The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by toongtoongpang, 2022-03-26 10:46:58

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สตู รโรงเรยี นชุมชนประชาธิปัตย์วทิ ยาคาร ๑๐๑

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ

ท ๓๑๑๐๒ ภำษำไทย กลุ่มสำระกำรเรียนรูภ้ ำษำไทย

ช้ันมัธยมศึกษำปที ่ี ๔ เวลำเรียน ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑ หน่วยกติ

ศึกษาและฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้องไพเราะ และ

เหมาะสมกบั เร่อื งท่ีอ่าน ตคี วาม แปลความ และขยายความเรื่องท่อี า่ น มมี ารยาทในการอ่าน เขียนย่อ

ความจากส่ือที่มีรูปแบบและเน้ือหาหลากหลาย ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบต่าง ๆ ประเมิน

งานเขยี นของผอู้ ่นื แลว้ นามาพัฒนางานเขียนของตนเอง เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า เรื่องท่ีสนใจ

ตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ และใช้ข้อมูลสารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง บันทึกการศึกษาค้นคว้า

เพือ่ นาไปพฒั นาตนเองอย่างสมา่ เสมอ มมี ารยาทในการเขยี น สรปุ แนวคิดและแสดงความคิดเห็นจาก

เร่ืองท่ีฟังและดู วิเคราะห์แนวคิด การใช้ภาษา และความน่าเช่ือถือจากเร่ืองท่ีฟังและดูอย่างมีเหตุผล

ประเมินเร่ืองท่ีฟังและดู แล้วกาหนดแนวทาง นาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต มีวิจารณญาณใน

การเลอื กเร่ืองท่ีฟงั และดู พดู ในโอกาสต่าง ๆ พดู แสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าวใจ และเสนอแนวคิด

ใหมด่ ้วยภาษาถูกตอ้ งเหมาะสม มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส

กาลเทศะ และบุคคลรวมทั้งคาราชาศัพท์อย่างเหมาะสม แต่งบทร้อยกรอง วิเคราะห์อิทธิพลของ

ภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น การยืมคาภาษามอญมาใช้ในภาษาไทย การยืมคาภาษาต่างประเทศ

มาใชใ้ นภาษามอญ อธิบายและวิเคราะห์หลักการสร้างคาในภาษาไทย วิเคราะห์และประเมินการใช้

ภาษาจากสอื่ ส่งิ พิมพแ์ ละส่อื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ วิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดี

และวรรณกรรมในฐานะท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและ

วรรณกรรมเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้านและวรรณกรรมพ้ืนบ้าน

ภาษามอญ อธิบายภมู ิปัญญาทางภาษาทอ่ งจาและบอกคุณค่าบทอาขยานตามท่ีกาหนด และบทร้อย

กรองทม่ี คี ณุ ค่าตามความสนใจ และนาไปใชอ้ า้ งองิ กจิ กรรมการเรียนรู้เน้นการพัฒนาการใช้ภาษาไทย

อย่างถกู ตอ้ งและเพิ่มประสทิ ธิภาพในการอ่าน เขยี น ฟัง ดู พดู

โดยให้ฝึกฝนทักษะในรูปแบบที่หลากหลายและเช่ือมโยงกับชีวิตจริงใช้ทั้งส่ือส่ิงพิมพ์ ส่ือ

อิเล็กทรอนิกส์ และแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ทาให้เกิดการเรียนรู้ท่ีมีความหมาย นอกจากน้ียังมี

กิจกรรมการเรยี นรู้ที่เนน้ การคดิ วเิ คราะหจ์ ากการอา่ นวรรณคดี วรรณกรรมการรับข้อมูลข่าวสารต่าง

ๆ เพื่อพัฒนากระบวนการคิด การใช้วิจารณญาณ การแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล การ

สงั เคราะห์ความรู้และข้อคิด

เพอื่ ให้ผูเ้ รียนมีพืน้ ฐานความร้ดู า้ นหลกั ภาษาท่ีถูกต้อง พัฒนาทักษะการใช้ภาษาไทยครบทุก

ด้าน และเรียนรู้คุณค่าท่ีสอดแทรกในวรรณคดีและวรรณกรรมไทย สามารถนาภาษาไทย รวมท้ัง

คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มทดี่ ีงามไปใช้พัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรู้ทางอาชีพ

ในชีวิตจรงิ ได้ถกู ต้อง เหมาะสม และมีประสทิ ธภิ าพ

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สูตรโรงเรยี นชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร ๑๐๒
รหัสตัวช้วี ดั
ท ๑.๑ ม. ๔-๖/๑, ม. ๔-๖/๒, ม. ๔-๖/๙
ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๓, ม. ๔-๖/๔, ม. ๔-๖/๕, ม. ๔-๖/๖,ม. ๔-๖/๗, ม. ๔-๖/๘
ท ๓.๑ ม. ๔-๖/๑, ม. ๔-๖/๒, ม. ๔-๖/๓, ม. ๔-๖/๔, ม. ๔-๖/๕, ม. ๔-๖/๖
ท ๔.๑ ม. ๔-๖/๓, ม. ๔-๖/๔, ม. ๔-๖/๕, ม. ๔-๖/๖,ม. ๔-๖/๗
ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๑, ม. ๔-๖/๒, ม. ๔-๖/๓, ม. ๔-๖/๔, ม. ๔-๖/๕, ม. ๔-๖/๖
รวมท้ังหมด ๒๖ ตวั ชี้วดั

หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนชมุ ชนประชาธิปตั ย์วทิ ยาคาร ๑๐๓

โครงสรำ้ งรำยวิชำ

วชิ ำภำษำไทย รหัส ๓๑๑๐๒ เวลำ ๔๐ ช่ัวโมง
ชัน้ มัธยมศกึ ษำปที ี่ ๔ ภำคเรยี นที่ ๒ สดั ส่วนคะแนน ๗๐ : ๓๐

ลำดับ มำตรฐำนกำร เวลำ น้ำหนกั ช้นิ งำน/
ท่ี ช่ือหน่วยกำรเรยี นรู้ เรียนร/ู้ ตัวชี้วัด เรยี น คะแนน ภำระงำน
๑ ราชาศัพท์ รวบยอด
(ชั่วโมง) ๒ ทาสมุดเลม่
๒ หลักการแต่ง ท ๔.๑ ม. ๔-๖/๓ ๒ ๔ เล็กรวบรวม
คาประพันธป์ ระเภทกาพย์ คาราชาศพั ท์
และโคลง ท ๔.๑ ม. ๔-๖/๔ ๓ ๒
เขยี นแผนผงั
๓ คาภาษาตา่ งประเทศ ท ๔.๑ ม. ๔-๖/๕ ๒ ๓ คาประพันธ์
ในภาษาไทย ๒ ประเภทกาพย์
ท ๔.๑ ม. ๔-๖/๖ ๓ และโคลง
๔ การใช้คาซา้ คาซอ้ น
และคาประสม ท ๔.๑ ม. ๔-๖/๗ ๒ สรา้ งแผน่ พบั
รวบรวมคา
๕ การวิเคราะห์และประเมนิ ภาษาตา่ งประ
การใช้ภาษาจากสอ่ื สง่ิ พิมพ์
และส่อื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เทศใน
ภาษาไทย

