ีตอง

การ ดวยวธิ ีใดๆ กต็ าม และ 2) การใชสารสนเทศหรอื การสงตอสารสนเทศนน้ั ๆ ไปยงั ผูอ่ืนตอไป

แนวคิดเรื่องพฤติกรรมสารสนเทศนั้นเริ่มกลาวถึงใน ค.ศ. 1948 เมื่อมีการนาเสนอผล

การศึกษาพฤติกรรมของนักวิทยาศาสตร และนักเทคโนโลยีในการแสวงหาและใช สารสนเทศจาก

มุมมองของสถาบันบริการสารสนเทศและผูใหบริการสารสนเทศ แมวาในการศึกษาระยะแรก อาจยัง

ไม่ได้กาหนดให้ใชศัพทคานี้ แตนับไดวาเปนจุดเร่ิมของความสนใจศึกษาดานดังกลาวนับแตน้ัน

เปนตนมา มีการศึกษาและวิจัยวิธีและลักษณะการคนหาและการใชสารสนเทศของผูใชจานวนมาก

โดยในระยะแรก มุงเนนผูใชเฉพาะกลุม เชน นักวิทยาศาสตร นักเคมี เปนตน เพื่อหาแนวทางในการ

จัดบริการดานตางๆ ใหเกิดประโยชนแกผูใชมากที่สุด ในระยะหลังมีการใชวิธีวิจัยเชิงคุณภาพอยาง

แพรหลายขึ้น และนาแนวคิดและทฤษฎีของศาสตรอื่นท่ีเก่ียวของ เชน จิตวิทยา สังคมวิทยา และ

นิเทศศาสตร มาเปนกรอบแนวคิดในการวจิ ยั

วลิ สันศกึ ษาความตองการสารสนเทศและพฤติกรรมอันเกิดจากความตองการสารสนเทศของ

บุคคล โดยมีฐานแนวคดิ วาความตองการสารสนเทศของแตละบุคคลน้ันนาไปสูพฤติกรรมตางกนั หรือ

อีกนัยหนึ่ง เขาไมเห็นดวยกับนักวิจัยดานสารสนเทศศาสตรจานวนหนึ่งที่วาผูมีความตองการ

สารสนเทศตองแสงหาสารสนเทศเสมอ ในทางกลับกันเขาเชื่อวาความตองการสารสนเทศไมจาเปน

ตองทาใหผูใชแสวงหาสารสนเทศเสมอไป เพราะอาจเกดิ ภาวะท่ีขัดขวางหรอื เปนอุปสรรคอนั ทาใหไม

สามารถแสวงหาสารสนเทศที่สนองตอบความตองการสารสนเทศของตนได เชน ภาวะดานจิตใจ

ภาวะแวดลอม เปนตน

วลิ สนั ไดใหความหมายของพฤติกรรมที่เกี่ยวของไวดังนี้

1.พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ (Information-seeking behaviour) คือ การแสวงหา

สารสนเทศอยางมีวัตถุประสงค โดยเปนผลมาจากความตองการใดตองการหนึ่ง ท้ังนี้ในระหวาง

แสวงหาสารสนเทศ บุคคลผูนั้นจึงตองปฏิสัมพันธกับระบบสารสนเทศ ซ่ึงอาจเปนระบบสารสนเทศ

โดยมนุษย เชน หองสมุด หนังสือพิมพ หรือระบบสารสนเทศดวยคอมพิวเตอร เชน เวิลดไวดเว็บ

เปนตน

32

2. พฤติกรรมการคนหาสารสนเทศ (Information search behaviour) เปนพฤติกรรมระดับ
จุลภาคท่ีผู้คนปฏิสัมพันธกับระบบสารสนเทศ ไมวาจะเปนในระดับปฏิบัติ อาทิ การใชเมาส หรือใน
ระดับการใชความคิด สติปญญาและความรู เชน การใชตรรกะบูเลียน หรือการตัดสินเลือกวาหนังสือ
ท่ีพบ 2 เลมน้ัน เลมใดมีประโยชนมากกวาหรือการพิจารณาวาสารสนเทศท่ีคนคืนไดน้ันตรงกับความ
ตองการของตนหรือไม อยางไร

พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ พฤติกรรมนี้ครอบคลุมทั้งการแสวงหาสารสนเทศที่ตน
ริเร่ิม (Active) เช น การค นหาสารสนเทศบนอินเทอร เน็ตและที่ตนมิได ริเริ่มเอง (Passive)
โดยแบงพฤตกิ รรมการแสวงหาสารสนเทศออกเปน 4 ประเภทคือ

1. การตั้งใจท่ีตนมิไดริเร่ิม (Passive attention) เชน การไดรับสารสนเทศจากรายการสาร
คดีทางวิทยุที่ตนฟงอยู แมวาอาจไมมเี จตนาทจี่ ะแสวงหาสารสนเทศ แตถือวาเกิดการไดรับสารสนเทศ
ขน้ึ

2. การคนโดยตนมไิ ดรเิ ริ่ม (Passive search) หมายถึงการทบ่ี ุคคลหน่ึงไดรับสารสนเทศเรื่อง
หน่ึง ในขณะทกี่ าลงั คนหาสารสนเทศอีกเรื่องหน่งึ ดงั นั้น สารสนเทศทไี่ ดรบั ไมใชที่ตนต้ังใจไว แตถือได
รบั สารสนเทศเชนกัน

3. การคนท่ีตนริเริ่มข้ึน (Active search) หมายถึง การที่บุคคลหน่ึงมุงคนหาสารสนเทศจาก
ระบบสารสนเทศในสถาบนั บรกิ ารสารสนเทศหรือจากบริการสารสนเทศตางๆโดยท่วั ไปการศกึ ษาวิจัย
ในสาขาวิชาสารสนเทศศาสตรนั้นใหความสนใจที่การแสวงหาสารสนเทศประเภทน้ี เพราะถือวาเป
นพฤติกรรมสาคัญในการใชระบบสารสนเทศหรือบรกิ ารในสถาบนั บริการสารสนเทศ

