43
การศึกษาโครงสร้างภาษา (Language focus) เพื่อช่วยให้เข้าใจโครงสร้างประโยคและสามารถ
นาไปใชไ้ ด้อย่างเหมาะสม
ข้ันกิจกรรมหลังกำรอ่ำน (Post-reading activities) เป็นการตรวจสอบความ
เข้าใจของนักศึกษาเกี่ยวกับเรื่องท่ีอ่าน กิจกรรมท่ีทาจึงเป็นการถ่ายโอนไปสู่ทักษะอ่ืนๆ เช่น ทักษะ
การเขียนหรือการพูด เพื่อฝึกการใช้ภาษาตามสถานการณ์ต่างๆในชีวิตประจาวันและการทางาน
กิจกรรมสาหรับขั้นตอนน้ี ได้แก่ การสรุปความโดยการเติมข้อมูลลงในแผนภาพหรือตาราง การฝึก
สร้างประโยค ฝกึ สนทนาถาม-ตอบ ฯลฯ
2.2 สร้างตารางกาหนดโครงสร้างส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ ให้ผู้เช่ียวชาญ 3 ท่าน ตรวจสอบ
ความถูกต้องและความเหมาะสมของเน้ือหาและกิจกรรม จากนั้นนาคะแนนที่ผู้เชี่ยวชาญประเมินแต่
ละข้อมาคานวณค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objective Congruence: IOC) ของ
โครงสร้างในแต่ละหน่วยการเรียนให้ได้ตามเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ และได้ค่าดัชนีความสอดคล้องท่ีมี
คา่ เฉลยี่ 1.00 ซ่งึ หมายความว่า เนื้อหาและกิจกรรมมคี วามสอดคลอ้ งเหมาะสมท่ีจะนามาสรา้ งเป็นสื่อ
อิเลก็ ทรอนิกส์ฯ ได้
2.3 สร้างส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ จานวน 4 หน่วยการเรียน ตามโครงสร้างที่ผ่านการตรวจสอบ
ความเหมาะสมในการใช้ภาษาตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ ก่อนการทดลองใช้เพ่ือหาประสิทธิภาพ
ตามเกณฑท์ ีก่ าหนดไวค้ ือ 75/75 ของ ชัยยงค์ (2556) ในขั้นทดลองกลุ่ม 3 คน และ กลุ่ม 10 คน
เนื้อหาของสื่ออเิ ลก็ ทรอนิกสท์ ่ีเน้นกระบวนการเรียนรูร้ ่วมกันโดยใช้เทคโนโลยี
(E-collaborative learning) มที ้ังหมด 4 หนว่ ยการเรียน ประกอบดว้ ย
Unit 1 : Job advertisement
Unit 2: Workplace safety
Unit 3 : Materials
Unit 4 : User manual
ซ่งึ ในแตล่ ะหนว่ ยการเรียนมีเน้ือหาและทักษะการอ่านดังรายละเอยี ดในตารางท่ี 1
ตำรำงท่ี 1 เน้ือหาและทกั ษะการอ่านของส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ ในแต่ละหนว่ ยการเรียน
Unit Contents and reading skills
Unit 1 : - Key parts of job advertisement
Job advertisement - Vocabulary in a job advertisement
- Skimming and scanning reading
Unit 2:
Workplace safety - Vocabulary in a workplace safety
- Identifying and explaining meaning of signs used
in the workplace
- Guessing the meaning of unknown words by
using context clues
44
ตำรำงท่ี 1 (ต่อ) Contents and reading skills
Unit
Unit 3 : Materials - Vocabulary of engineering material
- Guessing the meaning of unknown words by using
context clues (root / prefix/ suffix)
- Identifying reference words
Unit 4: User manual - Vocabulary in a user manual
- Describing operating procedure or process
- Reading the instruction
ลาดับข้ันตอนของการพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ท่ีเน้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้
เทคโนโลยี (E-collaborative learning) สามารถสรปุ และแสดงได้ดังภาพท่ี 6
ภำพที่ 6 ข้ันตอนของการพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยี
(E-collaborative learning)
3. แบบทดสอบวัดควำมสำมำรถในกำรอ่ำนภำษำอังกฤษ จานวน 1 ฉบับ เป็นแบบตวั เลือก
มี 4 ตัวเลอื ก จานวน 40 ข้อ ใช้เวลาในการสอบ 60 นาที แบบทดสอบใช้วดั ความสามารถในการอ่าน
ภาษาอังกฤษของนักศึกษาก่อนและหลังการเรียนจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯ ครบทั้ง 4 หน่วยการเรียน
มีค่าความยากง่ายอยู่ระหว่าง 0.20-0.80 และมีคาจาแนกระหว่าง 0.20-0.88 มีค่าความเชื่อมั่นของ
แบบทดสอบทง้ั ฉบบั เทากับ 0.84 โดยผู้วจิ ยั ไดด้ าเนนิ การสร้างตามขั้นตอนดงั ต่อไปนี้
45
3.1 ศึกษาแนวทางการสรา้ งแบบทดสอบจากหนังสือการทดสอบและประเมนิ ผลการ
เรียนการสอนภาษาอังกฤษจากหนังสือ Classroom Testing ของ Heaton (1990) และเอกสาร
งานวิจัยต่างๆ
3.2 วิเคราะห์เนื้อหาสาระ กิจกรรม จุดประสงค์การเรียนรู้และทักษะท่ีสัมพันธ์กับ
ระดับพฤติกรรม เพ่ือนามาสร้างตารางกาหนดเนื้อหาข้อสอบ (Table of test specification) โดยมี
เนื้อหาครอบคลุม 4 จุดประสงค์หลัก ได้แก่ การสรุปใจความสาคัญจากข้อมูลที่อ่าน การหา
รายละเอียดของข้อมูล การวิเคราะห์ความหมายของคาศัพท์ การหาความหมายของคาท่ีเกี่ยวข้องใน
บริบท และการบอกความหมายของคาที่ใช้อ้างอิง แล้วนาตารางดังกล่าวไปให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณา
ก่อนนามาปรับปรุงแกไ้ ขเพอ่ื ความเหมาะสม
ตำรำงที่ 2 ตารางกาหนดเน้อื หาของแบบทดสอบความสามารถในการอ่านภาษาองั กฤษ
Reading objectives No. of Scoring
items
Main idea:
▪ To identify the main idea of the paragraph or passage 10 1-0
Specific details:
▪ To find the details in the text, passage, and non-text 10 1-0
information
Wording meaning:
▪ To identify the meaning of the unknown words in 10 1-0
contexts
References:
▪ To identify the words reference in contexts 10 1-0
3.3 สร้างแบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษ ซงึ่ เปน็ แบบทดสอบ
ปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก จานวน 60 ข้อ 1 ฉบับ โดยมีเกณฑ์การให้คะแนน คือ ตอบถูกได้ 1 คะแนน
ตอบผิดหรือไม่ตอบได้ 0 คะแนน ซ่ึงแบบทดสอบจะได้รับการวิเคราะห์ค่าความยากง่าย ค่าอานาจ
จาแนกตามเกณฑ์ให้เหลือจานวน 40 ข้อ โดยแบบทดสอบที่สร้างข้ึนน้ีจะใช้เป็นแบบทดสอบก่อน
เรยี น (Pre-test) และหลงั เรียน (Post-test) ฉบบั เดียวกัน
3.4 นาแบบทดสอบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษที่ผู้วิจัยสร้างข้ึนส่งให้
ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 3 ท่าน ตรวจสอบความถูกต้องทางภาษา ประเมินความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหา
(Content validity) โดยพิจารณาจากความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์การเรียนรู้
จากน้ันนาผลการประเมินของผู้เชี่ยวชาญมาคานวณหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item
46
Objective Congruence: IOC) และได้ค่าเฉลี่ยของดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 0.84 ซงึ่ ค่าดชั นคี วาม
สอดคล้องตัง้ แต่ 0.50 ขนึ้ ไปถือวา่ อย่ใู นเกณฑ์ท่ียอมรับได้
3.5 นาแบบทดสอบที่ได้ปรับปรุงแก้ไขแล้ว ไปใช้กับนักศึกษากลุ่มตัวอย่างใน
ข้ันทดลองภาคสนาม โดยกาหนดเวลาในการทาแบบทดสอบ 60 นาที
4. แบบสอบถำมควำมคิดเห็นของนักศึกษำที่มีต่อส่ืออิเล็กทรอนิกส์ท่ีเน้นกระบวนกำร
เรยี นรู้ร่วมกันโดยใชเ้ ทคโนโลยี (E-collaborative learning)
ผู้วิจัยได้สร้างแบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาท่ีมีต่อสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯตามข้ันตอน
ดังนี้
4.1 ศึกษาแนวทาง ทฤษฎี และรูปแบบการสร้างแบบสอบถามความคิดเห็นจาก
เอกสารและงานวิจัยทเ่ี กย่ี วข้อง
4.2 สร้างแบบสอบถามความคิดเห็นฯ ซ่ึงผู้วิจัยได้กาหนดคุณลักษณะท่ีต้องการ
พิจารณา เป็น 3 ด้าน คือ ดา้ นเน้ือหา ด้านรูปแบบการจดั กจิ กรรม และดา้ นรูปแบบการเรียนผ่านเว็บ
จานวน 15 ขอ้ แบบสอบถามมีลักษณะเป็นมาตราส่วนประเมินค่า (Rating scales) 5 ระดับ ใหผ้ ้ตู อบ
แบบสอบถามทาเครอ่ื งหมายลงไปในชอ่ งท่ีตรงกับความคดิ เห็นของตนเองมากที่สุด ดังนี้
เหน็ ดว้ ยมากทสี่ ดุ ให้ค่าระดับเท่ากับ 5
เห็นดว้ ยมาก ให้คา่ ระดับเท่ากับ 4
เห็นดว้ ยปานกลาง ให้คา่ ระดบั เทา่ กับ 3
เห็นด้วยนอ้ ย ให้ค่าระดับเทา่ กับ 2
เหน็ ดว้ ยนอ้ ยท่สี ุด ใหค้ ่าระดับเท่ากับ 1
4.3 นาแบบสอบถามความคิดเห็นฯ ท่ีสร้างข้ึนส่งให้ผู้เช่ียวชาญ จานวน 3 ท่าน
ตรวจสอบความตรงของเนื้อหา (Content validity) ความเหมาะสมของคาถาม และรูปแบบภาษา
จากนั้นนาผลการประเมินของผู้เชี่ยวชาญมาคานวณหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item
Objective Congruence: IOC) และไดค้ ่าดัชนคี วามสอดคล้องทีม่ ีค่าเฉล่ีย 1.00
4.4 นาแบบสอบถามความคิดเห็น ฯ ไปใช้ในการทดลองภาคสนาม โดยให้นักศึกษา
ตอบแบบสอบถามความคิดเห็นหลังการเรียนจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯ จนครบ 4 หน่วยการเรียน
แลว้ นาขอ้ มลู มาวเิ คราะห์
5. แบบสอบถำมวัดพฤติกรรมสำรสนเทศ
ผูว้ จิ ยั ได้สรา้ งแบบสอบถามวดั พฤตกิ รรมสารสนเทศ ตามขนั้ ตอนดงั นี้
5.1 ศึกษาแนวทาง ทฤษฎี และรูปแบบการสร้างแบบสอบถามวัดพฤติกรรม
สารสนเทศ จากเอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กีย่ วขอ้ ง
5.2 สร้างแบบสอบถามวัดพฤติกรรมสารสนเทศ ซ่ึงผู้วิจัยได้กาหนดคุณลักษณะ
ทต่ี ้องการพิจารณา เป็น 4 ด้าน คอื 1) ดา้ นความตอ้ งการสารสนเทศ 2) ดา้ นการแสวงหาสารสนเทศ
3) ด้านการประเมินคุณภาพสารสนเทศ และ 4) ด้านการใช้สารสนเทศ แบบสอบถามมีลักษณะ
47
เป็นมาตราส่วนประเมินค่า (Rating scales) 5 ระดับ ให้ผู้ตอบแบบสอบถามทาเคร่ืองหมายลงไปใน
ช่องทตี่ รงกับระดบั พฤตกิ รรมของตนเองมากทีส่ ุด ดงั น้ี
