The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผน-กระบวนการจัดทำบัญชี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นางนภลดา อินภูษา, 2021-09-19 07:36:27

แผน-กระบวนการจัดทำบัญชี

แผน-กระบวนการจัดทำบัญชี

แผนการจัดการเรยี นรู้มุ่งเนน้ สมรรถนะอาชพี
และบรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

วชิ ากระบวนการจัดทาบญั ชี รหสั วิชา 2201-2008
หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวิชาชี พุทธศักราช 2556

จดั ทาโดย
นางนภลดา อนิ ภษู า

แผนกวิชาการบัญชี
วทิ ยาลยั เทคนิคหนองบวั ลาภู
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

แผนการจัดการเรยี นรู้มุ่งเนน้ สมรรถนะอาชพี
และบรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

วชิ ากระบวนการจัดทาบญั ชี รหสั วิชา 2201-2008
หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวิชาชี พุทธศักราช 2556

จดั ทาโดย
นางนภลดา อนิ ภษู า

แผนกวิชาการบัญชี
วทิ ยาลยั เทคนิคหนองบวั ลาภู
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

2

รหสั 2201-2008 3(5) วิชา กระบวนการจดั ทาบญั ชี
ช้นั ประกาศนียบตั รวชิ าชพี หมวดวชิ าชพี /สาขางานบญั ชี

พฤติกรรม พทุ ธิพิสยั (40%)

ชื่อหน่ วย ควำม ้รู
ควำมเ ้ขำใจ
กำรนำไปใ ้ช
กำร ิวเครำะห์
กำรสังเครำะห์
กำรประเ ิมน ่คำ
ิจต ิพสัย (30%)
ทักษะ ิพสัย (30%)
รวม
ลำดับควำมสำคัญ
จำนวนชั ่วโมง

1. รปู แบบธุรกจิ 0.5 0.5 0.5 - - - 2 2 5.5 6 6

2. วงจรปฏบิ ตั งิ านบญั ชี 0.5 0.5 0.5 0.5 - - 3 3 8 4 6

3. การจดทะเบยี นพาณิชย์ 0.5 0.5 0.5 0.5 - - 2 2 6 5 6

4. การจดทะเบยี นหา้ งหนุ้ ส่วน 0.5 0.5 0.5 0.5 - - 2 2 6 5 6

5. การจดทะเบยี นบรษิ ทั จากดั 0.5 0.5 0.5 0.5 - - 2 2 6 5 6

6. เอกสารและการจดั ประเภทเอกสารท่ี 1 1 1 1 - - 22 8 4 6
ใชใ้ นการบนั ทกึ บญั ชี

7. การวเิ คราะหร์ ายการคา้ จากเอกสาร 1 1 1.5 1 - - 3 3 10.5 3 12

8. การจดั ทางบการเงนิ ตามกฎหมาย 1 1 1.5 1 0.5 0.5 3 3 11.5 2 12
บญั ชี

9. การจดั ทาบญั ชขี องกจิ การประเภท 1 1 1.5 1 0.5 0.5 4 4 13.5 1 12
ต่างๆ

10. การยน่ื แบบงบการเงนิ ประจาปีต่อ

กรมพฒั นาธรุ กจิ การคา้ กระทรวง 1 1 1.5 1 0.5 0.5 4 4 13.5 1 12

พาณิชย์

11. การย่นื แบบแสดงรายการเสยี ภาษี

ประเภทต่างๆ ต่อกรมสรรพากร 1 1 1.5 1 0.5 0.5 3 3 11.5 2 12

กระทรวงการคลงั

สอบกลำงภำค 6

สอบปลำยภำค 6

รวม 8.5 8.5 11 8 2 2 30 30 100 108

ลำดบั ควำมสำคญั 44 3 56611

หมำยเหตุ การสอบปลายภาคเรยี นสาหรบั รายวชิ าน้อี าจจะมหี รอื ไมก่ ไ็ ดข้ น้ึ อยกู่ บั อาจารยผ์ สู้ อน

3

รหสั 2201-2008 3(5) วิชา กระบวนการจดั ทาบญั ชี

3 หน่วยกิต (5 ชวั ่ โมง) เวลาเรยี นตอ่ ภาค 90 ชวั ่ โมง

รายวิชาตามหลกั สูตร สมรรถนะรายวชิ า* ชวั ่ โมง
จดุ ประสงคร์ ำยวิชำ
1. ประมวลความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับเอกสารการ ☺ สมรรถนะหลกั 108

ดาเนนิ งาน หลกั การและกระบวนการปฏิบตั งิ านบญั ชี 99 วเิ คราะหแ์ ละปฏบิ ตั งิ านตาม
ของกจิ การในประเภทธรุ กจิ บรกิ าร ซ้อื ขายสนิ คา้ และ กระบวนการบญั ชแี ละวชิ าชพี บญั ชขี อง
อุตสาหกรรม ทงั้ ในรปู แบบของกจิ การเจา้ ของคนเดยี ว ธุรกจิ ตามหลกั การบญั ชที ร่ี บั รองทวั่ ไป
หา้ งหนุ้ สว่ น และบรษิ ทั จากดั ☺สมรรถนะย่อย
2. มที ักษะปฏิบัติงานบัญชีตามหลกั การบัญชีท่รี บั รอง 99.1 ศกึ ษาและดาเนินการเกย่ี วกบั
ทวั่ ไป พรอ้ มสาหรบั การปฏบิ ตั งิ านในวชิ าชพี บญั ชี
3. มีกิจนิสยั ความมีวินัย ความเป็ นระเบียบ ละเอียด เอกสารบญั ชแี ละการปฏบิ ตั งิ านบญั ชขี อง
รอบคอบ ความอดทน รบั ผดิ ชอบในการปฏบิ ตั ิงาน มี ธรุ กจิ บรกิ าร ซอ้ื ขายสนิ คา้ และ
เจตคตทิ ด่ี ตี ่อวชิ าชพี บญั ชแี ละมจี รรยาบรรณในวชิ าชพี อตุ สาหกรรม ในรูปแบบเจา้ ของคนเดยี ว
หา้ งหนุ้ สว่ นและบรษิ ทั จากดั ตามหลกั การ
มำตรฐำนรำยวิชำ บญั ชที ร่ี บั รองทวั่ ไป และการปฏบิ ตั งิ านใน
วชิ าชพี บญั ชี
1. เขา้ ใจหลกั การวธิ กี ารเกย่ี วกบั วงจรปฏบิ ตั งิ านบญั ชแี ละ
การจดั การเกย่ี วกบั เอกสารทางดา้ นบญั ชขี องกจิ การ รวม
แต่ละประเภท

2. จดั ทาบญั ชไี ดเ้ หมาะสมตามประเภทของธรุ กจิ
3. จดั ทารายงานทางการเงนิ ตามกฎหมายบญั ชี

คำอธิบำยรำยวิชำ

ศึกษาและปฏิบัติเก่ยี วกบั รูปแบบของธุรกจิ วงจรการ
ปฏบิ ตั ิงานบญั ชี การจดทะเบยี นธุรกจิ การจดั การเอกสาร
ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การจดั ตงั้ และการประกอบธรุ กจิ

ศกึ ษาและปฏิบตั เิ กย่ี วกบั เอกสาร และการจดั ประเภท
เอกสารท่ีใช้ในการบนั ทึกบัญชี การวิเคราะห์รายการค้า
จากเอกสาร การจดั ทาบญั ชีของกจิ การประเภทต่างๆ โดย
ทาเป็นกรณีตวั อยา่ ง การจดั ทางบการเงนิ ตามกฎหมายบญั ชี
การย่ืนแบบแสดงรายการเสียภาษีประเภทต่างๆ ต่อ
กรมสรรพากร การย่นื แบบงบการเงนิ ประจาปีต่อกระทรวง
พาณชิ ย์

**สมรรถนะรายวชิ าน้ี เป็นเพยี งแนวทางเพอ่ื ใชใ้ นการประเมนิ คณุ ภาพผเู้ รยี นเท่านนั้ สามารถเปลย่ี นแปลงได้

4

กำหนดกำรสอนที่บูรณำกำรคุณธรรม จริยธรรม

ค่ำนยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

วิชำ รหสั 2201-2008 วิชำกระบวนกำรจัดทำบญั ชี 3 (5)

คณุ ธรรม จริยธรรม

หน่วย ชอื่ หน่วย/สำระสำคญั สปั ดำห์ ชวั่ โมง จดุ ประสงคก์ ำรเรยี นรู้ ค่ำนิยม และ
ที่ ท่ี ที่ คณุ ลกั ษณะ

อนั พึงประสงค์

1 รปู แบบธรุ กิจ 1 1-6 1. อธบิ ายความหมายของรปู แบบ

1. ความหมายของรูปแบบธรุ กจิ ธรุ กจิ ได้
2. กจิ การเจา้ ของคนเดยี ว
3. กจิ การหา้ งหนุ้ สว่ น 2. อธบิ ายกจิ การเจา้ ของคนเดยี ว
4. กจิ การบรษิ ทั จากดั
5. กจิ การบรษิ ทั มหาชนจากดั ได้
6. ประเภทของธรุ กจิ
7. ธรุ กจิ แบบพอเพยี ง 3. อธบิ ายกจิ การหา้ งหนุ้ สว่ นได้

4. อธบิ ายกจิ การบรษิ ทั จากดั ได้

5. อธบิ ายกจิ การบรษิ ทั มหาชน

จากดั ได้

6. บอกประเภทของธรุ กจิ ได้

7. อธบิ ายธรุ กจิ แบบพอเพยี งได้

2 วงจรปฏิบตั ิงำนบญั ชี 2 7-12 1. อธบิ ายขนั้ ตอนงานบญั ชตี าม

1. วงจรบญั ชี ขนั้ ตอนของวงจรบญั ชไี ด้ ความมมี นุษยสมั พนั ธ์
2. การวเิ คราะหร์ ายการคา้ 2. วเิ คราะหร์ ายการคา้ และบนั ทกึ ความมวี นิ ัย
3. การผ่านรายการจากสมดุ ความรบั ผดิ ชอบ
รายการในสมดุ รายวนั ขนั้ ตน้ ได้ ความเช่อื มนั่ ในตนเอง
รายวนั ทวั่ ไป 3. บนั ทกึ การผา่ นรายการจากสมดุ ความสนใจใฝ่ รู้
4. งบทดลอง ความรกั สามคั คี
5. กระดาษทาการ รายวนั ทวั่ ไป ไปบญั ชแี ยก ความกตญั ญกู ตเวที
6. การปรบั ปรุงรายการในสมดุ ประเภทท่เี กย่ี วขอ้ งได้
4. จดั ทางบทดลองได้
รายวนั ทวั่ ไปและบนั ทกึ รายการ
ในสมดุ รายวนั ขนั้ ตน้ 5. จดั ทากระดาษทาการได้
7. การปิดบญั ชี
8. งบทดลองหลงั การปิดบญั ชไี ป 6. ปรบั ปรงุ รายการในสมดุ รายวนั
บญั ชแี ยกประเภททเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
9. งบการเงนิ ทวั่ ไปได้
10. การกลบั รายการทางการบญั ชี
7. ปิดบญั ชไี ด้

8. จดั ทางบทดลองหลงั การปิด

บญั ชไี ด้

9. จดั ทางบการเงนิ ได้

10. บนั ทกึ การกลบั รายการทางการ

บญั ชไี ด้

5

หน่ว ชอื่ หน่วย/สำระสำคญั สปั ดำห์ ชวั่ โมง จดุ ประสงคก์ ำรเรียนรู้ คณุ ธรรม จริยธรรม
ย ที่ ท่ี ค่ำนิยม และ
ที่ คณุ ลกั ษณะ
อนั พึงประสงค์

3 กำรจดทะเบยี นพำณิชย์ 3 13-18 1. บอกหน้ าท่ีของผู้จดท ะเบียน

1. ผมู้ หี น้าท่จี ดทะเบยี นพาณิชย์ พาณิชยไ์ ด้

2. ผปู้ ระกอบการท่ตี อ้ งจดทะเบยี น 2. บอกกิจการท่ีต้องจดทะเบียน
พาณิชย์ พาณิชยไ์ ด้

3. พาณิชยกจิ ทไ่ี ดร้ บั การยกเวน้ ไม่ 3. บอกกิจการท่ไี ดร้ บั การยกเวน้ ไม่
ตอ้ งจดทะเบยี นพาณิชย์ ตอ้ งจดทะเบยี นพาณิชยไ์ ด้

4. ประเภทการจดทะเบยี น 4. บอกประเภทการจดทะเบยี นและ
5. สถานท่จี ดทะเบยี นและกาหนด จดทะเบยี นได้

ระยะเวลาการจดทะเบยี น 5. บอกสถานทจ่ี ดทะเบยี นและ
พาณิชย์ กาหนดระยะเวลาการจดทะเบยี น

6. บทกาหนดโทษ และ พาณิชยไ์ ด้
6. บอกบทกาหนดโทษ และ
คา่ ธรรมเนียมการจดทะเบยี น
คา่ ธรรมเนียมการจดทะเบยี น
พาณิชย์ พาณิชยไ์ ด้
7. การจดทะเบยี นผปู้ ระกอบการ
7. อธบิ ายการจดทะเบยี น
พาณิชยอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์ ผปู้ ระกอบการพาณิชย์

