The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชาการพัฒนาทักษะชีวิต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by basketballs.iit, 2019-06-23 22:26:43

วิชาการพัฒนาทักษะชีวิต

วิชาการพัฒนาทักษะชีวิต

วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาแพร่

แผนการจดั การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ

บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพียงเข้าสปู่ ระชาคมอาเซยี น

หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพชน้ั สูง (ปวส.) พ.ศ. 2557

รหัสวิชา3000-1601 ชื่อวิชา การพฒั นาทกั ษะชีวิตเพื่อสขุ ภาพและสังคม
ประเภทวิชา บรหิ ารธรุ กจิ สาขาวชิ า การบญั ชี สาขางาน การบัญชี

ชื่อผู้สอน นางศริ ิรตั น์ เล็กอมิ่
แผนกวิชาสามัญสัมพนั ธ์

สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

กระทรวงศึกษาธกิ าร

คานา

แผนการจดั การเรียนรู้เล่มนี้ได้จัดทาข้ึน เพ่ือใชเ้ ปน็ แผนการสอนในรายวิชาการพัฒนาทักษะ

ชวี ติ เพือ่ สขุ ภาพและสงั คม รหัสวชิ า 3000-1601 ตามหลกั สูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ช้นั สงู

พทุ ธศกั ราช 2557

เนื้อหาการจัดการเรียนการสอนทฤษฎี แบง่ ออกเป็น 10 หนว่ ยการเรยี น ซึ่งประกอบด้วย

ชื่อหน่วยการเรยี น สาระสาคญั จุดประสงค์การเรยี นรู้ สมรรถนะรายหนว่ ย เนื้อหาสาระการ

เรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่อื และแห่งการเรยี นรู้ งานทมี่ อบหมาย การวัดและประเมนิ ผล

กจิ กรรมเสนอแนะ และ บันทึกหลังการสอน

ผู้เขียนหวังเปน็ อย่างยงิ่ วา่ แผนการจัดการเรียนรู้เลม่ นีจ้ ะเปน็ ประโยชน์ต่อนกั เรยี น

นักศกึ ษา และครูผสู้ อนเป็นอย่างยิง่ หากมีขอ้ บกพรอ่ งประการใดผเู้ ขียนขอนอ้ มรับคาติชมด้วยความ

เคารพ เพ่ือจะได้นาไปปรบั ปรงุ แกไ้ ขในโอกาสต่อไป

ลงชือ่ ........................................
(นางศริ ิรตั น์ เล็กอิ่ม)

สารบัญ หน้า

คานา ก
ลักษณะรายวิชา ข
กาหนดการสอน ค
ตารางวิเคราะหห์ ลักสูตร ง
เกณฑ์การวัดผลประเมนิ ผลรายวชิ า จ
แผนการจัดการเรียนรู้
1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 5
แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 2 13
แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยที่ 3 19
แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยที่ 4 25
แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยที่ 5 33
แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 6 39
แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยท่ี 7 44
แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยท่ี 8 50
แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยที่ 9 55
แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 10 61
แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 11 66
แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยที่ 12 72
แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 13 78
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 14 83
แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 15 89
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยท่ี 16 94
แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยท่ี 17 100
แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยที่ 18 103
รายการตรวจสอบและอนุญาตให้ใช้

ลกั ษณะรายวิชา

รหสั และชือ่ วชิ า 3000-1601 การพฒั นาทักษะชีวติ เพ่ือสุขภาพและสงั คม
หน่วยกิต (ชวั่ โมง) 3(3 ) เวลาเรียนตอ่ ภาค 54 ชัว่ โมง

รายวิชาตามหลกั สตู ร
จุดประสงค์รายวิชา

1. มคี วามรคู้ วามเข้าใจเกยี่ วกับหลักการและกระบวนการทางพลศึกษา สุขศึกษาและ
นันทนาการ

2. สามารถเลือกปฏบิ ัตกิ ิจกรรมเพ่ือสง่ เสรมิ สุขภาพที่สมั พนั ธ์กับชมุ ชน กจิ กรรมสรา้ ง
ความสมั พนั ธ์กับชมุ ชนและกิจกรรมสาธารณประโยชน์

3. มเี จตคติและกจิ นิสยั ทดี่ ีในการพัฒนาทกั ษะชวี ติ เพ่อื สขุ ภาพและสงั คม

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เกีย่ วกับหลักการและกระบวนการทางพลศึกษา สุขศกึ ษาและนนั ทนาการ
เพอื่ พฒั นาทักษะชวี ิตและสุขภาพ
2. เลือกปฏิบัติกิจกรรมสง่ เสริมสุขภาพดว้ ยกิจกรรมพลศึกษา สขุ ศกึ ษา และนันทนาการ
ตามหลกั การพฒั นาสมรรถภาพทางกายให้สามารถปฏิบัติได้ตามลักษณะงาน
3. พัฒนาสมรรถภาพทางกายให้สามารถปฏิบตั งิ านใหต้ ามลกั ษณะงาน
4. เปน็ ผู้นาและสว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย
5. โน้มน้าวใหผ้ อู้ ่ืนเขา้ ใจความต้องการและเหตผุ ลของตนเองดว้ ยเทคนิคและวธิ ีการ
ประชาธิปไตย
6. วางแผนดาเนนิ ชวี ิตใหส้ อดคล้องกบั วชิ าชพี

คาอธิบายรายวิชา
ศกึ ษาเกย่ี วกบั การประยุกต์ใช้หลักการและกระบวนการพลศึกษา สขุ ศึกษา และนันทนาการ

หลกั การเลอื กกจิ กรรมพฒั นาทักษะชีวิตและสขุ ภาพ การจัดกจิ กรรมเพ่ือเสริมสร้างสมั พนั ธภาพทด่ี ี
กบั ครอบครวั เพื่อน สังคม กระบวนการทางประชาสังคมเพ่อื กาหนดบทบาทของตนเองในการมี
ส่วนรว่ มเก่ียวกบั กระบวนการเรียนร้เู ร่อื งเพศอย่างรอบคอบดา้ น สารเสพตดิ สารพษิ และอบุ ัตภิ ยั
ของชุมชน และกจิ กรรมเพื่อส่งเสริมสขุ ภาพท่ีสมั พนั ธก์ บั ชุมชน

กาหนดการสอน

หน่วยท่ี ชอื่ หน่วย/รายการสอน ชวั่ โมง สัปดาห์

ปฐมนิเทศ 11

1. หลักการและกระบวนการของพลศึกษา สุขศกึ ษา และ 5 1-2

นนั ทนาการ

2. สขุ ภาพกบั การพัฒนาคุณภาพชีวิต 6 3-4

3. การออกกาลังกายเพ่ือสุขภาพ 6 5-6

4. การพัฒนาสมรรถภาพทางกาย 6 7-8

5. นันทนาการเพอ่ื ส่งเสริมสุขภาพทส่ี ัมพันธกับชมุ ชน 6 9-10

6. การเสรมิ สร้างสมั พนั ธภาพทีด่ ีกับครอบครัว เพื่อน และสังคม 6 11-12

7. การสง่ เสริมสุขภาพทีส่ มั พนั ธ์กับฃุมฃน 3 13

8. การป้องกันภยั ในชมุ ชน 6 14-15

9. ทักษะชวี ติ และสขุ ภาพ 3 16

10. การดารงชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3 17

สอบปลายภาค 3 18

ตารางวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร

รหสั 3000-1601 วชิ า การพัฒนาทักษะชวี ิตเพื่อสุขภาพและสงั คม หน่วยกติ 3

ชั้น ปวส.1 สาขา/กลุ่มวชิ า/การบญั ชี

พฤตกิ รรม พุทธพิ สิ ยั

ชือ่ หน่วยงาน ความรู้
ความเ ้ขาใจ
นาไปใช้
วิเคราะห์
สังเคราะห์
ประเ ิมนค่า

ทักษะพิสัย
ิจตพิสัย
รวม
ลาดับความสาคัญ
จานวนคาบ
จานวน ้ขอสอบ

หลักการและกระบวนการของพล 3 1.5 1.5 2 2 10 6 10

ศกึ ษา สขุ ศึกษา และนนั ทนาการ 2 2 10 6 10
2 2 10 6 10
สขุ ภาพกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต 3 1.5 1.5 2 2 10 6 10
2 2 10 6 10
การออกกาลงั กายเพื่อสุขภาพ 3 1.5 1.5
2 2 10 6 10
การพัฒนาสมรรถภาพทางกาย 3 1.5 1.5
2 2 10 3 10
นนั ทนาการเพ่ือสง่ เสริมสุขภาพทส่ี มั 3 1.5 1.5 2 2 10 6 10
2 2 10 3 10
พนั ธกับชมุ ชน 2 2 10 3 10

การเสรมิ สรา้ งสัมพนั ธภาพท่ีดีกับ 3 1.5 1.5 20 20 10 3
22 54 100
ครอบครวั เพ่ือน และสังคม

การส่งเสริมสุขภาพท่ีสัมพนั ธ์กับฃมุ ฃน 3 1.5 1.5

การป้องกันภัยในชุมชน 3 1.5 1.5

ทักษะชีวติ และสุขภาพ 3 1.5 1.5

การดารงชวี ิตตามหลกั ปรัชญาของ 3 1.5 1.5

เศรษฐกจิ พอเพยี ง

สอบปลายภาค

รวม 30 15 15

ลาดับความสาคญั 13 3

เกณฑก์ ารวัดผลประเมนิ ผลรายวิชา 30 %
การวดั ผล 20 %
10 %
สอบเก็บคะแนนระหว่างเรียน 10 %
สอบปลายภาค
รายงาน 10 %
กจิ กรรมในชั้นเรียนและกิจกรรมบรู ณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง 20 %
เข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน
แบบฝึกหดั /ใบงาน/แฟ้มสะสมงาน
บูรณาการคณุ ธรรมจรยิ ธรรมคา่ นิยมและลักษณะอันพึงประสงค์

หมายเหตุ นกั ศึกษาตอ้ งเขา้ เรียนไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80 ของเวลาเรียนทง้ั หมด

การประเมินผล ไดเ้ กรด 4
กาหนดคา่ ระดับคะแนนตามเกณฑ์ดังนี้ ได้เกรด 3.5
ไดเ้ กรด 3
คะแนน 80 - 100 ได้เกรด 2.5
คะแนน 75 - 79 ไดเ้ กรด 2
คะแนน 70 - 74 ได้เกรด 1.5
คะแนน 65 – 69 ไดเ้ กรด 1
คะแนน 60 – 64 ไดเ้ กรด 0
คะแนน 55 - 59
คะแนน 50 - 54
คะแนน 0 - 49

1

แผนการจดั การเรยี นรูแ้ บบบูรณาการท่ี 1 หน่วยท่ี 1

รหสั 3000-1601 การพฒั นาทกั ษะชวี ติ เพ่อื สขุ ภาพและสงั คม (3-0-3) สอนครงั้ ที่ 1 (1-1)
ชื่อหน่วย/เรือ่ ง ปฐมนิเทศ จานวนชวั่ โมง 1 ช.ม.

สาระสาคญั

การศกึ ษาวิชาการพฒั นาทักษะชีวติ เพอื่ สขุ ภาพและสงั คมมีจดุ ประสงค์เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รียนมีความรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกับ
หลักการและกระบวนการทางพลศึกษา สขุ ศกึ ษาและนันทนาการ สามารถเลือกปฏบิ ตั กิ ิจกรรมเพื่อสง่ เสรมิ สุขภาพที่
สมั พันธ์กับชมุ ชน รวมทั้งการนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นการดารงชวี ิตประจาวนั ท่วั ไป ผเู้ รียนได้ความรู้ท่ถี กู ตอ้ ง ผ่านการ
บรรยายและเทคนิคการสอนตา่ ง ๆ ที่ผสู้ อนจดั เตรียมไว้ ผเู้ รียนยังจะได้ศึกษาผ่านการปฏิบตั แิ ละทดลองจรงิ เพือ่ ให้เกดิ
ประสทิ ธภิ าพการเรียนรสู้ งู สดุ ต่อผเู้ รยี น

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1.บอกจดุ ประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า และคาอธบิ ายรายวชิ าตามหลกั สตู รฯ ได้

2.บอกแนวทางวดั ผลและการประเมนิ ผลการเรยี นรไู้ ด้

3.มกี ารพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา

สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ในเร่อื ง

3.1 ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ 3.8 การละเวน้ สงิ่ เสพตดิ และการพนนั

3.2 ความมวี นิ ยั 3.9 ความรกั สามคั คี

3.3 ความรบั ผดิ ชอบ 3.10 ความกตญั ญกู ตเวที

3.4 ความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ

3.5 ความเช่อื มนั่ ในตนเอง

3.6 การประหยดั

3.7 ความสนใจใฝ่รู้

สมรรถนะรายวิชา

1.แสดงความรเู้ กย่ี วกบั หลกั การและกระบวนการทางพลศกึ ษา สขุ ศกึ ษา และนนั ทนาการเพ่อื พฒั นาทกั ษะ
ชวี ติ และสขุ ภาพ

2.เลอื กปฏบิ ตั กิ จิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพดว้ ยกจิ กรรมพลศกึ ษา สขุ ศกึ ษาและนนั ทนาการตามหลกั การ
3.พฒั นาสมรรถภาพทางกายใหส้ ามารถปฏบิ ตั งิ านไดต้ ามลกั ษณะงาน
4.เป็นผนู้ าและมสี ว่ นร่วมในการจดั กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งสมรรถภาพทางกาย
5.โน้มน้าวใหผ้ อู้ ่นื เขา้ ใจความตอ้ งการและเหตุผลของตนเองดว้ ยเทคนิคและวธิ กี ารประชาธปิ ไตย
6.วางแผนดาเนนิ ชวี ติ ใหส้ อดคลอ้ งกบั วชิ าชพี