4. การคนท่ีดาเนินการอยู (Ongoing search) เปนการคนหาสารสนเทศในเรื่องท่ีผูค้นหรอื ผู
แสวงหาสารสนเทศมีความรูหรือสารสนเทศอยูแลว เพียงแตตองการแสวงหาสารสนเทศเพ่ิมเติม
เฉพาะดาน เชน เฉพาะเรอ่ื งใหม หรอื รายละเอยี ดเฉพาะเจาะจงท่ขี าดหายไปเพิ่มเตมิ เทานน้ั

5. การประมวลและใช สารสนเทศ (Information processing and use) คือ การนา
สารสนเทศทีค่ นคนื ไดมาคัดเลือก รวบรวม จัดเรียง หรือกระทาดวยวธิ ใี ดเพ่ือใหสามารถนาสารสนเทศ
น้ันมาผนวกเขาเปนความรูของผูแสวงหาสารสนเทศ เชน การขดี เสนใตขอความสาคญั ในเอกสารท่ีค้น
คืนได เพ่ือระบุความสาคัญและทาใหสามารถนาขอความนั้นไปใชในรายงานท่ีจะจัดทาข้ึนตอไป
เปนต้น

โดยสรุปวิลสันไดนาเสนอแนวคิดและทฤษฎีในการทาความเขาใจถึงพฤติกรรมสารสนเทศ
ในเชิงมหภาค ซึ่งเก่ียวของกับการแสวงหาและการใชสารสนเทศ โดยเนนที่ผูใชเปนสาคัญ เขาถือว่า
พฤติกรรมสารสนเทศเปนผลมาจากความตองการสารสนเทศ ซ่ึงเปนนามธรรมและสัมพันธ์กับบริบท
ตางๆ เชน สภาวะทางอารมณ สภาวะทางพุทธิพิสัยหรือทางปญญา เปนตน ขณะเดียวกันเมื่อเกิด
ความตองการสารสนเทศข้ึน มิไดหมายความวาผูใชทุกคนจะตองแสวงหาสารสนเทศเสมอไป เพราะ
อาจเกิดกลไกหรือภาวะทีส่ นบั สนนุ หรือเปนอปุ สรรคตอการแสวงหาสารสนเทศ

นอกจากน้ีการแสวงหาสารสนเทศน้ันอาจเป นทั้งท่ีผู ริเร่ิมด วยตนเองหรือมิได ริเร่ิมด วย
ตนเองดวยและทายที่สุด เม่ือคนหาสารสนเทศไดยอมตองมีการประมวลและการใชสารสนเทศ
เพอื่ สนองความตองการสารสนเทศนนั่ เอง

33

4.2 แนวคิดเก่ียวกบั พฤตกิ รรมกำรแสวงหำสำรสนเทศ
นอกจากตัวแบบของพฤติกรรมสารสนเทศท้ังสองตัวแบบ คือ ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศ
ใน ค.ศ. 1981 และตัวแบบทั่วไปของพฤติกรรมสารสนเทศ ใน ค.ศ. 1997 แลว ในระหวางชวงเวลา
ดงั กลาวนน้ั วิลสนั ยงั ไดนาผลการวจิ ัยพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศในสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร
มาผนวกกับตัวแบบของเขา เพือ่ แสดงรูปแบบของกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ
ใน ค.ศ. 1989 และ ค.ศ. 1993 เดวดิ เอลลสิ (David Ellis) และคณะไดทาการวิจยั พฤติกรรม
การแสวงหาสารสนเทศของนักวิชาการและนกั วิจัยในสาขาวิชาตางๆ วามรี ปู แบบหรอื ลกั ษณะอยางไร
วิลสันไดนาผลการวิจัยของเอลิสและคณะมาเสริมในตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศของเขา โดยขยาย
ในสวนพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ

ภำพที่ 5 รปู แบบของกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ

ตัวแบบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ มีองค์ประกอบสาคัญ 3 ดานคือ 1) บริบทของ
ความตองการสารสนเทศ 2) อุปสรรคท่ีขัดขวางการแสวงหาสารสนเทศ 3) พฤติกรรมการแสวงหา
สารสนเทศ โดยแนวสาคัญคือ

1. พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศเกิดจากความตองการสารสนเทศ ซึ่งมีบริบทเฉพาะตัว
ผูแสวงหาสารสนเทศ อันเปนลักษณะสาคัญของตัวแบบตางๆ ของวิลสันดังที่ไดกลาวมาขางตน
ตวั อย่างเชน นกั เรยี นในช้ันเรยี นหนึ่งตองทารายงานเกี่ยวกับกลุมประเทศเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใตหรือ
อาเซียน แมนักเรียนเหลานี้อาจมีลักษณะใกลเคียงกันหลายดาน เชน อายุ เวลา พื้นความรู เปนตน
แตมิไดหมายความวาทุกคนจะมีความตองการสารสนเทศเหมือนกัน เพราะนักเรียนแตละคนยอมมี
ลกั ษณะทแ่ี ตกตางกนั ในดานตางๆ เชน สภาพแวดลอม ความสนใจเฉพาะตัว และความตั้งใจ เปนตน

2. อุปสรรคที่ขัดขวางการแสวงหาสารสนเทศมีหลายประการ เชน อุปสรรคในการเขาถึง
สารสนเทศ พ้ืนความรูของผูแสวงหาสารสนเทศ ตาแหนงงานและหนาที่ของผูแสวงหาสารสนเทศ
เป็นตน