4 กำรจดทะเบยี นห้ำงห้นุ ส่วน 4 อเิ ลก็ ทรอนิกสไ์ ด้ ความมมี นุษยสมั พนั ธ์
ความมวี นิ ยั
1. การจดทะเบยี นจดั ตงั้ หา้ งหนุ้ สว่ น 19-24 ความรบั ผดิ ชอบ
สามญั นิตบิ ุคคลและหา้ งหนุ้ สว่ น 1. จดทะเบยี นจดั ตงั้ หา้ งหนุ้ สว่ น ความเช่อื มนั่ ในตนเอง
จากดั สามญั นิตบิ คุ คลและหา้ งหนุ้ สว่ น ความสนใจใฝ่ รู้
จากดั ได้ ความรกั สามคั คี
2. การจดทะเบยี นแกไ้ ข 2. จดทะเบยี นแกไ้ ขเปลย่ี นแปลง ความกตญั ญกู ตเวที
เปลย่ี นแปลงหา้ งหนุ้ สว่ น หา้ งหนุ้ สว่ นได้
3. แปรสภาพหนุ้ สว่ นเป็นบรษิ ทั
3. การแปรสภาพหนุ้ สว่ นเป็น
จากดั ได้
บรษิ ทั จากดั 4. จดทะเบยี นเลกิ หา้ งหนุ้ สว่ นได้
4. การเลกิ หา้ งหนุ้ สว่ น
5. ชาระบญั ชแี ละจดทะเบยี นเสรจ็
5. การชาระบญั ชแี ละการจด การชาระบญั ชขี องหา้ งหนุ้ สว่ น
ทะเบยี นเสรจ็ การชาระบญั ชขี อง
ได้
หา้ งหนุ้ สว่ น

5 กำรจดทะเบยี นบริษทั จำกดั 5 25-30 1. อธบิ ายและจดั ตงั้ บรษิ ทั จากดั ได้

1. การจดั ตงั้ บรษิ ทั จากดั 2. อธบิ ายและจดทะเบยี นควบบรษิ ทั
จากดั ได้
2. การจดทะเบยี นควบบรษิ ทั จากดั
3. อธบิ ายและจดทะเบยี นเพม่ิ ทนุ
3. การจดทะเบยี นเพม่ิ ทุนบรษิ ทั
จากดั บรษิ ทั จากดั ได้
4. อธบิ ายและจดทะเบยี นลดทนุ
4. การจดทะเบยี นลดทนุ บรษิ ทั บรษิ ทั จากดั ได้
จากดั 5. อธบิ ายและจดทะเบยี นเลกิ และ
5. การจดทะเบยี นเลกิ และเสรจ็ การ
เสรจ็ การชาระบญั ชบี รษิ ทั จากดั ได้
ชาระบญั ชบี รษิ ทั จากดั 6. อธบิ ายและจดทะเบยี นจดั ตงั้ บรษิ ทั
6. การจดท ะเบียน จัดตัง้ บริษัท
มหาชนจากดั ได้
มหาชนจากดั

6

คณุ ธรรม จริยธรรม

หน่วย ชอื่ หน่วย/สำระสำคญั สปั ดำห์ ชวั่ โมง จดุ ประสงคก์ ำรเรยี นรู้ ค่ำนิยม และ
ท่ี ที่ ที่ คณุ ลกั ษณะ

อนั พงึ ประสงค์

6 เอก ส ำรแ ล ะกำรจัด ป ระเภ ท 6 31-36

เอกสำรที่ใชใ้ นกำรบนั ทึกบญั ชี 1. อธบิ ายและวเิ คราะห์เอกสาร

1. เอกสารประกอบการบนั ทกึ ประกอบการบนั ทกึ บญั ชไี ด้

บญั ชี 2. อธบิ ายและแยกประเภทของ
เอกสารทใ่ี ชใ้ นการบนั ทกึ บญั ชี
2. ประเภทของเอกสารท่ใี ชใ้ นการ
ได้
บนั ทกึ บญั ชี
3. บอกชนิดของเอกสารทางบญั ชี
3. ชนิดของเอกสารทางบญั ชที ใ่ี ช้
ท่ใี ชใ้ นธรุ กจิ ได้
ในธรุ กจิ
4. อธบิ ายและจดั เกบ็ เอกสาร
4. การจดั เกบ็ เอกสารประกอบการ
ประกอบการบนั ทกึ บญั ชไี ด้
บนั ทกึ บญั ชี

7 กำรวิเครำะหร์ ำยกำรค้ำจำกเอกสำร 7 37-42

1. เอกสารท่ใี ชใ้ นการบนั ทกึ บญั ชี

2. การนาเอกสารมาบนั ทกึ บญั ชี 1. อธบิ ายและวเิ คราะหเ์ อกสารท่ี

ของกจิ การ ใชใ้ นการบนั ทกึ บญั ชไี ด้

1. เอกสารท่ใี ชใ้ นการบนั ทกึ บญั ชี 8 43-48 2. วเิ คราะหแ์ ละนาเอกสารมา ความมมี นุษยสมั พนั ธ์
(ตอ่ ) บนั ทกึ บญั ชขี องกจิ การได้ ความมวี นิ ัย
ความรบั ผดิ ชอบ
2. การนาเอกสารมาบันทึกบญั ชี
ของกจิ การ (ต่อ) ความเชอ่ื มนั่ ในตนเอง

- ทบทวน/สอบกลำงภำคเรียน 9 49-54 ความสนใจใฝ่ รู้
ความรกั สามคั คี

8 กำรจดั ทำงบกำรเงินตำม 10 55-60 1. อธบิ ายงบการเงนิ ฉบบั สมบูรณ์ ความกตญั ญกู ตเวที

กฎหมำย ตามมาตรฐานการบญั ชี ฉบบั ท่ี

1. งบการเงนิ ฉบบั สมบรู ณ์ 1 (2552) ได้

2. แนวทางปฏบิ ตั เิ ก่ยี วกบั การ 2. บอกแนวทางปฏบิ ตั เิ ก่ยี วกบั การ

จดั ทาบญั ชแี ละงบการเงนิ จดั ทาบญั ชแี ละงบการเงนิ ได้

3. การกาหนดรายการยอ่ ทต่ี อ้ งมี 11 61-66 3. จดั ทางบการเงนิ ตามกาหนด
รายการยอ่ ทต่ี อ้ งมใี นงบการเงนิ
ในงบการเงนิ
ของกรมพฒั นาธรุ กจิ การคา้ ได้

9 กำรจดั ทำบญั ชขี องกิจกำร 12 67-72

ประเภทต่ำงๆ 1. อธบิ ายและจดั ทาบญั ชสี าหรบั

1. การจดั ทาบญั ชสี าหรบั กจิ การ กจิ การใหบ้ รกิ ารได้

ใหบ้ รกิ าร 2. อธบิ ายและจดั ทาบญั ชสี าหรบั

2. การจดั ทาบญั ชสี าหรบั กจิ การซอ้ื กจิ การซ้อื ขายสนิ คา้ ได้

ขายสนิ คา้ 3. อธบิ ายและจดั ทาบญั ชสี าหรบั

3. การจดั ทาบญั ชสี าหรบั กจิ การ 13 73-78 กจิ การอตุ สาหกรรมได้

อุตสาหกรรม

7

คณุ ธรรม จริยธรรม

หน่วย ช่ือหน่วย/สำระสำคญั สปั ดำห์ ชวั่ โมง จดุ ประสงคก์ ำรเรยี นรู้ คำ่ นิยม และ
ที่ ท่ี ท่ี คณุ ลกั ษณะ

อนั พึงประสงค์

10 กำรย่ืนแบบงบกำรเงินประจำปี 14 79-84

ต่อกรมพฒั นำธรุ กิจกำรคำ้ 1. บอกหน้าทข่ี องผมู้ หี น้าทจ่ี ดั ทา

กระทรวงพำณิ ชย์ บญั ชไี ด้

1. ผมู้ หี น้าทจ่ี ดั ทาบญั ชี 2. จดั ทาเอกสารและจดั สง่ เอกสาร

2. เอกสารทต่ี อ้ งจดั สง่ กรมพฒั นา ต่อกรมพฒั นาธรุ กจิ การคา้ ได้

ธรุ กจิ การคา้ 3. บอกหน้าทแ่ี ละคณุ สมบตั ขิ อง

3. ผทู้ าบญั ชี ผทู้ าบญั ชไี ด้

4. วธิ ยี น่ื งบการเงนิ ต่อกรมพฒั นา 15 85-90 4. อธบิ ายและยน่ื งบการเงนิ ต่อ
กรมพฒั นาธรุ กจิ การคา้ ได้
ธรุ กจิ การคา้

11 กำรยื่นแบบแสดงรำยกำรเสยี 16 91-96

ภำษีประเภทต่ำงๆ ต่อ 1. อธบิ ายการยน่ื เสยี ภาษเี งนิ ได้

กรมสรรพำกรกระทรวงกำรคลงั นิตบิ ุคคล (ภ.ง.ด.50) ได้

1. คาแนะนาในการยน่ื เสยี ภาษเี งนิ 2. จดั เตรยี มเอกสารประกอบการ ความมมี นุษยสมั พนั ธ์
ยน่ื แบบแสดงรายการภาษเี งนิ ความมวี นิ ัย
ไดน้ ิตบิ คุ คล (ภ.ง.ด.50) ไดน้ ิตบิ ุคคลได้ ความรบั ผดิ ชอบ
ความเช่อื มนั่ ในตนเอง
2. เอกสารประกอบการยน่ื แบบ 3. อธบิ ายแบบแจง้ ข้อความของ ความสนใจใฝ่ รู้
แสดงรายการภาษีเงนิ ไดน้ ิติ กรรมการ หรือผู้เป็นหุ้นส่วน ความรกั สามคั คี
บคุ คล หรือผจู้ ดั การได้ ความกตญั ญูกตเวที

3. แบบแจง้ ขอ้ ความของกรรมการ 4. กรอกและยน่ื แบบแสดงรายการ

หรอื ผเู้ ป็นหนุ้ สว่ น หรอื ผจู้ ดั การ

4. แบบแสดงรายการภาษเี งนิ ได้ ภาษเี งนิ ไดน้ ิตบิ ุคคล (ภ.ง.ด.

นิตบิ ุคคล (ภ.ง.ด.50) 50) ได้

5. การยน่ื แบบเสยี ภาษเี งนิ ไดน้ ิติ 17 97-102 5. กรอกและยน่ื แบบเสยี ภาษเี งนิ ได้

บุคคลครง่ึ ปี (ภ.ง.ด.51) นิตบิ คุ คลครง่ึ ปี (ภ.ง.ด.51) ได้

- สถานศกึ ษาบางแห่งอาจจะไม่ได้

* จดั สอบปลายภาคเรยี น

- แต่จะนาเสนอรายงานหน้าชนั้ เรยี น

- *ทบทวน/สอบปลำยภำค 18 103-108 เก่ยี วกบั การยน่ื แบบแสดงรายการ
เสยี ภาษตี อ่ กรมพฒั นาธรุ กจิ การคา้

และกรมสรรพากร หรอื

- ใชเ้ ป็นสว่ นหน่ึงของการฝึกงานใน

ภาคปฏบิ ตั กิ ไ็ ด้

หมำยเหตุ กาหนดการสอนท่ีบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์น้ี จดั ทาขน้ึ เพ่ือเป็น

แนวทางให้กบั ครูผูส้ อนในการจดั การเรยี นการสอนเท่านัน้ สามารถเปลย่ี นแปลงได้ขน้ึ อยูก่ บั ผู้สอน และสถานศกึ ษาท่จี ะนาไป
ประยกุ ต์ใชเ้ ป็นสาคญั

ผ้เู ขียนแผนจดั กำรเรยี นรู้

ข้อเสนอแนะ: ใช้เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมกำรฝึ กปฏิบตั ิงำนบญั ชีได้ เพ่ือฝึ กทกั ษะประสบกำรณ์จริง

8

กำรวดั ผลและประเมินผล
วิชำ กระบวนกำรจดั ทำบญั ชี

กำรวดั ผล 20%
20%
1. สอบกลางภาค (ถา้ ไมไ่ ดจ้ ดั สอบ ใหน้ าขอ้ น้ไี ปรวมกบั ขอ้ 5.) 10%
2. สอบปลายภาค (ถา้ ไม่ไดจ้ ดั สอบ ใหน้ าขอ้ น้ไี ปรวมกบั ขอ้ 5.) 10%
3. บูรณาการคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 20%
4. การเขา้ ชนั้ เรยี น 20%
5. กจิ กรรมการฝึกปฏบิ ตั ใิ นหรอื นอกชนั้ เรยี น (60% กรณไี ม่ไดจ้ ดั สอบ)
6. ใบงาน/แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้

หมำยเหตุ ผเู้ รยี นต้องเข้าเรยี นไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 80 ของเวลาเรยี นทงั้ หมด แต่การแบ่งคะแนนการวดั ผลน้ี

สามารถเปลย่ี นแปลงไดข้ น้ึ อยกู่ บั ครเู ป็นสาคญั และเน่อื งจากเป็นวชิ าทเ่ี น้นการนาทกั ษะความรไู้ ปประยุกต์ใชใ้ น
ชวี ติ ประจาวนั โดยทวั่ ไป การวดั ผลสามารถจดั เขา้ ไปในเร่อื งคุณธรรม จรยิ ธรรมได้ เพ่อื ใหเ้ หน็ เป็นรูปธรรมท่ี
ชดั เจน จึงจะขอแยกเร่อื งการวดั ผลด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ในรปู เคร่อื งมอื วดั ผลเป็นแบบประเมนิ คุณธรรม
จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของผู้สาเร็จการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการ
อาชวี ศกึ ษา โดยทงั้ ครแู ละผู้เรยี น จะประเมนิ คุณลกั ษณะจากพฤติกรรมบ่งช้ที ก่ี าหนดไว้ และต้องทาควบค่กู บั
กระบวนการทากจิ กรรมการเรยี นการสอน ซ่งึ อาจอย่ใู นรูปของกลุ่มผูเ้ รยี นหรอื เป็นรายบุคคล โดยผู้เรยี นอาจ
สบั เปล่ยี นกนั เป็นผู้ประเมินร่วมกบั ครู เพ่ือความเท่ียงตรงของการประเมิน ดงั นัน้ แบบประเมินคุณธรรม
จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคท์ งั้ ของครู และผเู้ รยี นจงึ เป็นชุดเดยี วกนั และเพอ่ื ดพู ฒั นาการ
ของผเู้ รยี น จะใชแ้ บบประเมนิ ชดุ น้เี ป็นเครอ่ื งมอื ประเมนิ

หมำยเหตุข้ำงต้นอาจปรบั เปล่ยี นได้ตามความเหมาะสม ในกรณีไม่ได้จดั สอบกลางภาคหรอื ปลาย

ภาคเรยี น

กำรประเมินผล

กาหนดคา่ ระดบั คะแนน ตามเกณฑด์ งั น้ี

คะแนนรอ้ ยละ 80-100 ไดเ้ กรด 4
ไดเ้ กรด 3.5
คะแนนรอ้ ยละ 75-79 ไดเ้ กรด 3
ไดเ้ กรด 2.5
คะแนนรอ้ ยละ 70-74 ไดเ้ กรด 2
ไดเ้ กรด 1.5
คะแนนรอ้ ยละ 65-69 ไดเ้ กรด 1
ไดเ้ กรด 0
คะแนนรอ้ ยละ 60-64

คะแนนรอ้ ยละ 55-59

คะแนนรอ้ ยละ 50-54

คะแนนรอ้ ยละ 0-49

หนงั สอื ประกอบกำรเรียน
มนสั ชยั กรี ตผิ จญ และคณะ. กระบวนการจดั ทาบญั ชี (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) กรงุ เทพฯ: เอมพนั ธ,์ 2554.

