แผนการจัดการเรยี นรู้
รหัส 2202-2109 วิชา การจดั การผลิตภณั ฑ์ทอ้ งถน่ิ
หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) พทุ ธศักราช 2556
นายนิพนธ์ รอ่ งพชื
ครู วทิ ยฐานะครูชานาญการ
สาขาวชิ าการตลาด คณะบริหารธุรกจิ
วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาแพร่
สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคเหนอื 2
ตารางวิเคราะหห์ น่วยการเรยี นรูต้ ามจุดประสงคร์ ายวชิ า และสมรรถนะรายวิชา
วิชา การจัดการผลิตภณั ฑ์ทอ้ งถนิ่ รหัส 2202-2109 (2-2-3)
จุดประสงค์รายวชิ า เพ่ือให้
1. เข้าใจหลักการและกระบวนการจดั การผลติ ภัณฑ์ทอ้ งถ่ิน
2. เข้าใจหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง หลักธรรมาภบิ าล กฎหมายและองค์การท่ี
เก่ยี วขอ้ งกบั การจดั การผลติ ภัณฑ์ท้องถ่ิน
3. มีทกั ษะในการวางแผนและจัดการผลิตภัณฑท์ ้องถน่ิ
4. มีเจตคติและกิจนสิ ยั ทดี่ ใี นการทางานดว้ ยความคิดริเริ่มสรา้ งสรรค์ ความสนใจใฝร่ ู้ การ
ทางานเปน็ ทีม และมภี าวะผูน้ า
สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรูเ้ กีย่ วกบั หลักการและกระบวนการจดั การผลิตภัณฑท์ ้องถิ่น
2. แสดงความรู้เกย่ี วกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลกั ธรรมาภิบาล กฎหมายและ
องค์การท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การจดั การผลิตภัณฑท์ ้องถิ่น
3. วางแผนและจดั การผลติ ภัณฑ์ท้องถิ่นตามหลักการและสถานการณ์ทางการตลาด
4. ประยุกตใ์ ชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักธรรมาภิบาลในการจดั การ
ผลิตภณั ฑท์ ้องถ่นิ
5. ประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารกบั การจดั การผลิตภัณฑ์ท้องถิน่
คาอธิบายรายวชิ า
ศกึ ษาและปฏิบัตเิ กี่ยวกบั หลกั การจัดการผลิตภณั ฑ์ทอ้ งถน่ิ วสิ าหกจิ ชุมชน ประเภท
ผลติ ภัณฑท์ ้องถนิ่ การพฒั นาผลิตภณั ฑท์ ้องถิ่น การตลาดผลติ ภัณฑท์ ้องถน่ิ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
และหลกั ธรรมาภิบาลกับการจดั การผลติ ภณั ฑท์ ้องถิน่ กฎหมายและองค์การทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับการจัดการ
ผลิตภณั ฑท์ อ้ งถิ่น
รหสั 2202-2109 วิชา การจัดการผลิตภัณฑ์ท้องถ่นิ
ชนั้ ระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ สาขาวิชา/กลุ่มวชิ า
พทุ ธิพสิ ัย (40%)
ความรู้
พฤติกรรม ความเข้าใจ ัท
การนาไปใ ้ช ก
ช่ือหน่วย การ ิวเคราะห์ จิษ
การสังเคราะห์ ะต
การประเ ิมน ิิพพ
สลสััา
))((โารว00จยยชส่ัััดคคมนนบญ33%%มวาามวว
1. ความรทู้ ั่วไปเก่ยี วกับผลิตภัณฑท์ ้องถ่ิน 1 1 1 1 - - 3 3 10 8
8
2. หลกั การจัดการผลิตภณั ฑ์ทอ้ งถน่ิ 1 1 2 1 - - 4 4 13 8
8
3. วสิ าหกจิ ชุมชน 1 1 1 1 - - 4 4 12 8
8
4. ประเภทผลติ ภัณฑท์ ้องถ่ิน 1 1 2 1 - - 3 3 11
8
5. การพฒั นาผลิตภัณฑ์ท้องถ่ิน 1 1 2 2 - - 4 4 14
8
6. การตลาดผลิตภัณฑ์ท้องถ่ิน 1 1 2 2 - - 4 4 14 4
4
7. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลกั ธรรมาภิ
72
บาล 1 1 2 1 - - 4 4 13
กับการจดั การผลิตภณั ฑ์ท้องถนิ่
8. กฎหมายและองค์การท่เี กี่ยวข้องกบั การจัดการ 1 1 2 1 - - 4 4 13
ผลติ ภัณฑ์ท้องถ่นิ
สอบกลางภาคเรียน
สอบปลายภาคเรียน
รวม 8 8 14 10 - - 30 30 100
ลาดับความสาคัญ 442 3 - - 1 1
โครงการสอนทบี่ รู ณาการคุณธรรม จริยธรรม
คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
วิชา 2202-2109 วิชาการจดั การผลิตภัณฑ์ท้องถ่ิน 4 ชวั่ โมงต่อสปั ดาห์
คุณธรรม
จรยิ ธรรม
สปั ดาหท์ ี่ หนว่ ย ชว่ั โมง ช่ือหนว่ ย/สาระสาคญั ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวงั ค่านยิ ม และ
ที่ ท่ี คุณลักษณะ
อนั พึง
ประสงค์
1 1-1 ปฐมนเิ ทศ
1.จุดประสงค์รายวชิ า สมรรถนะรายวชิ าและ 1.บอกจุดประสงคร์ ายวิชา สมรรถนะ
รายวชิ า และคาอธิบายรายวชิ าตาม
คาอธิบายรายวชิ า
หลกั สตู รฯ ได้
- 2.แนวทางวัดผลและการประเมนิ ผล 2.บอกแนวทางวัดผลและการประเมนิ ผล
การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ได้
1 2-4 ความรูท้ ่วั ไปเก่ียวกบั ผลติ ภณั ฑ์ท้องถน่ิ 1 แสดงความรูเ้ กย่ี วกับแผนพฒั นา
1 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติกับ เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาตกิ บั การ
การพัฒนาผลิตภณั ฑ์ทอ้ งถิ่น พัฒนาผลิตภณั ฑท์ ้องถนิ่ ได้
2 ความเปน็ มาของผลติ ภณั ฑ์ท้องถน่ิ 2 แสดงความรเู้ กย่ี วกับความเปน็ มาของ
2 1 5-8 3 ผลิตภณั ฑท์ ้องถิ่นในประเทศไทย ผลิตภณั ฑท์ ้องถิ่นได้ ความมีมนุษย
3 แสดงความรู้เกยี่ วกบั ผลิตภณั ฑท์ อ้ งถ่นิ สัมพนั ธ์
ความมีวินยั
ในประเทศไทยได้
1 แสดงความรู้เกย่ี วกับการดาเนินการ ความ
3 2 9-12 หลกั การจัดการผลติ ภัณฑท์ อ้ งถนิ่ รับผิดชอบ
1 การดาเนินการเกี่ยวกับผลติ ภัณฑท์ อ้ งถนิ่ เก่ยี วกบั ผลติ ภณั ฑ์ท้องถิ่นได้
2 แสดงความรู้เกยี่ วกบั ศนู ยบ์ รกิ าร ความเชอ่ื มน่ั
2 ศนู ยบ์ ริการสง่ เสรมิ เศรษฐกิจฐานราก ในตนเอง
3 การจดั การเครือขา่ ย OTOP ส่งเสรมิ เศรษฐกจิ ฐานรากได้ ความสนใจใฝ่
รู้
4 2 13-16 4 การพัฒนาเยาวชนเพ่ือการอนรุ กั ษแ์ ละสืบ 3 แสดงความร้เู กย่ี วกบั การจดั การ ความรัก
สานภูมิปญั ญาท้องถน่ิ เครอื ขา่ ย OTOP ได้ สามคั คี
5 การคัดสรรสุดยอดหนึง่ ตาบลหนึ่งผลติ ภณั ฑ์ 4 แสดงความรเู้ กย่ี วกบั การพัฒนา ความกตญั ญู
ไทย เยาวชนเพ่ือการอนรุ กั ษ์และสบื สานภูมิ กตเวที
ปญั ญาทอ้ งถิ่นได้
5 แสดงความรเู้ กย่ี วกับการคดั สรรสุด
ยอดหน่งึ ตาบลหน่งึ ผลติ ภณั ฑไ์ ทยได้
5 3 17-20 วิสาหกิจชมุ ชน 1 แสดงความร้เู กย่ี วกับวสิ าหกจิ ชุมชนได้
1 ความรูเ้ กีย่ วกับวสิ าหกิจชมุ ชน 2 แสดงความรเู้ กย่ี วกับความพรอ้ มของ
2 ความพรอ้ มของชุมชนเพ่ือการทาวสิ าหกิจ ชมุ ชนเพ่ือการทาวิสาหกจิ ชุมชนได้
ชุมชน
(ต่อ)
คุณธรรม
จรยิ ธรรม
สปั ดา หน่วย ช่ัวโมง ช่อื หน่วย/สาระสาคัญ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ค่านิยม และ
หท์ ี่ ที่ ที่ คณุ ลักษณะ
อันพึง
ประสงค์
6 3 21-24 3 เครอื ข่ายวิสาหกจิ ชุมชน 3 แสดงความรู้เกยี่ วกับเครือข่ายวสิ าหกจิ ชมุ ชนได้
4 วสิ าหกิจชมุ ชนกบั โครงการของรัฐบาล
5 แนวทางการดาเนนิ การวิสาหกจิ ชมุ ชน 4 แสดงความรูเ้ กย่ี วกับวิสาหกจิ ชมุ ชนกบั
โครงการของรัฐบาลได้
5 แสดงความร้เู กย่ี วกบั แนวทางการดาเนินการ
วสิ าหกิจชุมชนได้
7 4 25-28 ประเภทผลติ ภณั ฑท์ อ้ งถน่ิ 1 แสดงความรเู้ กย่ี วกับประเภทของผลิตภณั ฑ์
1 ประเภทของผลติ ภณั ฑท์ ้องถิน่
ท้องถ่นิ ได้ ความมี
8 4 29-32 2 หมบู่ ้านโอทอป
2 แสดงความรู้เกยี่ วกับหมบู่ า้ น มนุษย
โอทอปได้ สัมพนั ธ์
9 5 33-36 การพัฒนาผลิตภณั ฑท์ ้องถน่ิ 1 แสดงความรเู้ กยี่ วกับการส่งเสรมิ กระบวนการ ความมีวนิ ยั
1 การส่งเสริมกระบวนการเครอื ขา่ ยองคค์ วามรู้
2 การพฒั นาผลิตภัณฑต์ ามการจดั กลุม่ Quadrant (A เครอื ขา่ ยองคค์ วามรไู้ ด้ ความ
B C D)
2 แสดงความรเู้ กย่ี วกบั การพัฒนาผลิตภณั ฑต์ าม รบั ผดิ ชอบ
การจัดกลมุ่ Quadrant (A B C D) ได้ ความเชอ่ื ม่นั
ในตนเอง
10 - 37-40 ทบทวน/ สอบกลางภาคเรียน ความสนใจ
ใฝ่รู้
11 5 41-44 การพฒั นาผลิตภัณฑ์ทอ้ งถิ่น 3 แสดงความรเู้ กย่ี วกับการจดั กลมุ่ OTOP ความรัก
3 การจดั กลมุ่ OTOP Segmentation
Segmentation ได้ สามคั คี
12 6 45-48 การตลาดผลติ ภณั ฑ์ทอ้ งถน่ิ
1 ความร้เู ก่ียวกับการตลาดทีผ่ ูป้ ระกอบการควรทราบ 1 แสดงความร้เู กย่ี วกบั การตลาดที่ ความกตัญญู
2 การตลาดผลติ ภณั ฑท์ อ้ งถิ่น
ผ้ปู ระกอบการควรทราบได้ กตเวที
13 6 49-52 3 การจดั จาหนา่ ยผลิตภณั ฑ์ท้องถน่ิ
4 แนวทางการบริหารการตลาดผลิตภณั ฑท์ อ้ งถ่นิ 2 วางแผนการตลาดผลติ ภณั ฑ์ทอ้ งถ่นิ ได้
3 วางแผนการจัดจาหนา่ ยผลติ ภณั ฑ์ทอ้ งถ่ินได้
4 ประยกุ ตใ์ ชแ้ นวทางการบริหารการตลาด
ผลติ ภณั ฑท์ อ้ งถ่ินได้
14 7 53-56 หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและหลักธรรมาภิ 1 แสดงความรูเ้ กย่ี วกบั เศรษฐกจิ พอเพยี งได้
บาลกับการจดั การผลติ ภัณฑท์ อ้ งถิน่
1 ความร้เู กีย่ วกบั เศรษฐกจิ พอเพยี ง 2 ประยุกตใ์ ช้หลกั ปรัชญาพอเพยี งกับการ
2 หลกั ปรชั ญาพอเพียงกบั การจดั การผลติ ภณั ฑ์ท้องถ่นิ
3 หลักธรรมาภิบาล จัดการผลติ ภณั ฑท์ อ้ งถิน่ ได้
3 แสดงความรเู้ กย่ี วกับหลัก
ธรรมาภิบาลได้
(ตอ่ )
คณุ ธรรม จริยธรรม
สัปดา หนว่ ย ชัว่ โมง ชือ่ หน่วย/สาระสาคญั จุดประสงค์การเรยี นรู้ คา่ นยิ ม และ
ห์ท่ี ท่ี ท่ี คณุ ลักษณะ
อันพึงประสงค์
15 7 57- 4 การประยกุ ต์ใชห้ ลกั ธรรมาภบิ าลใน 4 การประยกุ ต์ใช้หลกั ธรรมาภิ
60 การจดั การผลิตภัณฑท์ ้องถิ่น บาลในการจดั การผลติ ภณั ฑ์ ความมมี นุษยสัมพนั ธ์
ท้องถ่ินได้ ความมวี นิ ยั
16 8 61- กฎหมายและองค์การทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับ 1 แสดงความรเู้ กย่ี วกับกฎหมาย ความรับผิดชอบ
64 การจดั การผลติ ภณั ฑท์ ้องถนิ่ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั การจัดการ ความเชื่อม่ันในตนเอง
1 กฎหมายที่เก่ียวขอ้ งกับการจดั การ ผลติ ภณั ฑท์ ้องถน่ิ ได้ ความสนใจใฝร่ ู้
ผลติ ภณั ฑ์ท้องถ่นิ 2 แสดงความร้เู กยี่ วกับองค์การที่ ความรักสามคั คี
17 8 65- 2 องคก์ ารทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั การจัดการ เก่ยี วข้องกบั การจัดการผลติ ภณั ฑ์ ความกตญั ญูกตเวที
68 ผลติ ภณั ฑท์ อ้ งถนิ่ ทอ้ งถ่นิ ได้
18 - 69- ทบทวน/สอบกลางภาคเรียน
72
หมายเหตุ กาหนดการสอนทบี่ รู ณาการคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคน์ ี้ จดั ทา
ขึ้นเพื่อเป็นแนวทางใหก้ บั ครผู ้สู อนในการจัดการเรยี นการสอนเทา่ นัน้ สามารถเปล่ยี นแปลงไดข้ ้นึ อยู่กับผู้สอน
และสถานศึกษาทจี่ ะนาไปประยุกตใ์ ชเ้ ปน็ สาคญั
1
แผนการจดั การเรียนรแู้ บบบรู ณาการท่ี 1 หน่วยท่ี 1
รหสั 2202-2109 การจดั การผลติ ภณั ฑท์ ้องถนิ่ (2-2-3) สอนครั้งท่ี 1 (1-1)
ช่อื หน่วย ปฐมนิเทศ
จานวน 1 ช.ม.
