The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by toongtoongpang, 2022-03-26 10:46:58

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสตู รโรงเรยี นชมุ ชนประชาธิปตั ย์วิทยาคาร ๑

หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วทิ ยาคาร ๒

คำนำ
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทยได้จัดทาหลกั สตู รกล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทยฉบับนี้ ซึ่งเป็น
เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นชมุ ชนประชาธปิ ัตย์วิทยาคาร พุทธศักราช ๒๕๖๔ ตาม
หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ เพ่ือเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียนและกระบวนการจัดการเรียนรู้ เพ่ือเป็นกรอบและทิศทางในการจัดการเรียนการสอนให้ตรง
ตามมาตรฐานตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยพิจารณาตาม
หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ๒๕๕๑ หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นชมุ ชนประชาธปิ ัตย์วิทยาคาร
พุทธศกั ราช ๒๕๖๔ ซึง่ มีองคป์ ระกอบดงั น้ี

- วิสยั ทศั น์ หลักการ จดุ หมาย
- สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน - คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
- สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
- คุณภาพผ้เู รียน
- ตวั ช้วี ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
- รายวชิ าทีเ่ ปิด
- คาอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน
- คาอธบิ ายรายวชิ าเพิม่ เติม
- โครงสร้างรายวชิ าพ้ืนฐาน
- โครงสรา้ งรายวชิ าเพิม่ เตมิ
- สือ่ /แหลง่ เรยี นรู้
- การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้
คณะผู้จัดทาขอขอบคุณผู้ทีม่ สี ่วนร่วมในการพฒั นาและจดั ทาหลักสตู รกลุม่ สาระการเรียนรู้
ภาษาไทยฉบบั น้ี จนสาเร็จลลุ ่วงเปน็ อย่างดี และหวังเปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ จะเกดิ ประโยชน์ต่อการจัดการ
เรียนรู้ให้กับผู้เรียนตอ่ ไป

กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
คณะผูจ้ ัดทา

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สูตรโรงเรยี นชมุ ชนประชาธิปตั ย์วิทยาคาร ๓

สำรบญั หน้ำ

เร่ือง ข
คานา ๔
สารบัญ ๔
วิสยั ทัศน์ ๔
หลักการ ๕
จดุ มุ่งหมาย ๖
สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ๑๓
คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๑๓
ทาไมตอ้ งเรยี นภาษาไทย ๑๔
เรยี นรอู้ ะไรในภาษาไทย ภาษาไทย ๑๔
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ภาษาไทย ๑๘
คณุ ภาพผู้เรยี นภาษาไทย ๕๒
ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลางภาษาไทย ๕๓
รายวชิ าท่เี ปิดสอนภาษาไทย
คาอธิบายรายวิชาพน้ื ฐานและโครงสร้างรายวชิ าพ้ืนฐาน ๑๒๔
คาอธบิ ายรายวชิ าเพิม่ เติมและโครงสรา้ งรายวชิ าเพ่ิมเตมิ ๑๓๘
ส่ือ/แหลง่ เรยี นรู้ ๑๓๙
การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้
ภาคผนวก ๑๕๓

คณะผ้จู ัดทา

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนชมุ ชนประชาธิปัตย์วทิ ยาคาร ๔

วสิ ัยทศั น์

นักเรียนมีทักษะการสื่อสารท้ังฟังพูดอ่านเขียน เข้าใจและใช้หลักภาษาไทยอย่างถูกต้อง
รักและภาคภูมใิ จในภาษาไทยอันเป็นภาษาประจาชาติ

หลกั กำร

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทยโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร ได้ใช้หลักการ
พัฒนาหลกั สตู รตามแบบของหลกั สูตร แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ซงึ่ มหี ลกั การที่สาคัญ ดังน้ี

๑. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการ
เรียนรู้ เป็นเป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบน
พ้ืนฐาน ของความเป็น ไทยควบคู่กบั ความเปน็ สากล

๒. เป็นหลกั สตู รการศึกษาเพอื่ ปวงชน ท่ีประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอ
ภาค และมคี ุณภาพ

๓. เปน็ หลักสูตรการศกึ ษาทสี่ นองการกระจายอานาจ ให้สงั คมมสี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษา
ให้สอดคลอ้ งกับสภาพและความตอ้ งการของท้องถ่ิน

๔. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่มี ีโครงสรา้ งยดื หยุ่นท้งั ด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการ
เรียนรู้

๕. เป็นหลักสตู รการศึกษาท่เี น้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ
๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย
ครอบคลมุ ทุกกลุ่มเปา้ หมาย สามารถเทียบโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์

จดุ หมำย

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมีความมุ่งหมายในการพัฒนาผู้เรี ยนให้เป็นคนดี
มปี ัญญา มคี วามสขุ มศี ักยภาพในการศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชพี จึงกาหนดเปน็ จุดหมายเพ่ือให้เกิด
กับผเู้ รียน เมอ่ื จบการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ดงั น้ี

๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติ
ตน ตามหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาทีต่ นนบั ถือ ยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

๒. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมี
ทักษะชีวิต

๓. มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ท่ดี ี มีสขุ นสิ ัย และรกั การออกกาลังกาย
๔. มคี วามรักชาติ มีจติ สานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถีชีวิตและการ
ปกครอง ตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข
๕. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา
สิ่งแวดล้อม มจี ิตสาธารณะทีม่ ุ่งทาประโยชนแ์ ละสรา้ งสิง่ ทีด่ งี ามในสงั คม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่าง
มีความสขุ

หลกั สตู รกล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรยี นชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร ๕

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน มุง่ ให้ผูเ้ รยี นเกดิ สมรรถนะสาคัญ ๕ ประการดังนี้
๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร เป็นความสามารถในการรับและสง่ สาร มีวัฒนธรรมในการใช้
ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปลี่ยนข้อมูล
ขา่ วสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชนต์ อ่ การพัฒนาตนเองและสงั คม รวมท้ังการเจรจาต่อรอง
เพ่ือขจดั และลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและ
ความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วธิ ีการสอ่ื สาร ทมี่ ปี ระสิทธภิ าพโดยคานงึ ถึงผลกระทบที่มีต่อตนเอง
และสงั คม
๒. ความสามารถในการคดิ เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด
อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้
หรอื สารสนเทศเพื่อการตดั สนิ ใจเก่ียวกบั ตนเองและสังคมได้อยา่ งเหมาะสม
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ี
เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสมั พันธแ์ ละการเปลย่ี นแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มา
ใชใ้ นการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตดั สนิ ใจทม่ี ปี ระสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบท่ีเกิดขึ้น
ตอ่ ตนเอง สังคมและสิง่ แวดล้อม
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้
ในการดาเนินชีวติ ประจาวัน การเรยี นรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทางาน และการอยู่
ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความ
ขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม
และการรจู้ กั หลกี เล่ยี งพฤตกิ รรมไม่พึงประสงคท์ ่ีสง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อ่นื

๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยี
ด้านต่างๆ และมที กั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพฒั นาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้
การสือ่ สาร การทางาน การแกป้ ัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม

หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สูตรโรงเรยี นชมุ ชนประชาธิปตั ย์วทิ ยาคาร ๖

คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ มุ่งพฒั นาผู้เรยี นให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น
ในสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสุข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดงั น้ี

๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
๒. ซ่ือสัตยส์ ุจริต
๓. มวี ินยั
๔. ใฝเ่ รยี นรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุ่งม่ันในการทางาน
๗. รักความเป็นไทย
๘. มจี ติ สาธารณะ
การนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทั้ง ๘ ประการดังกล่าวไปพัฒนาผู้เรียนให้มี
ประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลน้ัน สถานศึกษาต้องมีความเข้าใจเก่ียวกับคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์อย่างชัดเจน โดยพิจารณาจากนิยาม ตัวช้ีวัด พฤติกรรมบ่งชี้ และเกณฑ์การให้คะแนนของ
คุณลักษณะอนั พึงประสงค์

นิยำม ตัวช้วี ัด พฤตกิ รรมบ่งชี้
ข้อที่ ๑ รักชำติ ศำสน์ กษัตรยิ ์
นยิ ำม

รักชำติ ศำสน์ กษัตริย์ หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงออกถึงการเป็นพลเมืองดีของชาติ
ธารงไวซ้ ่งึ ความเป็นชาตไิ ทย ศรทั ธายึดม่นั ในศาสนาและเคารพเทิดทนู สถาบันพระมหากษตั รยิ ์

ผู้ท่ีรักชำติศำสน์กษัตริย์ คือ ผู้ที่มีลักษณะซึ่งแสดงออกถึงการเป็นพลเมืองดีของชาติ
มีความสามัคคี ปรองดอง ภูมิใจเชิดชูความเป็นชาติไทยปฏิบัติตนตามหลักศาสนาท่ีตนนับถือ และ
แสดงความจงรักภกั ดีตอ่ สถาบันพระมหากษัตริย์
ตวั ชีว้ ดั

๑.๑ เป็นพลเมอื งดีของชาติ
๑.๒ ธารงไวซ้ ง่ึ ความเป็นชาติไทย
๑.๓ ศรัทธา ยึดม่นั และปฏิบัติตนตามหลกั ของศาสนา
๑.๔ เคารพเทิดทนู สถาบันพระมหากษัตรยิ ์

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนชุมชนประชาธิปตั ย์วทิ ยาคาร ๗

ตวั ชี้วัดและพฤติกรรมบ่งช้ี

ตัวชวี้ ัด พฤติกรรมบ่งช้ี

๑.๑ เป็นพลเมืองดีของชาติ ๑.๑.๑ ยนื ตรงเคารพธงชาติ ร้องเพลงชาติ และอธิบายความหมาย

ของเพลงชาตไิ ดถ้ ูกตอ้ ง

๑.๑.๒ ปฏิบัติตนตามสทิ ธแิ ละหนา้ ที่พลเมืองดขี องชาติ

๑.๑.๓ มีความสามัคคปี รองดอง

๑.๒ ธารงไวซ้ ึ่งความเป็นชาติ ๑.๒.๑ เข้าร่วมสง่ เสริมสนับสนนุ กิจกรรมทสี่ รา้ งความสามัคคี

ไทย ปรองดองที่เปน็ ประโยชน์ตอ่ โรงเรยี น ชุมชน และสงั คม

๑.๒.๒ หวงแหนปกปอ้ งยกยอ่ งความเปน็ ชาติไทย

๑.๓ ศรัทธา ยึดม่ัน และปฏิบตั ิ ๑.๓.๑ เข้าร่วมกจิ กรรมทางศาสนาท่ีตนนบั ถอื

ตนตามหลกั ของศาสนา ๑.๓.๒ ปฏบิ ัตติ นตามหลกั ของศาสนาทีต่ นนับถอื

๑.๓.๓ เป็นแบบอยา่ งทดี่ ขี องศาสนิกชน

๑.๔ เคารพเทดิ ทูน สถาบัน ๑.๔.๑ เข้ารว่ มและมสี ่วนร่วมในการจัดกจิ กรรมทเ่ี กี่ยวกบั สถาบนั

พระมหากษัตรยิ ์ พระมหากษตั รยิ ์

๑.๔.๒ แสดงความสานกึ ในพระมหากรณุ าธิคณุ ของพระมหากษัตรยิ ์

๑.๔.๓ แสดงออกซ่ึงความจงรกั ภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์

ขอ้ ที่ ๒ ซอื่ สัตย์ สุจริต
นิยำม

ซื่อสตั ย์ สจุ รติ หมายถงึ คุณลกั ษณะที่แสดงออกถึงการยึดม่ันในความถูกต้อง ประพฤติตรง
ตามความเปน็ จริงตอ่ ตนเองและผ้อู ่นื ทงั้ ทางกาย วาจา ใจ

ผู้ที่มีควำมซอ่ื สตั ย์ สุจรติ คือ ผทู้ ่ีประพฤตติ รงตามความเป็นจริง ทั้งทางกาย วาจา ใจ และ

ยดึ หลกั ความจรงิ ความถกู ตอ้ งในการดาเนินชีวิต มีความละอายและเกรงกลวั ต่อการกระทาผิด
ตัวช้ีวัด

๑.๑ ประพฤตติ รงตามความเป็นจริงตอ่ ตนเองท้ังทางกาย วาจา ใจ
๑.๒ ประพฤติตรงตามความเปน็ จรงิ ตอ่ ผู้อนื่ ทัง้ ทางกาย วาจา ใจ

หลกั สูตรกล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสตู รโรงเรยี นชมุ ชนประชาธิปัตย์วทิ ยาคาร ๘

ตัวชีว้ ัดและพฤติกรรมบง่ ช้ี พฤติกรรมบ่งช้ี
ตวั ชี้วัด
๒.๑.๑ ให้ขอ้ มูลที่ถูกต้องและเป็นจรงิ ตอ่ ตนเองทัง้ ทางกายวาจา ใจ
๒.๑ ประพฤตติ รงตามความ ๒.๑.๒ ปฏบิ ตั ติ นโดยคานงึ ถึงความถกู ตอ้ ง ละอายและเกรงกลัวตอ่
เป็นจรงิ ตอ่ ตนเองทัง้ ทางกาย การกระทาผดิ
วาจา ใจ ๒.๑.๓ ปฏบิ ัตติ ามคามน่ั สัญญา

๒.๒ ประพฤติตรงตามความ ๒.๒.๑ ไม่ถือเอาสง่ิ ของหรือผลงานของผู้อ่ืนมาเป็นของตนเองต่อ
เปน็ จริงต่อผู้อื่นทั้งทางกาย ผ้อู ่นื ทั้งทางกาย วาจา ใจ
วาจา ใจ ๒.๒.๒ ปฏบิ ตั ติ นต่อผู้อื่นด้วยความซือ่ ตรง
๒.๒.๓ ไม่หาประโยชน์ในทางทีไ่ มถ่ ูกต้อง

ข้อท่ี ๓ มีวนิ ยั
นิยำม

มีวินัย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดม่ันในข้อตกลง กฎเกณฑ์ และระเบียบ
ขอ้ บังคับของ ครอบครัว โรงเรยี นและสงั คม

ผู้ที่มีวินัย คือ ผู้ที่ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว
โรงเรียนและสังคมเปน็ ปกตวิ สิ ัย ไมล่ ะเมดิ สทิ ธขิ องผอู้ ่นื
ตวั ชว้ี ดั ปฏิบัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ขอ้ บังคบั ของครอบครัว โรงเรียนและสงั คม

ตวั ช้ีวัดและพฤติกรรมบง่ ชี้ พฤตกิ รรมบ่งชี้

ตวั ชว้ี ัด ๓.๑.๑ ปฏบิ ัตติ นตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คบั ของ
ครอบครัวโรงเรยี นและสงั คม ไม่ละเมิดสทิ ธิของผู้อน่ื
๓.๑ ปฏบิ ัตติ ามข้อตกลง ๓.๑.๒ ตรงต่อเวลาในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมต่าง ๆ ในชวี ิตประจาวนั
กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบังคบั และรับผิดชอบในการทางาน
ของครอบครวั โรงเรียนและ
สังคม

ขอ้ ที่ ๔ ใฝเ่ รียนรู้

นยิ ำม
ใฝ่เรียนรู้ หมายถงึ คุณลักษณะทีแ่ สดงออกถงึ ความตัง้ ใจ เพียรพยายามในการเรียน แสวงหา

ความรู้ จากแหล่งเรยี นรทู้ ัง้ ภายในและภายนอกโรงเรยี น
ผู้ทใี่ ฝเ่ รยี นรู้ คือ ผู้ท่ีมีคณุ ลักษณะที่แสดงออกถึงความตง้ั ใจ เพียรพยายามในการเรียน และ

เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ แสวงหาความรู้ จากแหล่งเรียนรู้ท้ังภายในและภายนอกโรงเรียนอย่าง

สม่าเสมอ ด้วยการเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้
แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และนาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ได้

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สูตรโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร ๙

ตัวชว้ี ัด
๔.๑ ตั้งใจ เพยี รพยายามในการเรียน และเขา้ รว่ มกิจกรรมการเรยี นรู้
๔.๒ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ด้วยการ

เลือกใชส้ ื่ออย่างเหมาะสม สรปุ เป็นองค์ความรู้ และสามารถนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวันได้

ตวั ช้วี ัดและพฤติกรรมบ่งช้ี
ตวั ชว้ี ัด พฤตกิ รรมบ่งช้ี

๔.๑ ตัง้ ใจ เพียรพยายามในการ ๔.๑.๑ ต้งั ใจเรยี น
เรยี น และเข้ารว่ มกจิ กรรมการ ๔.๑.๒ เอาใจใสแ่ ละมคี วามเพียรพยายามในการเรียนรู้
เรยี นรู้ ๔.๑.๓ สนใจเข้ารว่ มกิจกรรมการเรยี นร้ตู ่างๆ
๔.๒ แสวงหาความรู้จากแหลง่ ๔.๒.๑ ศกึ ษาคน้ คว้าหาความร้จู ากหนังสือ เอกสาร สิง่ พมิ พ์ ส่ือ
เรยี นร้ตู ่าง ๆ ท้ังภายในและ เทคโนโลยตี ่าง ๆ แหล่งเรยี นรู้ทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรียน และ
ภายนอกโรงเรยี น ดว้ ยการ เลอื กใช้ส่อื ได้อย่างเหมาะสม
เลอื กใช้สอื่ อย่างเหมาะสม สรุป ๔.๒.๒ บันทึกความรู้ วิเคราะห์ข้อมูลจากสง่ิ ที่เรยี นรู้ สรุปเป็นองค์
เป็นองคค์ วามรู้ และสามารถ ความรู้
นาไปใชใ้ นชีวิตประจาวันได้ ๔.๒.๓แลกเปล่ยี นความรูด้ ้วยวธิ ีการตา่ ง ๆ และนาไปใช้ใน