9

แผนการจดั การเรยี นร้แู บบบูรณาการที่ 1 หน่วยที่ 1

รหสั วิชา 2201-2008 กระบวนการจดั ทาบญั ชี 3 (5) สอนครงั้ ท่ี 1 (1-5)
จานวน 5 ชม.
ช่ือหน่วย รปู แบบธรุ กิจ

สาระสาคญั

รูปแบบการประกอบธุรกจิ สามารถดาเนินการได้หลายรูปแบบ ข้นึ อยู่กบั ผู้ประกอบการว่าจะเลอื ก
รปู แบบใดจงึ จะเหมาะสมกบั ตนเองมากทส่ี ุด เน่ืองจากแต่ละบุคคลอาจจะมที กั ษะ ความรคู้ วามชานาญแตกต่าง
กนั ไม่วา่ จะเป็นธรุ กจิ การผลติ ธุรกจิ การคา้ สง่ ธรุ กจิ การคา้ ปลกี และธุรกจิ การบรกิ าร โดยคานึงถงึ ผลประโยชน์ท่ี
จะไดร้ บั รปู แบบการดาเนินธรุ กจิ แบ่งตามลกั ษณะการเป็นเจา้ ของได้ 4 ประเภท ไดแ้ ก่ กจิ การเจา้ ของคนเดยี ว
หา้ งหนุ้ สว่ น บรษิ ทั จากดั และบรษิ ทั มหาชนจากดั

ประเทศไทยตอ้ งเผชญิ กบั ปัญหาท่เี กดิ จากการเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกจิ สงั คมและสง่ิ แวดลอ้ มอย่าง
ต่อเน่ือง รฐั บาลไดเ้ ลง็ เหน็ ความสาคญั ของการดาเนินธุรกจิ จงึ ได้มกี ารส่งเสรมิ ด้านต่างๆ อย่างต่อเน่ือง เพ่อื
กาหนดแนวทางในการรองรบั กบั การเปล่ยี นแปลงทจ่ี ะเกดิ ข้นึ ในอนาคต โดยใชศ้ กั ยภาพและขอ้ ไดเ้ ปรยี บทม่ี อี ยู่
เป็นเคร่อื งมอื และสอดคลอ้ งกบั แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาตบิ างฉบบั ซง่ึ ไดใ้ ชป้ รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
เป็นแนวคดิ ในการพฒั นา ใชน้ โยบายของรฐั บาลท่ใี ห้ความสาคญั กบั การยกระดบั ผลติ ภาพและประสทิ ธภิ าพและ
การเสรมิ สรา้ งโครงสรา้ งพน้ื ฐานทางปัญญาของธุรกจิ ไทย และการพฒั นาสสู่ งั คมและเศรษฐกจิ ฐานความรรู้ วมทงั้
กลยุทธ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพ่ือให้ได้แผนในลักษณะของการช้ีนาแนวทางและมาตรการท่ี
ครอบคลุมธรุ กจิ ในทกุ ระดบั

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1. อธบิ ายความหมายของรปู แบบธุรกจิ ได้

2. อธบิ ายกจิ การเจา้ ของคนเดยี วได้

3. อธบิ ายกจิ การหา้ งหนุ้ ส่วนได้

4. อธบิ ายกจิ การบรษิ ทั จากดั ได้

5. อธบิ ายกจิ การบรษิ ทั มหาชนจากดั ได้

6. บอกประเภทของธุรกจิ ได้

7. อธบิ ายธรุ กจิ แบบพอเพยี งได้

8. มกี ารพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของผูส้ าเรจ็ การศกึ ษา

สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทค่ี รสู ามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเรอ่ื ง

8.1 ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ 8.2 ความมวี นิ ยั

8.3 ความรบั ผดิ ชอบ 8.4 ความซ่อื สตั ยส์ ุจรติ

8.5 ความเชอ่ื มนั่ ในตนเอง 8.6 การประหยดั

8.7 ความสนใจใฝ่รู้ 8.8 การละเวน้ สง่ิ เสพตดิ และการพนนั

8.9 ความรกั สามคั คี 8.10 ความกตญั ญกู ตเวที

10

สมรรถนะหลกั
99. วิเคราะห์และปฏิบตั ิงานตามกระบวนการบญั ชแี ละวชิ าชพี บญั ชขี องธุรกจิ ตามหลกั การบัญชที ่ี

รบั รองทวั่ ไป

สมรรถนะย่อย
99.1 ศกึ ษาและดาเนินการเกย่ี วกบั เอกสารบญั ชแี ละการปฏบิ ตั งิ านบญั ชขี องธรุ กจิ บรกิ ารซอ้ื ขายสนิ คา้

และอุตสาหกรรม ในรปู แบบเจา้ ของคนเดยี ว หา้ งหนุ้ ส่วนและบรษิ ทั จากดั ตามหลกั การบญั ชที ร่ี บั รองทวั่ ไป และ
การปฏบิ ตั งิ านในวชิ าชพี บญั ชี

ตวั บ่งชี้
99.101 อธบิ ายหลกั การ วธิ กี ารเก่ยี วกบั วงจรปฏิบตั งิ านบญั ชแี ละการจดั การเก่ยี วกบั เอกสารบญั ชขี อง

กจิ การบรกิ าร ซอ้ื ขายสนิ คา้ และอุตสาหกรรม ในรูปแบบเจา้ ของคนเดยี ว หา้ งหุน้ ส่วน บรษิ ทั จากดั และบรษิ ัท
จากดั (มหาชน)

99.102 วเิ คราะห์รายการค้า บนั ทกึ บญั ชี จดั ทารายงานทางการเงนิ ตามกฎหมายบญั ชีได้เหมาะสมตาม
ประเภทของธรุ กจิ

99.103 จัดทางบการเงินตามกฎหมายบัญชี การย่นื แบบแสดงรายการเสียภาษีประเภทต่างๆ ต่อ
กรมสรรพากร และการย่นื แบบงบการเงนิ ประจาปีต่อกระทรวงพาณิชย์

เนื้อหาสาระ
1. ความหมายของรปู แบบธุรกจิ
2. กจิ การเจา้ ของคนเดยี ว
3. กจิ การหา้ งหนุ้ ส่วน
4. กจิ การบรษิ ทั จากดั
5. กจิ การบรษิ ทั มหาชนจากดั
6. ประเภทของธรุ กจิ
7. ธรุ กจิ แบบพอเพยี ง

กิจกรรมการเรียนรู้
ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรียน

1. การศกึ ษาวชิ ากระบวนการบญั ชี เป็นวชิ าท่ตี ้องใช้ทกั ษะความรู้ ความสามารถรวมทงั้ สตปิ ัญญา
ทางบญั ชีช่วยให้รู้จกั พฒั นาเพ่อื แก้ปัญหา ผู้เรยี นวชิ าน้ีนอกจากจะไดค้ วามรู้ท่ถี ูกต้องแล้ว ยงั สามารถนาไป
ประยุกตใ์ ชเ้ พ่อื เป็นเคร่อื งมอื ทส่ี าคญั ในการแกป้ ัญหาในชวี ติ ประจาวนั อกี ดว้ ย

2. ครูกล่าวถงึ วชิ าชพี บญั ชเี ป็นวชิ าชพี ทแ่ี ตกต่างจากวชิ าชพี อ่นื ๆ โดยเฉพาะเร่อื งความรบั ผดิ ชอบ
ของวชิ าชพี ซง่ึ อย่ใู นกรอบหลกั การประกอบวชิ าชพี ได้แก่ กรอบแนวทางการปฏิบตั ติ ามกฎหมายท่เี กย่ี วข้อง
รวมทงั้ จรรยาบรรณในวชิ าชพี โดยตอ้ งอาศยั ความรคู้ วามชานาญ และประสบการณ์การทางานจรงิ

3. ผเู้ รยี นเลา่ ประสบการณ์เรยี นบญั ชี หรอื ทางานดา้ นบญั ชที ผ่ี เู้ รยี นเคยศกึ ษามา

11

4. ครแู ละผู้เรยี นร่วมกนั อภปิ รายถึงธุรกจิ ต่างๆ โดยการยกตวั อย่างรูปแบบต่างๆ ของธุรกิจท่เี คย
ศกึ ษาบ้างแลว้ ซง่ึ ผเู้ รยี นสามารถทาความเขา้ ใจไดด้ แี ละตอบคาถามได้

ขนั้ สอน
5. ผู้เรยี นรบั ฟังคาช้ีแจงสงั เขปรายวชิ าบญั ชกี ระบวนการบัญชี และการวดั ประเมินผล ซกั ถามข้อ
ปัญหา รวมทงั้ แสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั การเรยี นวชิ าน้ี
6. ครอู ธบิ ายความหมายของรปู แบบธุรกจิ กจิ การเจา้ ของคนเดยี ว กจิ การหา้ งหุน้ ส่วน กจิ การบรษิ ทั
จากดั กจิ การบรษิ ทั มหาชนจากดั ประเภทของธุรกจิ และธุรกจิ แบบพอเพยี ง โดยใชส้ อ่ื แผ่นใสประกอบ

7. ครูและผเู้ รยี น แสดงความคดิ เหน็ ในการทาบญั ชคี รวั เรอื น ซง่ึ เป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการเรยี นรู้
การศกึ ษา การฝึกตน เพ่อื ใหเ้ กดิ การปฏบิ ตั พิ ฒั นาความรู้ ความคดิ และปฏบิ ตั ทิ ถ่ี ูกตอ้ ง ก่อใหเ้ กดิ ความเจรญิ ใน
อาชพี หรอื เศรษฐกจิ สงั คมและวฒั นธรรม ซง่ึ การทาบญั ชคี รวั เรอื นเป็นเร่อื งการบนั ทกึ รายรบั รายจ่ายประจาวนั /
เดอื น/ปี ว่ามรี ายรบั รายจ่ายจากอะไรบ้าง จานวนเท่าใด รายการใดจา่ ยน้อยจ่ายมาก จาเป็นน้อยจาเป็นมาก ก็
อาจลดลงหรอื เพม่ิ ข้นึ ตามความจาเป็น ถ้าทุกคนคดิ ได้กแ็ สดงว่าเป็นคนรู้จกั พฒั นาตนเอง มีเหตุมผี ล รู้จกั
พอประมาณ รกั ตนเอง รกั ครอบครวั รกั ชุมชน และรกั ประเทศชาตมิ ากขน้ึ จงึ เหน็ ได้ว่าการทาบญั ชคี รวั เรอื น คอื
วถิ แี ห่งการเรยี นรเู้ พอ่ื พฒั นาชวี ติ ตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

12

8. กจิ กรรมการเรยี นการสอนท่จี ดั เป็นไปตามลกั ษณะของ CIPPA Model คอื ผเู้ รยี นสรา้ งความรดู้ ว้ ย
ตนเอง โดยศกึ ษาค้นควา้ ข้อมูลทาความเข้าใจ คดิ วเิ คราะหแ์ ละสรุปเป็นข้อความรู้ ผเู้ รยี นได้แลกเปล่ยี นและ
เรยี นรขู้ อ้ มลู ความคดิ ประสบการณ์ซง่ึ กนั และกนั เน้นการมสี ่วนรว่ มในการเรยี นรไู้ ดม้ าก

9. ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรกู้ ระบวนการและมผี ลงานจากการเรยี นรตู้ ามกจิ กรรมการเรยี นการสอนต่อไปน้ี
9.1 แบ่งกลุ่มผู้เรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4-6 คน ให้ช่วยกนั อภิปรายเพ่ือวิเคราะห์และบอก

ประเภทของธรุ กจิ ขอ้ แตกต่างของธุรกจิ และขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ทิ างการบญั ชี
9.2 สมาชกิ แต่ละกล่มุ แบ่งกนั ศกึ ษาคน้ ควา้ ในหวั ขอ้ ทต่ี นเองรบั ผดิ ชอบ
9.3 ใหแ้ ต่ละกลุม่ สง่ ตวั แทนออกมานาเสนอผลงานทร่ี บั ผดิ ชอบ
9.4 รวบรวมผลงานสง่ ครผู สู้ อนเพอ่ื ประเมนิ ผล