แนวคิด
การศกึ ษาวิชาน้ีเปน็ วิชาทเ่ี น้นผูเ้ รียนเป็นสาคญั เพ่ือปลกู ฝังให้พัฒนาตนเองเข้าสู่อาชีพอย่างสม่าเสมอ
และนาไปประยุกต์กบั การใช้คอมพิวเตอร์เพือ่ วางแผนใช้ในการทางานสาหรับชีวติ ประจาวนั ต่อไป และยังเป็นการ
ให้ผู้เรยี นไดม้ ีโอกาสฝกึ ทักษะความชานาญการเรียนรดู้ า้ นความรู้ ความสามารถเพื่อมีส่วนรว่ มในการเรยี นอย่าง
เตม็ ที่ในการฝึกทักษะการปฏิบตั ิจริง เพอ่ื พัฒนาทักษะ ความรู้ และความสามารถรวมทั้งสตปิ ัญญาเพื่อแก้ปญั หาได้
ผู้เรียนวิชานน้ี อกจากจะได้ความรู้ทถ่ี ูกตอ้ งแล้วยงั สามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ในงานเพ่ือเป็นเครอ่ื งมอื ทส่ี าคญั ในการ
เพม่ิ ประสิทธิภาพของงาน และสามารถแก้ปญั หาในชวี ิตประจาวนั อีกดว้ ย
ผลการเรยี นรูท้ ี่คาดหวงั
1.บอกจุดประสงคร์ ายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคาอธิบายรายวิชาตามหลักสูตรฯ ได้
2.บอกแนวทางวัดผลและการประเมินผลการเรยี นรู้ได้
3.มกี ารพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผู้สาเรจ็ การศกึ ษา
สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ทค่ี รูสามารถสงั เกตได้ขณะทาการสอนในเรื่อง
3.1 ความมีมนุษยสมั พันธ์ 3.8 การละเว้นสิ่งเสพติดและการพนนั
3.2 ความมีวนิ ยั 3.9 ความรกั สามัคคี
3.3 ความรบั ผิดชอบ 3.10 ความกตัญญูกตเวที
3.4 ความซือ่ สัตย์สจุ ริต
3.5 ความเชอื่ ม่ันในตนเอง
3.6 การประหยดั
3.7 ความสนใจใฝร่ ู้
2
สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เกย่ี วกบั หลักการและกระบวนการจดั การผลิตภัณฑท์ ้องถิน่
2. แสดงความร้เู กยี่ วกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง หลักธรรมาภิบาล กฎหมายและองคก์ ารท่ี
เกี่ยวข้อง
กบั การจดั การผลติ ภัณฑท์ ้องถนิ่
3. วางแผนและจัดการผลิตภณั ฑ์ท้องถ่นิ ตามหลกั การและสถานการณ์ทางการตลาด
4. ประยุกต์ใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลกั ธรรมาภบิ าลในการจดั การผลติ ภัณฑ์ท้องถน่ิ
5. ประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารกับการจัดการผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น
สาระการเรยี นรู้
1.บอกจุดประสงค์รายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า และคาอธิบายรายวชิ าตามหลกั สตู รฯ ได้
2.บอกแนวทางวัดผลและการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ได้
กิจกรรมการเรยี นรู้
ขน้ั นาเขา้ สู่บทเรยี น
1.ครูผ้สู อนแนะนาจุดประสงค์ท่ีผเู้ รยี นจะไดจ้ ากหลกั สตู ร โดยกาหนดให้ผเู้ รียนทุกคนต้องเข้าใจหลักการ
และ
กระบวนการจดั การผลติ ภณั ฑ์ท้องถ่ิน เข้าใจหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลกั ธรรมาภบิ าล กฎหมายและ
องค์การทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดการผลติ ภณั ฑ์ท้องถิน่ มที ักษะในการวางแผนและจดั การผลิตภัณฑ์ท้องถน่ิ มีเจต
คติและกจิ นิสัยทีด่ ีในการทางานดว้ ยความคิดรเิ ริ่มสรา้ งสรรคค์ วามสนใจใฝ่รู้ การทางานเปน็ ทีม และมภี าวะผนู้ า
2.ผเู้ รยี นบอกประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รับจากการเรียนวิชาการจัดการผลิตภัณฑ์ท้องถิน่
ขน้ั สอน
3.ครใู ช้เทคนิควิธสี อนแบบบรรยาย (Lecture Method) ซงึ่ เปน็ วิธสี อนทีผ่ ู้สอนให้ความรู้ตามเนอื้ หา
สาระดว้ ยการเล่าอธบิ ายแสดงสาธติ โดยทีผ่ ู้เรียนเปน็ ผฟู้ ัง และเปดิ โอกาสให้ซักถามปัญหาไดบ้ า้ งในตอนทา้ ยของ
การบรรยายเกยี่ วกับการจดั การผลิตภัณฑท์ อ้ งถิ่น เพื่อนาไปปฏิบตั ใิ ช้ในยคุ ปัจจุบนั
4.ผู้เรียนรบั ฟงั คาชี้แจงสังเขปรายวิชาและการวดั ประเมินผล ซกั ถามข้อปญั หารวมท้ังแสดงความคดิ เหน็
เกีย่ วกบั การเรียนวิชาน้ี
3
ขน้ั สรปุ และการประยุกต์
5.ผ้เู รยี นวางแผนการนาความรทู้ ไี่ ด้ไปใช้ในการเรียน และการปฏิบตั งิ าน พื่อนาไปประยกุ ตใ์ ช้กบั งานใน
ชวี ติ ประจาวนั ทจี่ าเป็นโดยท่วั ไป ซง่ึ ทุกคนจะตอ้ งวางแผนการทางานต่าง ๆ ในอนาคต
ส่อื และแหล่งการเรียนรู้
1.หนงั สอื เรยี น วิชาการจดั การผลติ ภัณฑท์ อ้ งถ่ิน ของสานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์
2.สอื่ แผน่ ใส, ส่ือคอมพวิ เตอร์ สื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์
3.กจิ กรรมการเรยี นการสอน
หลักฐาน
1.บันทกึ การสอน
2.ใบเชค็ รายช่อื
3.แผนจดั การเรยี นรู้
4.การตรวจประเมนิ ผลงาน
การวดั ผลและการประเมินผล
วิธวี ัดผล
1. สังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. ประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่
3. สงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุม่
4. การสังเกตและประเมนิ พฤติกรรมด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอัน
พึงประสงค์
เครื่องมอื วดั ผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. แบบประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่
3. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและผู้เรียน
ร่วมกนั ประเมนิ
4
เกณฑ์การประเมนิ ผล
1. เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีชอ่ งปรับปรงุ
2. เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50 % ขึ้นไป)
3. เกณฑผ์ ่านการสังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป)
4. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขนึ้ อย่กู ับการ
ประเมินตามสภาพจริง
กิจกรรมเสนอแนะ
แนะนาให้ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมเก่ยี วกบั การจดั การผลิตภัณฑ์ทอ้ งถน่ิ
5
บันทกึ หลังการสอน
ขอ้ สรปุ หลงั การสอน
................................................................................................................... ...............................
................................................................................................................... ...............................
................................................................................................................... ...............................
........................................................................................... .......................................................
................................................................................................................... ...............................
..................................................................................................................................................
................................................................................................................... ...............................
................................................................................................................... ...............................
................................................................................................................... ...............................
................................................................................................................... ...............................
ปัญหาท่ีพบ
................................................................................................................... ...............................
.................................................................................................. ................................................
................................................................................................................... ...............................
..................................................................................................................................................
................................................................................................................... ...............................
................................................................................................................... ...............................
............................................................................................................................. .....................
................................................................................................................... ...............................
............................................................................................. .....................................................
................................................................................................................... ...............................
แนวทางแกป้ ญั หา
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
................................................................................................................... ...............................
............................................................................................................... ...................................
................................................................................................................... ...............................