3. พฤตกิ รรมการแสวงหาสารสนเทศ วิลสนั ไดผนวกรูปแบบกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ
ของเอลสิสและคณะ (Ellis, 1989; Ellis, Cox, & Hall, 1993) ไว้ทั้งหมด 8 ขั้นตอน ข้ันตอนเหลาน้ี
ไมจาเปนตองเกิดข้ึนนับแตขั้นแรกไปจนถึงขั้นสุดทายตามลาดับ โดยเฉพาะในขั้นวิธีการแสวงหาคือ
ขน้ั ตอนที่ 3.2 3.3 และ 3.4 ทั้งสามขัน้ นอ้ี าจเกดิ เพียงขั้นตอนใดขัน้ ตอนหน่งึ เทาน้นั ข้นั ตอนทง้ั 8 ขน้ั
ไดแก

34

3.1 การเร่ิมตน (Staring) เปนการเร่ิมตนแสวงหาสารสนเทศ โดยอาจเปนการ
ทางานช้นิ ใหมหรือสนใจศกึ ษาหาความรูในเรื่องใหม เปนตน ผูแสวงหาสารสนเทศอาจเรม่ิ ตนจากการ
สอบถามเพ่อื นรวมงานหรอื ผูรู การอานตาราพ้นื ฐานในเรื่องน้ันๆ เปนตน

3.2 การเชื่อมโยงรอยเรียง (Chaining) เปนการเชื่อมโยงสารสนเทศจากการอางอิง
หรือบรรณานุกรม โดยอาจจะปนการเชื่อมโยงยอนหลัง (Backward chaining) คือ เช่ือมโยงจาก
รายการอางอิงหรือบรรณานุกรมในเอกสารที่มีอยู หรือการเช่ือมโยงขางหนา (Forward chaining)
คอื เชอื่ มโยงวามเี อกสารใดอางถึงเอกสารทมี่ ีอยูบาง

3.3 การสารวจเลือกดู (Browsing) เปนการคนหาโดยมีเร่ืองที่ตองการหรือสนใจอยู
อยางกวางๆ จึงตองสารวจบรกิ ารเวียนหนาสารบญั วารสารในสาขาวชิ าทีส่ นใจ เพื่อเลือกดูบทความที่
อาจตรงกับความสนใจเฉพาะได ในบางครั้งอาจไมมีบทความใดที่สนใจเลยและบางคร้ังอาจพบ
บทความท่ีตรงกับเรื่องที่สนใจและมีสารสนเทศทันสมัย การสารวจเลือกดูตางจากการคนหาในหัวข
อหรอื เร่ืองเฉพาะเจาะจง (Specific search) ซง่ึ เปนเร่อื งท่ีตองการเฉพาะเจาะจง ดงั นัน้ การคนหาจะ
เจาะเฉพาะเร่อื งท่ตี องการเทาน้ัน ไมใชการสารวจเลือกดูอยางผานๆ

3.4 การแยกแยะ (Differentiating) เปนการแยกแยะสารสนเทศที่แสวงหาได โดย
ใชก้ ฏเกณฑต์ างๆ เชน ช่อื ผูแตง ชอ่ื วารสาร เปนตน ตัวอยางคือผูแสวงหาสารสนเทศอาจแยกแยะไดว
าสารสนเทศใดเปนท่ีตองการระหวาง วารสารก. และ วารสารข. เพราะเขาทราบวา วารสารก.
จัดพิมพบทความวิจัยที่มีคุณภาพ ในขณะท่ี วารสารข. จัดพิมพขาวสาร หรือสรุปขาวคราวความ
เคล่อื นไหว เป็นตน้

3.5 การตรวจตรา (Monitoring) เปนการตรวจตราวรรณกรรมหรือสารสนเทศใหม
ในสาขาวิชาหรือแวดวงวิชาการท่ีตนสนใจและคุนเคย เชน การติดตามจากรายช่ือหนังสือใหมของ
สานกั พิมพในสาขาวิชานั้นๆ การติดตามอานวารสารบางรายชื่อทุกฉบับท่ีตีพิมพ การติดตอสื่อสารกับ
นกั วิจยั หรือนักวิชาการทต่ี นรูจกั เปนตน

3.6 การดึงสารสนเทศออกมา (Extracting) เปนการดึงสารสนเทศท่ีตองการจาก
รายงานวิจยั บทความวารสาร หนังสอื ฐานขอมลู ดรรชนี หรือเอกสารประกอบการประชุม สารสนเทศ
ในกรณีน้ีเฉพาะเจาะจง กลาวคือ มิไดหมายถึงตัวเอกสารท้ังเลมหรือตัวบทความวารสารทั้งบทความ
แตหมายถึงสารสนเทศที่สามารถนาไปใชไดทันที เชน สถติ ิ คากลาวหรือคาพูดสาคัญผลการศึกษา เป
นตน ดังน้นั ผูแสวงหาสารสนเทศจาเปนตองระบเุ อกสาร หนงั สอื หรือวารสารที่มสี ารสนเทศท่ีตองการ
เสยี กอน จงึ จะสามารถดึงสารสนเทศออกมาได

3.7 การตรวจสอบ (Verifying) เปนการตรวจสอบความถูกตองของสารสนเทศที่
ไดรบั เชน อาจตรวจซ้าจากเอกสารหรอื ฐานขอมูลอืน่ วาสารสนเทศตรงกันหรือไม เปนตน

3.8 การจบ (Ending) เปนการแสวงหาสารสนเทศข้ันสุดทายเพื่อเก็บรวบรวม
สารสนเทศที่แสวงหาไดท้ังหมดเขาดวยกัน และใหเกิดความแนใจวาไดสารสนเทศในระดับท่ีตองการ
แลว

35

4.3 ควำมหมำยและควำมสำคัญของสำรสนเทศ
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทาง

เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา สารสนเทศเป็นตัวแปรสาคัญที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้ของ
มนุษย์นาไปสู่การพัฒนาศักยภาพในด้านต่าง ๆ ของบุคคล ซึ่งได้มีผู้อธิบายความหมายและ
ความสาคญั ของสารสนเทศ ไว้ดงั น้ี

