The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) ปีงบประมาณ 2563

sar63เวียงสระ สมบูรณ์

มาตรฐาน/ คา่ น้ำหนกั กระบวนการ/วธิ ีการดำเน
ประเดน็ การพิจารณา (คะแนน) ของสถานศกึ ษา

3. มกี ารจดั ทำแผนปฏิบัตงิ านประจ
4. มีการนเิ ทศตดิ ตามตรวจสอบคุณ
การศึกษา

3.3 การพัฒนาครู และบุคลากร 5. มีการประกนั คณุ ภาพภายในถาน
ของสถานศกึ ษา มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษ
6. มีการจดั ทำรายงานประเมนิ ตนเ
7. มกี ารเสนอรายงานการประเมนิ
คณะกรรมการสถานศกึ ษา หนว่ ยง
และภาคีเครอื ขา่ ย และเผยแพรต่ ่อ
3 1. สถานศกึ ษาสง่ เสรมิ สนับสนุนบ
การอบรมและพัฒนาตามบทบาทห
2. บคุ ลากรมีความร้คู วามสามารถใ
เทคโนโลยีและกระบวนการจัดการ
3. บคุ ลากรทกุ คนไดร้ ับการปรึกษา
ข้อเสนอแนะเก่ยี วกับการจัดกระบว
จากผู้บงั คบั บัญชา

105

นินงาน ผลการดำเนนิ งานที่เกิดข้ึน ผลการประเมนิ คณุ ภาพ
และรอ่ งรอย หลักฐานท่เี กิดข้นึ
จำปี จากการดำเนินงานตามสภาพจริง คะแนนท่ีได้ ระดบั
ณภาพ 3. แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา คณุ ภาพ
4. แผนปฏิบตั งิ านประจำปี
นศกึ ษาตาม 5. แผนนเิ ทศติดตามตรวจสอบ 3 ยอดเย่ยี ม
ษา คณุ ภาพการศึกษา
เองประจำปี 6. รายงานประเมนิ ตนเองประจำปี
นภายในต่อ
งานตน้ สังกัด 1. รายงานการประชุม
อสาธารณชน 2. โครงการพัฒนาบคุ ลากร
บคุ ลากร เขา้ รับ 3. รายงานผลการพฒั นาบคุ ลากร
หนา้ ที่ 4. ใบประกาศ เกียรติบตั ร หลักฐานที่
ในการใช้ เขา้ รว่ มโครงการ
รเรียนรู้ 5. แฟ้มสะสมผลงานของครแู ละ
าและ บคุ ลากรทางการศึกษา
วนการเรียนรู้ 6. ผลงานของบคุ ลากรท่ีผ่านการ
อบรมและพฒั นา

มาตรฐาน/ คา่ นำ้ หนกั กระบวนการ/วิธกี ารดำเน
ประเดน็ การพิจารณา (คะแนน) ของสถานศึกษา

3.4 การใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัล 3 1. สถานศึกษาส่งเสรมิ สนับสนุนบ
เพ่ือสนบั สนุนการบริหารจัดการ การนำเทคโนโลยีดิจิทลั มาใช้ในการ
ดา้ นวิชาการ,งบประมาณ,บคุ คล,แ
2. มกี ารใชร้ ะบบสารสนเทศเพอ่ื กา
การศึกษา

3.5 การกำกบั นเิ ทศ ติดตาม 3 1. สถานศึกษามีการจดั ทำแผนนเิ ท
ประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน ประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน
ของสถานศึกษา 2. มกี ารนเิ ทศตามแผนการนิเทศ
3. จัดทำรายงานผลการนิเทศ
4. นำผลการนิเทศตดิ ตาม ปรับใช้ใ
พัฒนาการดำเนินงานของสถานศึก

106

นนิ งาน ผลการดำเนินงานที่เกดิ ข้ึน ผลการประเมินคุณภาพ
บุคลากรให้มี และรอ่ งรอย หลักฐานที่เกิดขนึ้
รบริหารงาน จากการดำเนนิ งานตามสภาพจรงิ คะแนนท่ไี ด้ ระดบั
และงานท่วั ไป 1. รายงานการประชมุ คุณภาพ
ารบริหารจดั 2. ขอ้ มลู สารสนเทศดา้ นวชิ าการ,
งบประมาณ,บคุ คลและการบรหิ าร 3 ยอดเยยี่ ม
ทศ ตดิ ตามและ ท่ัวไป
3. ระบบฐานข้อมูลเพอื่ การบริหาร 2.4 ดีเลศิ
ในการ จดั การ (DMIS)
กษา 4. ระบบบริหารการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง
C-smart
5. ระบบบริหารงบประมาณ
E-Budget
1. บันทกึ ข้อความการนเิ ทศ,คำส่ัง
คณะกรรมการนเิ ทศ
2. แผนการนิเทศ
3. รายงานผลการนเิ ทศ
4. ภาพกจิ กรรมการนเิ ทศ