ชีวติ ประจาวัน

ข้อท่ี ๕ อยอู่ ย่ำงพอเพียง
นยิ ำม

อยู่อย่ำงพอเพียง หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงออกถึงการดาเนินชีวิตอย่างพอประมาณ
มีเหตุผล รอบคอบ มีคณุ ธรรม มภี ูมคิ มุ้ กนั ในตัวทด่ี ี และปรบั ตัวเพือ่ อยูใ่ นสงั คมไดอ้ ย่างมีความสุข

ผทู้ ่ีอยูอ่ ยำ่ งพอเพียง คอื ผู้ท่ดี าเนนิ ชีวติ อยา่ งประมาณตน มีเหตผุ ล รอบคอบ ระมดั ระวัง อยู่
ร่วมกับผู้อื่นด้วยความรับผิดชอบ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น เห็นคุณค่าของทรัพยากรต่างๆ มีการวางแผน
ป้องกนั ความเสีย่ ง และพร้อมรับการเปล่ียนแปลง

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สูตรโรงเรียนชุมชนประชาธิปตั ย์วิทยาคาร ๑๐

ตวั ชวี้ ัด

๕.๑ ดาเนินชวี ติ อย่างพอประมาณ มเี หตผุ ล รอบคอบ มคี ณุ ธรรม

๕.๒ มีภมู ิคุ้มกนั ในตวั ที่ดี ปรบั ตวั เพ่อื อยใู่ นสงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสุข

ตวั ชว้ี ัดและพฤติกรรมบ่งช้ี

ตัวชว้ี ัด พฤตกิ รรมบง่ ช้ี

๕.๑ ดาเนินชีวิตอย่าง ๕.๑.๑ ใช้ทรพั ย์สินของตนเอง เช่น เงิน ส่ิงของ เคร่ืองใช้ ฯลฯ

พอประมาณ มเี หตผุ ล อย่างประหยัด คุม้ ค่า และเกบ็ รกั ษาดูแลอยา่ งดี รวมทั้งการใช้เวลา

รอบคอบ มีคุณธรรม อยา่ งเหมาะสม

๕.๑.๒ ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอยา่ งประหยดั คมุ้ ค่า และเกบ็

รักษาดแู ลอย่างดี

๕.๑.๓ ปฏบิ ตั ติ นและตดั สินใจดว้ ยความรอบคอบ มีเหตุผล

๕.๑.๔ ไม่เอาเปรียบผู้อืน่ และไม่ทาให้ผูอ้ ่ืนเดือดร้อน พรอ้ มใหอ้ ภัย

เมือ่ ผ้อู น่ื กระทาผดิ พลาด

๕.๒ มภี มู ิคมุ้ กนั ในตวั ทีด่ ี ๕.๒.๑ วางแผนการเรยี น การทางาน และการใช้ชีวิตประจาวันบน

ปรบั ตวั เพอื่ อยใู่ นสงั คมไดอ้ ย่าง พนื้ ฐานของความรู้ ข้อมลู ขา่ วสาร

มีความสุข ๕.๒.๒ รู้เทา่ ทนั การเปลีย่ นแปลงของสงั คมและสภาพแวดลอ้ ม

ยอมรบั และปรับตวั เพ่ืออยู่รว่ มกบั ผอู้ ่นื ได้อยา่ งมีความสขุ

ขอ้ ที่ ๖ ม่งุ มั่นในกำรทำงำน

นิยำม
มุ่งม่นั ในกำรทำงำน หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงออกถึงความต้ังใจและรับผิดชอบในการ

ทาหน้าทีก่ ารงานดว้ ยความเพียรพยายาม อดทน เพ่ือใหง้ านสาเร็จตามเป้าหมาย

ผู้ที่มุ่งมั่นในกำรทำงำน คือ ผู้ที่มีลักษณะซึ่งแสดงออกถึงความตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ท่ีได้รับ
มอบหมายด้วยความเพียรพยายาม ทุ่มเทกาลังกาย กาลังใจ ในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ให้สาเร็จ

ลุลว่ งตามเป้าหมายท่กี าหนดดว้ ยความรบั ผิดชอบและมคี วามภาคภมู ิใจในผลงาน
ตัวช้ีวัด

๖.๑ ตงั้ ใจและรับผิดชอบในการปฏบิ ตั ิหน้าที่การงาน

๖.๒ ทางานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพ่ือใหง้ านสาเรจ็ ตามเป้าหมาย

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรยี นชุมชนประชาธิปตั ย์วิทยาคาร ๑๑

ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบง่ ช้ี

ตัวช้ีวัด พฤติกรรมบ่งชี้

๖.๑ ตงั้ ใจและรบั ผิดชอบใน ๖.๑.๑ เอาใจใส่ตอ่ การปฏิบัติหนา้ ทท่ี ี่ไดร้ บั มอบหมาย

การปฏิบัติหนา้ ท่ีการงาน ๖.๑.๒ ต้ังใจและรบั ผดิ ชอบในการทางานให้สาเร็จ

๖.๑.๓ ปรับปรงุ และพัฒนาการทางานด้วยตนเอง

๖.๒ ทางานดว้ ยความเพียร ๖.๒.๑ ทมุ่ เททางาน อดทน ไม่ยอ่ ทอ้ ตอ่ ปัญหาและอปุ สรรคในการ

พยายามและอดทนเพ่ือใหง้ าน ทางาน

สาเรจ็ ตามเปา้ หมาย ๖.๒.๒ พยายามแก้ปัญหาและอุปสรรคในการทางานให้สาเร็จตาม

เปา้ หมาย๖.๒.๓ ชืน่ ชมผลงานดว้ ยความภาคภมู ิใจ

ข้อที่ ๗ รกั ควำมเป็นไทย

นยิ ำม

รักควำมเป็นไทย หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงออกถึงความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ร่วม

อนุรักษ์ สืบทอดภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม ใช้ภาษาไทยในการ

ส่ือสารไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง และเหมาะสม

ผูท้ ่รี ักควำมเปน็ ไทย คือ ผู้ที่มีความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ชื่นชม มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์

สืบทอดเผยแพร่ภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย มีความกตัญญู

กตเวที ใช้ภาษาไทย ในการสื่อสารอยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม

ตวั ช้วี ดั

๗.๑ ภาคภมู ใิ จในขนบธรรมเนยี มประเพณี ศลิ ปะ วัฒนธรรมไทย และมีความกตญั ญกู ตเวที

๗.๒ เห็นคุณคา่ และใชภ้ าษาไทยในการสื่อสารได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม

๗.๓ อนุรกั ษ์และสืบทอดภมู ปิ ญั ญาไทย

ตวั ชว้ี ัดและพฤติกรรมบง่ ชี้

ตัวชวี้ ัด พฤติกรรมบง่ ชี้

๗.๑ ภาคภมู ใิ จใน ๗.๑.๑ แตง่ กายและมีมารยาทงดงามแบบไทย มีสัมมาคารวะ

ขนบธรรมเนียมประเพณี ศลิ ปะ กตัญญูกตเวทตี ่อผู้มีพระคุณ

วฒั นธรรมไทย และมีความ ๗.๑.๒ รว่ มกิจกรรมท่เี ก่ียวขอ้ งกบั ประเพณี ศิลปะ และวฒั นธรรม

กตัญญูกตเวที ไทย

๗.๑.๓ ชักชวน แนะนาใหผ้ ู้อน่ื ปฏิบัติตามขนบธรรมเนียมประเพณี

ศลิ ปะ และวฒั นธรรมไทย

๗.๒ เห็นคุณค่าและใช้ ๗.๒.๑ ใช้ภาษาไทยและเลขไทยในการส่อื สารได้อย่างถกู ต้อง

ภาษาไทยในการสือ่ สารได้อยา่ ง เหมาะสม

ถูกต้องเหมาะสม ๗.๒.๒ ชกั ชวน แนะนาให้ผอู้ ืน่ เหน็ คุณคา่ ของการใชภ้ าษาไทยท่ี

ถูกตอ้ ง

๗.๓ อนุรกั ษแ์ ละสบื ทอดภูมิ ๗.๓.๑ นาภมู ปิ ัญญาไทยมาใช้ใหเ้ หมาะสมในวถิ ีชีวติ

ปัญญาไทย ๗.๓.๒ ร่วมกจิ กรรมท่ีเกยี่ วขอ้ งกับภูมปิ ัญญาไทย

๗.๓.๓ แนะนา มีสว่ นร่วมในการสบื ทอดภมู ิปัญญาไทย

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สตู รโรงเรียนชมุ ชนประชาธิปัตย์วทิ ยาคาร ๑๒

ข้อท่ี ๘ มจี ิตสำธำรณะ

นยิ ำม

มีจิตสำธำรณะ หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงออกถึงการมีส่วนร่วมในกิจกรรมหรือ

สถานการณ์ท่ีกอ่ ให้เกดิ ประโยชนแ์ กผ่ ู้อ่นื ชุมชน และสังคม ดว้ ยความเต็มใจ กระตือรือร้น โดยไม่หวัง

ผลตอบแทน

ผู้ที่มีจิตสำธำรณะ คือ ผู้ท่ีมีลักษณะเป็นผู้ให้และช่วยเหลือผู้อ่ืน แบ่งปันความสุขส่วนตน

เพ่ือทาประโยชน์แก่ส่วนรวม เข้าใจ เห็นใจผู้ที่มีความเดือดร้อน อาสาช่วยเหลือสังคม อนุรักษ์

สง่ิ แวดลอ้ ม ด้วยแรงกายสตปิ ัญญา ลงมอื ปฏิบตั เิ พอ่ื แก้ปัญหา หรอื ร่วมสร้างสรรค์ส่ิงท่ีดีงามให้เกิดใน

ชุมชน โดยไมห่ วงั ส่ิงตอบแทน

ตวั ชีว้ ัด

๘.๑ ชว่ ยเหลอื ผูอ้ นื่ ดว้ ยความเตม็ ใจโดยไมห่ วงั ผลตอบแทน

๘.๒ เขา้ ร่วมกิจกรรมท่เี ป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และสงั คม

ตวั ชว้ี ัดและพฤตกิ รรมบ่งชี้

ตวั ชว้ี ัด พฤติกรรมบ่งชี้

๘.๑ ชว่ ยเหลอื ผู้อ่นื ดว้ ยความ ๘.๑.๑ ชว่ ยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูทางานดว้ ยความเตม็ ใจ

เต็มใจโดยไมห่ วังผลตอบแทน ๘.๑.๒ อาสาทางานใหผ้ ู้อ่นื ด้วยกาลงั กาย กาลงั ใจ และ

กาลงั สตปิ ัญญาด้วยความสมัครใจ

๘.๑.๓ แบ่งปนั ส่งิ ของ ทรพั ยส์ นิ และอนื่ ๆ และช่วยแก้ปัญหาหรอื

สรา้ งความสุขใหก้ บั ผู้อน่ื

๘.๒ เข้ารว่ มกจิ กรรมที่เปน็ ๘.๒.๑ ดูแลรักษาสาธารณสมบตั แิ ละสิ่งแวดลอ้ มด้วยความเตม็ ใจ

ประโยชนต์ อ่ โรงเรียน ชมุ ชน ๘.๒.๒ เขา้ รว่ มกิจกรรมทเ่ี ป็นประโยชน์ตอ่ โรงเรียน ชุมชน และ

และสังคม สงั คม

๘.๒.๓ เขา้ ร่วมกิจกรรมเพอ่ื แก้ปัญหาหรอื ร่วมสรา้ งสงิ่ ท่ีดีงามของ

สว่ นรวมตามสถานการณ์ ทเี่ กิดข้นึ ด้วยความกระตือรอื รน้

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สตู รโรงเรยี นชมุ ชนประชาธิปตั ย์วทิ ยาคาร ๑๓

ทำไมต้องเรยี นภำษำไทย

ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ
และเสรมิ สร้างบุคลกิ ภาพของคนในชาตใิ หม้ คี วามเป็นไทย เปน็ เคร่อื งมอื ในการติดต่อส่ือสารเพื่อสร้าง
ความเขา้ ใจและความสัมพันธท์ ดี่ ีต่อกัน ทาให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดารงชีวิตร่วมกัน
ในสังคมประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข และเป็นเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จาก
แหล่งข้อมูลสารสนเทศต่างๆ เพ่ือพัฒนาความรู้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และ
สร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงทางสังคม และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสต ร์ เทคโนโลยี
ตลอดจนนาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ นอกจากน้ียังเป็นสื่อแสดงภูมิ
ปัญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณีและสุนทรียภาพ เป็นสมบัติล้าค่าควรแก่การเรียนรู้
อนรุ กั ษ์ และสืบสานใหค้ งอยูค่ ู่ชาตไิ ทยตลอดไป

เรียนรอู้ ะไรในภำษำไทย

ภาษาไทยเป็นทักษะท่ีต้องฝึกฝนจนเกิดความชานาญในการใช้ภาษาเพ่ือการสื่อสาร การ
เรียนรู้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ และเพื่อนาไปใช้ในชวี ิตจรงิ

 กำรอ่ำน การอ่านออกเสยี งคา ประโยค การอ่านบทร้อยแก้ว คาประพันธ์ชนิดต่าง ๆ
การอ่านในใจเพ่ือสร้างความเข้าใจ และการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากส่ิงที่อ่าน เพ่ือนาไป
ปรับใช้ในชวี ติ ประจาวัน

 กำรเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนส่ือสาร โดยใช้ถ้อยคาและรูปแบบต่าง
ๆของการเขียน ซ่ึงรวมถึงการเขียนเรียงความ ยอ่ ความ รายงานชนิดต่างๆ การเขียนตามจินตนาการ
วิเคราะห์วจิ ารณ์ และเขยี นเชงิ สรา้ งสรรค์

 กำรฟัง กำรดู และกำรพูด การฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความ
คิดเห็น ความรู้สึก พูดลาดับเร่ืองราวต่าง ๆ อย่างเป็นเหตุเป็นผล การพูดในโอกาสต่าง ๆ ทั้งเป็น
ทางการและไม่เปน็ ทางการ และการพูดเพอ่ื โน้มน้าวใจ

 หลักกำรใช้ภำษำไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษาให้ถูกต้อง
เหมาะสมกบั โอกาสและบคุ คล การแต่งบทประพันธป์ ระเภทต่าง ๆ และอิทธิพลของภาษาต่างประเทศ
ในภาษาไทย

 วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อศึกษาข้อมูล
แนวความคดิ คุณค่าของงานประพันธ์ และความเพลิดเพลิน การเรียนรู้และทาความเข้าใจบทเห่ บท
ร้องเล่นของเด็ก เพลงพื้นบา้ นที่เป็นภูมิปญั ญาที่มคี ณุ คา่ ของไทย ซ่ึงได้ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม
ขนบธรรมเนียมประเพณี เรื่องราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพ่ือให้เกิดความซาบซ้ึง
และภมู ใิ จในบรรพบุรษุ ท่ีได้สง่ั สมสบื ทอดมาจนถงึ ปจั จบุ นั

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรยี นชุมชนประชาธิปตั ย์วทิ ยาคาร ๑๔

สำระและมำตรฐำนกำรเรียนรู้

สำระที่ ๑ กำรอ่ำน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ

แกป้ ัญหาในการดาเนนิ ชวี ิตและมีนสิ ยั รักการอ่าน
สำระที่ ๒ กำรเขยี น

มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียน
เรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมี
ประสิทธภิ าพ
สำระท่ี ๓ กำรฟัง กำรดู และกำรพูด

มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟังและดอู ย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด
ความรู้สกึ ในโอกาสตา่ งๆ อย่างมีวจิ ารณญาณ และสร้างสรรค์
สำระที่ ๔ หลักกำรใช้ภำษำไทย

มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา
และพลังของภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัติของชาติ
สำระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม

มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณ์วรรณคดี

คณุ ภำพผเู้ รยี น

จบชน้ั ประถมศึกษำปที ี่ ๓
๑. อ่านออกเสียงคา คาคล้องจอง ข้อความ เรื่องสั้น ๆ และบทร้อยกรองง่าย ๆ ได้

ถูกต้องคล่องแคล่ว เข้าใจความหมายของคาและข้อความที่อ่าน ต้ังคาถามเชิงเหตุผล ลาดับ
เหตกุ ารณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรุปความรู้ข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน ปฏิบัติตามคาส่ัง คาอธิบายจาก
เร่ืองที่อ่านได้ เข้าใจความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนท่ี และแผนภูมิ อ่านหนังสืออย่าง
สม่าเสมอ และมีมารยาทในการอ่าน

๒. มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย บันทึกประจาวัน เขียน
จดหมายลาครู เขียนเรื่องเกี่ยวกับประสบการณ์ เขียนเร่ืองตามจินตนาการและมีมารยาทในการ
เขยี น

๓.เล่ารายละเอียดและบอกสาระสาคัญ ต้ังคาถาม ตอบคาถาม รวมท้ังพูดแสดงความคิด
ความรู้สึกเกี่ยวกับเร่อื งทีฟ่ งั และดู พดู ส่ือสารเล่าประสบการณ์และพูดแนะนา หรือพดู เชิญชวนให้ผู้อื่น
ปฏิบตั ิตาม และมีมารยาทในการฟัง ดู และพูด

๔. สะกดคาและเขา้ ใจความหมายของคา ความแตกต่างของคาและพยางค์ หน้าที่ของคาใน
ประโยค มที กั ษะการใช้พจนานุกรมในการค้นหาความหมายของคา แต่งประโยคง่าย ๆ แต่งคาคล้อง
จอง แต่งคาขวัญ และเลอื กใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่นิ ไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สตู รโรงเรียนชุมชนประชาธิปตั ย์วทิ ยาคาร ๑๕