10. ครใู หข้ อ้ เสนอแนะเกย่ี วกบั ประเภทของธุรกจิ ขอ้ แตกต่างของธุรกจิ และขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ทิ างการ
บญั ชี เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นนาไปปฏบิ ตั ไิ ดถ้ ูกตอ้ ง

11. ผเู้ รยี นเขยี นโครงสรา้ งรปู แบบการดาเนนิ ธุรกจิ ไดแ้ ก่
กจิ การเจา้ ของคนเดยี ว (Single Proprietorship)
กจิ การหา้ งหนุ้ ส่วน (Partnership)
บรษิ ทั จากดั (Limited Company)
บรษิ ทั มหาชนจากดั (Public limited company)

12. จงนาปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มาสรปุ สาระสาคญั ดงั น้ี
กรอบแนวคดิ
คณุ ลกั ษณะ
คานิยาม ความพอเพยี งจะตอ้ งประกอบดว้ ย 3 ห่วง 2 เงอ่ื นไข
การประเมินผล
ท่ี รายการประเมิน 4 3 2 1
1 ความร่วมมอื ในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
2 การยอมรบั ฟังความคดิ เหน็ ของผอู้ ่นื
3 สอ่ื ประกอบการนาเสนอ
4 เน้อื หาถกู ตอ้ งตรงตามรายวชิ า
5 ความสาเรจ็ ของผลงาน

ขนั้ สรปุ และการประยกุ ต์
13. การประกอบธุรกิจดาเนินการได้หลายรูปแบบ การตัดสินใจเลือกดาเนินธุรกิจในรูปแบบใดนัน้

ผปู้ ระกอบการต้องคานึงถึงองคป์ ระกอบทส่ี าคญั ดว้ ย เช่น ลกั ษณะกจิ การ เงนิ ทุน ความรู้ความสามารถในการ
ดาเนินธรุ กจิ เป็นตน้ เพอ่ื ใหธ้ รุ กจิ นนั้ ประสบผลสาเรจ็ นามาซง่ึ ผลประโยชน์และกาไรสงู สุด

14. ผเู้ รยี นวางแผนการนาบญั ชไี ปประยุกตใ์ ชก้ บั งานในธุรกจิ ทจ่ี าเป็นต้องใชท้ วั่ ไป
15. ทาแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ แบบทดสอบ และใบงาน

13

ส่อื และแหล่งการเรียนรู้
1. หนงั สอื เรยี น วชิ ากระบวนการจดั ทาบญั ชี ฉบบั ปรบั ปรงุ ของบรษิ ทั สานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์ จากดั
2. แผ่นภาพแสดงลกั ษณะธรุ กจิ ประเภทต่างๆ

หลกั ฐาน
1. บนั ทกึ การสอน
2. ใบแสดงผลการปฏบิ ตั งิ าน
3. แผนจดั การเรยี นรู้
4. ใบเชค็ ช่อื เขา้ หอ้ งเรยี น

การวดั ผลและการประเมินผล
วิธีวดั ผล

1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. ตรวจใบงาน
3. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี น แบบทดสอบ
4 ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกล่มุ
5 สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกล่มุ
6 การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

เคร่อื งมือวดั ผล
1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกล่มุ (โดยคร)ู
3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม (โดยผู้เรยี น)
4. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน แบบทดสอบ
5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
6. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ โดยครแู ละผู้เรยี น
รว่ มกนั ประเมนิ

เกณฑก์ ารประเมินผล
1. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ต้องไม่มชี ่องปรบั ปรงุ
2. เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกล่มุ คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป)
3. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุม่ คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป)
4. กจิ กรรมใบงาน เกณฑผ์ า่ น คอื 50%
5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบทดสอบมเี กณฑผ์ า่ น 50%
6 แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนข้นึ อย่กู บั การ
ประเมนิ ตามสภาพจรงิ

14

กิจกรรมเสนอแนะ

1. ผเู้ รยี นศกึ ษารูปแบบธุรกจิ จากบรษิ ทั หา้ งหนุ้ ส่วนอย่างใดอย่างหน่งึ เพ่อื สรา้ งประสบการณ์เรยี นรู้

ตามสภาพจรงิ

2. ทาใบงานและแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้

3. บนั ทกึ การรบั -จ่าย

ตวั อย่างแบบบนั ทกึ บญั ชรี ายรบั -รายจา่ ย

ว.ด.ป. รายรบั จานวนเงนิ ว.ด.ป. รายรบั จานวนเงนิ
บาท สต. บาท สต.

แบบทดสอบหน่วยท่ี 1

จงเลือกคาตอบที่ถกู ต้องท่ีสดุ เพียงคาตอบเดียว

1. เง่อื นไขความรคู้ อื ขอ้ ใด

ก. มสี ตปิ ัญญาในการแกป้ ัญหา ข. มคี วามอดทนในการดาเนินชวี ติ

ค. มคี วามซ่อื สตั ยส์ ุจรติ ในการทางาน ง. มคี วามรอบรใู้ นการทางาน

2. ขอ้ ใดคอื เง่อื นไขคุณธรรม

ก. มคี วามรอบรใู้ นการทางาน ข. มคี วามรอบคอบในการทางาน

ค. มสี ตปิ ัญญาในการดาเนินชวี ติ ง. ถูกทุกขอ้

3. ขอ้ ใดเป็นการประยุกตค์ วามรเู้ กย่ี วกบั เศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชใ้ นธุรกจิ

ก. ความพอประมาณ ข. ความมเี หตุผล

ค. เง่อื นไขความรู้ ง. เง่อื นไขคุณธรรม

4. ขอ้ ใดคอื ทางสายกลาง

ก. ความพอประมาณและความมเี หตุผล ข. การมภี ูมคิ มุ้ กนั ทด่ี ใี นตวั

ค. เง่อื นไขความรแู้ ละคณุ ธรรม ง. ถกู ทุกขอ้

5. ขอ้ ใดเป็นแนวคดิ ทย่ี ดึ หลกั “ตนเป็นทพ่ี ง่ึ แหง่ ตน”

ก. ระดบั บุคคล ข. ระดบั ชมุ ชน

ค. ระดบั ภูมภิ าค ง. ระดบั ประเทศ

6. ขอ้ ใดเป็นการพจิ ารณาความสามารถในการพง่ึ ตนเองเป็นหลกั

ก. รกั ษาความสตั ย์ ข. รจู้ กั ข่มใจตนเอง

ค. อดทน อดกลนั้ ง. ดารงชวี ติ อยอู่ ย่างพอดี

15

7. ถ้าบรษิ ทั จากดั ไม่จดั ทาใบหนุ้ มอบใหผ้ ถู้ อื หนุ้ จะมคี วามผดิ ระวางโทษอย่างไร

ก. ปรบั ไม่เกนิ 5,000 บาท ข. ปรบั ไมเ่ กนิ 10,000 บาท

ค. ปรบั ไมเ่ กนิ 20,000 บาท ง. ปรบั ไมเ่ กนิ 50,000 บาท

8. ขอ้ ใดเป็นปัจจยั ในการผลติ ทถ่ี ูกต้องทส่ี ดุ

ก. ทรพั ยากรธรรมชาติ แรงงาน เงนิ ทุน อุปกรณ์

ข. ทรพั ยากรธรรมชาติ แรงงาน เงนิ ทุน คน

ค. ทรพั ยากรธรรมชาติ เงนิ ทนุ ผปู้ ระกอบการ

ง. ทรพั ยากรธรรมชาติ แรงงาน เงนิ ทนุ ผปู้ ระกอบการ

9. ขอ้ ใดเป็นธุรกจิ คา้ ปลกี

ก. บรษิ ทั เสรมิ สุข จากดั (มหาชน) ข. ธนาคารกรงุ ไทยจากดั (มหาชน)

ค. เทสโกโ้ ลตสั ง. ถูกทุกขอ้

10. ขอ้ ใดเป็นกจิ การประเภทคา้ สง่

ก. เทสโก้ โลตสั ข. เซเว่นอเี ลฟเว่น

ค. คารฟ์ ูร์ ง. แมค็ โคร



เฉลยแบบทดสอบหน่วยที่ 1

1. เง่อื นไขความรคู้ อื ขอ้ ใด ง. มีความรอบร้ใู นการทางาน

2. ขอ้ ใดคอื เงอ่ื นไขคุณธรรม ค. มีสติปัญญาในการดาเนินชีวิต

3. ขอ้ ใดเป็นการประยุกตค์ วามรเู้ กย่ี วกบั เศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชใ้ นธุรกจิ

ก. ความพอประมาณ

4. ขอ้ ใดคอื ทางสายกลาง ง. ถกู ทุกข้อ

5. ขอ้ ใดเป็นแนวคดิ ทย่ี ดึ หลกั “ตนเป็นทพ่ี ง่ึ แห่งตน” ก. ระดบั บคุ คล

6. ขอ้ ใดเป็นการพจิ ารณาความสามารถในการพง่ึ ตนเองเป็นหลกั ง. ดารงชีวิตอย่อู ย่างพอดี

7. ถ้าบรษิ ทั จากดั ไม่จดั ทาใบหนุ้ มอบใหผ้ ถู้ อื หนุ้ จะมคี วามผดิ ระวางโทษอยา่ งไร

ข. ปรบั ไม่เกิน 10,000 บาท

8. ขอ้ ใดเป็นปัจจยั ในการผลติ ทถ่ี กู ตอ้ งทส่ี ุด

ง. ทรพั ยากรธรรมชาติ แรงงาน เงินทนุ ผ้ปู ระกอบการ

9. ขอ้ ใดเป็นธุรกจิ คา้ ปลกี ค. เทสโก้โลตสั

10. ขอ้ ใดเป็นกจิ การประเภทคา้ ส่ง ง. แมค็ โคร



16

บนั ทึกหลงั การสอน
ขอ้ สรปุ หลงั การสอน

............................................................................................................................. ......................
...................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ......................
...................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ......................
................................................................................................................................................ ...
............................................................................................................................. ......................
............................................................................................................................. ......................
...................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ......................

ปัญหาท่ีพบ
.................................................................................................................................................. .
............................................................................................................................. ......................
............................................................................................................................. ......................
....................................................................................................... ............................................
............................................................................................................................. ......................
...................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ......................
.................................................................................................................................................. .
............................................................................................................................. ......................
............................................................................................................................. ......................

แนวทางแก้ปัญหา
............................................................................................................................. ......................
...................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ......................
...................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ......................
.......................................................................................................................................... .........
......................................................................................................................... ..........................
............................................................................................................................. ......................
...................................................................................................................................................

17

แผนการจดั การเรยี นร้แู บบบรู ณาการท่ี 2 หน่วยท่ี 2

รหสั วิชา 2201-2109 กระบวนการจดั ทาบญั ชี 3 (6) สอนครงั้ ที่ 2 (7-12)
ช่ือหน่วย วงจรปฏิบตั ิงานบญั ชี จานวน 6 ชม.

สาระสาคญั

วงจรบญั ชเี ป็นขนั้ ตอนการทาบญั ชขี องกจิ การโดยเรมิ่ ตงั้ แต่บนั ทกึ รายการคา้ ทเ่ี กดิ ขน้ึ จนถึงการจดั ทา
รายงานเก่ยี วกบั ผลการดาเนินงานและฐานะการเงนิ ของกิจการ มี 2 ลกั ษณะคอื วงจรบญั ชขี องกจิ การท่ไี ม่ใช้
กระดาษทาการ และวงจรบญั ชีของกจิ การท่ีใช้กระดาษทาการ ซ่งึ การปฏิบัติงานบัญชเี ป็นสิ่งท่ีสาคญั มาก
เน่ืองจากต้องทาอย่างรอบคอบและระมดั ระวงั ไปตามขนั้ ตอน พร้อมทงั้ ยดึ แนวทางปฏิบตั ิตามหลกั การบญั ชที ่ี
รบั รองโดยทวั่ ไป และกฎหมายบญั ชที เ่ี กย่ี วขอ้ ง

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. อธบิ ายขนั้ ตอนงานบญั ชตี ามขนั้ ตอนของวงจรบญั ชไี ด้

2. วเิ คราะหร์ ายการคา้ และบนั ทกึ รายการในสมุดรายวนั ขนั้ ต้นได้

3. บนั ทกึ การผ่านรายการจากสมุดรายวนั ทวั่ ไป ไปบญั ชแี ยกประเภททเ่ี กย่ี วขอ้ งได้

4. จดั ทางบทดลองได้

5. จดั ทากระดาษทาการได้

6. ปรบั ปรงุ รายการในสมดุ รายวนั ทวั่ ไปได้

7. ปิดบญั ชไี ด้

8. จดั ทางบทดลองหลงั การปิดบญั ชไี ด้

9. จดั ทางบการเงนิ ได้

10. บนั ทกึ การกลบั รายการทางการบญั ชไี ด้

11. มกี ารพฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา

สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทค่ี รสู ามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเรอ่ื ง

11.1 ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ 11.2 ความมวี นิ ยั

11.3 ความรบั ผดิ ชอบ 11.4 ความซ่อื สตั ยส์ ุจรติ

11.5 ความเช่อื มนั่ ในตนเอง 11.6 การประหยดั

11.7 ความสนใจใฝ่รู้ 11.8 การละเวน้ สง่ิ เสพตดิ และการพนนั

11.9 ความรกั สามคั คี 11.10 ความกตญั ญกู ตเวที

สมรรถนะหลกั
99. วิเคราะห์และปฏิบัติงานตามกระบวนการบญั ชีและวชิ าชพี บญั ชขี องธุรกิจ ตามหลกั การบัญชีท่ี

รบั รองทวั่ ไป

18

สมรรถนะย่อย
99.1 ศกึ ษาและดาเนินการเกย่ี วกบั เอกสารบญั ชแี ละการปฏบิ ตั งิ านบญั ชขี องธุรกจิ บรกิ ารซอ้ื ขายสนิ ค้า