ฮาร์ทซิล (Heartsill, 1983) ได้อธิบายว่าสารสนเทศหมายถึงความคิดเห็น ข้อเท็จจริงต่าง ๆ
ตลอดจนงานสร้างสรรค์อื่น ๆ ซึ่งถ่ายทอด บันทึก และเผยแพร่ออกไป ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็น
ทางการในรปู แบบตา่ ง ๆ

สารสนเทศ หมายถึง ความรู้ข้อมูลข่าวสารข้อเท็จจริง เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่มีการบันทึก
ประมวลผล เพ่ือเผยแพร่และเพื่อใช้ประโยชน์ในการพัฒนาด้านต่าง ๆ ทั้งในส่วนบุคคลและสังคม
(ประภาวดี, 2543 ; มาลี , 2545) และยังมีผู้ให้ความหมายของสารสนเทศเพิ่มเติมไว้ว่าเป็นการ
รวบรวมข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลในรูปแบบที่สามารถเข้าใจและส่ือสารได้ อยู่ในลักษณะท่ีเป็น
ประโยชน์ (พิมพ์ราไพ, 2538 ; Harrod, 1990)

จากความหมายที่ได้กล่าวมาสรุปได้ว่า สารสนเทศ หมายถึงข้อมูลต่าง ๆ ท่ีเป็นประโยชน์
มีการประมวลผลอยา่ งเปน็ ระบบ แลว้ นามาบนั ทกึ รวบรวมและจดั เกบ็ ไว้ในรูปแบบตา่ ง ๆ ได้แก่ ส่ือสงิ่
ตพี มิ พ์ สือ่ โสตทศั นแ์ ละสือ่ อิเล็กทรอนกิ ส์ เพ่ือเผยแพร่และนาไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ได้

ปัจจุบันเรามีความจาเป็นต้องใช้สารสนเทศเพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจในเร่ืองที่ตน
เก่ียวข้อง นาความรู้ความเข้าใจมาตัดสินใจ แก้ไขปัญหาให้ถูกต้อง แม่นยาและรวดเร็ว ทันเวลากับ
สถานการณต์ ่าง ๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ ได้อย่างเหมาะสม สารสนเทศจงึ มคี วามสาคัญกับผู้คนทุกคนและทุกอาชีพ
และมคี วามสาคัญต่อสังคมในดา้ นตา่ ง ๆ ดังนี้ (ธนู , 2550)

1.ความสาคัญด้านการศึกษา การจัดการเรียนการสอนในปัจจุบันมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเป็น
ศูนย์กลาง โดยครูผู้สอนทาหน้าท่ีเป็นผู้แนะนาช่วยเหลือและกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ศึกษาหาความรู้ด้วย
ตนเอง สง่ ผลให้สารสนเทศมีความสาคัญต่อการเรยี นการสอนในทุกระดับการศึกษา ซ่ึงสารสนเทศที่ดี
มีคุณค่าและทันสมัยจะช่วยให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การศึกษาวิจัยเพื่อ
พัฒนาองค์ความรู้ใหม่ ๆ จาเป็นต้องใช้สารสนเทศที่มีอยู่อย่างสมบูรณ์ถูกต้องจากหลายแขนงวิชามา
พฒั นาให้เกดิ องคค์ วามร้ใู หมข่ นึ้ ได้

2. ความสาคัญด้านสังคม สารสนเทศช่วยพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์ ช่วยพัฒนาบุคลิกภาพ
ให้อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข สารสนเทศช่วยในการตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ ทั้งการประกอบอาชีพ
การป้องกัน แก้ไขปัญหาชีวิต และสารสนเทศยังช่วยขยายโลกทัศน์ของผู้รับให้กว้างไกล สร้างความ
เข้าใจอันดีระหว่างมนุษยชาติ ลดความขัดแย้ง ทาให้อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ในสังคมปัจจุบัน
มนุษย์จาเป็นต้องปรับเปลย่ี นตนเองให้เข้ากบั สภาวการณโ์ ดยร้จู ักแสวงหา และเลือกสรรสารสนเทศท่ี
เหมาะสมทั้งต่อตนเอง และสังคม

36

4.4 ลักษณะของสำรสนเทศ
เนอื่ งในปจั จบุ ันนีม้ สี ารสนเทศเกิดขึ้นมากมาย หลากหลายรูปแบบ ผู้ใชจ้ งึ จาเปน็ ต้องมีวิธีการ
แสวงหาสารสนเทศเพื่อให้สอดคลอ้ งกบั ความต้องการ ซึง่ จะต้องพิจารณาถึงลักษณะของสารสนเทศที่
จะเลือกใช้ให้เหมาะสมและเกดิ ประโยชนต์ ่อตนเองมากท่สี ุด
วัลลภ (2544) กล่าวไว้ว่า สารสนเทศทีม่ ีคุณภาพและประสิทธิภาพตอ้ งมีความรวดเร็วทันต่อ
เหตุการณ์ ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ และต่อเน่ือง จะเสริมสร้างวิสัยทัศน์ที่กวา้ งไกลแก่ผู้รับทาให้เกิด
การตดั สินใจ และการวางแผนทถ่ี ูกตอ้ ง ลา้ หน้าผูอ้ ืน่
จิตติมา (2544) และชุมพล (2540) ได้กล่าวไว้ว่าคุณลักษณะที่สาคัญของสารสนเทศ
ประกอบดว้ ย
1. มีความถูกต้องแม่นยา (Accuracy) บอกลักษณะความเป็นจริงที่เกิดขึ้นและมีความ
สมบรณู ข์ องขอ้ มลู
2. ตรงกับความต้องการ (Relevancy) มีเนื้อหาตรงกับงานที่ต้องการใช้มีรายละเอียด
เหมาะสม กะทดั รัด และชดั เจน
3. ทันต่อการใช้งาน (Timeliness) ทันเวลา ทันเหตุการณ์ มีการปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย
สามารถนามาใช้วางแผน ตดั สินใจ พิจารณาเลือกได้
4. สามารถตรวจสอบได้ (Verifiable) สารสนเทศท่ีดีต้องสามารถตรวจสอบได้เพ่ือยืนยัน
ความน่าเชื่อถือ ไม่เกดิ ผลเสยี ตอ่ ผนู้ าสารสนเทศไปใช้