๕. เข้าใจและสามารถสรุปข้อคิดท่ีได้จากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนาไปใช้ใน
ชีวิตประจาวัน แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีที่อ่าน รู้จักเพลงพ้ืนบ้าน เพลงกล่อมเด็ก ซึ่งเป็น
วัฒนธรรมของท้องถน่ิ รอ้ งบทร้องเล่นสาหรบั เด็กในท้องถิ่น ท่องจาบทอาขยานและบทร้อยกรองที่มี
คุณค่าตามความสนใจได้
จบช้นั ประถมศกึ ษำปที ี่ ๖

๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะได้ถูกต้อง อธิบาย
ความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัยของคา ประโยค ข้อความ สานวนโวหาร จากเร่ืองที่
อ่าน เข้าใจคาแนะนา คาอธิบายในคู่มือต่าง ๆ แยกแยะข้อคิดเห็นและข้อเท็จจริง รวมท้ังจับ
ใจความสาคัญของเร่อื งท่อี า่ นและนาความรู้ความคิดจากเรื่องท่ีอ่านไปตดั สนิ ใจแก้ปญั หาในการดาเนิน
ชวี ติ ได้มีมารยาทและมนี ิสัยรกั การอา่ น และเหน็ คณุ คา่ ส่งิ ท่อี ่าน

๒. มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขียนสะกดคา แต่ง
ประโยคและเขียนข้อความ ตลอดจนเขียนสื่อสารโดยใช้ถ้อยคาชัดเจนเหมาะสม ใช้แผนภาพ โครง
เรอ่ื งและแผนภาพความคิด เพื่อพัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ ย่อความ จดหมายส่วนตัว กรอก
แบบรายการต่าง ๆ เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น เขียนเรื่องตามจินตนาการอย่าง
สร้างสรรค์ และมีมารยาทในการเขยี น

๓. พดู แสดงความรู้ ความคิดเกีย่ วกับเรื่องท่ีฟังและดู เล่าเรื่องย่อหรือสรุปจากเรื่องท่ีฟังและ
ดู ต้ังคาถาม ตอบคาถามจากเรือ่ งท่ฟี ังและดู รวมท้ังประเมินความน่าเชื่อถือจากการฟังและดูโฆษณา
อยา่ งมเี หตุผล พูดตามลาดบั ขั้นตอนเรอ่ื งต่าง ๆ อย่างชัดเจน พูดรายงานหรือประเด็นค้นคว้าจาก
การฟงั การดู การสนทนา และพูดโนม้ น้าวได้อย่างมเี หตผุ ล รวมทัง้ มีมารยาทในการดแู ละพดู

๔. สะกดคาและเข้าใจความหมายของคา สานวน คาพังเพยและสุภาษิต รู้และเข้าใจ ชนิด
และหน้าที่ของคาในประโยค ชนิดของประโยค และคาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใช้คาราชา
ศัพท์และคาสุภาพได้อย่างเหมาะสม แต่งประโยค แต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสี่ กลอนสุภาพ
และกาพย์ยานี ๑๑

๕, เข้าใจและเห็นคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน เล่านิทานพ้ืนบ้าน ร้องเพลง
พื้นบ้านของทอ้ งถิ่น นาข้อคิดเห็นจากเร่ืองที่อ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง และท่องจาบทอาขยาน
ตามท่กี าหนดได้
จบชั้นมธั ยมศึกษำปที ่ี ๓

๑. อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะไดถ้ ูกตอ้ ง เข้าใจความหมาย
โดยตรงและความหมายโดยนัย จับใจความสาคัญและรายละเอียดของส่ิงที่อ่าน แสดงความคิดเห็น
และข้อโตแ้ ย้งเกี่ยวกับเร่อื งทอ่ี า่ น และเขียนกรอบแนวคิด ผังความคดิ ย่อความ เขียนรายงานจากสิ่งท่ี
อา่ นได้ วเิ คราะห์ วิจารณ์ อยา่ งมเี หตผุ ล ลาดบั ความอย่างมีข้ันตอนและความเป็นไปได้ของเร่ืองที่
อ่าน รวมท้งั ประเมินความถูกต้องของข้อมูลทใี่ ช้สนับสนนุ จากเรือ่ งท่ีอา่ น

๒. เขียนสื่อสารด้วยลายมือท่ีอ่านง่ายชัดเจน ใช้ถ้อยคาได้ถูกต้องเหมาะสมตามระดับภาษา
เขยี นคาขวญั คาคม คาอวยพรในโอกาสต่าง ๆ โฆษณา คติพจน์ สุนทรพจน์ ชีวประวัติ อัตชีวประวัติ
และประสบการณ์ต่าง ๆ เขียนย่อความ จดหมายกิจธุระ แบบกรอกสมัครงาน เขียนวิเคราะห์

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสตู รโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร ๑๖

วจิ ารณ์ และแสดงความรู้ความคิดหรือโตแ้ ยง้ อย่างมีเหตุผล ตลอดจนเขยี นรายงานการศึกษาค้นคว้า
และเขยี นโครงงาน

๓. พูดแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินส่ิงที่ได้จากการฟังและดู นาข้อคิดไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็น
ระบบ มศี ลิ ปะในการพดู พูดในโอกาสตา่ ง ๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ และพูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผล
น่าเชื่อถอื รวมทั้งมีมารยาทในการฟงั ดู และพดู

๔. เข้าใจและใช้คาราชาศัพท์ คาบาลีสันสกฤต คาภาษาต่างประเทศอ่ืน ๆ คาทับศัพท์
และศพั ท์บัญญตั ใิ นภาษาไทย วเิ คราะหค์ วามแตกต่างในภาษาพูด ภาษาเขียน โครงสร้างของประโยค
รวม ประโยคซ้อน ลกั ษณะภาษาท่ีเปน็ ทางการ ก่ึงทางการและไม่เป็นทางการ และแต่งบทร้อยกรอง
ประเภทกลอนสุภาพ กาพย์ และโคลงสสี่ ุภาพ

๕. สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน วิเคราะห์ตัวละครสาคัญ วิถีชีวิตไทย และ
คุณค่าท่ีได้รับจากวรรณคดีวรรณกรรมและบทอาขยาน พร้อมทั้งสรุปความรู้ข้อคิดเพื่อนาไป
ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ จริง
จบชัน้ มัธยมศกึ ษำปที ่ี ๖

๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะได้ถูกต้องและ
เข้าใจ ตีความ แปลความ และขยายความเร่ืองท่ีอ่านได้ วิเคราะห์วิจารณ์เร่ืองที่อ่าน แสดงความ
คิดเห็นโต้แย้งและเสนอความคิดใหม่จากการอ่านอย่างมีเหตุผล คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่
อ่าน เขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ และเขียนรายงานจากสิ่งท่ีอ่าน
สังเคราะห์ ประเมินค่า และนาความรู้ความคิดจากการอ่านมาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และ
พัฒนาความรู้ทางอาชีพ และ นาความรู้ความคิดไปประยุกต์ใช้แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต มี
มารยาทและมนี สิ ยั รักการอ่าน

๒. เขียนส่ือสารในรูปแบบต่าง ๆ โดยใช้ภาษาได้ถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์ ย่อความจาก
ส่ือที่มีรูปแบบและเนื้อหาท่ีหลากหลาย เรียงความแสดงแนวคิดเชิงสร้างสรรค์โดยใช้โวหาร
ต่าง ๆ เขียนบนั ทกึ รายงานการศึกษาค้นคว้าตามหลักการเขียนทางวิชาการ ใช้ข้อมูลสารสนเทศใน
การอ้างอิง ผลิตผลงานของตนเองในรูปแบบต่างๆ ทั้งสารคดีและบันเทิงคดี รวมท้ังประเมินงาน
เขยี นของผู้อน่ื และนามาพฒั นางานเขียนของตนเอง

๓. ตัง้ คาถามและแสดงความคิดเหน็ เก่ยี วกับเร่อื งท่ีฟงั และดู มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่อง
ที่ฟังและดู วิเคราะห์วัตถุประสงค์ แนวคิด การใช้ภาษา ความน่าเช่ือถือของเร่ืองท่ีฟังและ
ดู ประเมนิ สงิ่ ท่ฟี ังและดแู ล้วนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาเนนิ ชวี ิต มีทกั ษะการพูดในโอกาสต่าง ๆ ท้ังท่ี
เป็นทางการและไมเ่ ป็นทางการโดยใช้ภาษาที่ถูกต้อง พูดแสดงทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าว และเสนอ
แนวคิดใหม่อยา่ งมเี หตุผล รวมท้งั มมี ารยาทในการฟัง ดู และพดู

๔. เข้าใจธรรมชาติของภาษา อิทธิพลของภาษา และลักษณะของภาษาไทย ใช้คาและ
กลุ่มคาสร้างประโยคได้ตรงตามวัตถุประสงค์ แต่งคาประพันธ์ประเภท กาพย์ โคลง ร่ายและ
ฉนั ท์ ใช้ภาษาไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะและใช้คาราชาศัพท์และคาสุภาพได้อย่างถูกต้อง วิเคราะห์
หลกั การ สรา้ งคาในภาษาไทย อิทธพิ ลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยและภาษาถ่ิน

หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สตู รโรงเรยี นชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร ๑๗

๕. วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ์วรรณคดีเบื้องต้น รู้และ
เข้าใจลกั ษณะเดน่ ของวรรณคดี ภูมปิ ัญญาทางภาษาและวรรณกรรมพ้ืนบ้าน เชื่อมโยงกับการเรียนรู้
ทางประวัติศาสตร์และวิถีไทย ประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ และนาข้อคิดจากวรรณคดีและ
วรรณกรรมไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ จริง
รำยวชิ ำเพิ่มเติม
จบชนั้ มธั ยมศึกษำปที ี่ ๖

๑. ตั้งประเดน็ ปัญหา โดยเลอื กประเดน็ ที่สนใจ เร่ิมจากตนเอง ชมุ ชนท้องถิน่ ประเทศได้
๒. ตัง้ สมมติฐานประเด็นปัญหาทตี่ นเองสนใจได้
๓. ออกแบบ วางแผน โดยใช้กระบวนการรวมรวมขอ้ มูลอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพได้
๔. ศกึ ษา คน้ คว้า แสวงหาความรูเ้ ก่ยี วกบั ประเดน็ ทีเ่ ลือกจากแหลง่ เรยี นร้ทู ห่ี ลากหลายได้
๕. ตรวจสอบความนา่ เชอ่ื ถอื ของแหลง่ ทมี่ าข้อมลู ได้
๖. วิเคราะห์ข้อค้นพบด้วยวธิ กี ารที่เหมาะสมได้
๗. สังเคราะห์ สรุปองค์ความรดู้ ว้ ยกระบวนการกลุม่ ได้
๘. นาเสนอแนวคิดการแกป้ ญั หาอย่างเป็นระบบด้วยองคค์ วามรู้จากการค้นพบได้
๙. บอกประโยชนแ์ ละคุณค่าของการศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเองได้
๑๐.บอกประโยชนแ์ ละคุณค่าในการสรา้ งสรรคง์ านและถา่ ยทอดสงิ่ ทีเ่ รียนรู้แก่สาธารณะได้
๑๑.วางโครงรา่ งการเขียนตามหลกั เกณฑ์ องคป์ ระกอบและวิธกี ารเขียนโครงร่างได้
๑๒.เขยี นรายงานการศกึ ษาค้นคว้าเชงิ วิชาการภาษาไทย ความยาว ๒,๕๐๐ คาได้
๑๓.นาเสนอข้อค้นพบ ข้อสรุปจากประเดน็ ท่ีเลอื กในรปู แบบเดย่ี ว หรอื กลมุ่
๑๔.ใชส้ ่อื อุปกรณใ์ นการนาเสนออยา่ งเหมาะสมได้
๑๕.เผยแพรผ่ ลงานสู่สาธารณะได้

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สตู รโรงเรียนชมุ ชนประชาธิปตั ย์วทิ ยาคาร ๑๘

ตวั ชวี้ ัดและสำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง

สำระที่ ๑ กำรอำ่ น

มำตรฐำน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความร้แู ละความคิดเพอ่ื นาไปใช้ตดั สนิ ใจ แก้ปัญหาใน

การดาเนนิ ชวี ิต และมีนสิ ัยรกั การอา่ น

ช้นั ตวั ชีว้ ัด สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง

ป.๑ ๑. อ่านออกเสียงคา คาคล้องจอง และ การอา่ นออกเสียงและบอกความหมายของคา

ข้อความส้นั ๆ คาคล้องจอง และข้อความทปี่ ระกอบด้วย

๒. บอกความหมายของคา และ คาพื้นฐาน คือ คาทใ่ี ชใ้ นชวี ิตประจาวัน

ขอ้ ความทีอ่ า่ น ไม่น้อยกว่า ๖๐๐ คา รวมท้ังคาท่ีใชเ้ รยี นรู้

ใน กลุ่มสาระการเรยี นรอู้ ่นื ประกอบด้วย

- คาทมี่ รี ูปวรรณยุกต์และไม่มรี ปู วรรณยกุ ต์

- คาที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรง

ตามมาตรา

- คาท่ีมพี ยญั ชนะควบกลา้

- คาทม่ี ีอกั ษรนา

๓. ตอบคาถามเกี่ยวกบั เรอื่ งทอ่ี า่ น การอา่ นจับใจความจากส่อื ต่างๆ เช่น

๔. เล่าเรอ่ื งย่อจากเรอื่ งทอ่ี ่าน - นทิ าน

๕. คาดคะเนเหตกุ ารณ์จากเรอื่ งทอี่ า่ น - เรื่องสน้ั ๆ

- บทร้องเลน่ และบทเพลง

- เรอ่ื งราวจากบทเรยี นในกลุม่ สาระการ

เรียนรู้ภาษาไทยและกลมุ่ สาระการเรยี นรู้

อ่ืน

๖. อา่ นหนังสอื ตามความสนใจ การอ่านหนงั สือตามความสนใจ เชน่

อย่างสม่าเสมอและนาเสนอเรือ่ งท่ี - หนงั สือทน่ี ักเรยี นสนใจและเหมาะสมกบั วัย

อา่ น - หนังสอื ทค่ี รแู ละนกั เรยี นกาหนดร่วมกนั

๗. บอกความหมายของเครอ่ื งหมาย การอา่ นเคร่อื งหมายหรอื สญั ลักษณ์

หรือสญั ลกั ษณ์สาคญั ทมี่ กั พบเห็นใน ประกอบดว้ ย

ชีวิตประจาวัน - เครอ่ื งหมายสัญลกั ษณ์ต่างๆ ท่ีพบเหน็ ใน

ชีวติ ประจาวนั

- เครือ่ งหมายแสดงความปลอดภยั และแสดง

อนั ตราย

๘. มมี ารยาท ในการอ่าน มารยาทในการอ่าน เช่น

- ไมอ่ ่านเสยี งดงั รบกวนผ้อู ่นื

- ไมเ่ ลน่ กันขณะท่ีอ่าน

- ไม่ทาลายหนงั สือ

หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนชมุ ชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร ๑๙

ชน้ั ตัวชวี้ ัด สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง

ป.๒ ๑. อ่านออกเสยี งคา คาคล้องจอง การอ่านออกเสยี งและการบอกวามหมายของคา

ข้อความ และบทร้อยกรองงา่ ยๆ คาคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรอง

ได้ถูกต้อง งา่ ยๆ ทป่ี ระกอบด้วยคาพ้ืนฐานเพมิ่ จาก

๒. อธิบายความหมายของคาและ ป. ๑ ไม่นอ้ ยกว่า ๘๐๐ คา รวมทง้ั คาที่ใช้

ข้อความทีอ่ า่ น เรยี นรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรูอ้ ื่น

ประกอบดว้ ย

- คาทม่ี รี ูปวรรณยุกตแ์ ละไมม่ รี ปู วรรณยุกต์

- คาท่ีมีตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรง

ตามมาตรา

- คาท่มี ีพยญั ชนะควบกล้า

- คาทม่ี อี ักษรนา

- คาทมี่ ีตัวการันต์

- คาท่ีมี รร

- คาที่มีพยญั ชนะและสระทีไ่ ม่ออกเสียง

๓. ตง้ั คาถามและตอบคาถามเกยี่ วกับ การอา่ นจบั ใจความจากสอื่ ต่างๆ เช่น

เรอ่ื งทีอ่ า่ น - นิทาน

๔. ระบใุ จความสาคัญและรายละเอียด - เรื่องเล่าสนั้ ๆ

จากเร่อื งที่อา่ น - บทเพลงและบทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ

๕. แสดงความคดิ เหน็ และคาดคะเน - เร่อื งราวจากบทเรียนในกลมุ่ สาระการ

เหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน เรยี นรู้ภาษาไทย และกลุม่ สาระการเรียนรู้

อ่นื

- ขา่ วและเหตุการณ์ประจาวัน

๖. อา่ นหนงั สือตามความสนใจอยา่ ง การอา่ นหนงั สือตามความสนใจ เชน่

สม่าเสมอและนาเสนอเรือ่ งท่อี า่ น - หนงั สอื ทีน่ ักเรยี นสนใจและเหมาะสมกับวยั

- หนงั สอื ที่ครแู ละนกั เรียนกาหนดรว่ มกนั

๗. อา่ นข้อเขียนเชิงอธิบาย และปฏบิ ตั ิ การอา่ นข้อเขยี นเชิงอธิบาย และปฏบิ ัติตาม