6
แผนการจดั การเรียนรูแ้ บบบรู ณาการที่ 1(ต่อ) หนว่ ยท่ี 1
รหสั 2202-2109 การจัดการผลิตภณั ฑท์ อ้ งถิน่ (2-2-3) สอนครั้งท่ี 1 (2-4)
ชื่อหน่วย/เรื่อง ความรทู้ ั่วไปเกี่ยวกบั ผลิตภัณฑ์ท้องถิน่ จานวน 3 ช่ัวโมง
แนวคิด
จากแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งตามแนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว
สง่ เสริมให้ประชาชนพึง่ พาตนเอง ผลติ สินค้าเพื่อใช้ในครวั เรอื นเปน็ การลดรายจ่าย หากมีมากพอก็สามารถนาไป
เพื่อขายสรา้ งรายได้ในอดตี ที่ผา่ นมา ประเทศไทยเคยประสบปญั หาวกิ ฤตทางเศรษฐกิจ รฐั บาลจงึ ไดน้ าโครงการ
หนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑม์ าดาเนินการในประเทศไทยเพื่อใหช้ มุ ชนได้นาภูมปิ ญั ญาท้องถ่ินมาใช้ในการผลติ สนิ คา้
เพื่อให้ประชาชนสามารถพ่งึ พาตนเองได้
ผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวัง
1 แสดงความร้เู ก่ียวกับแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติกับการพัฒนาผลิตภณั ฑ์ท้องถ่นิ ได้
2 แสดงความรเู้ กี่ยวกับความเป็นมาของผลิตภัณฑ์ท้องถ่ินได้
3. มีการพัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของผูส้ าเร็จการศึกษา
สานกั งาน
คณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ท่ีครสู ามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเรอ่ื ง
3.1 ความมีมนุษยสมั พันธ์
3.2 ความมีวนิ ยั
3.3 ความรบั ผดิ ชอบ
3.4 ความซื่อสตั ย์สุจรติ
3.5 ความเช่อื มน่ั ในตนเอง
3.6 การประหยัด
3.7 ความสนใจใฝ่รู้
3.8 การละเวน้ สิ่งเสพติดและการพนัน
3.9 ความรกั สามัคคี
3.10 ความกตัญญูกตเวที
7
สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เกี่ยวกบั หลักการและกระบวนการจดั การผลติ ภัณฑ์ท้องถ่ิน
2. แสดงความรเู้ ก่ียวกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลกั ธรรมาภิบาล กฎหมายและองค์การที่
เก่ียวขอ้ ง
กบั การจดั การผลติ ภัณฑท์ ้องถ่นิ
3. วางแผนและจัดการผลติ ภณั ฑ์ท้องถ่นิ ตามหลกั การและสถานการณ์ทางการตลาด
4. ประยุกต์ใชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและหลักธรรมาภบิ าลในการจดั การผลิตภณั ฑ์ท้องถนิ่
5. ประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารกบั การจัดการผลิตภณั ฑ์ท้องถ่นิ
สาระการเรยี นรู้
1 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติกับการพฒั นาผลิตภณั ฑ์ท้องถนิ่
2 ความเปน็ มาของผลติ ภณั ฑ์ท้องถน่ิ
กจิ กรรมการเรยี นรู้
ข้นั นาเขา้ สู่บทเรยี น
1.ครูสนทนากับผเู้ รยี นเก่ียวกัยแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาตฉิ บบั ที่ 11 ใหค้ วามสาคัญกับทุก
ฝา่ ยในการร่วมกันพัฒนาทุกภาคสว่ นของประเทศ ทง้ั ในระดับชุมชน ระดับภาค และระดับประเทศ มีการร่วมกัน
กาหนดวสิ ยั ทัศน์และทิศทางของการพฒั นาประเทศรว่ มกนั จัดทารายละเอียดยุทธศาสตร์ของแผน เพือ่ ม่งุ สู่การ
อย่รู ว่ มกนั
อยา่ งมีความสขุ ดว้ ยความเสมอภาค เปน็ ธรรม และมภี มู ิคุ้มกันต่อการเปลยี่ นแปลง
2.ครแู นะนาให้ผเู้ รียนมีการวางแผนเรยี นวชิ าการจัดการผลิตภัณฑท์ ้องถ่ิน
3.ผูเ้ รยี นยกตวั อยา่ งผลติ ภณั ฑ์ทอ้ งถ่นิ ในแตล่ ะภาค
ขนั้ สอน
4.ครใู ช้เทคนคิ วิธสี อนแบบบรรยาย (Lecture Method) ด้วยการเลา่ อธิบายแสดงสาธิตให้ผู้เรยี นเปน็ ผ้ฟู งั
และเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นซักถามปัญหาได้ในตอนทา้ ยของการบรรยายแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติกับ
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถนิ่
5.ครูบอกวัตถปุ ระสงค์ของการจดั โครงการมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชมุ ชน โดยสานกั งานมาตรฐาน
ผลติ ภณั ฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอตุ สาหกรรม และโครงการไทยเขม้ แขง็
8
6.ครูใชเ้ ทคนิควธิ ีการจดั การเรยี นรู้แบบอภิปราย (Discussion Method) เพ่ือให้ผ้เู รยี นมีโอกาสสนทนา
แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ หรอื ระดมความคิด โดยมีจุดมุ่งหมายเพือ่ ให้ผเู้ รยี นเขา้ ใจเน้ือหาได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
โดยใหผ้ ู้เรยี นช่วยกันอภปิ รายความเป็นมาของผลิตภัณฑ์ท้องถนิ่
7.ครูใช้เทคนิควิธีสอนแบบใช้โสตทศั นวัสดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction Method) เพื่อช่วย
พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ได้แก่ Power Pointเพอื่ ประกอบการอธิบายผลติ ภณั ฑ์ทอ้ งถน่ิ ซง่ึ เป็น
ผลติ ภัณฑ์ที่ผลติ จากชาวบ้านในแตล่ ะท้องถน่ิ ที่นาวัตถดุ ิบและทรัพยากรภายในท้องถ่ินมาประดษิ ฐ์เปน็ ผลติ ภัณฑ์
ในรูปแบบตา่ งๆ โดยสืบเนื่องมาจากโครงการหน่ึงตาบลหน่ึงผลติ ภัณฑ์ (One Tambon One Product :
OTOP) ท่ีตอ้ งการใหแ้ ต่ละหมู่บ้านหรือแตล่ ะตาบลมีผลิตภัณฑห์ ลัก 1 ประเภท สอดคล้องกบั การพัฒนา
เศรษฐกจิ พอเพยี งตามแนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั นอกจากน้ยี งั ช่วยลดปัญหาการย้ายถ่นิ
ที่อยู่เพ่อื ไปหางานทาในเมืองใหญ่อีกด้วย
8.ครใู ช้เทคนดิ วิธีการจัดการเรียนรูแ้ บบร่วมมอื (Cooperative Learning) เพื่อใหผ้ เู้ รยี นได้ร่วมมือและ
ช่วยเหลือกันในการเรียนรโู้ ดยแบ่งกล่มุ ผู้เรียนท่ีมีความสามารถตา่ งกันออกเป็นกลุ่มเล็ก ซ่ึงเปน็ ลักษณะการ
รวมกล่มุ อยา่ งมโี ครงสรา้ งทช่ี ัดเจน มกี ารทางานรว่ มกัน มีการแลกเปลีย่ นความคดิ เหน็ มกี ารชว่ ยเหลอื พึง่ พา
อาศยั ซึ่งกันและกนั มีความรับผดิ ชอบรว่ มกันทั้งในส่วนตนและสว่ นรวมเพอื่ ใหต้ นเองและสมาชกิ ทุกคนในกลุ่ม
ประสบความสาเรจ็ ตามเปา้ หมายท่ีกาหนดไว้โดยใหศ้ ึกษา Otop แต่ละภาค แลว้ นาความรูม้ าแลกเปลีย่ นกนั ใน
แต่ละกลมุ่
9.ครแู นะนาเพิม่ เติมใหผ้ ู้เรียนรูจ้ กั บนั ทกึ บัญชีรายรบั -รายจา่ ยในชวี ิตประจาวันของตนเอง เพือ่ สรา้ งนิสัย
ความประหยัด ความพอเพียงให้แกต่ นเองและครอบครวั
ขน้ั สรุปและการประยุกต์
10.ครูและผู้เรยี นรว่ มกันสรุปแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาตกิ ับการพฒั นาผลติ ภัณฑท์ ้องถน่ิ และ
ความเปน็ มาของผลิตภัณฑท์ ้องถิน่ โดยการถามตอบ และทดสอบความรคู้ วามสามารถของผู้เรียนในเรื่องน้ันๆ
11.ผู้เรยี นทาแบบประเมินผล และใบงาน
9
12.สรุปโดยการถาม-ตอบ เพื่อประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวันและประเมินผ้เู รียนตามแบบฟอร์มตอ่ ไปน้ี
ช่อื ผู้เรียน ประสบการณ์พื้นฐานการเรยี นรู้ วธิ กี ารเรียนรู้
ความรู้ ทักษะ ผลงาน
1.
2.
3.
4.
5.
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1.หนังสอื เรยี น วิชาการจดั การผลติ ภณั ฑท์ อ้ งถิ่น ของสานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์
2.รูปภาพ Otop
3.กิจกรรมการเรียนการสอน
4.แผ่นใส
5.สื่ออเิ ล็กทรอนิกส,์ PowerPoint
5.แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้
หลักฐาน
1.บนั ทกึ การสอนของผ้สู อน
2.ใบเช็ครายช่ือ
3.แผนจดั การเรียนรู้
4.การตรวจประเมนิ ผลงาน
การวัดผลและการประเมินผล
วิธีวดั ผล
1. สงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. ประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม
3. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุม่
4 ตรวจกิจกรรมสง่ เสริมคุณธรรมนาความรู้
5. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ แบบฝกึ ปฏิบัติ
10
6. ตรวจกิจกรรมใบงาน
7. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
เครอ่ื งมอื วดั ผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่ (โดยครู)
3. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม (โดยผู้เรยี น)
4. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏบิ ตั ิ
5. แบบประเมินกจิ กรรมใบงาน
6. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ โดยครูและผู้เรียน
รว่ มกนั ประเมิน
เกณฑก์ ารประเมินผล
1. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล ต้องไมม่ ชี ่องปรบั ปรงุ
2. เกณฑผ์ า่ นการประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป)
3. เกณฑ์ผ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป)
4. แบบประเมนิ ผลการเรียนร้มู เี กณฑ์ผ่าน และแบบฝกึ ปฏิบตั ิ 50%
5. แบบประเมินกจิ กรรมใบงานมีเกณฑ์ผา่ น 50%
6. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่
กับการประเมนิ ตามสภาพจรงิ
กจิ กรรมเสนอแนะ
1.ผ้เู รียนวางแผนศกึ ษาวิชาการจัดการผลติ ภัณฑ์ท้องถิ่น โดยศกึ ษาขอ้ มลู ที่ทนั สมยั อยตู่ ลอดเวลา
2.ทากจิ กรรมฝึกปฏบิ ตั เิ พิ่มเติมเพ่ือฝกึ ทักษะการเรียนรู้
11
บนั ทึกหลังการสอน
ขอ้ สรุปหลงั การสอน
................................................................................................................... ...............................
................................................................................................ ..................................................
................................................................................................................... ...............................
..................................................................................................................................................
................................................................................................................... ...............................
................................................................................................................... ...............................
................................................................................................................... ...............................
................................................................................................................... ...............................
........................................................................................... .......................................................
................................................................................................................... ...............................
ปัญหาท่ีพบ
..................................................................................................................................................
................................................................................................................... ...............................
................................................................................................................... ...............................
................................................................................................................. .................................
................................................................................................................... ...............................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
................................................................................................................... ...............................
................................................................................................................... ...............................
แนวทางแกป้ ัญหา
................................................................................................................... ...............................
.............................................................................................. ............................................ ........
................................................................................................................... ...............................
..................................................................................................................................................
................................................................................................................... ...............................
แผนการจัดการเรยี นรูแ้ บบบูรณาการที่ 2 12
รหัส 2202-2109 การจัดการผลิตภัณฑ์ทอ้ งถน่ิ (2-2-3)
ช่ือหน่วย/เรื่อง ความรทู้ ั่วไปเก่ียวกับผลิตภณั ฑ์ท้องถน่ิ หนว่ ยท่ี 1
สอนครั้งท่ี 2 (5-8)
จานวน 4 ช.ม.
แนวคิด
จากแนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งตามแนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั
สง่ เสริมให้ประชาชนพึ่งพาตนเอง ผลิตสินค้าเพ่อื ใช้ในครัวเรอื นเปน็ การลดรายจา่ ย หากมีมากพอก็สามารถนาไป
เพื่อขายสรา้ งรายได้ในอดตี ที่ผ่านมา ประเทศไทยเคยประสบปัญหาวิกฤตทางเศรษฐกิจ รัฐบาลจงึ ได้นาโครงการ
หนง่ึ ตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์มาดาเนินการในประเทศไทยเพื่อให้ชมุ ชนได้นาภูมปิ ัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการผลิตสนิ คา้
เพ่ือใหป้ ระชาชนสามารถพึง่ พาตนเองได้
ผลการเรยี นรูท้ ่ีคาดหวัง
3 แสดงความรูเ้ กี่ยวกับผลิตภัณฑ์ท้องถ่ินในประเทศไทยได้
4. มีการพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องผู้สาเร็จการศึกษา
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ทค่ี รูสามารถสงั เกตได้ขณะทาการสอนในเร่ือง
4.1 ความมีมนุษยสัมพนั ธ์ 4.6 การประหยดั
4.2 ความมวี นิ ัย 4.7 ความสนใจใฝ่รู
4.3 ความรับผิดชอบ 4.8 การละเว้นสิ่งเสพตดิ และการพนัน
4.4 ความซอื่ สัตย์สจุ ริต 4.9 ความรกั สามัคคี
4.5 ความเช่ือมน่ั ในตนเอง 4.10 ความกตัญญูกตเวที
สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรเู้ กีย่ วกบั หลักการและกระบวนการจดั การผลติ ภณั ฑ์ท้องถน่ิ
2. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง หลักธรรมาภบิ าล กฎหมายและองคก์ ารที่
เก่ียวข้อง
กับการจัดการผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น
3. วางแผนและจัดการผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นตามหลักการและสถานการณ์ทางการตลาด
4. ประยุกตใ์ ช้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและหลักธรรมาภบิ าลในการจดั การผลิตภัณฑท์ อ้ งถิน่
5. ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารกบั การจดั การผลติ ภัณฑ์ท้องถ่นิ
13
สาระการเรียนรู้
3 ผลิตภัณฑท์ ้องถนิ่ ในประเทศไทย
กจิ กรรมการเรยี นรู้
ข้นั นาเขา้ สู่บทเรยี น
1. ครูและผู้เรยี นสนทนาว่าเม่ือปี พ.ศ. 2544 ประเทศไทยประสบปญั หาวกิ ฤตทางเศรษฐกิจ ประชาชน
ทกุ ระดับประสบปญั หาตา่ งๆ โดยเฉพาะประชาชนที่มรี ายไดน้ ้อยซึ่งเป็นคนกลุม่ ใหญข่ องประเทศ และมปี ัญหา
ความยากจนมาก
รฐั บาลในสมัยนัน้ จึงนาแนวความคดิ โครงการหน่ึงตาบลหน่ึงผลิตภณั ฑ์มาดาเนินการเพื่อให้แตล่ ะชมุ ชนนาภูมิ
ปญั ญาท้องถิ่นมาใช้ในการผลิตสนิ คา้ โดยรฐั บาลใหค้ วามชว่ ยเหลอื ด้านความรู้ทีส่ มยั ใหม่ และการบรหิ ารจัดการ
เพ่อื เชื่อมโยงสินค้าจากชมุ ชนสู่ตลาด
2.ผ้เู รียนยกตัวอย่างปญั หาต่างๆ ทเี่ กดิ ขน้ึ จงึ ทาใหเ้ กิด Otop
3.ครูแนะนาใหผ้ เู้ รียนศกึ ษาเพ่มิ เตมิ เก่ียวกับผลิตภัณฑท์ อ้ งถิ่นของแต่ละภาค
ขนั้ สอน
4.ครใู ช้เทคนคิ วิธสี อนแบบใชโ้ สตทศั นวัสดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction Method) เพื่อ
ชว่ ยพฒั นา
คณุ ภาพการเรยี นการสอน โสตทัศน์วสั ดุดังกลา่ ว ได้แก่ Power Point เพ่ือแสดงใหผ้ ู้เรียนได้เรยี นรู้ผลติ ภัณฑ์
ท้องถนิ่ ในประเทศไทย
5.ครูใชเ้ ทคนคิ วธิ ีการจัดการเรียนรแู้ บบอภิปราย (Discussion Method) เพื่อให้ผู้เรยี นมีโอกาสสนทนา
แลกเปลย่ี น
ความคดิ เห็นหรือระดมความคิด โดยมีจุดมุง่ หมายเพ่ือใหผ้ ูเ้ รียนเข้าใจเนอ้ื หาได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ โดยมวี ิธีการ
คือ ให้ผูเ้ รียนช่วยกนั อภิปรายการดาเนินงานตามแนวความคิดหนึ่งตาบลหนงึ่ ผลติ ภัณฑ์ภายใต้หลักพ้ืนฐาน 3
ประการ ได้แก่
5.1 ภมู ปิ ัญญาสู่ทอ้ งถ่นิ สากล (Local Yet Global : Think Globally, Act Locally)
5.2 การพงึ่ พาตนเอง (Self – reliance and Creativity)
5.3 พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Development)
14
การดาเนินการตามโครงการหน่ึงตาบลหน่งึ ผลติ ภณั ฑ์ เร่มิ เปน็ รปู ธรรมท่ัวทกุ ภมู ภิ าคของประเทศโดยมี
วตั ถปุ ระสงค์ ดังน้ี
(1). สร้างงานและเพ่มิ รายไดแ้ ก่ชุมชน
(2). เสรมิ สรา้ งความเข้มแขง็ ใหแ้ กช่ ุมชน
(3). สง่ เสรมิ การใช้ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ
(4). ส่งเสรมิ การพฒั นาทรัพยากรมนุษย์
(5). สง่ เสรมิ ความคิดรเิ ริ่มสรา้ งสรรค์ของชุมชน
6.ครใู ชเ้ ทคนดิ วธิ ีการจัดการเรียนร้แู บบร่วมมอื (Cooperative Learning) หมายถงึ กระบวนการเรยี นรู้
ท่ีจัดให้ผ้เู รียนได้ร่วมมือและชว่ ยเหลอื กนั ในการเรยี นร้โู ดยแบง่ กลุม่ ผู้เรยี นทมี่ ีความสามารถตา่ งกันออกเป็นกลุม่
เลก็ ซงึ่ เป็นลักษณะการรวมกลุม่ อยา่ งมีโครงสรา้ งทชี่ ดั เจน มกี ารทางานรว่ มกัน มีการแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ มี
การช่วยเหลอื พ่ึงพาอาศยั ซึง่ กันและกัน มีความรบั ผิดชอบร่วมกนั ทงั้ ในสว่ นตนและส่วนรวมเพอื่ ให้ตนเองและ
สมาชิกทุกคนในกลุ่มประสบความสาเรจ็ ตามเปา้ หมายที่กาหนดไว้ ดงั น้ี
6.1 แบง่ ผู้เรียนเป็นกล่มุ
6.2 จดั ทาปา้ ยนเิ ทศ และนาเสนอหนา้ ชั้นเรียนโดยกาหนดหัวข้อดังนี้
7.ผู้เรียนเขียนเล่าประสบการณใ์ นการซื้อผลิตภณั ฑโ์ อทอปทผี่ า่ นมา โดยกล่าวถงึ ผลิตภณั ฑ์นัน้ คือ
อะไร ซอ้ื จากแหล่งใด และมีความพึงพอใจกบั ผลติ ภณั ฑน์ ้ันอย่างไร
8.ผู้เรยี นสารวจทรพั ยากรในท้องถน่ิ ของตนว่ามอี ะไรบ้าง แล้วพจิ ารณาวา่ จะนาทรัพยากรดังกล่าวมา
ใชเ้ ป็นวัตถุดิบในการผลติ ผลิตภัณฑ์ทอ้ งถนิ่ ได้อย่างไรสาหรับการบรโิ ภคภายในครวั เรอื น และจะพัฒนาส่ตู ลาด
ภายนอกในอนาคตได้อย่างไร และทรัพยากรท่จี ะนามาใชเ้ ป็นวัตถุดิบในการผลิตผลิตภัณฑท์ อ้ งถิ่น ไดแ้ ก่
อะไรบา้ งจะนาวตั ถดุ บิ ดังกล่าวมาผลิตเป็นผลิตภณั ฑอ์ ะไร และมรี ายละเอียดอยา่ งไรบา้ ง
9.ผู้เรยี นเขียนบอกเลา่ ประสบการณ์ในการไปร่วมงานแสดงสนิ คา้ โอทอปอย่างละเอียด โดยกล่าวถึง
สถานทีท่ ่ีไปร่วมงาน เหตผุ ลของการไปร่วมงาน และสง่ิ ท่ีได้รับจากการไปรว่ มงาน
10.ผู้เรยี นนาสินค้า OTOP มาคนละ 1 ชนิด หรอื อาจจะมากกว่า 1 ชนิดก็ได้ แลว้ พจิ ารณาว่า
ผลิตภัณฑ์ดังกลา่ วมีความสวยงามและมคี วามประทับใจอย่างไร
11.ครูสอนเพิ่มเตมิ เก่ียวกับการทาหน้าทีเ่ ป็นพลเมืองดขี องสังคมไทย ร้จู ักเอ้ือเฟ้ือเผอื่ แผ่ต่อผู้อื่น
สรปุ และการประยุกต์
12.ครแู ละผู้เรียนช่วยกันสรุปผลิตภณั ฑท์ อ้ งถนิ่ ในประเทศไทย
13.ผเู้ รียนทากิจกรรมใบงาน และแบบประเมินผลการเรียนรู้
14.ผู้เรียนวิเคราะห์เนอื้ หาการเรียนการสอนและหาข้อสรปุ เป็นความคิดรวบยอดเพ่ือนาไปประยกุ ต์ใช้
ตอ่ ไป พรอ้ มข้อเสนอแนะตนเอง
15
15.ประเมนิ ธรรมชาตขิ องผู้เรียน และวเิ คราะหผ์ ้เู รียนเป็นรายกลมุ่ ตามวธิ กี ารเรยี นรู้
ช่อื ผเู้ รยี น ธรรมชาตขิ องผู้เรยี น วธิ ีการเรยี นรู้
ความสนใจ สติปัญญา วฒุ ิภาวะ
1.
2.
3.
แบบวิเคราะห์ผเู้ รยี นเป็นรายกล่มุ ตามวธิ กี ารเรียนรู้
ชอ่ื กลุม่ ……………..
1.
2.
3.
สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้
1.หนังสือเรียน วิชาการจัดการผลติ ภัณฑท์ ้องถิน่ ของสานักพิมพเ์ อมพันธ์
2.รูปภาพผลิตภณั ฑ์ท้องถ่ินในประเทศไทย
3.กจิ กรรมการเรียนการสอน
4.สื่ออิเลก็ ทรอนิกส,์ PowerPoint
5.แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
6.แบบประเมนิ กิจกรรมใบงาน
หลกั ฐาน
1.บนั ทกึ การสอน
2.ใบเชค็ รายช่อื
3.แผนจัดการเรียนรู้
4.การตรวจประเมินผลงาน
16
การวดั ผลและการประเมนิ ผล
วิธีวดั ผล
1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. ประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
3. สังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่
4. ตรวจใบงาน
5. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้ แบบฝกึ ปฏิบัติ
6. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอนั พึง
ประสงค์
เครอ่ื งมอื วดั ผล
1. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. แบบประเมินพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม (โดยครู)
3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม (โดยผู้เรยี น)
4. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน
5. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ แบบฝกึ ปฏิบตั ิ
6. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ โดยครูและผู้เรียน
รว่ มกนั ประเมนิ
เกณฑก์ ารประเมินผล
1. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ต้องไม่มชี อ่ งปรบั ปรุง
2. เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป)
3. เกณฑ์ผ่านการสงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุม่ คือ ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป)
เกณฑ์การประเมนิ มเี กณฑ์ 4 ระดบั คอื 4= ดมี าก, 3 = ดี, 2 = พอใช้ , 1=
ควรปรับปรุง
4. กิจกรรมใบงาน เกณฑ์ผ่าน คือ 50%
5. แบบประเมินผลการเรียนรมู้ ีเกณฑ์ แบบฝกึ ปฏบิ ัติผ่าน 50%
6 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนนขนึ้ อยู่กับการ
ประเมนิ ตามสภาพจรงิ
17
กจิ กรรมเสนอแนะ
1.ครแู นะนาให้ผู้เรยี นอา่ นทบทวนเน้ือหาเพิ่มเตมิ
2.ผเู้ รียนศกึ ษาผลติ ภณั ฑ์ทอ้ งถ่นิ ในประเทศไทย
3.ผู้เรียนทากิจกรรมใบงานเพ่ือฝกึ ทักษะความรู้ ความเขา้ ใจ
18
บนั ทึกหลังการสอน
ข้อสรปุ หลงั การสอน
......................................................................................................... .........................................
................................................................................................................... ...............................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
................................................................................................................... ...............................
................................................................................................................... ...............................
.................................................................................................... ..............................................
................................................................................................................... ...............................
..................................................................................................................................................
ปญั หาที่พบ
................................................................................................................... ...............................
.................................................................................................. ................................................
................................................................................................................... ...............................
..................................................................................................................................................
................................................................................................................... ...............................
................................................................................................................... ...............................
............................................................................................................................. .....................
................................................................................................................... ...............................
............................................................................................. .....................................................
................................................................................................................... ...............................
แนวทางแกป้ ญั หา
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
................................................................................................................... ...............................
............................................................................................................... ...................................
................................................................................................................... ...............................
19
แผนการจดั การเรียนร้แู บบบูรณาการท่ี 3 หนว่ ยท่ี 2
รหัส 2202-2109 การจัดการผลติ ภณั ฑ์ทอ้ งถน่ิ (2-2-3) สอนครงั้ ที่ 3 (9-12)
ชอ่ื หน่วย/เรอ่ื ง หลกั การจดั การผลิตภณั ฑ์ท้องถน่ิ
จานวน 4 ช.ม.