เขยี นแผนผงั
คาซ้า คาซอ้ น
และคาประสม

ทาสมุดเลม่
เล็กและ
วเิ คราะหแ์ ละ
ประเมนิ การ
ใช้ภาษาจาก
สอ่ื สิง่ พมิ พ์
และสื่อ
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สูตรโรงเรยี นชุมชนประชาธิปตั ย์วิทยาคาร ๑๐๔

ตอนท่ี ๒ พัฒนาทกั ษะ ท ๑.๑ ม. ๔-๖/๑ ๓ ๔ อ่านออกเสยี ง
๖ สือ่ สาร ท ๑.๑ ม. ๔-๖/๙ จากเรอ่ื งที่
กาหนด
การอา่ นออกเสียง ท ๑.๑ ม. ๔-๖/๒ ๓
บทรอ้ ยแกว้ และ ๔ ทาแผน่ พับ
บทร้อยกรอ เลือกเร่อื งและ
๗ การอา่ นแปลความ อ่านแปลความ
ตีความ และขยายความ ตีความ และ
ขยายความ
๘ การเขียนย่อความ ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๓ ๑
ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๔ ๒ ๒ สร้างสมุดเลม่
๙ การเขียนบนั ทึกความรู้ ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๕ ๓ เล็ก เขียนยอ่
ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๘ ๑ ความเรื่องท่ี
๑๐ การเขยี นรายงานวิชาการ ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๔ สนใจ
ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๕
๑๑ การเลอื กเรอ่ื งเพื่อ ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๗ ๓ สรา้ งสมุดเล่ม
ฟังและดู ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๘ เลก็ และเขยี น
ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๔ บนั ทึกความรู้
ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๕
ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๖ ๔ เขยี นรายงาน
ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๘ วชิ าการ
ท ๓.๑ ม. ๔-๖/๔
ท ๓.๑ ม. ๔-๖/๖ ๒ เลือกเร่ืองทีฟ่ ัง
และดูอย่างมี
๑๒ การพดู สรปุ แนวคดิ จากเร่อื ง ท ๓.๑ ม. ๔-๖/๑ ๑ วจิ ารณญาณ

ทฟ่ี ังและดู ท ๓.๑ ม. ๔-๖/๒ ๒ พดู วิเคราะห์
แนวคดิ การ
ท ๓.๑ ม. ๔-๖/๓ ใชภ้ าษา และ
ความ
ท ๓.๑ ม. ๔-๖/๖ นา่ เชื่อถอื จาก

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สตู รโรงเรยี นชมุ ชนประชาธิปตั ย์วิทยาคาร ๑๐๕

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๒ ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๑ ๔ เรอ่ื งที่ฟังและ
๑๓ บทละครเรอ่ื ง อิเหนา ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๒ ๓ ดูอย่างมี
ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๓ ๒ เหตุผล
ตอน ศกึ กะหมังกหุ นิง ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๔
ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๖ แสดงบทบาท
๑๔ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๑ ๕ สมมตุ ิจาก
โคลงนริ าศนรินทร์ ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๒
ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๓ เรื่อง
๑๕ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๖ ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๔
ทุกข์ของชาวนาในบทกวี ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๖ ทาสมดุ เล่ม
ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๑ ๓ เลก็ วเิ คราะห์
ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๒
ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๓ โคลงนริ าศ
ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๔ นรินทร์ในบท
ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๖ ทก่ี าหนดให้
เขยี นแผนผัง
๑๖ หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ๘ ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๕ ๒ ๓ แสดงความ
มหาเวสสันดรชาดก ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๖ ๑ คิดเห็นจาก
เรอื่ งทกุ ขข์ อง
๑๗ บทอาขยาน ชาวนาในบท

รวม ๓๘ กวี
ประเมนิ ผลสอบกลางภาค ๑ แสดงบทบาท
ประเมินผลสอบปลายภาค ๑ ๓ สมมตุ ิ
๔๐ ๒ ท่องจาและ
รวมทัง้ หมด บอกคณุ ค่าบท
อาขยานตามท่ี

กาหนด
๕๐
๒๐
๓๐
๑๐๐

หลักสูตรกลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สตู รโรงเรียนชุมชนประชาธิปตั ย์วทิ ยาคาร ๑๐๖

คำอธบิ ำยรำยวิชำ

ท ๓๒๑๐๑ ภำษำไทย กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ภำษำไทย
ชน้ั มธั ยมศกึ ษำปที ี่ ๕ เวลำเรยี น ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑ หน่วยกติ

ศึกษาและฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้องไพเราะ และ
เหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น โต้แย้งเก่ียวกับเรื่องท่ีอ่าน และเสนอ

ความคิดใหม่อย่างมเี หตุผล มีมารยาทในการอา่ น เขยี นสอื่ สารในรปู แบบต่าง ๆ ได้ตรงตามวตั ถุประสงค์
โดยใช้ภาษาเรยี บเรยี งถกู ต้อง มีขอ้ มูลและสาระสาคัญมีมารยาทในการเขียน วิเคราะห์แนวคิด การใช้

ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเร่ืองที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล พูดในโอกาสต่าง ๆพูดแสดงทรรศนะ
โต้แย้ง โน้มน้าวใจ และเสนอแนวคิดใหม่ด้วยภาษาถูกต้องเหมาะสม มีมารยาทในการฟัง การดู และ
การพูด อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลักษณะของภาษา ใช้คาและกลุ่มคาสร้าง

ประโยคตรงตามวัตถุประสงค์ ใชภ้ าษาเหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ และบุคคลรวมท้ังคาราชาศัพท์
อย่างเหมาะสม แต่งบทร้อยกรอง วิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น การยืมคา

ภาษามอญมาใชใ้ นภาษาไทย การยืมคาภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษามอญ วิเคราะห์และประเมิน
การใชภ้ าษาจากสอื่ สิง่ พิมพแ์ ละสือ่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตาม
หลักการวจิ ารณเ์ บอ้ื งต้น วเิ คราะห์ลกั ษณะเดน่ ของวรรณคดเี ชือ่ มโยงกับการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์