2

เนื้อหาสาระ

1.บอกจดุ ประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า และคาอธบิ ายรายวชิ าตามหลกั สตู รฯ ได้
2.บอกแนวทางวดั ผลและการประเมนิ ผลการเรยี นรไู้ ด้

กิจกรรมการเรียนรู้

ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรยี น

1.ครผู สู้ อนแนะนาจดุ ประสงคท์ ผ่ี เู้ รยี นจะไดจ้ ากหลกั สตู ร โดยกาหนดใหผ้ เู้ รยี นทุกคนตอ้ งมคี วามรู้
ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั หลกั การและกระบวนการทางพลศกึ ษาสขุ ศกึ ษาและนนั ทนาการ สามารถเลอื กปฏบิ ตั ิ
กจิ กรรมเพอ่ื สง่ เสรมิ สขุ ภาพทส่ี มั พนั ธก์ บั ชมุ ชนกจิ กรรมสรา้ งความสมั พนั ธก์ บั ชมุ ชนและกจิ กรรม
สาธารณประโยชน์ มเี จตคตแิ ละกจิ นสิ ยั ทด่ี ใี นการพฒั นาทกั ษะชวี ติ เพ่อื สขุ ภาพและสงั คม

2.ครสู นทนากบั ผเู้ รยี นเพอ่ื ใหเ้ หน็ ความสาคญั ของการเรยี นวชิ าการพฒั นาทกั ษะชวี ติ เพอ่ื สขุ ภาพและสงั คม

ขนั้ สอน
3.ผเู้ รยี นรบั ฟังคาชแ้ี จงสงั เขปรายวชิ าและการวดั ประเมนิ ผล ซกั ถามขอ้ ปัญหารวมทงั้ แสดงความ
คดิ เหน็ เกย่ี วกบั การเรยี นวชิ าน้ี
4.ครสู นทนากบั ผเู้ รยี นถงึ คุณภาพของประชากรในประเทศเป็นตวั บ่งชท้ี ส่ี าคญั เป็นอย่างยง่ิ ต่อความ
เจรญิ กา้ วหน้าของประเทศ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพตามหลกั การและกระบวนการของพลศกึ ษา
สขุ ศกึ ษาและนนั ทนาการสง่ ผลต่อการพฒั นาการทางร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญา เพ่อื พฒั นา
ทกั ษะชวี ติ และสขุ ภาพ
5.ผเู้ รยี นเขยี นสรุปถงึ การพฒั นาคณุ ภาพของตนเองในอดตี ทผ่ี ่านมาจนถงึ ปัจจบุ นั

ขนั้ สรปุ และการประยกุ ต์
6.ผเู้ รยี นวางแผนการเรยี นวชิ าการพฒั นาทกั ษะชวี ติ เพอ่ื สขุ ภาพและสงั คม และการนาความรทู้ ไ่ี ดจ้ าก

รายวชิ าไปประยกุ ตใ์ ชก้ บั งานในชวี ติ ประจาวนั ทจ่ี าเป็นโดยทวั่ ไป ซง่ึ ทุกคนจะตอ้ งวางแผนการทางานต่าง ๆ ใน
อนาคต

สื่อและแหล่งการเรียนรู้

1.หนงั สอื เรยี น วชิ าการพฒั นาทกั ษะชวี ติ เพอ่ื สขุ ภาพและสงั คม
2.สอ่ื แผ่นใส
3.สอ่ื Power Point
4.กจิ กรรมการเรยี นการสอน

3

หลกั ฐาน

1.บนั ทกึ การสอน
2.ใบเชค็ รายชอ่ื
3.แผนจดั การเรยี นรู้
4.การตรวจประเมนิ ผลงาน

การวดั ผลและการประเมินผล
วิธีวดั ผล

1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่
3. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่
4. การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอนั

พงึ ประสงค์

เครอ่ื งมือวดั ผล

1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่
3. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครแู ละผเู้ รยี น

ร่วมกนั ประเมนิ

เกณฑก์ ารประเมินผล

1. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ตอ้ งไมม่ ชี ่องปรบั ปรุง
2. เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป)
3. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป)
4. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อย่กู บั

การประเมนิ ตามสภาพจรงิ

กิจกรรมเสนอแนะ

แนะนาใหว้ างแผนการเรยี นและศกึ ษาเน้อื หากอ่ นเรยี นลว่ งหน้า

4

บนั ทึกหลงั การสอน

ข้อสรปุ หลงั การสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาท่ีพบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

5

แผนการจดั การเรยี นรูแ้ บบบูรณาการท่ี 2 หน่วยท่ี 1
สอนคร้งั ที่ 2 (2-3)
รหสั 3000-1601 การพัฒนาทกั ษะชีวิตเพ่ือสขุ ภาพและสงั คม (3-0-3)
ชื่อหน่วย/เรื่อง หลกั การและกระบวนการของ พลศึกษา สขุ ศึกษาและ จานวน 2 ชม.

นันทนาการ

สาระสาคญั

คณุ ภาพของประชากรในประเทศเป็นตวั บง่ ชท้ี ส่ี าคญั เป็นอยา่ งยง่ิ ต่อความเจรญิ กา้ วหน้าของประเทศ การ
ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพตามหลกั การและกระบวนการของพลศกึ ษา สขุ ศกึ ษาและนนั ทนาการสง่ ผลต่อการ
พฒั นาการทางร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญา เพ่อื พฒั นาทกั ษะชวี ติ และสขุ ภาพ

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

1 อธบิ ายหลกั การของพลศกึ ษา สขุ ศกึ ษา และนนั ทนาการได้
2 อธบิ ายวธิ กี ารนากระบวนการของพลศกึ ษา และสขุ ศกึ ษามาใชใ้ นการพฒั นาพฤตกิ รรมสขุ ภาพได้
3 ยกตวั อยา่ งกจิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพดว้ ยกจิ กรรมพลศกึ ษา สขุ ศกึ ษา และนนั ทนาการได้
4. มกี ารพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา
สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ในเร่อื ง

4.1 ความมมี นุษยสมั พนั ธ์
4.2 ความมวี นิ ยั
4.3 ความรบั ผดิ ชอบ
4.4 ความซ่อื สตั ยส์ จุ รติ
4.5 ความเชอ่ื มนั่ ในตนเอง
4.6 การประหยดั
4.7 ความสนใจใฝ่รู้
4.8 การละเวน้ สงิ่ เสพตดิ และการพนนั
4.9 ความรกั สามคั คี
4.10 ความกตญั ญกู ตเวที

สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั หลกั การและกระบวนการทางพลศกึ ษา สขุ ศกึ ษาและนนั ทนาการเพอ่ื พฒั นา
ทกั ษะชวี ติ และสขุ ภาพ

2. เลอื กปฏบิ ตั กิ จิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพดว้ ยกจิ กรรมพลศกึ ษา สขุ ศกึ ษา และนนั ทนาการตามหลกั การ

6

เนื้อหาสาระ

1 หลกั การและกระบวนการของพลศกึ ษา สขุ ศกึ ษาและนนั ทนาการ
2 กจิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพ

กจิ กรรมการเรียนรู้

ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรยี น

1.ครสู นทนากบั ผเู้ รยี นเกย่ี วกบั สขุ ศกึ ษา พลศกึ ษา และนนั ทนาการ มคี วามสาคญั ยงิ่ ต่อการพฒั นา
คุณภาพชวี ติ เพราะครอบคลมุ เรอ่ื งสขุ ภาพทเ่ี ป็นพน้ื ฐานจาเป็นตอ่ ชวี ติ ความเป็นอย่ขู องมนุษย์ การมสี ขุ ภาพท่ี
ดนี นั้ เป็นสง่ิ ทม่ี นุษยท์ ุกคนปรารถนา เพราะหากมนุษยไ์ ดเ้ รยี นรวู้ ชิ าการหลกั การต่างๆ เกย่ี วกบั การดแู ลสขุ ภาพ
ร่างกายใหแ้ ขง็ แรงเสมอและปฏบิ ตั ติ าม ทาใหด้ ารงสขุ ภาพ สรา้ งเสรมิ และพฒั นาคุณภาพชวี ติ ของบคุ คล
ครอบครวั และชุมชนใหย้ งั่ ยนื

2.ครเู ปิดวดิ ที ศั น์เกย่ี วกบั การออกกาลงั กาย และการนนั ทนาการต่างๆ

ขนั้ สอน

3.ครใู ชส้ อ่ื Power Point ประกอบการอธบิ ายหลกั การและกระบวนการของพลศกึ ษา สขุ ศกึ ษาและ
นนั ทนาการ โดย

พลศกึ ษา มงุ่ เน้นใหบ้ ุคคลใชก้ จิ กรรมการเคลอ่ื นไหว การออกกาลงั กาย การเลน่ เกมและกฬี า เป็น
เครอ่ื งมอื ในการพฒั นาโดยรวมทงั้ ดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม สตปิ ัญญา รวมทงั้ สมรรถภาพ เพ่อื สขุ ภาพ
และสมรรถภาพทกั ษะกลไกทางพลศกึ ษา

สขุ ศึกษา ม่งุ เน้นพฒั นาพฤตกิ รรมดา้ นความรู้ เจตคติ คณุ ธรรม คา่ นยิ ม และการปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั สขุ ภาพ
ควบค่ไู ปกบั สขุ ภาวะ หรอื ภาวะของมนุษยท์ ส่ี มบรู ณ์ทงั้ ทางกาย จติ ใจ สงั คม และสตปิ ัญญาซง่ึ ทกุ คนควรจะได้
เรยี นรู้ เพ่อื จะไดม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจทถ่ี กู ตอ้ งมเี จตคติ คณุ ธรรม และค่านยิ มทเ่ี หมาะสม รวมทงั้ มที กั ษะปฏบิ ตั ิ
ดา้ นสขุ ภาพเป็นกจิ นสิ ยั อนั สง่ ผลใหส้ งั คมโดยรวมมคี ุณภาพ

นันทนาการ มงุ่ เน้นพฒั นาสขุ ภาพและสขุ ภาพจติ ของคนใหส้ มบรู ณ์ยง่ิ ขน้ึ โดยใชก้ จิ กรรมและใชเ้ วลาวา่ ง
ทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ คณุ คา่ ต่อตวั บุคคล เพอ่ื การพฒั นาคุณภาพชวี ติ ทเ่ี หมาะสมกบั ตนเองไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

4.ผเู้ รยี นยกตวั อย่างกระบวนการพลศกึ ษา กระบวนการสขุ ศกึ ษา และนนั ทนาการ
5.ครแู ละผเู้ รยี นใชส้ อ่ื Power Point อธบิ ายเร่อื งหลกั การพลศกึ ษา มุง่ เน้นใหบ้ ุคคลใชก้ จิ กรรมการ
เคลอ่ื นไหวการออกกาลงั กาย การเลน่ เกมและกฬี า เป็นเครอ่ื งมอื ในการพฒั นาหลกั การสขุ ศกึ ษา ม่งุ เน้นพฒั นา
พฤตกิ รรมดา้ นความรู้ เจตคติ คุณธรรม ค่านิยมและการปฏบิ ตั ิ สว่ นหลกั การนนั ทนาการ มงุ่ เน้นพฒั นาสขุ ภาพ และ
สขุ ภาพจติ ของคนใหส้ มบรู ณ์ยงิ่ ขน้ึ
6.ครใู ชเ้ ทคนคิ การเรยี นรแู้ บบอภปิ ราย เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในการเรยี นการสอนโดยครแู ละผเู้ รยี น
รว่ มกนั อภปิ รายเรอ่ื งหลกั การและกระบวนการของพลศกึ ษา สขุ ศกึ ษาและนนั ทนาการมาใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั
7.ครอู ธบิ ายเร่อื งกจิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพ เป็นกจิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพ มหี ลายกจิ กรรมทงั้ กจิ กรรมทางพล

7

ศกึ ษา สขุ ศกึ ษา นนั ทนาการรวมทงั้ กจิ กรรมเพอ่ื สงั คม และสาธารณประโยชน์ ซง่ึ กจิ กรรมต่างๆ เป็นกจิ กรรมท่ี
สง่ เสรมิ ใหบ้ คุ คลพฒั นาตนเองตามธรรมชาติ และเตม็ ตามศกั ยภาพ