ตามคาสง่ั หรอื ขอ้ แนะนา คาสง่ั หรอื ข้อแนะนา

- การใช้สถานที่สาธารณะ

- คาแนะนาการใช้เคร่ืองใช้ที่จาเป็นในบา้ น

และในโรงเรียน

๘. มมี ารยาทในการอา่ น มารยาทในการอ่าน เช่น

- ไม่อา่ นเสียงดังรบกวนผอู้ ่ืน

- ไม่เลน่ กันขณะท่อี ่าน

- ไม่ทาลายหนังสอื

- ไมค่ วรแยง่ อา่ นหรอื ชะโงกหนา้ ไปอา่ นขณะท่ี

หลักสตู รกล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนชุมชนประชาธิปตั ย์วทิ ยาคาร ๒๐

ชั้น ตัวช้วี ัด สำระกำรเรียนรูแ้ กนกลำง

ป.๓ ๑. อา่ นออกเสียงคา ข้อความ เรอื่ ง ผู้อ่นื กาลงั อา่ นอยู่
สั้นๆ และบทร้อยกรองงา่ ยๆ ได้
ถกู ต้อง คลอ่ งแคลว่ การอา่ นออกเสยี งและการบอกความหมายของ
คา คาคล้องจอง ขอ้ ความ และบทรอ้ ยกรอง
๒. อธิบายความหมายของคาและ ง่ายๆ ทปี่ ระกอบดว้ ยคาพนื้ ฐานเพม่ิ จาก ป.๒
ข้อความที่อ่าน ไมน่ ้อยกว่า ๑,๒๐๐ คา รวมทง้ั คาท่ีเรียนรู้ใน
กลุม่ สาระการเรียนรูอ้ น่ื ประกอบดว้ ย
- คาทม่ี ีตวั การนั ต์
- คาท่ีมี รร
- คาทมี่ ีพยญั ชนะและสระไม่ออกเสียง
- คาพอ้ ง
- คาพเิ ศษอ่ืนๆ เช่น คาที่ใช้ ฑ ฤ ฤๅ

๓. ต้งั คาถามและตอบคาถามเชิง การอ่านจับใจความจากส่อื ต่างๆ เช่น
เหตุผลเกี่ยวกบั เรือ่ งท่อี ่าน - นทิ านหรือเร่อื งเก่ียวกับทอ้ งถ่นิ
- เร่ืองเล่าสัน้ ๆ
๔. ลาดบั เหตกุ ารณ์และคาดคะเน - บทเพลงและบทรอ้ ยกรอง
เหตกุ ารณ์จากเร่ืองที่อา่ นโดยระบุ - บทเรียนในกลุม่ สาระการเรียนรอู้ ่นื
เหตุผลประกอบ - ข่าวและเหตกุ ารณ์ในชีวิตประจาวนั ใน
ทอ้ งถ่นิ และชุมชน
๕. สรุปความรแู้ ละขอ้ คิดจากเร่อื งท่ี
อ่านเพ่ือนาไปใช้ในชวี ิตประจาวนั การอา่ นหนังสือตามความสนใจ เชน่
- หนงั สอื ท่นี ักเรียนสนใจและเหมาะสมกบั วัย
๖. อา่ นหนงั สือตามความสนใจ - หนงั สือท่คี รแู ละนกั เรยี นกาหนดร่วมกนั
อย่างสม่าเสมอและนาเสนอเร่ืองที่
อ่าน การอา่ นข้อเขยี นเชงิ อธิบาย และปฏิบัตติ าม
คาสงั่ หรือขอ้ แนะนา
๗. อ่านข้อเขยี นเชงิ อธบิ ายและปฏบิ ัติ - คาแนะนาตา่ งๆ ในชวี ติ ประจาวนั
ตามคาสัง่ หรอื ข้อแนะนา - ประกาศ ป้ายโฆษณา และคาขวญั

๘. อธิบายความหมายของข้อมูลจาก การอ่านขอ้ มลู จากแผนภาพ แผนท่ี และแผนภมู ิ
แผนภาพ แผนท่ี และแผนภูมิ
มารยาทในการอ่าน เชน่
๙. มีมารยาทในการอ่าน - ไม่อา่ นเสยี งดงั รบกวนผอู้ ่ืน
- ไมเ่ ลน่ กันขณะที่อ่าน
- ไมท่ าลายหนังสอื
- ไม่ควรแย่งอ่านหรอื ชะโงกหนา้ ไปอา่ น
ขณะทผ่ี อู้ นื่ กาลังอ่าน

หลักสตู รกล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสตู รโรงเรยี นชุมชนประชาธิปตั ย์วิทยาคาร ๒๑

ช้ัน ตวั ช้วี ัด สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง

ป.๔ ๑. อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วและ การอา่ นออกเสยี งและการบอกความหมายของ

บทร้อยกรองได้ถูกต้อง บทร้อยแก้วและบทรอ้ ยกรองทป่ี ระกอบดว้ ย

๒. อธิบายความหมายของคา ประโยค - คาที่มี ร ล เป็นพยัญชนะตน้

และสานวนจากเรอื่ งทอี่ ่าน - คาท่ีมีพยัญชนะควบกลา้

- คาท่ีมอี กั ษรนา

- คาประสม

- อักษรย่อและเคร่ืองหมายวรรคตอน

- ประโยคที่มีสานวนเป็นคาพงั เพย สุภาษิต

ปริศนาคาทาย และเคร่อื งหมายวรรคตอน

การอา่ นบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะ

๓. อา่ นเรือ่ งสนั้ ๆ ตามเวลาทกี่ าหนด การอา่ นจับใจความจากสอื่ ตา่ งๆ เชน่

และตอบคาถามจากเรือ่ งทอ่ี า่ น - เร่ืองสัน้ ๆ

๔. แยกขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ คดิ เหน็ - เร่อื งเล่าจากประสบการณ์

จากเรือ่ งทอี่ ่าน - นทิ านชาดก

๕. คาดคะเนเหตุการณจ์ ากเรื่องที่อ่าน - บทความ

โดยระบเุ หตผุ ลประกอบ - บทโฆษณา

๖. สรุปความรแู้ ละขอ้ คิดจากเรอ่ื งที - งานเขียนประเภทโนม้ น้าวใจ

อ่านเพ่อื นาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั - ข่าวและเหตกุ ารณ์ประจาวนั

- สารคดแี ละบันเทิงคดี

๗. อ่านหนังสอื ทม่ี ีคุณค่าตามความ การอ่านหนังสือตามความสนใจ เช่น

สนใจอย่างสม่าเสมอและแสดงความ - หนงั สอื ที่นักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวยั

คิดเห็นเกย่ี วกบั เรอ่ื งที่อา่ น - หนงั สอื ที่ครูและนกั เรยี นกาหนดร่วมกนั

๘. มมี ารยาทในการอา่ น มารยาทในการอ่าน

ป.๕ ๑. อา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ และ การอา่ นออกเสียงและการบอกความหมายของ

บทร้อยกรองได้ถูกตอ้ ง บทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองที่ประกอบด้วย

๒. อธิบายความหมายของคา ประโยค - คาที่มีพยญั ชนะควบกลา้

และข้อความท่ีเป็นการบรรยาย - คาทม่ี อี ักษรนา

และการพรรณนา - คาที่มตี วั การนั ต์

๓. อธิบายความหมายโดยนัย จาก - อักษรย่อและเครอ่ื งหมายวรรคตอน

เรื่องทอ่ี า่ นอย่างหลากหลาย - ข้อความท่เี ป็นการบรรยายและพรรณนา

- ขอ้ ความทม่ี คี วามหมายโดยนยั

การอา่ นบทรอ้ ยกรองเปน็ ทานองเสนาะ

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สูตรโรงเรยี นชมุ ชนประชาธิปตั ย์วิทยาคาร ๒๒

ชั้น ตวั ช้ีวัด สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง

๔. แยกข้อเทจ็ จริงและขอ้ คดิ เหน็ จาก การอ่านจบั ใจความจากสอื่ ตา่ งๆ เชน่

เรื่องทอี่ า่ น - วรรณคดใี นบทเรียน

๕. วิเคราะห์และแสดงความคดิ เหน็ - บทความ

เกย่ี วกบั เร่อื งทอ่ี ่านเพอ่ื นาไปใช้ - บทโฆษณา

ในการดาเนนิ ชวี ติ - งานเขียนประเภทโน้มนา้ วใจ

- ขา่ วและเหตกุ ารณ์ประจาวัน

๖. อ่านงานเขียนเชิงอธบิ าย คาสง่ั การอ่านงานเขยี นเชงิ อธิบาย คาสัง่ ข้อแนะนา

ข้อแนะนา และปฏิบัติตาม และปฏบิ ัติตาม เชน่

- การใชพ้ จนานกุ รม

- การใชว้ ัสดอุ ุปกรณ์

- การอา่ นฉลากยา

- คมู่ ือและเอกสารของโรงเรียนที่เกย่ี วข้องกับ

นกั เรียน

- ขา่ วสารทางราชการ

๗. อา่ นหนงั สือทีม่ คี ุณค่าตามความ การอ่านหนงั สือตามความสนใจ เชน่

สนใจอยา่ งสมา่ เสมอและแสดง - หนังสือท่ีนักเรยี นสนใจและเหมาะสมกับวยั

ความคิดเห็นเกย่ี วกบั เรอ่ื งท่ีอ่าน - หนังสือที่ครูและนักเรียนกาหนดร่วมกนั

๘. มมี ารยาทในการอา่ น มารยาทในการอ่าน

ป.๖ ๑. อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วและ การอา่ นออกเสียงและการบอกความหมายของ

บทรอ้ ยกรองได้ถูกตอ้ ง บทร้อยแกว้ และบทร้อยกรอง ประกอบดว้ ย

๒. อธบิ ายความหมายของคา ประโยค - คาทมี่ พี ยัญชนะควบกลา้

และขอ้ ความท่ีเปน็ โวหาร - คาทีม่ อี กั ษรนา

- คาทมี่ ตี วั การันต์

- คาที่มาจากภาษาต่างประเทศ

- อักษรย่อและเครอ่ื งหมายวรรคตอน

- วนั เดือน ปีแบบไทย

- ขอ้ ความท่ีเปน็ โวหารต่างๆ

- สานวนเปรยี บเทยี บ

การอา่ นบทรอ้ ยกรองเปน็ ทานองเสนาะ

๓. อ่านเร่อื งส้นั ๆ อยา่ งหลากหลาย การอ่านจบั ใจความจากสอื่ ต่างๆ เช่น

โดยจบั เวลาแล้วถามเกย่ี วกบั เรอื่ งท่ี - เรอ่ื งส้นั ๆ

อ่าน - นทิ านและเพลงพื้นบ้าน

๔. แยกขอ้ เท็จจริงและข้อคิดเหน็ จาก - บทความ

หลกั สตู รกล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สตู รโรงเรยี นชมุ ชนประชาธิปตั ย์วิทยาคาร ๒๓

ชนั้ ตัวชีว้ ัด สำระกำรเรียนรูแ้ กนกลำง
เรื่องท่ีอา่ น

๕. อธบิ ายการนาความรู้และความคิด - พระบรมราโชวาท

จากเรือ่ งทอ่ี า่ นไปตดั สนิ ใจแกป้ ญั หา - สารคดี

ในการดาเนินชวี ติ - เร่อื งส้ัน

- งานเขียนประเภทโน้มน้าว

- บทโฆษณา

- ข่าว และเหตุการณ์สาคญั

การอา่ นเรว็

๖. อ่านงานเขียนเชิงอธบิ าย คาส่งั การอ่านงานเขยี นเชิงอธิบาย คาส่ัง ข้อแนะนา

ข้อแนะนา และปฏิบตั ิตาม และปฏบิ ัติตาม

- การใช้พจนานกุ รม

- การปฏบิ ตั ติ นในการอยู่รว่ มกันในสงั คม

- ข้อตกลงในการอยู่ร่วมกันในโรงเรยี น และ

การใช้สถานที่สาธารณะในชุมชนและ

ท้องถิน่

๗. อธิบายความหมายของข้อมลู จาก การอ่านขอ้ มูลจากแผนผงั แผนท่ี แผนภูมิ และ

การอ่านแผนผัง แผนที่ แผนภมู ิ กราฟ

และกราฟ

๘. อ่านหนังสอื ตามความสนใจ และ การอา่ นหนังสอื ตามความสนใจ เช่น

อธบิ ายคณุ คา่ ทไ่ี ดร้ บั - หนังสือท่ีนกั เรยี นสนใจและเหมาะสมกับวัย

- หนังสอื อ่านท่ีครแู ละนักเรยี นกาหนด

ร่วมกนั

๙. มีมารยาทในการอา่ น มารยาทในการอ่าน

ม.๑ ๑. อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และ การอา่ นออกเสียง ประกอบด้วย

บทร้อยกรองไดถ้ กู ตอ้ งเหมาะสมกบั - บทร้อยแก้วทีเ่ ปน็ บทบรรยาย

เรือ่ งทีอ่ ่าน - บทรอ้ ยกรอง เช่น กลอนสุภาพ กลอนสกั วา

กาพยย์ านี ๑๑ กาพย์ฉบงั ๑๖ กาพยส์ ุรางคนางค์

๒๘ และโคลงส่ีสุภาพ

๒. จับใจความสาคญั จากเรอื่ งทอ่ี ่าน การอา่ นจบั ใจความจากส่ือตา่ งๆ เช่น

๓. ระบเุ หตแุ ละผล และขอ้ เท็จจรงิ กับ - เร่อื งเล่าจากประสบการณ์

ขอ้ คดิ เหน็ จากเรือ่ งท่ีอ่าน - เรื่องสั้น

๔. ระบแุ ละอธิบายคาเปรยี บเทียบ - บทสนทนา

หลกั สตู รกลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร ๒๔

ชนั้ ตวั ชี้วัด สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง

และคาที่มีหลายความหมายใน - นทิ านชาดก

บริบทตา่ งๆ จากการอา่ น - วรรณคดีในบทเรียน

๕. ตีความคายากในเอกสารวิชาการ - งานเขยี นเชิงสร้างสรรค์

โดยพจิ ารณาจากบริบท - บทความ

๖. ระบุข้อสงั เกตและความ - สารคดี

สมเหตุสมผลของงานเขยี นประเภท - บนั เทงิ คดี

ชักจูง โนม้ นา้ วใจ - เอกสารทางวชิ าการท่ีมีคา ประโยค และ

ขอ้ ความท่ตี อ้ งใชบ้ รบิ ทช่วยพิจารณา

ความหมาย

- งานเขยี นประเภทชกั จงู โน้มนา้ วใจเชิง

สรา้ งสรรค์

๗. ปฏบิ ตั ิตามคู่มือแนะนาวิธีการใช้ การอ่านและปฏบิ ัติตามเอกสารคูม่ ือ

งาน ของเครื่องมือหรือเครื่องใช้ใน

ระดบั ที่ยากขน้ึ

๘. วิเคราะห์คณุ คา่ ทีไ่ ด้รบั จากการอ่าน การอ่านหนังสือตามความสนใจ เชน่

งานเขยี นอยา่ งหลากหลายเพื่อ - หนังสือทน่ี ักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวยั

นาไปใชแ้ ก้ปัญหาในชวี ิต - หนงั สอื อา่ นทค่ี รูและนักเรียนกาหนด

ร่วมกนั

๙. มีมารยาทในการอา่ น มารยาทในการอ่าน

ม.๒ ๑. อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และ การอา่ นออกเสยี ง ประกอบด้วย

บทร้อยกรองได้ถูกต้อง - บทร้อยแกว้ ทเี่ ปน็ บทบรรยายและบท

พรรณนา

- บทรอ้ ยกรอง เช่น กลอนบทละคร กลอน

นทิ าน กลอนเพลงยาว และกาพยห์ ่อโคลง

๒. จบั ใจความสาคญั สรปุ ความ และ การอ่านจับใจความจากสือ่ ต่างๆ เช่น

อธบิ ายรายละเอียดจากเรอ่ื งทอ่ี ่าน - วรรณคดใี นบทเรียน

๓. เขียนผังความคิดเพ่ือแสดงความ - บทความ

เข้าใจในบทเรยี นต่างๆ ทีอ่ ่าน - บนั ทกึ เหตุการณ์

๔. อภิปรายแสดงความคดิ เห็น และ - บทสนทนา

ขอ้ โตแ้ ยง้ เกย่ี วกับเร่อื งทอ่ี า่ น - บทโฆษณา

๕. วิเคราะหแ์ ละจาแนกขอ้ เท็จจริง - งานเขียนประเภทโนม้ นา้ วใจ

ข้อมลู สนับสนุน และขอ้ คดิ เหน็ จาก - งานเขียนหรือบทความแสดงข้อเท็จจรงิ

บทความท่ีอ่าน - เร่ืองราวจากบทเรยี นในกลมุ่ สาระการ

๖. ระบุขอ้ สังเกตการชวนเช่อื การ เรียนรู้ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรยี นรู้

โนม้ นา้ ว หรือความสมเหตุสมผล อื่น

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนชุมชนประชาธิปตั ย์วทิ ยาคาร ๒๕

ช้นั ตวั ช้ีวัด สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง
ของงานเขยี น

ม.๓ ๗. อ่านหนงั สือ บทความ หรอื คา การอ่านตามความสนใจ เชน่

ประพนั ธ์อย่างหลากหลาย และ - หนงั สอื อ่านนอกเวลา

ประเมนิ คุณค่าหรอื แนวคิดท่ีไดจ้ าก - หนงั สอื ท่นี ักเรยี นสนใจและเหมาะสมกับวัย

การอา่ น เพ่ือนาไปใช้แกป้ ัญหาใน - หนังสอื อา่ นท่คี รูและนักเรยี นกาหนด

ชีวิต ร่วมกัน

๘. มีมารยาทในการอา่ น มารยาทในการอ่าน

๑. อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแก้ว และ การอา่ นออกเสียง ประกอบด้วย