และวิถีชีวิตของสังคมในอดีต วิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดีและ
วรรณกรรมในฐานะท่ีเปน็ มรดกทางวฒั นธรรมของชาติ สงั เคราะหข์ ้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม

เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้าน และอธิบายภูมิปัญญาทางภาษา
ท่องจาและบอกคุณค่าบทอาขยานตามท่ีกาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ และ
นาไปใช้อ้างองิ กิจกรรมการเรยี นรู้เน้นการพัฒนาการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องและเพ่ิมประสิทธิภาพ

ในการอา่ น เขียน ฟัง ดู พูด
โดยให้ฝึกฝนทักษะในรูปแบบท่ีหลากหลายและเช่ือมโยงกับชีวิตจริงใช้ท้ังสื่อส่ิงพิมพ์ สื่อ

อิเล็กทรอนิกส์ และแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ทาให้เกิดการเรียนรู้ที่มีความหมาย นอกจากน้ียังมี
กจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ีเนน้ การคิดวเิ คราะห์จากการอา่ นวรรณคดี วรรณกรรมการรับข้อมูลข่าวสารต่าง
ๆ เพ่ือพัฒนากระบวนการคิด การใช้วิจารณญาณ การแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล การ

สงั เคราะหค์ วามรแู้ ละขอ้ คิด
เพื่อใหผ้ ู้เรยี นมพี ้ืนฐานความรูด้ า้ นหลักภาษาที่ถูกต้อง พัฒนาทักษะการใช้ภาษาไทยครบทุก

ด้าน และเรียนรู้คุณค่าท่ีสอดแทรกในวรรณคดีและวรรณกรรมไทย สามารถนาภาษาไทย รวมทั้ง
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมท่ีดีงามไปใชพ้ ัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรู้ทางอาชีพ
ในชีวติ จริงไดถ้ กู ตอ้ ง เหมาะสม และมปี ระสิทธิภาพ

หลกั สูตรกล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สูตรโรงเรยี นชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร ๑๐๗
รหัสตวั ช้ีวัด
ท ๑.๑ ม. ๔-๖/๑, ม. ๔-๖/๕, ม. ๔-๖/๙
ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๑, ม. ๔-๖/๘
ท ๓.๑ ม. ๔-๖/๒, ม. ๔-๖/๕, ม. ๔-๖/๖
ท ๔.๑ ม. ๔-๖/๑, ม. ๔-๖/๒, ม. ๔-๖/๓, ม. ๔-๖/๔, ม. ๔-๖/๕, ม. ๔-๖/๗
ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๑, ม. ๔-๖/๒, ม. ๔-๖/๓, ม. ๔-๖/๔, ม. ๔-๖/๕, ม. ๔-๖/๖
รวมท้งั หมด ๒๐ ตัวช้ีวัด

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สูตรโรงเรียนชุมชนประชาธิปตั ย์วิทยาคาร ๑๐๘

โครงสรำ้ งรำยวิชำ

วิชำภำษำไทย รหัส ท ๓๒๑๐๑ เวลำ ๔๐ ชั่วโมง
ชนั้ มัธยมศกึ ษำปีท่ี ๕ ภำคเรียนท่ี ๑ สดั ส่วนคะแนน ๗๐ : ๓๐

ลาดับ มาตรฐานการ เวลา นา้ หนัก ชนิ้ งาน/ภาระ
ท่ี ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ เรยี นร้/ู ตวั ชวี้ ัด
เรียน คะแนน งาน

(ชัว่ โมง) รวบยอด

๑ หลักภาษา ท ๔.๑ ม. ๔-๖/๑, ๕ ๗ เขียนแผนผงั
และการใช้ภาษาไทย ม. ๔-๖/๓, วัฒนธรรมกับ
ตอนท่ี ๑ เรยี นร้หู ลกั ม. ๔-๖/๕ ภาษาของ
ประจกั ษ์ภาษา มนุษย์
วฒั นธรรมกบั ภาษาของ ท ๔.๑ ม. ๔-๖/๑ ๔
มนษุ ย์ ๕ เขียนเชอ่ื มโยง
ท ๔.๑ ม. ๔-๖/๒, ๓ ส่วนประกอบ
๒ ส่วนประกอบของภาษา ม. ๔-๖/๗ ของภาษา
ท ๔.๑ ม. ๔-๖/๔ ๔
๓ การรอ้ ยเรียงประโยค ๔ เขยี นแผนผัง
ท ๑.๑ ม. ๔-๖/๕ ๓ การร้อยเรียง
๔ หลกั การแตง่ ท ๓.๑ ม. ๔-๖/๒ ประโยค
คาประพันธ์
ประเภทร่าย ๕ ทาสมดุ เลม่ เลก็
เรือ่ งหลกั การ
๕ ตอนที่ ๒ แต่ง
พฒั นาทกั ษะสอ่ื สาร คาประพันธ์
ภาษาพัฒนาความคิด ประเภทร่าย

๔ เขียนแผนผัง
ภาษาพัฒนา
ความคดิ

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสตู รโรงเรียนชมุ ชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร ๑๐๙

๖ คุณธรรมและมารยาทในการ ท ๑.๑ ม. ๔-๖/ ๓ ๔ ทาแผน่ พบั เรื่อง
คุณธรรมและ
สื่อสาร ๑, ๓ มารยาทในการ
๓ สื่อสาร
ม. ๔-๖/๙
๔ เขยี นส่ือสาร
ท ๓.๑ เชงิ กิจธุระ

ม. ๔-๖/๕, ๔ เขยี นแผนผัง
วิเคราะห์และ
ม. ๔-๖/๖ วิจารณ์
วรรณคดีและ
๗ การเขียนสอื่ สาร ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๑, วรรณกรรมตาม
หลักการ
เชิงกิจธรุ ะ ม. ๔-๖/๘ วิจารณ์เบือ้ งตน้

๘ วรรณคดีและ ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๑, ๕ เขียนแผนผงั
วิเคราะห์ลลิ ติ
วรรณกรรม ม. ๔-๖/๒, ตะเลงพา่ ย