มีระดบั พฤติกรรมมากท่ีสดุ ให้คา่ ระดับเทา่ กับ 5
มีระดบั พฤติกรรมมาก ให้คา่ ระดบั เทา่ กับ 4
มีระดบั พฤติกรรมปานกลาง ใหค้ ่าระดับเทา่ กับ 3
มีระดับพฤติกรรมน้อย ใหค้ ่าระดับเท่ากับ 2
มีระดับพฤติกรรมน้อยที่สุด ใหค้ า่ ระดบั เท่ากับ 1
5.3 นาแบบสอบถามวัดพฤติกรรมสารสนเทศที่สร้างข้ึนส่งให้ผู้เช่ียวชาญเพ่ือ
ตรวจสอบความตรงของเน้ือหา (Content validity) ความเหมาะสมของคาถาม และรูปแบบภาษา
จากน้ันนาผลการประเมินของผู้เชี่ยวชาญมาคานวณหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item
Objective Congruence: IOC) และได้ค่าดชั นคี วามสอดคลอ้ งทีม่ ีค่าเฉลีย่ 1.00
5.4 นาแบบสอบถามวดั พฤติกรรมสารสนเทศไปใช้ในการทดลองภาคสนาม โดยให้
นักศึกษาตอบแบบสอบถามวัดพฤติกรรมสารสนเทศ หลังการเรียนจากส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ จนครบ 4
หนว่ ยการเรียน แลว้ นาขอ้ มูลมาวเิ คราะห์
7. กำรเก็บรวบรวมขอ้ มลู
ผู้วิจัยได้ดาเนินการเก็บรวบรวมขอมูลและดาเนินการสอนนักศึกษากลุมตัวอยางด้วยตนเอง
ตามขัน้ ตอนดังตอไปน้ี
1. แจ้งนักศึกษากลุ่มตัวอย่าง เพื่อแจ้งวัตถุประสงค์ในการวิจัยและขอความร่วมมือในการ
ทดลองใช้สือ่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ฯ ทีผ่ ู้วจิ ยั สร้างขึ้น
2. จดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯ จานวน 4 หน่วยการเรียน สาหรบั
นักศึกษากลุ่มตัวอย่าง 20 คน เป็นเวลา 4 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 ช่ัวโมง รวมเวลาที่ใช้ในการทา
แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนอกี 2 ชั่วโมง รวมทง้ั สิ้น 14 ชั่วโมง ตามข้ันตอนดังน้ี
2.1 ทาการทดสอบความสามารถในการอา่ นภาษาองั กฤษของนักศึกษากลุ่มตัวอย่าง
กอ่ นเรยี นดว้ ยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯ ทีผ่ ู้วจิ ัยสร้างขน้ึ โดยคาถามทั้งหมดเป็นแบบปรนัย ชนดิ 4 ตวั เลือก
จานวน 40 ข้อ ใชเ้ วลา 60 นาที จากนั้นตรวจให้คะแนนและบันทึกคะแนนของนักศึกษากลุ่มตัวอย่าง
แตล่ ะคน
2.2 ผวู้ ิจยั ชแี้ จงวัตถปุ ระสงค์และวธิ ีการเรียนให้แก่นักศึกษากลุ่มตัวอย่างที่เรียนด้วย
ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ ท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึน และให้นักเรียนทากิจกรรมตามข้ันตอนที่กาหนดในส่ือ
อิเล็กทรอนิกส์ฯ สัปดาห์ละ 1 หน่วยการเรียน รวมท้ังทาแบบทดสอบท้ายบท จากนั้นผู้วิจัยตรวจให้
คะแนนแบบทดสอบทา้ ยบท และบันทึกคะแนนของนักศึกษากลมุ่ ตัวอยา่ งแตล่ ะคน
2.3 นาผลคะแนนของแบบทดสอบท้ายบทท้ัง 4 หน่วยการเรียน (E1) ไปวิเคราะห์
คา่ ทางสถติ ิ เพ่อื หาประสิทธิภาพตามเกณฑท์ ตี่ ั้งไว้
2.4 ใหน้ กั ศกึ ษากลมุ่ ตวั อยา่ งตอบแบบสอบถามความคดิ เห็นทีม่ ีต่อสือ่ อิเล็กทรอนิกส์
ฯ ท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึน หลังจากเรียนจบทุกหน่วยการเรียน และบันทึกข้อมูลจากการตอบแบบสอบถาม
เพ่อื นาผลไปวิเคราะห์คา่ ทางสถิติ
48
2.5 ให้นักศึกษากลุ่มตัวอย่างทาแบบทดสอบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษ
หลังการเรียนจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ฯ ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซ่ึงเป็นแบบทดสอบฉบับเดียวกับแบบทดสอบ
ก่อนเรียน ใช้เวลาในการทาแบบทดสอบ 60 นาที แล้วตรวจให้คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (E2)
เพื่อนาผลไปวิเคราะหท์ างสถิติ
8. กำรวิเครำะห์ขอ้ มูล
1. คานวณหาค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉล่ีย (x)̄ และค่าร้อยละ เพื่อนามาหาประสิทธิภาพ
ของสือ่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ฯ ในแต่ละหน่วยการเรยี น
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ฯ ตามเกณฑ์ 75/75 จากสูตร E1/E2
(ชัยยงค,์ 2556) โดยใชส้ ตู ร
สูตรที่ 1
X1
E1 N 100
A
เม่อื E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการ
X1 แทน คะแนนรวมจากการทาแบบฝึกหดั ในระหว่างเรียนของนกั ศึกษา
กลุ่มตวั อย่างทกุ คน
N แทน จานวนนกั ศึกษากล่มุ ตัวอย่าง
A แทน คะแนนเตม็ ของแบบฝึกหัดในระหวา่ งเรียน
สตู รท่ี 2
X2
E2 N 100
B
เมือ่ E2 แทน ประสิทธภิ าพของผลลพั ธ์
X2 แทน คะแนนรวมจากการทาแบบทดสอบหลงั เรยี นของนักศกึ ษา
กลมุ่ ตวั อย่างทุกคน
N แทน จานวนนกั ศึกษากลมุ่ ตวั อย่าง
B แทน คะแนนเตม็ ของแบบทดสอบหลังเรยี น
2. เปรียบเทียบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างก่อนและ
หลังการเรียนด้วยส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ โดยการทดสอบค่าที (T-test) แบบไม่เป็นอิสระต่อกัน
(Dependent) วเิ คราะหด์ ้วยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์
49
3. วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นซ่ึงมีลักษณะเป็นแบบมาตรประมาณค่า
(Rating scales) โดยนาค่าระดับท่ีได้มาหาค่าเฉล่ีย (x)̄ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) แล้วนาไป
แปลความหมายค่าระดับความคดิ เหน็ ดังนี้
1.00 ≤ x̄ < 1.49 หมายถึง นักศึกษากลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯโดย
เฉล่ียอยใู่ นระดบั น้อยทสี่ ุด
1.50 ≤ x̄ < 2.49 หมายถึง นักศึกษากลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯ
โดยเฉลีย่ อยู่ในระดบั นอ้ ย
2.50 ≤ x̄ < 3.49 หมายถึง นักศึกษากลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯ
โดยเฉล่ยี อยูใ่ นระดบั ปานกลาง
3.50 ≤ x̄ < 4.49 หมายถึง นักศึกษากลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯ
โดยเฉลีย่ อยใู่ นระดบั ระดับมาก
4.50 ≤ x̄ < 5.00 หมายถึง นักศึกษากลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯ
โดยเฉลี่ยอยูใ่ นระดับมากทส่ี ุด
4. วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามวัดพฤติกรรมสารสนเทศซึ่งมีลักษณะเป็นแบบ
มาตรประมาณคา่ (Rating scales) โดยนาคา่ ระดับท่ีได้มาหาค่าเฉล่ยี (x)̄ และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน
(S.D.) แล้วนาไปแปลความหมายค่าระดบั ความคดิ เหน็ ดังนี้
1.00 ≤ x̄ < 1.49 หมายถึง นักศึกษากลุ่มตัวอย่างมีระดับพฤติกรรมสารสนเทศโดยเฉล่ียอยู่
ในระดบั นอ้ ยที่สดุ
1.50 ≤ x̄ < 2.49 หมายถึง นักศึกษากลุ่มตัวอย่างมรี ะดับพฤตกิ รรมสารสนเทศโดยเฉลี่ยอยู่
ในระดับน้อย
2.50 ≤ x̄ < 3.49 หมายถึง นักศึกษากลุ่มตัวอย่างมีระดับพฤตกิ รรมสารสนเทศโดยเฉล่ียอยู่
ในระดับปานกลาง
3.50 ≤ x̄ < 4.49 หมายถึง นักศึกษากลุ่มตัวอย่างมีระดับพฤติกรรมสารสนเทศโดยเฉลี่ยอยู่
ในระดับมาก
4.50 ≤ x̄ < 5.00 หมายถึง นักศึกษากลุ่มตัวอย่างมีระดับพฤติกรรมสารสนเทศโดยเฉลี่ยอยู่
ในระดบั มากท่ีสดุ
50
บทท่ี 4
ผลกำรวิจยั (Result)
โครงการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้เทคโนโลยีการเรียนรู้ร่วมกัน
ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-collaborative learning) สาหรับนักศึกษาสาขาวิศวกรรม วิทยาลัย
เทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ ผู้วิจัยได้นาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยแบ่งออกเป็น
5 ตอน ดังน้ี
ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ความต้องการด้านหัวเร่ืองของนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขา
วศิ วกรรม หลกั สตู รวศิ วกรรมไฟฟา้ และวิศวกรรมโยธา จานวน 109 คน
ตอนท่ี 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาประสิทธภิ าพของสอื่ อิเลก็ ทรอนิกส์ทเ่ี นน้ กระบวนการ
เรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยี (E-collaborative learning) สาหรับนักศึกษาสาขาวิศวกรรม
ตามเกณฑ์ 75/75 (ชัยยงค์, 2556) โดยทดลองกับนักศกึ ษากลุม่ ตวั อย่างจานวน 20 คน
ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลเพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษ
ของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างก่อนและหลังการเรียนจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯ โดยการหาค่าผลต่างของ
คะแนนสอบกอ่ นเรียน (Pre-test) และคะแนนสอบหลังเรียน (Post-test)
ตอนท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างที่มีต่อส่ือ
อเิ ลก็ ทรอนิกสฯ์
ตอนท่ี 5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพฤตกิ รรมสารสนเทศของนักศึกษากลุ่มตวั อย่างหลังการเรียน
จากสอื่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ฯ
ตอนที่ 1 ในการพัฒนาส่ืออิเล็กทรอนิกส์ท่ีเน้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยี
(E-collaborative learning) สาหรับนักศึกษาสาขาวิศวกรรม เพ่ือให้ได้หัวเรื่องที่ตรงตามความ
ต้องการของผเู้ รียนและมีขอบเขตเนื้อหาตรงตามจุดมุ่งหมายของรายวชิ า ผู้วิจัยได้ทาการสารวจความ
ต้องการดังกล่าวจากนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรม หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าและ
วศิ วกรรมโยธา จานวน 109 คน จากนน้ั นาขอ้ มลู มาวเิ คราะห์ว่าหัวเรื่องใดเหมาะสมในการนามาสร้าง