8.ครแู ละผเู้ รยี นใชส้ อ่ื วดิ ที ศั น์แสดงขอบขา่ ยของกจิ กรรมพลศกึ ษา จงึ ตอ้ งประกอบดว้ ยกจิ กรรม ดงั น้ี
8.1. เกม (Game) เป็นกจิ กรรมเลน่ อยา่ งงา่ ยๆ ไมม่ กี ตกิ ามากนกั มจี ดุ มุ่งหมายเพอ่ื ความสนุกสนาน และ
ช่วยเสรมิ สรา้ งความแขง็ แรงของรา่ งกายไดต้ ามสมควร เกมบางประเภทสามารถนามาใชก้ บั ผใู้ หญ่ไดอ้ ยา่ ง
สนุกสนาน
8.2 ประเภท ไดแ้ ก่
8.2.1 กฬี าในร่ม (Indoor Sport) ไดแ้ ก่ กฬี า ประเภททไ่ี มเ่ น้นการเคลอ่ื นไหวร่างกายอย่างหนกั แต่จะเน้น
เรอ่ื งความสนุกสนานมกั จะนยิ มเลน่ ภายในอาคารหรอื โรงยมิ เชน่ เทเบลิ เทนนสิ แบดบนิ ตนั วอลเล่ยบ์ อล เป็นตน้
8.2.2 กฬี ากลางแจง้ (Outdoor Sport) ไดแ้ ก่ กฬี าประเภททม่ี กี ารเคล่อื นไหวร่างกายทห่ี นกั และมกั จะเลน่
ภายนอกอาคาร เช่น ฟุตบอล ขม่ี า้ พายเรอื วง่ิ เป็นตน้
8.3. กจิ กรรมเขา้ จงั หวะ (Rhythmic Activity) ไดแ้ ก่ กจิ กรรมการเคล่อื นไหวร่างกายโดยใชเ้ สยี งเพลง หรอื
ดนตรเี ป็นสว่ นประกอบ
8.4. กจิ กรรมทดสอบสมรรถภาพทางกาย (Body Conditioning) เป็นกจิ กรรมทก่ี ระทา เพ่อื รกั ษาหรอื
เสรมิ สรา้ งรา่ งกายใหแ้ ขง็ แรง เชน่ การดนั พน้ื การดงึ ขอ้ การลกุ นงั่ เป็นตน้
8.5. กจิ กรรมนอกเมอื ง (Outdoor Activity) เป็นกจิ กรรมการเคลอ่ื นไหวร่างกายโดยไปกระทาตามภมู ิ
ประเทศทน่ี ่าสนใจ เชน่ การเดนิ ทางไกล การปีนเขา ค่ายพกั แรม ทศั นาจร เป็นตน้
8.6. กจิ กรรมแกไ้ ขความพกิ าร (Adaptive Activity) เป็นกจิ กรรมการเคล่อื นไหวรา่ งกายโดยมจี ุดประสงค์
เพอ่ื รกั ษาความพกิ ารทางร่างกาย
9.ครแู ละผเู้ รยี นใชส้ อ่ื Power Point ประกอบการสอนเร่อื งขอบขา่ ยกจิ กรรมของสขุ ศกึ ษา ประกอบดว้ ย
91. เกม (Game) โดยการสรา้ งสถานการณ์แบบสมมตขิ น้ึ ใหเ้ ลน่ ภายใตข้ อ้ ตกลงหรอื กตกิ าบางอย่างท่ี
กาหนดไว้ ทาใหผ้ เู้ ลน่ ไดว้ เิ คราะห์ ความรสู้ กึ นกึ คดิ และพฤตกิ รรมต่างๆ ทม่ี อี ทิ ธพิ ลต่อการตดั สนิ ใจ
9.2. บทบาทสมมติ (Role play) โดยการสรา้ งสถานการณ์สมมติ แลว้ เล่นตามบทบาทและแสดงออกตาม
ธรรมชาติ โดยอาศยั บคุ ลกิ ภาพ ประสบการณ์ และความรสู้ กึ นึกคดิ ของตนเป็นหลกั
9.3. กรณตี วั อย่าง (Case) เป็นการนาเอาเร่อื งราวต่างๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ จรงิ นามาดดั แปลงและใชเ้ ป็นตวั อย่าง
ในการวเิ คราะหแ์ ละอภปิ รายเป็นการแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ซง่ึ กนั และกนั
9.4. สถานการณ์จาลอง (Simutation)เป็นการจาลองสถานการณ์จรงิ หรอื สรา้ งสถานการณ์ใหใ้ กลเ้ คยี งกบั
ความเป็นจรงิ เป็นการทดลองและแสดงพฤตกิ รรมต่างๆ
9.5. ละคร (Acting or Dramatization) เป็นการทดลองแสดงบทบาทตามบททเ่ี ขยี นหรอื กาหนดไวใ้ ห้ ทา
ใหเ้ ขา้ ใจในความรสู้ กึ เหตุผลและพฤตกิ รรมของผอู้ ่นื
10.ครแู ละผเู้ รยี นใช้ Power Point เป็นสอ่ื เพอ่ื อธบิ ายเรอ่ื งขอบขา่ ยกจิ กรรมของนนั ทนาการ
กจิ กรรมนนั ทนาการมหี ลายประเภท เพอ่ื ใหบ้ ุคคลเขา้ รว่ มทากจิ กรรมไดต้ ามความสนใจ ดงั น้ี

10.1.เกมและกฬี าเพอ่ื การแขง่ ขนั
10.2. ศลิ ปหตั ถกรรม เป็นกจิ กรรมนนั ทนาการทส่ี ง่ เสรมิ ความสามารถ ทกั ษะ สมาธิ และความประณีต

8

10.3. การเตน้ ราและกจิ กรรมเขา้ จงั หวะเป็นกจิ กรรมทางสงั คมทช่ี ว่ ยพฒั นาทางดา้ นร่างกาย จติ ใจ
อารมณ์ สงั คม และการกลา้ แสดงออก

10.4. การละคร และภาพยนตร์ เป็นนนั ทนาการประเภทใหค้ วามรู้ ความบนั เทงิ ความสนุกสนาน
เพลดิ เพลนิ เป็นกจิ กรรมทส่ี ะทอ้ นความเป็นอยใู่ นสงั คม และการดาเนินชวี ติ ประจาวนั

10.5. งานอดเิ รก เป็นกจิ กรรมทท่ี าในเวลาว่าง ชว่ ยใหก้ ารดาเนนิ ชวี ติ ประจาวนั มคี วามสขุ เพลดิ เพลนิ
งานอดเิ รกมหี ลายประเภท

10.6. ดนตรแี ละการรอ้ งเพลงเป็นกจิ กรรมทใ่ี หค้ วามบนั เทงิ ดนตรเี ป็นภาษาสากลทท่ี ุกชาติ
ทุกภาษาสามารถเขา้ ใจเหมอื นกนั และสามารถถ่ายทอดความรสู้ กึ ออกมาได้ และช่วยระบาย
อารมณ์ผ่อนคลาย ความตงึ เครยี ดได้ ไดแ้ ก่ การรอ้ งเพลง การเล่นดนตรี การฟังดนตรี

10.7 กจิ กรรมนอกเมอื ง เป็นกจิ กรรมนอกสถานทม่ี คี วามหลากหลาย ทใ่ี หโ้ อกาสมนุษยไ์ ดส้ มั ผสั ธรรมชาติ
ไดพ้ กั ผอ่ น เช่น การอยคู่ ่ายพกั แรม ไปทอ่ งเทย่ี วตามแหล่งธรรมชาติ สวนสตั ว์ สวนหย่อม ฟารม์ เลย้ี งสตั ว์
สวนสาธารณะ นอกจากน้ยี งั มกี จิ กรรมประเภททา้ ทายความสามารถสาหรบั คนอกี กลมุ่ หนง่ึ เช่น การแขง่ เรอื การ
ผจญภยั ในป่า การเดนิ ทางไกล การไต่เขา เป็นตน้

10.8. กจิ กรรมทางสงั คม เป็นกจิ กรรมทก่ี ลมุ่ คนในสงั คมร่วมจดั ขน้ึ ช่วยเสรมิ สรา้ งความสมั พนั ธแ์ ละ
มนุษยสมั พนั ธท์ ด่ี ี มคี วามรกั สามคั คตี ่อกนั เชน่ การจดั เลย้ี งปีใหม่ งานเลย้ี งวนั เกดิ การฉลองในโอกาสพเิ ศษ
ต่างๆ

10.9 วรรณกรรม กจิ กรรมพดู อ่าน เขยี น และฟัง เป็นกจิ กรรมทส่ี ง่ เสรมิ ใหบ้ คุ คลมที กั ษะความรู้
ความสามารถทาใหเ้ กดิ ความสนุกสนาน เพลดิ เพลนิ และมคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ จนิ ตนาการ

10.10. กจิ กรรมอาสาสมคั ร เป็นกจิ กรรมบาเพญ็ ประโยชน์ ทส่ี ง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ความซอ่ื สตั ย์
และการยอมรบั ใหค้ วามรว่ มมอื ของชมุ ชนทาใหเ้ กดิ การพฒั นา เช่น กจิ กรรมอาสาพฒั นา กจิ กรรมอาสาสมคั ร
ต่างๆ สมาคม มลู นธิ ิ ลกู เสอื ชาวบา้ น เป็นตน้

10.11 การท่องเทย่ี วทศั นศกึ ษา เป็นกจิ กรรมทช่ี ว่ ยเสรมิ สรา้ งประสบการณ์ชวี ติ ศกึ ษาศลิ ปวฒั นธรรม
และวถิ ชี วี ติ ของชมุ ชน สรา้ งความเขา้ ใจระหว่างเพ่อื นมนุษยก์ บั ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม การท่องเทย่ี ว ทศั น
ศกึ ษาดา้ นศลิ ปะและดนตรี ประวตั ศิ าสตร์ สภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ ไดแ้ ก่ พพิ ธิ ภณั ฑ์ โรงละคร วดั หอสมดุ
โบราณสถาน อุทยานแหง่ ชาติ ฯลฯ

11.ครแู นะนากจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ โดยเปิดวดี โี อเพอ่ื เป็นสอ่ื การสอนประกอบ
11.1. กจิ กรรมการรณรงค์ เช่น การรณรงคใ์ หอ้ นุรกั ษ์สง่ิ แวดลอ้ ม การรณรงคต์ ่อตา้ นยาเสพตดิ การ
รณรงคป์ ้องกนั โรคเอดส์ เป็นตน้
11.2. กจิ กรรมการช่วยทางานเพ่อื สงั คม เช่น การชว่ ยเกบ็ ขยะ ทาความสะอาดในโรงเรยี น วดั ฯลฯ
11.3. กจิ กรรมใหก้ าลงั ใจผเู้ สยี สละเพ่อื สงั คม ผยู้ ากไร้ หรอื ผถู้ กู ทอดทง้ิ เชน่ การเยย่ี มค่ายทหาร การทา
บตั รอวยพรเพอ่ื ใหก้ าลงั ใจทหารในสนามรบ การเยย่ี มทหารผา่ นศกึ การเยย่ี มผปู้ ่วยไรญ้ าติ การเยย่ี มบา้ นคนชรา
เป็นตน้
11.4. กจิ กรรมการช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั ิ เช่น การกภู้ ยั จากอบุ ตั เิ หตุ การช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั น้า
ทว่ ม อคั คภี ยั ดนิ ถลม่ เป็นตน้

9

11.5. กจิ กรรมการอนุรกั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม เชน่ การปลกู ป่าชายเลน การปลกู และดแู ลสวนป่า การดแู ลและ
บารงุ รกั ษาป่าตน้ น้า การรกั ษาความสะอาดของแมน่ ้าลาคลอง การขดุ ลอกคคู ลอง เป็นตน้

11.6. กจิ กรรมดแู ลรกั ษาสาธารณสมบตั ิ และมรดกทางศลิ ปวฒั นธรรม เชน่ การดแู ลรกั ษาโบสถ์ วดั วา
อาราม การเฝ้าระวงั โบราณสถาน และโบราณวตั ถุไม่ใหถ้ ูกทาลาย เป็นตน้

11.7. กจิ กรรมการช่วยอ่าน เขยี น แนะนา ใหค้ าปรกึ ษา เช่น การช่วยอ่านหนงั สอื ใหค้ นพกิ ารทางสายตา
หรอื ผอู้ ่านหนงั สอื ไมอ่ อก การชว่ ยกรอกขอ้ มลู ในเอกสารสาคญั ใหก้ บั ผมู้ ปี ัญหาดา้ นการเขยี นการใหค้ าแนะนา
วธิ ใี ชเ้ วลาวา่ งของรุ่นน้อง มคั คเุ ทศกอ์ าสาสมคั รในทอ้ งถน่ิ เป็นตน้

11.8. กจิ กรรมรไี ซเคลิ เช่น การคดั แยกขยะอยา่ งถูกวธิ ี การนาวสั ดุทใ่ี ชแ้ ลว้ กลบั มาใชซ้ ้าการนาเศษวสั ดุ
มาสรา้ งสรรคส์ งิ่ ประดษิ ฐใ์ หมท่ ม่ี คี ่าและไมท่ าลายสงิ่ แวดลอ้ ม เป็นตน้

11.9. กจิ กรรมหารายได้ เพ่อื ช่วยเหลอื ผยู้ ากไรห้ รอื ดอ้ ยโอกาส เชน่ การแสดงความสามารถดา้ นดนตรี
หรอื สรา้ งผลงานดา้ นศลิ ปะ เพอ่ื หารายไดส้ าหรบั การกุศล เป็นตน้

11.10. กจิ กรรมอ่ื นๆ ทแ่ี สดงถงึ ความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมในลกั ษณะจติ อาสาแต่ไมอ่ ยใู่ นรปู แบบของ
กจิ กรรมทร่ี ะบแุ ลว้ ขา้ งตน้

12.ครแู ละผเู้ รยี นกาหนดกจิ กรรม ตามกระบวนการของกจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ ซง่ึ การ
จดั กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ ดาเนินการตามกระบวนการ 5 ขนั้ ตอน คอื

ขนั้ ท่ี 1 การสารวจเพอ่ื ศกึ ษาสภาพปัจจบุ นั และปัญหาต่างๆ ทงั้ ภายในโรงเรยี นและชมุ ชน
ขนั้ ท่ี 2 การวเิ คราะหห์ าสาเหตุของปัญหาต่างๆ และจดั ลาดบั ปัญหาตามความสาคญั จาเป็นและเรง่ ด่วน
จากมากไปหาน้อย
ขนั้ ท่ี 3 การวางแผน ออกแบบกจิ กรรม และจดั ทาปฏทิ นิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
ขนั้ ท่ี 4 ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตามแผนทว่ี างไว้
ขนั้ ท่ี 5 แลกเปลย่ี นเรยี นรหู้ ลงั จากเสรจ็ สน้ิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรม เพอ่ื ถอดบทเรยี น และสะทอ้ นประเดน็ ดงั น้ี

1) ผลทเ่ี กดิ กบั ผปู้ ฏบิ ตั กิ จิ กรรม
2) ผลทเ่ี กดิ แกส่ งั คมหลงั จากปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
13.ครแู นะนาเพมิ่ เตมิ ใหผ้ เู้ รยี นเขยี นบญั ชแี สดงรายรบั -รายจา่ ยในชวี ติ ประจาวนั เพอ่ื สรา้ งนิสยั ความ
พอเพยี งใหแ้ กต่ นเองและครอบครวั

ขนั้ สรปุ และการประยุกต์
14.ครแู ละผเู้ รยี นร่วมกนั สรุปเน้อื หาทเ่ี รยี นเกย่ี วกบั หลกั การและกระบวนการของพลศกึ ษา สขุ ศกึ ษาและ

นนั ทนาการ และกจิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพ โดยการถามตอบ และจดั กจิ กรรมประกอบ
15.ผเู้ รยี นทากจิ กรรมใบงาน และแบบฝึกหดั ทา้ ยหน่วย

10

16.สรุปโดยการถาม-ตอบ เพ่อื ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวนั และประเมนิ ผเู้ รยี นตามแบบฟอรม์ ต่อไปน้ี

ชอ่ื ผเู้ รยี น ประสบการณ์พน้ื ฐานการเรยี นรู้ วธิ กี ารเรยี นรู้
ความรู้ ทกั ษะ ผลงาน

1.