5.งำนวิจัยทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
เพ็ญนภา (2559) ได้พัฒนาและหาประสิทธิภาพบทเรียนออนไลน์ เร่ือง การอ่านจับใจความ

ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์
เรอื่ ง การอา่ นจบั ใจความภาษาองั กฤษ สาหรบั นกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 และ ศึกษาความพึงพอใจ
ของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3 ทเ่ี รียนด้วยบทเรยี นออนไลน์ เรอื่ ง การอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ
กลุ่มตวั อยา่ งที่ใช้ในการวิจยั เปน็ นักเรยี นระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรียนธญั รตั น์จงั หวดั ปทุมธานี
จานวน 40 คน ไดม้ าจากการสุ่มตัวอยา่ งแบบกลุ่ม (Cluster sampling) เครอ่ื งมอื ที่ใช้ในการวิจัย คือ
การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษา
ปี ที่ 3 การประเมินคุณภาพบทเรียนออนไลน์ เร่ือง การอ่านจับใจความภาษาอังกฤษแบบทดสอบ
วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนและแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ
บทเรียนออนไลน์ เร่อื ง การอ่านจับใจความภาษาองั กฤษ สถิตทิ ใี่ ช้ในการวิจัยได้แก่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) บทเรียนออนไลน์ เรื่อง การอ่านจับ
ใจความภาษาอังกฤษ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ เท่ากับ 80.58/81.58 2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน มีคะแนนเฉลี่ย 13.65 และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3.11 ค่า
คะแนนเฉล่ียหลังเรียนเท่ากับ 16.05 และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 2.43 มีค่าทดสอบค่าที
เท่ากบั 19.28 ซ่งึ มคี วามตา่ งอยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิติทร่ี ะดบั .05 และ 3) ความพึงพอใจของนกั เรียน
มคี า่ เฉล่ยี 4.46 อย่ใู นระดับมาก

37

ปัณยตา (2561) ได้ทาการพัฒนาบทเรียนออนไลน์วิชาภาษาอังกฤษธุรกิจในงานอาชีพด้วย
โปรแกรม Moodle E-learning เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจในงาน
อาชีพด้วยบทเรียนออนไลน์ และ เพ่ือสารวจความพึงพอใจที่มีต่อบทเรียนออนไลน์วิชาภาษาอังกฤษ
ธุรกิจในงานอาชีพด้วยโปรแกรม Moodle E-learning กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษา
ระดับช้ัน ปวส.1/5 สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก จานวน 41 คน ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา
2561 ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive sampling) ผู้เรียนได้รับการสอนโดยใช้บทเรียน
ออนไลน์โปรแกรม Moodle E-learning วิชาภาษาอังกฤษธุรกิจในงานอาชีพ ที่ผู้วิจัยได้สร้างข้ึน
เคร่ืองมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ 1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียน 2) ผล
คะแนนการทดสอบรายบท จานวน 10 บท 3) แบบสอบถามความพึงพอใจท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึน สถิติท่ีใช้
ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน การทดสอบประสิทธิภาพ
E1/E2 (75/75) ความแตกต่างระหว่างผลสัมฤทธิ์ ก่อนเรียนและหลังเรียน IOC และ t-Test: Paired
Two Sample for Means (Excel) จากการวิจัยผลการเรียนของกลุ่มตัวอย่างที่ใช้บทเรียนออนไลน์
วิชาภาษาอังกฤษธุรกิจในงานอาชีพ ด้วยโปรแกรม Moodle E-learning มีประสิทธิภาพเท่ากับ
78.57/80.98 ซ่ึงสูงกว่าเกณฑ์ที่ต้ังไว้ว่าบทเรียนออนไลน์วิชาภาษาอังกฤษธุรกิจในงานอาชีพด้วย
โปรแกรม Moodle E-learning ทีผ่ ูว้ ิจัยสรา้ งข้นึ มปี ระสทิ ธิภาพ 75/75

พรนภัส (2563) ไดท้ าการพัฒนาและหาประสิทธิภาพรูปแบบการสอนอา่ นภาษาองั กฤษแบบ
เน้นภาระงานร่วมกับบทเรียนออนไลน์เพ่ือพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพ่ือความเข้าใจและ
ทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์สาหรับนักศึกษาปริญญาตรีให้มีคุณภาพตามเกณฑ์ 80/80 การประเมิน
ประสิทธิผลรูปแบบการสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบเน้นภาระงานร่วมกับบทเรียนออนไลน์เพื่อพัฒนา
ทักษะการอ่านภาษาอังกฤษฯ โดยเปรียบเทยี บความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพ่ือความเข้าใจ
และการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักศึกษาที่เรียนดว้ ยรปู แบบเน้นภาระงานร่วมกับบทเรียนออนไลน์ก่อน
กับหลังเรียนและมีการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาต่อรูปแบบการสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบ
เน้นภาระงานร่วมกับบทเรียนออนไลน์เพ่ือเสริมสร้างความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษฯ กลุ่ม
ตัวอย่างคือ นักศึกษาชั้นปีท่ี 2 สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ประจาปี
การศึกษา 2562 ภาคเรียนท่ี 1 จานวน 1 ห้องเรียนโดยวธิ ีการเลือกแบบเจาะจง ผลการศึกษาพบวา่
หลังการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบเน้นภาระงานร่วมกับบทเรียน
ออนไลน์ (PTFT Model) กลุ่มตัวอย่างมีความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจและการอ่านเชิง
วิเคราะห์สงู กว่าก่อนเรยี นอยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถิติท่รี ะดับ .05 ความพึงพอใจของกลุ่มตวั อย่างท่ีมีต่อ
รูปแบบการสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบเน้นภาระงานร่วมกับบทเรียนออนไลน์ (PTFT Model) โดย
ภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก

จากการศึกษางานวิจัยเก่ียวกับการพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร โดยใช้
ข้อมูลท่ีอยู่ในบริบทของวิชาชีพ และการพัฒนาส่ือการสอนภาษาอังกฤษท่ีอยู่ในรูปแบบของบทเรียน
ผ่านเว็บ ผู้วิจัยพบว่าเป็นวิธีการสร้างแรงจูงใจให้ผูเ้ รียนสายอาชีพหรือสาขาวิศวกรรมเพิ่มความสนใจ
ในการอ่านภาษาอังกฤษเป็นสิ่งสาคัญท่ีควรคานึงถึง เช่น การเลือกใช้กิจกรรมการอ่านท่ีมีการกระตนุ้
ความรู้เดิมของผู้เรียน การสร้างความสนใจ การอธิบายให้ทราบถึงประโยชน์ที่จะได้รับจากการอ่าน
การได้เรียนรู้เรื่องราวท่ีอยู่ในบริบทและใกล้เคียงกับความสนใจของผู้เรียน จะช่วยให้นักเรียนได้เห็น

38

การใชภ้ าษาในบรบิ ทท่ีเปน็ จรงิ การนากจิ กรรมการการอ่านท่มี ีการฝึกในรูปแบบท่ีหลากหลาย จะช่วย
สร้างความสนุกสนานเพลดิ เพลนิ แกผ่ ู้เรียนและทาให้เกิดทัศนคตทิ ดี่ ีต่อการเรียน

ผู้วิจัยจึงมีความสนใจท่ีจะพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้
เทคโนโลยี (E-collaborative learning) สาหรับนักศึกษาสาขาวิศวกรรม โดยนามาใช้เป็นส่ือเสริม
การเรียนการสอนวิชาภาษาภาษาอังกฤษที่มุ่งเน้นการฝึกปฏิบัติทางด้านการอ่าน ผู้วิจัยได้คัดเลือก
เนื้อหาโดยคานึงถึงความต้องการ ระดับความรู้ และประสบการณ์เดิมของผู้เรียนเป็นหลัก
ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถคาดเดาเหตุการณ์หรือความหมายของคาศัพท์ และทาความเข้าใจในเน้ือ
เรื่องได้ง่ายข้ึน นาไปสู่การพัฒนาทักษะการอ่านและทักษะด้านอื่นๆที่จาเป็นในการส่ือสารในชวี ติ จรงิ
สร้างนิสัยรักการอ่าน และสามารถนาความรู้ท่ีได้ไปใช้ประโยชนใ์ นการดาเนินชีวติ ประจาวนั และการ
ประกอบอาชพี ต่อไป

39

บทท่ี 3

วธิ ีกำรดำเนินกำรวจิ ยั (Materials & Methods)

โครงการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้เทคโนโลยีการเรียนรู้ร่วมกัน
ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-collaborative learning) สาหรับนักศึกษาสาขาวิศวกรรม วิทยาลัย
เทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental design) โดยมี
วัตถุประสงค์ดังนี้

1 . เ พื่ อ พั ฒ น า ส่ื อ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ท่ี เ น้ น ก ร ะ บ ว น ก า ร เ รี ย น รู้ ร่ ว ม กั น โ ด ย ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี
(E-collaborative learning) สาหรับนักศกึ ษาสาขาวศิ วกรรม

2.เพ่ือเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมก่อน
และหลงั การเรียนโดยใชส้ อ่ื อเิ ล็กทรอนิกสท์ เ่ี น้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยี

3.เพ่ือศึกษาพฤติกรรมสารสนเทศของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมหลังการเรียนโดยใช้สื่อ
อเิ ล็กทรอนกิ ส์ทีเ่ น้นกระบวนการเรียนรูร้ ่วมกันโดยใชเ้ ทคโนโลยี

ผู้วิจัยได้มีวธิ ีดาเนนิ การวจิ ยั ดงั รายละเอียดตอ่ ไปน้ี
1.กลุ่มตวั อยา่ ง
2.ตัวแปรท่ีศกึ ษา
3.ระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการทดลอง
4.รูปแบบการวจิ ยั
5.เครอื่ งมือท่ีใช้ในการวจิ ัย
6. การสรา้ งและพฒั นาเคร่ืองมอื
7. การเก็บรวบรวมข้อมลู
8. การวิเคราะห์ข้อมลู

1.กลุ่มตัวอย่ำง
กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 2 และ 3 สาขาวิศวกรรม หลักสูตร

วิศวกรรมไฟฟ้าและวิศวกรรมโยธา วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ ภาคเรียนที่ 2
ปีการศกึ ษา 2564 ซึง่ ได้มาโดยการส่มุ แบบเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling) จานวน 20 คน

2.ตวั แปรทีศ่ ึกษำ
2.1 ตัวแปรต้น คือ การเรียนโดยใช้เทคโนโลยีการเรียนรู้ร่วมกันผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์

(E-collaborative learning)
2.2 ตัวแปรตาม คือ
1. ความสามารถในการอา่ นภาษาอังกฤษ
2. ความคิดเห็นท่ีมตี อ่ สอื่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ฯ
3. พฤตกิ รรมสารสนเทศ (Information behavior)

40

3.ระยะเวลำทใ่ี ชใ้ นกำรทดลอง
ผู้วิจัยดาเนินการทดลองในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 โดยใช้เวลา 4 สัปดาห์ๆละ 3

ช่วั โมง รวมทง้ั สนิ้ 12 ชว่ั โมง

4. รปู แบบกำรวจิ ัย
โครงการวิจัยน้ีใช้กระบวนการวิจัยเชิงทดลอง โดยศึกษากลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียว วัดก่อนและ