สื่ออิเล็กทรอนิกสฯ์ ผลการวิเคราะหค์ วามต้องการด้านหวั เร่อื งแสดงในตารางที่ 3 ดงั น้ี
ตำรำงที่ 3 ผลการวิเคราะหแ์ บบสอบถามความต้องการดา้ นหวั เรอื่ งของนกั ศกึ ษา
หวั เรอ่ื ง (x)̄ S.D. ระดบั ลำดับ
ควำม ควำม
1. วสั ดุทางวิศวกรรม ตอ้ งกำร ต้องกำร
(Engineering materials)
4.37 .603 มาก 3
2. การวัด
(Measurement) 4.25 .683 มาก 10
51
ตำรำงท่ี 3 (ต่อ)
หัวเร่ือง (x)̄ S.D. ระดับ ลำดับ
ควำม ควำม
3. เคร่อื งมือ อุปกรณ์ และเคร่ืองจกั ร ต้องกำร ตอ้ งกำร
(Tools, equipment, and machines)
4.36 .660 มาก 5
4. ความปลอดภยั ในการทางาน
(Safety at work) 4.37 .676 มาก 3
5. การอา่ นคู่มอื ผู้ใชง้ าน 4.34 .641 มาก 6
(Reading a user manual)
4.38 .620 มาก 2
6. การอธบิ ายขั้นตอนหรอื กระบวนการต่าง ๆ
(Describing a procedure or process) 4.28 .668 มาก 8
7. การอา่ นตาราง กราฟ และแผนภาพต่าง ๆ 4.31 .648 มาก 7
(Reading a table, graph, and diagram)
4.27 .741 มาก 9
8. การอา่ นบทความทางด้านวิศวกรรม
(Reading an engineering article) 4.39 .622 มาก 1
9. โครงสรา้ งของหนว่ ยงาน
(Organization structure)
10. การเขียนโครงการทางด้านวิศวกรรม
(Writing an engineering project )
จากตารางท่ี 3 ผู้วิจัยเลือกหัวเร่ืองท่ีมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับมากมากาหนดใน
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยี (E-collaborative learning)
โดยไดแ้ บ่งออกเปน็ หนว่ ยการเรียนและกาหนดหัวเรื่องดังน้ี
Unit 1 : Job advertisement
Unit 2: Workplace safety
Unit 3 : Materials
Unit 4 : User manual
ตอนท่ี 2 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู เพือ่ หาประสิทธิภาพของส่ืออิเลก็ ทรอนกิ สท์ ่ีเนน้ กระบวนการ
เรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยี (E-collaborative learning) สาหรับนักศึกษาสาขาวิศวกรรม
ตามเกณฑ์ 75/75 (ชัยยงค์, 2556) โดยทดลองกับนักศึกษากลุ่มตัวอย่างจานวน 20 คน ผู้วิจัยได้
ดาเนินการ 2 ข้ันตอน ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. หลังการเรียนดว้ ยสอ่ื อิเลก็ ทรอนิกส์ฯ แต่ละหน่วยการเรียน ผู้วจิ ัยใหน้ ักศึกษากลุ่มตัวอย่าง
ทั้ง 20 คน ทาแบบทดสอบรายบทจนครบทั้ง 4 หน่วยการเรียน ซ่ึงมีคะแนนเต็มหน่วยการเรียนละ
52
10 คะแนน แล้วนาคะแนนมาวิเคราะห์หาค่าเฉล่ีย (x)̄ และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ค่าร้อยละ
(%) และจัดลาดับคะแนนเฉล่ยี ของแตล่ ะหนว่ ยการเรียน ผลการวิเคราะห์แสดงในตารางท่ี 4 ดงั น้ี
ตำรำงท่ี 4 คะแนนเฉล่ีย (x)̄ ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ค่ารอ้ ยละ (%) และลาดบั ที่ของ
คะแนนเฉล่ียจากการทาแบบทดสอบของแตล่ ะหนว่ ยการเรยี น
หน่วย ชอ่ื เร่ือง คะแนน (x̄) (S.D.) ร้อยละ ลำดบั
กำร เตม็ ท่ี
เรียน
10 7.35 0.67 73.50 3
1 Job advertisement 10 8.00 0.79 80 1
10 7.65 0.58 76.50 2
2 Workplace safety 10 7.00 0.85 70 4
3 Materials
4 User manual
จากตารางที่ 4 แสดงให้เห็นว่านักศึกษากลุ่มตัวอย่างสามารถทาคะแนนแบบทดสอบแต่ละ
หน่วยการเรียนได้ดี เมื่อนาคะแนนเฉล่ียท่ีได้มาจัดลาดับพบว่าแบบทดสอบท่ีกลุ่มตัวอย่างทาคะแนน
เฉลี่ยได้สูงสุดและมีคะแนนเฉล่ียสูงกว่าร้อยละ 80 คือ Unit 2 Workplace safety (83.75%) และ
ต า ม ด้ ว ย Unit 3 Materials (7 8 . 7 5 %) แ ล ะ Unit 1 Job advertisement (74.38 %) ส่ ว น
แบบทดสอบทน่ี ักศึกษากลมุ่ ตวั อย่างทาคะแนนเฉล่ยี ตา่ ท่สี ดุ คือ Unit 4 User manual (72.5% )
2. การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของส่ืออิเล็กทรอนิกส์ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้
เทคโนโลยี (E-collaborative learning) สาหรับนักศึกษาสาขาวิศวกรรม โดยการหาค่าร้อยละของ
คะแนนจากการทาแบบทดสอบท้ัง 4 หน่วยการเรียน และค่าร้อยละ ของคะแนนจากการทา
แบบทดสอบหลังเรียนของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างท้งั 20 คน ผลการวิเคราะห์แสดงในตารางท่ี 5
ตำรำงที่ 5 คะแนนจากการทาแบบทดสอบทงั้ 4 หน่วยการเรยี น และคะแนนจากการทาแบบทดสอบ
หลังเรยี นของนักศึกษากลมุ่ ตัวอย่างจานวน 20 คน
คนที่ คะแนนแบบทดสอบรำยหนว่ ย รวม รอ้ ยละ คะแนนสอบ รอ้ ยละ
1234 หลังเรียน
1 7888
2 8989 40 40
3 6776
4 7787 31 77.5 32 80
5 8887
6 6877 34 85 35 87.5
7 8987
26 65 28 70
29 72.5 33 82.5
31 77.5 26 65
28 70 29 72.5
32 80 30 75
53
ตำรำงท่ี 5 (ต่อ)
คนที่ คะแนนแบบทดสอบรำยหนว่ ย รวม รอ้ ยละ คะแนนสอบ ร้อยละ
8 7876 28 หลังเรยี น
9 8998 34
10 8 7 8 7 30 70 25 62.5
11 7 8 8 8 31
12 8 9 8 8 33 85 39 97.5
13 8 8 7 6 29
14 7 7 7 6 27 75 36 90
15 7 9 8 7 31
16 8 9 7 7 31 77.5 35 87.5
17 7 8 7 6 28
18 7 7 7 6 27 82.5 30 75
19 7 7 8 7 29
20 8 8 8 7 31 72.5 29 72.5
รวม 147 160 153 140 600
(800) 67.5 35 87.5
(200) (200) (200) (200) 75
ร้อยละ 73.5 80 76.5 70 77.5 29 72.5
77.5 30 75
70 26 65
67.5 30 75
72.5 25 62.5
77.5 30 75
75 612 76.5
(800)
จากตารางท่ี 5 แสดงให้เห็นว่านักศึกษากลุ่มตัวอย่างทาคะแนนจากการทาแบบทดสอบ
ทั้ง 4 หน่วยการเรียน ได้คะแนนรวมเท่ากับ 600 คะแนน จากคะแนนเต็ม 800 คะแนน คิดเป็นร้อย
ละ 75 และทาคะแนนแบบทดสอบหลังเรียนได้คะแนนรวม 612 คะแนน จากคะแนนเต็ม 800
คะแนน คิดเป็นร้อยละ 76.5 ดังนั้น ประสิทธิภาพของส่ืออิเล็กทรอนิกส์ท่ีเน้นกระบวนการเรียนรู้
ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยี (E-collaborative learning) สาหรับนักศึกษาสาขาวิศวกรรม มีค่าเท่ากับ
75/76.5 ซึ่งเท่ากับเกณฑ์ท่ีตั้งไว้ แต่ไม่เกินร้อยละ 2.5 แสดงว่าสื่ออิเล็กทรอนิกส์ท่ีเน้นกระบวนการ
เรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยี (E-collaborative learning) สาหรับนักศึกษาสาขาวิศวกรรม
มปี ระสิทธภิ าพดี
ตอนท่ี 3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของ
นักศึกษากลมุ่ ตัวอยา่ งก่อนและหลังการเรียนจากสื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์ฯ
เพื่อตอบวัตถุประสงค์การวิจัยข้อที่ 2 ผู้วิจัยได้ให้กลุ่มตัวอย่าง 20 คน ทาแบบทดสอบวัด
ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษก่อนและหลังการทดลอง ซึ่งเป็นแบบทดสอบชุดเดียวกัน
จานวน 40 ข้อ คะแนนเต็ม 40 คะแนน จากน้ันจึงหาผลต่างของคะแนน (D) จากการทดสอบก่อน
และหลังการเรียนจากส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ และนาคะแนนที่ได้จากการทดสอบทั้งสองคร้ังมา
เปรียบเทียบความสามารถในการอ่านของนักศึกษากลุ่มตัวอย่าง ผลการวิเคราะห์แสดงในตารางที่ 6
และ 7 ตามลาดบั
54
ตำรำงที่ 6 คะแนนความสามารถในการอา่ นภาษาองั กฤษของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างก่อนและหลังการ
เรียนจากส่ืออเิ ลก็ ทรอนกิ สฯ์ และผลต่างของคะแนนในการทดสอบท้ัง 2 ครั้ง
นกั ศกึ ษำ คนท่ี คะแนน (40) ผลตำ่ ง (D)
กอ่ นเรียน หลังเรยี น
1 21 32 11
2 25 35 10
3 18 28 10
4 24 33 9
5 17 26 9
6 15 29 14
7 11 30 19
8 25 25 0
9 21 39 18
10 25 36 11
11 20 35 15
12 15 30 15
13 20 29 9
14 21 35 14
15 24 29 5
16 25 30 5
17 11 26 15
18 24 30 6
19 9 25 16
20 15 30 15
จากตารางที่ 6 แสดงให้เห็นว่าคะแนนความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษา
กลุ่มตัวอย่างสูงขึ้นหลังเรียนจากส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ ท้ังหมด 4 หน่วยการเรียน โดยมีค่าผลต่างของ
คะแนนจากการทาแบบทดสอบก่อนและหลังเรียนจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯ มีค่าสูงสุดเท่ากับ 19 และ
ค่าต่าสุดเท่ากับ 5 จากคะแนนเต็ม 40 คะแนน ผู้วิจัยนาคะแนนที่ได้จากการทดสอบทั้งสองคร้ังมา
เปรียบเทียบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษโดยการทดสอบสถิติค่าที (t-test) ปรากฏผล
ดังตารางท่ี 7
ตำรำงที่ 7 เปรยี บเทยี บคะแนนเฉลีย่ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน คะแนนผลต่างเฉล่ียและค่าสถติ ทิ ี
(t-test) ของนกั ศึกษากลุ่มตวั อย่าง จานวน 20 คน
กำรทดสอบ n คะแนนเตม็ (x)̄ S.D. D t - test
20 40 19.30 11.3 10.38
กอ่ นเรียน 20 40 30.60 5.06
หลังเรยี น 3.79
* มนี ัยสาคัญทางสถิติท่รี ะดับ 0.05
55
จากตารางที่ 7 แสดงให้เห็นว่าค่าเฉลี่ยความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษา
กลุ่มตัวอย่างหลังเรียนจากส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ ท้ังหมด 4 หน่วยการเรียน มีค่าเท่ากับ 30.6 คะแนน
ซ่ึงสูงกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนก่อนเรียนจากส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ ที่มีค่าเท่ากับ 19.30 คะแนน และ
ผลต่างเฉล่ียระหว่างก่อนและหลังเรียนจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯ เท่ากับ 11.3 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานเท่ากบั 4.74 สรปุ ไดว้ า่ ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างหลัง
เรียนจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯ ท้ัง 4 หน่วยการเรียน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดบั
0.05
ตอนท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างท่ีมีต่อสื่อ
อิเลก็ ทรอนิกสฯ์
เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างท่ีมีต่อสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯ ผู้วิจัยให้
กลุ่มตัวอย่างจานวน 20 คน ตอบแบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาท่ีมีต่อส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ
ในด้านเน้ือหา ด้านรูปแบบการจัดกิจกรรมในบทเรียน และด้านรูปแบบการเรียนผ่านเว็บ จานวน
15 ข้อ หลังการเรียนจากส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ ครบท้ัง 4 หน่วยการเรียน จากนั้นนาข้อมูลท่ีได้มาหา
ค่าเฉลี่ย (x)̄ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) แล้วนาไปแปลความหมายค่าระดับตามเกณฑ์ท่ี
กาหนดไว้ ผลการวเิ คราะหแ์ สดงในตารางท่ี 8
ตำรำงที่ 8 คาระดับคะแนนเฉลี่ย (x̄) และสวนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ของความคดิ เห็นของ
นกั ศึกษากลมุ่ ตวั อย่าง
รำยกำรประเมิน (x̄) S.D. ระดบั ลำดบั ท่ี
ควำม
คิดเหน็
1.ดำ้ นเน้ือหำ
1. ขนาดของตวั อักษรในบทเรียนชดั เจนและ 4.00 0.73 มาก 12
อ่านงา่ ย
2. ภาพประกอบบทเรียนมีความเหมาะสม 4.05 0.69 มาก 11
กับเน้ือหา
3. เนอื้ หาของบทเรียนตรงกับความตอ้ งการ 4.10 0.55 มาก 8
ของนกั ศึกษา
4. เน้ือหาของบทเรียนมคี วามนา่ สนใจและ 4.15 0.59 มาก 6
ทาให้นักศึกษาต้องการเรยี น
5. เน้ือหามรี ะดบั ความยากง่ายเหมาะสมกบั ผ้เู รยี น 4.20 0.70 มาก 5
ค่ำเฉลี่ยด้ำนเน้อื หำ 3.94 0.68 มำก
2. ด้ำนรูปแบบกำรจดั กิจกรรมในบทเรียน
6. การอธิบายเนือ้ หา กจิ กรรมมีความชัดเจน 4.05 0.60 มาก 10
เขา้ ใจได้งา่ ย
56
ตำรำงท่ี 8 (ต่อ)
รำยกำรประเมิน (x̄) S.D. ระดบั ลำดบั ท่ี
ควำม
7. กจิ กรรมชว่ ยใหน้ ักศกึ ษาได้นาความรเู้ ดมิ 4.25 0.72 คดิ เห็น
มาทาความเขา้ ใจกบั บทเรยี นได้ 4.30 0.66
4.25 0.44 มาก 4
8. กจิ กรรมชว่ ยให้นักศึกษาได้เรียนรู้และ 4.07 0.59 มาก 1
พัฒนาด้านคาศัพทม์ ากขึ้น 4.00 0.65 มาก 3
3.75 0.72 มำก
9. กจิ กรรมส่งเสรมิ ให้นกั ศกึ ษาพฒั นาทักษะ มาก 13
การอา่ นภาษาอังกฤษมากขน้ึ 3.90 0.64 มาก 15
4.25 0.64
ค่ำเฉลี่ยดำ้ นรูปแบบกำรจัดกจิ กรรมในบทเรียน 4.05 0.60 มาก 14
มาก 2
3. ดำ้ นรูปแบบกำรเรียนผำ่ นเว็บ 4.10 0.64 มาก 9
10. นักศึกษาชอบรูปแบบการเรียนผ่านเว็บ 4.23 0.62
4.09 0.64 มาก 7
มากกว่าการเรียนในช้นั เรียนปกติ มำก
มำก
11. ในการเรียนผ่านเวบ็ นักศกึ ษามปี ฏสิ ัมพันธก์ ับ
ผสู้ อนและเพอื่ นๆ มากกว่าการเรียนในช้ันเรยี น
ปกติ
12. นกั ศกึ ษารสู้ กึ ว่ามคี วามมนั่ ใจในการตอบ
คาถามมากกวา่ การเรยี นในช้ันเรยี นปกติ
13. นกั ศึกษามกี ารพฒั นาทกั ษะการอ่าน
ภาษาอังกฤษมากข้ึนจากการเรียนผ่านเวบ็
14. ในการเรียนผ่านเว็บนกั ศกึ ษาใช้เวลาในการ
ทางานท่ีไดร้ บั มอบหมายมากกว่าการเรียนใน
ช้นั เรียนปกติ
15. นกั ศึกษาตอ้ งการเรยี นเน้อื หาและกิจกรรมใน
รปู แบบการเรยี นผ่านเวบ็ อกี
คำ่ เฉลย่ี ด้ำนรปู แบบกำรเรยี นผ่ำนเว็บ
คำ่ เฉลี่ยรวมทั้งหมด
จากตารางท่ี 8 พบว่าความคิดเห็นของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างที่มีต่อส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ โดย
เฉล่ียรวมมีค่าเท่ากับ 4.09 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.64 ซ่ึงเป็นค่าเฉล่ียในระดับมาก
แสดงให้เหน็ วา่ นกั ศึกษากล่มุ ตัวอยา่ งมีความคิดเหน็ ท่ดี ีต่อสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯ ท่ีผวู้ ิจัยไดส้ ร้างขน้ึ
จากการศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างในแต่ละด้าน สามารถเรียงลาดับ
ค่าเฉลย่ี ไดด้ ังนี้ ค่าเฉล่ยี ด้านรูปแบบการเรยี นผ่านเวบ็ (x̄ =4.23, S.D. = 0.62) รองลงมา คือ ค่าเฉล่ยี
57
ด้านรูปแบบการจัดกิจกรรมในบทเรียน (x̄ =4.07, S.D. = 0.59) และด้านเนื้อหา ซึ่งมีค่าเฉลี่ยต่าสุด
(x̄ =3.94, S.D. = 0.68)
นักศึกษากลุ่มตังอย่างมีความเห็นว่ากิจกรรมของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯ ช่วยให้ได้เรียนรู้และ
พัฒนาด้านคาศัพทม์ ากข้นึ (x̄ =4.33, S.D. = 0.66) นักศกึ ษามกี ารพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ
มากขึ้นจากการเรียนผ่านเว็บ (x̄ =4.25, S.D. = 0.64) และกิจกรรมส่งเสริมให้นักศึกษาพัฒนาทักษะ
การอ่านภาษาอังกฤษมากข้นึ (x̄ =4.25, S.D. = 0.44)
ตอนท่ี 5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพฤติกรรมสารสนเทศของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างหลังเรียน
จากสอ่ื อิเล็กทรอนกิ สฯ์
เพ่ือศึกษาพฤติกรรมสารสนเทศของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างหลังเรียนจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯ
ผู้วิจัยให้นักศึกษากลุ่มตัวอย่างตอบแบบวัดพฤติกรรมสารสนเทศและนาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์
ผลทไ่ี ด้แสดงในตารางท่ี 9 ดงั น้ี
ตำรำงท่ี 9 คาระดับคะแนนเฉลย่ี (x̄) และสวนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ของพฤติกรรมสารสนเทศ
ของนักศึกษากลุม่ ตัวอยา่ ง
ระดบั พฤติกรรมสำรสนเทศ (x̄) S.D. ระดบั ลำดับ
ด้ำนควำมตอ้ งกำรสำรสนเทศ 3.75 พฤติกรรม ที่
4.25
1. กาหนดหวั ขอ้ หรือขอบเขตของเร่ืองท่ีต้องทารายงานได้ 4.20 0.78 มาก 18
อย่างเหมาะสม 4.00 0.71 มาก 1
2. เม่อื ไดร้ บั มอบหมายงานในรายวิชาท่ีเรยี น มุ่งมน่ั ท่จี ะ 3.95 0.83 มาก 2
คน้ ควา้ หาข้อมลู /เน้ือหาที่ ครบถ้วน สมบรู ณ์ 4.03 0.91 มาก 5
3. ใชว้ ิธีสอบถามจากเพอื่ นหรืออาจารยผ์ ู้สอนแทนการ 0.82 มาก 8
พยายามจะค้นข้อมลู ดว้ ยตนเอง 4.05 0.82 มำก
4. มีความมน่ั ใจและสามารถค้นคว้าหาข้อมลู /เนื้อหาท่ี 4.00
ตอ้ งการได้อย่างราบรื่น 3.75 0.68 มาก 4
0.45 มาก 6
5. วางแผนการดาเนนิ งานให้แลว้ เสรจ็ ไดต้ ามเวลาท่กี าหนด 0.85 มาก 19
ค่ำเฉลี่ยดำ้ นควำมต้องกำรสำรสนเทศ
ด้ำนกำรแสวงหำสำรสนเทศ
6. สามารถคน้ คว้าหาขอ้ มลู /เนือ้ หาทตี่ ้องการโดยใชเ้ ครอื่ งมอื
ชว่ ยค้น (Search engine)
7. รูว้ ิธีการคน้ ข้อมลู และสามารถคน้ หาคาตอบไดร้ วดเร็ว
8. ระบุแหล่งสารสนเทศทีต่ ้องใชง้ านและสามารถแก้ไขปัญหา
การสืบคน้ สารสนเทศได้
58
ตำรำงที่ 9 (ต่อ)
ระดับพฤตกิ รรมสำรสนเทศ (x̄) S.D. ระดับ ลำดับ
9. รถู้ งึ ความแตกตา่ งและเลอื กประเภทของแหล่งสารสนเทศ 3.85 พฤติกรรม ที่
เพอ่ื คน้ ข้อมลู ได้ดี 3.95
3.92 0.87 มาก 15
10. ถ้าค้นควา้ หาขอ้ มูล/เนอื้ หาท่ีตอ้ งการไมพ่ บ จะพยายาม 0.75 มาก 9
ต่อไปจนไดส้ ่ิงท่ตี ้องการ 3.90 0.73 มำก
3.85
คำ่ เฉลีย่ ดำ้ นกำรแสวงหำสำรสนเทศ 3.95 0.78 มาก 13
4.20 0.74 มาก 16
ดำ้ นกำรประเมินคณุ ภำพสำรสนเทศ 3.95 0.75 มาก 10
3.97 0.83 มาก 3
11. รู้หลกั เกณฑ์และวิธกี ารประเมนิ ค่าคน้ คว้าหาขอ้ มลู / 0.88 มาก 11
เนือ้ หาเพ่อื นาไปใช้งาน 3.95 0.79 มำก
12. สามารถวิเคราะห์เน้ือหาและคดั เลือกใชง้ านได้อย่าง 3.55 0.75 มาก 12
เหมาะสม 3.80
4.00 0.60 มาก 20
13. สามารถวเิ คราะหเ์ น้ือหาและความนา่ เช่ือถือของผล 3.90 0.69 มาก 17
การคน้ ทีไ่ ดเ้ ป็นสารสนเทศ WWW หรอื ส่ือสังคมออนไลน์ 3.84 0.72 มาก 7
3.94 0.55 มาก 14
14. ตระหนักวา่ สารสนเทศที่ค้นไดจ้ ากอินเทอร์เนต็ ต้อง 0.67 มำก
ตรวจสอบความถูกต้องก่อนจะนาไปใช้งาน 0.76 มำก
15. รู้วธิ กี ารตรวจสอบและเปรียบเทยี บสารสนเทศท่เี ปน็
ผลลัพธ์จากการคน้ หาได้
คำ่ เฉลีย่ ด้ำนกำรประเมินคณุ ภำพสำรสนเทศ
ด้ำนกำรใช้สำรสนเทศ
16. สามารถเรียบเรียงข้อมูล/เน้ือหาทค่ี ้นคว้ามาจัดทา
รายงานไดอ้ ยา่ งสมบูรณ์
17. เข้าใจและใหค้ วามสาคัญเร่ืองของทรัพยส์ ินทางปัญญา
และกฎหมายฯ เช่น พรบ. ลิขสทิ ธิ์ พรบ. คอมพิวเตอร์
การใชง้ านโดยธรรม
18. รูว้ ธิ ีการเขยี นบรรณานุกรมและการอา้ งอิงแหลง่ ทม่ี าของ
สารสนเทศที่ใช้เรยี บเรียงในผลงาน
19. เม่อื เรียนร้สู งิ่ ใหม่ๆ ชอบเผยแพร่และถา่ ยทอดให้กับ
เพ่อื น ๆ
20. ให้ความสาคญั เร่ืองการใช้ข้อมูลของผู้อื่นอย่างมจี รยิ ธรรม
และบอกให้เพอ่ื นๆทราบ
คำ่ เฉลี่ยดำ้ นกำรใช้สำรสนเทศ
ค่ำเฉล่ียรวมท้ังหมด
59
จากตารางที่ 9 พบว่านักศึกษากลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมสารสนเทศโดยเฉล่ียรวมมีค่าเท่ากับ
3.94 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.76 ซ่ึงเป็นค่าเฉล่ียในระดับมาก แสดงให้เห็นว่านักศึกษา
กลุ่มตวั อย่างมพี ฤติกรรมสารสนเทศในระดบั มาก
จากการศึกษาพฤติกรรมสารสนเทศของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างในแต่ละด้านสามารถ
เรียงลาดับค่าเฉล่ียได้ดังน้ี คือ ค่าเฉล่ียด้านความต้องการสารสนเทศ (x̄ =4.03, S.D. = 0.82)
รองลงมา คอื ค่าเฉล่ยี ด้านการประเมนิ คุณภาพสารสนเทศ (x̄ =3.97, S.D. = 0.79) ค่าเฉลยี่ ดา้ นการ
แสวงหาสารสนเทศ (x̄ =3.92, S.D. = 0.73) และค่าเฉลี่ยด้านการใช้สารสนเทศ มีค่าเฉล่ียต่าสุด
(x̄ =3.84, S.D. = 0.67)
60
บทที่ 5