2.

3.

4.

5.

ส่ือและแหล่งการเรียนรู้

1.หนงั สอื เรยี น วชิ าการพฒั นาทกั ษะชวี ติ เพอ่ื สขุ ภาพและสงั คม
2.รปู ภาพ
3.แผน่ ใส
4.สอ่ื PowerPoint , วดิ ที ศั น์
5.กจิ กรรมการเรยี นการสอน

หลกั ฐาน

1.บนั ทกึ การสอน
2.ใบเชค็ รายช่อื
3.แผนจดั การเรยี นรู้
4.การตรวจประเมนิ ผลงาน

การวดั ผลและการประเมินผล
วิธีวดั ผล

1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม
3. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่
4. คาถามชวนคดิ
5. ใบงาน
6. แบบทดสอบทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้
7. การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม

และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

11

เครอ่ื งมอื วดั ผล

1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ (โดยคร)ู
3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยผเู้ รยี น)
4. ตรวจคาถามชวนคดิ
5. ตรวจใบงาน
6. แบบทดสอบทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้
7. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครแู ละผูเ้ รยี น

ร่วมกนั ประเมนิ

เกณฑก์ ารประเมินผล

1. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ตอ้ งไมม่ ชี ่องปรบั ปรุง
2. เกณฑผ์ ่านการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุม่ คอื ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป)
3. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป)
4. ตรวจคาถามชวนคดิ เกณฑผ์ า่ น และแบบฝึกปฏบิ ตั ิ 50%
5. ตรวจใบงาน มเี กณฑผ์ ่าน 50%
6. แบบทดสอบทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้ มเี กณฑผ์ า่ น 50%
7. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อยู่

กบั การประเมนิ ตามสภาพจรงิ

กิจกรรมเสนอแนะ

1. ทบทวนเน้อื หาหลกั การและกระบวนการของพลศกึ ษา สขุ ศกึ ษาและนนั ทนาการ และกจิ กรรมสง่ เสรมิ
สขุ ภาพ

2. ทากจิ กรรมใบงาน

12

บนั ทึกหลงั การสอน

ข้อสรปุ หลงั การสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาที่พบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

13

แผนการจดั การเรยี นรูแ้ บบบูรณาการที่ 3 หน่วยท่ี 1
สอนครง้ั ท่ี 3 (4-6)
รหสั 3000-1601 การพัฒนาทกั ษะชวี ติ เพ่ือสขุ ภาพและสงั คม (3-0-3)
จานวน 3 ช.ม.
ช่ือหน่วย/เร่อื ง หลกั การและกระบวนการของพลศกึ ษา สขุ ศกึ ษา

และนันทนาการ

สาระสาคญั

คณุ ภาพของประชากรในประเทศเป็นตวั บง่ ชท้ี ส่ี าคญั เป็นอยา่ งยงิ่ ต่อความเจรญิ กา้ วหน้าของประเทศ
การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพตามหลกั การและกระบวนการของพลศกึ ษา สขุ ศกึ ษาและนนั ทนาการ
สง่ ผลต่อการพฒั นาการทางร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญา เพ่อื พฒั นาทกั ษะชวี ติ และสขุ ภาพ

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

4. ยกตวั อย่างกจิ กรรมพรอ้ มบอกหลกั การและเหตุผลในการเลอื กกจิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพได้

5. มกี ารพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา

สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ในเร่อื ง

5.1 ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ 5.6 การประหยดั

5.2 ความมวี นิ ยั 5.7 ความสนใจใฝ่รู

5.3 ความรบั ผดิ ชอบ 5.8 การละเวน้ สง่ิ เสพตดิ และการพนนั

5.4 ความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ 5.9 ความรกั สามคั คี

5.5 ความเช่อื มนั่ ในตนเอง 5.10 ความกตญั ญกู ตเวที

สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั หลกั การและกระบวนการทางพลศกึ ษา สขุ ศกึ ษาและนนั ทนาการเพอ่ื พฒั นา
ทกั ษะชวี ติ และสขุ ภาพ

2. เลอื กปฏบิ ตั กิ จิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพดว้ ยกจิ กรรมพลศกึ ษา สขุ ศกึ ษา และนนั ทนาการตามหลกั การ

เน้ อื หาสาระ

3 หลกั การเลอื กกจิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพ

14

กจิ กรรมการเรียนรู้

ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรียน

1.ครใู ชเ้ ทคนิคการสอนแบบซปิ ปาโมเดล (CIPPA MODEL) โดยการทบทวนความรเู้ ดมิ จากสปั ดาหท์ ผ่ี ่าน
มา โดยดงึ ความรเู้ ดมิ ของผเู้ รยี นในเรอ่ื งทจ่ี ะเรยี น เพ่อื ชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นมคี วามพรอ้ มในการเช่อื มโยงความรใู้ หมก่ บั
ความรเู้ ดมิ ของตน ผสู้ อนใชก้ ารสนทนาซกั ถามใหผ้ เู้ รยี นเลา่ ประสบการณ์เดมิ

2.ครแู ละผเู้ รยี นสนทนาเร่อื งกจิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพดว้ ยกจิ กรรมพลศกึ ษา ประกอบดว้ ย กจิ กรรมเกม
กฬี า กจิ กรรมเขา้ จงั หวะ กจิ กรรมทดสอบสมรรถภาพทางกาย กจิ กรรมนอกเมอื ง และกจิ กรรมแกไ้ ขความพกิ าร
กจิ กรรมสขุ ศกึ ษา ประกอบดว้ ยเกม บทบาทสมมติ กรณตี วั อยา่ ง สถานการณ์จาลอง และละคร สว่ นกจิ กรรม
นนั ทนาการ ประกอบดว้ ย เกมและกฬี าเพอ่ื การแขง่ ขนั ศลิ ปหตั ถกรรม การเตน้ รา การละคร งานอดเิ รก ดนตรี
และการรอ้ งเพลง กจิ กรรมนอกเมอื ง กจิ กรรมทางสงั คม วรรณกรรม กจิ กรรมอาสาสมคั ร และการทอ่ งเทย่ี วทศั น
ศกึ ษา ซง่ึ บางกจิ กรรมสามารถนามาสง่ เสรมิ สขุ ภาพทส่ี รา้ งความสมั พนั ธก์ บั ชมุ ชน และกจิ กรรม
สาธารณประโยชน์

3.ครกู ลา่ วเพมิ่ เตมิ วา่ กจิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพดว้ ยกจิ กรรมพลศกึ ษา สขุ ศกึ ษา และนนั ทนาการ แต่ละชนดิ
มวี ตั ถุประสงคท์ แ่ี ตกต่างกนั การทเ่ี ราจะเขา้ รว่ มกจิ กรรมใดควรศกึ ษาหาขอ้ มลู ใหร้ อบดา้ น

ขนั้ สอน
4.ครใู ชส้ อ่ื Power Point ประกอบการอธบิ ายหลกั การเลอื กกจิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพ สขุ ภาพของรา่ งกาย
กจิ กรรมหรอื งานประจาทท่ี าอยู่ ความถนดั ของแต่ละบคุ คล ฐานะทางเศรษฐกจิ เวลา สถานท่ี และความปลอดภยั
5.ครใู ชเ้ ทคนดิ วธิ กี ารจดั การเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื (Cooperative Learning) เพ่อื ใหผ้ เู้ รยี นไดร้ ว่ มมอื และ
ช่วยเหลอื กนั ในการเรยี นรเู้ ร่อื งปัจจยั ทค่ี วรพจิ ารณาในการเลอื กกจิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพ
6.ครใู ชส้ อ่ื Power Point อธบิ ายทางเลอื กของการทากจิ กรรมทางกาย ดงั น้ี

15

7.ครเู ปิดวดี โี ด เพ่อื เป็นสอ่ื ในการเรยี นเรอ่ื งการใชก้ ระบวนการสขุ ศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาพฤตกิ รรมสขุ ภาพ
การใชก้ ระบวนการสขุ ศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาพฤตกิ รรมสขุ ภาพ จะเกย่ี วขอ้ งกบั การพฒั นาพฤตกิ รรมสขุ ภาพ 2 กลุ่ม

7.1. หลกั การพฒั นาพฤตกิ รรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพ
7.2. หลกั การพฒั นาพฤตกิ รรมป้องกนั โรค จะเกย่ี วขอ้ งกบั พฤตกิ รรมการป้องกนั โรคและภยั ทงั้ การกาจดั
หรอื ลดปัจจยั เสย่ี งทท่ี าใหเ้ กดิ โรคและภยั
8.ผเู้ รยี นแสดงความคดิ เหน็ ว่าในปัจจบุ นั เพ่อื นๆ ทเ่ี รยี นดว้ ยกนั มกี จิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพดว้ ยหลกั การ
และกระบวนการของพลศกึ ษา สขุ ศกึ ษาและนนั ทนาการ หรอื ไมอ่ ยา่ งไร
9.ผเู้ รยี นแสดงความคดิ เหน็ ว่าในชว่ งเวลาทผ่ี ่านมา นกั ศกึ ษาไดม้ กี จิ กรรมอะไรบา้ งทส่ี ง่ เสรมิ สขุ ภาพของ
ตนเองโดยใชห้ ลกั การและกระบวนการใด
10.ผเู้ รยี นแสดงความคดิ เหน็ วา่ ปัจจบุ นั ปัญหาสขุ ภาพของคนไทยมสี าเหตุจากการขาดการออกกาลงั กาย
การทานอาหารทม่ี รี สหวาน มนั เคม็ และเผชญิ กบั ความเครยี ดสงู นกั ศกึ ษาคดิ วา่ ควรมี
11.ผเู้ รยี นบอกแนวทางปฏบิ ตั อิ ยา่ งไรเพ่อื ลดปัญหาสขุ ภาพต่างๆ และเพ่อื ใหม้ สี ขุ ภาพทด่ี ที งั้ กายและใจ
12.ผเู้ รยี นเปรยี บเทยี บหลกั การของพลศกึ ษา สขุ ศกึ ษา และนนั ทนาการตามทค่ี รกู าหนดให้
13.ผเู้ รยี นเปรยี บเทยี บหลกั การของพลศกึ ษา สขุ ศกึ ษา และนนั ทนาการตามทค่ี รกู าหนดให้
14.ผเู้ รยี นเขยี นขนั้ ตอนของการนากระบวนการของพลศกึ ษา และสขุ ศกึ ษา มาใชใ้ นการพฒั นาพฤตกิ รรม
สขุ ภาพ ตามทก่ี าหนดให้
15.ผเู้ รยี นเขยี นขนั้ ตอนของการนากระบวนการของพลศกึ ษา และสขุ ศกึ ษา มาใชใ้ นการพฒั นาพฤตกิ รรม
สขุ ภาพ ตามทก่ี าหนดให้

16

ช่ือกิจกรรม ................................