หลงั การทดลอง (One group pre-test-post-test design) (บารุง, 2534 : 29-31) ซงึ่ มรี ูปแบบดังนี้

รูปแบบกำรวจิ ัยแบบ One group pre-test-post-test design

กำรทดสอบก่อนเรียน ทดลอง กำรทดสอบหลงั เรยี น
T1 X T2

T1 แทน การทดสอบก่อนการเรยี นโดยใชส้ อ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ฯ
X แทน การเรยี นโดยใช้ส่อื อเิ ล็กทรอนิกสฯ์
T2 แทน การทดสอบหลงั การเรียนโดยใช้สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ฯ

5. เครอื่ งมอื ทใี่ ช้ในกำรวิจัย
5.1 แบบสอบถามความต้องการด้านหัวเร่อื งเพ่ือใช้ในการพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ

โดยใช้เทคโนโลยีการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-collaborative learning) สาหรับ
นักศกึ ษาสาขาวิศวกรรม วทิ ยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ (ภาคผนวก ก )

5.2 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยี (E-collaborative
learning) จานวน 4 หนว่ ยการเรียน (ภาคผนวก ข )

5.3 แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษ จานวน 1 ฉบบั เปน็ แบบตัวเลือก
มี 4 ตัวเลือก จานวน 40 ข้อ เพื่อใช้วัดความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษาก่อนและ
หลังการเรียนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯ แบบทดสอบมีค่าความยากง่ายอยู่ระหว่าง 0.20-0.80 และ
มีคาจาแนกระหว่าง 0.20-0.88 มคี ่าความเชื่อม่ันของแบบทดสอบทง้ั ฉบบั เทากบั 0.84

5.4 แบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯ รูปแบบของ
แบบสอบถามความคดิ เห็น แบง่ ออกเปน็ 3 ดา้ น ได้แก่ 1) ด้านเนือ้ หา 2) ดา้ นรปู แบบการจัดกิจกรรม
และ 3) ด้านรูปแบบการเรียนผ่านเว็บ มีจานวน 15 ข้อ เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นแบบมาตร
ประมาณค่า (Rating scales) 5 ระดับ ได้แก่ เห็นด้วยมากท่ีสุด เห็นด้วยมาก เห็นด้วยปานกลาง เห็น
ดว้ ยน้อย และ เหน็ ด้วยนอ้ ยท่สี ดุ (ภาคผนวก ค)

5.5 แบบสอบถามวัดพฤติกรรมสารสนเทศ รูปแบบของแบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 4 ด้าน
ได้แก่ 1) ด้านความต้องการสารสนเทศ 2) ด้านการแสวงหาสารสนเทศ 3) ด้านการประเมินคุณภาพ
สารสนเทศ และ 4) ด้านการใช้สารสนเทศ มจี านวน 20 ขอ้ เปน็ แบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า

41

(Rating scale) 5 ระดับ ได้แก่ ระดับพฤติกรรมมากที่สุด ระดับพฤติกรรมมาก ระดับพฤติกรรมปาน
กลาง ระดับพฤติกรรมนอ้ ย และ ระดบั พฤตกิ รรมนอ้ ยทีส่ ดุ (ภาคผนวก ง)

6. กำรสร้ำงและพฒั นำเครื่องมอื ท่ใี ช้ในกำรวจิ ัย
1. แบบสอบถำมควำมตอ้ งกำรด้ำนหัวเรื่อง (Topics)
1.1 ศึกษาแนวทางการสร้างแบบสอบถามความต้องการด้านหัวเร่ืองและกลวิธี

การอ่านจาก Teaching Reading (Richard, 2001) วสิ าข์ (2543) และอบุ ลรตั น์ (2555)
1.2 ศกึ ษาจดุ มงุ่ หมายของรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการทางาน (English for Work)

รหัสวิชา 01-312-006 ตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวศิ วกรรมไฟฟา
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559) วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชยั หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุ่มวิชาภาษา ซ่ึงจุดมุ่งหมายของรายวิชากาหนด
ไว้ดังนี้ 1) รู้ศัพท์ สานวน และโครงสร้างภาษาอังกฤษท่ีใช้ในการทางานในวิชาชีพของตน 2) ใช้ศัพท์
สานวนและโครงสร้างภาษาอังกฤษที่ใช้ในการทางานในวิชาชีพของตนได้อย่างเหมาะสม
3) นาภาษาอังกฤษท่ีเรียนไปใช้ในสถานการณ์การทางานได้อย่างถูกต้อง และ 4) มีความม่ันใจและ
มเี จตคติท่ีดตี อ่ การใช้ภาษาองั กฤษและการหาความรเู้ พิ่มเติม

จากน้ันผู้วิจัยวิเคราะห์คาอธิบายรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการทางาน (English for
Work) ซึ่งได้กาหนดไว้ดังน้ี การอ่านประกาศรับสมัครงาน การเขียนประวัติส่วนตัว และจดหมาย
สมัครงาน การสัมภาษณ์งาน โครงสร้างองค์กร คาศัพท์ และสานวนเพ่ือการปฏิบัติงาน และการ
ส่ื อ ส า ร ใ น ส า นั ก ง า น ก า ร น า เ ส น อ ( Reading job advertisements; writing resume and
application letter; job interview; organization chart; vocabulary and expressions for
working and communicating in offices; presentation)

1.3 ศึกษาตัวอย่างงานวิจัยท่ีศึกษาและมีการพัฒนาแบบฝึกและส่ืออิเล็กทรอนิกส์
สาหรบั นกั ศึกษาสาขาวศิ วกรรม

1.4 ประมวลสาระจากการวิเคราะห์จุดมุ่งหมายของรายวิชาและคาอธิบายรายวิชา
ภาษาอังกฤษเพือ่ การทางาน (English for Work) ไดห้ ัวขอ้ หลัก 10 หัวข้อ คอื