บทรอ้ ยกรองไดถ้ กู ตอ้ งและ - บทรอ้ ยแก้วท่ีเปน็ บทความทวั่ ไปและ

เหมาะสมกับเรอื่ งที่อา่ น บทความปกิณกะ

- บทร้อยกรอง เชน่ กลอนบทละคร กลอน

เสภา กาพย์ยานี ๑๑ กาพยฉ์ บงั ๑๖ และ

โคลงสสี่ ภุ าพ

๒. ระบุความแตกต่างของคาทมี่ ี การอา่ นจบั ใจความจากสอ่ื ตา่ งๆ เช่น

ความหมายโดยตรงและความหมาย - วรรณคดใี นบทเรียน

โดยนยั - ข่าวและเหตกุ ารณ์สาคัญ

๓. ระบใุ จความสาคญั และรายละเอียด - บทความ

ของขอ้ มลู ทส่ี นบั สนนุ จากเรอื่ งที่ - บนั เทงิ คดี

อา่ น - สารคดี

๔. อา่ นเรื่องต่างๆ แล้วเขียนกรอบ - สารคดีเชิงประวตั ิ

แนวคดิ ผงั ความคิด บนั ทกึ ยอ่ - ตานาน

ความและรายงาน - งานเขยี นเชงิ สร้างสรรค์

๕. วิเคราะห์ วจิ ารณ์ และประเมินเรอ่ื ง - เร่ืองราวจากบทเรียนในกลุ่มสาระการ

ท่อี ่านโดยใชก้ ลวิธีการเปรียบเทยี บ เรียนรูภ้ าษาไทย และกลุ่มสาระการเรยี นรอู้ ่ืน

เพื่อให้ผอู้ ่านเข้าใจไดด้ ีขน้ึ

๖. ประเมนิ ความถูกตอ้ งของขอ้ มลู

ทใ่ี ช้สนับสนุนในเร่ืองท่ีอ่าน

๗. วิจารณค์ วามสมเหตุสมผล การ

ลาดับความ และความเป็นไปได้ของ

เรือ่ ง

๘. วเิ คราะหเ์ พ่ือแสดงความคิดเห็น

โตแ้ ยง้ เกย่ี วกบั เรื่องทอี่ ่าน

หลักสูตรกลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สตู รโรงเรยี นชมุ ชนประชาธิปัตย์วทิ ยาคาร ๒๖

ชั้น ตัวชี้วัด สำระกำรเรยี นร้แู กนกลำง
การอา่ นตามความสนใจ เช่น
๙. ตคี วามและประเมนิ คุณค่า และ
แนวคิดทไ่ี ด้จากงานเขยี นอยา่ ง - หนังสืออ่านนอกเวลา
หลากหลายเพื่อนาไปใชแ้ กป้ ัญหา - หนงั สืออา่ นตามความสนใจและตามวยั ของ
ในชีวิต
นกั เรยี น
ม.๔-ม.๖ ๑๐. มมี ารยาทในการอา่ น - หนงั สอื อ่านทคี่ รูและนกั เรยี นร่วมกัน
กาหนด
๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และ
บทร้อยกรองได้อยา่ งถกู ตอ้ ง มารยาทในการอ่าน
ไพเราะ และเหมาะสมกับเรือ่ งที่
อ่าน การอ่านออกเสยี ง ประกอบดว้ ย
- บทรอ้ ยแกว้ ประเภทต่างๆ เชน่ บทความ
นวนิยาย และความเรียง
- บทรอ้ ยกรอง เชน่ โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน
ร่าย และลิลติ

๒. ตคี วาม แปลความ และขยายความ การอ่านจับใจความจากสอื่ ตา่ งๆ เช่น

เร่ืองทอ่ี ่าน - ขา่ วสารจากสอ่ื สิง่ พมิ พ์ สอื่ อิเล็กทรอนิกส์

๓. วเิ คราะหแ์ ละวจิ ารณ์เรอื่ งทอี่ ่าน และแหลง่ เรียนรู้ต่าง ๆ ในชุมชน

ในทุกๆ ด้านอยา่ งมีเหตุผล - บทความ

๔. คาดคะเนเหตกุ ารณ์จากเรือ่ งทอ่ี ่าน - นิทาน

และประเมนิ ค่าเพ่อื นาความรู้ - เร่ืองสั้น

ความคดิ ไปใชต้ ดั สนิ ใจแกป้ ัญหาใน - นวนิยาย

การดาเนินชีวติ - วรรณกรรมพ้นื บ้าน

๕. วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ แสดงความ - วรรณคดีในบทเรยี น

คดิ เห็นโต้แย้งกบั เรอ่ื งทอี่ ่าน และ - บทโฆษณา

เสนอความคิดใหมอ่ ยา่ งมีเหตุผล - สารคดี

๖. ตอบคาถามจากการอ่านประเภท - บันเทิงคดี

ตา่ งๆ ภายในเวลาท่ีกาหนด - ปาฐกถา

๗. อา่ นเรอื่ งตา่ งๆ แลว้ เขียนกรอบ - พระบรมราโชวาท

แนวคิดผงั ความคิด บันทกึ ย่อความ - เทศนา

และรายงาน - คาบรรยาย

๘. สงั เคราะห์ความร้จู ากการอา่ น - คาสอน

ส่อื ส่ิงพมิ พ์ ส่อื อิเล็กทรอนกิ ส์และ - บทร้อยกรองร่วมสมยั

แหล่งเรยี นรตู้ า่ งๆ มาพฒั นาตน - บทเพลง

พฒั นาการเรียน และพัฒนาความรู้ - บทอาเศยี รวาท

ทางอาชพี - คาขวัญ

๙. มมี ารยาทในการอ่าน มารยาทในการอา่ น

หลักสตู รกล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สตู รโรงเรียนชุมชนประชาธิปตั ย์วิทยาคาร ๒๗

สำระที่ ๒ กำรเขยี น

มำตรฐำน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนส่อื สาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวใน

รูปแบบตา่ งๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่าง

มปี ระสทิ ธภิ าพ

ช้ัน ตัวช้วี ัด สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง

ป.๑ ๑. คัดลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทดั การคดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั ตามรูปแบบ

การเขียนตัวอักษรไทย

๒. เขยี นสอื่ สารดว้ ยคาและประโยค การเขยี นสอ่ื สาร

งา่ ยๆ - คาที่ใช้ในชีวิตประจาวนั

- คาพ้นื ฐานในบทเรยี น

- คาคลอ้ งจอง

- ประโยคงา่ ยๆ

๓. มมี ารยาทในการเขียน มารยาทในการเขียน เช่น

- เขียนให้อา่ นง่าย สะอาด ไม่ขดี ฆา่

- ไม่ขดี เขียนในที่สาธารณะ

- ใชภ้ าษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานที่

และบคุ คล

ป.๒ ๑. คดั ลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทดั การคดั ลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทดั ตามรปู แบบ

การเขยี นตัวอักษรไทย

๒. เขียนเรื่องสนั้ ๆ เกี่ยวกับ การเขยี นเร่ืองสน้ั ๆ เก่ียวกบั ประสบการณ์

ประสบการณ์

๓. เขยี นเรอ่ื งสน้ั ๆ ตามจินตนาการ การเขียนเร่อื งสั้นๆ ตามจินตนาการ

๔. มีมารยาทในการเขียน มารยาทในการเขียน เช่น

- เขียนใหอ้ า่ นง่าย สะอาด ไมข่ ดี ฆ่า

- ไมข่ ดี เขยี นในที่สาธารณะ

- ใช้ภาษาเขียนเหมาะสมกบั เวลา สถานท่ี

และบุคคล

- ไมเ่ ขียนลอ้ เลยี นผู้อน่ื หรือทาให้ผู้อ่นื

เสยี หาย

ป.๓ ๑. คดั ลายมอื ตัวบรรจงเตม็ บรรทดั การคัดลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั ตามรูปแบบ

การเขยี น ตัวอักษรไทย

๒ เขยี นบรรยายเกีย่ วกับส่งิ ใดสง่ิ หนง่ึ การเขียนบรรยายเกยี่ วกับลกั ษณะของ คน สัตว์

ไดอ้ ย่างชดั เจน สิง่ ของ สถานท่ี

๓. เขยี นบันทึกประจาวนั การเขยี นบนั ทึกประจาวัน

๔. เขียนจดหมายลาครู การเขยี นจดหมายลาครู

หลกั สูตรกลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สตู รโรงเรียนชุมชนประชาธิปตั ย์วทิ ยาคาร ๒๘

ชั้น ตัวชี้วัด สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง

๕. เขยี นเรือ่ งตามจินตนาการ การเขยี นเรอื่ งตามจินตนาการจากคา ภาพ

และหัวขอ้ ทีก่ าหนด

๖. มีมารยาทในการเขียน มารยาทในการเขียน เช่น

- เขียนใหอ้ า่ นงา่ ย สะอาด ไม่ขีดฆ่า

- ไมข่ ีดเขียนในท่ีสาธารณะ

- ใชภ้ าษาเขยี นเหมาะสมกบั เวลา สถานท่ี

และบุคคล

- ไม่เขียนลอ้ เลียนผ้อู ืน่ หรอื ทาให้ผ้อู นื่

เสียหาย

ป.๔ ๑. คัดลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทดั และ การคดั ลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทัดและครง่ึ บรรทดั

คร่งึ บรรทดั ตามรปู แบบการเขียนตวั อักษรไทย

๒. เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกตอ้ ง การเขียนสอื่ สาร เช่น

ชดั เจน และเหมาะสม - คาขวญั

- คาแนะนา

๓. เขยี นแผนภาพโครงเรอ่ื งและ การนาแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคดิ

แผนภาพความคิดเพือ่ ใชพ้ ฒั นางาน ไปพฒั นางานเขียน

เขียน

๔. เขียนย่อความจากเรื่องสัน้ ๆ การเขยี นยอ่ ความจากสื่อต่างๆ เช่น นทิ าน

ความเรียงประเภทตา่ งๆ ประกาศ จดหมาย

คาสอน

๕. เขียนจดหมายถงึ เพ่อื นและบิดา การเขียนจดหมายถงึ เพือ่ นและบดิ ามารดา

มารดา

๖. เขยี นบนั ทึกและเขียนรายงานจาก การเขียนบันทกึ และเขียนรายงานจากการศกึ ษา

การศึกษาคน้ คว้า คน้ ควา้

๗. เขียนเรื่องตามจินตนาการ การเขยี นเร่อื งตามจินตนาการ
๘. มีมารยาทในการเขียน มารยาทในการเขยี น

ป.๕ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทดั การคัดลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัดและ

และครึ่งบรรทดั ครง่ึ บรรทดั ตามรปู แบบการเขยี นตัวอกั ษรไทย

๒. เขยี นส่ือสารโดยใช้คาไดถ้ กู ตอ้ ง การเขียนสื่อสาร เช่น

ชดั เจน และเหมาะสม - คาขวญั

- คาอวยพร

- คาแนะนาและคาอธิบายแสดงขน้ั ตอน

๓. เขยี นแผนภาพโครงเรอื่ งและ การนาแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคดิ

แผนภาพความคิดเพ่อื ใช้พัฒนางาน ไปพัฒนางานเขียน

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สูตรโรงเรยี นชุมชนประชาธิปัตย์วทิ ยาคาร ๒๙

ชนั้ ตัวชี้วัด สำระกำรเรยี นร้แู กนกลำง

เขยี น

๔. เขียนยอ่ ความจากเร่ืองทีอ่ า่ น การเขยี นย่อความจากสอ่ื ตา่ งๆ เช่น นิทาน

ความเรยี งประเภทต่างๆ ประกาศ แจ้งความ

แถลงการณ์ จดหมาย คาสอน โอวาท คา

ปราศรัย

๕. เขียนจดหมายถงึ ผู้ปกครองและ การเขียนจดหมายถงึ ผู้ปกครองและญาติ

ญาติ

๖. เขยี นแสดงความรสู้ ึกและความ การเขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเหน็

คิดเหน็ ไดต้ รงตามเจตนา

๗. กรอกแบบรายการต่างๆ การกรอกแบบรายการ

- ใบฝากเงนิ และใบถอนเงิน

- ธนาณัติ

- แบบฝากส่งพัสดไุ ปรษณยี ภัณฑ์

๘. เขียนเร่อื งตามจินตนาการ การเขียนเร่อื งตามจนิ ตนาการ

๙. มมี ารยาทในการเขียน มารยาทในการเขยี น

ป.๖ ๑. คดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทัด การคดั ลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทัดและ

และครง่ึ บรรทดั คร่ึงบรรทดั ตามรูปแบบการเขยี นตวั อักษรไทย

๒. เขยี นสือ่ สารโดยใช้คาได้ถูกต้อง การเขยี นสอื่ สาร เช่น

ชัดเจน และเหมาะสม - คาขวญั

- คาอวยพร

- ประกาศ

๓. เขยี นแผนภาพโครงเร่ืองและ การเขยี นแผนภาพโครงเร่อื งและแผนภาพ

แผนภาพความคิดเพื่อใชพ้ ัฒนางาน ความคิด

เขียน

๔. เขียนเรยี งความ การเขยี นเรียงความ

๕. เขยี นย่อความจากเร่อื งที่อา่ น การเขียนยอ่ ความจากสือ่ ต่างๆ เชน่ นิทาน

ความเรยี งประเภทตา่ งๆ ประกาศ แจง้ ความ

แถลงการณ์ จดหมาย คาสอน โอวาท

คาปราศรัย สุนทรพจน์ รายงาน ระเบยี บ

คาสงั่

๖. เขยี นจดหมายสว่ นตัว การเขยี นจดหมายส่วนตัว

- จดหมายขอโทษ

- จดหมายแสดงความขอบคุณ

- จดหมายแสดงความเหน็ ใจ

- จดหมายแสดงความยินดี

หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สูตรโรงเรียนชมุ ชนประชาธิปตั ย์วทิ ยาคาร ๓๐

ชั้น ตวั ช้วี ัด สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง

๗. กรอกแบบรายการต่างๆ การกรอกแบบรายการ

- แบบคารอ้ งต่างๆ

- ใบสมคั รศึกษาต่อ

- แบบฝากส่งพสั ดุและไปรษณียภณั ฑ์

๘. เขยี นเรอ่ื งตามจินตนาการและ การเขียนเรอ่ื งตามจนิ ตนาการและสร้างสรรค์

สรา้ งสรรค์

๙. มมี ารยาทในการเขยี น มารยาทในการเขียน

ม.๑ ๑. คดั ลายมอื ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด การคดั ลายมอื ตัวบรรจงคร่งึ บรรทัดตามรูปแบบ

การเขยี นตวั อักษรไทย

๒. เขยี นส่อื สารโดยใชถ้ ้อยคาถกู ต้อง การเขียนสอ่ื สาร เชน่

ชัดเจน เหมาะสม และสละสลวย - การเขียนแนะนาตนเอง

- การเขียนแนะนาสถานท่ีสาคญั ๆ

- การเขยี นบนสอ่ื อิเล็กทรอนกิ ส์

๓. เขยี นบรรยายประสบการณ์โดยระบุ การบรรยายประสบการณ์

สาระสาคัญและรายละเอียด

สนับสนุน

๔. เขยี นเรียงความ การเขยี นเรยี งความเชงิ พรรณนา

๕. เขยี นย่อความจากเรอื่ งที่อา่ น การเขียนยอ่ ความจากสื่อต่างๆ เช่น เรื่องส้ัน

คาสอน โอวาท คาปราศรัย สุนทรพจน์

รายงาน ระเบยี บ คาส่ัง บทสนทนาเรื่องเล่า

ประสบการณ์

๖. เขยี นแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ การเขยี นแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกบั สาระจาก

สาระจากสอ่ื ท่ไี ดร้ ับ สอื่ ต่างๆ เช่น

- บทความ

- หนังสอื อา่ นนอกเวลา

- ข่าวและเหตุการณ์ประจาวนั

- เหตุการณ์สาคญั ตา่ งๆ

๗. เขยี นจดหมายส่วนตัวและจดหมาย การเขียนจดหมายสว่ นตัว

กจิ ธุระ - จดหมายขอความช่วยเหลอื

- จดหมายแนะนา

การเขียนจดหมายกจิ ธุระ

- จดหมายสอบถามข้อมูล

๘. เขยี นรายงานการศึกษาคน้ ควา้ และ การเขยี นรายงาน ได้แก่

โครงงาน - การเขียนรายงานจากการศกึ ษาคน้ คว้า

- การเขยี นรายงานโครงงาน

หลักสูตรกลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสตู รโรงเรยี นชมุ ชนประชาธิปัตย์วทิ ยาคาร ๓๑

ชัน้ ตัวช้ีวัด สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง
๙. มีมารยาทในการเขียน มารยาทในการเขียน

ม.๒ ๑. คัดลายมือตวั บรรจงครึ่งบรรทัด การคัดลายมือตวั บรรจงครง่ึ บรรทัดตามรปู แบบ
การเขียน ตวั อักษรไทย

๒. เขียนบรรยายและพรรณนา การเขยี นบรรยายและพรรณนา
๓. เขียนเรียงความ
๔. เขยี นยอ่ ความ การเขียนเรยี งความเกีย่ วกับประสบการณ์