และอุตสาหกรรม ในรปู แบบเจา้ ของคนเดยี ว หา้ งหนุ้ ส่วนและบรษิ ทั จากดั ตามหลกั การบญั ชที ร่ี บั รองทวั่ ไป และ
การปฏบิ ตั งิ านในวชิ าชพี บญั ชี
ตวั บ่งชี้

99.101 อธบิ ายหลกั การ วธิ กี ารเก่ยี วกบั วงจรปฏิบตั ิงานบญั ชแี ละการจดั การเกย่ี วกบั เอกสารบญั ชขี อง
กจิ การบรกิ าร ซ้อื ขายสนิ คา้ และอุตสาหกรรม ในรปู แบบเจ้าของคนเดยี ว ห้างหุ้นส่วน บรษิ ทั จากดั และบรษิ ัท
จากดั (มหาชน)

99.102 วเิ คราะห์รายการคา้ บนั ทกึ บญั ชี จดั ทารายงานทางการเงนิ ตามกฎหมายบญั ชีไดเ้ หมาะสมตาม
ประเภทของธุรกจิ

99.103 จดั ทางบการเงินตามกฎหมายบัญชี การย่นื แบบแสดงรายการเสียภาษีประเภทต่างๆ ต่อ
กรมสรรพากร และการยน่ื แบบงบการเงนิ ประจาปีต่อกระทรวงพาณชิ ย์

เนื้อหาสาระ

1. วงจรบญั ชี
2. การวเิ คราะหร์ ายการคา้
3. การผ่านรายการจากสมุดรายวนั ทวั่ ไป
4. งบทดลอง
5. กระดาษทาการ
6. การปรบั ปรงุ รายการในสมุดรายวนั ทวั่ ไปและบนั ทกึ รายการในสมดุ รายวนั ขนั้ ตน้
7. การปิดบญั ชี
8. งบทดลองหลงั การปิดบญั ชไี ปบญั ชแี ยกประเภททเ่ี กย่ี วขอ้ ง
9. งบการเงนิ
10. การกลบั รายการทางการบญั ชี

กิจกรรมการเรียนรู้
ขนั้ นาเขา้ สู่บทเรียน
1. ครอู ภปิ รายชใ้ี หผ้ เู้ รยี นเหน็ ว่าการเรยี นวชิ าชพี บญั ชมี ที างกา้ วหน้าในการเลอื กสายวชิ าชพี บญั ชี

อย่างหลากหลาย และยกตวั อยา่ งประกอบ
2. ครูสนทนากบั ผู้เรยี นถงึ วงจรบญั ชี (Accounting Cycle) ซ่งึ เป็นขนั้ ตอนในการจดบนั ทกึ รายการ

คา้ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ลงในสมุดบญั ชตี ่างๆ จนถงึ การตรวจสอบความถกู ตอ้ งในการจดบนั ทกึ บญั ชี การปิดบญั ชี ตลอดจน
การจดั ทารายงานเกย่ี วกบั ผลการดาเนนิ งานและฐานะการเงนิ ของกจิ การ

19

ขนั้ สอน

3. ครูอธบิ ายและสาธติ เกย่ี วกบั วงจรบญั ชี การวเิ คราะห์รายการคา้ การผ่านรายการจากสมุดรายวนั
ทวั่ ไป งบทดลอง กระดาษทาการ การปรบั ปรุงรายการในสมุดรายวนั ทวั่ ไปและบนั ทกึ รายการในสมุดรายวนั
ขนั้ ต้น การปิดบญั ชี งบทดลองหลงั การปิดบัญชไี ปบัญชแี ยกประเภทท่เี ก่ยี วข้อง งบการเงนิ และการกลับ
รายการทางการบญั ชี โดยใชส้ อ่ื แผ่นใสและส่อื PowerPoint ประกอบ

4. ผู้เรียนเขียนโครงร่าง “กระบวนการจดั ทาบัญชี (Accounting Process)” ของกิจการท่มี ีการทา
กระดาษทาการ

5. ผเู้ รยี นศกึ ษาวงจรการปฏิบัติงานบัญชขี องกิจการใดกจิ การหน่ึงคนละ 1 กจิ การ ว่ามลี าดบั ขนั้ ตอน
อยา่ งไรบา้ ง โดยบอกช่อื กจิ การ ทต่ี งั้ รปู แบบกจิ การ ประเภทธรุ กจิ ทุนจดทะเบยี น และวงจรการปฏบิ ตั งิ านบญั ชี

6. ครูเน้นให้ผูเ้ รยี นสร้างภูมคิ ุ้มกนั ท่ดี ใี ห้กบั ตนเอง คือ เตรยี มใจให้พรอ้ มรบั ผลกระทบและความ
เปลย่ี นแปลงทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ ในอนาคตทาให้เข้มแขง็ ทางการเงนิ ครอบครวั ต้องมเี งนิ ออม ถ้ามเี งนิ ออมมากกเ็ ป็น
เขม้ แขง็ โดยมเี งอ่ื นไขคุณธรรมประกอบด้วย ในการซ้ือสนิ คา้ มาบรโิ ภคหรอื จาหน่ายกต็ ้องคาน่ึงถงึ ความพอดี
ระมดั ระวงั ผลกระทบทเ่ี กดิ ขน้ึ อยา่ งรอบคอบ จะไดไ้ มม่ ป่ี ัญหาต่าง ๆ ตามมา

1) การมคี วามรู้ คอื นาความรมู้ าใชใ้ นการวางแผนและดาเนนิ ชวี ติ
2) การมคี ุณธรรม คอื มคี วามซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ สามคั คี และชว่ ยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั

ขนั้ สรปุ และการประยกุ ต์

7. ครแู ละผเู้ รยี นสรุปวงจรบญั ชจี ะต้องปฏบิ ตั ใิ หถ้ ูกตอ้ งตามหลกั การบญั ชที ย่ี อมรบั ทวั่ ไป
8. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ แบบทดสอบ และใบงาน

ส่ือและแหล่งการเรียนรู้

1. หนงั สอื เรยี น วชิ ากระบวนการจดั ทาบญั ชี ฉบบั ปรบั ปรุง ของบรษิ ทั สานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์ จากดั
2. สอ่ื แผน่ ใส
3. กจิ กรรมการเรยี นการสอน
4. ใบความรู้

หลกั ฐาน

1. บนั ทกึ การสอน
2. ใบแสดงผลการปฏบิ ตั งิ าน
3. แผนจดั การเรยี นรู้
4. ใบเชค็ ช่อื เขา้ หอ้ งเรยี น

การวดั ผลและการประเมินผล
วิธีวดั ผล

1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. ตรวจใบงาน
3. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี น และแบบทดสอบ

20

4 ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่
5 สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุม่
6 การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

เครอ่ื งมือวดั ผล
1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ (โดยคร)ู
3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกล่มุ (โดยผู้เรยี น)
4. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน
5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ แบบทดสอบ
6. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครูและผู้เรียน
ร่วมกนั ประเมนิ

เกณฑก์ ารประเมินผล
1. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ตอ้ งไมม่ ชี อ่ งปรบั ปรงุ
2. เกณฑผ์ ่านการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป)
3. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป)
4. กจิ กรรมใบงาน เกณฑผ์ ่าน คอื 50%
5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบทดสอบมเี กณฑผ์ า่ น 50%
6 แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนข้นึ อยกู่ บั การ
ประเมนิ ตามสภาพจรงิ

กิจกรรมเสนอแนะ
1. ทาใบงานและแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
2. บนั ทกึ การรบั -จ่าย
ตวั อย่างแบบบนั ทึกบญั ชีรายรบั -รายจ่าย

ว.ด.ป. รายรบั จานวนเงิน ว.ด.ป. รายรบั จานวนเงิน
บาท สต. บาท สต.

21

แบบทดสอบหน่วยที่ 2

จงเลือกคาตอบท่ีถกู ต้องท่ีสดุ เพียงคาตอบเดียว

1. วงจรบญั ชขี องกจิ การทไ่ี มใ่ ชก้ ระดาษทาการ จะมขี นาดตามข้อใด

ก. กจิ การขนาดเลก็ ข. กจิ การขนาดปานกลาง

ค. กจิ การขนาดใหญ่ ง. ถกู ทกุ ขอ้

2. ขอ้ ใดหมายถงึ วงจรการปฏบิ ตั งิ านบญั ชขี องกจิ การ

ก. กระบวนการจดั ทาบญั ชี ข. วงจรบญั ชี

ค. วฏั จกั รบญั ชี ง. ถูกทกุ ขอ้

3. ขอ้ ใดจดั เป็นรายการคา้

ก. ซอ้ื สนิ คา้ ไดร้ บั ใบเสรจ็ รบั เงนิ ข. ซอ้ื 1 แถม 1

ค. ซอ้ื ยาสฟี ันพรอ้ มแถมแกว้ ฟรี ง. ขายสนิ คา้ ไดร้ บั สว่ นลด 2%

4. ถ้าสนิ ทรพั ยข์ องกจิ การเพมิ่ ขน้ึ จะมผี ลต่อขอ้ ใด

ก. หน้สี นิ ลดลง ข. สว่ นของเจา้ ของลดลง

ค. รายไดแ้ ละค่าใชจ้ ่ายเพมิ่ ขน้ึ ง. ส่วนของเจา้ ของเพมิ่ ขน้ึ

5. สมดุ บญั ชขี นั้ ต้นเล่มใดทใ่ี ชจ้ ดบนั ทกึ รายการคา้ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ไดท้ ุกรายการ

ก. สมุดรายวนั รบั เงนิ ข. สมดุ รายวนั จา่ ยเงนิ

ค. สมุดรายวนั ทวั่ ไป ง. สมดุ รายวนั ซอ้ื และสมดุ รายวนั ขาย

6. ขอ้ ใดเป็นการหายอดคงเหลอื ของบญั ชตี ่างๆ ในสมดุ บญั ชแี ยกประเภททวั่ ไปกอ่ นนามาจดั ทางบทดลอง

ก. Trial Balance ข. Pencil Footing

ค. Closing Entries ง. Financial Statement

7. บญั ชใี นหมวดรายไดแ้ ละค่าใชจ้ ่าย สามารถโอนปิดเขา้ บญั ชใี ด

ก. ต้นทุนขาย ข. บญั ชสี ่วนของเจา้ ของ (ทุน)

ค. บญั ชกี าไรขาดทนุ ง. ถกู ทกุ ขอ้ แลว้ แต่กรณี

8. ในปัจจบุ นั งบการเงนิ ฉบบั สมบรู ณ์ มที ม่ี าจากมาตรฐานการบญั ชฉี บบั ใด

ก. มาตรฐานการบญั ชี ฉบบั ท่ี 1 (ปรบั ปรุง 2552) ข. มาตรฐานการบญั ชี ฉบบั ท่ี 1 (ปรบั ปรงุ 2550)

ค. มาตรฐานการบญั ชี ฉบบั ท่ี 35 (ปรบั ปรุง 2552) ง. มาตรฐานการบญั ชี ฉบบั ท่ี 35 (ปรบั ปรุง 2550)

9. รายการย่อท่ตี ้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2552 ข้อใดท่ีกรมพฒั นาธุรกิจการค้ าไม่ได้กาหนดรปู แบบไว้

ก. หา้ งหนุ้ สว่ นจดทะเบยี น ข. บรษิ ทั จากดั

ค. นติ บิ ุคคลตามกฎหมายต่างประเทศและกจิ การร่วมคา้ ง. กจิ การเจา้ ของคนเดยี ว

10. ขอ้ ใดไม่ใช่งบการเงนิ ของบรษิ ทั จากดั

ก. งบแสดงฐานะการเงนิ ข. งบกาไรขาดทุน

ค. งบแสดงการเปลย่ี นแปลงสว่ นของผถู้ อื หนุ้ ง. งบกระแสเงนิ สด



22

เฉลยแบบทดสอบหน่วยท่ี 2

1. วงจรบญั ชขี องกจิ การทไ่ี ม่ใชก้ ระดาษทาการ จะมขี นาดตามขอ้ ใด ก. กิจการขนาดเลก็

2. ขอ้ ใดหมายถงึ วงจรการปฏบิ ตั งิ านบญั ชขี องกจิ การ ง. ถกู ทุกข้อ

3. ขอ้ ใดจดั เป็นรายการคา้ ก. ซื้อสินค้าได้รบั ใบเสรจ็ รบั เงิน

4. ถา้ สนิ ทรพั ยข์ องกจิ การเพมิ่ ขน้ึ จะมผี ลต่อขอ้ ใด ง. ส่วนของเจ้าของเพ่ิมขึ้น

5. สมดุ บญั ชขี นั้ ตน้ เลม่ ใดทใ่ี ชจ้ ดบนั ทกึ รายการคา้ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ไดท้ ุกรายการ

ค. สมดุ รายวนั ทวั่ ไป

6. ขอ้ ใดเป็นการหายอดคงเหลอื ของบญั ชตี ่างๆ ในสมุดบญั ชแี ยกประเภททวั่ ไปกอ่ นนามาจดั ทางบทดลอง

ข. Pencil Footing

7. บญั ชใี นหมวดรายไดแ้ ละคา่ ใชจ้ า่ ย สามารถโอนปิดเขา้ บญั ชใี ด

ค. บญั ชีกาไรขาดทุน

8. ในปัจจุบนั งบการเงนิ ฉบบั สมบูรณ์ มที ม่ี าจากมาตรฐานการบญั ชฉี บบั ใด

ก. มาตรฐานการบญั ชี ฉบบั ท่ี 1 (ปรบั ปรงุ 2552)

9. รายการย่อท่ตี ้องมีในงบการเงิน พ.ศ. 2552 ข้อใดท่ีกรมพัฒนาธุรกิจการค้าไม่ได้กาหนดรปู แบบไว้

ง. กิจการเจ้าของคนเดียว

10. ขอ้ ใดไม่ใช่งบการเงนิ ของบรษิ ทั จากดั

ง. งบกระแสเงินสด



23

บนั ทึกหลงั การสอน
ข้อสรปุ หลงั การสอน

..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
.............................................................................................................................. ....................
.............................................................................................................. ....................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
ปัญหาท่ีพบ

............................................................................................................................. .....................
.................................................................................................. ................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
.............................................................................................................................................. ....
แนวทางแก้ปัญหา

..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
............................................................................................................................. .....................
.......................................................................................................... ........................................