วธิ กี ารทากจิ กรรม
สง่ิ ทน่ี กั เรยี นไดร้ บั จากการทากจิ กรรม
16.ครอู ภปิ รายเพมิ่ เตมิ วา่ ถา้ ผเู้ รยี นมกี ารกาหนดรายไดใ้ หเ้ พยี งพอกบั รายจ่ายจะเป็นสง่ิ ทส่ี าคญั และ
จาเป็นมาก ทุกคนสามารถนาเงนิ ทเ่ี กบ็ สะสมไวม้ าใชไ้ ดอ้ ยา่ งสะดวกสบายเพอ่ื การดารงชวี ติ ต่อไป หากแต่ละ
บุคคลมเี งนิ ออมเกบ็ สะสมไว้ เพ่อื เป็นทนุ สารองไวใ้ ชจ้ ่ายสาหรบั วยั เกษยี ณ วธิ ที ด่ี ที ส่ี ดุ คอื การวางแผนเพ่อื การ
เกษยี ณอายไุ วต้ งั้ แต่เรมิ่ ตน้ อย่างมรี ะบบตามขนั้ ตอน ซง่ึ แต่ละคนสามารถกาหนดแผนงานและขนั้ ตอนแตกต่างกนั
ออกไปตามความเหมาะสมกบั สภาพการดารงชวี ติ
17.ครสู อนเพมิ่ เตมิ เกย่ี วกบั การทาหน้าทเ่ี ป็นพลเมอื งดขี องสงั คมไทย รจู้ กั เออ้ื เฟ้ือเผ่อื แผ่ต่อผอู้ น่ื

สรปุ และการประยกุ ต์

18.ครแู ละผเู้ รยี นช่วยกนั สรุปเนอ้ื หาทเ่ี รยี นเพ่อื การเลอื กปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเพอ่ื สง่ เสรมิ สขุ ภาพ ทงั้ กจิ กรรม
พลศกึ ษา สขุ ศกึ ษา นนั ทนาการ และกจิ กรรมสรา้ งความสมั พนั ธก์ บั ชมุ ชน และกจิ กรรมสาธารณประโยชน์ ควร
เลอื กใหเ้ หมาะสมกบั สขุ ภาพร่างกาย กจิ กรรมหรอื งานประจาทท่ี าอยู่ ความถนดั ของแต่ละบคุ คล ฐานะทาง
เศรษฐกจิ เวลา สถานทแ่ี ละความปลอดภยั โดยมเี ป้าหมายเพอ่ื พฒั นาพฤตกิ รรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพ หรอื
พฒั นาพฤตกิ รรมป้องกนั โรค
19.ผเู้ รยี นทากจิ กรรมใบงาน และแบบฝึกหดั ทา้ ยหน่วย
20.ผเู้ รยี นวเิ คราะหเ์ น้อื หาการเรยี นการสอนและหาขอ้ สรปุ เป็นความคดิ รวบยอดเพ่อื นาไปประยกุ ตใ์ ช้
ต่อไป พรอ้ มขอ้ เสนอแนะตนเอง
21.ประเมนิ ธรรมชาตขิ องผเู้ รยี น

ชอ่ื ผเู้ รยี น ธรรมชาตขิ องผเู้ รยี น วธิ กี ารเรยี นรู้
ความสนใจ สตปิ ัญญา วฒุ ภิ าวะ

1.

2.

3.

สื่อและแหล่งการเรียนรู้

1.หนงั สอื เรยี น วชิ าการพฒั นาทกั ษะชวี ติ เพอ่ื สขุ ภาพและสงั คม
2.รปู ภาพ
3.กจิ กรรมการเรยี นการสอน
4.สอ่ื PowerPoint
5.แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน

17

หลกั ฐาน

1.บนั ทกึ การสอน
2.ใบเชค็ รายช่อื
3.แผนจดั การเรยี นรู้
4.การตรวจประเมนิ ผลงาน

การวดั ผลและการประเมินผล

วิธีวดั ผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุม่
3. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม
4. คาถามชวนคดิ
5. ใบงาน
6. แบบทดสอบทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้
7. การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม

และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
เครอื่ งมอื วดั ผล
1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ (โดยคร)ู
3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยผเู้ รยี น)
4. ตรวจคาถามชวนคดิ
5. ตรวจใบงาน
6. แบบทดสอบทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้
7. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครแู ละผเู้ รยี น

รว่ มกนั ประเมนิ
เกณฑก์ ารประเมินผล
1. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ตอ้ งไมม่ ชี อ่ งปรบั ปรงุ
2. เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม คอื ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป)
3. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป)

เกณฑก์ ารประเมนิ มเี กณฑ์ 4 ระดบั คอื 4= ดมี าก, 3 = ด,ี 2 = พอใช้ , 1= ควรปรบั ปรุง
4. ตรวจคาถามชวนคดิ เกณฑผ์ า่ น และแบบฝึกปฏบิ ตั ิ 50%
5. ตรวจใบงาน มเี กณฑผ์ ่าน 50%
6. แบบทดสอบทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้ มเี กณฑผ์ ่าน 50%

18

7. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อย่กู บั การประเมนิ ตาม
สภาพจรงิ

กิจกรรมเสนอแนะ

1.แนะนาใหผ้ เู้ รยี นอา่ นทบทวนเน้อื หาเพมิ่ เตมิ
2.ทากจิ กรรมใบงาน และแบบฝึกหดั

บนั ทึกหลงั การสอน

ข้อสรปุ หลงั การสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาท่ีพบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

19

แผนการจดั การเรยี นรูแ้ บบบูรณาการท่ี 4 หน่วยที่ 2

รหสั 3000-1601 การพัฒนาทกั ษะชวี ิตเพ่ือสขุ ภาพและสงั คม (3-0-3) สอนคร้งั ที่ 4 (7-9)
จานวน 3 ช.ม.
ชือ่ หน่วย/เรือ่ ง สขุ ภาพกบั การพฒั นาคณุ ภาพชีวิต

สาระสาคญั

สขุ ภาพมคี วามสาคญั กบั การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ เพราะเป็นการพฒั นาคนในทกุ ดา้ น และเป็น
องคป์ ระกอบแรกในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ การปรบั ปรงุ สง่ เสรมิ หรอื ดารงรกั ษาสขุ ภาพเป็นหน้าทแ่ี ละ
ความรบั ผดิ ชอบ ของบคุ คลทม่ี ตี ่อตนเองซง่ึ จะตอ้ งปฏบิ ตั กิ จิ กรรมในดา้ นการสง่ เสรมิ สขุ ภาพในชวี ติ ประจาวนั
อย่างสม่าเสมอโดยใชห้ ลกั การวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

1 อธบิ ายความหมายและความสาคญั ของสขุ ภาพได้

2 วเิ คราะหป์ ัจจยั ทส่ี ง่ ผลต่อสขุ ภาพได้

3 วเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพฤตกิ รรมสขุ ภาพกบั การเกดิ โรคได้

4 อธบิ ายความหมายและความสาคญั ของการดแู ลสขุ ภาพตนเองได้

5 อธบิ ายวธิ กี ารดแู ลสขุ ภาพโดยใชห้ ลกั การวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพได้

6. มกี ารพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผู้สาเร็จการศึกษา

สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ในเรอ่ื ง

6.1 ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ 6.6 การประหยดั

6.2 ความมวี นิ ยั 6.7 ความสนใจใฝ่รู้

6.3 ความรบั ผดิ ชอบ 6.8 การละเวน้ สงิ่ เสพตดิ และการพนนั

6.4 ความซ่อื สตั ยส์ จุ รติ 6.9 ความรกั สามคั คี

6.5 ความเชอ่ื มนั่ ในตนเอง 6.10 ความกตญั ญกู ตเวที

สมรรถนะรายวิชา

2. เลอื กปฏบิ ตั กิ จิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพดว้ ยกจิ กรรมพลศกึ ษา สขุ ศกึ ษาและนนั ทนาการตามหลกั การ

เน้ ือหาสาระ

1 การดแู ลสขุ ภาพเพ่อื พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ

20

กิจกรรมการเรียนรู้
ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรยี น

1.ครแู ละผเู้ รยี นสนทนาเกย่ี วกบั การพฒั นาบคุ คลใหม้ สี ขุ ภาพดไี ดน้ นั้ จะตอ้ งแสดงออกซง่ึ ความมชี วี ติ ชวี า
ของสภาพร่างกายทส่ี งั เกตเหน็ ไดอ้ ยา่ งชดั แจง้ และตอ้ งแสดงถงึ ความสามารถในการปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั สถานการณ์
และสง่ิ แวดลอ้ มไดอ้ ย่างเหมาะสม ซง่ึ สขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ เป็นองคป์ ระกอบทส่ี าคญั ยง่ิ ของความเป็นผทู้ ม่ี ี
สขุ ภาพดี

2.ผเู้ รยี นยกตวั อย่างการพฒั นาบคุ คลใหม้ สี ขุ ภาพดขี น้ึ ทพ่ี บเหน็ ในชวี ติ ประจาวนั
3.ผเู้ รยี นดภู าพและแสดงความคดิ เหน็ การพฒั นาบุคคลในลกั ษณะต่างๆ

ขนั้ สอน

4. ครใู ชส้ อ่ื Power Point และรปู ภาพประกอบการอธบิ ายเรอ่ื งการดแู ลสขุ ภาพเพอ่ื พฒั นาคุณภาพชวี ติ
5.ครกู ล่าวถงึ ความสาคญั ของสขุ ภาพกบั การพฒั นาคุณภาพชวี ติ แบ่งออกไดเ้ ป็น 3 ระดบั ดงั น้ี

5.1. ความสาคญั ต่อตนเอง
5.2. ความสาคญั ต่อครอบครวั
5.3. ความสาคญั ต่อสงั คม
6. ครใู ชส้ อ่ื วดิ ที ศั น์ ประกอบการอธบิ ายเรอ่ื งการพฒั นาบุคคลใหม้ สี ขุ ภาพดไี ดน้ นั้ จะตอ้ งแสดงออกซง่ึ
ความมชี วี ติ ชวี าของสภาพรา่ งกายทส่ี งั เกตเหน็ ไดอ้ ย่างชดั แจง้ และตอ้ งแสดงถงึ ความสามารถในการปรบั ตวั ให้
เขา้ กบั สถานการณ์ และสงิ่ แวดลอ้ มไดอ้ ย่างเหมาะสม ซง่ึ สขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ เป็นองคป์ ระกอบทส่ี าคญั ยงิ่
ของความเป็นผทู้ ม่ี สี ขุ ภาพดี
7.ครใู ชเ้ ทคนิคการบรรยายเพ่อื อธบิ ายคณุ ภาพของคุณภาพชวี ติ (Quality of life) ซง่ึ องคก์ าร
สหประชาชาติ ไดเ้ สนอองคป์ ระกอบของการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ไว้ 9 ดา้ น คอื

7.1. ดา้ นสขุ ภาพ
7.2. ดา้ นการบรโิ ภคอาหาร
7.3. ดา้ นการศกึ ษา
7.4. ดา้ นอาชพี และสภาพของงานทท่ี า
7.5. ดา้ นบา้ นเรอื นทอ่ี ยอู่ าศยั
7.6. ดา้ นหลกั ประกนั ทางสงั คม
7.7. ดา้ นเคร่อื งนุ่งห่ม
7.8. ดา้ นสถานทพ่ี กั ผ่อน และเวลาพกั ผ่อน
7.9. ดา้ นสทิ ธมิ นุษยชน
8.ครอู ธบิ ายแนวคดิ เกย่ี วกบั การดแู ลสขุ ภาพ สขุ ภาพจดั เป็นสทิ ธขิ นั้ พน้ื ฐานของมนุษยชน การปรบั ปรงุ
สง่ เสรมิ หรอื ดารงรกั ษาสขุ ภาพเป็นหน้าทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบของบุคคลทพ่ี งึ มตี ่อตนเอง การจะมภี าวะสขุ ภาพท่ี
พงึ ปรารถนานนั้ บคุ คลจะตอ้ งมแี นวคดิ ทถ่ี กู ตอ้ ง และเป็นระบบในเรอ่ื งสขุ ภาพเป็นพน้ื ฐาน

21

9. ครแู สดงรปู ภาพผ่านสอ่ื Power Point และอธบิ ายเรอ่ื งปัจจยั ทส่ี ง่ ผลต่อสขุ ภาพ และความสมั พนั ธ์
ระหว่างพฤตกิ รรมสขุ ภาพกบั การเกดิ โรค

10. ครใู ชส้ อ่ื วดี ทิ ศั น์ซง่ึ แสดงสว่ นประกอบและอธบิ ายเร่อื งปัจจยั ทส่ี ง่ ผลต่อสขุ ภาพ และความสมั พนั ธ์
ระหวา่ งพฤตกิ รรมสขุ ภาพกบั การเกดิ โรค โดยผเู้ รยี นจดบนั ทกึ สาระสาคญั

11.ครใู หค้ วามรเู้ พม่ิ เตมิ นอกเหนือจากเน้อื หาการเรยี นการสอน เกย่ี วกบั เง่ือนไขตามหลกั เศรษฐกิจ
พอเพียง ในการตดั สนิ ใจและการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมต่าง ๆ ใหอ้ ยใู่ นระดบั พอเพยี งนนั้ ตอ้ งอาศยั ทงั้ ความรู้ และ
คณุ ธรรมเป็นพน้ื ฐาน กล่าวคอื

(1) เงอ่ื นไขความรู้ เป็นความรอบรเู้ กย่ี วกบั วชิ าการต่าง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ความรอบคอบทจ่ี ะนาความรู้
เหลา่ นนั้ มาพจิ ารณาใหเ้ ชอ่ื มโยงกนั เพอ่ื การวางแผน และความระมดั ระวงั ในขนั้ ปฏบิ ตั ิ

(2) เงอ่ื นไขคณุ ธรรม เป็นสงิ่ ทต่ี อ้ งเสรมิ สรา้ งใหม้ คี วามตระหนกั ในคณุ ธรรม มคี วามซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ และมี
ความอดทน มคี วามเพยี ร ใชส้ ตปิ ัญญาในการดาเนินชวี ติ

ขนั้ สรปุ และการประยุกต์

12.ครแู ละผเู้ รยี นชว่ ยกนั สรปุ เน้อื หาทเ่ี รยี น

13.ประเมนิ ผเู้ รยี นตามแบบฟอรม์ ต่อไปน้ี

แบบประเมนิ ประสบการณ์พน้ื ฐาน

ชอ่ื ผเู้ รยี น ประสบการณ์พน้ื ฐานการเรยี นรู้ วธิ กี ารเรยี นรู้
ความรู้ ทกั ษะ ผลงาน

1.

2.

3.

4.

5.