๕. เขียนรายงานการศึกษาค้นควา้ การเขยี นยอ่ ความจากสอื่ ตา่ งๆ เชน่ นทิ าน
คาสอน บทความทางวชิ าการ บนั ทกึ
๖. เขยี นจดหมายกิจธรุ ะ เหตกุ ารณ์ เรื่องราวในบทเรยี นในกลุ่มสาระ
การเรียนรูอ้ ื่น นิทานชาดก
๗. เขียนวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และแสดง
ความรู้ ความคิดเห็น หรือโตแ้ ย้ง การเขยี นรายงาน
ในเร่ืองท่อี ่านอย่างมเี หตุผล - การเขียนรายงานจากการศกึ ษาค้นคว้า
- การเขยี นรายงานโครงงาน
๘. มมี ารยาทในการเขยี น
๑. คดั ลายมอื ตวั บรรจงคร่งึ บรรทดั การเขยี นจดหมายกจิ ธุระ
- จดหมายเชญิ วิทยากร
- จดหมายขอความอนุเคราะห์

การเขียนวเิ คราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้
ความคดิ เห็น หรือโต้แย้งจากสื่อต่างๆ เช่น
- บทความ
- บทเพลง
- หนังสืออา่ นนอกเวลา
- สารคดี
- บนั เทงิ คดี

มารยาทในการเขียน

การคดั ลายมอื ตวั บรรจงครง่ึ บรรทัดตามรูปแบบ
การเขียนตวั อักษรไทย

หลักสตู รกลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสตู รโรงเรยี นชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร ๓๒

ชั้น ตัวช้วี ัด สำระกำรเรียนรูแ้ กนกลำง
ม.๓ ๒. เขียนขอ้ ความโดยใชถ้ ้อยคาได้
การเขยี นข้อความตามสถานการณ์และโอกาส
ถูกต้องตามระดับภาษา ต่างๆ เช่น
- คาอวยพรในโอกาสต่างๆ
- คาขวญั
- คาคม
- โฆษณา
- คติพจน์
- สุนทรพจน์

๓. เขียนชีวประวตั ิหรืออตั ชีวประวตั ิ การเขียนอัตชีวประวัติหรือชวี ประวตั ิ

โดยเล่าเหตุการณ์ ข้อคิดเหน็ และ

ทศั นคติในเรอ่ื งตา่ งๆ

๔. เขียนยอ่ ความ การเขียนยอ่ ความจากสื่อตา่ งๆ เช่น นิทาน

ประวัติ ตานาน สารคดีทางวิชาการ พระราช

ดารสั พระบรมราโชวาท จดหมายราชการ

๕. เขยี นจดหมายกิจธรุ ะ การเขยี นจดหมายกิจธรุ ะ

- จดหมายเชิญวิทยากร

- จดหมายขอความอนเุ คราะห์

- จดหมายแสดงความขอบคุณ

๖. เขียนอธบิ าย ช้แี จง แสดงความ การเขียนอธิบาย ช้ีแจง แสดงความคดิ เหน็

คดิ เห็นและโตแ้ ย้งอย่างมีเหตุผล และโต้แยง้ ในเรอ่ื งตา่ งๆ

๗. เขยี นวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดง การเขยี นวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้

ความรู้ ความคดิ เหน็ หรือโตแ้ ยง้ ความคดิ เห็น หรอื โตแ้ ย้งจากสอ่ื ตา่ งๆ เช่น

ในเร่อื งตา่ งๆ - บทโฆษณา

- บทความทางวชิ าการ

๘. กรอกแบบสมัครงานพรอ้ มเขยี น การกรอกแบบสมคั รงาน

บรรยายเกี่ยวกับความรแู้ ละทกั ษะ

ของตนเองทเี่ หมาะสมกับงาน

๙. เขยี นรายงานการศกึ ษาคน้ คว้า และ การเขียนรายงาน ได้แก่

โครงงาน - การเขียนรายงานจากการศกึ ษาค้นควา้

- การเขยี นรายงานโครงงาน

๑๐. มมี ารยาทในการเขียน มารยาทในการเขยี น

๑. เขยี นสอ่ื สารในรปู แบบต่างๆ ได้ การเขยี นสื่อสารในรูปแบบต่างๆ เช่น

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สูตรโรงเรียนชุมชนประชาธิปตั ย์วิทยาคาร ๓๓

ชั้น ตวั ช้ีวัด สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง
ม.๔-ม.๖ ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ โดยใชภ้ าษา - อธบิ าย
เรยี บเรียงถูกตอ้ ง มขี ้อมูล และ - บรรยาย
สาระสาคัญชัดเจน - พรรณนา
- แสดงทรรศนะ
๒. เขยี นเรยี งความ - โต้แยง้
๓. เขยี นย่อความจากสอื่ ท่มี ีรปู แบบ - โน้มนา้ ว
- เชิญชวน
และเนือ้ หาหลากหลาย - ประกาศ
- จดหมายกจิ ธุระ
๔. ผลติ งานเขียนของตนเองในรปู แบบ - โครงการและรายงานการดาเนนิ โครงการ
ต่างๆ - รายงานการประชุม
- การกรอกแบบรายการตา่ งๆ
๕. ประเมินงานเขียนของผู้อื่น แล้ว การเขียนเรยี งความ
นามาพฒั นางานเขยี นของตนเอง การเขียนยอ่ ความจากส่ือตา่ งๆ เช่น
- กวนี พิ นธ์ และวรรณคดี
๖. เขยี นรายงานการศกึ ษาคน้ คว้า - เรอ่ื งส้นั สารคดี นวนิยาย บทความทาง
เร่อื งทส่ี นใจตามหลักการเขียนเชิง
วชิ าการ และใช้ขอ้ มูลสารสนเทศ วิชาการ และวรรณกรรมพน้ื บ้าน
อา้ งองิ อย่างถกู ต้อง การเขยี นในรูปแบบตา่ งๆ เช่น

๗. บนั ทึกการศกึ ษาค้นคว้าเพอื่ นาไป - สารคดี
พฒั นาตนเองอย่างสมา่ เสมอ - บนั เทงิ คดี
การประเมนิ คุณค่างานเขียนในด้านตา่ งๆ เชน่
๘. มมี ารยาทในการเขยี น - แนวคิดของผเู้ ขยี น
- การใชถ้ ้อยคา
- การเรียบเรียง
- สานวนโวหาร
- กลวิธใี นการเขยี น
การเขยี นรายงานเชงิ วชิ าการ
การเขียนอา้ งองิ ข้อมูลสารสนเทศ

การเขียนบันทึกความรูจ้ ากแหล่งเรียนรูท้ ี่
หลากหลาย

มารยาทในการเขยี น

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนชมุ ชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร ๓๔

สำระท่ี ๓ กำรฟัง กำรดู และกำรพดู

มำตรฐำน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟงั และดูอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และ

ความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมวี จิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์

ช้นั ตัวชว้ี ัด สำระกำรเรยี นรูแ้ กนกลำง

ป.๑ ๑. ฟงั คาแนะนา คาสัง่ ง่ายๆ และปฏบิ ตั ิ การฟงั และปฏิบัตติ ามคาแนะนา คาสั่งงา่ ยๆ

ตาม

๒. ตอบคาถามและเล่าเร่อื งทฟี่ งั และดู การจบั ใจความและพูดแสดงความคิดเห็น

ทงั้ ทเ่ี ป็นความรู้และความบนั เทงิ ความร้สู กึ จากเรื่องที่ฟังและดู ทัง้ ท่ีเป็นความรู้

๓. พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึก และความบันเทิง เชน่

จากเรอื่ งท่ฟี ังและดู - เรือ่ งเล่าและสารคดีสาหรับเด็ก

- นิทาน

- การ์ตูน

- เรือ่ งขบขนั

๔. พดู สื่อสารได้ตามวตั ถปุ ระสงค์ การพูดส่ือสารในชวี ติ ประจาวัน เชน่

- การแนะนาตนเอง

- การขอความชว่ ยเหลอื

- การกล่าวคาขอบคุณ

- การกล่าวคาขอโทษ

๕. มมี ารยาทในการฟงั การดู และการ มารยาทในการฟงั เช่น

พูด - ตง้ั ใจฟัง ตามองผู้พูด

- ไม่รบกวนผู้อน่ื ขณะที่ฟงั

- ไมค่ วรนาอาหารหรือเคร่อื งดม่ื ไป

รบั ประทานขณะทีฟ่ งั

- ใหเ้ กียรติผู้พูดดว้ ยการปรบมอื

- ไม่พูดสอดแทรกขณะที่ฟงั

มารยาทในการดู เช่น

- ตัง้ ใจดู

- ไม่สง่ เสยี งดงั หรือแสดงอาการรบกวนสมาธิ

ของผ้อู ่นื

มารยาทในการพูด เช่น

- ใช้ถอ้ ยคาและกิริยาทส่ี ุภาพ เหมาะสมกับ

กาลเทศะ

- ใช้นา้ เสียงนมุ่ นวล

- ไม่พูดสอดแทรกในขณะทผ่ี ้อู ่นื กาลงั พดู

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สูตรโรงเรียนชุมชนประชาธิปตั ย์วิทยาคาร ๓๕

ชนั้ ตวั ชีว้ ัด สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง

ป.๒ ๑. ฟังคาแนะนา คาสงั่ ท่ซี บั ซ้อน และ การฟังและปฏิบัติตามคาแนะนา คาสั่งทซ่ี บั ซอ้ น

ปฏิบัติตาม

๒. เล่าเรอื่ งท่ีฟังและดูทั้งท่เี ปน็ ความรู้ การจับใจความและพูดแสดงความคดิ เห็น

และความบันเทงิ ความรู้สึกจากเรอื่ งทฟ่ี ังและดู ทั้งท่ีเป็นความรู้

๓. บอกสาระสาคญั ของเรื่องที่ฟงั และดู และความบนั เทิง เชน่

๔. ต้งั คาถามและตอบคาถามเกีย่ วกบั - เร่อื งเล่าและสารคดีสาหรบั เด็ก

เรอื่ งทีฟ่ ังและดู - นทิ าน การ์ตนู และเร่ืองขบขัน

๕. พูดแสดงความคดิ เห็นและความรสู้ ึก - รายการสาหรบั เด็ก

จากเรอื่ งที่ฟังและดู - ข่าวและเหตกุ ารณป์ ระจาวัน

- เพลง

๖. พดู สือ่ สารได้ชัดเจนตรงตาม การพดู ส่อื สารในชีวติ ประจาวนั เชน่
วัตถุประสงค์ - การแนะนาตนเอง
- การขอความชว่ ยเหลือ
๗. มีมารยาทในการฟัง การดู และการ
พูด - การกลา่ วคาขอบคณุ
- การกล่าวคาขอโทษ
- การพูดขอรอ้ งในโอกาสต่างๆ
- การเล่าประสบการณใ์ นชวี ิตประจาวัน

มารยาทในการฟัง เช่น
- ตั้งใจฟัง ตามองผพู้ ูด
- ไม่รบกวนผูอ้ ่นื ขณะทฟ่ี ัง

- ไม่ควรนาอาหารหรอื เคร่อื งดื่มไป
รบั ประทานขณะที่ฟัง

- ไมพ่ ูดสอดแทรกขณะทีฟ่ งั
มารยาทในการดู เช่น
- ต้ังใจดู
- ไมส่ ง่ เสยี งดงั หรอื แสดงอาการรบกวนสมาธิ
ของผ้อู น่ื
มารยาทในการพูด เชน่
- ใช้ถอ้ ยคาและกริ ิยาท่สี ภุ าพ เหมาะสมกับ
กาลเทศะ
- ใช้น้าเสยี งนุ่มนวล
- ไม่พูดสอดแทรกในขณะทีผ่ อู้ ื่นกาลงั พดู

- ไม่พดู ล้อเลยี นให้ผอู้ น่ื ไดร้ บั ความอบั อาย
หรือเสยี หาย

หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สูตรโรงเรยี นชมุ ชนประชาธิปตั ย์วิทยาคาร ๓๖

ช้ัน ตวั ชี้วัด สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง

ป.๓ ๑. เลา่ รายละเอียดเก่ยี วกบั เรื่องทฟ่ี ัง การจับใจความและพดู แสดงความคดิ เห็นและ

และดูทัง้ ที่เป็นความร้แู ละความ ความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดูท้งั ทเ่ี ป็นความรู้

บันเทงิ และความบันเทิง เชน่

๒. บอกสาระสาคัญจากการฟงั และการ - เร่อื งเลา่ และสารคดีสาหรับเด็ก

ดู - นิทาน การต์ ูน เร่ืองขบขนั

๓. ตั้งคาถามและตอบคาถามเกยี่ วกับ - รายการสาหรับเดก็

เรอ่ื งทฟี่ ังและดู - ข่าวและเหตกุ ารณใ์ นชีวิตประจาวัน

๔. พูดแสดงความคดิ เหน็ และความรู้สกึ - เพลง

จากเร่อื งที่ฟงั และดู

๕. พูดส่ือสารได้ชัดเจนตรงตาม การพูดสอ่ื สารในชวี ติ ประจาวัน เช่น

วตั ถุประสงค์ - การแนะนาตนเอง

- การแนะนาสถานท่ีในโรงเรียนและในชุมชน

- การแนะนา/เชิญชวนเกย่ี วกบั การปฏบิ ตั ิตน

ในด้านต่างๆ เชน่ การรกั ษาความสะอาด

ของร่างกาย

- การเลา่ ประสบการณใ์ นชีวิตประจาวัน

- การพดู ในโอกาสตา่ งๆ เช่น การพูดขอร้อง

การพูดทักทาย การกล่าวขอบคณุ และขอ

โทษ การพดู ปฏเิ สธ และการพดู ชักถาม

๖. มีมารยาทในการฟงั การดู และการ มารยาทในการฟงั เชน่

พดู - ต้ังใจฟัง ตามองผูพ้ ดู

- ไมร่ บกวนผ้อู นื่ ขณะทฟี่ ัง

- ไม่ควรนาอาหารหรือเครอ่ื งดื่มไป

รบั ประทานขณะท่ฟี งั

- ไม่แสดงกิริยาที่ไม่เหมาะสม เชน่ โห่ ฮา

หาว

- ใหเ้ กยี รติผูพ้ ูดดว้ ยการปรบมอื

- ไมพ่ ดู สอดแทรกขณะท่ฟี งั

มารยาทในการดู เชน่

- ต้งั ใจดู

- ไมส่ ง่ เสียงดงั หรือแสดงอาการรบกวนสมาธิ

ของผอู้ ื่น

มารยาทในการพูด เช่น

- ใช้ถ้อยคาและกิริยาที่สุภาพ เหมาะสมกบั

กาลเทศะ

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สตู รโรงเรยี นชุมชนประชาธิปัตย์วทิ ยาคาร ๓๗

ช้นั ตัวช้ีวัด สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง

- ใช้น้าเสยี งนมุ่ นวล

- ไม่พดู สอดแทรกในขณะท่ผี ู้อ่ืนกาลงั พดู

- ไม่พูดลอ้ เลียนให้ผ้อู น่ื ได้รบั ความอบั อาย

หรอื เสยี หาย

ป.๔ ๑. จาแนกขอ้ เท็จจริงและข้อคดิ เหน็ การจาแนกขอ้ เท็จจรงิ และข้อคดิ เห็นจากเรื่องที่

จากเรือ่ งท่ีฟงั และดู ฟังและดู ในชวี ิตประจาวนั

๒. พูดสรุปความจากการฟังและดู การจับใจความ และการพูดแสดงความรู้

๓. พดู แสดงความรู้ ความคิดเห็น ความคิดในเรื่องทฟ่ี งั และดู จากสื่อตา่ งๆ เชน่

และความร้สู กึ เก่ียวกบั เรื่องทฟ่ี งั และ - เร่ืองเล่า

ดู - บทความสนั้ ๆ

๔. ต้งั คาถามและตอบคาถามเชงิ เหตผุ ล - ขา่ วและเหตุการณ์ประจาวนั

จากเรื่องที่ฟังและดู - โฆษณา

- ส่ืออิเลก็ ทรอนกิ ส์

- เร่อื งราวจากบทเรยี นกลมุ่ สาระการเรียนรู้

ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรยี นรอู้ ่นื

๕. รายงานเรือ่ งหรือประเดน็ ทศ่ี กึ ษา การรายงาน เช่น

คน้ คว้าจากการฟัง การดู และการ - การพดู ลาดับขัน้ ตอนการปฏบิ ตั งิ าน

สนทนา - การพดู ลาดับเหตกุ ารณ์

๖. มมี ารยาทในการฟัง การดู และการ มารยาทในการฟงั การดู และการพูด

พูด

ป.๕ ๑. พูดแสดงความรู้ ความคิดเหน็ และ การจบั ใจความ และการพดู แสดงความรู้

ความรสู้ ึกจากเรอื่ งทีฟ่ งั และดู ความคดิ ในเรื่องท่ีฟังและดู จากสื่อต่างๆ เชน่

๒. ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตผุ ล - เร่อื งเลา่

จากเร่อื งทฟี่ ังและดู - บทความ

๓. วเิ คราะห์ความน่าเชือ่ ถือจากเรอ่ื ง - ข่าวและเหตุการณป์ ระจาวัน

ทีฟ่ ังและดูอยา่ งมีเหตุผล - โฆษณา

- สอ่ื สือ่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์

การวเิ คราะหค์ วามน่าเชอ่ื ถอื จากเรอื่ งทฟี่ ังและดู

ในชวี ติ ประจาวัน

๔. พดู รายงานเรื่องหรอื ประเดน็ ทศ่ี กึ ษา การรายงาน เชน่

ค้นคว้าจากการฟงั การดู และการ - การพดู ลาดบั ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิงาน

สนทนา - การพดู ลาดบั เหตุการณ์

๕. มมี ารยาทในการฟัง การดู และการ มารยาทในการฟัง การดู และการพดู

พดู

หลักสตู รกลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สตู รโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วทิ ยาคาร ๓๘