สรปุ ผลกำรวจิ ยั อภิปรำยผล และข้อเสนอแนะ (Conclusion and Discussion)
โครงการวิจัยเร่ืองการพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้เทคโนโลยีการเรียนรู้ร่วมกัน
ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-collaborative learning) สาหรับนักศึกษาสาขาวิศวกรรม วิทยาลัย
เทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ เป็นการวิจัยเชิงทดลอง ( Experimental design) )
มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) พัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยี
(E-collaborative learning) สาหรับนักศึกษาสาขาวิศวกรรม 2) เปรียบเทียบความสามารถในการ
อ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมก่อนและหลังการเรียนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ท่ีเน้น
กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยี และ 3) ศึกษาพฤติกรรมสารสนเทศของนักศึกษาสาขา
วิศวกรรมหลังการเรียนโดยใชส้ ือ่ อเิ ล็กทรอนิกส์ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกนั โดยใชเ้ ทคโนโลยี
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 2 และ 3 สาขา
วิศวกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ซึ่งได้มา
โดยการส่มุ แบบเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling) จานวน 20 คน
เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในการวจิ ยั ประกอบด้วย
1.แบบสอบถามความต้องการด้านหัวเร่ืองเพ่ือใช้ในการพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ
โดยใช้เทคโนโลยี การเรียนรู้ร่วมกันผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ( E-collaborative learning)
สาหรับนกั ศึกษาสาขาวศิ วกรรม วทิ ยาลยั เทคโนโลยีอตุ สาหกรรมและการจดั การ
2. ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยี (E-collaborative
learning) จานวน 4 หน่วยการเรียน คอื
Unit 1: Job advertisement
Unit 2: Workplace safety
Unit 3: Materials
Unit 4: User manual
3. แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษ จานวน 1 ฉบับ เป็นแบบตัวเลือก
มี 4 ตัวเลือก จานวน 40 ข้อ เพ่ือใช้วัดความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษาก่อนและ
หลังการเรียนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯ แบบทดสอบมีค่าความยากง่ายอยู่ระหว่าง 0.20-0.80 และ
มีคาจาแนกระหว่าง 0.20-0.88 มีคา่ ความเชือ่ ม่ันของแบบทดสอบทั้งฉบบั เทากบั 0.84
4.แบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาท่ีมีต่อสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯ รูปแบบของ
แบบสอบถามความคิดเห็น แบ่งออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านเน้ือหา 2) ดา้ นรูปแบบการจัดกิจกรรม
และ 3) ด้านรูปแบบการเรียนผ่านเว็บ มีจานวน 15 ข้อ เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นแบบมาตร
ประมาณค่า (Rating scales) 5 ระดับ ได้แก่ เห็นด้วยมากท่ีสุด เห็นด้วยมาก เห็นด้วยปานกลาง
เห็นด้วยน้อย และ เหน็ ด้วยน้อยท่ีสุด
5. แบบสอบถามวัดพฤติกรรมสารสนเทศ รูปแบบของแบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 4 ด้าน
ได้แก่ 1) ด้านความต้องการสารสนเทศ 2) ด้านการแสวงหาสารสนเทศ 3) ด้านการประเมินคุณภาพ
สารสนเทศ และ 4) ด้านการใช้สารสนเทศ มจี านวน 20 ข้อ เปน็ แบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า
61
(Rating scales) 5 ระดบั ไดแ้ ก่ ระดบั พฤติกรรมมากทส่ี ุด ระดับพฤติกรรมมาก ระดบั พฤติกรรมปาน
กลาง ระดบั พฤติกรรมนอ้ ย และ ระดบั พฤตกิ รรมนอ้ ยท่สี ุด
การดาเนินการทดลอง ผู้วิจัยได้ดาเนินการทดลองกับนักเรียนกลุ่มตัวอย่างด้วยตนเองใน
ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง โดยดาเนินการทดลองในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ใช้เวลา 4
สัปดาห์ๆละ 3 ช่ัวโมง รวมเวลาที่ใช้ในการทาแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนอีก 2 ช่ัวโมง
รวมทง้ั สนิ้ 14 ช่วั โมง ตามขั้นตอนการดาเนนิ การดงั ต่อไปน้ี
1. แจ้งนักศึกษากลุ่มตัวอย่าง เพื่อแจ้งวัตถุประสงค์ในการวิจัยและขอความร่วมมือในการ
ทดลองใช้ส่ืออเิ ล็กทรอนิกสฯ์ ทผ่ี ู้วิจัยสร้างขนึ้
2. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ จานวน 4 หน่วยการเรียน
เป็นเวลา 4 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 ช่ัวโมง รวมเวลาที่ใชใ้ นการทาแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรยี น
อีก 2 ชั่วโมง รวมทงั้ ส้ิน 14 ช่ัวโมง ตามข้นั ตอนดงั นี้
2.1 ทาการทดสอบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างก่อน
เรียนจากส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยคาถามทั้งหมดเป็นแบบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก
จานวน 40 ข้อ ใช้เวลา 60 นาที จากนั้นตรวจให้คะแนนและบันทึกคะแนนของนักศึกษากลมุ่ ตวั อย่าง
แต่ละคน
2.2 ผู้วิจัยช้ีแจงวัตถุประสงค์และวิธีการเรียนให้แก่นักศึกษากลุ่มตัวอย่างท่ีเรียนด้วย
ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ ที่ผู้วิจัยสร้างข้ึน และให้ทากิจกรรมตามขั้นตอนท่ีกาหนดในส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ
สปั ดาห์ละ 1 หนว่ ยการเรยี น รวมทัง้ ทาแบบทดสอบท้ายบท จากนนั้ ผ้วู ิจยั ตรวจให้คะแนนและบันทึก
คะแนนของนกั ศกึ ษากลุ่มตวั อย่างแต่ละคน
2.3 นาผลคะแนนของแบบทดสอบท้ายบททั้ง 4 หน่วยการเรียน (E1) ไปวิเคราะหค์ ่าทางสถิติ
เพ่อื หาประสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ท่ีตั้งไว้
2.4 ให้นักศึกษากลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถามความคิดเห็นท่ีมีต่อส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ
ที่ผู้วิจัยสร้างข้ึน หลังจากเรียนจบท้ัง 4 หน่วยการเรียนและบันทึกข้อมูลจากการตอบแบบสอบถาม
เพอ่ื นาผลไปวิเคราะหค์ ่าทางสถิติ
2.5 ให้นกั ศกึ ษากลุ่มตวั อยา่ งทาแบบทดสอบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษหลังเรียน
จากสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ฯ ท้งั 4 หนว่ ยการเรยี น ซง่ึ เป็นแบบทดสอบฉบับเดียวกับแบบทดสอบก่อนเรียน
ใช้เวลาในการทาแบบทดสอบ 60 นาที แล้วตรวจให้คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (E2) เพ่ือนาผลไป
วิเคราะหท์ างสถติ ิ
2.6 ให้นักศึกษากลุ่มตัวอย่างทาแบบวัดพฤติกรรมสารสนเทศและบันทึกข้อมูลจากการตอบ
แบบสอบถามเพ่อื นาผลไปวเิ คราะหค์ ่าทางสถิติ
การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ผู้วจิ ยั ได้ดาเนินการวิเคราะห์ขอ้ มลู ดังน้ี
1. ทาการหาประสิทธิภาพของส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ ทั้ง 4 หน่วยการเรียน โดยการหาค่าเฉล่ีย
(x̄ ) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ค่าร้อยละ และวิเคราะห์ประสิทธิภาพของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯ
โดยใชเ้ กณฑ์ 75/75 ตามสูตร E1/E2 (ชัยยงค์ , 2556)
2. เปรียบเทียบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างก่อนและ
หลงั เรยี นจากสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกสฯ์ โดยใช้สถติ ิ t-test วเิ คราะหด์ ว้ ยโปรแกรมสาเร็จรปู
62
3. วเิ คราะหค์ วามคดิ เหน็ ของนกั ศึกษากลุ่มตัวอยา่ งท่มี ีต่อส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ ทผ่ี ู้วจิ ยั สรา้ งข้ึน
โดยนาค่าระดับตามความคิดเห็นของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างมาหาค่าเฉล่ีย (x̄ ) และส่วนเบ่ียงเบน
มาตรฐาน (S.D.) แล้วนาไปแปลความหมายคา่ ระดับตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้
4. วิเคราะห์พฤติกรรมสารสนเทศของนักศกึ ษากลุ่มตัวอย่างหลังเรียนจากสื่ออเิ ล็กทรอนิกส์ฯ
ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยนาค่าระดับพฤติกรรมสารสนเทศของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างมาหาค่าเฉล่ีย (x̄ )
และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) แล้วนาไปแปลความหมายค่าระดบั ตามเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้
สรปุ ผลกำรวิจยั
1. ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยี (E-collaborative
learning) ที่ผู้วิจัยสร้างข้ึน มีประสิทธิภาพเท่ากับ 75/76.5 ซ่ึงเท่ากับเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้คือ 75/75
แสดงวา่ สือ่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ฯ มปี ระสิทธภิ าพอยูใ่ นเกณฑด์ ี
2. ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างหลังเรียนจาก
สื่ออเิ ล็กทรอนกิ ส์ฯ สงู กว่าค่าเฉล่ียของคะแนนกอ่ นเรยี น อยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถิติทรี่ ะดับ 0.05
3. ผลจากการศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างท่ีมีต่อส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ
โดยเฉล่ียรวมมีค่าเท่ากับ 4.09 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.64 ซ่ึงเป็นค่าเฉล่ียในระดับมาก