24

แผนการจดั การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการท่ี 3 หน่วยที่ 3

รหสั วิชา 2201-2109 กระบวนการจดั ทาบญั ชี 3 (6) สอนครงั้ ท่ี 3 (13-182)
ช่ือหน่วย การจดทะเบียนพาณิชย์ จานวน 6 ชม.

สาระสาคญั

การดาเนินธุรกจิ ทเ่ี ขา้ ข่ายเป็นกจิ การตามพระราชบญั ญตั ทิ ะเบยี นพาณิชย์ พ.ศ. 2499 กาหนด ต้องย่นื
ขอจดทะเบยี นพาณชิ ยภ์ ายใน 30 วนั นบั แต่วนั ทไ่ี ดเ้ รมิ่ ประกอบกจิ การ ผมู้ หี น้าทจ่ี ดทะเบยี นพาณิชย์ คอื บุคคล
ธรรมดาคนเดยี ว หรอื หลายคน (หา้ งหุ้นส่วนสามญั ) หรอื นิตบิ ุคคล รวมทงั้ นิตบิ ุคคลท่ตี งั้ ข้นึ ตามกฎหมายต่างประเทศ
ทม่ี าตงั้ สานกั งานสาขาในประเทศไทย ซง่ึ ประกอบกจิ การอนั เป็นพาณิชยกจิ ตามทก่ี ระทรวงพาณิชยก์ าหนด

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. บอกหน้าทข่ี องผจู้ ดทะเบยี นพาณิชยไ์ ด้

2. บอกกจิ การทต่ี ้องจดทะเบยี นพาณิชยไ์ ด้

3. บอกกจิ การทไ่ี ดร้ บั การยกเวน้ ไม่ต้องจดทะเบยี นพาณชิ ยไ์ ด้

4. บอกประเภทการจดทะเบยี นและจดทะเบยี นได้

5. บอกสถานทจ่ี ดทะเบยี นและกาหนดระยะเวลาการจดทะเบยี นพาณชิ ยไ์ ด้

6. บอกบทกาหนดโทษ และค่าธรรมเนียมการจดทะเบยี นพาณิชยไ์ ด้

7. อธบิ ายการจดทะเบยี นผปู้ ระกอบการพาณิชยอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สไ์ ด้
8. มกี ารพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผูส้ าเรจ็ การศกึ ษา

สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทค่ี รสู ามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเร่อื ง

8.1 ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ 8.2 ความมวี นิ ยั

8.3 ความรบั ผดิ ชอบ 8.4 ความซ่อื สตั ยส์ จุ รติ

8.5 ความเชอ่ื มนั่ ในตนเอง 8.6 การประหยดั

8.7 ความสนใจใฝ่รู้ 8.8 การละเวน้ สง่ิ เสพตดิ และการพนนั

8.9 ความรกั สามคั คี 8.10 ความกตญั ญกู ตเวที

สมรรถนะหลกั
99. วิเคราะห์และปฏิบัติงานตามกระบวนการบัญชแี ละวชิ าชีพบญั ชขี องธุรกจิ ตามหลกั การบญั ชที ่ี

รบั รองทวั่ ไป

สมรรถนะย่อย
99.1 ศกึ ษาและดาเนินการเกย่ี วกบั เอกสารบญั ชแี ละการปฏบิ ตั งิ านบญั ชขี องธรุ กจิ บรกิ ารซ้อื ขายสนิ ค้า

และอุตสาหกรรม ในรปู แบบเจา้ ของคนเดยี ว หา้ งหนุ้ ส่วนและบรษิ ทั จากดั ตามหลกั การบญั ชที ร่ี บั รองทวั่ ไป และ
การปฏบิ ตั งิ านในวชิ าชพี บญั ชี

25

ตวั บ่งชี้
99.101 อธบิ ายหลกั การ วธิ กี ารเก่ยี วกบั วงจรปฏบิ ตั ิงานบญั ชแี ละการจดั การเก่ียวกบั เอกสารบญั ชขี อง

กจิ การบรกิ าร ซ้อื ขายสนิ คา้ และอุตสาหกรรม ในรปู แบบเจา้ ของคนเดยี ว ห้างหุ้นส่วน บรษิ ทั จากดั และบรษิ ทั
จากดั (มหาชน)

99.102 วเิ คราะหร์ ายการค้า บนั ทกึ บญั ชี จดั ทารายงานทางการเงนิ ตามกฎหมายบญั ชีไดเ้ หมาะสมตาม
ประเภทของธุรกจิ

99.103 จดั ทางบการเงนิ ตามกฎหมายบัญชี การย่นื แบบแสดงรายการเสียภาษีประเภทต่างๆ ต่อ
กรมสรรพากร และการยน่ื แบบงบการเงนิ ประจาปีต่อกระทรวงพาณิชย์

เนื้อหาสาระ

1. ผมู้ หี น้าทจ่ี ดทะเบยี นพาณชิ ย์
2. ผปู้ ระกอบการทต่ี อ้ งจดทะเบยี นพาณชิ ย์
3. พาณิชยกจิ ทไ่ี ดร้ บั การยกเวน้ ไมต่ อ้ งจดทะเบยี นพาณชิ ย์
4. ประเภทการจดทะเบยี น
5. สถานทจ่ี ดทะเบยี นและกาหนดระยะเวลาการจดทะเบยี นพาณชิ ย์
6. บทกาหนดโทษ และคา่ ธรรมเนยี มการจดทะเบยี นพาณิชย์
7. การจดทะเบยี นผปู้ ระกอบการพาณชิ ยอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์

กิจกรรมการเรียนรู้
ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรียน

1. ครูเล่าให้ผูเ้ รยี นฟังว่าผู้มหี น้าท่จี ดทะเบียนพาณิชย์ คอื บุคคลธรรมดาคนเดยี ว หรอื หลายคน (หา้ ง
หุ้นส่วนสามัญ) หรอื นิติบุคคล รวมทงั้ นิติบุคคลท่ีตงั้ ข้นึ ตามกฎหมายต่างประเทศท่มี าตงั้ สานักงานสาขาใน
ประเทศไทย ซง่ึ ประกอบกจิ การอนั เป็นพาณชิ ยกจิ ตามทก่ี ระทรวงพาณชิ ยก์ าหนด

2. ผเู้ รยี นบอกกจิ การทต่ี ้องจดทะเบยี นตามประกาศของรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงพาณิชย์

ขนั้ สอน

3. ครอู ธบิ ายคุณสมบตั ิของผู้มีหน้าท่จี ดทะเบยี นพาณิชย์ ผู้ประกอบการทต่ี ้องจดทะเบียนพาณิชย์
พาณิชยกจิ ท่ไี ด้รบั การยกเว้นไม่ต้องจดทะเบียนพาณิชย์ ประเภทการจดทะเบียน สถานท่จี ดทะเบียนและ
กาหนดระยะเวลาการจดทะเบยี นพาณิชย์ บทกาหนดโทษ และคา่ ธรรมเนยี มการจดทะเบยี นพาณิชย์ และการจด
ทะเบยี นผปู้ ระกอบการพาณิชยอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ โดยใชส้ อ่ื แผ่นใส และสอ่ื PowerPoint ประกอบเพ่อื ส่อื ใหเ้ ขา้ ใจงา่ ย
ขน้ึ

4. ผู้เรยี นหารปู ภาพประกอบเคร่อื งหมายการค้า (Trade mark) เคร่อื งหมายบริการ (Service mark)
เครอ่ื งหมายรบั รอง (Certification mark) และเครอ่ื งหมายรว่ ม (Collective mark)

5. ผเู้ รยี นปฏบิ ตั กิ จิ กรรมดงั น้ี
5.1 สมมตุ ใิ หผ้ เู้ รยี นเป็นผปู้ ระกอบการตามประเภทธรุ กจิ ทต่ี นเองสนใจ 1 กจิ การ

26

5.2 กรอกรายละเอยี ดลงแบบฟอรม์ คาขอจดทะเบยี นพาณชิ ย์ (แบบ ทพ.) ดงั น้ี
(1) การจดทะเบยี นตงั้ ใหม่
(2) การจดทะเบยี นเปลย่ี นแปลง
(3) การจดทะเบยี นเลกิ

5.3 กรอกรายละเอยี ดในเอกสารแนบแบบ ทพ. (รายละเอยี ดเกย่ี วกบั เวบ็ ไซต)์ จานวน 1 แผน่
5.4 คาขอจดทะเบยี นและเอกสารประกอบสามารถขอและซ้อื ได้ท่หี น่วยงานของกรมพฒั นาธุรกจิ
การคา้ ทกุ แห่ง หรอื ดาวน์โหลดไดจ้ าก http://www.dbd.go.th
6. ผเู้ รยี นวางแผนการนาหลกั ของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยกุ ต์ใชไ้ ดด้ งั น้ี
(1) สรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ท่ดี ใี นตวั เองได้ เชน่ ใชค้ วามรอบคอบในการบนั ทกึ บญั ชไี ม่ใหผ้ ดิ พลาด
(2) มเี หตุผลในการวเิ คราะหร์ ายการคา้ แต่ละรายการ เพ่อื บนั ทกึ บญั ชี
(3) มคี วามเพยี งพอ ในการซอ้ื ขายสนิ คา้ เพอ่ื บรโิ ภคหรอื จาหน่าย
(4) มเี งอ่ื นไขดา้ นคณุ ธรรม ไดแ้ ก่ บนั ทกึ บญั ชใี หถ้ กู ต้อง
(5) มเี ง่อื นไขดา้ นวชิ าการ ไดแ้ ก่ บนั ทกึ บญั ชตี ามหลกั การบญั ชที ย่ี อมรบั ทวั่ ไป และมคี วามรเู้ รอ่ื ง
มาตรฐานการบญั ชี
(6) สามารถนารายการบญั ชไี ปบนั ทกึ ในเครอ่ื งคอมพวิ เตอรห์ รอื โปรแกรมสาเรจ็ รปู บญั ชไี ด้

ขนั้ สรปุ และการประยกุ ต์

11. สรุปโดยผู้เรยี นฝึกทกั ษาทาใบงานให้เกดิ ความชานาญ เพ่ือประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาวนั และ
ประเมนิ ผเู้ รยี นต่อไป

ส่ือและแหล่งการเรียนรู้

1. หนงั สอื เรยี น วชิ ากระบวนการจดั ทาบญั ชี ฉบบั ปรบั ปรงุ ของบรษิ ทั สานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์ จากดั
2. สอ่ื แผน่ ใส
3. กจิ กรรมการเรยี นการสอน
4. ใบงาน

หลกั ฐาน

1. บนั ทกึ การสอน
2. ใบแสดงผลการปฏบิ ตั งิ าน
3. แผนจดั การเรยี นรู้
4. ใบเชค็ ช่อื เขา้ หอ้ งเรยี น

การวดั ผลและการประเมินผล
วิธีวดั ผล

1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. ตรวจใบงาน
3. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี น แบบทดสอบ
4 ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม

27

5 สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่
6 การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

เครื่องมือวดั ผล
1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยคร)ู
3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ (โดยผูเ้ รยี น)
4. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน
5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ แบบทดสอบ
6. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ โดยครูและผเู้ รยี น
ร่วมกนั ประเมนิ

เกณฑก์ ารประเมินผล
1. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ต้องไมม่ ชี อ่ งปรบั ปรุง
2. เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป)
3. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป)
4. กจิ กรรมใบงาน เกณฑผ์ ่าน คอื 50%
5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบทดสอบมเี กณฑผ์ า่ น 50%
6 แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนข้นึ อยกู่ บั การ
ประเมนิ ตามสภาพจรงิ

กิจกรรมเสนอแนะ
1. ทาใบงานและแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
2. บนั ทกึ การรบั -จา่ ย
ตวั อย่างแบบบนั ทึกบญั ชีรายรบั -รายจ่าย

ว.ด.ป. รายรบั จานวนเงิน ว.ด.ป. รายรบั จานวนเงิน
บาท สต. บาท สต.