มาตรฐาน/ คา่ น้ำหนกั กระบวนการ/วธิ กี ารดำเน
ประเดน็ การพจิ ารณา (คะแนน) ของสถานศกึ ษา

3.6 การปฏบิ ตั ิหน้าที่ของ 3 1. คณะกรรมการสถานศึกษาใหค้ ำ
คณะกรรมการสถานศกึ ษา พจิ ารณาเสนอแนะแผนพฒั นาและ
ทเ่ี ป็นไปตามบทบาทที่กำหนด การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา
และให้ความเหน็ ชอบหลักสูตรของ
2. คณะกรรมการสถานศกึ ษาติดตา
เสนอแนะผลการดำเนินงานการศึก
และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

3.7 การส่งเสรมิ สนบั สนุนภาคี 3 1. ภาคเี ครือขา่ ยมสี ว่ นรว่ ม สง่ เสริม
เครือข่ายใหม้ ีสว่ นร่วมในการจัด สถานศึกษาในด้านส่ือ เทคโนโลยเี พ
การศึกษา 2. ภาคีเครอื ข่ายมีสว่ นร่วม ส่งเสริม
พัฒนาการจดั การศึกษา,วชิ าการ,แ
3. ภาคีเครือขา่ ยมสี ่วนรว่ ม ส่งเสรมิ
เพื่อสรา้ งหรือพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้

107

นนิ งาน ผลการดำเนนิ งานทเ่ี กิดขึน้ ผลการประเมนิ คุณภาพ
และร่องรอย หลักฐานที่เกิดขนึ้
ำปรกึ ษาและ จากการดำเนนิ งานตามสภาพจริง คะแนนทไี่ ด้ ระดบั
ะแผนปฏบิ ตั ิ 1. คำสัง่ แตง่ ตง้ั คณะกรรมการ คณุ ภาพ
าตามอธั ยาศยั สถานศึกษา
งสถานศึกษา 2. รายงานการประชุมคณะกรรมการ 2.4 ดเี ลศิ
ามและ สถานศกึ ษา
กษานอกระบบ 3. แผนปฏิบตั งิ านประจำป,ี
แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาทไ่ี ด้รับ
ความเห็นชอบจากสถานศกึ ษา
4. หลกั สูตรสถานศกึ ษาและหลักสตู ร
ตอ่ เนื่องท่ีได้รบั ความเหน็ ชอบจาก
สถานศกึ ษา

มและสนับสนนุ 1. บนั ทึกลงนามความร่วมมอื (MOU) 3 ยอดเยยี่ ม
พ่ือการศึกษา 2. ทำเนยี บ รายช่อื ภาคีเครอื ขา่ ย
มและสนบั สนนุ 3. รายงานผลการดำเนินโครงการ
และบุคลากร 4. หนังสือเชญิ ,หนงั สอื ขอบคุณ
มและสนับสนนุ 5. ภายถา่ ยที่เกี่ยวขอ้ ง

มาตรฐาน/ คา่ นำ้ หนกั กระบวนการ/วธิ กี ารดำเน
ประเดน็ การพิจารณา (คะแนน) ของสถานศกึ ษา
3.8 การสง่ เสรมิ สนบั สนุน
การสร้างสังคมแหง่ การเรยี นรู้ 5 1. สถานศกึ ษามกี ารวางแผนงาน โ
กิจกรรมทีส่ ง่ เสรมิ ตอ่ การสร้างสังค
3.9 การวิจยั เพ่ือการบริหาร เรียนรู้
จัดการศกึ ษาสถานศกึ ษา 2. มีการดำเนินงานตามแผน
3. มีการถ่ายทอดความรแู้ ละแลกเป
รวมคะแนน กลุม่ เป้าหมาย
4. มีการติดตาม ประเมินผลการดำ
5. มีการนำผลการดำเนินงานมาปร
พฒั นาการดำเนนิ ท่ีจะสร้างสงั คมแ

3 1. สถานศกึ ษามกี ารวางแผนงานก
การวิจยั ทสี่ อดคล้องกับสถานการณ
ความตอ้ งการของสถานศกึ ษา
2. มีการดำเนนิ งานวจิ ยั อย่างงา่ ย
3. มรี ายงานผลการวิจยั
4. มีการนำผลการวจิ ัยไปพัฒนางา
สถานศกึ ษา

30

108

นินงาน ผลการดำเนนิ งานที่เกิดขึ้น ผลการประเมนิ คณุ ภาพ
และร่องรอย หลักฐานทเ่ี กดิ ขึ้น
คะแนนทไี่ ด้ ระดับ
จากการดำเนนิ งานตามสภาพจริง คุณภาพ