แสดงให้เหน็ ว่านักศึกษากลุ่มตวั อย่างมีความคิดเห็นท่ีดีต่อสื่ออเิ ล็กทรอนิกส์ฯ ท่ีผู้วจิ ยั ได้สร้างขึ้น และ
จากการศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษากลมุ่ ตัวอย่างในแต่ละด้าน สามารถเรยี งลาดับค่าเฉล่ยี ไดด้ งั นี้
คอื ค่าเฉล่ียดา้ นรปู แบบการเรยี นผ่านเว็บ (x̄ =4.23, S.D. = 0.62) รองลงมา คือ คา่ เฉลย่ี ด้านรปู แบบ
การจัดกิจกรรมในบทเรียน (x̄ =4.07, S.D. = 0.59) และด้านเนื้อหา ซึ่งมีค่าเฉลี่ยต่าสุด
(x̄ =3.94, S.D. = 0.68)
4. นักศึกษากลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมสารสนเทศโดยเฉล่ียรวมมีค่าเท่ากับ 3.94 และส่วน
เบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.76 ซึ่งเป็นค่าเฉล่ียในระดับมาก แสดงให้เห็นว่านักศึกษากลุ่มตัวอย่าง
มีพฤติกรรมสารสนเทศในระดับมาก และสามารถเรียงลาดับค่าเฉล่ียของแต่ละด้านได้ดังนี้ คือ
ค่าเฉลี่ยด้านความต้องการสารสนเทศ (x̄ =4.03, S.D. = 0.82) รองลงมา คือ ค่าเฉลี่ยด้านการ
ประเมินคุณภาพสารสนเทศ (x̄ =3.97, S.D. = 0.79) ค่าเฉลย่ี ด้านการแสวงหาสารสนเทศ (x̄ =3.92,
S.D. = 0.73) และคา่ เฉลี่ยดา้ นการใช้สารสนเทศ มคี า่ เฉลยี่ ต่าสุด (x̄ =3.84, S.D. = 0.67)
อภปิ รำยผล
จากการวเิ คราะหผ์ ลการทดลองสามารถอภิปรายผลไดด้ ังน้ี
1. ประสิทธิภาพของส่ืออิเล็กทรอนิกส์ท่ีเน้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยี
(E-collaborative learning) มีค่าเท่ากับ 75/76.5 ซึ่งเท่ากับเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ คือ 75/75 แสดงว่า
สื่ออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ มีประสิทธภิ าพอย่ใู นเกณฑด์ ี ทง้ั นอ้ี าจเนอื่ งมาจากสาเหตดุ งั ตอ่ ไปน้ี
1.1 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ท่ีเน้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยี
(E-collaborative learning) มีเนื้อหาและหัวข้อที่ได้มาจากการวิเคราะห์ความต้องการของผู้เรียน
โดยการสารวจหวั ข้อทีต่ อ้ งการเรียนเพื่อนามาสรา้ งเปน็ ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯขนึ้ ซึ่งสอดคลอ้ งกบั แนวคิด
63
ของ Hutchinson & Waters (1999) และ Sysoyev (2000) ท่ีเสนอให้มีการวิเคราะห์ความต้องการ
ของผู้เรียน และนาข้อมูลที่ได้มากาหนดเน้ือหาในการเรียนการสอน ดังน้ัน จากการที่ผู้วิจัยได้สารวจ
ความต้องการด้านเนื้อหาของผู้เรียนและนามาสร้างเป็นส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ ทาให้ได้เน้ือหาท่ี
สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ส่งผลให้เกิดแรงจูงใจและความสุขในการเรียนรู้ ซึ่งสอดคล้อง
กับงานวิจัยของหนึ่งฤทัย (2554) ท่ีได้มีการสารวจเน้ือหาของบทอ่านภาษาอังกฤษท่ีผู้เรียนระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงมีความสนใจ จากน้ันมีการวิเคราะห์ข้อมูลและนามาสร้างแผนการ
จัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีการอ่านแบบร่วมมือกับส่ือสภาพจริง และพบว่านักศึกษามีแรงจูงใจในการ
อ่านเพ่ิมสูงขึ้นหลังจากการเรียนด้วยบทเรียนที่นักศึกษาได้เป็นส่วนหนึ่งในการเลือกเนื้อหาและ
กิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความต้องการและความสนใจของตนเอง ซ่ึงสอดคล้องกับดาห์บิ
(Dahbi, 2016) และ อิมรอน (Imron, 2017) ที่ได้สรุปไว้ว่าความต้องการของผู้เรยี นเป็นปัจจัยสาคญั
และเป็นตัวกาหนดกรอบในการทาโครงการสอนภาษาอังกฤษ (English syllabus) เอกสาร
ประกอบการสอนที่ได้มาจากการวิเคราะห์ความต้องการของผเู้ รยี น ส่งผลทาให้ผเู้ รยี นเกิดแรงจูงใจใน
การเรยี นและมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นสงู ขึ้น
1.2 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯที่ผู้วิจัยสร้างข้ึนได้แนวคิดมาจากหลักการจัดกิจกรรมทาง
ภาษาเพื่อการสื่อสารของนักการศึกษาหลายท่าน เชน่ Barnett (1989), Williams (1994) และ Elba
(2006) ที่มงุ่ เนน้ ให้ผู้เรียนไดฝ้ ึกการใช้กจิ กรรมทางภาษาท่ีสามารถเช่ือมโยงไปสู่รูปแบบอื่น ๆของการ
ส่ือสารได้หลากหลาย โดยไม่เน้นในด้านไวยากรณ์ ในแต่ละหน่วยการเรียนประกอบด้วยข้ันตอนท่ีให้
ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการอ่านอย่างต่อเน่ือง เป็นไปตามลาดับ โดยเริ่มจากกิจกรรมก่อนการอ่าน (Pre-
reading) ข้ันตอนนี้มีการกระตุ้นโครงสร้างความรู้เดิม สร้างความสนใจแก่ผู้เรียนในเร่ืองที่จะอ่าน
มีการให้ผู้เรียนคาดคะเนหรือทานายว่าเรื่องที่อ่านน่าจะเป็นเก่ียวกับอะไร มีการจับคู่รูปภาพกับ
ข้อความ มีการนาเสนอคาศัพท์ เพื่อเตรียมความพร้อมสาหรับกิจกรรมการอ่านในข้ันต่อไป
ในกิจกรรมระหว่างการอ่าน (While-reading) ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการอ่านแบบต่าง ๆ เช่น การเดา
ความหมายของคาศัพท์หรือข้อความจากบริบท การอ่านเพ่ือให้ทราบเรื่องคร่าวๆ การอ่านเพื่อหา
ข้อมูลเฉพาะ โดยผ่านการทากิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ ส่วนในกิจกรรมหลังการอ่าน (Post-reading)
เป็นการตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน เพื่อฝึกการใช้ภาษาและให้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวันหรือการทางานได้ นอกจากนี้เม่ือผู้เรียนทากิจกรรมแต่ละหน่วยการเรียนเสร็จสิ้น
ผู้เรียนได้มีการให้ทาแบบทดสอบท้ายบทเพ่ือประเมินผลในส่ิงท่ีเรียนทันที ช่วยให้ผู้เรียนสามารถ
นาความรู้ความเข้าใจท่ีเพิ่งเรียนจบไปใช้ในการทาแบบทดสอบท้ายบทได้เป็นอย่างดี การนากิจกรรม
ทางภาษาเพื่อการส่ือสารมาใช้ในการเรียนการสอนและเกิดประสิทธิภาพ ส่งผลต่อความสามารถ
ทางการอา่ นภาษาอังกฤษของผู้เรยี น
2. ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษาหลังเรียนจาก
ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ท่ีเน้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยี (E-collaborative learning)
สงู กว่าก่อนเรียน อย่างมนี ยั สาคัญทางสถิติที่ระดบั 0.05 อาจเนื่องมาจากสาเหตุดังต่อไปน้ี
2.1 ในขั้นตอนของการศึกษาวจิ ัยผู้เรียนได้ฝกึ ทักษะการอ่านจากส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์ฯ
ทม่ี ีเนื้อหาเกย่ี วข้องโดยตรงหรือเป็นสิ่งทีผ่ ู้เรยี นมีความสนใจหรือหรือมีพื้นความรู้เดิมอยู่แลว้ ซง่ึ จะทา
ให้เข้าใจเนื้อเร่ืองได้ง่าย และกิจกรรมในส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ มีความสัมพันธ์กับความสนใจของ
64
นักศึกษาสาขาวิศวกรรมโดยตรง ทาให้นักศึกษาสนใจอยากทากิจกรรม ซ่ึงผู้เรียนมีความรู้เดิม
(Background Knowledge) ในเร่ืองเหล่านี้ส่งผลให้ผู้เรียนสนใจร่วมกิจกรรม และสามารถเข้าใจ
บทเรียนได้ง่าย สอดคล้องกับทฤษฎีโครงสร้างความรู้ (Scheme Theory) ดังแนวคิดของ Grabe
(1991) และ James (1987) ทกี่ ลา่ ววา่ โครงสร้างความรดู้ า้ นเน้ือหามสี ว่ นชว่ ยในการทาความเข้าใจใน
บทอ่านได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะความรู้เดิมท่ีสัมพันธ์กับข้อความในเรื่องท่ีอ่าน เนื่องจากการมี
ประสบการณ์ ความคุ้นเคยในเร่ืองน้ัน ๆมาก่อน ช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจเน้ือเรื่องได้ดี นอกจากนี้ยัง
สอดคล้องกับผลการศึกษาของสมศรี (2549) ท่ีได้มีการพัฒนาแบบฝึกการอ่านภาษาอังกฤษเทคนิค
สาหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ช้ันปีท่ี 3 สาขางานยานยนต์ และได้พบว่าส่ือที่
ตอบสนองความต้องการเฉพาะกลุ่มของผู้เรียน จะช่วยให้ผู้เรียนนั้นสามารถเดาความหมายของ
คาศพั ทซ์ ึง่ เป็นภาษาองั กฤษเฉพาะสาขาวชิ าได้ไมย่ ากนกั เนือ่ งจากเนื้อเรื่องเกี่ยวข้องกับประสบการณ์
ตรงของผู้เรียนเองและในแบบฝึกเป็นการฝึกการอ่านอย่างมีจุดประสงค์ ทาให้เกิดการพัฒนาอย่าง
ตอ่ เน่อื งส่งผลให้คะแนนสอบหลงั เรียนมีคะแนนมากขนึ้ ดว้ ย
2.2 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯที่ผู้วิจัยสร้างข้ึนยึดตามการจัดการเรียนการสอนตาม
กระบวนการ 9 ข้ันตอนของทฤษฎีการเรียนรู้ของกาเย่ (Gagné,1985) และเป็นการเลือกใช้สื่อท่ี
สนับสนุนให้ผู้เรียนสามารถใช้เวลาใดก็ได้ สถานท่ีใดก็ได้ ขึ้นอยู่กับความพร้อมของนักเรียน โดยไม่
จากัดการปฏิสัมพันธ์ไว้แต่เพียงในห้องเรียน ผู้สอนสามารถให้ผลย้อนกลับแก่นักเรียนได้ทันที โดยไม่
ตอ้ งรอให้ถงึ เวลาเรียน (ทศิ นา, 2556) เป็นการจัดการเรยี นการสอนทีม่ ีสภาพการเรียนที่ตา่ งไปจากรูป
แบบเดิม โดยอาศัยศักยภาพและความสามารถของอินเทอร์เน็ต ซ่ึงเป็นการเรียนการสอนท่ีมี
เทคโนโลยสี ูงสดุ ให้เข้ามาช่วยเอ้ืออานวยเปน็ เคร่อื งมือและเป็นแหลง่ สนบั สนนุ การเรยี นการสอน
3. นักศกึ ษากลุ่มตวั อยา่ งมีความคดิ เห็นท่ดี ตี อ่ ส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์ฯ ท่ผี ู้วิจยั ได้สรา้ งขนึ้
3.1 จากผลการศึกษาพบว่านักศึกษามีความคิดเห็นที่ดีต่อส่ืออิเล็กทรอนิกส์ฯ
ท่ีผู้วิจัยสร้างขึ้น สามารถเรียงลาดับค่าเฉล่ียได้ดังน้ี คือ ค่าเฉลี่ยด้านรูปแบบการเรียนผ่านเว็บสูงสุด
(x̄ =4.23, S.D. = 0.62) รองลงมา คือ คา่ เฉลยี่ ดา้ นรปู แบบการจดั กิจกรรมในบทเรยี น (x̄ =4.07, S.D.