22

สอ่ื และแหลง่ การเรียนรู้

1.หนงั สอื เรยี น วชิ าการพฒั นาทกั ษะชวี ติ เพอ่ื สขุ ภาพและสงั คม
2.รปู ภาพ
3.กจิ กรรมการเรยี นการสอน
4.แผ่นใส
5.สอ่ื PowerPoint , วดิ ที ศั น์

หลกั ฐาน

1.บนั ทกึ การสอน
2.ใบเชค็ รายช่อื
3.แผนจดั การเรยี นรู้
4.การตรวจประเมนิ ผลงาน

การวดั ผลและการประเมินผล

วิธีวดั ผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่
3. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม
4. คาถามชวนคดิ
5. ใบงาน
6. แบบทดสอบทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้
7. การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
เครอ่ื งมือวดั ผล
1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกล่มุ (โดยคร)ู
3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยผเู้ รยี น)
4. ตรวจคาถามชวนคดิ
5. ตรวจใบงาน
6. แบบทดสอบทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้
7. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครแู ละผเู้ รยี น

รว่ มกนั ประเมนิ
เกณฑก์ ารประเมินผล
1. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ตอ้ งไมม่ ชี อ่ งปรบั ปรงุ
2. เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม คอื ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป)

23

3. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป)
4. ตรวจคาถามชวนคดิ เกณฑผ์ ่าน และแบบฝึกปฏบิ ตั ิ 50%
5. ตรวจใบงาน มเี กณฑผ์ ่าน 50%
6. แบบทดสอบทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้ มเี กณฑผ์ า่ น 50%
7. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อย่กู บั
การประเมนิ ตามสภาพจรงิ

กิจกรรมเสนอแนะ

1.ทากจิ กรรมใบงาน
2.อา่ นและทบทวนบทเรยี น

24

บนั ทึกหลงั การสอน

ข้อสรปุ หลงั การสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาท่ีพบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแกป้ ัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

25

แผนการจดั การเรยี นรูแ้ บบบูรณาการที่ 5 หน่วยท่ี 2

รหสั 3000-1601 การพัฒนาทกั ษะชีวติ เพ่ือสขุ ภาพและสงั คม (3-0-3) สอนครง้ั ท่ี 5 (10-12)
จานวน 3 ช.ม.
ชื่อหนว่ ย/เรือ่ ง สุขภาพกบั การพฒั นาคณุ ภาพชีวิต

สาระสาคญั

สขุ ภาพมคี วามสาคญั กบั การพฒั นาคุณภาพชวี ติ เพราะเป็นการพฒั นาคนในทกุ ดา้ น และเป็น
องคป์ ระกอบแรกในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ การปรบั ปรงุ สง่ เสรมิ หรอื ดารงรกั ษาสขุ ภาพเป็นหน้าทแ่ี ละความ
รบั ผดิ ชอบ ของบุคคลทม่ี ตี ่อตนเองซง่ึ จะตอ้ งปฏบิ ตั กิ จิ กรรมในดา้ นการสง่ เสรมิ สขุ ภาพในชวี ติ ประจาวนั อยา่ งสม่า
เสมอโดยใชห้ ลกั การวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

4 อธบิ ายความหมายและความสาคญั ของการดแู ลสขุ ภาพตนเองได้
5 อธบิ ายวธิ กี ารดแู ลสขุ ภาพโดยใชห้ ลกั การวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพได้
6. มกี ารพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา

สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ในเร่อื ง
6.1 ความมมี นุษยสมั พนั ธ์
6.2 ความมวี นิ ยั
6.3 ความรบั ผดิ ชอบ
6.4 ความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ
6.5 ความเช่อื มนั่ ในตนเอง
6.6 การประหยดั
6.7 ความสนใจใฝ่รู้
6.8 การละเวน้ สงิ่ เสพตดิ และการพนนั
6.9 ความรกั สามคั คี
6.10 ความกตญั ญกู ตเวที

สมรรถนะรายวิชา

2. เลอื กปฏบิ ตั กิ จิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพดว้ ยกจิ กรรมพลศกึ ษา สขุ ศกึ ษาและนนั ทนาการตามหลกั การ

เน้ือหาสาระ

2 การดแู ลสขุ ภาพตนเอง

26

กิจกรรมการเรียนรู้
ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรียน

1.ครใู ชเ้ ทคนิคการสอนแบบซปิ ปาโมเดล (CIPPA MODEL) โดยการทบทวนความรเู้ ดมิ จากสปั ดาหท์ ผ่ี ่าน
มา โดยดงึ ความรเู้ ดมิ ของผเู้ รยี นในเร่อื งทจ่ี ะเรยี น เพ่อื ชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นมคี วามพรอ้ มในการเช่อื มโยงความรใู้ หม่กบั
ความรเู้ ดมิ ของตน ผสู้ อนใชก้ ารสนทนาซกั ถามใหผ้ เู้ รยี นเล่าประสบการณ์เดมิ

2.ครแู ละผเู้ รยี นทบทวนเกย่ี วกบั สขุ ภาพเป็นองคป์ ระกอบทส่ี าคญั ทส่ี ดุ และมคี วามสาคญั กบั การพฒั นา
คณุ ภาพชวี ติ ทงั้ ต่อตนเอง ครอบครวั และสงั คม โดยทส่ี ขุ ภาพเป็นภาวะทไ่ี ม่หยดุ นง่ิ ขน้ึ อย่กู บั การดแู ลและเอาใจ
ใสก่ บั สขุ ภาพ และเหน็ คุณคา่ ของชวี ติ เป็นความสาคญั ของการดารงอยใู่ นสงั คม ปัจจยั ทส่ี ง่ ผลต่อสขุ ภาพ ไดแ้ ก่
พฤตกิ รรมสขุ ภาพ สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ พนั ธกุ รรม และบรกิ ารสขุ ภาพ ซง่ึ พฤตกิ รรมสขุ ภาพมี
ความสมั พนั ธก์ บั การเกดิ โรคผเู้ รยี นยกตวั อย่างเคร่อื งใชไ้ ฟฟ้าทใ่ี หพ้ ลงั งานกล

3.ครสู นทนากบั ผเู้ รยี นถงึ การดแู ลสขุ ภาพของตนเองเป็นกระบวนการทป่ี ระชาชนสามารถทากจิ กรรม
ต่างๆ ไดแ้ ก่ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ การป้องกนั สขุ ภาพ การวเิ คราะหโ์ รค รวมทงั้ การรกั ษาในขนั้ ปฐมภมู ไิ ด้
ดว้ ยตนเอง

ขนั้ สอน
4.ครใู ชเ้ ทคนคิ วธิ สี อนแบบบรรยายเพอ่ื อธบิ ายการดแู ลสขุ ภาพตนเอง ซง่ึ สามารถจาแนกบทบาทการดแู ล
สขุ ภาพตนเอง ไดด้ งั น้ี

4.1. การบารงุ รกั ษาสขุ ภาพของตน
4.2. การป้องกนั โรคภยั ไขเ้ จบ็ ต่างๆ
4.3. การวนิ ิจฉยั ความผดิ ปกติ หรอื พยากรณ์สภาพทเ่ี กดิ ขน้ึ ดว้ ยตนเอง
4.4. การรกั ษาดว้ ยการใชย้ า และวธิ ตี ่างๆ
4.5. การมสี ว่ นร่วมในการดแู ลรกั ษาทก่ี ารแพทยว์ ชิ าชพี ซง่ึ เป็นบรกิ ารของรฐั จดั ให้
5.ครใู ชส้ อ่ื วดิ ที ศั น์ เพ่อื แสดงจุดประสงคใ์ นการดแู ลตนเองเพ่อื สนองตอบต่อความตอ้ งการ การดแู ลท่ี
จาเป็น และการดแู ลตนเองเป็นพฤตกิ รรมทเ่ี รยี นรภู้ ายใตข้ นบธรรมเนยี ม ประเพณี และวฒั นธรรมของบคุ คลแต่
ละกลมุ่ โดยมจี ุดประสงค์ เพ่อื
5.1. ประคบั ประคองกระบวนการชวี ติ และสนบั สนุนการดาเนนิ ชวี ติ อย่างปกตสิ ขุ
5.2. ผดงุ ไวซ้ ง่ึ การเจรญิ เตบิ โต พฒั นาการ และวฒุ ภิ าวะทเ่ี หมาะสม
5,3. ป้องกนั ควบคมุ บาบดั รกั ษาโรค และการไดร้ บั ภยนั ตรายตา่ งๆ
5,4. ป้องกนั หรอื ปรบั ตวั ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความบกพร่องของสมรรถภาพของบุคคล
6.ครใู ชเ้ ทคนิคการเรยี นแบบอภปิ รายเพ่อื ใหผ้ เู้ รยี นแลกเปลย่ี นความรแู้ ละความคดิ เหน็ กนั โดยใหผ้ เู้ รยี น
อภปิ รายร่วมกนั ในเรอ่ื งความสาคญั ของการดแู ลสขุ ภาพตนเอง และแนวคดิ พน้ื ฐานเกย่ี วกบั การดแู ลตนเอง
7.ครใู ชส้ อ่ื Power Point อธบิ ายองคป์ ระกอบหลกั ของการดแู ลตนเองประกอบดว้ ย
7.1. การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ (Health promotion)
7.2. การดารงรกั ษาสขุ ภาพ (Health maintenance)

27
7.3. การป้องกนั โรค (Disease prevention)
7.4. การตรวจคน้ หาโรค (Disease protection)
7.5. การบรหิ ารจดั การโรค (Disease management)
8.ครใู ชส้ อ่ื Power Point เพอ่ื บอกวธิ กี ารดแู ลสขุ ภาพโดยใชห้ ลกั การวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ ซง่ึ ควรจะตอ้ งใส่
ใจในเร่อื งจาเป็นพน้ื ฐาน ดงั น้ี
8.1. อาหาร และโภชนาการ
8.2. การออกกาลงั กาย
8.3. การพกั ผ่อน
8.4. การนนั ทนาการ
8.5. การขบั ถ่าย

9.ครแู ละผเู้ รยี นอภปิ รายเน้อื หาความสาคญั ของอาหารกบั สขุ ภาพ ผลต่อรา่ งกาย ผลต่อสตปิ ัญญา ผลต่อ
อารมณ์ พรอ้ มยกตวั อย่างประกอบในแต่ละกรณี

10.ผเู้ รยี นบอกขอ้ แนะนาในการการดแู ลตนเองเรอ่ื งการบรโิ ภคอาหาร และแสดงรปู ภาพจากวดิ โี อ
ประกอบดว้ ย

10.1. รบั ประทานอาหารครบ 5 หมู่
10.2. รบั ประทานขา้ วเป็นอาหารหลกั
10.3. รบั ประทานพชื ผกั ใหม้ าก

28

10.4. รบั ประทานปลา เน้อื สตั วไ์ มต่ ดิ มนั ไขแ่ ละถวั่ เมลด็ แหง้ เป็นประจา
10.5. ดม่ื นมใหเ้ หมาะสมตามวยั
10.6. รบั ประทานอาหารทม่ี ไี ขมนั แต่พอควร
10.7. หลกี เลย่ี งการรบั ประทานอาหารรสหวาน และรสเคม็ จดั
10.8. รบั ประทานอาหารทส่ี ะอาดปราศจากการปนเป้ือน
10.9. งดหรอื ลดเคร่อื งดม่ื ทม่ี แี อลกอฮอล์
11.ครใู ชส้ อ่ื Power Point เพ่อื ประกอบการสอนเร่อื งการบรโิ ภคอาหารตามหลกั โภชนาการแลว้ ควรเลอื ก
รบั ประทานอาหารใหไ้ ดส้ ดั สว่ นในปรมิ าณทเ่ี หมาะสมกบั อายุ เพศ และกจิ กรรมประจาวนั ตามธงโภชนาการ
เพราะธงโภชนาการจะบอกถงึ ปรมิ าณ สดั สว่ น และความหลากหลายของอาหารทค่ี นไทยควรบรโิ ภคใน 1 วนั
โดยนาเอาอาหารหลกั 5 หมู่ มาแบ่งเป็น 4 ขนั้ 6 กลุม่ ดงั น้ี

12.ผเู้ รยี นชว่ ยกนั อภปิ รายเกย่ี วกบั ขอ้ แนะนาในการการดแู ลตนเองเร่อื งการออกกาลงั กาย
13.ครใู ชส้ อ่ื Power Point ประกอบการสอนเรอ่ื งการดแู ลตนเองเรอ่ื งการนอนหลบั การดแู ลตนเองเรอ่ื ง
การขบั ถ่าย
14.ผเู้ รยี นแสดงความคดิ เหน็ ว่าตนเองมสี ขุ ภาพเป็นอยา่ งไรเพราะเหตุใดจงึ คดิ เช่นนนั้
15.ผเู้ รยี นเขยี นบรรยายวา่ ตนเองนนั้ มแี บบแผนการดาเนนิ ชวี ติ เป็นอยา่ งไร
16.ผเู้ รยี นแสดงความคดิ เหน็ ว่าในอนาคตนกั ศกึ ษาคดิ วา่ ตนเองจะตอ้ งปรบั ปรงุ พฤตกิ รรมสขุ ภาพอย่างไร
เพ่อื ใหม้ สี ขุ ภาพทด่ี ี

29

17.ผเู้ รยี นเขยี นแผนผงั แบบกา้ งปลา สรปุ ปัจจยั ทส่ี ง่ ผลต่อสขุ ภาพ
18.ผเู้ รยี นทาแผนผงั ความคดิ (mind maping) สรปุ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างพฤตกิ รรมสขุ ภาพกบั การเกดิ โรค
19.ครใู หค้ วามรเู้ พมิ่ เตมิ ในการทาบญั ชีรายรบั -รายจา่ ย ซง่ึ เป็นการจดบนั ทกึ เหตุการณ์ต่าง ๆ เกย่ี วกบั