หลักการวจิ ารณ์ ม. ๔-๖/๓, ๓ ออกแบบเกม
จบั คู่ชอ่ื คมั ภรี ์
วรรณคดี ม. ๔-๖/๔, ฉันทศาสตร์
แพทยศ์ าสตร์
และวรรณกรรม ม. ๔-๖/๕ สงเคราะห์กบั
ความหมาย
๙ ลลิ ิตตะเลงพ่าย ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๑, ๔
ม. ๔-๖/๒, ๒ ๓ แสดงบทบาท
๑๐ คมั ภีร์ฉนั ทศาสตร์ ม. ๔-๖/๓, สมมุติ
แพทยศ์ าสตรส์ งเคราะห์ ม. ๔-๖/๔,
ม. ๔-๖/๖
ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๑,
ม. ๔-๖/๒,
ม. ๔-๖/๓,
ม. ๔-๖/๔

๑๑ โคลนติดล้อ ตอน ความนยิ ม ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๑, ๒

เปน็ เสมียน ม. ๔-๖/๒,

ม. ๔-๖/๓,

ม. ๔-๖/๔

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรยี นชมุ ชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร ๑๑๐

๑๒ บทอาขยาน ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๖ ๒ ๒ ท่องจาและบอก

คุณค่าบท

อาขยานตามท่ี

กาหนด

รวม ๓๘ ๕๐

ประเมินผลสอบกลางภาค ๑ ๒๐

ประเมินผลสอบปลายภาค ๑ ๓๐

รวมท้งั หมด ๔๐ ๑๐๐

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สูตรโรงเรยี นชุมชนประชาธิปัตย์วทิ ยาคาร ๑๑๑

คำอธิบำยรำยวชิ ำ

ท ๓๒๑๐๒ ภำษำไทย กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ภำษำไทย
ช้นั มธั ยมศกึ ษำปที ่ี ๕ เวลำเรียน ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑ หน่วยกิต

ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องทีอ่ า่ น วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องท่ีอ่านในทุก ๆ ด้าน
อยา่ งมเี หตุผล คาดคะเนเหตกุ ารณจ์ ากเรอื่ งทอี่ ่านและประเมินค่าเพื่อนาความรู้ความคิดไปใช้ตัดสินใจ
แกป้ ญั หาในการดาเนนิ ชวี ติ ตอบคาถามจากการอ่านงานเขยี นประเภทต่าง ๆ ภายในเวลาท่ีกาหนด อ่าน
เรอ่ื งต่าง ๆ แลว้ เขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความและรายงาน สังเคราะห์ความรู้จาก
การอ่านส่ือส่ิงพิมพ์ ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ และแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆมาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และ
พฒั นาความรู้ทางอาชพี มมี ารยาทในการอ่าน เขียนเรียงความ เขียนย่อความจากสื่อที่มีรูปแบบและ
เนือ้ หาหลากหลาย ผลติ งานเขียนของตนเองในรูปแบบต่าง ๆ ประเมินงานเขียนของผู้อ่ืน แล้วนามา
พฒั นางานเขยี นของตนเองเขยี นรายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่องท่ีสนใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ
และใช้ข้อมูลสารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง บันทึกการศึกษาค้นคว้าเพื่อนาไปพัฒนาตนเองอย่าง
สม่าเสมอ มีมารยาทในการเขียน สรุปแนวคิดและแสดงความคดิ เหน็ จากเรอื่ งทฟ่ี งั และดู ประเมินเรื่องท่ี
ฟังและดู แลว้ กาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใชใ้ นการดาเนนิ ชวี ติ มวี จิ ารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟัง
และดู พูดในโอกาสต่าง ๆ พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าวใจ และเสนอแนวคิดใหม่ด้วยภาษา
ถูกต้องเหมาะสม มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ใช้คาและกลุ่มคาสร้างประโยค ตรงตาม
วตั ถุประสงค์ แตง่ บทร้อยกรอง อธิบายและวิเคราะห์หลักการสร้างคาในภาษาไทย และอธิบายและ
วิเคราะห์หลักการสร้างคาภาษามอญ วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการ
วจิ ารณเ์ บ้อื งต้น วเิ คราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีเช่ือมโยงกับการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์และวิถี
ชีวิตของสังคมในอดีต วิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดีและวรรณกรรมใน
ฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือนาไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้าน วรรณกรรมพ้ืนบ้านภาษามอญ และอธิบายภูมิ
ปญั ญาทางภาษา ท่องจาและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตาม
ความสนใจ และนาไปใช้อ้างอิงกิจกรรมการเรียนรู้เน้นการพัฒนาการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องและ
เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการอา่ น เขียน ฟัง ดู พดู

โดยให้ฝึกฝนทักษะในรูปแบบที่หลากหลายและเชื่อมโยงกับชีวิตจริง ใช้ทั้งส่ือสิ่งพิมพ์ ส่ือ
อิเล็กทรอนิกส์ และแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ทาให้เกิดการเรียนรู้ที่มีความหมาย นอกจากน้ียังมี
กิจกรรมการเรยี นร้ทู ี่เนน้ การคดิ วิเคราะหจ์ ากการอ่านวรรณคดี วรรณกรรมการรับข้อมูลข่าวสารต่าง
ๆ เพื่อพัฒนากระบวนการคิด การใช้วิจารณญาณ การแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล การ
สังเคราะหค์ วามรู้และข้อคดิ

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สตู รโรงเรียนชมุ ชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร ๑๑๒

เพอ่ื ให้ผู้เรียนมีพื้นฐานความรูด้ า้ นหลักภาษาท่ีถูกต้อง พัฒนาทักษะการใช้ภาษาไทยครบทุก
ด้าน และเรียนรู้คุณค่าที่สอดแทรกในวรรณคดีและวรรณกรรมไทย สามารถนาภาษาไทย รวมท้ัง
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มทดี่ งี ามไปใชพ้ ฒั นาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรู้ทางอาชีพ
ในชีวิตจริงไดถ้ ูกตอ้ ง เหมาะสม และมปี ระสทิ ธิภาพ
รหัสตัวช้ีวดั
ท ๑.๑ ม. ๔-๖/๒, ม. ๔-๖/๓, ม. ๔-๖/๔, ม. ๔-๖/๖,ม. ๔-๖/๗, ม. ๔-๖/๘, ม. ๔-๖/๙
ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๒, ม. ๔-๖/๓, ม. ๔-๖/๔, ม. ๔-๖/๕, ม. ๔-๖/๖,ม. ๔-๖/๗, ม. ๔-๖/๘
ท ๓.๑ ม. ๔-๖/๑, ม. ๔-๖/๓, ม. ๔-๖/๔, ม. ๔-๖/๕, ม. ๔-๖/๖
ท ๔.๑ ม. ๔-๖/๒, ม. ๔-๖/๔, ม. ๔-๖/๖
ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๑, ม. ๔-๖/๒, ม. ๔-๖/๓, ม. ๔-๖/๔, ม. ๔-๖/๕, ม. ๔-๖/๖
รวมทง้ั หมด ๒๘ ตวั ชี้วดั