= 0.59) และด้านเน้ือหา ซ่ึงมีค่าเฉล่ียต่าสุด (x̄ =3.94, S.D. = 0.68) ท้ังน้ีอาจเนื่องมาจากส่ือ
อิเล็กทรอนิกส์ฯ เป็นการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บท่ีมีรูปแบบท่ีน่าสนใจกว่าตาราเรียน มีเนื้อหา
ความยาวเหมาะสมกับความสนใจของนักศึกษา มีการจัดรูปแบบโดยรวมเหมาะสม มีเน้ือหาที่
สอดคล้องกันในแต่ละกิจกรรม ทาให้นักศึกษามีความกระตือรือร้นท่ีจะเรียนรู้ สนใจที่จะทากิจกรรม
ตา่ งๆ เป็นอย่างดี ซงึ่ สอดคล้องกบั ทรรศนะของ Ahyar & Sari (2017) และ Agatha, Sinulingga &
Siregar (2018) ท่ีกล่าวว่าการพัฒนาทักษะการอ่านให้กับผู้เรียนทางด้านสายอาชีพ โดยเฉพาะการ
เลือกใช้ส่ือควรมีความเหมาะสมกับความสามารถของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนอ่านแล้วเกิดความเข้าใจ
เป็นสื่อท่ีเหมาะกับความต้องการตรงกับสาขาอาชีพของตนเอง ส่ือท่ีใช้ควรเป็นเอกสารท่ีสมจริง
มีความหลากหลาย ผู้เรียนมีความคุ้นเคยและพบเห็นได้ในชีวิตประจาวัน นาไปใช้ได้ในชีวิตจริง
เน่ืองจากผู้เรียนมองเห็นประโยชน์ มีจุดมุ่งหมายในการเรียนรู้ นาสิ่งที่เรียนไปใช้ในการดาเนินชีวิต
ตลอดจนประกอบอาชพี ได้ เปน็ การเพ่มิ แรงจงู ใจในการเรียนภาษาอยา่ งมีจุดมงุ่ หมาย
3.2 การเรยี นจากส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์ฯ เปน็ ลกั ษณะการเรียนแบบยืดหยุ่นเปน็ วิธีการ
จัดการเรียนการสอนที่เอ้ือให้ผู้เรียนมีอิสระในการเรียนและสามารถบริหารตนเองได้โดยสามารถ
65
ตัดสินใจว่าจะเรียนอะไร เรียนอย่างไร เรียนเม่ือใด และเรียนที่ไหนก็ได้ ตามศักยภาพความสนใจและ
ความถนัดของตนเอง โดยเน้นการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย แต่ละหน่วยการเรียน
มีกิจกรรมในขั้นก่อนการอ่าน (Pre-reading) ที่น่าสนใจ มีภาพประกอบท่ีสวยงาม สอดคล้องกับ
เนื้อเรื่อง และมีกิจกรรมท่ีหลากหลาย เป็นการกระตุ้นให้นักศึกษาได้นาประสบการณ์ ความรู้เดิมท่ีมี
อยู่แล้วมาทาความเข้าใจในการอ่าน มีการคาดคะเนเรื่องท่ีจะอ่าน การระดมความคิด และการ
เตรยี มพร้อมในเรือ่ งคาศัพท์ ซึง่ ชว่ ยให้ถา่ ยโยงความรไู้ ปใชใ้ นกิจกรรมขัน้ ตอ่ ไป ซึ่งในขั้นตอนนี้ผู้วจิ ัยได้
ช้ีแจงให้นักศึกษาได้ทราบจุดประสงค์ของแต่ละแบบฝึกและอธิบายให้ทราบเกี่ยวกับแบบฝึกหัดและ
กิจกรรมว่าจะต้องทาอะไร สอดคล้องกับแนวคิดของ Elba (2006) ได้เสนอเกี่ยวกับการจัดกิจกรรม
การอา่ นเพอ่ื การส่อื สารในข้ันตอนของกจิ กรรมก่อนการอา่ น มีความสาคญั ผ้สู อนควรมน่ั ใจวา่ ผู้เรียนมี
โครงสร้างความรเู้ ดมิ ท่ีชว่ ยในการทาความเข้าใจในบทอ่าน เช่น การให้ผู้เรียนฝึกคิด เขียน และพูดถึง
ส่ิงที่ผู้เรียนทราบเกี่ยวกับเรื่องท่ีอ่านโดยใช้กิจกรรมการคาดเดา การทานาย แผนภูมิความหมาย
เป็นต้น กิจกรรมเหลา่ นชี้ ่วยใหผ้ ู้เรียนร้สู ึกสนุกในการเรยี นรู้ และมีแรงจูงใจทจี่ ะทากิจกรรมต่อๆไป
ขอ้ เสนอแนะ
1. ขอ้ เสนอแนะในกำรจดั กำรเรียนกำรสอนวิชำภำษำอังกฤษสำหรบั นกั ศกึ ษำสำขำ
วศิ วกรรม
1.1 ควรมีการจัดแผนการสอนแบบบูรณาการระหว่างวิชาภาษาอังกฤษและวิชาทางด้าน
วิศวกรรมเพ่ือเป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้รู้จักการศึกษาด้วยตนเองนอกช้ันเรียนและเป็น
การพฒั นาการใช้ภาษาทีต่ รงตามความตอ้ งการของผ้เู รยี น
1.2 จากผลการศึกษาพบว่าสื่อท่ีผ่านการสารวจความต้องการหัวเรื่องน้ันทาให้ผู้เรียนเกิด
ความสนใจในเน้ือหาและเกิดการกระตุ้นในการเรียนรู้ โดยเฉพาะเน้ือหาท่ีเป็นประโยชน์ในการ
นาไปใช้เพ่ือประกอบอาชีพที่ตรงตามสาขาของผู้เรียน ดังนั้นผู้สอนจึงควรมีการคัดเลือกเนื้อหาท่ีสอน
โดยมกี ารสารวจความต้องการของผู้เรยี นทุกครงั้
2. ข้อเสนอแนะในกำรศกึ ษำวิจยั ครง้ั ต่อไป
2.1 ควรมกี ารศกึ ษาวจิ ัยในเรอื่ งการเรียนรู้คาศัพท์และการพฒั นาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ
ในสาขาวิชาชีพต่าง ๆ เน่ืองจากเป็นทักษะที่มีความจาเป็นและค่อนข้างเป็นปัญหาของนักศึกษาท่ี
เรียนทางด้านสายอาชพี
2.2 ควรมีการศึกษาวิจัยในทักษะอ่ืน ๆ เช่น การฟัง การพูดและการเขียนสาหรับนักศึกษา
สาขาอ่นื ๆ เชน่ การบญั ชี การบรหิ ารธรุ กจิ และระบบสารสนเทศทางธุรกจิ หรอื สาขาวิชาอืน่ ๆ
2.3 ควรมีการศึกษาวิจัยและพัฒนาส่ือการเรียนการสอนในรูปแบบของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ท่ี
เน้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยี (E-collaborative learning) ให้กับนักศึกษาใน
สาขาวชิ าอน่ื ๆ
66
เอกสำรอ้ำงอิง
ภำษำไทย
กนกพร ฉันทนาร่งุ ภักด์ิ. 2557. รปู แบบการใชเ้ ครอื ขา่ ยสังคมออนไลน์เพื่อการเรียนการสอน. เอกสาร
ประกอบการอบรมการพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาโดยใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ ICT. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานร่วมกับมหาวิทยาลัย
ศรนี ครินทรวโิ รฒ.
กุลนิษฐ์ วงศ์แก้ว. 2564. รายงานวิจัยการพัฒนาบทเรียนผ่านเว็บด้วย Google Site เรื่อง โครงงาน
อาชพี เห็ดสวรรค์ สาหรบั นักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1, กรุงเทพฯ.
เกษม เมษินทรีย์. 2559. ยุทธศำสตร์และกำรปฏิรูปสู่กำรเป็นไทยแลนด์ 4.0. สานักงาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, กรุงเทพฯ.
จติ ติมา เทยี มบญุ ประเสริฐ. 2546. ระบบสำรสนเทศเพือ่ กำรจัดกำร. วี.เจ.พรินทต์ ิง้ , กรงุ เทพ ฯ.
ใจทิพย์ ณ สงขลา. 2547. กำรออกแบบกำรเรียนกำรสอนบนเว็บในระบบกำรเรียนอิเล็กทรอนิกส์.
คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, กรุงเทพฯ.
ชัยยงค์ พรหมวงศ์. 2556. การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน. วำรสำรศิลปำกร
ศึกษำศำสตร์วจิ ัย, 5 (1) : 9-12.
ชุมพล ศฤงคารศริ ิ. 2538. ระบบสำรสนเทศเพ่ือกำรจดั กำร. ป.สมั พนั ธพาณชิ ย์, กรุงเทพฯ.
ณัฐพล บัวอุไร. 2554. รายงานวิจัยเรื่องผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ส่ือสังคมออนไลน์ตาม
ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง วิชาการสร้างงานสื่อผสม เรื่องคอมพิวเตอร์และ
อินเทอร์เน็ต ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลาลูกกา.
ปทมุ ธาน.ี
ทิยาพร ศิลปี. 2559. การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษในการทางานของวิศวกรโยธา: การศึกษา
เฉพาะกรณบี รษิ ัทเอกชน ประกอบธรุ กจิ ก่อสร้างแห่งหนึง่ . ใน การประชุม วชิ าการและเสนอ
ผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 3 ก้าวสู่ทศวรรษท่ี 2: บูรณาการงานวิจัยใช้ องค์ความรู้สู่ความ
ยั่งยนื (หน้า 243-251). วิทยาลัยนครราชสีมา, นครราชสีมา.
ทิศนา แขมมณี. 2556. ศำสตร์กำรสอน องคค์ วำมรเู้ พอ่ื กำรจัดกระบวนกำรเรยี นรู้ทม่ี ปี ระสิทธภิ ำพ.
(พิมพ์ครง้ั ท่ี 17). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , กรงุ เทพฯ.
ธนู บุญญานวุ ตั ร. 2550. สำรสนเทศและกำรศกึ ษำ. มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, สกลนคร.
บารงุ โตรตั น์. 2534. กำรออกแบบงำนวจิ ัยสำขำภำษำศำสตร์. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ศิลปากร วทิ ยาเขตพระราชวังสนามจนั ทร์, นครปฐม.
ประภาวดี สืบสนธิ์. 2543. สำรสนเทศในบริบทสงั คม. สมาคมห้องสมดุ แห่งประเทศไทย, กรงุ เทพฯ.
ปัณยตา หม่ืนศรี. 2561. รายงานวิจัยเร่ืองการสร้างบทเรียนออนไลน์วิชาภาษาอังกฤษธุรกิจในงาน
อาชีพด้วยโปรแกรม Moodle E-Learning ของนักศึกษาระดับ ปวส.1 สาขาวิชาการจัดการ
ธรุ กจิ ค้าปลกี วิทยาลัยเทคโนโลยปี ญั ญาภวิ ฒั น์ วิทยาลัยเทคโนโลยปี ญั ญาภิวฒั น, นนทบรุ ี.
67
พรนภัส ทับทิมอ่อน. 2563. การพัฒนารูปแบบการสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบเน้นภาระงานร่วมกับ
บทเรียนออนไลน์เพ่ือพัฒนาความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพ่ือความเข้าใจและการ
อ่านเชิงวิเคราะห์สาหรับนักศึกษาปริญญาตรี. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา
หลกั สตู รและการสอน (การสอนภาษาองั กฤษ) มหาวิทยาลัยศลิ ปากร, นครปฐม.
เพ็ญนภา ศรีษะเสือ. 2559. การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ เร่ือง การอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ
สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลธัญบุรี.
มาลี ล้าสกุล. 2545. เอกสำรกำรสอนชุดวิชำสำรสนเทศศำสตร์เบื้องต้น. สำขำวิชำศิลปศำสตร์
มหำวทิ ยำลัยสุโขทัยธรรมำธิรำช. สานักพมิ พ์มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช, นนทบุรี.
รัศมี รัตนประชา และ วิสาข์ จัติวัตร์. 2563. การพัฒนารูปแบบการสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบเน้น
กลวิธีอภิปัญญาโดยการสอนแบบชัดแจ้งและการบอกความคิดเพื่อเสริมสร้างความสามารถ
ในการอ่านภาษาอังกฤษและการกากับตนเองของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วำรสำร
ศึกษำศำสตร์ มมร. 8 (2) : 40-53.