ช้ัน ตัวชวี้ ัด สำระกำรเรยี นรูแ้ กนกลำง

ป.๖ ๑. พูดแสดงความรู้ ความเข้าใจ การพดู แสดงความรู้ ความเข้าใจในจดุ ประสงค์

จดุ ประสงค์ของเรื่องที่ฟังและดู ของเร่อื งท่ีฟงั และดจู ากสือ่ ต่างๆ ไดแ้ ก่

๒. ต้ังคาถามและตอบคาถามเชงิ เหตผุ ล - สอ่ื สงิ่ พิมพ์

จากเรอื่ งทฟี่ ังและดู - สอ่ื อิเลก็ ทรอนิกส์

๓. วเิ คราะหค์ วามนา่ เชื่อถือจากการฟัง การวิเคราะห์ความนา่ เชอื่ ถือจากการฟังและดู

และดสู ่อื โฆษณาอย่างมเี หตผุ ล สอื่ โฆษณา

๔. พดู รายงานเรอื่ งหรอื ประเด็นที่ศึกษา การรายงาน เชน่

ค้นคว้าจากการฟงั การดู และการ - การพูดลาดบั ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน

สนทนา - การพดู ลาดบั เหตกุ ารณ์

๕. พูดโน้มนา้ วอย่างมเี หตุผล และ การพดู โน้มน้าวในสถานการณต์ า่ งๆ เช่น

น่าเชื่อถือ - การเลือกตัง้ กรรมการนกั เรียน

- การรณรงคด์ ้านต่างๆ

- การโต้วาที

๖. มมี ารยาทในการฟัง การดู และการ มารยาทในการฟงั การดู และการพูด

พูด

ม.๑ ๑. พดู สรปุ ใจความสาคัญของเรอ่ื งทฟี่ งั การพูดสรุปความ พดู แสดงความรู้ ความคิด

และดู อยา่ งสรา้ งสรรคจ์ ากเรือ่ งท่ฟี ังและดู

๒. เลา่ เรื่องยอ่ จากเรื่องที่ฟงั และดู การพูดประเมินความน่าเชอ่ื ถือของสอื่ ทีม่ ี

๓. พูดแสดงความคดิ เห็นอยา่ ง เน้อื หาโน้มนา้ ว

สร้างสรรค์เก่ยี วกับเรอ่ื งท่ีฟงั และดู

๔. ประเมินความนา่ เช่ือถือของสอื่

ท่มี ีเน้ือหาโนม้ นา้ วใจ

๕. พดู รายงานเร่ืองหรือประเด็นทศ่ี ึกษา การพูดรายงานการศกึ ษาค้นควา้ จากแหล่ง

คน้ คว้าจากการฟงั การดู และการ เรียนรู้ต่างๆ ในชุมชน และท้องถนิ่ ของตน

สนทนา

๖. มมี ารยาทในการฟัง การดู และการ มารยาทในการฟงั การดู และการพดู

พูด

ม.๒ ๑. พดู สรปุ ใจความสาคัญของเรื่องทีฟ่ ัง การพดู สรุปความจากเร่ืองท่ฟี ังและดู

และดู

๒. วิเคราะหข์ ้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น การพดู วเิ คราะหแ์ ละวจิ ารณ์จากเร่อื งที่ฟังและดู

และความนา่ เช่อื ถอื ของขา่ วสารจาก

สือ่ ตา่ งๆ

๓. วเิ คราะหแ์ ละวจิ ารณเ์ รอื่ งที่ฟงั และดู

อยา่ งมเี หตุผลเพอ่ื นาขอ้ คดิ มา

ประยุกต์ใช้ในการดาเนนิ ชวี ิต

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สตู รโรงเรยี นชุมชนประชาธิปตั ย์วิทยาคาร ๓๙

ชน้ั ตวั ชว้ี ัด สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง

๔. พดู ในโอกาสตา่ งๆ ได้ตรงตาม การพูดในโอกาสต่างๆ เช่น

วัตถุประสงค์ - การพดู อวยพร

- การพดู โน้มนา้ ว

- การพูดโฆษณา

๕. พดู รายงานเร่ืองหรือประเด็นที่ศกึ ษา การพดู รายงานการศึกษาคน้ คว้าจากแหล่ง

คน้ คว้า เรยี นรู้ตา่ งๆ

๖. มมี ารยาทในการฟัง การดู และการ มารยาทในการฟัง การดู และการพดู

พูด

ม.๓ ๑. แสดงความคดิ เห็นและประเมินเรือ่ ง การพูดแสดงความคิดเห็น และประเมินเรื่องจาก

จากการฟงั และการดู การฟงั และการดู

๒. วิเคราะห์และวิจารณเ์ รื่องทีฟ่ งั และดู การพดู วเิ คราะหว์ จิ ารณ์จากเรือ่ งทฟ่ี งั และดู

เพ่อื นาขอ้ คิดมาประยุกต์ใช้ในการ

ดาเนินชีวติ

ม.๔-ม.๖ ๓. พดู รายงานเรือ่ งหรอื ประเด็นทศ่ี ึกษา การพดู รายงานการศึกษาค้นควา้ เกย่ี วกบั
คน้ คว้าจากการฟัง การดู และการ ภมู ิปญั ญาท้องถนิ่
สนทนา
การพดู ในโอกาสต่างๆ เชน่
๔. พูดในโอกาสตา่ งๆ ไดต้ รงตาม - การพูดโตว้ าที
วัตถปุ ระสงค์ - การอภิปราย
- การพดู ยอวาที
๕. พูดโนม้ นา้ วโดยนาเสนอหลักฐาน
ตามลาดบั เน้อื หาอย่างมีเหตุผลและ การพูดโน้มนา้ ว
นา่ เช่ือถือ
มารยาทในการฟงั การดู และการพูด
๖. มีมารยาทในการฟัง การดู และการ
พดู การพูดสรุปแนวคดิ และการแสดงความคดิ เห็น
๑. สรปุ แนวคดิ และแสดงความคดิ เห็น จากเรือ่ งทฟ่ี งั และดู

จากเร่อื งทฟี่ งั และดู การวิเคราะหแ์ นวคิด การใชภ้ าษา และความ
๒. วิเคราะห์ แนวคดิ การใช้ภาษา และ น่าเชอื่ ถอื จากเรอ่ื งทฟ่ี ังและดู
การเลือกเร่อื งที่ฟังและดูอย่างมวี จิ ารณญาณ
ความนา่ เชอ่ื ถือจากเรือ่ งทีฟ่ ังและดู
อยา่ งมเี หตผุ ล การประเมนิ เรือ่ งทฟี่ งั และดูเพอื่ กาหนดแนวทาง
๓. ประเมินเร่อื งท่ฟี ังและดู แล้วกาหนด นาไปประยกุ ตใ์ ช้
แนวทางนาไปประยกุ ต์ใช้ในการ
ดาเนนิ ชวี ติ

หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสตู รโรงเรยี นชมุ ชนประชาธิปตั ย์วทิ ยาคาร ๔๐

ช้นั ตัวชวี้ ัด สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง

๔. มวี ิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟัง

และดู

๕. พูดในโอกาสต่างๆ พูดแสดงทรรศนะ การพูดในโอกาสต่างๆ เช่น

โต้แย้ง โน้มน้าวใจ และเสนอแนวคิดใหม่ - การพดู ต่อท่ปี ระชมุ ชน

ด้วยภาษาถกู ต้องเหมาะสม - การพดู อภปิ ราย

- การพดู แสดงทรรศนะ

- การพูดโน้มนา้ วใจ

๖. มีมารยาทในการฟงั การดู และการ มารยาทในการฟงั การดู และการพูด

พดู

สำระที่ ๔ หลกั กำรใชภ้ ำษำไทย

มำตรฐำน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลงั ของ

ภาษา ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัตขิ องชาติ

ชนั้ ตัวชวี้ ัด สำระกำรเรียนร้แู กนกลำง

ป.๑ ๑. บอกและเขียนพยญั ชนะ สระ พยัญชนะ สระ และวรรณยกุ ต์

วรรณยุกต์ และเลขไทย เลขไทย

๒. เขียนสะกดคาและบอกความหมาย การสะกดคา การแจกลกู และการอา่ นเปน็ คา

ของคา มาตราตวั สะกดท่ตี รงตามมาตราและไมต่ รงตาม

มาตรา

การผันคา

ความหมายของคา

๓. เรียบเรยี งคาเปน็ ประโยคง่าย ๆ การแต่งประโยค

๔. ต่อคาคล้องจองงา่ ยๆ คาคลอ้ งจอง

ป.๒ ๑. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ พยญั ชนะ สระ และวรรณยุกต์

วรรณยุกต์ และเลขไทย เลขไทย

๒. เขียนสะกดคาและบอกความหมาย การสะกดคา การแจกลกู และการอ่านเปน็ คา

ของคา มาตราตวั สะกดท่ีตรงตามมาตราและไมต่ รงตาม

มาตรา

การผนั อกั ษรกลาง อกั ษรสูง และอกั ษรต่า

คาที่มตี ัวการันต์

คาทีม่ พี ยัญชนะควบกล้า

คาที่มอี ักษรนา

คาทีม่ ีความหมายตรงข้ามกนั

คาทีม่ ี รร

ความหมายของคา

หลกั สูตรกลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สูตรโรงเรยี นชมุ ชนประชาธิปตั ย์วทิ ยาคาร ๔๑

ชัน้ ตัวชี้วัด สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง

๓. เรียบเรยี งคาเป็นประโยคไดต้ รงตาม การแต่งประโยค

เจตนาของการส่ือสาร การเรียบเรยี งประโยคเป็นขอ้ ความส้ันๆ

๔. บอกลักษณะคาคลอ้ งจอง คาคลอ้ งจอง

๕. เลอื กใช้ภาษาไทยมาตรฐานและ ภาษาไทยมาตรฐาน

ภาษาถ่นิ ได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ภาษาถน่ิ

ป.๓ ๑. เขยี นสะกดคาและบอกความหมา การสะกดคา การแจกลูก และการอ่านเปน็ คา

ของคา มาตราตวั สะกดท่ีตรงตามมาตราและไม่ตรงตาม

มาตรา

การผันอักษรกลาง อักษรสูง และอกั ษรตา่

คาทม่ี ีพยญั ชนะควบกลา้

คาทม่ี อี ักษรนา

คาท่ปี ระวิสรรชนียแ์ ละคาทไ่ี ม่ประวสิ รรชนยี ์

คาที่มี ฤ ฤๅ

คาทใ่ี ช้ บัน บรร

คาท่ใี ช้ รร

คาทมี่ ตี ัวการันต์

ความหมายของคา

๓. ระบชุ นิดและหน้าท่ีของคาในประโยค ชนิดของคา ไดแ้ ก่

- คานาม

- คาสรรพนาม

- คากริยา

๔. ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของ การใช้พจนานกุ รม

คา

๕. แต่งประโยคง่ายๆ การแต่งประโยคเพือ่ การสื่อสาร ไดแ้ ก่

- ประโยคบอกเล่า

- ประโยคปฏเิ สธ

- ประโยคคาถาม

- ประโยคขอรอ้ ง

- ประโยคคาส่งั

๖. แตง่ คาคล้องจองและคาขวญั คาคลอ้ งจอง

คาขวัญ

๗. เลือกใชภ้ าษาไทยมาตรฐานและ ภาษาไทยมาตรฐาน
ภาษาถนิ่ ได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ภาษาถ่ิน

หลกั สตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสตู รโรงเรยี นชุมชนประชาธิปัตย์วทิ ยาคาร ๔๒

ช้ัน ตัวชวี้ ัด สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง

ป.๔ ๑. สะกดคาและบอกความหมายของคา คาในแม่ ก กา

ในบริบทตา่ งๆ มาตราตวั สะกด

การผนั อักษร

คาเปน็ คาตาย

คาพอ้ ง

๒. ระบชุ นิดและหน้าที่ของคาในประโยค ชนิดของคา ได้แก่

- คานาม

- คาสรรพนาม

- คากริยา

- คาวิเศษณ์

๓ ใชพ้ จนานกุ รมคน้ หาความหมายของคา การใชพ้ จนานุกรม

๔. แต่งประโยคได้ถกู ตอ้ งตามหลกั ภาษา ประโยคสามัญ

- ส่วนประกอบของประโยค

- ประโยค ๒ ส่วน

- ประโยค ๓ สว่ น

๕. แตง่ บทร้อยกรองและคาขวัญ กลอนส่ี

คาขวญั

๖. บอกความหมายของสานวน สานวนทเี่ ป็นคาพงั เพยและสภุ าษิต

๗. เปรยี บเทียบภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาไทยมาตรฐาน

ภาษาถ่นิ ได้ ภาษาถ่นิ

ป.๕ ๑. ระบชุ นิดและหนา้ ท่ขี องคาในประโยค ชนิดของคา ได้แก่

- คาบพุ บท

- คาสนั ธาน

- คาอุทาน

๒. จาแนกส่วนประกอบของประโยค ประโยคและส่วนประกอบของประโยค

๓. เปรยี บเทยี บภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาไทยมาตรฐาน

ภาษาถิ่น ภาษาถนิ่

๔. ใชค้ าราชาศพั ท์ คาราชาศัพท์

๕. บอกคาภาษาตา่ งประเทศใน คาทีม่ าจากภาษาตา่ งประเทศ

ภาษาไทย

๖. แต่งบทร้อยกรอง กาพย์ยานี ๑๑

๗. ใชส้ านวนไดถ้ ูกต้อง สานวนท่ีเป็นคาพงั เพยและสุภาษิต

ป.๖ ๑. วิเคราะห์ชนดิ และหนา้ ที่ของคาใน ชนิดของคา

ประโยค - คานาม

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สูตรโรงเรียนชมุ ชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร ๔๓

ช้ัน ตวั ชีว้ ัด สำระกำรเรยี นร้แู กนกลำง

- คาสรรพนาม

- คากริยา

- คาวิเศษณ์

- คาบุพบท

- คาเช่ือม

- คาอุทาน

๒. ใชค้ าได้เหมาะสมกบั กาลเทศะและ คาราชาศพั ท์

บคุ คล ระดบั ภาษา

ภาษาถนิ่

๓. รวบรวมและบอกความหมายของ คาทม่ี าจากภาษาต่างประเทศ

คาภาษาตา่ งประเทศที่ใช้ในภาษาไทย

๔. ระบลุ กั ษณะของประโยค กลุ่มคาหรอื วลี

ประโยคสามัญ

ประโยครวม

ประโยคซอ้ น

๕. แตง่ บทร้อยกรอง กลอนสุภาพ

๖. วเิ คราะหแ์ ละเปรยี บเทียบสานวนที่ สานวนทีเ่ ปน็ คาพังเพย และสุภาษติ

เป็นคาพังเพย และสภุ าษิต

ม.๑ ๑. อธบิ ายลักษณะของเสียงในภาษาไทย เสียงในภาษาไทย

๒. สร้างคาในภาษาไทย การสร้างคา

- คาประสม คาซา้ คาซอ้ น

- คาพ้อง

๓. วเิ คราะห์ชนิดและหนา้ ที่ของคาใน ชนิดและหน้าท่ขี องคา

ประโยค

๔. วเิ คราะหค์ วามแตกต่างของภาษาพูด ภาษาพูด

และภาษาเขยี น ภาษาเขียน

๕. แตง่ บทรอ้ ยกรอง กาพยย์ านี ๑๑

๖. จาแนกและใช้สานวนท่เี ปน็ คาพังเพย สานวนทเี่ ป็นคาพงั เพยและสภุ าษิต

และสุภาษติ

ม.๒ ๑. สรา้ งคาในภาษาไทย การสร้างคาสมาส

๒. วิเคราะห์โครงสร้างประโยคสามญั ลกั ษณะของประโยคในภาษาไทย

ประโยครวม และประโยคซ้อน - ประโยคสามัญ

- ประโยครวม

- ประโยคซ้อน

หลกั สตู รกลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสตู รโรงเรียนชุมชนประชาธิปตั ย์วิทยาคาร ๔๔

ชน้ั ตัวชี้วัด สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง

๓. แต่งบทร้อยกรอง กลอนสุภาพ

๔. ใช้คาราชาศพั ท์ คาราชาศัพท์

๕. รวบรวมและอธิบายความหมายของ คาทมี่ าจากภาษาต่างประเทศ
คาภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย

ม.๓ ๑. จาแนกและใช้คาภาษาต่างประเทศที่ คาที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใช้ในภาษาไทย

๒. วเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งประโยคซบั ซ้อน ประโยคซบั ซอ้ น

๓. วิเคราะห์ระดบั ภาษา ระดับภาษา

๔. ใช้คาทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ คาทับศัพท์
คาศัพท์บัญญัติ

๕. อธบิ ายความหมายคาศัพทท์ าง คาศัพท์ทางวิชาการและวชิ าชีพ
วชิ าการและวชิ าชีพ

๖. แต่งบทร้อยกรอง โคลงสสี่ ภุ าพ

ม.๔-ม.๖ ๑. อธบิ ายธรรมชาตขิ องภาษา พลังของ ธรรมชาตขิ องภาษา

ภาษา และลักษณะของภาษา พลังของภาษา

ลกั ษณะของภาษา
- เสียงในภาษา
- ส่วนประกอบของภาษา

- องคป์ ระกอบของพยางคแ์ ละคา

๒. ใชค้ าและกลุ่มคาสรา้ งประโยคตรง การใช้คาและกลุ่มคาสรา้ งประโยค

ตามวัตถปุ ระสงค์ - คาและสานวน
- การรอ้ ยเรยี งประโยค

- การเพิ่มคา
- การใช้คา
- การเขยี นสะกดคา

๓. ใชภ้ าษาเหมาะสมแก่โอกาส ระดับของภาษา

กาลเทศะ และบุคคล รวมท้ังคาราชา คาราชาศัพท์
ศพั ทอ์ ยา่ งเหมาะสม

๔. แตง่ บทรอ้ ยกรอง กาพย์ โคลง รา่ ย และฉันท์

๕. วิเคราะห์อิทธิพลของ อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น

ภาษาต่างประเทศและภาษาถิน่

๖. อธบิ ายและวเิ คราะห์หลกั การสร้างคา หลกั การสรา้ งคาในภาษาไทย

ในภาษาไทย

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนชมุ ชนประชาธิปตั ย์วทิ ยาคาร ๔๕