หลกั สูตรกล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนชุมชนประชาธิปตั ย์วิทยาคาร ๑๑๓

โครงสรำ้ งรำยวชิ ำ

วชิ ำภำษำไทย รหสั ท ๓๒๑๐๒ เวลำ ๔๐ ชั่วโมง
ชน้ั มธั ยมศึกษำปที ่ี ๕ ภำคเรยี นท่ี ๒ สัดสว่ นคะแนน ๗๐ : ๓๐

ลาดบั มาตรฐานการ เวลา นา้ หนัก ชิ้นงาน/ภาระงาน
ท่ี ช่อื หน่วยการเรียนรู้ เรียนร/ู้ ตัวชี้วัด เรยี น คะแนน รวบยอด

๑ หลักภาษา (ชวั่ โมง) ๗ วาดภาพประกอบ
และการใช้ภาษาไทย ท ๔.๑ ม. ๔-๖/๒, ๖ สานวน
ตอนท่ี ๑ เรยี นรูห้ ลกั ม. ๔-๖/๖
ประจักษ์ภาษา
คาและสานวน ท ๔.๑ ม. ๔-๖/๔ ๔ ๕ ออกแบบแผนผัง คา
ประพนั ธ์ประเภท
๒ หลักการแต่ง ท ๑.๑ ม. ๔-๖/๖, ๒ รา่ ย
คาประพันธ์ ม. ๔-๖/๙ ๓
ประเภทรา่ ย ท ๓.๑ ม. ๔-๖/๕, ๓ เขียนแผนผงั
ชาญฉลาดถามตอบ ม. ๔-๖/๖ ๔ ความคิดจากเรื่อง
ท ๑.๑ ม. ๔-๖/๒, ๒
๓ รอบคอบคดิ ม. ๔-๖/๓, ๔ วเิ คราะหเ์ รอื่ งที่ฟงั
ม. ๔-๖/๔, และอ่าน
๔ วิจารณญาณ ม. ๔-๖/๘,
ในการฟัง ม. ๔-๖/๙ ๕ เขยี นบทพดู ต่อที่
และการอ่าน ท ๓.๑ ม. ๔-๖/๑, ประชุม
ม. ๔-๖/๓,
๕ การพูดต่อท่ีประชมุ ชน ม. ๔-๖/ ๔, ๓ จับกลุ่ม แตง่ เรอ่ื ง
ม. ๔-๖/๖
๖ การสื่อสาร ท ๓.๑ ม. ๔-๖/๕,
ม. ๔-๖/๖
ท ๓.๑ ม. ๔-๖/๕,

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสตู รโรงเรยี นชมุ ชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร ๑๑๔

ในการประชมุ ม. ๔-๖/๖ ประชมุ ตามเนอื้ หาที่
สนใจ
๗ การเขยี นรายงาน ท ๑.๑ ม. ๔-๖/๗, ๔
เชิงวชิ าการ ม. ๔-๖/๙ ๕ เขียนรายงาน
ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๓, ๒ เชงิ วชิ าการ
๘ การเขียนเรยี งความ ม. ๔-๖/๔, ๕
เก่ียวกับการมี ม. ๔-๖/๕, ๔ ๓ เขยี นเรยี งความ
จิตสาธารณะ ม. ๔-๖/๖, ๒
ม.๔-๖/๗, ๗ วาดภาพเหตุการณ์
๙ วรรณคดแี ละ ม. ๔-๖/๘ ประกอบเรอ่ื ง
วรรณกรรม ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๒,
รา่ ยยาว ม. ๔-๖/๘ ๕ แสดงบทบาทสมมุติ
มหาเวสสันดรชาดก
กัณฑม์ ัทรี ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๑, ๓ คดั ลายมอื และอ่าน
ม. ๔-๖/๒, บทอาขยาน
๑๐ บทละครพูดคาฉนั ท์ ม. ๔-๖/๓,
เร่ือง มทั นะพาธา ม. ๔-๖/๔, ๕๐
ม. ๔-๖/๕, ๒๐
๑๑ บทอาขยาน ม. ๔-๖/๖ ๓๐
ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๑, ๑๐๐
ม. ๔-๖/๒,
ม. ๔-๖/๓,
ม. ๔-๖/๔,
ม. ๔-๖/๖
ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๖

รวม ๓๘
ประเมนิ ผลสอบกลางภาค ๑
ประเมนิ ผลสอบปลายภาค ๑
๔๐
รวมท้งั หมด

หลักสตู รกล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรยี นชมุ ชนประชาธิปตั ย์วทิ ยาคาร ๑๑๕

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ

ท ๓๓๑๐๑ ภำษำไทย กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ภำษำไทย
ช้นั มัธยมศึกษำปที ี่ ๖ เวลำเรียน ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑ หนว่ ยกติ

ศึกษาและฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้องไพเราะ และ

เหมาะสมกับเรื่องท่ีอ่าน ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องท่ีอ่าน วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องท่ี
อ่านในทุก ๆ ด้านอย่างมีเหตุผล คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่านและประเมินค่าเพ่ือนาความรู้
ความคิดไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น โต้แย้ง

เก่ียวกบั เรื่องทอ่ี ่าน และเสนอความคิดใหมอ่ ย่างมเี หตุผล ตอบคาถามจากการอ่านงานเขียนประเภทต่าง ๆ
ภายในเวลาที่กาหนด อ่านเรื่องต่าง ๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความและ

รายงาน สงั เคราะห์ความรจู้ ากการอา่ นส่อื สิง่ พิมพ์ สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ และแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆมาพัฒนา
ตน พัฒนาการเรียน และพฒั นาความรูท้ างอาชีพ มมี ารยาทในการอา่ น เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ
ได้ตรงตามวัตถปุ ระสงค์ โดยใช้ภาษาเรยี บเรียงถูกต้อง มีข้อมูลและสาระสาคัญชัดเจน ผลิตงานเขียน

ของตนเองในรูปแบบต่าง ๆ ประเมินงานเขียนของผู้อ่ืน แล้วนามาพัฒนางานเขียนของตนเอง มี
มารยาทในการเขียน สรุปแนวคิดและแสดงความคิดเห็นจากเร่ืองที่ฟังและดู วิเคราะห์แนวคิด การใช้

ภาษา และความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล ประเมินเรื่องที่ฟังและดู แล้วกาหนด
แนวทางนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่องท่ีฟังและดู มีมารยาทใน
การฟัง การดู และการพูด อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลักษณะของภาษา ใช้คา