28

แบบทดสอบหน่วยที่ 3

จงเลือกคาตอบที่ถกู ต้องที่สดุ เพียงคาตอบเดียว

1. ผปู้ ระกอบการขายสนิ คา้ ทจ่ี ดทะเบยี น ต้องมสี นิ ค้าไวเ้ พ่อื ขายมคี ่ารวมกนั ทงั้ ส้นิ ตงั้ แต่กบ่ี าทขน้ึ ไป

ก. 50 บาท ข. 100 บาท ค. 200 บาท ง. 500 บาท

2. ขอ้ ใดเป็นกจิ การทต่ี ้องจดทะเบยี นพาณิชย์

ก. โรงสขี า้ วและโรงเล่อื ยทใ่ี ชม้ อื ข. การคา้ แผงลอย

ค. โรงรบั จานาซนิ ไฉ่ ง. สหกรณ์การคา้ กรุงเทพ

3. กจิ การขอ้ ใดไม่ต้องจดทะเบยี นพาณชิ ย์

ก. โรงรบั จานา ข. โรงสขี า้ วทใ่ี ชเ้ คร่อื งจกั ร

ค. วดั สวนแกว้ ง. โพยก๊วน

4. การจดทะเบยี นพาณชิ ยต์ งั้ ใหม่ ตอ้ งจดทะเบยี นภายในกว่ี นั นบั แต่วนั เรม่ิ ประกอบพาณชิ ยกจิ

ก. 7 วนั ข. 14 วนั ค. 15 วนั ง. 30 วนั

5. เคร่อื งหมายการคา้ ทจ่ี ดทะเบยี นแลว้ จะมอี ายุความคมุ้ ครองกป่ี ี

ก. ตลอดอายขุ องเจา้ ของ ข. 10 ปี

ค. 5 ปี ง. 50 ปี

6. ถา้ ใบทะเบยี นพาณิชยส์ ญู หายต้องยน่ื ขอใบแทนภายในกว่ี นั นบั แต่วนั สญู หาย

ก. 30 วนั ข. 45 วนั ค. 60 วนั ง. 7 วนั

7. ถ้าใบทะเบียนพาณิชย์สูญหายไม่ย่นื คารอ้ งขอใบรบั แทน หรอื ไม่แสดงใบทะเบยี นพาณิชย์ไวท้ ส่ี านักงาน

ทเ่ี หน็ ไดง้ า่ ย ไม่จดั ทาป้ายช่อื มคี วามผดิ ตามขอ้ ใด

ก. ปรบั ไม่เกนิ 200 บาท ข. ปรบั ไมเ่ กนิ 500 บาท

ค. ปรบั ไมเ่ กนิ 1,000 บาท ง. ปรบั ไม่เกนิ 500 บาท และจาคุก 2 เดอื น

8. ถา้ ผู้ประกอบการกระทาผดิ อย่างร้ายแรงและถูกถอนใบทะเบียนพาณิชย์ ใครสามารถสงั่ ใหร้ บั จดทะเบยี น

พาณชิ ยใ์ หม่ได้

ก. อธบิ ดกี รมพฒั นาธรุ กจิ การคา้

ข. รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงพาณชิ ย์

ค. ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ทไ่ี ปจดทะเบยี นพาณิชยไ์ วค้ รงั้ แรก

ง. นายกรฐั มนตรี

9. การจดทะเบยี นพาณิชยต์ งั้ ใหม่ต้องเสยี คา่ ธรรมเนียมกบ่ี าท

ก. 10 บาท ข. 20 บาท ค. 50 บาท ง. 100 บาท

10. การขอใหอ้ อกใบแทนใบทะเบยี นพาณิชย์ คดิ คา่ ธรรมเนยี มฉบบั ละเท่าใด

ก. 30 บาท ข. 50 บาท

ค. 20 บาท ง. 100 บาท



29

เฉลยแบบทดสอบหน่วยท่ี 3

1. ผปู้ ระกอบการขายสนิ คา้ ทจ่ี ดทะเบยี น ต้องมสี นิ ค้าไวเ้ พ่อื ขายมคี ่ารวมกนั ทงั้ สน้ิ ตงั้ แต่กบ่ี าทขน้ึ ไป

ง. 500 บาท

2. ขอ้ ใดเป็นกจิ การทต่ี ้องจดทะเบยี นพาณิชย์ ค. โรงรบั จานาซินไฉ่

3. กจิ การขอ้ ใดไม่ต้องจดทะเบยี นพาณชิ ย์ ค. วดั สวนแก้ว

4. การจดทะเบยี นพาณชิ ยต์ งั้ ใหม่ ตอ้ งจดทะเบยี นภายในกว่ี นั นบั แต่วนั เรมิ่ ประกอบพาณชิ ยกจิ

ง. 30 วนั

5. เครอ่ื งหมายการคา้ ทจ่ี ดทะเบยี นแลว้ จะมอี ายุความคมุ้ ครองกป่ี ี ข. 10 ปี

6. ถา้ ใบทะเบยี นพาณชิ ยส์ ญู หายตอ้ งย่นื ขอใบแทนภายในกว่ี นั นบั แต่วนั สญู หาย ก. 30 วนั

7. ถ้าใบทะเบียนพาณิชย์สูญหายไม่ย่นื คาร้องขอใบรบั แทน หรอื ไม่แสดงใบทะเบียนพาณิชยไ์ ว้ทส่ี านักงาน

ทเ่ี หน็ ไดง้ ่าย ไมจ่ ดั ทาป้ายช่อื มคี วามผดิ ตามขอ้ ใด ก. ปรบั ไม่เกิน 200 บาท

8. ถ้าผปู้ ระกอบการกระทาผดิ อย่างร้ายแรงและถูกถอนใบทะเบียนพาณิชย์ ใครสามารถสงั่ ให้รบั จดทะเบยี น

พาณิชยใ์ หม่ได้ ข. รฐั มนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์

9. การจดทะเบยี นพาณชิ ยต์ งั้ ใหม่ตอ้ งเสยี ค่าธรรมเนยี มกบ่ี าท ค. 50 บาท

10. การขอใหอ้ อกใบแทนใบทะเบยี นพาณิชย์ คดิ ค่าธรรมเนียมฉบบั ละเทา่ ใด ก. 30 บาท



30

บนั ทึกหลงั การสอน
ข้อสรปุ หลงั การสอน

..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
......................................................................................................................................... .........
......................................................................................................................... .........................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
ปัญหาท่ีพบ
............................................................................................................................. .....................
.................................................................................................. ................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
.............................................................................................................................................. ....
แนวทางแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
............................................................................................................................. .....................

.......................................................................................................... ........................................

31

แผนการจดั การเรยี นร้แู บบบูรณาการท่ี 4 หน่วยท่ี 4

รหสั วิชา 2201-2109 กระบวนการจดั ทาบญั ชี 3 (6) สอนครงั้ ที่ 4 (19-24)
ช่ือหน่วย การจดทะเบยี นห้างห้นุ ส่วน จานวน 6 ชม.

สาระสาคญั

เม่ือมบี ุคคลตัง้ แต่สองคนข้ึนไป ตกลงท่ีจะร่วมลงทุนประกอบกจิ การเป็นห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
ประเภทใดประเภทหน่ึงแลว้ ผ้เู ป็นหุ้นส่วนผู้จดั การ ซ่งึ ไดร้ บั การแต่งตงั้ จากผเู้ ป็นหนุ้ ส่วนทุกคนจะตอ้ งเป็นผมู้ ี
หน้าทด่ี าเนินการขอจดทะเบยี นจดั ตงั้ ห้างหุ้นส่วนนนั้ ต่อพนกั งานเจา้ หน้าท่ี ณ สานกั งานทะเบยี นหุน้ ส่วนบรษิ ทั
ท่หี ้างนนั้ มสี านักงานแห่งใหญ่ตงั้ อยู่ กรณีท่เี ป็นห้างหุ้นส่วนจากดั กฎหมายกาหนดให้ผูเ้ ป็นหุ้นส่วนผ้จู ดั การ ซ่งึ
หนุ้ สว่ นผจู้ ดั การจะเป็นไดเ้ ฉพาะแต่ผเู้ ป็นหนุ้ สว่ นจาพวกไมจ่ ากดั ความรบั ผดิ เทา่ นนั้

ในกรณีทห่ี า้ งหุ้นส่วนจดทะเบยี นไดต้ กลงทจ่ี ะแก้ไขเพมิ่ เติมรายการใดๆ ท่ไี ดจ้ ดทะเบยี นไวเ้ ป็นอย่าง
อ่นื หรอื ประสงคจ์ ะเลกิ กจิ การ กต็ ้องไปดาเนินการขอจดทะเบยี นแกไ้ ขเพมิ่ เติมรายการนนั้ ๆ หรอื จดทะเบียน
เลกิ และเสรจ็ การชาระบญั ชี ณ สานกั งานทะเบยี นหนุ้ ส่วนบรษิ ทั ทห่ี า้ งนนั้ มสี านกั งานแหง่ ใหญ่ตงั้ อยู่

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1. จดทะเบยี นจดั ตงั้ หา้ งหนุ้ ส่วนสามญั นติ บิ ุคคลและหา้ งหนุ้ สว่ นจากดั ได้

2. จดทะเบยี นแกไ้ ขเปลย่ี นแปลงหา้ งหนุ้ ส่วนได้

3. แปรสภาพหุน้ ส่วนเป็นบรษิ ทั จากดั ได้

4. จดทะเบยี นเลกิ หา้ งหนุ้ สว่ นได้

5. ชาระบญั ชแี ละจดทะเบยี นเสรจ็ การชาระบญั ชขี องหา้ งหนุ้ ส่วนได้

6. มกี ารพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา

สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทค่ี รสู ามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเรอ่ื ง

6.1 ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ 6.2 ความมวี นิ ยั

6.3 ความรบั ผดิ ชอบ 6.4 ความซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ

6.5 ความเช่อื มนั่ ในตนเอง 6.6 การประหยดั

6.7 ความสนใจใฝ่รู้ 6.8 การละเวน้ สงิ่ เสพตดิ และการพนนั

6.9 ความรกั สามคั คี 6.10 ความกตญั ญกู ตเวที

สมรรถนะหลกั
99. วเิ คราะห์และปฏิบัติงานตามกระบวนการบัญชีและวชิ าชีพบญั ชขี องธุรกจิ ตามหลกั การบัญชที ่ี

รบั รองทวั่ ไป

สมรรถนะย่อย
99.1 ศกึ ษาและดาเนินการเกย่ี วกบั เอกสารบญั ชแี ละการปฏบิ ตั งิ านบญั ชขี องธุรกจิ บรกิ ารซอ้ื ขายสนิ คา้

และอุตสาหกรรม ในรปู แบบเจา้ ของคนเดยี ว หา้ งหนุ้ สว่ นและบรษิ ทั จากดั ตามหลกั การบญั ชที ร่ี บั รองทวั่ ไป และ
การปฏบิ ตั งิ านในวชิ าชพี บญั ชี

32

ตวั บง่ ชี้
99.101 อธบิ ายหลกั การ วธิ กี ารเก่ยี วกบั วงจรปฏบิ ตั งิ านบญั ชแี ละการจดั การเกย่ี วกบั เอกสารบญั ชขี อง

กจิ การบรกิ าร ซอ้ื ขายสนิ คา้ และอุตสาหกรรม ในรูปแบบเจา้ ของคนเดยี ว หา้ งหุ้นส่วน บรษิ ทั จากดั และบรษิ ทั
จากดั (มหาชน)

99.102 วเิ คราะหร์ ายการค้า บนั ทกึ บญั ชี จดั ทารายงานทางการเงนิ ตามกฎหมายบญั ชีไดเ้ หมาะสมตาม
ประเภทของธรุ กจิ

99.103 จัดทางบการเงินตามกฎหมายบัญชี การย่นื แบบแสดงรายการเสียภาษีประเภทต่างๆ ต่อ
กรมสรรพากร และการย่นื แบบงบการเงนิ ประจาปีต่อกระทรวงพาณิชย์

เนื้อหาสาระ

1. การจดทะเบยี นจดั ตงั้ หา้ งหนุ้ ส่วนสามญั นิตบิ ุคคลและหา้ งหนุ้ สว่ นจากดั
2. การจดทะเบยี นแกไ้ ขเปลย่ี นแปลงหา้ งหุ้นสว่ น
3. การแปรสภาพหุน้ ส่วนเป็นบรษิ ทั จากดั
4. การเลกิ หา้ งหนุ้ ส่วน
5. การชาระบญั ชแี ละการจดทะเบยี นเสรจ็ การชาระบญั ชขี องหา้ งหนุ้ สว่ น

กิจกรรมการเรยี นรู้
ขนั้ นาเขา้ ส่บู ทเรียน

1. ครแู ละผู้เรยี นสนทนาเก่ยี วกบั การจดั ตงั้ ห้างหุน้ ส่วนสามญั นิตบิ ุคคล (Juristic Ordinary Partnership)
และหา้ งหุ้นส่วนจากดั (Limited partnership) นัน้ เกดิ จากการทบี่ ุคคลตงั้ แต่ 2 คนขึน้ ไป ตกลงทีจ่ ะทาการคา้
ร่วมกนั โดยมุ่งหวงั ทจ่ี ะแบ่งผลกาไรจากการดาเนินกจิ การคา้ นนั้

2. นกั เรยี นยกตวั อยา่ งหา้ งหนุ้ สว่ นทต่ี อ้ งจดทะเบยี น ตามความคดิ เหน็ ของตนเอง

ขนั้ สอน

3. ครูแนะนาการสอนโดยใช้เทคนิคการเรยี นแบบร่วมมอื (Jigsaw) โดยแบ่งกลุ่มผู้เรียนกลุ่มละ 4 คน
ใหแ้ ต่ละคนศกึ ษาคน้ ควา้ เน้อื หาเกย่ี วกบั

3.1 การจดทะเบยี นจดั ตงั้ หา้ งหนุ้ ส่วนสามญั นติ บิ ุคคลและหา้ งหนุ้ สว่ นจากดั
3.2 การจดทะเบยี นแกไ้ ขเปลย่ี นแปลงหา้ งหนุ้ สว่ น
3.3 การแปรสภาพหุน้ สว่ นเป็นบรษิ ทั จากดั
3.4 การเลกิ หา้ งหนุ้ ส่วน
3.5 การชาระบญั ชแี ละการจดทะเบยี นเสรจ็ การชาระบญั ชขี องหา้ งหนุ้ สว่ น
4. ผเู้ รยี นเขยี นแผนภมู ิ หรอื โครงสรา้ งการจดทะเบยี นแปรสภาพหา้ งหนุ้ สว่ นเป็นบรษิ ทั จากดั
5. ผูเ้ รยี นเขยี นแผนภูมิ หรอื โครงสร้างการชาระบญั ชแี ละการจดทะเบยี นเสรจ็ การชาระบญั ชขี อง
หา้ งหนุ้ ส่วนจากดั
6. ผเู้ รยี นปฏบิ ตั กิ จิ กรรมดงั น้ี