โครงการ 1. ทำเนยี บแหลง่ เรียนรู้ 5 ยอดเย่ยี ม

คมแห่งการ 2. รายงานผลการใชแ้ หลง่ เรยี นรู้

3. รายงานผลการใชแ้ หลง่ เรียนรู้

4. เกยี รติบตั ร,เอกสารทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับ

ปลยี่ นเรียนร้แู ก่ แหลง่ เรยี นรู้

ำเนนิ งาน 1. คำสั่งปฏบิ ัตงิ านประจำปี 1.8 ปานกลาง
รับปรงุ และ 2. รายงานวจิ ัย
แหง่ การเรียนรู้ 3. ภาพกจิ กรรม
กำหนดประเด็น
ณ์ ปญั หาหรือ

านของ
27.60 ยอดเยีย่ ม

109

จากการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ในมาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา อยู่ใน
ระดับ ยอดเย่ียม มคี ะแนนรวมเท่ากบั 27.60 คะแนน

ซึ่งจากผลการประเมินคุณภาพในมาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา พบว่า
สถานศกึ ษามีจุดเดน่ และจุดท่คี วรพัฒนา ดงั นี้

จดุ เดน่
สถานศึกษา มีการบรหิ ารจัดการของสถานศึกษาที่เนน้ การมีส่วนร่วม มรี ะบบประกนั คุณภาพการศกึ ษาของ
สถานศึกษา มีการพัฒนาครูและบุคลากรของสถานศึกษา มีการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ มี
การสง่ เสรมิ สนับสนนุ ภาคเี ครือขา่ ยใหม้ ีสว่ นร่วมในการจัดการศกึ ษาและมีการส่งเสริม สนับสนนุ การสร้างสงั คมแห่งการ
เรยี นรู้
จุดทคี่ วรพัฒนา
สถานศึกษา ควรมีการส่งเสรมิ และสนับสนุนใหบ้ คุ ลากรไดร้ ับการอบรม พัฒนาการทำวิจัยเพือ่ การบริหาร
จดั การศกึ ษาสถานศกึ ษา

110

บทที่ 3
สรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง และแนวทางการพฒั นาคุณภาพของสถานศึกษา

จากผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมินตนเองในภาพรวมของสถานศึกษา
ตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ดังนี้

คะแนนจากผลการประเมินคุณภาพ

มาตรฐานการศึกษา ดา้ นท่ี 1 ดา้ นท่ี 2 ด้านท่ี 3 รวม ระดบั
แตล่ ะประเภท คณุ ภาพของ คณุ ภาพการจัด คณุ ภาพการ คะแนนที่ได้ คณุ ภาพ
บรหิ ารจดั การ
ผู้เรียน การศึกษา

ของสถานศึกษา

คะแนนเต็ม 50 คะแนน 20 คะแนน 30 คะแนน 100 คะแนน

มาตรฐานการศึกษา 42.47 17 27.60 87.07 ดีเลิศ

นอกระบบ ระดับการศึกษา

ขน้ั พน้ื ฐาน

มาตรฐานการศกึ ษา 40 15.20 27.60 82.80 ดีเลศิ

ต่อเน่ือง

มาตรฐานการศึกษา 42.50 17.10 27.60 87.20 ดีเลิศ

ตามอธั ยาศัย

คะแนนเฉล่ยี จากผลการประเมนิ ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา 85.36 ดเี ลิศ

หมายเหตุ

สำหรับคะแนนท่ีจะกรอกลงในช่อง “คะแนนผลการประเมนิ คณุ ภาพ ดา้ นที่ 3 คุณภาพการบรหิ ารจัดการของสถานศึกษา”

ให้นำคะแนนจากผลการประเมินคุณภาพด้านการบริหารจัดการของสถานศึกษา ที่ประเมินไว้ในบทที่ 2 ไปใส่ในช่อง

“คะแนนผลการประเมนิ คุณภาพ ด้านท่ี 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา” ในมาตรฐานการศึกษาแต่ละ

ประเภท (ใชค้ ะแนนเดยี วกนั ) เน่อื งจากเปน็ มาตรฐานท่ใี ช้ประเด็นการพจิ ารณาร่วมกันในทุกประเภทการศกึ ษา

ทั้งนี้ จากการสรุปผลการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เมื่อนำ
คะแนนเฉลี่ยจากทุกมาตรฐานที่ได้ในภาพรวม ไปเทียบกับเกณฑ์ระดับคุณภาพ พบว่า สถานศึกษามีผลการ
ประเมินตนเองในภาพรวม อยู่ในระดับ ดีเลิศ มีคะแนนรวมเท่ากับ 85.36 คะแนน และเมื่อพิจารณาผล
การประเมินตนเองตามมาตรฐานการศกึ ษาแต่ละประเภท สามารถสรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง ได้ดงั นี้

111

สรุปผลการประเมินตนเอง ประเภทการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
ระดับคุณภาพจากผลการประเมินคุณภาพ
จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปได้ว่า สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา

นอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน อยใู่ นระดบั ดีเลศิ
ผลการดำเนินงาน ร่องรอย และหลกั ฐานทีส่ นบั สนนุ ผลการประเมินคณุ ภาพ
สถานศึกษามีการประชุมชี้แจงนโยบายและแนวทางการปฏิบัติงานด้านการใช้กระบวนการเรียนรู้ ส่ือ