และกลุ่มคาสร้างประโยคตรงตามวัตถุประสงค์ อธิบายและวิเคราะห์หลักการสร้างคาในภาษาไทย
อธิบายอธบิ ายธรรมชาตขิ องภาษา พลงั ของภาษา และลักษณะของภาษามอญ วิเคราะห์และวิจารณ์

วรรณคดแี ละวรรณกรรมตามหลักการวจิ ารณเ์ บือ้ งต้น วิเคราะหล์ กั ษณะเด่นของวรรณคดีวรรณกรรม
ไทยและวรรณกรรมพื้นบ้านภาษามอญ เชื่อมโยงกับการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์และวิถีชีวิตของ
สงั คมในอดีต วิเคราะหแ์ ละประเมนิ คุณคา่ ดา้ นวรรณศลิ ป์ของวรรณคดีและวรรณกรรม ในฐานะที่เป็น

มรดกทางวฒั นธรรมของชาติ สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตจริง รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้านและอธิบายภูมิปัญญาทางภาษาท่องจาและบอกคุณค่าบท

อาขยานตามท่ีกาหนด และบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจ และนาไปใช้อ้างอิงกิจกรรมการ
เรียนรเู้ น้นการพัฒนาการใชภ้ าษาไทยอยา่ งถูกต้องและเพิ่มประสิทธภิ าพในการอ่าน เขียน ฟงั ดู พดู

โดยให้ฝึกฝนทักษะในรูปแบบท่ีหลากหลายและเชื่อมโยงกับชีวิตจริงใช้ทั้งส่ือสิ่งพิมพ์ ส่ือ

อิเล็กทรอนิกส์ และแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ทาให้เกิดการเรียนรู้ท่ีมีความหมาย นอกจากน้ียังมี
กิจกรรมการเรียนร้ทู ีเ่ น้นการคดิ วิเคราะห์จากการอ่านวรรณคดี วรรณกรรมการรับข้อมูลขา่ วสารต่างๆ

เพื่อพัฒนากระบวนการคิด การใช้วิจารณญาณ การแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล การ
สังเคราะห์ความรู้และขอ้ คดิ เพ่ือใหผ้ เู้ รียนมีพนื้ ฐานความรดู้ า้ นหลกั ภาษาท่ถี กู ตอ้ ง พฒั นาทักษะการใช้
ภาษาไทยครบทุกด้าน และเรียนรู้คุณค่าที่สอดแทรกในวรรณคดีและวรรณกรรมไทย สามารถนา

ภาษาไทย รวมทง้ั คณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมทดี่ งี ามไปใช้พัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนา
ความรทู้ างอาชีพในชวี ิตจริงไดถ้ ูกตอ้ ง เหมาะสม และมปี ระสิทธิภาพ

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สูตรโรงเรยี นชมุ ชนประชาธิปตั ย์วทิ ยาคาร ๑๑๖
รหัสตวั ช้ีวัด
ท ๑.๑ ม. ๔-๖/๑, ม. ๔-๖/๒, ม. ๔-๖/๓,ม. ๔-๖/๔,ม. ๔-๖/๕, ม. ๔-๖/๖,ม. ๔-๖/๗,ม. ๔-๖/๘,

ม. ๔-๖/๙
ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๑, ม. ๔-๖/๔, ม. ๔-๖/๕,ม. ๔-๖/๘
ท ๓.๑ ม. ๔-๖/๑, ม. ๔-๖/๒, ม. ๔-๖/๓, ม. ๔-๖/๔, ม. ๔-๖/๖
ท ๔.๑ ม. ๔-๖/๑, ม. ๔-๖/๒, ม. ๔-๖/๖
ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๑, ม. ๔-๖/๒, ม. ๔-๖/๓, ม. ๔-๖/๔, ม. ๔-๖/๕, ม. ๔-๖/๖
รวมทง้ั หมด ๒๗ ตัวช้ีวดั

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสตู รโรงเรียนชุมชนประชาธิปตั ย์วิทยาคาร ๑๑๗

โครงสร้ำงรำยวชิ ำ

วิชำภำษำไทย รหัส ท ๓๓๑๐๑ เวลำ ๔๐ ชั่วโมง
ชน้ั มธั ยมศึกษำปที ี่ ๖ ภำคเรยี นท่ี ๑ สดั สว่ นคะแนน ๗๐ : ๓๐

ลาดับ มาตรฐานการ เวลา นา้ หนกั ช้นิ งาน/
ท่ี ชอ่ื หนว่ ยการเรียนรู้ เรยี นร/ู้ ตัวช้ีวัด เรยี น คะแนน ภาระงาน
(ชวั่ โมง) รวบยอด
๑ หลกั ภาษาและการใช้ ท ๔.๑ ม.๔-๖/๑ ๒๒ เขียนแผนผัง
ภาษาไทย ลักษณะของ
ตอนที่ ๑ เรยี นร้หู ลัก ภาษาไทย
ประจักษ์ภาษา
ลักษณะของภาษาไทย ท ๔.๑ ม. ๔-๖/๑ ๒ ๓ เขยี นแผนผัง
องค์ประกอบ
๒ องคป์ ระกอบของพยางค์ ท ๔.๑ ม. ๔-๖/๒ ๓ ของพยางค์
และคา และคา
ท ๔.๑ ม. ๔-๖/๒ ๓
๓ หลกั การเขยี นสะกดคา ๓ สรา้ งแผ่นพับ
ท ๔.๑ ม. ๔-๖/๒ ๒ รวบรวม
๔ หลักการสร้างคาใน
ภาษาไทย ท ๑.๑ ม. ๔-๖/๑, ๓ หลกั การเขยี น
ม. ๔-๖/๙ สะกดคา
๕ การใชค้ าและกลุ่มคา
สรา้ งประโยค ๔ เขียนแผนผงั
หลกั การสร้าง
๖ ตอนท่ี ๒ พัฒนาทักษะ คาในภาษาไทย
สอ่ื สาร
การอา่ น ๒ ทาสมุดเลม่ เลก็
การอ่านออกเสยี ง วิเคราะหก์ ารใช้
คาและกลมุ่ คา
สรา้ งประโยค

๔ อ่านออกเสยี ง
จากเรือ่ งที่
กาหนด

หลักสูตรกล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สตู รโรงเรียนชุมชนประชาธิปตั ย์วิทยาคาร ๑๑๘