ชนั้ ตวั ช้ีวัด สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง

๗. วิเคราะห์และประเมนิ การใชภ้ าษา การประเมินการใช้ภาษาจากสอื่ ส่ิงพิมพแ์ ละ

จากสอ่ื สง่ิ พมิ พ์และส่ืออิเล็กทรอนิกส์ สื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์

สำระที่ ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม

มำตรฐำน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคดิ เหน็ วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น

คณุ ค่าและนามาประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ จริง

ชนั้ ตัวช้วี ัด สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง

ป.๑ ๑. บอกขอ้ คิดท่ีไดจ้ ากการอา่ นหรือการ วรรณกรรมร้อยแกว้ และรอ้ ยกรองสาหรบั เดก็

ฟงั วรรณกรรมร้อยแกว้ และรอ้ ย เชน่

กรองสาหรับเดก็ - นทิ าน

- เรอ่ื งสัน้ ง่ายๆ

- ปริศนาคาทาย

- บทรอ้ งเลน่

- บทอาขยาน

- บทร้อยกรอง

- วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรยี น

๒. ท่องจาบทอาขยานตามทีก่ าหนด บทอาขยานและบทรอ้ ยกรอง

และบทรอ้ ยกรองตามความสนใจ - บทอาขยานตามท่ีกาหนด

- บทร้อยกรองตามความสนใจ

ป.๒ ๑. ระบุขอ้ คดิ ทไ่ี ด้จากการอา่ นหรือ วรรณกรรมรอ้ ยแก้วและรอ้ ยกรองสาหรบั เด็ก

การฟังวรรณกรรมสาหรับเด็ก เชน่

เพ่ือนาไปใช้ในชีวิตประจาวนั - นิทาน

- เรือ่ งส้นั ง่ายๆ

- ปรศิ นาคาทาย

- บทอาขยาน

- บทร้อยกรอง

- วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน

๒. ร้องบทรอ้ งเล่นสาหรบั เด็กใน บทร้องเลน่ ทม่ี คี ุณคา่

ท้องถ่นิ - บทรอ้ งเล่นในทอ้ งถิ่น

- บทร้องเลน่ ในการละเล่นของเดก็ ไทย

๓. ทอ่ งจาบทอาขยานตามทก่ี าหนด บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองทีม่ ีคุณค่า
และบทร้อยกรองทม่ี ีคุณค่าตาม - บทอาขยานตามทีก่ าหนด
ความสนใจ - บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสตู รโรงเรยี นชมุ ชนประชาธิปตั ย์วทิ ยาคาร ๔๖

ชั้น ตัวช้ีวัด สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง

ป.๓ ๑. ระบขุ อ้ คิดท่ไี ด้จากการอ่าน วรรณคดี วรรณกรรม และเพลงพนื้ บา้ น

วรรณกรรมเพ่ือนาไปใช้ใน - นิทานหรือเรอ่ื งในท้องถิ่น

ชีวิตประจาวัน - เรอ่ื งสั้นง่ายๆ ปรศิ นาคาทาย

๒. ร้จู กั เพลงพนื้ บ้านและเพลงกลอ่ ม - บทร้อยกรอง

เดก็ เพ่ือปลูกฝังความช่ืนชม - เพลงพื้นบ้าน

วฒั นธรรมท้องถน่ิ - เพลงกล่อมเดก็

๓. แสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกับวรรณคดี - วรรณกรรมและวรรณคดใี นบทเรยี นและ

ทีอ่ า่ น ตามความสนใจ

๔. ทอ่ งจาบทอาขยานตามทกี่ าหนด บทอาขยานและบทร้อยกรองท่มี ีคณุ ค่า

และบทร้อยกรองท่มี ีคุณค่าตาม - บทอาขยานตามทก่ี าหนด

ความสนใจ - บทร้อยกรองตามความสนใจ

ป.๔ ๑. ระบขุ ้อคิดจากนทิ านพ้นื บ้านหรอื วรรณคดีและวรรณกรรม เช่น

นิทานคตธิ รรม - นิทานพน้ื บา้ น

๒. อธบิ ายขอ้ คดิ จากการอา่ นเพื่อ - นิทานคตธิ รรม

นาไปใช้ในชวี ิตจรงิ - เพลงพ้นื บา้ น

- วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียนและ

ตามความสนใจ

๓. รอ้ งเพลงพืน้ บา้ น เพลงพ้นื บ้าน

๔. ทอ่ งจาบทอาขยานตามที่กาหนด บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองท่มี ีคณุ ค่า

และบทรอ้ ยกรองทมี่ ีคุณค่าตามความ - บทอาขยานตามที่กาหนด

สนใจ - บทร้อยกรองตามความสนใจ

ป.๕ ๑. สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรอื วรรณคดีและวรรณกรรม เชน่

วรรณกรรมทอี่ ่าน - นทิ านพน้ื บา้ น

๒. ระบคุ วามรูแ้ ละข้อคดิ จากการอ่าน - นิทานคติธรรม

วรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถ - เพลงพ้ืนบา้ น

นาไปใช้ในชีวติ จรงิ - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรยี นและ

๓. อธบิ ายคณุ คา่ ของวรรณคดแี ละ ตามความสนใจ

วรรณกรรม

๔. ท่องจาบทอาขยานตามทีก่ าหนด บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มคี ุณค่า

และบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความ - บทอาขยานตามท่ีกาหนด

สนใจ - บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ

ป.๖ ๑. แสดงความคิดเหน็ จากวรรณคดี วรรณคดแี ละวรรณกรรม เชน่

หรือวรรณกรรมทอ่ี ่าน - นทิ านพน้ื บา้ นท้องถิ่นตนเองและท้องถ่นิ อื่น

๒. เล่านิทานพ้นื บา้ นทอ้ งถิ่นตนเอง - นทิ านคตธิ รรม

และนิทานพนื้ บ้านของทอ้ งถน่ิ อืน่ - เพลงพืน้ บา้ น

หลักสตู รกลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สตู รโรงเรยี นชมุ ชนประชาธิปตั ย์วทิ ยาคาร ๔๗

ชน้ั ตวั ชี้วัด สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง

๓. อธบิ ายคุณค่าของวรรณคดี และ - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียนและ

วรรณกรรมท่ีอา่ นและนาไป ตามความสนใจ

ประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ จรงิ

๔. ท่องจาบทอาขยานตามท่ีกาหนด บทอาขยานและบทร้อยกรองท่มี ีคณุ ค่า

และบทร้อยกรองท่มี ีคุณค่าตามความ - บทอาขยานตามทกี่ าหนด

สนใจ - บทร้อยกรองตามความสนใจ

ม.๑ ๑. สรปุ เน้อื หาวรรณคดีและ วรรณคดีและวรรณกรรมเก่ียวกบั

วรรณกรรมที่อา่ น - ศาสนา

- ประเพณี

- พิธกี รรม

- สุภาษิตคาสอน

- เหตกุ ารณป์ ระวัตศิ าสตร์

- บนั เทงิ คดี

- บนั ทกึ การเดินทาง

- วรรณกรรมทอ้ งถ่นิ

๒. วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม การวเิ คราะห์คุณค่าและข้อคดิ จากวรรณคดแี ละ

ที่อา่ นพรอ้ มยกเหตผุ ลประกอบ วรรณกรรม

๓. อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและ

วรรณกรรมที่อ่าน

๔. สรุปความรแู้ ละข้อคิดจากการอา่ น

เพอ่ื ประยุกตใ์ ช้ในชีวติ จริง

๕. ทอ่ งจาบทอาขยานตามท่กี าหนด บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองท่มี ีคุณค่า

และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตาม - บทอาขยานตามทกี่ าหนด

ความสนใจ - บทร้อยกรองตามความสนใจ

ม.๒ ๑. สรุปเน้อื หาวรรณคดีและ วรรณคดแี ละวรรณกรรมเก่ียวกบั

วรรณกรรมทอ่ี ่านในระดบั ท่ยี ากข้ึน - ศาสนา

- ประเพณี

- พิธกี รรม

- สุภาษิต คาสอน

- เหตุการณ์ประวตั ศิ าสตร์

- บันเทงิ คดี

- บนั ทึกการเดนิ ทาง

๒. วเิ คราะหแ์ ละวิจารณว์ รรณคดี การวเิ คราะห์คณุ ค่าและขอ้ คดิ จากวรรณคดี
วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถนิ่ วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถ่ิน

หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลักสตู รโรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร ๔๘

ชนั้ ตัวชว้ี ัด สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง
ม.๓ ท่ีอา่ น พรอ้ มยกเหตผุ ลประกอบ
๓. อธิบายคุณค่าของวรรณคดแี ละ บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคณุ ค่า
ม.๔-ม.๖ วรรณกรรมทอี่ า่ น - บทอาขยานตามทก่ี าหนด
๔. สรปุ ความรแู้ ละข้อคดิ จากการอา่ น - บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ
ไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ จริง
๕. ท่องจาบทอาขยานตามท่กี าหนด วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิน่
และบทรอ้ ยกรองท่ีมีคุณค่าตาม เกี่ยวกบั
ความสนใจ - ศาสนา
๑. สรุปเนื้อหาวรรณคดี วรรณกรรม - ประเพณี
และวรรณกรรมท้องถิ่นในระดับท่ียาก - พธิ กี รรม
ยิ่งขนึ้ - สุภาษิตคาสอน
- เหตุการณใ์ นประวัตศิ าสตร์
๒. วิเคราะหว์ ิถีไทยและคุณค่าจาก - บันเทิงคดี
วรรณคดแี ละวรรณกรรมทอี่ ่าน
การวิเคราะห์วถิ ีไทย และคณุ ค่าจากวรรณคดี
๓. สรปุ ความรู้และขอ้ คดิ จากการอา่ น และวรรณกรรม
เพือ่ นาไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจริง
บทอาขยานและบทร้อยกรองทีม่ ีคุณค่า
๔. ท่องจาและบอกคุณค่าบทอาขยาน - บทอาขยานตามท่ีกาหนด
ตามทก่ี าหนด และบทร้อยกรองที่มี - บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ
คณุ ค่าตามความสนใจและนาไปใช้
อา้ งอิง หลกั การวเิ คราะหแ์ ละวิจารณ์วรรณคดแี ละ
วรรณกรรมเบ้อื งต้น
๑. วเิ คราะหแ์ ละวิจารณ์วรรณคดีและ - จุดมุ่งหมายการแต่งวรรณคดแี ละ
วรรณกรรมตามหลกั การวิจารณ์ วรรณกรรม
เบ้อื งต้น - การพิจารณารูปแบบของวรรณคดีและ
วรรณกรรม
- การพจิ ารณาเนอ้ื หาและกลวิธใี นวรรณคดี
และวรรณกรรม
- การวเิ คราะหแ์ ละการวิจารณว์ รรณคดแี ละ
วรรณกรรม

หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สูตรโรงเรียนชมุ ชนประชาธิปตั ย์วิทยาคาร ๔๙

ชั้น ตัวชีว้ ัด สำระกำรเรยี นรูแ้ กนกลำง

๒. วเิ คราะหล์ ักษณะเด่นของวรรณคดี การวเิ คราะหล์ ักษณะเด่นของวรรณคดแี ละ

เช่ือมโยงกับการเรียนรู้ทาง วรรณกรรมเก่ียวกับเหตกุ ารณป์ ระวตั ศิ าสตร์

ประวัติศาสตร์และวิถีชีวติ ของสงั คม และวถิ ีชวี ติ ของสงั คมในอดตี

ในอดตี

๓. วิเคราะหแ์ ละประเมินคุณค่าดา้ น การวิเคราะหแ์ ละประเมนิ คณุ ค่าวรรณคดแี ละ

วรรณศลิ ป์ของวรรณคดแี ละ วรรณกรรม

วรรณกรรมในฐานะที่เปน็ มรดกทาง - ดา้ นวรรณศิลป์

วฒั นธรรมของชาติ - ด้านสังคมและวัฒนธรรม

๔. สงั เคราะห์ขอ้ คิดจากวรรณคดีและ การสงั เคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม

วรรณกรรมเพอื่ นาไปประยกุ ตใ์ ช้ใน

ชีวิตจรงิ

๕. รวบรวมวรรณกรรมพน้ื บ้านและ วรรณกรรมพนื้ บ้านทีแ่ สดงถึง

อธบิ ายภูมิปัญญาทางภาษา - ภาษากบั วฒั นธรรม

- ภาษาถิ่น

๖. ทอ่ งจาและบอกคุณค่าบทอาขยาน บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองทีม่ คี ณุ ค่า

ตามทกี่ าหนดและบทรอ้ ยกรองท่มี ี - บทอาขยานตามที่กาหนด

คณุ ค่าตามความสนใจและนาไปใช้ - บทร้อยกรองตามความสนใจ

อา้ งอิง

หลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

เอกสารประกอบหลกั สตู รโรงเรยี นชุมชนประชาธิปัตย์วทิ ยาคาร ๕๐

ผลกำรเรยี นรภู้ ำษำไทยเพ่ิมเติม

ชน้ั มธั ยมศึกษำปีท่ี ๔
๑. เขยี นข้อความโดยใชถ้ ้อยคาได้ถกู ตอ้ ง
๒. เขยี นส่ือสารในชีวติ ประจาวนั ในรปู แบบต่าง ๆ ได้ตามวตั ถปุ ระสงค์โดยใชภ้ าษาเรยี บเรียงถูกต้อง

มขี อ้ มลู และสาระสาคัญชดั เจน
๓. เขยี นเพื่อการศึกษา เขยี นบนั ทกึ ความรู้เขียนรายงาน เขียนโครงการอยา่ งมีประสิทธภิ าพ
๔. บอกแนวทางการเขียนสอ่ื สารอิเล็กทรอนกิ ส์ โดยใชภ้ าษาท่ีถูกต้อง
๕. เขยี นส่ือสารผ่านทางส่ืออิเล็กทรอนิกสใ์ ชร้ ะดับภาษาเหมาะสมถูกกาลเทศะอย่างมีมารยาท
๖. เขียนแสดงความคิดเหน็ บนพน้ื ที่สาธารณะ โดยใช้ภาษาสภุ าพสละสลวย
๗. อธิบายลกั ษณะ ภูมหิ ลงั รปู แบบของวรรณคดีสมัยสุโขทยั และสมยั อยุธยา
๘. วเิ คราะห์จาแนก และแสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกบั ลักษณะของวรรณคดีสมยั สุโขทัยและอยธุ ยา
๙. วิเคราะห์เชอ่ื มโยงวรรณคดกี บั การเรียนรู้ทางประวัตศิ าสตร์และวิถชี ีวิตของคนในอดตี
๑๐.มสี ว่ นรว่ มในการอนุรกั ษ์และเผยแพรว่ รรณคดีไทยในสมัยสุโขทยั และสมัยอยธุ ยา

ชั้นมธั ยมศกึ ษำปที ี่ ๕
๑. อธบิ ายความรเู้ ก่ียวกบั เขยี นอาชพี ได้
๒. รจู้ ักอาชพี ทเ่ี กย่ี วข้องกบั การเขียนและช้ีความสาคัญของการเขียนในงานอาชีพได้
๓. อธิบายหลักการสะกดคา การเขยี นคาทบั ศัพทแ์ ละการใช้คาเหมาะสมตามความหมายได้
ถกู ต้อง
๔. รูจ้ ักศัพทเ์ ฉพาะวิชาชีพ สะกดคาและเขยี นคาทับศัพท์ไดถ้ กู ต้อง
๕. อธิบายความสาคญั ของการเขียนในงาอาชีพได้
๖. ใชค้ าถกู ตอ้ งตามหลักไวยากรณ์เรียบเรียงถ้อยคาเป็นประโยค และใช้สานวนไทยไดอ้ ย่าง
ถูกต้อง
๗. บอกความสาคัญของการเขียนเพอ่ื อาชีพในโอกาสตา่ ง ๆ ได้
๘. เขา้ ใจองค์ประกอบรูปแบบของการเขียนเพ่อื อาชีพในโอกาสต่างๆและเขียนเพอ่ื อาชีพใน
โอกาส ตา่ ง ๆ ได้
๙. อธบิ ายจุดปะสงค์องค์ประกอบ ลักษณะภาษา และหลกั ในการเขยี นโฆษณาและ
ประชาสัมพันธ์ได้
๑๐.เขียนโฆษณาและประชาสมั พันธไ์ ด้
๑๑.บอกความสาคญั ของการเขยี นบทรอ้ ยกรองในงานอาชพี ได้
๑๒.เข้าใจหลกั การและรูปแบบของการเขียนบทรอ้ ยกรอง และเขียนบทรอ้ ยกรองในงานอาชีพได้
๑๓.อธบิ ายลักษณะ ภมู ิหลงั รปู แบบของวรรณคดีสมัยธนบรุ แี ละสมยั รัตนโกสนิ ทร์
๑๔.วิเคราะหจ์ าแนก และแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกบั ลักษณะวรรณคดสี มัยธนบรุ แี ละสมยั
รตั นโกสนิ ทร์

หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย


Click to View FlipBook Version