เทคโนโลยีดิจิทัล จาก Line / Page / Facebook / googleforms / googleclassroom ในการจัดการเรียนรู้
รวมทั้งบุคลากรครูมีความรู้ความสามารถมีศักยภาพจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้ด้านต่างๆ ที่สอดคล้องจัด
กระบวนการเรยี นรูท้ ี่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั พรอ้ มนำเสนอผลการดำเนนิ งานต่อผู้บริหารสถานศกึ ษา คณะกรรมการ
สถานศกึ ษา และหนว่ ยงานต้นสังกดั

จากการดำเนนิ งานของสถานศึกษา ได้ปรากฏ รอ่ งรอย หลกั ฐานที่เกิดข้ึนจากการดำเนนิ ของสถานศึกษา
ที่ส่งผลปรากฏกับผู้เรยี น คือ ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน ในระดับท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีสุข
ภาวะทางกายและสนุ ทรียภาพ สถานศึกษา โดยมีครู กศน ไดด้ ำเนินการวดั และประเมนิ ผลจากระบบบันทกึ ผลการ
ประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการประเมินระดบั การรู้หนังสือแต่ละ
ภาคเรยี น

แนวทางการพฒั นาคุณภาพ
สถานศึกษา มีโครงการจัดแผนการพฒั นาด้านผู้เรียนการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ใหม้ ีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนท่ีดี
สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี
วิจารณญาณ สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่น และผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความสามารถในการ
สร้างสรรคง์ าน ช้ินงาน หรอื นวตั กรรม
แนวทางการพัฒนาคุณภาพ โดยจัดโครงการ กระบวนการ ผลงานทางวิชาการ ส่งเสริมและสนับสนุนให้
ผเู้ รยี นมโี อกาสอบรมดา้ นวชิ าการ และนำเสนอผลงานด้านวชิ าการ เพมิ่ ขึน้ หรือการจดั โครงการพัฒนาดา้ นวิชาการ
สำหรบั นักศกึ ษาอยา่ งตอ่ เน่อื ง
ความต้องการการส่งเสริม สนับสนุนจากหน่วยงานตน้ สังกัด

1. จัดโครงการตวิ เขม้ นกั ศึกษา เพอื่ พัฒนาผลสัมฤทธ์ิการทดสอบมาตรฐานการศึกษาระดบั ชาติ
N-NET

2. สนับสนนุ สือ่ และนวัตกรรมสำหรบั สง่ เสริมการจดั กระบวนการเรียนการสอน การศึกษานอกระบบ
ระดับการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน

3. สนับสนุนการจัดกิจกรรมวิชาการประกวดโครงงาน ชิ้นงาน และนวัตกรรม ของนักศึกษาใน
สถานศกึ ษาระดบั อำเภอ

112

สรุปผลการประเมนิ ตนเอง ประเภทการศึกษาต่อเน่อื ง
ระดบั คุณภาพจากผลการประเมนิ คณุ ภาพ
จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปได้ว่า สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา

ต่อเนื่อง อยู่ในระดบั ดีเลศิ
ผลการดำเนินงาน รอ่ งรอย และหลักฐานท่สี นับสนนุ ผลการประเมนิ คุณภาพ
สถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องตามหลักเกณฑ์ที่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา

ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น และสอดคล้องตามนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด ที่เน้นการมีส่วนร่วมของ
บคุ ลากรในสถานศึกษา ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศกึ ษา ขา้ ราชการ พนักงานราชการ ลูกจา้ ง และคณะกรรมการ
สถานศึกษาเป็นไปตามสถานการณ์ และความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย มีวิทยากรการศึกษาต่อเนื่องที่มีความรู้
ความสามารถ และประสบการณต์ รงตามหลกั สูตร มกี ารจัดหาและพฒั นาสอ่ื ที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ และจัดใหม้ ีการวัด
และประเมินผลผเู้ รยี นด้วยวธิ ีการที่เหมาะสมตรงตามจุดประสงค์ของการจัดการศกึ ษา ส่งผลให้มีผสู้ ำเร็จการศึกษา
มากกว่าร้อยละ 80 และผจู้ บหลกั สตู รการศึกษาต่อเนอ่ื ง สามารถความร้ไู ปใช้จนเหน็ เป็นประจักษ์และเป็นตัวอย่าง
ทด่ี ี มกี ารติดตามผ้จู บหลักสตู ร มีการดำเนนิ กจิ กรรมของกลุ่มดังกล่าวอย่างต่อเนอื่ ง มกี จิ กรรมท่ีประสบผลสำเร็จ
มีการพัฒนาในทิศทางทดี่ ีขึน้ อย่างไมห่ ยุดยง้ั มีผลงาน มีชนิ้ งานใหเ้ ห็นเปน็ ประจักษม์ ตี ัวบคุ คลยืนยันในความสำเร็จ
มกี ลุ่มอาชพี ท่สี ามารถศึกษาดูผลงานของกลมุ่ ได้