ประเภทร้อยแก้วและ ท ๑.๑ ม. ๔-๖/๒, ๕ ๕ ทาแผน่ พับ
ร้อยกรอง ม. ๔-๖/๓, ม. ๔- เลือกเรอื่ งและ
๗ การอ่านจับใจความ ๖/๔, ม. ๔-๖/๕, ๒ อ่านจบั ใจความ
ม. ๔-๖/๖, ๑
๘ การเขียน ม. ๔-๖/๗, ม. ๔- ๓ สร้างสมุดเลม่
การเขียนแสดงทรรศนะ ๖/๘, เล็ก และเขยี น
การเขียนโต้แย้ง ม. ๔-๖/๙ แสดงทรรศนะ
ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๑, เขียนโตแ้ ย้ง
๙ การเขยี นโน้มนา้ วใจ ม. ๔-๖/๔,
การเขียนเชญิ ชวน ม. ๔-๖/ ๕, ๒ เขียนโนม้ น้าวใจ
ม. ๔-๖/๘ หรือเขียนเชิญ
ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๑, ชวนเร่อื งที่
ม. ๔-๖/๔, ม. ๔- สนใจ
๖/๕, ม. ๔-๖/๘
๔ เขยี นโครงการ
๑๐ การเขยี นโครงการและ ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๑, ๒ เรื่องท่ีสนใจ

รายงานการดาเนิน ม. ๔-๖/๔, ๒ ๒ เขยี นรายงาน
การประชุมและ
โครงการ ม. ๔-๖/๕, แสดงบทบาท
สมมตุ ิ
ม. ๔-๖/๘
๒ พดู วเิ คราะห์
๑๑ การเขียนรายงานการ ท๒.๑ม.๔-๖/๑, แนวคิด การใช้
ภาษา และ
ประชมุ ม. ๔-๖/๔, ความนา่ เชอ่ื ถอื
จากเรอ่ื งท่ฟี งั
ม. ๔-๖/๕,

ม. ๔-๖/๘

การฟัง การดู และการพูด ท๓.๑ม.๔-๖/๒,

๑๒ การวเิ คราะหเ์ รือ่ งและ ม. ๔-๖/๓,

ประเมินเรื่องทฟ่ี ังและดู ม. ๔-๖/๔,

ม. ๔-๖/๖

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สตู รโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วทิ ยาคาร ๑๑๙

และดูอย่างมี

เหตุผล

๑๓ การพูดสรุปความคิด ท ๓.๑ ม. ๔-๖/ ๒ ๓ นาเสนอ

และการแสดงความ ๑, ความคดิ และ

คดิ เห็นจากเรอื่ งทีฟ่ งั ม. ๔-๖/๖ การแสดงความ

และดู คิดเหน็ จากเรอ่ื ง

ท่ีฟังและดู

๑๔ วรรณคดแี ละ ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๑, ๒ ๓ ทาสมดุ เลม่ เลก็

วรรณกรรม ม. ๔-๖/๒, ม. ๔- วเิ คราะห์ ขุน

บทเสภาเร่ือง ๖/๓, ม. ๔-๖/๔, ช้างขนุ แผน

ขนุ ชา้ งขนุ แผน ตอน ม. ๔-๖/๕, ตอน

ขุนช้างถวายฎกี า ม. ๔-๖/๖ ขุนช้างถวาย

ฎกี า

๑๕ กาพย์เหเ่ รือ ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๑, ๓ ๕ ทาแผ่นพบั

ม. ๔-๖/๒, คาศัพท์จาก

ม. ๔-๖/๓, เรื่องกาพยเ์ ห่

ม. ๔-๖/๔, เรอื

ม. ๔-๖/๖

๑๖ ราชพันธบริรกั ษ์ ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๑, ๒ ๓ นาเสนอบอก

ม. ๔-๖/๒, คุณค่าบท

ม. ๔-๖/๓, ประพันธ์

ม. ๔-๖/๔, ม. ๔-๖/๖

รวม ๓๘ ๕๐

ประเมนิ ผลสอบกลางภาค ๑ ๒๐

ประเมนิ ผลสอบปลายภาค ๑ ๓๐

รวมท้งั หมด ๔๐ ๑๐๐

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สูตรโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร ๑๒๐

คำอธบิ ำยรำยวิชำ

ท ๓๓๑๐๒ ภำษำไทย กลุ่มสำระกำรเรยี นร้ภู ำษำไทย

ชน้ั มธั ยมศกึ ษำปที ี่ ๖ เวลำเรียน ๔๐ ช่วั โมง จำนวน ๑ หน่วยกิต

เขยี นส่ือสารในรูปแบบตา่ ง ๆ ได้ตรงตามวัตถปุ ระสงค์ โดยใชภ้ าษาเรียบเรียงถูกต้อง มีข้อมูล

และสาระสาคัญชดั เจน เขียนเรยี งความ เขยี นยอ่ ความจากส่ือทมี่ รี ูปแบบและเนื้อหาหลากหลาย ผลิต

งานเขียนของตนเองในรูปแบบต่าง ๆ ประเมินงานเขียนของผู้อ่ืน แล้วนามาพัฒนางานเขียนของ

ตนเอง เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า เรื่องท่ีสนใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ และใช้ข้อมูล

สารสนเทศ อ้างอิงอย่างถูกต้อง บันทึกการศึกษาค้นคว้าเพื่อนาไปพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ มี

มารยาทในการเขียน พูดในโอกาสต่าง ๆพูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าวใจ และเสนอแนวคิดใหม่

ด้วยภาษาถูกต้องเหมาะสม มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส

กาลเทศะ และบุคคลรวมท้ังคาราชาศัพท์อย่างเหมาะสม แต่งบทร้อยกรอง วิเคราะห์อิทธิพลของ

ภาษาตา่ งประเทศและภาษาถิน่ การยืมคาภาษามอญมาใช้ในภาษาไทย การยืมคาภาษาต่างประเทศ

มาใช้ในภาษามอญ วเิ คราะหแ์ ละประเมนิ การใชภ้ าษาจากส่อื ส่งิ พิมพ์และส่ืออิเล็กทรอนิกส์ วิเคราะห์

และวิจารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น วิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดี

เชือ่ มโยงกับการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์และวิถีชีวิตของสังคมในอดีต วิเคราะห์และประเมินคุณค่า

ด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ สังเคราะห์

ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง รวบรวมวรรณกรรมพ้ืนบ้าน

วรรณกรรมพนื้ บ้านภาษามอญ และอธิบายภูมิปัญญาทางภาษา ท่องจาและบอกคุณค่าบทอาขยาน

ตามท่กี าหนด และบทร้อยกรองทม่ี ีคณุ คา่ ตามความสนใจ และนาไปใช้อ้างอิง กิจกรรมการเรียนรู้เน้น