แนวคดิ
การดาเนินการเก่ียวกบั การจัดการผลิตภัณฑ์ท้องถ่ิน เป็นการคดิ และสร้างสรรคโ์ ดยชมุ ชนทพี่ ิจารณา
ทรพั ยากรในท้องถนิ่ ผสานเข้ากบั วัฒนธรรมและอตั ลักษณ์ของท้องถิ่น ออกมาเปน็ ผลติ ภัณฑท์ ี่มีความแตกตา่ ง
จากผลิตภัณฑ์ของชุมชนอ่นื โดยมรี ฐั บาลใหค้ วามชว่ ยเหลอื ใหค้ าปรกึ ษาดา้ นตา่ งๆ ทงั้ น้ีรฐั บาลไดม้ ีการจดั การ
เพื่อสนบั สนนุ ใหช้ ุมชนมีความรู้ ทกั ษะ และวิธกี ารดาเนินงานทมี่ ีประสิทธิภาพเพื่อใหป้ ระสบความสาเร็จ
สามารถพึ่งพาตนเองได้ และทาให้ชุมชนเข้มแขง็
ผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวัง
1 แสดงความรเู้ ก่ยี วกับการดาเนนิ การเกีย่ วกบั ผลติ ภณั ฑท์ ้องถน่ิ ได้
2 แสดงความรู้เกย่ี วกบั ศูนย์บริการสง่ เสริมเศรษฐกจิ ฐานรากได้
3 แสดงความรูเ้ ก่ยี วกบั การจัดการเครือขา่ ย OTOP ได้
4. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา
สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ทค่ี รูสามารถสังเกตได้ขณะทาการสอนในเร่ือง
4.1 ความมีมนุษยสัมพันธ์ 4.6 การประหยัด
4.2 ความมวี นิ ัย 4.7 ความสนใจใฝร่ ู้
4.3 ความรับผดิ ชอบ 4.8 การละเวน้ ส่ิงเสพติดและการพนัน
4.4 ความซ่ือสตั ย์สุจริต 4.9 ความรักสามัคคี
4.5 ความเช่อื มั่นในตนเอง 4.10 ความกตัญญกู ตเวที
สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรเู้ กี่ยวกับหลักการและกระบวนการจดั การผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น
2. แสดงความรู้เกยี่ วกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง หลักธรรมาภิบาล กฎหมายและองคก์ ารที่
เก่ยี วข้อง
กับการจัดการผลิตภณั ฑ์ท้องถิน่
3. วางแผนและจัดการผลิตภัณฑ์ท้องถ่นิ ตามหลักการและสถานการณ์ทางการตลาด
20
4. ประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและหลักธรรมาภบิ าลในการจัดการผลติ ภัณฑ์ทอ้ งถน่ิ
5. ประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารกับการจัดการผลิตภณั ฑ์ท้องถ่นิ
สาระการเรยี นรู้
1 การดาเนินการเก่ยี วกับผลิตภณั ฑท์ อ้ งถิ่น
2 ศูนย์บริการส่งเสรมิ เศรษฐกิจฐานราก
3 การจดั การเครือข่าย OTOP
กจิ กรรมการเรียนรู้
ขัน้ นาเขา้ สู่บทเรียน
1.ครแู ละผเู้ รยี นสนทนาเก่ยี วกบั ประเทศไทยเปน็ ประเทศที่มีทรพั ยากรอดุ มสมบูรณ์ หากมกี ารจดั การ
ทรพั ยากรอยา่ งเห็นคุณคา่ และถกู วธิ ี ทรัพยากรเหล่านน้ั จะสามารถสร้างมูลค่าได้อย่างมหาศาล หนว่ ยงานของรฐั
ที่เก่ียวข้องพยายามหาแนวทางเพ่อื การสง่ เสริมให้ประชาชนสามารถนาทรัพยากรท่ีมีอย่ใู นท้องถนิ่ มาใช้ให้เกดิ
ประโยชน์อย่างสงู สดุ ในการอุปโภค บริโภคในครัวเรอื นเพอื่ ลดการพงึ่ พาสนิ ค้าจากแหล่งอ่นื เปน็ การประหยดั
รายจ่ายใช้ชีวิตอยา่ งพอเพียงตามแนวพระราชดารขิ องพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว และนอกจากนี้ยังส่งเสรมิ
ใหป้ ระชาชนนาสงิ่ ท่ีผลติ ได้ออกจาหนา่ ย เพื่อสร้างรายได้ให้แกต่ นเองและครอบครัวอีกด้วย
2. ผู้เรยี นเลา่ ประสบการณ์เก่ียวกบั ผลิตภณั ฑท์ อ้ งถิ่นทเี่ คยพบเห็นมาในชวี ติ
3. ครูกลา่ วถึงการแก้ปัญหาของผลิตภณั ฑ์ท้องถ่ินท่เี คยพบเห็นมาในแตล่ ะภาค
4. ครแู สดงรูฟภาพของผลิตภณั ฑ์ท้องถนิ่ เพ่ือเชอ่ื มโยงเข้าสู่บทเรียน
21
ข้ันสอน
5.ครใู ช้เทคนิควธิ ีสอนแบบใช้โสตทศั นวัสดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction Method) เปน็ วิธี
สอนที่นาอุปกรณโ์ สตทัศนว์ สั ดมุ าชว่ ยพฒั นาคณุ ภาพการเรียนการสอน โสตทัศนว์ สั ดุดังกล่าว ไดแ้ ก่ Power
Point
เพ่อื อธิบายการดาเนินการเกีย่ วกบั ผลติ ภณั ฑท์ ้องถ่นิ ในส่วนของการจัดการ การพัฒนาผลิตภณั ฑ์ท้องถิน่ กรม
พฒั นาชมุ ชนไดด้ าเนนิ การภายใตโ้ ครงการหน่ึงตาบลหนง่ึ ผลติ ภณั ฑ์ มกี ารสง่ เสริมใหห้ มู่บา้ นต่างๆ รว่ มกันคิด
สรา้ งสรรค์ผลติ ภณั ฑ์ของตนเองโดยใช้ทรัพยากรที่มีอย่ใู นท้องถนิ่ โดยแบ่งผลติ ภณั ฑ์ออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่
5.1. ประเภทอาหาร
5.2. ประเภทเครือ่ งดื่ม
5.3. ประเภทผ้า เครื่องแต่งกาย
5.4. ประเภทของใช้/ของตกแต่ง/ของที่ระลึก
5.5. ประเภทสมนุ ไพรทไ่ี มใ่ ช่อาหาร
6.ครูใชเ้ ทคนิควิธีสอนแบบบรรยาย (Lecture Method) ด้วยการเล่าอธบิ ายแสดงสาธติ ให้ผู้เรยี นเปน็ ผฟู้ ัง
และเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนซักถามปัญหาได้ในตอนทา้ ยของการบรรยายการขบั เคลอ่ื นตามโครงการหนง่ึ ตาบลหนง่ึ
ผลติ ภณั ฑ์ จะตอ้ งมกี ารประสานงาน และรว่ มมือกันระหว่างรัฐบาลและเอกชน โดยการดาเนนิ การโครงการหน่ึง
ตาบลหน่งึ ผลติ ภัณฑ์มหี นว่ ยงานท่ีเกย่ี วข้อง ดังน้ี
6,1 สว่ นกลาง 6.2 สว่ นภมู ิภาค
7.ครูใช้เทคนคิ วธิ ีสอนแบบสาธิต (Demonstration Method) เป็นวิธสี อนที่ครูแสดงให้ผู้เรียนดแู ละให้
ความร้แู กผ่ ู้เรยี นโดยใชส้ ื่อการเรียนร้ทู เ่ี ป็นรูปธรรม และผเู้ รียนไดป้ ระสบการณ์ตรง โดยครสู าธติ การจดั ทา
ฐานข้อมลู ผ้ผู ลิตและผปู้ ระกอบการ OTOP
8.ครใู ห้ความรู้เพม่ิ เติมในการทาบญั ชีรายรบั -รายจ่าย ซ่งึ เปน็ การจดบนั ทึกเหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ เกี่ยวกบั
การเงนิ หรอื บางสว่ นเกย่ี วข้องกบั การเงิน โดยผา่ นการวเิ คราะห์ จัดประเภทและบนั ทึกไว้ในแบบฟอร์มท่ีกาหนด
เพือ่ แสดงฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของตนเองหรอื ครอบครัวในชว่ งระยะเวลาหนง่ึ เปน็ วธิ ชี ่วย
ตรวจสอบการใชจ้ ่ายของครอบครวั วา่ มีรายจา่ ยสมดลุ กบั รายรับ และใช้จ่ายอยา่ งมีเหตุผลตามความจาเป็น
พอเหมาะกบั สภาพครอบครัวหรือไม่ หากสามารถปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมการบรโิ ภค เพือ่ ลดรายจ่ายทีไ่ ม่จาเปน็
เกินตนได้ จะชว่ ยให้มเี งนิ เกบ็ ออมเพื่อเปน็ รากฐานสรา้ งภูมิคุม้ กันทีดีในชวี ิตได้
8.ครูให้ความรู้เพิม่ เติมนอกเหนอื จากเนื้อหาการเรียนการสอน เกย่ี วกับเงื่อนไขตามหลักเศรษฐกจิ
พอเพียง ในการตัดสินใจและการปฏิบตั กิ ิจกรรมตา่ ง ๆ ให้อยูใ่ นระดบั พอเพียงนนั้ ต้องอาศยั ทัง้ ความรู้ และ
คณุ ธรรมเป็นพ้ืนฐาน กลา่ วคือ
22
(1) เงื่อนไขความรู้ เป็นความรอบรูเ้ กยี่ วกับวชิ าการต่าง ๆ ทเ่ี กยี่ วข้อง ความรอบคอบทีจ่ ะนาความรู้
เหล่านนั้ มาพจิ ารณาใหเ้ ช่อื มโยงกนั เพ่ือการวางแผน และความระมัดระวงั ในขน้ั ปฏบิ ัติ
(2) เงอ่ื นไขคณุ ธรรม เปน็ สงิ่ ท่ีต้องเสรมิ สรา้ งให้มีความตระหนักในคณุ ธรรม มคี วามซ่ือสัตยส์ ุจรติ และมี
ความอดทน มีความเพียร ใช้สตปิ ัญญาในการดาเนินชวี ิต
ขน้ั สรปุ และการประยุกต์
9.ครแู ละผู้เรียนชว่ ยกันสรุปเน้อื หาการดาเนินการเก่ียวกบั ผลติ ภัณฑท์ ้องถนิ่ และศูนย์บริการสง่ เสรมิ
เศรษฐกิจฐานราก และการจัดการเครือขา่ ย OTOP โดยการถามตอบ
10.ประเมนิ ผ้เู รียนตามแบบฟอร์มต่อไปนี้
แบบประเมนิ ประสบการณ์พ้ืนฐาน
ชื่อผเู้ รยี น ประสบการณ์พ้ืนฐานการเรียนรู้ วิธกี ารเรยี นรู้
ความรู้ ทักษะ ผลงาน
1.
2.
3.
4.
5.
23
สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้
1.หนงั สอื เรียน วิชาการจัดการผลติ ภณั ฑท์ อ้ งถนิ่ ของสานกั พิมพเ์ อมพนั ธ์
2.รูปภาพการจดั การเครอื ขา่ ย OTOP
3.กจิ กรรมการเรยี นการสอน
4.แผน่ ใส
5.สอื่ อิเลก็ ทรอนิกส,์ PowerPoint
6.แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
7.แบบประเมินกจิ กรรมใบงาน
หลักฐาน
1.บันทึกการสอน
2.ใบเชค็ รายช่ือ
3.แผนจดั การเรยี นรู้
4.การตรวจประเมินผลงาน
การวดั ผลและการประเมินผล และคุณลกั ษณะอนั พึง
วธิ วี ัดผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. ประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่
3. สงั เกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุม่
4. ตรวจใบงาน
5. ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏิบตั ิ
6. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม
ประสงค์
เครอ่ื งมือวัดผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่ม (โดยครู)
3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุ่ม (โดยผู้เรียน)
4. แบบประเมินกิจกรรมใบงาน
24
5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ แบบฝึกปฏิบัติ
6. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและผูเ้ รียน
รว่ มกันประเมนิ
เกณฑ์การประเมินผล
1. เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรบั ปรงุ
2. เกณฑผ์ ่านการประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50 % ขึน้ ไป)
3. เกณฑ์ผา่ นการสงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป)
4. กจิ กรรมใบงาน เกณฑผ์ า่ น คือ 50%
5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏิบัติมเี กณฑ์ผ่าน 50%
6 แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนข้ึนอยู่กับการ
ประเมินตามสภาพจริง
กิจกรรมเสนอแนะ
1.ผู้เรยี นควรอา่ นทบทวนเนื้อหาเพิ่มเติม
2.ผู้เรยี นศึกษานิยามคาศพั ท์
25
บนั ทึกหลังการสอน
ขอ้ สรปุ หลงั การสอน
................................................................................................................... ...............................
................................................................................................................... ...............................
................................................................................................... ...............................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
................................................................................................................... ...............................
................................................................................................................... ...............................
................................................................................................................... ...............................
................................................................................................................... ...............................
.............................................................................................. ....................................................
ปญั หาที่พบ
................................................................................................................... ...............................
.................................................................................................. ................................................
................................................................................................................... ...............................
..................................................................................................................................................
................................................................................................................... ...............................
................................................................................................................... ...............................
............................................................................................................................. .....................
................................................................................................................... ...............................
............................................................................................. .....................................................
................................................................................................................... ...............................
แนวทางแกป้ ญั หา
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
................................................................................................................... ...............................
............................................................................................................... ...................................
................................................................................................................... ...............................
แผนการจดั การเรยี นรู้แบบบรู ณาการที่ 4 26
รหัส 2202-2109 การจดั การผลติ ภัณฑ์ทอ้ งถ่ิน (2-2-3)
ชื่อหน่วย/เร่ือง หลกั การจดั การผลติ ภัณฑ์ทอ้ งถิ่น หน่วยท่ี 2
สอนครั้งที่ 4 (13-16)
จานวน 4 ช.ม.