ลัดดาวรรณ ศรีฉิม และ บัญชา สารวยรื่น. 2559. การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านเว็บด้วย
โปรแกรม Google Site ตามแนวทฤษฎีสร้างสรรค์ความรู้เร่ือง หลักการทาโครงงาน
คอมพิวเตอร์สาหรับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3. วำรสำรมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์ บัณฑิต
วทิ ยำลัย มหำวิทยำลัยรำชภฏั พิบูลสงครำม, 10 (1) : 129-144.
วัลลภ สวัสดิวัลลภ. 2544. สำรนิเทศเพื่อกำรศึกษำค้นคว้ำ. โปรแกรมวิชาบรรณารักษศาสตร์และ
สารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบนั ราชภฏั นครปฐม, นครปฐม.
วิสาข์ จัติวัตร์. 2543. กำรสอนอ่ำนภำษำอังกฤษ. พิมพ์ครั้งท่ี 2 (ฉบับปรับปรุง) คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลยั ศิลปากร, นครปฐม.
สมศรี ดวงสุวรรณ์. 2549. การพัฒนาแบบฝึกการอ่านภาษาอังกฤษเทคนิค สาหรับนักศึกษาระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีท่ี 3 สาขางานยานยนต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม
การต่อเรือพระนครศรีอยุธยา, วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัย
ศลิ ปากร, นครปฐม.
สุกิจ สุวิริยะชัยกุล. 2558. กำรสร้ำงเว็บไซต์ด้วย Google Sites. สานักคอมพิวเตอร์.
มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช, นนทบรุ .ี
สมุ ิตรา อังวฒั นกุล. 2540. วิธสี อนภำษำอังกฤษ. สานักพมิ พจฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั . กรุงเทพฯ.
อรอมุ า สบื กระพัน. 2552. ความต้องการสารสนเทศและพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของวิศวกร
บริษทั แอดวานซอ์ ินโฟร์เซอรว์ สิ จากัด (มหาชน) สานกั งานปฏบิ ัตกิ ารสว่ นภูมิภาคภาคเหนือ.
วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลยั เชียงใหม่, เชียงใหม่.
อุบลรัตน์ อ่วมด้วง. 2555. การพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพสาหรับ
นักศึกษาระดับปริญญาตรี ช้ันปีท่ี 1 สาขาวิชาเอกเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า คณะ
อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสินทร์ วิทยาเขตวงั ไกล
กังวล, วทิ ยานิพนธป์ ริญญาศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร, นครปฐม.
68
ภำษำตำ่ งประเทศ
Agatha,B., Sinulingga,J., & Siregar,M. 2018. Developing English Reading Material for the
Eleventh Grade Students of Software Engineering Program in SMK Negeri Binaan
Provinsi Sumatera Utara Medan. REGISTER Journal of English Language
Teaching of FBS-Unimed. 7 (1): 1-10.
Ahyar,J.,R. & Sari, K.D. 2017. Challenges in Designing ESP Course for First Year Students
of Engineering Faculty at Malikussaleh University in Emerald Reach Proceedings
Series, 563–568.
Barnett, M. A. 1989. More Than Meets the Eyes. Prentice Hall, New Jersey.
Brumfit, C. 1984. Communicative methodology in language teaching: The roles of
fluency and accuracy. Cambridge University Press, Cambridge.
Çal,A. Admiraal,W. & Mearns,T. 2022. The what – how – why of English in the
workplace: perspectives from Turkish engineers. European Journal of
Engineering Education. 47 (2) : 333-352.
Chamundeshwari, C. 2018. English for Engineering Students: A Learner Centered
Approach. International Journal of Research in Humanities, Arts and
Literature. 6 (1): 435-442.
Chavez, N. H., N. C. Camello, C. I. Dotong, & M. A. I. Pamplona. 2017. Employability of
Engineering Graduates from 2 0 1 3 to 2 0 1 5 as Basis for a Proposed Student
Development Program. Asia Pacific Journal of Multidisciplinary Research. 5
(1) : 155–166.
Dahbi,M. 2016.Towards an ESP Course for Engineering Students in Vocational Schools
in Morocco: the Case of the National School of Applied. Arab World English
Journal. 12: 72-81.
Driscoll, M. 1997. Web-based training : creating e-learning experiences. Jossey-
Bass/Pfeiffer, San Francisco.
Elba, D. 2 0 0 6 . Applying Current Approaches to the Teaching of Reading. Teaching
English Forum, 44 (1): 8-15.
Ellis, D. 1989. A Behavioural Approach to Information Retrieval Design. Journal of
Documentation. 45 : 171-212.
Ellis, D., Cox, D. & Hall, K. 1993. A Comparison of the Information Seeking Patterns of
Researchers in the Physical and Social Sciences. Journal of Documenttation.
49 : 356-369.
Farrell, T. 2009. Teaching Reading to English Language Learners: A Reflective Guide.
Thousand Oaks, CA: Corwin Press/SAGE.
69
Gagné, R. 1985. The Conditions of Learning and the Theory of Instruction
(4th ed.). Holt, Rinehart, and Winston, New York.
Gözüyeşil, E. 2 0 1 4 . An Analysis of Engineering Students’ English Language Needs.
Procedia - Social and Behavioral Sciences, 116: 4182-4186.
Grabe, W. 1991. Current Developments in Second Language Reading Research. TESOL
Quarterly, 25: 375-406.
Grabe, W. 2009. Reading in a second language: Moving from theory to practice.
Cambridge University Press, New York.
Heartsill ,Y.& Terry, B. 1983. The ALA Glossary of Library and Information Science.
American Library Association, Chicago.
Heaton, J.B. 1990. Classroom Testing. Longman. London.
Herber, H., L.& Joan, N. 1993. Teaching in Content Areas with Reading, Writing, and
Reasoning. Allyn & Bacon, United States.
Hood, S., & Soloman, N. 1985. Focus on Reading: A Handbook for Teacher. National
Curriculum Resource Centre, Australia.
Hutchinson, T. & Waters, A.1987. English for Specific Purposes. Oxford University
Press, Oxford.
Imron, A. 2017. Developing The English Syllabus For The Electrical Engineering As
Vocational Study Program In Polytechnic. Journal Of Humanities And Social
Science. 22 (10) : 41-50.
James, M. O. 1987. ESL Reading Pedagogy: Implication for Schema Theoretical
Research. In D. T. G. (Ed.), Research in Reading English as a Second Language
(pp. 177-178). Washington D. C.: Teacher of English to Speakers of Other
Language.
Johns, A. M. & T. Dudley-Evans. 2000. Developments in English for specific purposes.
Cambridge University Press, Cambridge.
Khan, B.H. 1997. Web-Based Instruction: What Is It and Why Is It? In: Khan, B.H., Ed.,
Web-Based Instruction, Educational Technology Publications, Englewood Cliffs.
Lapp, D., Flood, J., Brock, C., & Fisher, D. 2008. Teaching Reading to Every Child.
Routledge, New York.
Long, M. 2005. Second Language Needs Analysis. Cambridge University Press,
Cambridge.
Long, M. H., 2005. Methodological issues in learner needs analysis, Long M. H.
(ed.) Second Language Needs Analysis. Cambridge University Press,
Cambridge.
70
Mardani, N. & Afghary, A. 2 0 1 7 . Self-Regulated Strategy Development (SRSD) and the
Reading Process: Effects on Reading and Metacognitive Awareness. Journal of
Applied Linguistics and Language Research,4 (6): 192-200.
Maxom, M. 2009. Teaching English as a Foreign Language. Wiley, England.
Mcdonough, C. 1984. ESP in Perspectives. Hazell Watren and Viney Limited, London.
Miller, W. H. 1 9 9 0 . Reading Comprehension Activities Kit. The Center for Applied
Research in Education, New York.
Namaziandost,E., Mehdi N., & Ziafar, M. 2019. Comparing the impacts of various inputs
(I + 1 & I-1) on pre-intermediate EFL learners’ Reading comprehension and
Reading motivation: the case of Ahvazi learners. Asian-Pacific Journal of
Second and Foreign Language Education. 4,13 : 1-20.
Nishanthi, R. 2018. Important of learning English in today world. International Journal
of Trend in Scientific Research and Development. 3: 1871-874.
Nunan, D. 1 9 9 5 . Designing Tasks for the Communicative Classroom. Cambridge
University Press, Cambridge.
Parson,R. 1997. An Investigation Into Instruction Available on World Wide Web.
Master of Education Research Project,Canada.
Pimanmas Ninsuwan. 2 0 1 5 . The Effectiveness of Teaching English by Using Reading
Aloud Technique towards EFL Beginners. Procedia - Social and Behavioral
Sciences.197: 1835-1840.
Pritchard, R. M. O. & Nasr, A. 2004. Improving reading performance among Egyptian
engineering students: Principles and practice. English for Specific Purposes,
23: 425-445.
Rahman, M. 2015. English for Specific Purposes (ESP): A holistic review. Available
Source: http://www.hrpub.org/download/20150101/UJER4-19503020.pdf.
Rajan, B.R.S. 2001. Designing and Teaching an ESP Course for Officials from the
Finance Sector in Cambodia, Lao PDR and Vietnam. Proceeding of the English
Language Teaching and Learning at the Tertiary Level: From Past to Present
and Future Trends. November, 29th– 30th 2001. Chulalongkorn University,
Language Institute, Bangkok.
Robinson, P. 1991. ESP Today : A Practitioner’s Guide. Prentice Hall, New York.
Searfoss, L., W. & Readence. J., E. 1994. Helping Children Learn to Read. 3rd ed.
A Simon & Schuster, USA.
Strevens, P. 1988. ESP after Twenty Years: A Re-Appraisal. In M. Tickoo (Ed.), ESP State
of Art (pp. 1-13). SEAMEO Regional Centre, Singapore.
71
Sureeyatanapas,P., Boonma,A., & Sukangkana Thalangkan,S. 2016. English proficiency
requirements for engineering graduates at private organizations in Thailand.
KKU Engineering Journal, 35-39.
Sysoyev, P. 2000. Developing an English for Specific Purposes Course Using a Learner
Centred Approach: A Russian Experience. The Internet TESL Journal 3, 1-7.
Teng, W., C. Ma, S. Pahlevansharif, & J. J. Turner. 2019. Graduate Readiness for the
Employment Market of the 4th Industrial Revolution: The Development of Soft
Employability Skills. Education + Training. 61 (5) : 590–604.
Williams, E. 1994. Reading in the Language Classroom. Macmillan, London.
Wilson, T. D. 2000 .Human information behavior: Informing Science. Information
Science Research, special issue, 3 (2) : 49-55.
Winberg, C., M. Bramhall, D. Greenfield, P. Johnson, P. Rowlett, O. Lewis, J. Waldock,
& K. Wolf. 2020. Developing Employability in Engineering Education: A
Systematic Review of the Literature. European Journal of Engineering
Education. 45 (2) : 165–180.
Yalden, J. 1983. The Communicative Syllabus: Evolution, Design and
Implementation. Pergamen Press, Oxford.
72
ภำคผนวก
73
ภำคผนวก ก
แบบสอบถามความต้องการด้านหัวเรอ่ื งเพื่อใชใ้ นการพัฒนาทักษะการอา่ นภาษาอังกฤษโดย
ใชเ้ ทคโนโลยกี ารเรยี นรู้ร่วมกันผ่านสือ่ อเิ ล็กทรอนิกส์ (E-collaborative learning) สาหรับนกั ศกึ ษา
สาขาวศิ วกรรม วทิ ยาลัยเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรมและการจดั การ
74
75
76
77
78
ภำคผนวก ข
ส่อื อเิ ล็กทรอนิกส์ท่เี น้นกระบวนการเรยี นรูร้ ่วมกนั โดยใชเ้ ทคโนโลยี (E-collaborative learning)
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92