การเงนิ หรอื บางสว่ นเกย่ี วขอ้ งกบั การเงนิ โดยผา่ นการวเิ คราะห์ จดั ประเภทและบนั ทกึ ไวใ้ นแบบฟอรม์ ทก่ี าหนด
เพอ่ื แสดงฐานะการเงนิ และผลการดาเนินงานของตนเองหรอื ครอบครวั ในชว่ งระยะเวลาหน่งึ เป็นวธิ ตี รวจสอบการ
ใชจ้ า่ ยของครอบครวั วา่ มรี ายจ่ายสมดุลกบั รายรบั และใชจ้ า่ ยอยา่ งมเี หตุผลตามความจาเป็น พอเหมาะกบั สภาพ
ครอบครวั หรอื ไม่ หากสามารถปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมการบรโิ ภค เพ่อื ลดรายจ่ายทไ่ี มจ่ าเป็นเกนิ ตนได้ จะชว่ ยใหม้ ี
เงนิ เกบ็ ออมเพอ่ื เป็นรากฐานสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ทดี ใี นชวี ติ ได้

ข้นั สรุปและการประยุกต์

20.ครแู ละผเู้ รยี นสรปุ เน้อื หาทเ่ี รยี นการดแู ลสขุ ภาพตนเองเป็นกระบวนการทบ่ี คุ คลกระทาอย่าง

กระตอื รอื รน้ เพ่อื ใหเ้ กดิ ผลดตี ่อสขุ ภาพของตวั เอง ประกอบดว้ ยการสง่ เสรมิ สขุ ภาพการดารงรกั ษาสขุ ภาพ การ

ป้องกนั โรค การตรวจคน้ หาโรค และการบรหิ ารจดั การโรค การดแู ลสขุ ภาพโดยการใชห้ ลกั วทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ

เพอ่ื ใหม้ ภี าวะสขุ ภาพทด่ี ี ควรจะใสใ่ จในเรอ่ื งจาเป็นพน้ื ฐาน คอื ดา้ นอาหารและโภชนาการดา้ นการออกกาลงั กาย

ดา้ นการพกั ผอ่ น ดา้ นนนั ทนาการ และดา้ นการขบั ถ่าย

21.ผเู้ รยี นทากจิ กรรมใบงาน คาถามชวนคดิ แบบฝึกหดั ทา้ ยหน่วย และประเมนิ ผเู้ รยี นตามแบบฟอรม์

ดงั ต่อไปน้ี

ชื่อผเู้ รยี น ประสบการณ์พืน้ ฐานการเรยี นรู้ วิธีการเรยี นรู้
ความรู้ ทกั ษะ ผลงาน

1.

2.

3.

4.

5.

สอ่ื และแหลง่ การเรยี นรู้

1.หนงั สอื เรยี น วชิ าการพฒั นาทกั ษะชวี ติ เพอ่ื สขุ ภาพและสงั คม
2.รปู ภาพ
3.กจิ กรรมการเรยี นการสอน
4.แผน่ ใส
5.สอ่ื PowerPoint , วดิ ที ศั น์

30

หลกั ฐาน

1.บนั ทกึ การสอน
2.ใบเชค็ รายชอ่ื
3.แผนจดั การเรยี นรู้
4.การตรวจประเมนิ ผลงาน

การวดั ผลและการประเมินผล

วิธีวดั ผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่
3. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกล่มุ
4. คาถามชวนคดิ
5. ใบงาน
6. แบบทดสอบทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้
7. การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ

ประสงค์
เครอ่ื งมือวดั ผล
1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ (โดยคร)ู
3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุม่ (โดยผเู้ รยี น)
4. ตรวจคาถามชวนคดิ
5. ตรวจใบงาน
6. แบบทดสอบทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้
7. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครแู ละผเู้ รยี น

ร่วมกนั ประเมนิ

เกณฑก์ ารประเมินผล
1. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ตอ้ งไมม่ ชี อ่ งปรบั ปรุง
2. เกณฑผ์ ่านการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป)
3. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป)
4. ตรวจคาถามชวนคดิ เกณฑผ์ า่ น และแบบฝึกปฏบิ ตั ิ 50%
5. ตรวจใบงาน มเี กณฑผ์ า่ น 50%
6. แบบทดสอบทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้ มเี กณฑผ์ ่าน 50%

31

7 แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อยกู่ บั
การประเมนิ ตามสภาพจรงิ

กิจกรรมเสนอแนะ

1.ครแู นะนาใหผ้ เู้ รยี นอ่านทบทวนเน้อื หา และทากจิ กรรมใบงาน
2.ผเู้ รยี นควรหาขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ จากสอ่ื และแหล่งความรอู้ ่นื ๆ

32

บนั ทึกหลงั การสอน

ข้อสรปุ หลงั การสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาท่ีพบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแกป้ ัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

33

แผนการจดั การเรยี นรูแ้ บบบูรณาการที่ 6 หน่วยท่ี 3

รหสั 3000-1601 การพัฒนาทกั ษะชีวิตเพ่ือสขุ ภาพและสงั คม (3-0-3) สอนครง้ั ที่ 6 (13-15)
จานวน 3 ช.ม.
ชื่อหน่วย/เร่ือง การออกกาลงั กายเพอ่ื สขุ ภาพ

สาระสาคญั

การออกกาลงั กายเพอ่ื สขุ ภาพ มบี ทบาทมากในการพฒั นาสขุ ภาพทงั้ ทางรา่ งกายและจติ ใจ เพราะเป็นการ
ออกกาลงั กายทเ่ี น้นวธิ กี ารใหร้ า่ งกายเกดิ การพฒั นาและรกั ษาสขุ ภาพใหส้ มบรู ณ์แขง็ แรงโดยเลอื กกจิ กรรมเพ่อื
สง่ เสรมิ ความแขง็ แรงของกลา้ มเน้อื ความอดทนของระบบไหลเวยี นของโลหติ และสง่ เสรมิ ความสวยงามของ
รปู รา่ ง

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

1 อธบิ ายผลของการออกกาลงั กายทม่ี ตี ่อระบบต่างๆของรา่ งกายได้

2 เลอื กประเภทการออกกาลงั กายทเ่ี หมาะสมกบั ตนเองได้

3 อธบิ ายวธิ กี ารฝึกการออกกาลงั กายเพอ่ื พฒั นาระบบหายใจ กลา้ มเน้อื และความยดื หยุ่นของขอ้ ต่อ

และกลา้ มเน้อื

4. มกี ารพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา

สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทค่ี รสู ามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเร่อื ง

4.1 ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ 4.7 ความสนใจใฝ่รู้

4.2 ความมวี นิ ยั 4.8 การละเวน้ สงิ่ เสพตดิ และการพนนั

4.3 ความรบั ผดิ ชอบ 4.9 ความรกั สามคั คี

4.4 ความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ 4.10 ความกตญั ญกู ตเวที

4.5 ความเชอ่ื มนั่ ในตนเอง

4.6 การประหยดั

สมรรถนะรายวิชา

2. เลอื กปฏบิ ตั กิ จิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพดว้ ยกจิ กรรมพลศกึ ษา สขุ ศกึ ษาและนนั ทนาการตามหลกั การ

เน้ อื หาสาระ

1 ความรเู้ รอ่ื ง การออกกาลงั กายเพ่อื สขุ ภาพ

34

กิจกรรมการเรยี นรู้
ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรยี น

1.ครกู ล่าววา่ การออกกาลงั กายเป็นผลของพฤตกิ รรมสขุ ภาพอกี อยา่ งหน่งึ ทบ่ี คุ คลสามารถนามาปฏบิ ตั ิ
ในชวี ติ ประจาวนั เพอ่ื ใหม้ สี ขุ ภาพแขง็ แรงสมบรู ณ์

2.ผเู้ รยี นยกตวั อย่างการออกกาลงั กายทเ่ี คยปฏบิ ตั มิ า
3.ผเู้ รยี นแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั การออกกาลงั กายโดยทวั่ ไป

ขนั้ สอน

4.ครแู ละผเู้ รยี นใชส้ อ่ื วดี ทิ ศั น์เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นไดศ้ กึ ษาหาความรเู้ รอ่ื ง การออกกาลงั กายเพ่อื สขุ ภาพ โดย
อธบิ ายความหมายดงั น้ี

การออกกาลงั กาย (Exercise) หมายถงึ การเขา้ ร่วมกจิ กรรมทางกายทงั้ หลายทม่ี บี ุคคลเลอื กกระทา
เพอ่ื ตอ้ งการใหร้ า่ งกายไดร้ บั การเคลอ่ื นไหว ช่วยใหก้ ลา้ มเน้อื ไดท้ างาน สง่ เสรมิ ใหร้ ่างกายแขง็ แรง ทรวดทรงดี
ปอดและหวั ใจทางานอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยมกี จิ กรรมทม่ี กี ารวางแผนเป็นลาดบั ขนั้ เพ่อื เพม่ิ ความฟิตของ
ร่างกายโดยรวม ในแผนการออกกาลงั กายจะตอ้ งมรี ะยะเวลา ความหนกั ความถ่ี และสามารถปรบั เพม่ิ ให้
เหมาะสม

การเลน่ กีฬา (Sports) หมายถงึ การกระทากจิ กรรมภายใตก้ ฎกตกิ าการเล่น ซง่ึ นอกเหนอื จากความ
หนกั ของกจิ กรรมทท่ี าแลว้ ยงั ตอ้ งการทกั ษะการเลน่ ดงั นนั้ การเลน่ กฬี าจงึ ควรใชค้ วามระมดั ระวงั ใหม้ ากสาหรบั
คนทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพในการทางานของหวั ใจปอดและกลา้ มเน้อื ต่า

กิจกรรมทางกาย (Physical Activity) หมายถงึ การเคลอ่ื นไหวรา่ งกายใดๆ ไมจ่ ากดั ความหนกั ของ
การเคลอ่ื นไหว เป็นกจิ กรรมทต่ี า่ งกบั การออกกาลงั กายทไ่ี มไ่ ดม้ กี ารวางแผนเพ่อื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการทางาน
ของอวยั วะต่างๆ ในรา่ งกาย สว่ นใหญ่เป็นกจิ กรรมทจ่ี าเป็นตอ้ งทาในชวี ติ ประจาวนั เชน่ การกวาดถบู า้ น การ
ปลกู ตน้ ไม้ การเลย้ี งสตั ว์ ฯลฯ ถงึ แมว้ ่ากจิ กรรมเหล่านจ้ี ะไม่ไดเ้ พมิ่ ประสทิ ธภิ าพการทางานของอวยั วะต่างๆ แก่
ร่างกายไดช้ ดั เจนเทา่ การออกกาลงั กายแต่การทากจิ กรรมเหล่าน้ใี นปรมิ าณทม่ี ากพอ ใชพ้ ลงั งานในกจิ กรรม
เคล่อื นไหวมากพอ จะสง่ ใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั มิ สี ขุ ภาพทแ่ี ขง็ แรงได้

5.ครใู ชส้ อ่ื Power Point ประกอบการอธบิ ายผลของการออกกาลงั กายต่อระบบต่างๆ ของรา่ งกาย
การออกกาลงั กายทก่ี ระทาโดยสม่าเสมอ มคี วามหนกั และนานพอเหมาะใหผ้ ลในการเปลย่ี นแปลงต่ออวยั วะเกอื บ
ทกุ ระบบของร่างกายไปในทางทด่ี ขี น้ึ ทเ่ี หน็ ผลไดช้ ดั เจน คอื

5.1. ระบบการเคลอ่ื นไหว
5.2. ระบบการหายใจ
5.3. ระบบการไหลเวยี นโลหติ
5.4. ระบบประสาท
6.ครบู อกประเภทของการออกกาลงั กาย และหลกั การออกกาลงั กายเพ่อื สขุ ภาพ โดยมหี ลกั การพน้ื ฐาน
ทส่ี าคญั ผา่ นสอ่ื Power Point

35

7.ครเู สนอแนะและเป็นทป่ี รกึ ษาในการนาเอาแนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ซง่ึ ในกระบวนการทางาน
ทุกประเภทนนั้ จะตอ้ งเน้นสจั จะซง่ึ เป็นตวั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม เน้นความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ เน้นใหช้ ว่ ยกนั คดิ ชว่ ยกนั
ทา เน้นใหร้ จู้ กั ความพอดี พอประมาณ มเี หตุผล ทงั้ หมดน้คี อื หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และสามารถนาไป
ประยุกตใ์ ชก้ บั การดาเนินชวี ติ ของทกุ คนได้

ข้นั สรุปและการประยุกต์

8.ครแู ละผเู้ รยี นสรปุ เน้อื หาทเ่ี รยี นเกย่ี วกบั การออกกาลงั กายเพ่อื สขุ ภาพ สง่ ผลต่อระบบการเคลอ่ื นไหว
ระบบการหายใจ ระบบการไหลเวยี นโลหติ และระบบประสาท การออกกาลงั กายมหี ลายลกั ษณะ แต่การออก
กาลงั กายเพอ่ื สขุ ภาพ ควรเป็นการออกกาลงั แบบใชอ้ อกซเิ จนหรอื แบบแอโรบกิ เพราะสามารถพฒั นาการทางาน
ของหวั ใจ ปอดและระบบไหลเวยี นโลหติ โดยมหี ลกั การพน้ื ฐาน ไดแ้ ก่ หลกั การฝึกเกนิ หลกั ความกา้ วหน้า หลกั
ความจาเพาะ หลกั ความสม่าเสมอ หลกั ปัจเจกบคุ คล ความถค่ี วามหนกั ระยะเวลา และประเภทของกจิ กรรมท่ี
เหมาะสม

9.ผเู้ รยี นทากจิ กรรมใบงาน คาถามชวนคดิ และแบบฝึกหดั ทา้ ยหน่วย

36

10.ผเู้ รยี นร่วมกนั ประเมนิ โดยพจิ ารณาจากขอ้ มูลความรู้ การใหเ้ หตุผล และความพรอ้ มในการนาเสนอ

ชอ่ื ผเู้ รยี น ประสบการณ์พน้ื ฐานการเรยี นรู้ วธิ กี ารเรยี นรู้
ความรู้ ทกั ษะ ผลงาน

1.