แนวคิด
การดาเนินการเก่ียวกบั การจัดการผลิตภัณฑท์ ้องถิ่น เป็นการคดิ และสรา้ งสรรค์โดยชมุ ชนทพี่ จิ ารณา
ทรพั ยากรในท้องถ่นิ ผสานเข้ากบั วฒั นธรรมและอัตลักษณข์ องท้องถ่ิน ออกมาเป็นผลิตภัณฑท์ ่ีมคี วามแตกตา่ ง
จากผลติ ภัณฑ์ของชุมชนอน่ื โดยมรี ัฐบาลใหค้ วามช่วยเหลอื ให้คาปรกึ ษาด้านต่างๆ ทัง้ นี้รฐั บาลไดม้ ีการจดั การ
เพ่อื สนบั สนนุ ใหช้ มุ ชนมีความรู้ ทกั ษะ และวิธกี ารดาเนนิ งานที่มปี ระสทิ ธิภาพเพื่อใหป้ ระสบความสาเรจ็
สามารถพ่ึงพาตนเองได้ และทาใหช้ ุมชนเข้มแขง็
ผลการเรียนรู้ทีค่ าดหวัง
4 แสดงความรู้เกยี่ วกบั การพัฒนาเยาวชนเพื่อการอนุรกั ษ์และสืบสานภมู ปิ ัญญาท้องถ่ินได้
5 แสดงความรเู้ กยี่ วกบั การคัดสรรสุดยอดหน่ึงตาบลหนึง่ ผลติ ภณั ฑ์ไทยได้
6.มีการพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของผู้สาเร็จการศึกษา
สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ท่ีครสู ามารถสงั เกตได้ขณะทาการสอนในเรื่อง
6.1 ความมีมนุษยสมั พันธ์
6.2 ความมีวนิ ยั
6.3 ความรับผิดชอบ
6.4 ความซื่อสัตยส์ ุจริต
6.5 ความเช่อื ม่นั ในตนเอง
6.6 การประหยดั
6.7 ความสนใจใฝ่รู้
6.8 การละเวน้ สงิ่ เสพตดิ และการพนนั
6.9 ความรักสามัคคี
6.10 ความกตัญญกู ตเวที
27
สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรเู้ กย่ี วกับหลักการและกระบวนการจดั การผลิตภณั ฑ์ท้องถนิ่
2. แสดงความร้เู กย่ี วกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง หลกั ธรรมาภิบาล กฎหมายและองค์การที่
เกย่ี วข้อง
กับการจดั การผลติ ภัณฑ์ท้องถิ่น
3. วางแผนและจัดการผลติ ภณั ฑ์ท้องถนิ่ ตามหลักการและสถานการณ์ทางการตลาด
4. ประยกุ ต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักธรรมาภบิ าลในการจัดการผลติ ภณั ฑท์ อ้ งถนิ่
5. ประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารกับการจัดการผลติ ภัณฑท์ ้องถิ่น
สาระการเรยี นรู้
4 การพฒั นาเยาวชนเพ่ือการอนรุ กั ษ์และสบื สานภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น
5 การคดั สรรสุดยอดหนงึ่ ตาบลหนึง่ ผลติ ภณั ฑ์ไทย
กจิ กรรมการเรียนรู้
ขัน้ นาเขา้ สู่บทเรียน
1.ครใู ช้เทคนคิ การสอนแบบซิปปาโมเดล (CIPPA MODEL) โดยการทบทวนความรเู้ ดิมจากสปั ดาหท์ ีผ่ า่ น
มา โดยดึงความรู้เดมิ ของผู้เรยี นในเรอ่ื งทีจ่ ะเรียน เพ่ือช่วยใหผ้ ู้เรียนมีความพร้อมในการเชื่อมโยงความรู้ใหม่กบั
ความรู้เดิมของตน ผ้สู อนใชก้ ารสนทนาซกั ถามใหผ้ ู้เรยี นเล่าประสบการณเ์ ดมิ หรือให้ผูเ้ รยี นแสดงโครงความรู้
เดิม (Graphic Organizer) ของตน
2.ครูสนทนากบั ผ้เู รียน สบื เน่ืองจากการดาเนนิ การโครงการหนง่ึ ตาบลหนงึ่ ผลิตภณั ฑ์ เม่ือ พ.ศ. 2544
เพอ่ื สร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชนให้สามารถยกระดับความเปน็ อยขู่ องคนในชุมชนให้ดขี นึ้ มกี ารจัดสรรทรพั ยากร
ท่ีมีอยู่ในทอ้ งถิน่
เพื่อผลิตผลิตภณั ฑ์ที่มคี ุณภาพและมจี ุดเด่น เปน็ เอกลักษณ์และสอดคล้องกบั วัฒนธรรมในท้องถิน่ กรมการ
พัฒนาชมุ ชนได้ตระหนักถึงการอนรุ กั ษ์และการสืบสานภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ให้คงอย่ใู นชมุ ชนและเกดิ การต่อยอด
องค์ความรู้ของชุมชนสบื ไป จงึ ส่งเสรมิ ให้เยาวชนได้มีสว่ นร่วมในการอนุรักษ์สืบสานภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น พฒั นา
องค์ความร้ขู องเยาวชนดา้ นการผลติ สินค้า OTOP และส่งเสริมใหเ้ ยาวชนเขา้ สูก่ ารเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ จึง
จดั ทา “โครงการพฒั นาเยาวชนเพ่ือการอนรุ กั ษแ์ ละสืบสานภูมิปัญญาท้องถิน่ และพฒั นาอาชพี ” โดยมี
กลุม่ เป้าหมายเปน็ เยาวชนในพ้นื ท่จี งั หวัดอายุ 15-25 ปี
28
ขน้ั สอน
3.ครใู ช้เทคนคิ การสอนแบบ Lecture Method การจัดการเรยี นร้แู บบบรรยาย คอื กระบวนการเรียนรทู้ ่ี
ผู้สอนเป็นผถู้ ่ายทอดความรู้ใหแ้ กผ่ เู้ รยี นโดยการพูดบอกเล่า อธบิ ายการพัฒนาเยาวชนเพ่อื การอนรุ ักษ์และสืบ
สานภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ โดยมกี ารดาเนนิ งานดงั น้ี
3.1 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพเยาวชนดา้ นการอนุรกั ษแ์ ละสืบสานภมู ิปัญญาท้องถน่ิ
3.2 กิจกรรมเพ่ิมพนู ทักษะเยาวชนดา้ นการอนรุ กั ษแ์ ละสืบสานภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน
3.3 กจิ กรรมพัฒนาศักยภาพเยาวชน OTOP ด้านการวางแผนธรุ กจิ
4.ครใู ชเ้ ทคนคิ การสาธติ การคัดสรรสดุ ยอดหน่งึ ตาบลหน่ึงผลติ ภณั ฑไ์ ทย โดยใช้ Power Point ประกอบ
รัฐบาลยังคงมีนโยบายด้านเศรษฐกิจในการเพม่ิ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการโครงการหน่ึงตาบลหน่งึ
ผลิตภณั ฑ์ เพ่อื ให้ผผู้ ลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP พฒั นาผลิตภณั ฑ์ใหม้ ีมลู ค่าสงู ขนึ้ มกี ารพัฒนาคณุ ภาพมาตรฐาน
และสร้างภาพลักษณ์ของผลิตภณั ฑ์ใหเ้ ปน็ ท่ยี อมรับของผู้บรโิ ภค โดยผผู้ ลติ ผลติ ภัณฑท์ เ่ี ข้ารบั การคัดสรร แบ่ง
ออกเป็น 5 กลมุ่ ประเภทผลิตภณั ฑ์หนงึ่ ตาบลหนงึ่ ผลิตภณั ฑ์ นามาจัดระดับผลิตภัณฑ์ เปน็ ระดับประเทศ โดยมี
หลกั เกณฑใ์ นการพิจารณา 3 ดา้ น ได้แก่
4.1. หลักเกณฑด์ ้านผลิตภัณฑแ์ ละความเขม้ แขง็ ของชุมชน
4.2. หลกั เกณฑ์ดา้ นการตลาดและความเปน็ มาของผลติ ภัณฑ์
4.3. หลกั เกณฑ์ด้านคณุ ภาพผลิตภัณฑ์
5..ครใู ชเ้ ทคนิคการสอนแบบ Lecture Method การจดั การเรียนรแู้ บบบรรยาย คือ กระบวนการเรียนร้ทู ่ี
ผูส้ อนเป็นผูถ้ า่ ยทอดความรู้ให้แก่ผู้เรียนโดยการพูดบอกเล่า อธิบาย โดยจากหลกั เกณฑ์ทง้ั 3 ดา้ น นามากาหนด
กรอบในการจัดระดับผลติ ภณั ฑ์ ออกเปน็ 5 ระดับดงั น้ี
ประโยชน์ท่ีไดร้ บั จากการดาเนนิ การคดั สรรสุดยอดหน่ึงตาบลหนงึ่ ผลติ ภัณฑ์ ทาใหผ้ ู้ผลิต ผู้ประกอบการ
OTOP ทราบถึงศกั ยภาพของผลิตภณั ฑ์ของตน เพ่ือใชเ้ ปน็ แนวทางในการดาเนนิ การขน้ั ต่อไปในอนาคต
6.ผู้เรยี นสืบค้นขอ้ มูล หรือสมั ภาษณร์ ายละเอยี ดเกีย่ วกับการดาเนินการรวมกลุ่มเพื่อผลิตสนิ คา้ ท้องถนิ่ 1
กลุ่ม โดยกล่าวถงึ รายละเอยี ดดังนี้
29
6.1. ความเป็นมา
6.2. ผลิตภัณฑท์ ีผ่ ลติ
6.3. การจัดจาหนา่ ย
6.4. หน่วยงานทส่ี นับสนุนดา้ นความรู้ หรอื อืน่ ๆ ท่ที าให้ได้รับความสะดวกในการดาเนินงาน (อธิบาย
รายละเอียดของการสนบั สนนุ ด้วย)
7.ผู้เรียนเปน็ ผปู้ ระกอบการ OTOP และต้องการเขา้ ร่วมเครอื ข่าย OTOP ควรจะปฏบิ ตั ิอยา่ งไรจึงจะ
ประสบความสาเรจ็
8.ผู้เรยี นสืบค้นขอ้ มูลรายละเอียด “ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ ” ของจังหวดั หรอื ภาคใดภาคหนึ่งในประเทศไทย
พร้อมท้ังบอกรายละเอยี ดวา่ ชุมชนได้นาภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ นั้นมาสรา้ งสรรคผ์ ลิตภณั ฑใ์ ด
9.ผู้เรยี นสืบค้นข้อมูลผลติ ภณั ฑ์ทเ่ี ป็นสดุ ยอดหนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ของชมุ ชนใดชมุ ชนหนึ่งพร้อม
อธบิ ายรายละเอยี ดเก่ยี วกับผลิตภณั ฑ์นัน้ โดยกล่าวถงึ ลักษณะของผลติ ภัณฑ์ ชุมชนทผี่ ลติ การจัดจาหน่าย
10.ครใู หค้ วามรู้เพ่มิ เติมในการทาบญั ชรี ายรบั -รายจ่าย ซึง่ เป็นการจดบนั ทึกเหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ เก่ยี วกับ
การเงนิ หรอื บางส่วนเกีย่ วขอ้ งกบั การเงนิ โดยผ่านการวิเคราะห์ จัดประเภทและบนั ทึกไว้ในแบบฟอร์มท่ีกาหนด
เพื่อแสดงฐานะการเงนิ และผลการดาเนนิ งานของตนเองหรือครอบครัวในช่วงระยะเวลาหน่งึ เป็นวธิ ีชว่ ย
ตรวจสอบการใช้จ่ายของครอบครัววา่ มีรายจา่ ยสมดลุ กับรายรับ และใชจ้ ่ายอยา่ งมีเหตุผลตามความจาเปน็
พอเหมาะกบั สภาพครอบครวั หรือไม่ หากสามารถปรบั เปล่ียนพฤติกรรมการบรโิ ภค เพอ่ื ลดรายจ่ายทไ่ี ม่จาเป็น
เกนิ ตนได้ จะช่วยใหม้ ีเงินเกบ็ ออมเพ่ือเป็นรากฐานสรา้ งภูมิคมุ้ กนั ทดี ใี นชีวิตได้
ขั้นสรปุ และการประยกุ ต์
11.ครูและผ้เู รียนสรุปเนอ้ื หาการพฒั นาเยาวชนเพ่ือการอนุรกั ษ์และสบื สานภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ และการ
คดั สรรสดุ ยอดหนงึ่ ตาบลหนึ่งผลติ ภัณฑ์ไทย
12.ผ้เู รยี นทากิจกรรมใบงาน แบบประเมนิ ผล และแบบฝกึ ปฏิบตั ิ และประเมินผ้เู รียนตามแบบฟอรม์
ดังต่อไปน้ี
ชอื่ ผ้เู รยี น ประสบการณ์พ้นื ฐานการเรยี นรู้ วธิ กี ารเรียนรู้
ความรู้ ทกั ษะ ผลงาน
1.
2.
3.
4.
5.
30
สอื่ และแหล่งการเรยี นรู้
1.หนงั สือเรียน วชิ าการจัดการผลิตภัณฑ์ทอ้ งถิ่น ของสานักพมิ พเ์ อมพันธ์
2.รูปภาพการพฒั นาเยาวชนเพื่อการอนรุ ักษ์และสบื สานภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน
5 การคัดสรรสดุ ยอดหน่ึงตาบลหน่งึ ผลติ ภัณฑ์ไทย
3.กจิ กรรมการเรยี นการสอน
4.แผ่นใส
5.สื่ออิเล็กทรอนิกส์, PowerPoint
6.แบบประเมินผลการเรยี นรู้
หลักฐาน
1.บันทึกการสอน
2.ใบเชค็ รายช่อื
3.แผนจัดการเรียนรู้
4.การตรวจประเมินผลงาน
การวดั ผลและการประเมนิ ผล และคุณลักษณะอันพึง
วิธีวัดผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. ประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุม่
3. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่
4. ตรวจใบงาน
5. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ และแบบฝึกปฏิบตั ิ
6. การสังเกตและประเมนิ พฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม
ประสงค์
เครอื่ งมือวดั ผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. แบบประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกล่มุ (โดยครู)
3. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยผู้เรยี น)
4. แบบประเมนิ กิจกรรมใบงาน
5. แบบประเมินผลการเรียนรู้ และแบบฝึกปฏบิ ตั ิ
31
6. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ โดยครูและผ้เู รียน
ร่วมกันประเมิน
เกณฑ์การประเมินผล
1. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มชี อ่ งปรับปรุง
2. เกณฑ์ผ่านการประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม คอื ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป)
3. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกล่มุ คือ ปานกลาง (50% ข้ึนไป)
4. กิจกรรมใบงาน เกณฑ์ผ่าน คือ 50%
5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบฝกึ ปฏบิ ัติมเี กณฑ์ผ่าน 50%
6 แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อยู่กับการ
ประเมินตามสภาพจรงิ
กิจกรรมเสนอแนะ
1.ครูแนะนาใหผ้ ู้เรียนอ่านทบทวนเนอ้ื หา และทากจิ กรรมใบงาน
2.นานาให้ผู้เรียนศกึ ษาการพัฒนาเยาวชนเพือ่ การอนุรกั ษ์และสืบสานภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ และการคัดสรร
สุดยอดหนงึ่ ตาบลหน่งึ ผลิตภัณฑ์ไทย
3.ผู้เรยี นควรฝกึ ทักษะในเนื้อหานอกเวลาเรยี นให้เกดิ ความชานาญ เพ่ือนาไปประยุกต์ใช้ในงานตา่ งๆ ได้
32
บนั ทึกหลังการสอน
ข้อสรุปหลังการสอน
................................................................................................................... ...............................
.............................................................................................................. ....................................
................................................................................................................... ...............................
..................................................................................................................................................
................................................................................................................... ...............................
..................................................................................................................................................
................................................................................................................... ...............................
................................................................................................................... ...............................
......................................................................................................... .........................................
ปัญหาที่พบ
................................................................................................................... ...............................
.................................................................................................. ................................................
................................................................................................................... ...............................
..................................................................................................................................................
................................................................................................................... ...............................
............................................................................................................................. .....................
................................................................................................................... ...............................
................................................................................................................... ...............................
............................................................................................. .....................................................
แนวทางแก้ปญั หา
................................................................................................................... ...............................
.......................................................................................................................................... ........
................................................................................................................... ...............................
................................................................................................................... ...............................
............................................................................................................... ...................................
................................................................................................................... ...............................
..................................................................................................................................................
33
แผนการจดั การเรยี นรู้แบบบูรณาการที่ 5 หน่วยท่ี 3
รหัส 2202-2109 การจัดการผลติ ภณั ฑท์ ้องถิ่น (2-2-3) สอนครงั้ ที่ 5 (17-20)
ช่อื หน่วย/เรอ่ื ง วสิ าหกิจชมุ ชน
จานวน 4 ช.ม.