ทั้งนี้ จากการดำเนินงานของสถานศึกษาทำให้มีร่องรอย หลักฐานที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานจริงของ
สถานศึกษา เช่น แบบสำรวจความตอ้ งการในการจัดการศึกษาต่อเนื่อง หลกั สตู รการศึกษาต่อเน่ืองของสถานศึกษา
รายงานผลการจดั การศกึ ษาต่อเนอื่ งเป็นต้น

แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพ
สถานศึกษาควรส่งเสริม สนับสนุนให้มีการพัฒนา,ปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาต่อเนือ่ ง เพื่อให้เหมาะสม
ตามความต้องการของผู้เรียน โดยเฉพาะการใช้หลักสูตร C-Smart Program ในการจัดต้ังกลุ่มขออนุญาตจัด
กิจกรรมมีข้อจำกัดในการเลือกใช้หลักสูตร ถ้ามีหลักสูตรอื่นนอกเหนือจากในระบบก็ไม่สามารถขออนุญาตจัดตัง้
กลุ่มในระบบได้ ดังน้ันจึงสมควรอย่างยิ่งที่จะมาการพัฒนา เพ่ิมเตมิ หลกั สูตร จัดทำหลักสูตรใหม่ๆตามความต้อง
จำของกลุม่ เป้าหมาย โดยจัดทำขนั้ ตอนกระบวนการการจดั ทำหลกั สตู รตา่ งๆ และนำเขา้ ระบบ C-Smart Program
โดยใหม้ ีการจัดทำหลักสูตรหลังจากทมี่ ีการสำรวจความตอ้ งการของกลมุ่ เป้าหมาย และความตอ้ งการจัดกิจกรรม
ในหลักสูตรนัน้ ๆ ยังไมม่ ใี นระบบ C-Smart Program โดยตอ้ งดำเนนิ การจัดทำหลักสูตรและนำเขา้ สู่ระบบ
C-Smart Program ก่อนที่จะจดั ทำแผนการจัดกิจกรรมในแต่ละปีงบประมาณ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมให้
สามารถดำเนินทุกกิจกรรมไปไดต้ ามความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สงู สุดตอ่
กลุ่มเปา้ หมาย

113

ความตอ้ งการการสง่ เสริม สนบั สนนุ จากหน่วยงานตน้ สงั กดั
- ตอ้ งการให้สำนักงาน กศน. จดั ทำหลักสตู รการศึกษาตอ่ เน่ืองท่หี ลากหลาย และสามารถเพม่ิ หลกั สูตรตามความ

ตอ้ งการของผูเ้ รยี น เพ่ือหลักสตู รกลางในการจดั การเรยี นรูใ้ หแ้ ก่ประชาชน

114

สรปุ ผลการประเมินตนเอง ประเภทการศึกษาตามอัธยาศัย
ระดับคณุ ภาพจากผลการประเมินคุณภาพ
จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปได้ว่า สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา

ตามอธั ยาศยั อย่ใู นระดบั ดีเลิศ
ผลการดำเนินงาน รอ่ งรอย และหลกั ฐานทส่ี นับสนุนผลการประเมนิ คุณภาพ
ผู้บริหารสถานศึกษาร่วมกับบุคลากรกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจและอัตลักษณ์ มาตรฐาน

การศึกษา ของสถานศึกษา มีข้อมูลชุมชน ท้องถิ่น ในการจัดทำแผนพัฒนาการจดั การศึกษา แผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา และแผนปฏิบตั งิ านประจำปี จัดโครงการ/กจิ กรรม ประจำปี มคี วามสอดคลอ้ งกับนโยบายของหน่วยงาน
ต้นสงั กดั มีการเสนอผูบ้ รหิ ารเห็นชอบ/อนุมัต/ิ อนุญาต

สถานศกึ ษา มีการพฒั นาครูและบคุ ลากรของสถานศึกษามกี ารใช้เทคโนโลยีดิจทิ ลั การสแกนควิ อารโ์ ค้ด
E-Book เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ มีการส่งเสริม สนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
และมกี ารสง่ เสริม สนับสนนุ การสร้างสงั คมแหง่ การเรียนรู้

จากการดำเนนิ งานของสถานศึกษาทำให้มีร่องรอย หลักฐานที่เกิดขึน้ จากการดำเนินงานของสถานศึกษา
คือ รายงานการประชุม ข้อมูลความต้องการชุมชน ท้องถิ่น แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ปรัชญา วิสัยทัศน์
พนั ธกิจ นโยบาย เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงสร้างท่สี อดคลองกบั กลยุทธ์ แผนการพฒั นาคุณภาพของสถานศึกษา
3 ปี และ แผนปฏบิ ัติงานประจำปี โดยใช้วงจรคณุ ภาพ PDCA มาใช้ในการปฏบิ ตั งิ าน

แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพ
สถานศกึ ษาควรมกี ารส่งเสริมและสนบั สนนุ ให้บุคลากรได้รบั การพฒั นาเทคนคิ และวธิ ีการใหมๆ่ ที่จะดงึ ดูด
ความสนใจของผรู้ ับบริการจึงควรท่ีจะไดร้ บั การพัฒนา โดยจดั หาวทิ ยากรนกั จดั กิจกรรมมืออาชีพมาเติมเต็มความรู้
ใหแ้ ก่ บรรณารกั ษ์ ครู และบคุ ลากรในการจัดกจิ กรรมเพ่อื การบริหารจัดการศึกษาสถานศกึ ษา
ความตอ้ งการการส่งเสริม สนับสนนุ จากหน่วยงานต้นสังกดั
1. งบประมาณการจดั ซอื้ วัสดุ อุปกรณ์ ในการทำกจิ กรรม
2. การอบรมและพัฒนาบคุ ลากรดา้ นการจดั กิจกรรมส่งเสริมการอา่ น โดยใช้นวัตกรรมทางดา้ นเทคโนโลยี

115

ภาคผนวก ก

• ประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศกึ ษา

• ค่าเป้าหมายเพื่อใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐาน
การศกึ ษาของสถานศกึ ษา

• คำสั่งแต่งต้งั คณะกรรมการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

• ร่องรอย และหลักฐานที่สำคัญจากการดำเนินงานตามสภาพจริงของสถานศึกษาที่สนับสนุน
การดำเนินงานของสถานศกึ ษา

• คณะผจู้ ดั ทำ

116

บรรณานกุ รม

กฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. 2561. (2561, 20 กมุ ภาพันธ)์ . ราชกจิ จานุเบกษา,เล่ม135,
ตอนที่ 11 ก.

กฎกระทรวงกำหนดระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ กี ารประกนั คุณภาพภายในสำหรบั สถานศึกษาทจ่ี ัดการศกึ ษานอก
ระบบ พ.ศ. 2555. (2555, 14 พฤศจิกายน). ราชกจิ จานุเบกษา, เลม่ 129, ตอนที่ 106 ก.

พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553.ราชกจิ จานุเบกษา,เลม่ 127
ตอนท่ี 45 ก หนา้ 1-3

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาต.ิ (2545).พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่มิ เตมิ
(ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545.

117

ประกาศศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเวียงสระ
เรอ่ื ง การใชม้ าตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาเพอ่ื การประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา

----------------------------------
ตามที่ กระทรวงศึกษาธิการได้มีการประกาศใช้กฎกระทรวง เรื่อง การประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. 2561 กฎกระทรวง กำหนดระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน สำหรับ
สถานศกึ ษาท่ีจดั การศกึ ษานอกระบบ พ.ศ. 2555 และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการศึกษา
นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ณ วันท่ี 6 ธนั วาคม พ.ศ. 2563 นัน้
เพื่อให้มีมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา สำหรับใช้ในการประกันคุณภาพภายในของศูนย์
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเวยี งสระ จึงประกาศใชม้ าตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ดังเอกสารแนบท้ายประกาศนี้ เพ่ือเป็นเป้าหมายในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา และการประเมินคุณภาพภายใน
ประกาศ ณ วันที่ 3 เดือนมนี าคม พ.ศ. 2563

(นางมตุ ตา กาญจนอักษร)
ผู้อำนวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอเวียงสระ

118

มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
แนบทา้ ยประกาศศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอเวียงสระ
เร่อื ง การใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเพือ่ การประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา

มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน
---------------------------------

มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน มีจำนวน 3 มาตรฐาน ประกอบด้วย
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเ้ รียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งมปี ระเด็นการ
พจิ ารณา จำนวน 8 ประเด็น ประกอบด้วย
1.1 ผเู้ รียนการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นทด่ี ีสอดคลอ้ งกบั หลักสตู รสถานศึกษา
1.2 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะที่ดีตามที่สถานศึกษา
กำหนด
1.3 ผูเ้ รียนการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ อย่างมวี ิจารณญาณ และแลกเปล่ียน
ความคดิ เหน็ รว่ มกับผอู้ ื่น
1.4 ผเู้ รยี นการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานมีความสามารถในการสรา้ งสรรค์งาน ช้นิ งาน หรือนวตั กรรม
1.5 ผเู้ รยี นการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานมคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั
1.6 ผู้เรียนการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานมสี ขุ ภาวะทางกาย และสนุ ทรียภาพ
1.7 ผู้เรยี นการศึกษาขนั้ พื้นฐานมคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น
1.8 ผจู้ บการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานนำความรู้ ทกั ษะพนื้ ฐานท่ีไดร้ บั ไปใช้หรือประยุกต์ใช้

มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจัดการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐานทเี่ นน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคัญ
ซึง่ มีประเดน็ การพจิ ารณา จำนวน 4 ประเด็น ประกอบดว้ ย

2.1 การพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษาทีส่ อดคลอ้ งกบั บรบิ ท และความต้องการของผ้เู รียน ชมุ ชน ท้องถ่ิน
2.2 สอ่ื ท่ีเออ้ื ต่อการเรยี นรู้
2.3 ครมู คี วามรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ
2.4 การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นร้ขู องผู้เรยี นอย่างเปน็ ระบบ

มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จำนวน 9
ประเด็น ประกอบด้วย

3.1 การบรหิ ารจดั การของสถานศึกษาท่ีเนน้ การมสี ่วนร่วม
3.2 ระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา
3.3 การพัฒนาครู และบคุ ลากรของสถานศกึ ษา
3.4 การใช้เทคโนโลยีดิจทิ ลั เพอ่ื สนบั สนุนการบรหิ ารจัดการ
3.5 การกำกับ นิเทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการดำเนนิ งานของสถานศึกษา
3.6 การปฏบิ ัติหนา้ ท่ขี องคณะกรรมการสถานศึกษาทเ่ี ปน็ ไปตามบทบาททก่ี ำหนด
3.7 การส่งเสรมิ สนับสนุนภาคีเครอื ขา่ ยให้มสี ว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษา
3.8 การส่งเสริม สนบั สนุนการสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้
3.9 การวจิ ยั เพ่ือการบริหารจัดการศึกษาสถานศึกษา

119

มาตรฐานการศึกษาต่อเน่อื ง
---------------------------------
มาตรฐานการศกึ ษาต่อเน่ือง มจี ำนวน 3 มาตรฐาน ประกอบดว้ ย
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จำนวน 3 ประเด็น
ประกอบดว้ ย
1.1 ผู้เรยี นการศึกษาตอ่ เน่อื งมีความรู้ ความสามารถ และหรือทักษะ และหรอื คณุ ธรรมเปน็ ไปตามเกณฑ์
การจบหลักสูตร
1.2 ผู้จบหลักสูตรการศกึ ษาต่อเน่ืองสามารถนำความรทู้ ่ีได้ไปใช้ หรอื ประยกุ ตใ์ ช้ บนฐานค่านิยมรว่ มของ
สงั คม
1.3 ผจู้ บหลักสตู รการศกึ ษาต่อเน่อื งทีน่ ำความรู้ไปใช้จนเหน็ เป็นประจักษ์หรือตัวอยา่ งทดี่ ี

มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จำนวน 5
ประเดน็ ประกอบดว้ ย

2.1 หลกั สูตรการศกึ ษาต่อเนื่องมคี ณุ ภาพ
2.2 วิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง มีความรู้ ความสามารถ หรือประสบการณ์ตรงตามหลักสูตรการศึกษา
ตอ่ เน่ือง
2.3 สอ่ื ท่ีเอื้อต่อการเรยี นรู้
2.4 การวดั และประเมนิ ผลผูเ้ รยี นการศึกษาต่อเนอ่ื ง
2.5 การจดั กระบวนการเรยี นร้กู ารศึกษาต่อเนอ่ื งที่มีคุณภาพ

มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จำนวน 9
ประเดน็ ประกอบดว้ ย

3.1 การบริหารจดั การของสถานศกึ ษาทเี่ น้นการมีส่วนร่วม
3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
3.3 การพัฒนาครู และบคุ ลากรของสถานศกึ ษา
3.4 การใช้เทคโนโลยดี ิจิทลั เพ่อื สนับสนนุ การบรหิ ารจดั การ
3.5 การกำกบั นเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผลการดำเนนิ งานของสถานศึกษา
3.6 การปฏบิ ัตหิ น้าท่ีของคณะกรรมการสถานศึกษาทเ่ี ป็นไปตามบทบาทท่กี ำหนด
3.7 การส่งเสรมิ สนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจดั การศึกษา
3.8 การส่งเสรมิ สนับสนุนการสร้างสังคมแหง่ การเรยี นรู้
3.9 การวจิ ยั เพอื่ การบรหิ ารจัดการศกึ ษาสถานศกึ ษา

120

มาตรฐานการศกึ ษาตามอัธยาศัย
---------------------------------

มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศยั มจี ำนวน 3 มาตรฐาน ประกอบดว้ ย
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้รับบริการการศกึ ษาตามอัธยาศัย ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จำนวน 1
ประเด็น ประกอบด้วย
1.1 ผู้รับบริการมีความรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ หรือ
กจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศยั

มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จำนวน 4 ประเด็น
ประกอบด้วย

2.1 การกำหนดโครงการ หรือกิจกรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัย
2.2 ผจู้ ดั กิจกรรมมคี วามรู้ ความสามารถ ในการจดั กิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
2.3 ส่ือ หรือนวตั กรรม และสภาพแวดลอ้ มทีเ่ อ้ือตอ่ การจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัย
2.4 ผรู้ บั บรกิ ารมคี วามพงึ พอใจต่อการจดั การศกึ ษาตามอัธยาศัย

มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จำนวน 9
ประเดน็ ประกอบดว้ ย

3.1 การบรหิ ารจดั การของสถานศึกษาทีเ่ น้นการมีสว่ นรว่ ม
3.2 ระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา
3.3 การพฒั นาครู และบุคลากรของสถานศกึ ษา
3.4 การใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทัลเพือ่ สนบั สนุนการบริหารจัดการ
3.5 การกำกบั นิเทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการดำเนินงานของสถานศกึ ษา
3.6 การปฏบิ ัตหิ นา้ ทขี่ องคณะกรรมการสถานศกึ ษาที่เป็นไปตามบทบาททีก่ ำหนด
3.7 การสง่ เสรมิ สนับสนุนภาคเี ครอื ขา่ ยใหม้ สี ว่ นร่วมในการจัดการศกึ ษา
3.8 การสง่ เสริม สนับสนุนการสรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรู้
3.9 การวจิ ัยเพ่ือการบรหิ ารจดั การศกึ ษาสถานศกึ ษา

หมายเหตุ มาตรฐานท่ี 3 คณุ ภาพการบรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษา สามารถใช้ร่วมกนั ไดท้ งั้ มาตรฐานการศึกษา
นอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มาตรฐานการศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง และมาตรฐานการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

121

122

123

124

125

126

127

128

129

130

131

132

คณะทำงาน

ทป่ี รกึ ษา ****************
1. นางมุตตา กาญจนอักษร
2. ดร.สมศกั ดิ์ นวลแก้ว ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอเวยี งสระ
3. นางสาวเสาวนยี ์ ศริ ินทรางกรู ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษา
3. นางเพญ็ ศรี นาคพันธ์ บรรณารักษ์ชำนาญการพิเศษ
4. นางสาววลพี ร แกว้ สุก ครู ค.ศ.1
5. นางเอมอร เทพประดษิ ฐ ครผู ชู้ ว่ ย
นักวิชาการศกึ ษา สำนกั งาน กศน.จ.สรุ าษฎรธ์ านี

คณะทำงาน บรรณารกั ษช์ ำนาญการพเิ ศษ
1. นางสาวเสาวนีย์ ศริ ินทรางกูร ครู ค.ศ.1
2. นางเพญ็ ศรี นาคพันธ์ ครผู ชู้ ่วย
3. นางสาววลพี ร แก้วสกุ พนกั งานพิมพ์ดีด2
4. นายธวัช ชูทัพ ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน
5. นายบญุ ญนนั ท์ อกั ษร ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน
6. นางสุภาวดี เจรญิ ผล ครู กศน.ตำบล
7. นางปภญิ ญฎุ า นุราช ครู กศน.ตำบล
8. นางรชั นี วงศ์สรุ ิยากาศ ครู กศน.ตำบล
9. นายสายันต์ เพชรสงค์ ครู กศน.ตำบล
10. นางอ้อยอไุ ร ชมุ บัวจนั ทร์ ครู กศน.ตำบล
11. นางสาวจารุณี สังข์เลอ่ื น ครู กศน.ตำบล
12. นางสาวกรกนก ศรีน้อย ครู กศน.ตำบล
13. นางสาวสุภาวดี วจิ ิตรรุ่งโรจน์ ครู กศน.ตำบล
14. นายอาวธุ ชมุ ชอบ ครูผู้สอนคนพิการ
15. นายสรรเสริญ ภานพบ ครูผสู้ อนคนพิการ
16. นางสาวสุนิสา คงสทิ ธิ์ ครูผสู้ อนคนพกิ าร
17. นางหรรษา โพธเิ์ พชร ครูผู้สอนคนพิการ
18. นางสาวชลิดา ศรพิชยั ครูผู้สอนคนพิการ
19. นางสาวอลิวนั จังวัฒนกุล ครูผสู้ อนคนพิการ
20. นางสาวปทมุ มาศ เอียดช่วย

133

21. นางนงลกั ษณ์ มคั ราช ครูผสู้ อนคนพิการ
22. นางสาวกลั ชณา ทศิ ราษฎร์ ครผู ูส้ อนคนพกิ าร

รา่ งสำเนาหนงั สือ/ตรวจทาน/พมิ พ์ ครู ค.ศ.1
1. นางเพญ็ ศรี นาคพนั ธ์ ครูผู้ชว่ ย
2. นางสาววลีพร แก้วสุก ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น
3. นายบญุ ญนันท์ อกั ษร ครู กศน.ตำบล
4. นางออ้ ยอไุ ร ชมุ บัวจนั ทร์ ครู กศน.ตำบล
5. นางสาวจารุณี สังขเ์ ลือ่ น


Click to View FlipBook Version