2.

3.

4.

สือ่ และแหล่งการเรยี นรู้

1.หนงั สอื เรยี น วชิ าการพฒั นาทกั ษะชวี ติ เพอ่ื สขุ ภาพและสงั คม
2.กจิ กรรมการเรยี นการสอน
3.แผน่ ใส
4.สอ่ื PowerPoint , วดิ โี อ

หลกั ฐาน

1.บนั ทกึ การสอน
2.ใบเชค็ รายช่อื
3.แผนจดั การเรยี นรู้
4.การตรวจประเมนิ ผลงาน

การวดั ผลและการประเมินผล

วิธีวดั ผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่
3. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่
4. คาถามชวนคดิ
5. ใบงาน
6. แบบทดสอบทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้
7. การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม

และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

37

เครอ่ื งมือวดั ผล
1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยคร)ู
3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยผเู้ รยี น)
4. ตรวจคาถามชวนคดิ
5. ตรวจใบงาน
6. แบบทดสอบทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้
7. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครแู ละผเู้ รยี น

รว่ มกนั ประเมนิ
เกณฑก์ ารประเมินผล
1. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ตอ้ งไมม่ ชี ่องปรบั ปรงุ
2. เกณฑผ์ ่านการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม คอื ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป)
3. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป)
4. ตรวจคาถามชวนคดิ เกณฑผ์ า่ น และแบบฝึกปฏบิ ตั ิ 50%
5. ตรวจใบงาน มเี กณฑผ์ า่ น 50%
6. แบบทดสอบทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้ มเี กณฑผ์ า่ น 50%
7. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อย่กู บั
การประเมนิ ตามสภาพจรงิ

กิจกรรมเสนอแนะ

1.อา่ นทบทวนเน้อื หา
2.ควรศกึ ษาขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ จากแหล่งเรยี นรอู้ ่นื ๆ

38

บนั ทึกหลงั การสอน

ขอ้ สรปุ หลงั การสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาท่ีพบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................

39

แผนการจดั การเรียนรูแ้ บบบูรณาการที่ 7 หน่วยที่ 3

รหสั 3000-1601 การพัฒนาทกั ษะชีวติ เพ่ือสขุ ภาพและสงั คม (3-0-3) สอนครง้ั ท่ี 7 (16-18)
จานวน 3 ช.ม.
ชื่อหน่วย/เร่ือง การออกกาลงั กายเพอ่ื สขุ ภาพ

สาระสาคญั

การออกกาลงั กายเพ่อื สขุ ภาพ มบี ทบาทมากในการพฒั นาสขุ ภาพทงั้ ทางร่างกายและจติ ใจ เพราะ
เป็นการออกกาลงั กายทเ่ี น้นวธิ กี ารใหร้ ่างกายเกดิ การพฒั นาและรกั ษาสขุ ภาพใหส้ มบรู ณ์แขง็ แรงโดย
เลอื กกจิ กรรมเพ่อื สง่ เสรมิ ความแขง็ แรงของกลา้ มเน้อื ความอดทนของระบบไหลเวยี นของโลหติ และ
สง่ เสรมิ ความสวยงามของรปู รา่ ง

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1 อธบิ ายผลของการออกกาลงั กายทม่ี ตี ่อระบบต่างๆของร่างกายได้
2 เลอื กประเภทการออกกาลงั กายทเ่ี หมาะสมกบั ตนเองได้
3 อธบิ ายวธิ กี ารฝึกการออกกาลงั กายเพ่อื พฒั นาระบบหายใจ กลา้ มเน้อื และความยดื หยุ่นของขอ้ ต่อและ

กลา้ มเน้อื
4.มกี ารพฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา สานกั งาน

คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ในเรอ่ื ง
4.1 ความมมี นุษยสมั พนั ธ์
4.2 ความมวี นิ ยั
4.3 ความรบั ผดิ ชอบ
4.4 ความซ่อื สตั ยส์ จุ รติ
4.5 ความเชอ่ื มนั่ ในตนเอง
4.6 การประหยดั
4.7 ความสนใจใฝ่รู้
4.8 การละเวน้ สง่ิ เสพตดิ และการพนนั
4.9 ความรกั สามคั คี
4.10 ความกตญั ญกู ตเวที

สมรรถนะรายวิชา

2. เลอื กปฏบิ ตั กิ จิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพดว้ ยกจิ กรรมพลศกึ ษา สขุ ศกึ ษาและนนั ทนาการตามหลกั การ

เน้ือหาสาระ

2 กจิ กรรมการออกกาลงั กายเพอ่ื สขุ ภาพ

40

กิจกรรมการเรียนรู้

ข้นั นาเขา้ สบู่ ทเรียน
1.ครสู นทนากบั ผเู้ รยี นว่าการออกกาลงั กายในระดบั อาชวี ศกึ ษา มจี ุดม่งุ หมายเพอ่ื สง่ เสรมิ ความแขง็ แรง
ของกลา้ มเน้อื สง่ เสรมิ ความสวยงาม รปู รา่ ง แขง็ แรง และสมสว่ น สง่ เสรมิ ความอดทนของระบบไหลเวยี นโลหติ
รวมทงั้ สง่ เสรมิ กฬี ามาตรฐาน
2.ครแู ละผเู้ รยี นเล่าประสบการณ์เกย่ี วกบั การออกกาลงั กายทเ่ี คยปฏบิ ตั มิ า
3.ผเู้ รยี นยกตวั อยา่ งกจิ กรรมออกกาลงั กายเพอ่ื สขุ ภาพ

ขนั้ สอน
4.ครใู ชส้ อ่ื Power Point เพอ่ื อธบิ ายเพมิ่ เตมิ เกย่ี วกบั กจิ กรรมการออกกาลงั กายเพ่อื สขุ ภาพ
5.ครใู ชเ้ ทคนคิ วธิ กี ารจดั การเรยี นรแู้ บบร่วมมอื (Cooperative Learning) หมายถงึ กระบวนการเรยี นรทู้ ่ี

จดั ใหผ้ เู้ รยี นไดร้ ่วมมอื และชว่ ยเหลอื กนั ในการเรยี นรโู้ ดยแบง่ กลมุ่ ผเู้ รยี นทม่ี คี วามสามารถต่างกนั ออกเป็นกล่มุ
เลก็ ซง่ึ เป็นลกั ษณะการรวมกลมุ่ อย่างมโี ครงสรา้ งทช่ี ดั เจน มกี ารทางานร่วมกนั มกี ารแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ มี
การช่วยเหลอื พง่ึ พาอาศยั ซง่ึ กนั และกนั มคี วามรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั ทงั้ ในสว่ นตนและสว่ นรวมเพอ่ื ใหต้ นเองและ
สมาชกิ ทุกคนในกลุ่มประสบความสาเรจ็ ตามเป้าหมายทก่ี าหนดไว้ ดงั น้ี

1) แบง่ ผเู้ รยี นเป็นกล่มุ ๆ ละ 3-4 คน
2) ผเู้ รยี นระดมสมองกนั คดิ วธิ กี ารเกบ็ รกั ษาอาหารประเภทต่าง ๆ ดงั ต่อไปน้ี
5.1 การออกกาลงั กายเพ่อื ฝึกหวั ใจและระบบหายใจ (Cordiorespiratory fitness)
5.2 การออกกาลงั กายเพอ่ื ฝึกกลา้ มเน้อื (Muscular fitness)
5.3 การออกกาลงั กายเพ่อื ฝึกความยดื หยุ่นของขอ้ ต่อ และกลา้ มเน้อื (Flexibility of stretching
fitness)
5.4 ขอ้ ควรระวงั ในการออกกาลงั กายเพ่อื สขุ ภาพ
3) นาเสนอหน้าชนั้ เรยี น
6.ครใู ชส้ อ่ื Power Point เพอ่ื อธบิ ายเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั กจิ กรรมการออกกาลงั กายเพอ่ื สขุ ภาพ
7.ผเู้ รยี นแสดงความคดิ วา่ ระบบการเคล่อื นไหว ระบบหายใจ ระบบการไหลเวยี นโลหติ และระบบ
ประสาทของตนเองเป็นอยา่ งไรเมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั เพ่อื น
8.ผเู้ รยี นจดั กจิ กรรมการออกกาลงั กายเพ่อื สขุ ภาพหรอื ไมอ่ ย่างไร
9.ผเู้ รยี นจดั ทากจิ กรรมการออกกาลงั กายเพ่อื สขุ ภาพอะไรบา้ ง เพ่อื การมสี ขุ ภาพทด่ี ใี นอนาคต
10.ผเู้ รยี นทาแผนผงั ความคดิ (Mind Maping) สรุปผลของการออกกาลงั กายทม่ี ตี ่อระบบต่างๆ ของ
ร่างกาย
11.ผเู้ รยี นศกึ ษาประเภทการออกกาลงั กายและเลอื กชนดิ ของการออกกาลงั กายทเ่ี หมาะสมกบั ตวั เอง
12.ผเู้ รยี นระบวุ ธิ กี ารฝึกการออกกาลงั กายเพ่อื พฒั นาระบบการหายใจ กลา้ มเน้อื และความยดื หยนุ่ ของ
ขอ้ ต่อและกลา้ มเน้ือของตนเอง
13.ครเู น้นผเู้ รยี นใหม้ คี วามละเอียดรอบคอบ มีความอดทน มีควาเขม้ แขง็ มีความเพียรพยายาม
นอกจากนนั้ ยงั ใหร้ ะมดั ระวงั ความปลอดภยั ในการทากจิ กรรมใบงานทอ่ี าจผดิ พลาดเกดิ ขน้ึ ไดโ้ ดยไม่ได้

41

ขนั้ สรปุ และการประยกุ ต์

11.สรปุ เน้อื หากจิ กรรมการออกกาลงั กายเพ่อื สขุ ภาพของในระดบั อาชวี ศกึ ษาจะ ตอ้ งพฒั นาสมรรถภาพ

ทางกายดว้ ย โดยจะตอ้ งออกกาลงั กายเพอ่ื ฝึกหวั ใจ และระบบหายใจ ฝึกกลา้ มเน้อื ฝึกความยดื หย่นุ ของขอ้ ต่อ

และกลา้ มเน้อื และปฏบิ ตั ติ นตามขอ้ ควรระวงั ในการออกกาลงั กายไดแ้ ก่ การประมาณตน การแต่งกาย เลอื กเวลา

สภาพอากาศ สภาพของกระเพาะอาหาร การด่มื น้า ความเจบ็ ป่วยการบาดเจบ็ ระหว่างการออกกาลงั กาย ดา้ น

จติ ใจ ความสม่าเสมอ และการพกั ผ่อน โดยครสู มุ่ ผเู้ รยี นใหต้ อบคาถาม

12.ประเมนิ ผเู้ รยี นตามแบบฟอรม์ ต่อไปน้ี

ชอ่ื ผเู้ รยี น ธรรมชาตขิ องผเู้ รยี น วธิ กี ารเรยี นรู้
ความสนใจ สตปิ ัญญา วฒุ ภิ าวะ

1.

2.

3.

4.

5.

ส่ือและแหลง่ การเรยี นรู้

1.หนงั สอื เรยี น วชิ าการพฒั นาทกั ษะชวี ติ เพอ่ื สขุ ภาพและสงั คม
2.รปู ภาพ
3.กจิ กรรมการเรยี นการสอน
4.สอ่ื PowerPoint

หลกั ฐาน
1.บนั ทกึ การสอน
2.ใบเชค็ รายชอ่ื
3.แผนจดั การเรยี นรู้
4.การตรวจประเมนิ ผลงาน

การวดั ผลและการประเมินผล
วิธีวดั ผล

1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่
3. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่
4. คาถามชวนคดิ

42

5. ใบงาน
6. แบบทดสอบทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้
7. การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ

ประสงค์
เครอื่ งมอื วดั ผล
1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ (โดยคร)ู
3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกล่มุ (โดยผเู้ รยี น)
4. ตรวจคาถามชวนคดิ
5. ตรวจใบงาน
6. แบบทดสอบทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้
7. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครแู ละผเู้ รยี น

ร่วมกนั ประเมนิ
เกณฑก์ ารประเมินผล
1. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ตอ้ งไมม่ ชี ่องปรบั ปรงุ
2. เกณฑผ์ ่านการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป)
3. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป)
4. ตรวจคาถามชวนคดิ เกณฑผ์ ่าน และแบบฝึกปฏบิ ตั ิ 50%
5. ตรวจใบงาน มเี กณฑผ์ า่ น 50%
6. แบบทดสอบทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้ มเี กณฑผ์ ่าน 50%
7. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อยกู่ บั

การประเมนิ ตามสภาพจรงิ

กิจกรรมเสนอแนะ

1.แนะนาใหผ้ เู้ รยี นศกึ ษาความรเู้ พมิ่ เตมิ นอกหอ้ งเรยี น
2.อ่านทบทวนเน้อื หา

43

บนั ทึกหลงั การสอน

ขอ้ สรปุ หลงั การสอน
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ปัญหาที่พบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................


Click to View FlipBook Version