แนวคิด
จากแนวความคิดเศรษฐกจิ พอเพยี งจึงนามาพฒั นาเปน็ วสิ าหกจิ ชุมชน ซึง่ จะช่วยให้ชมุ ชนได้เรยี นรู้มกี าร
ทางานอย่างเป็นระบบ ลดรายจา่ ยเพมิ่ รายได้ สามารถพึง่ พาตนเองได้ หากชมุ ชนมคี วามสามคั ครี ่วมมือกนั
ทางาน จะทาให้วิสาหกจิ ชมุ ชนนน้ั มีความเจริญเติบโต ขยายเปน็ เครอื ขา่ ย และหากมีการจดทะเบยี น จะทาให้
ได้รับการสนับสนนุ จากรัฐบาลมากขึ้นอกี ดว้ ย
ผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวัง
1 แสดงความรูเ้ ก่ยี วกับวิสาหกจิ ชุมชนได้
2 แสดงความรู้เกีย่ วกับความพรอ้ มของชุมชนเพ่ือการทาวสิ าหกิจชมุ ชนได้
3. มกี ารพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องผู้สาเร็จการศกึ ษา
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ท่คี รสู ามารถสงั เกตได้ขณะทาการสอนในเรื่อง
3.1 ความมมี นษุ ยสัมพันธ์ 3.7 ความสนใจใฝ่รู้
3.2 ความมีวนิ ยั 3.8 การละเวน้ สิ่งเสพตดิ และการพนนั
3.3 ความรับผิดชอบ 3.9 ความรักสามัคคี
3.4 ความซอื่ สตั ย์สจุ รติ 3.10 ความกตัญญูกตเวที
3.5 ความเชือ่ มนั่ ในตนเอง
3.6 การประหยัด
สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรเู้ ก่ยี วกับหลักการและกระบวนการจดั การผลิตภณั ฑท์ ้องถ่ิน
2. แสดงความร้เู กย่ี วกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง หลักธรรมาภบิ าล กฎหมายและองคก์ ารที่
เกีย่ วข้อง
กบั การจัดการผลติ ภัณฑท์ ้องถ่ิน
3. วางแผนและจดั การผลิตภณั ฑ์ท้องถน่ิ ตามหลักการและสถานการณ์ทางการตลาด
4. ประยุกต์ใช้หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและหลักธรรมาภบิ าลในการจดั การผลิตภัณฑท์ ้องถ่ิน
34
5. ประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารกับการจดั การผลิตภัณฑท์ ้องถน่ิ
สาระการเรียนรู้
1 ความรูเ้ กี่ยวกบั วิสาหกจิ ชมุ ชน
2 ความพร้อมของชมุ ชนเพ่ือการทาวสิ าหกจิ ชมุ ชน
กจิ กรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเขา้ สู่บทเรียน
1. ครูใช้เทคนิคการสอนแบบซปิ ปาโมเดล (CIPPA MODEL) โดยการทบทวนความรูเ้ ดิมจากสัปดาห์ที่
ผา่ นมา โดยดึงความรเู้ ดมิ ของผูเ้ รยี นในเร่อื งทจ่ี ะเรียน เพื่อชว่ ยให้ผเู้ รียนมีความพรอ้ มในการเชื่อมโยงความรใู้ หม่
กับความรู้เดิมของตน ผู้สอนใช้การสนทนาซักถามใหผ้ ูเ้ รียนเลา่ ประสบการณ์เดมิ
2.ครูและผูเ้ รยี นสนทนาเกี่ยวกบั วสิ าหกจิ ชุมชนเปน็ การนาแนวทางเศรษฐกิจชมุ ชน หรือแนวเศรษฐกิจ
พอเพยี งมาพฒั นาอยา่ งต่อเนื่องและเปน็ ระบบ มีชมุ ชนเป็นเจ้าของ มกี ารดาเนินการท่ีมไิ ด้ม่งุ แสวงหากาไร แต่
เนน้ การพึง่ พาอาศยั กัน วิสาหกจิ ชุมชนเป็นกจิ กรรมของชุมชนทีเ่ กดิ ขนึ้ จากการเรียนรู้ เปน็ กจิ กรรมท่ีไมซ่ ับซ้อน
กระทาเพื่อทดแทนการซ้ือจากตลาดทาใหช้ ุมชนลดค่าใช้จา่ ย ส่งผลให้ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศเข้มแข็งขน้ึ
วสิ าหกจิ ชมุ ชนมีความสาคัญในการสร้างรากฐานของประเทศ กลา่ วคือหากชุมชนในประเทศเข้มแข็ง ก็จะทาให้
ประเทศมีความมน่ั คงตามไปด้วย
3.ผูเ้ รยี นบอกความสาคญั ของวิสาหกจิ ชุมชน
ข้นั สอน
4.ครูใชเ้ ทคนคิ วธิ ีสอนแบบใชโ้ สตทัศนวสั ดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction Method) เปน็ วธิ ี
สอนทน่ี าอุปกรณโ์ สตทัศนว์ สั ดุมาช่วยพฒั นาคุณภาพการเรียนการสอน โสตทัศน์วสั ดุดังกลา่ ว ไดแ้ ก่ Power
Point เพ่ืออธบิ ายความรู้เกย่ี วกับวิสาหกิจชมุ ชน
5.ครอู ธิบายความหมายของวิสาหกจิ ชมุ ชน (Small and Micro community Enterprise – SMCE)
และลักษณะของวิสาหกิจชุมชน
5.ครูใช้เทคนิควิธสี อนแบบสาธิต (Demonstration Method) เป็นวธิ ีสอนท่คี รูแสดงให้ผู้เรยี นดแู ละให้
ความรแู้ กผ่ ู้เรียนโดยใชส้ อื่ การเรียนรทู้ ่เี ป็นรปู ธรรม และผู้เรียนได้ประสบการณ์ตรง ซง่ึ ครูเปน็ ผสู้ าธิต และให้
ผู้เรยี นฝกึ ทักษะปฏิบัตติ ามเพ่ือเรียนรู้การเขียนคาสง่ั พน้ื ฐานในการเขยี นโปรแกรมภาษาซี
35
6.ครูบอกการแบ่งประเภทของวสิ าหกจิ ชมุ ชน สามารถมองได้หลายมิติ กลา่ วคอื สามารถแบง่ ไดต้ าม
ลกั ษณะ
การประกอบกิจการเปน็ หลัก และแบง่ ตามการจัดการระดบั และขัน้ ตอนการพฒั นาการประกอบการของวสิ าหกจิ
ชุมชน
แบ่งตามลกั ษณะการประกอบกิจการเป็นหลัก ได้ 2 ประเภท ดงั น้ี
6.1 วสิ าหกิจชมุ ชนพืน้ ฐาน
6.2 วสิ าหกจิ ชมุ ชนกา้ วหนา้
แบง่ ตามการจดั การระดบั และขนั้ ตอนการพฒั นาการประกอบการของวสิ าหกิจชุมชน 2 ประเภท ดงั นี้
6.1 ระดบั ครอบครัว เป็นวิสาหกจิ ชุมชนแบบพ่งึ ตนเอง ประกอบกจิ กรรมเพื่อกิน ใช้ในครวั เรือนทดแทน
การพงึ่ พาจากภายนอก เช่น การนาปลามาตากแห้ง เพือ่ เก็บไว้กิน เป็นตน้
6.2 ระดับชุมชนและเครอื ข่าย
7.ครอู ธิบายทนุ ของวิสาหกจิ ชุมชน และบอกความแตกต่างของวิสาหกจิ ชุมชนมีความแตกตา่ งจากสง่ิ ท่ี
ชุมชนกระทากนั มาก่อน
8.ครใู ชเ้ ทคนดิ วธิ ีการจดั การเรียนร้แู บบรว่ มมือ (Cooperative Learning) หมายถึงกระบวนการเรียนรทู้ ี่
จัดให้ผเู้ รยี นได้รว่ มมือและช่วยเหลอื กันในการเรยี นรโู้ ดยแบง่ กลุม่ ผเู้ รียนทีม่ ีความสามารถตา่ งกันออกเป็นกลมุ่
เลก็ ซงึ่ เปน็ ลกั ษณะการรวมกล่มุ อยา่ งมโี ครงสรา้ งทีช่ ดั เจน มกี ารทางานรว่ มกนั มีการแลกเปลยี่ นความคิดเห็นมี
การช่วยเหลอื พง่ึ พาอาศัยซ่ึงกันและกัน มีความรบั ผดิ ชอบร่วมกนั ทงั้ ในส่วนตนและส่วนรวมเพอ่ื ให้ตนเองและ
สมาชิกทุกคนในกลุ่มประสบความสาเรจ็ ตามเปา้ หมายท่กี าหนดไว้ ดังน้ี
7.1 แบ่งผเู้ รียนเปน็ กลุ่มๆ ละ 3-4 คน
7.2 การจัดการผลติ และการตลาดของวสิ าหกจิ ชุมชน
7.3 นาเสนอหน้าช้นั
7.4 เปิดโอกาสใหแ้ ลกเปลย่ี นความรู้ระหว่างกลุ่ม
8.ครูและผเู้ รียนใชเ้ ทคนิคการอภิปรายในเรือ่ งความพร้อมของชมุ ชนเพ่ือการทาวสิ าหกจิ ชุมชน
9.ครูเสนอแนะและเป็นทป่ี รกึ ษาในการนาเอาแนวปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ซ่ึงในกระบวนการ
ทางานทุกประเภทนนั้ จะตอ้ งเนน้ สัจจะซงึ่ เป็นตัวคุณธรรม จริยธรรม เน้นความซื่อสัตยส์ ุจรติ เนน้ ใหช้ ว่ ยกันคดิ
ชว่ ยกันทา เนน้ ให้รู้จกั ความพอดี พอประมาณ มีเหตผุ ล ท้ังหมดนี้คือ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ
สามารถนาไปประยุกตใ์ ช้กับการดาเนินชวี ติ ของทุกคนได้
36
ขนั้ สรปุ และการประยกุ ต์
10.ครแู ละผู้เรยี นสรปุ โดยการถามตอบเกี่ยวกบั ความรเู้ กี่ยวกบั วิสาหกจิ ชมุ ชน และความพรอ้ มของชมุ ชน
เพื่อการทาวิสาหกจิ ชมุ ชน โดยการถามตอบ และการฝึกเขียนโปรแกรม
11.ผเู้ รียนทากิจกรรมใบงาน แบบประเมนิ ผลการเรียนร้ เพ่ือฝกึ ทักษะการเรยี นรใู้ หเ้ กิดความชานาญใน
การนาไปประยกุ ต์ใชต้ ่อไป
12.ผูเ้ รียนร่วมกนั ประเมนิ โดยพิจารณาจากข้อมูลความรู้ การให้เหตุผล และความพรอ้ มในการอภิปราย
ชื่อผเู้ รยี น ประสบการณ์พนื้ ฐานการเรยี นรู้ วธิ ีการเรียนรู้
ความรู้ ทักษะ ผลงาน
1.
2.
3.
4.
ส่อื และแหล่งการเรยี นรู้
1.หนงั สือเรียน วชิ าการจัดการผลิตภัณฑ์ท้องถน่ิ ของสานักพมิ พ์เอมพันธ์
2.รปู ภาพวสิ าหกจิ ชมุ ชน
3.กจิ กรรมการเรยี นการสอน
4.แผน่ ใส
5.สื่ออเิ ล็กทรอนิกส,์ PowerPoint
6.แบบประเมินผลการเรียนรู้
หลักฐาน
1.บนั ทกึ การสอน
2.ใบเชค็ รายชื่อ
3.แผนจดั การเรียนรู้
4.การตรวจประเมนิ ผลงาน
37
การวดั ผลและการประเมนิ ผล
วธิ ีวัดผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่
3. สังเกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกล่มุ
4. ตรวจใบงาน
5. ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏิบตั ิ
6. การสงั เกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ มและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เครื่องมือวดั ผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม (โดยครู)
3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่ม (โดยผู้เรยี น)
4. แบบประเมนิ กิจกรรมใบงาน
5. แบบประเมินผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏิบตั ิ
6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ โดยครูและผ้เู รียน
รว่ มกันประเมนิ
เกณฑ์การประเมนิ ผล
1. เกณฑ์ผ่านการสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล ต้องไมม่ ชี ่องปรับปรงุ
2. เกณฑ์ผ่านการประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50 % ขึน้ ไป)
3. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป)
4. กิจกรรมใบงาน เกณฑผ์ ่าน คือ 50%
5. แบบประเมินผลการเรยี นรู้ และแบบฝึกปฏบิ ตั ิ มีเกณฑ์ผา่ น 50%
6 แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ
ประเมนิ ตามสภาพจริง
กจิ กรรมเสนอแนะ
1.ครแู นะนาใหฝ้ กึ ปฏบิ ตั ทิ ากิจกรรมใบงาน
2.อา่ นทบทวนเน้ือหา
38
บนั ทกึ หลังการสอน
ขอ้ สรปุ หลังการสอน
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
.................................................................................................................................... ..............
.................................................................................................................... ..............................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
ปญั หาที่พบ
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
............................................................................................................................. .....................
.................................................................................................... ..............................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
............................................................................................................................. .....................
แนวทางแก้ปัญหา
............................................................................................................................. .....................
.............................................................................................. ....................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
39
แผนการจัดการเรียนรูแ้ บบบรู ณาการท่ี 6 หน่วยท่ี 3
รหัส 2202-2109 การจดั การผลติ ภณั ฑ์ท้องถิ่น (2-2-3) สอนครง้ั ที่ 6 (21-24)
ชอ่ื หน่วย/เรอ่ื ง วิสาหกิจชุมชน
จานวน 4 ช.ม.