1) วสั ดทุ างวิศวกรรม (Engineering materials)
2) การวดั (Measurement)
3) เคร่ืองมือ อุปกรณ์ และเครอื่ งจักร (Tools, equipment, and
machines)
4) ความปลอดภยั ในการทางาน (Safety at work)
5) การอา่ นคมู่ อื ผใู้ ช้งาน (Reading a user manual)
6) การอธบิ ายขัน้ ตอนหรือกระบวนการตา่ ง ๆ (Describing a procedure
or process)
7) การอ่านตาราง กราฟ และแผนภาพตา่ ง ๆ (Reading a table, graph,
and diagram)

42

8) การอ่านบทความทางด้านวิศวกรรม (Reading an engineering

article)

9) โครงสรา้ งของหน่วยงาน (Organization structure)

10) การเขียนโครงการทางดา้ นวิศวกรรม (Writing an engineering

project )

1.5 จัดทาแบบสอบถามความต้องการด้านหัวเรื่องเพื่อใช้ในการพัฒนาทักษะการ

อ่านภาษาอังกฤษโดยใช้เทคโนโลยีการเรียนรู้ร่วมกันผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ (E-collaborative

learning) สาหรับนักศึกษาสาขาวิศวกรรม โดยสร้างข้ึนตามมาตราส่วนประเมินค่า (Rating scale)

5 ระดับ คอื

มีความต้องการเน้ือหา/หวั ข้อมากท่ีสุด ให้ค่าระดบั เทา่ กับ 5

มีความต้องการเน้ือหา/หัวข้อมาก ใหค้ า่ ระดับเท่ากับ 4

มีความต้องการเน้ือหา/หวั ข้อปานกลาง ให้ค่าระดับเทา่ กับ 3

มคี วามต้องการเน้ือหา/หัวข้อนอ้ ย ให้คา่ ระดับเทา่ กับ 2

มคี วามต้องการเนื้อหา/หัวข้อนอ้ ยท่ีสุด ให้ค่าระดบั เทา่ กับ 1

1.6 เพื่อให้ได้หัวเร่ืองที่ตรงตามความต้องการของผู้เรียนและมีขอบเขตเนื้อหาตรง

ตามจุดมุ่งหมายของรายวิชา โดยทาการสารวจความต้องการดังกล่าวจากนักศึกษาระดับปริญญาตรี

หลักสูตรวิศวกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและวิศวกรรมโยธา จานวน 109 คน จากน้ันนาข้อมูลมา

วิเคราะห์ว่าหัวเรื่องใดเหมาะสมในการนามาสร้างส่ืออิเล็กทรอนิกส์ (ผลการวิเคราะห์ความต้องการ

ผู้วจิ ัยนาเสนอรายละเอียดไวใ้ นบทที่ 4)

2. ส่ืออิเลก็ ทรอนกิ สท์ ่เี นน้ กระบวนกำรเรียนร้รู ว่ มกันโดยใชเ้ ทคโนโลยี (E-collaborative

learning) โดยผูว้ ิจยั ได้ดาเนินการสร้างตามขัน้ ตอนดงั ต่อไปนี้

2.1 นาหัวข้อเร่ืองทีร่ วบรวมจากการวเิ คราะหแ์ บบสอบถามความตอ้ งการ คาอธบิ าย

รายวิชา และทักษะการอ่าน มากาหนดโครงสร้างเน้ือหาและกิจกรรมในแต่ละหน่วยการเรียน

โดยวิเคราะห์ภาระงานตามแนวการสอนภาษาเพ่ือการส่ือสารของ สุมิตรา (2540) เพ่ือนามาสร้าง

กจิ กรรมการอา่ นในสอ่ื อิเลก็ ทรอนิกส์ฯ ประกอบด้วยขัน้ ตอนกจิ กรรมการอ่าน 3 ขัน้ ตอน ได้แก่

ขัน้ กจิ กรรมก่อนกำรอำ่ น (Pre-reading activities) เป็นการนาเข้าสู่บทเรียนโดย

เน้นการสร้างความสนใจให้แก่นักศึกษา มีการใช้กิจกรรมท่ีกระตุ้นให้นักศึกษาได้ใช้โครงสร้างความรู้

เดิมเพ่ือให้เกิดความรู้สึกสนใจ สามารถนาความรู้หรือประสบการณ์เดมิ มาใชใ้ นการคาดเดาถึงสิ่งที่จะ

เกิดขึ้น ลักษณะของกิจกรรม ได้แก่ การให้ดูรูปภาพเกี่ยวกับเรื่องที่จะอ่านแล้วอภิปรายหรือตอบ

คาถามส้ันๆ การจับคู่ความสัมพันธ์ระหว่างคาศัพท์หรือกลุ่มคากับรูปภาพที่กาหนดให้ และการเดา

ความหมายของคาศพั ทท์ จ่ี าเปน็ ต้องใช้ในกิจกรรมขน้ั ต่อไป

ข้ันกิจกรรมระหว่ำงกำรอ่ำน (While-reading activities) มุ่งเน้นให้นักศึกษา

สามารถสื่อความหมายจากเร่ืองท่ีอ่าน โดยให้ทราบถึงจุดมุ่งหมายในการอ่าน แล้วจึงหาข้อมูลตาม

จุดมุ่งหมายท่ีต้ังไว้ กิจกรรมการอ่านในขั้นตอนนี้ ได้แก่ การฝึกเทคนิคการอ่านคร่าวๆ (Skimming)

เพ่ือหาใจความสาคัญหรือภาพรวมของบทอ่าน หรือการฝึกอ่านเพ่ือหาข้อมูลเฉพาะ (Scanning)

แล้วตอบคาถาม เติมข้อมูลลงในช่องวา่ งหรือตาราง จับคู่ เรียงลาดับเหตุการณ์ เป็นต้น ในข้ันตอนนมี้ ี


Click to View FlipBook Version