การพัฒนาการใชภ้ าษาไทยอย่างถกู ต้องและเพ่ิมประสทิ ธิภาพ ในการอา่ น เขียน ฟัง ดู พดู

โดยให้ฝึกฝนทักษะในรูปแบบที่หลากหลายและเชื่อมโยงกับชีวิตจริง ใช้ท้ังส่ือส่ิงพิมพ์ ส่ือ

อิเล็กทรอนิกส์ และแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ทาให้เกิดการเรียนรู้ที่มีความหมาย นอกจากนี้ยังมี

กิจกรรมการเรียนรู้ทีเ่ นน้ การคดิ วเิ คราะห์จากการอา่ นวรรณคดวี รรณกรรมการรบั ขอ้ มูลขา่ วสารตา่ ง ๆ

เพ่ือพัฒนากระบวนการคิด การใช้วิจารณญาณ การแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล การ

สงั เคราะห์ความร้แู ละขอ้ คดิ เพื่อใหผ้ ู้เรยี นมีพื้นฐานความรู้ด้านหลักภาษาท่ีถูกต้อง พัฒนาทักษะการ

ใช้ภาษาไทยครบทุกด้าน และเรียนรู้คุณค่าที่สอดแทรกในวรรณคดีและวรรณกรรมไทย สามารถนา

ภาษาไทย รวมท้ังคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีดงี ามไปใชพ้ ฒั นาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนา

ความรทู้ างอาชีพในชวี ติ จรงิ ได้ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมปี ระสิทธิภาพ

รหัสตัวชว้ี ัด

ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๑, ม. ๔-๖/๒, ม. ๔-๖/๓, ม. ๔-๖/๔, ม. ๔-๖/๕, ม. ๔-๖/๖,ม. ๔-๖/๗, ม. ๔-๖/๘
ท ๓.๑ ม. ๔-๖/๕, ม. ๔-๖/๖
ท ๔.๑ ม. ๔-๖/๓, ม. ๔-๖/๔, ม. ๔-๖/๕, ม. ๔-๖/๗
ท ๕.๑ ม. ๔-๖/๑, ม. ๔-๖/๒, ม. ๔-๖/๓, ม. ๔-๖/๔, ม. ๔-๖/๖
รวมท้งั หมด ๑๙ ตวั ชี้วัด

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสตู รโรงเรยี นชุมชนประชาธิปตั ย์วทิ ยาคาร ๑๒๑

โครงสร้ำงรำยวิชำ

วชิ ำภำษำไทย รหสั ท ๓๓๑๐๒ เวลำ ๔๐ ชั่วโมง
ชั้นมัธยมศึกษำปที ี่ ๖ ภำคเรียนท่ี ๒ สัดส่วนคะแนน ๗๐ : ๓๐

ลาดบั มาตรฐานการ เวลา นา้ หนัก ช้นิ งาน/ภาระ
ท่ี ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ เรยี นรู้/ตัวชีว้ ัด เรยี น คะแนน งาน
(ชัว่ โมง)
๑ หลกั ภาษาและการใช้ ท ๔.๑ ม. ๔-๖/๓ ๑ ๒ รวบยอด
ภาษาไทย ท ๔.๑ ม. ๔-๖/๓ เขยี นแผนผงั
ตอนที่ ๑ เรยี นรูห้ ลัก ระดบั ภาษา
ประจกั ษ์ภาษา
ระดับภาษา ๑ ๒ ทาแผ่นพับ
สะสมคาราชา
๒ ราชาศพั ท์ ศัพท์ในหมวด
ต่างๆ
๓ การแต่งคาประพนั ธ์ ท ๔.๑ ม. ๔-๖/๔
ประเภทฉันท์ ๒ ๒ เขียนแผนผงั
การแต่งคา
๔ อทิ ธพิ ลของ ท ๔.๑ ม. ๔-๖/๕ ประพันธ์
ภาษาตา่ งประเทศและ ประเภทฉนั ท์
ภาษาถ่ิน
๒ ๓ เขียนแผนผงั
๕ การวิเคราะห์และประเมิน ท๔.๑ม.๔-๖/๗ คา
การใช้ภาษาจากสอ่ื
ส่งิ พิมพ์ และสือ่ ภาษาต่างประ
อิเล็กทรอนิกส์ เทศและภาษา

ถ่นิ
๖ ๕ ทาสมดุ เลม่

เล็กและ
วิเคราะห์และ
ประเมนิ การ
ใชภ้ าษาจาก
ส่อื สิ่งพิมพ์

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนชุมชนประชาธิปตั ย์วิทยาคาร ๑๒๒

๖ ตอนท่ี ๒ ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๑, ๑ และส่อื
พฒั นาทักษะส่ือสาร ม. ๔-๖/๔, อเิ ล็กทรอนิกส์
การอ่าน ม. ๔-๖/๕, ๒ ทาใบแบบ
การกรอกแบบ ม. ๔-๖/๘ รายการตา่ งๆ
รายการ
ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๒, ๑ ๒ เขยี น
๗ การเขียนเรยี งความ ม. ๔-๖/๔, ๑ เรยี งความ
เกยี่ วกบั อดุ มคติ ม. ๔-๖/๕, เกี่ยวกับอดุ ม
ม. ๔-๖/๘ คติ
๘ การเขยี นยอ่ ความ
ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๓,
๒ สรา้ งสมุดเลม่
ม. ๔-๖/๘ เลก็ เขยี นยอ่
ความเร่อื งท่ี
๙ การเขยี นเรอ่ื งส้นั ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๔, ๑ สนใจ
ม. ๔-๖/๕, ๑
๑๐ การประเมินคณุ คา่ ม. ๔-๖/๘ ๓ สรา้ งสมดุ เลม่
ของงานเขยี น ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๕ เลก็ และเขยี น
เรอื่ งส้นั
๑๑ การเขยี นรายงาน ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๔, ๑
เชิงวิชาการ ม. ๔-๖/๕, ๑ ๒ ประเมิน
และการเขยี นอ้างองิ ม. ๔-๖/๖, คุณค่าของงาน
ขอ้ มลู สารสนเทศ ม. ๔-๖/๘ เขียนลงใน
ท ๒.๑ ม. ๔-๖/ แผน่ พับ
๑๒ การเขียนบันทกึ ๗,
ความรู้จากแหล่ง ม. ๔-๖/๘ ๒ เขยี นรายงาน
เรยี นรทู้ ่ี เชงิ วิชาการ
หลากหลาย
๒ ทาสมุดเลม่
เลก็ บนั ทึก
ความรู้

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
























































Click to View FlipBook Version