แนวคิด
จากแนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียงจึงนามาพฒั นาเปน็ วสิ าหกิจชมุ ชน ซ่ึงจะชว่ ยใหช้ ุมชนได้เรียนร้มู กี าร
ทางานอย่างเป็นระบบ ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ สามารถพ่งึ พาตนเองได้ หากชุมชนมคี วามสามัคคีร่วมมือกัน
ทางาน จะทาใหว้ สิ าหกจิ ชุมชนน้ันมคี วามเจริญเติบโต ขยายเปน็ เครือขา่ ย และหากมีการจดทะเบียน จะทาให้
ได้รบั การสนบั สนุนจากรัฐบาลมากข้ึนอกี ด้วย
จุดประสงค์การเรียนรู้
3 แสดงความร้เู ก่ยี วกบั เครอื ข่ายวิสาหกิจชมุ ชนได้
4 แสดงความรูเ้ กี่ยวกับวิสาหกจิ ชุมชนกบั โครงการของรฐั บาลได้
5 แสดงความรเู้ กยี่ วกับแนวทางการดาเนินการวสิ าหกิจชมุ ชนได้
6. มกี ารพัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผสู้ าเร็จการศึกษา
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ท่ีครูสามารถสงั เกตได้ขณะทาการสอนในเร่ือง
6.1 ความมีมนุษยสัมพนั ธ์
6.2 ความมีวินยั
6.3 ความรบั ผดิ ชอบ
6.4 ความซอ่ื สตั ย์สุจรติ
6.5 ความเชือ่ มั่นในตนเอง
6.6 การประหยัด
6.7 ความสนใจใฝ่รู้
6.8 การละเวน้ สง่ิ เสพตดิ และการพนนั
6.9 ความรกั สามคั คี
6.10 ความกตัญญูกตเวที
40
สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรเู้ ก่ยี วกบั หลักการและกระบวนการจัดการผลิตภัณฑ์ท้องถนิ่
2. แสดงความรเู้ ก่ยี วกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลกั ธรรมาภิบาล กฎหมายและองคก์ ารท่ี
เกี่ยวข้อง
กับการจัดการผลติ ภัณฑ์ท้องถ่ิน
3. วางแผนและจดั การผลติ ภัณฑ์ท้องถ่ินตามหลักการและสถานการณ์ทางการตลาด
4. ประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลกั ธรรมาภิบาลในการจดั การผลติ ภัณฑ์ทอ้ งถิน่
5. ประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารกับการจดั การผลิตภัณฑ์ท้องถ่นิ
สาระการเรยี นรู้
3 เครือข่ายวิสาหกิจชมุ ชน
4 วสิ าหกิจชุมชนกับโครงการของรัฐบาล
5 แนวทางการดาเนนิ การวิสาหกิจชมุ ชน
กิจกรรมการเรยี นรู้
ขัน้ นาเข้าสู่บทเรยี น
1.ครสู นทนากบั ผ้เู รียนวา่ จากความหมายของวิสาหกิจชุมชนทก่ี ลา่ วมาข้างต้น วสิ าหกจิ ชมุ ชน หมายถงึ
กลุ่มคนที่รวมตัวกันเพื่อประกอบการวสิ าหกิจชุมชน ขณะที่ชาวบา้ นท่ัวไป และองค์กรพัฒนาเอกชน กล่าวถึง
วสิ าหกจิ ชุมชนว่า หมายถึง องค์กรชุมชนตา่ งๆ ที่สมั พนั ธ์กันเปน็ เครือข่าย ถึงแมว้ ่าจะให้ความหมายท่ีต่างกัน แต่
เนื้อหาสาคญั จะเหมือนกนั คือ ความสัมพันธ์ระหวา่ งคนหรือองค์กรในทอ้ งถน่ิ เกดิ ข้นึ จากการทบ่ี ุคคลเช่ือมโยง
กนั เปน็ เครือข่าย
2.ครูถามผเู้ รียนเก่ยี วกบั ความร้ทู ่ัวไปเบ้อื งต้นเกี่ยวกบั วสิ าหกิจชมุ ชนในแตล่ ะทอ้ งถิน่ ในประเทศไทย
3.ผเู้ รียนยกตวั อยา่ งข้อดขี องวิสาหกิจชุมชนในแต่ละท้องถ่ิน
ข้ันสอน
4.ครูใช้เทคนคิ วิธีการจัดการเรยี นรู้แบบอภิปราย (Discussion Method) เพ่ือให้ผเู้ รยี นมีโอกาสสนทนา
แลกเปลย่ี น
ความคดิ เหน็ หรือระดมความคิด โดยมจี ุดม่งุ หมายเพื่อใหผ้ ้เู รยี นเข้าใจเนอ้ื หาได้อย่างมีประสิทธภิ าพ โดยอภิปราย
เรอ่ื งเครือขา่ ยวิสาหกิจชมุ ชน โดยเครอื ขา่ ยของวสิ าหกิจชมุ ชน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
41
4.1 เครอื ขา่ ยภายใน
4.2 เครือข่ายภายนอก
5.ครูใชเ้ ทคนคิ วธิ ีสอนแบบใชโ้ สตทศั นวัสดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction Method) เพื่อช่วย
พัฒนาคณุ ภาพการเรียนการสอน โสตทัศนว์ ัสดุดังกลา่ ว ได้แก่ Power Point เพอื่ อธิบายวสิ าหกจิ ชมุ ชนกับ
โครงการของรัฐบาล
วสิ าหกจิ ชุมชนเก่ียวข้องกบั การดาเนนิ การของรัฐบาลหลายโครงการ ได้แก่ โครงการกองทนุ หมบู่ า้ นและชมุ ชน
เมือง 1 ล้านบาท โครงการหนึง่ ตาบลหนึ่งผลติ ภัณฑ์ โครงการพักชาระหนี้ เป็นต้น
วสิ าหกจิ ชมุ ชนเกย่ี วขอ้ งกับโครงการหนึง่ ตาบลหน่งึ ผลติ ภณั ฑ์ กล่าวคอื วิสาหกจิ ชมุ ชนทาให้ชมุ ชนมี
กระบวนการคิดอย่างมรี ะบบ จากทรพั ยากรท่ีมีอยู่ เรมิ่ จากการผลติ เพ่ือกิน ใชใ้ นครวั เรือนทดแทนการซ้ือจาก
ภายนอก เม่ือเพียงพอและมเี หลอื มีการพฒั นาคุณภาพของผลติ ภณั ฑ์ให้มีความเดน่ เปน็ เอกลักษณ์ สามารถนา
ออกสทู่ อ้ งตลาดได้ เป็นสินคา้ “หน่งึ ตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์” วิสาหกิจชุมชนกับโครงการกองทนุ หมบู่ ้านและชมุ ชน
เมือง 1 ลา้ นบาท เป็นโครงการทชี่ ุมชนสามารถจดั หาเงินทุนสาหรับนาไปเสริมความเข้มแข็ง โดยการใช้เงนิ ทุน
ดังกลา่ วอยา่ งมีประสิทธภิ าพ
ชมุ ชนจะต้องมีความรู้ ความเขา้ ใจ มใิ ชม่ ่งุ เพยี งการผลติ เพ่ือการจาหน่ายแต่อยา่ งเดยี ว ชมุ ชนจะต้องเรียนรู้การ
รจู้ กั ตนเอง ชุมชน โลก รวมถึงการพัฒนาศักยภาพของตนเอง สามารถลดรายจา่ ยและทาใหร้ ายได้สูงขนึ้ ดว้ ย
6 ครูบอกแนวทางการดาเนินการวสิ าหกิจชุมชนตามพระราชบัญญัติส่งเสรมิ วิสาหกิจชมุ ชน พ.ศ. 2548
กาหนดใหก้ รมสง่ เสริมการเกษตรเปน็ แกนกลางในการดาเนนิ การสง่ เสริมวิสาหกจิ ชมุ ชน ทาหน้าท่เี ปน็ ผใู้ หก้ าร
รบั รองสถานภาพของวสิ าหกิจ
7.ผู้เรยี นอธิบายชมุ ชนและเครอื ข่าย และเป็นสานกั งานเลขานกุ าร คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกจิ
ชมุ ชน มีบทบาทหนา้ ทด่ี ังนี้
7.1. รับจดทะเบยี น/เพกิ ถอนวสิ าหกิจชมุ ชนและเครอื ขา่ ย และเลิกกจิ การ
7.2. เปน็ สานกั งานเลขานกุ าร คณะกรรมการสง่ เสริมวิสาหกิจชมุ ชน
7.3. ดาเนินการให้เกดิ การสง่ เสริม สนบั สนนุ วิสาหกจิ ชุมชนและเครือข่ายอยา่ งครบวงจรและเป็น
เอกภาพ
8.ครูอธิบายแนวทางการสง่ เสรมิ วสิ าหกจิ ชมุ ชน และอธิบายการจดทะเบียนวิสาหกจิ ชุมชนตาม
กฏหมาย
9.ผู้เรยี นพิจารณาวา่ ในท้องถิ่นของตนเองหรือบรเิ วณใกลเ้ คยี งมวี ิสาหกจิ ชมุ ชนใดบ้างท่ีน่าสนใจและนา
ข้อมูลมาแลกเปลีย่ นกนั ภายในช้นั เรยี น
42
10.ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นว่า วิสาหกจิ ชมุ ชนในท้องถ่ินนั้นไดน้ าทรัพยากรมาใช้ในการดาเนนิ การ
อย่างไร และนกั เรียนเห็นดว้ ยกับการดาเนนิ การดังกล่าวหรือไม่ อธิบายพร้อมบอกเหตผุ ลประกอบอยา่ งชดั เจน
11.ผู้เรียนยกตัวอยา่ งผลิตภัณฑท์ ผ่ี ลติ โดยวิสาหกจิ ชมุ ชน ทต่ี นเองชอบและสนใจ อธบิ ายรายละเอียด
ของผลิตภณั ฑ์นั้น พรอ้ มบอกเหตุผลของความพึงพอใจผลิตภณั ฑน์ นั้
12.ผู้เรยี นสืบคน้ ขอ้ มลู ผลติ ภณั ฑท์ ผ่ี ลิตโดยวิสาหกจิ ชุมชน และสามารถส่งออกจาหน่ายตลาด
ต่างประเทศได้ โดยพจิ ารณาหาจุดเด่นและจุดดว้ ยของผลิตภณั ฑ์น้นั พร้อมบอกแนวทางในการพฒั นาผลติ ภัณฑ์
ให้ชัดเจน
13.ครเู น้นผู้เรยี นใหม้ ีความละเอยี ดรอบคอบ มคี วามอดทน มีควาเข้มแข็ง มคี วามเพียรพยายามใน
การฝกึ ทักษะปฏิบตั ิงานได้จริงดา้ นคอมพิวเตอร์ได้ นอกจากนนั้ ยังให้ระมัดระวังความปลอดภัยในการฝึก
ปฏิบัติงานที่อาจผดิ พลาดเกิดขน้ึ ไดโ้ ดยไม่ได้ตั้งใจ เพราะในการประกอบอาชพี จริง ๆ ดังนน้ั ผู้เรียนตอ้ งฝึกทักษะ
ความชานาญเหล่านี้ใหม้ ีประสทิ ธิภาพ เพ่อื สรา้ งรายได้ท่ีดใี นอนาคตต่อไป และพร้อมรบั ผลกระทบและความ
เปลย่ี นแปลงที่จะเกดิ ข้นึ ในอนาคต คอื ทาให้เข้มแข็ง กจ็ ะทาให้ครอบครัวมีเงนิ ออมอันเกิดจากการทางานของ
เราได้ ถือเปน็ เงือ่ นไขสาคัญคือเรื่องคณุ ธรรม ลกั ษณะดังกลา่ วนี้กจ็ ะเป็นการสร้างภมู คิ ุ้มกนั ทดี่ ีในตัวเอง
รวมทั้งมคี วามอดทน มคี วามเพียรพยายามในการทามาหาเล้ยี งชีพในชีวติ ประจาวนั ไดใ้ นอนาคตตอ่ ไปเป็น
อยา่ งดี
ขน้ั สรปุ และการประยุกต์
14.ครแู ละผู้เรยี นสรปุ เนื้อหาทเี่ รียนเกี่ยวกับเครือข่ายวสิ าหกิจชมุ ชน วสิ าหกจิ ชุมชนกับโครงการของ
รัฐบาล และแนวทางการดาเนินการวสิ าหกิจชมุ ชน โดยการถามตอบเป็นกล่มุ หรือรายบุคคล
43
15.ประเมินผ้เู รียนตามแบบฟอรม์ ต่อไปน้ี
ชอ่ื ผเู้ รยี น ธรรมชาตขิ องผเู้ รยี น วิธกี ารเรยี นรู้
ความสนใจ สติปญั ญา วุฒิภาวะ
1.
2.
3.
4.
5.
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1.หนังสอื เรียน วิชาการจดั การผลติ ภัณฑ์ทอ้ งถ่ิน ของสานกั พมิ พเ์ อมพันธ์
2.รปู ภาพวสิ าหกจิ ชุมชน
3.กิจกรรมการเรียนการสอน
4.แผ่นใส
5.สื่ออิเล็กทรอนิกส,์ ส่อื PowerPoint และ VDO
6.แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
หลักฐาน
1.บนั ทกึ การสอน
2.ใบเชค็ รายชอื่
3.แผนจัดการเรียนรู้
4.การตรวจประเมินผลงาน
การวดั ผลและการประเมินผล
วธิ วี ัดผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. ประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม
3. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
4. ตรวจใบงาน