33

6.1 จดั ทารายงาน 1 เล่ม โดยแบ่งเป็นกลมุ่ ผเู้ รยี นตามสภาพผเู้ รยี น
6.2 ศกึ ษาการจดทะเบยี นหา้ งหนุ้ ส่วนแต่ละประเภท
6.3 เลอื กกจิ การหา้ งหนุ้ ส่วนทส่ี นใจหรอื จาลองสถานการณ์จรงิ มา 1 กจิ การ
6.4 ดาเนินการจดทะเบยี นหา้ งหนุ้ สว่ นตามกรณี ดงั ต่อไปน้ี

(1) จดั ตงั้ หา้ งหนุ้ สว่ น
(2) จดทะเบยี นแกไ้ ขเปลย่ี นแปลงหา้ งหนุ้ สว่ นจากดั

2.1 แกไ้ ขเปลย่ี นแปลงวตั ถุประสงคแ์ ละสานกั งาน
2.2 แก้ไขเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั ผเู้ ป็นหุน้ สว่ น (หุ้นสว่ นเขา้ ใหม่/ออก/เพมิ่ -ลดทุน/เปลย่ี นจาพวก)
2.3 แกไ้ ขเปลย่ี นแปลงชอ่ื และดวงตราสาคญั
(3) แปรสภาพหา้ งหนุ้ ส่วนเป็นบรษิ ทั จากดั
(4) เลกิ หา้ งหนุ้ สว่ น
(5) แกไ้ ขเปลย่ี นแปลงตวั ผชู้ าระบญั ชี
(6) เสรจ็ การชาระบญั ชี
6.5 สามารถขอและซ้อื คาขอจดทะเบียนและเอกสารประกอบการจดทะเบียนต่างๆ ได้ท่หี น่วยงาน
ของกรมพฒั นาธรุ กจิ การคา้ ทกุ แหง่ หรอื ดาวน์โหลดไดจ้ าก http://www.dbd.go.th

6.6 รวบรวมผลงานส่งครเู ป็นรายงานกลมุ่ ละ 1 เลม่ เพ่อื ประเมนิ ผล
7. ผเู้ รยี นปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเพม่ิ เตมิ ดงั น้ี

1) แบ่งผูเ้ รยี นออกเป็น 4 กลุ่ม โดยวธิ ใี ห้ผู้เรยี นจดั กลุ่มเอง โดยให้มสี มาชิกคละกนั ระหว่าง
ผเู้ รยี นทเ่ี รยี นดมี าก เรยี นดี เรยี นปานกลางและเรยี นอ่อน

2) ผเู้ รยี นแต่ละกลมุ่ เลอื กหวั หน้ากลุ่มและเลขานุการกล่มุ
3) หวั หน้ากลุ่ม เลขานุการกลุม่ หรอื ผแู้ ทนกล่มุ จบั สลาก
4) หวั หน้ากลมุ่ แบ่งงานใหส้ มาชกิ ในกลุ่มรบั ผดิ ชอบ
5) ผเู้ รยี นทงั้ 4 กล่มุ ระดมสมอง ศกึ ษาเน้อื หาตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมายและคน้ ควา้ เพม่ิ เตมิ
6) ผสู้ อนเสนอขอ้ คดิ เหน็ เพม่ิ เตมิ พรอ้ มแจงใหผ้ เู้ รยี นทราบเพอ่ื พฒั นาตนเอง
8. ครูแนะนาผเู้ รยี นให้นาวถิ ีชวี ติ ท่พี อเพยี งไปปรบั ใช้ในชวี ติ ประจาวนั เพ่ือช่วยให้รจู้ กั พฒั นาทกั ษะ
ความรู้ และความสามารถรวมทงั้ สติปัญญาเพ่อื แก้ปัญหาการดาเนินชีวติ ตามแนวปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ผู้เรยี นวชิ าน้ีนอกจากจะได้ความรู้ท่ถี ูกต้องแล้ว สามารถนาไปประยุกต์ใช้เพ่ือเป็นเคร่อื งมือท่สี าคญั ในการ
แกป้ ัญหาในชวี ติ ประจาวนั อกี ดว้ ย

ขนั้ สรปุ และการประยกุ ต์

9. ครูสรุปเน้ือหาทงั้ หมดโดยอภปิ รายสนั้ ๆ และสุ่มถามให้ผู้เรยี นบางคนตอบเพ่อื ให้มีความรู้ และ
เขา้ ใจในการนาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ต่อไปได้

10. ผเู้ รยี นทาแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ แบบทดสอบ และใบงาน

34

ส่ือและแหล่งการเรยี นรู้

1. หนงั สอื เรยี น วชิ ากระบวนการจดั ทาบญั ชี ฉบบั ปรบั ปรงุ ของบรษิ ทั สานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์ จากดั
2. ส่อื แผ่นใส
3. กจิ กรรมการเรยี นการสอน
4. ใบงาน

หลกั ฐาน
1. บนั ทกึ การสอน
2. ใบแสดงผลการปฏบิ ตั งิ าน
3. แผนจดั การเรยี นรู้
4. ใบเชค็ ชอ่ื เขา้ หอ้ งเรยี น

การวดั ผลและการประเมินผล
วิธีวดั ผล

1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. ตรวจใบงาน
3. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ แบบทดสอบ
4 ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุม่
5 สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม
6 การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

เคร่อื งมือวดั ผล
1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม (โดยคร)ู
3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุม่ (โดยผูเ้ รยี น)
4. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน
5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบทดสอบ
6. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครแู ละผเู้ รียน
รว่ มกนั ประเมนิ

เกณฑก์ ารประเมินผล
1. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ตอ้ งไมม่ ชี อ่ งปรบั ปรงุ
2. เกณฑผ์ ่านการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกล่มุ คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป)
3. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป)
4. กจิ กรรมใบงาน เกณฑผ์ ่าน คอื 50%
5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และใบงานมเี กณฑผ์ า่ น 50%
6 แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนข้นึ อย่กู บั การ
ประเมนิ ตามสภาพจรงิ

35

กิจกรรมเสนอแนะ

1. ทาใบงานและแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้

2. บนั ทกึ การรบั -จ่าย

ตวั อย่างแบบบนั ทึกบญั ชีรายรบั -รายจ่าย

ว.ด.ป. รายรบั จานวนเงิน ว.ด.ป. รายรบั จานวนเงิน
บาท สต. บาท สต.

แบบทดสอบหน่วยที่ 4

จงเลือกคาตอบที่ถกู ต้องที่สดุ เพียงคาตอบเดยี ว

1. วตั ถุประสงคใ์ นการจดทะเบยี นจดั ตงั้ หา้ งหนุ้ สว่ นคอื ขอ้ ใด

ก. ย่นื ขอจดทะเบยี นหา้ งใหถ้ กู ต้อง ข. แบ่งกาไรจากการดาเนนิ กจิ การ

ค. กาหนดขอบเขตการคา้ ง. ถูกทุกขอ้

2. ส่วนมากผเู้ ป็นหนุ้ สว่ นจะทาความตกลงในเร่อื งสาคญั ๆ ตามขอ้ ใด

ก. จานวนเงนิ ลงทุน ข. การแบ่งสว่ นกาไรหรอื ขาดทนุ

ค. แต่งตงั้ หนุ้ ส่วนผจู้ ดั การ ง. ถกู ทกุ ขอ้

3. หนุ้ ส่วนจาพวกใดทส่ี ามารถลงทุนดว้ ยแรงงานได้

ก. หนุ้ ส่วนไม่จากดั ความรบั ผดิ ชอบ ข. หนุ้ สว่ นจากดั ความรบั ผดิ ชอบ

ค. หนุ้ สว่ นทกุ คน ง. หนุ้ สว่ นทล่ี งทุนมากทส่ี ุด

4. หนุ้ ส่วนผจู้ ดั การ จะแต่งตงั้ จากหนุ้ สว่ นจาพวกใด

ก. จากดั ความรบั ผดิ ชอบ ข. ไม่จากดั ความรบั ผดิ ชอบ

ค. หนุ้ สว่ นทล่ี งทนุ มากทส่ี ุด ง. หนุ้ ส่วนคนใดกไ็ ด้

5. กรณีขอใหน้ ายทะเบยี นรบั รองสาเนาเอกสารการจดทะเบยี นจะชาระคา่ ธรรมเนียมตามขอ้ ใด

ก. หน้าละ 50 บาท ข. หน้าละ 30 บาท

ค. หน้าละ 20 บาท ง. หน้าละ 10 บาท

6. เอกสารขอ้ ใดทใ่ี ชย้ น่ื คาขอจดทะเบียนหา้ งหนุ้ สว่ น

ก. แบบ ทพ. ข. แบบ หส.1

ค. แบบ ว. ง. ถูกทุกขอ้

36

7. การแปรสภาพหนุ้ สว่ นเป็นบรษิ ทั จากดั ตอ้ งมหี นุ้ ส่วนกค่ี นจงึ จะดาเนินการได้

ก. 2 คน ข. 3 คน ค. 5 คน ง. 7 คน

8. ขอ้ ใดเป็นการเลกิ หา้ งหนุ้ สว่ นโดยผลของกฎหมาย

ก. หนุ้ สว่ นทกุ คนลงมตใิ หเ้ ลกิ ข. หา้ งมแี ต่ขาดทุน

ค. หนุ้ ส่วนตาย ง. หนุ้ สว่ นประมาทเลนิ เลอ่

9. ขอ้ ใดเป็นการเลกิ หา้ งหนุ้ สว่ นโดยความประสงคข์ องผเู้ ป็นหนุ้ ส่วน

ก. หา้ งหนุ้ ส่วนลม้ ละลาย ข. หนุ้ ส่วนเหลอื เพยี งคนเดยี ว

ค. หนุ้ ส่วนฝ่าฝืนทาการคา้ แข่งกบั หา้ ง ง. หา้ งหนุ้ สว่ นขาดทุน ไมม่ หี วงั ฟ้ืน

10. การประกาศโฆษณาในหนังสอื พิมพ์แห่งท้องท่ี 1 ครงั้ เป็นอย่างน้อย และส่งคาบอกกล่าวเป็นจดหมาย

ลงทะเบยี นไปรษณยี ไ์ ปยงั เจา้ หน้ี ต้องดาเนินการภายในกว่ี นั นบั แต่วนั ทเ่ี ลกิ หา้ งหนุ้ สว่ น

ก. 7 วนั ข. 14 วนั ค. 15 วนั ง. 30 วนั



เฉลยแบบทดสอบหน่วยที่ 4

1. วตั ถุประสงคใ์ นการจดทะเบยี นจดั ตงั้ หา้ งหนุ้ ส่วนคอื ขอ้ ใด
ข. แบง่ กาไรจากการดาเนิ นกิจการ

2. ส่วนมากผเู้ ป็นหนุ้ ส่วนจะทาความตกลงในเรอ่ื งสาคญั ๆ ตามขอ้ ใด ง. ถกู ทุกข้อ
3. หนุ้ สว่ นจาพวกใดทส่ี ามารถลงทนุ ดว้ ยแรงงานได้ ก. ห้นุ ส่วนไม่จากดั ความรบั ผิดชอบ
4. หนุ้ ส่วนผจู้ ดั การ จะแต่งตงั้ จากหนุ้ ส่วนจาพวกใด ข. ไม่จากดั ความรบั ผิดชอบ
5. กรณขี อใหน้ ายทะเบยี นรบั รองสาเนาเอกสารการจดทะเบยี นจะชาระค่าธรรมเนียมตามขอ้ ใด

ก. หน้าละ 50 บาท

6. เอกสารขอ้ ใดทใ่ี ชย้ น่ื คาขอจดทะเบยี นหา้ งหนุ้ สว่ น ข. แบบ หส.1
7. การแปรสภาพหนุ้ สว่ นเป็นบรษิ ทั จากดั ต้องมหี นุ้ ส่วนก่คี นจงึ จะดาเนนิ การได้ ข. 3 คน
8. ขอ้ ใดเป็นการเลกิ หา้ งหนุ้ ส่วนโดยผลของกฎหมาย ค. ห้นุ ส่วนตาย
9. ขอ้ ใดเป็นการเลกิ หา้ งหนุ้ สว่ นโดยความประสงคข์ องผเู้ ป็นหนุ้ ส่วน

ค. ห้นุ ส่วนฝ่ าฝื นทาการค้าแข่งกบั ห้าง

10. การประกาศโฆษณาในหนังสอื พิมพ์แห่งท้องท่ี 1 ครงั้ เป็นอย่างน้อย และส่งคาบอกกล่าวเป็นจดหมาย
ลงทะเบยี นไปรษณียไ์ ปยงั เจา้ หน้ี ต้องดาเนินการภายในกว่ี นั นบั แต่วนั ทเ่ี ลกิ หา้ งหนุ้ สว่ น
ข. 14 วนั



37

บนั ทึกหลงั การสอน
ข้อสรปุ หลงั การสอน

..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
............................................................................................................................................ ......
............................................................................................................................ ......................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
ปัญหาท่ีพบ

............................................................................................................................. .....................
.................................................................................................. ................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
.............................................................................................................................................. ....
แนวทางแก้ปัญหา

..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
............................................................................................................................. .....................
.......................................................................................................... ........................................

38

แผนการจดั การเรียนร้แู บบบรู ณาการท่ี 5 หน่วยท่ี 5

รหสั วิชา 2201-2109 กระบวนการจดั ทาบญั ชี 3 (6) สอนครงั้ ที่ 5 (25-30)
ชื่อหน่วย การจดทะเบียนบริษทั จากดั จานวน 6 ชม.

สาระสาคญั

การประกอบธุรกจิ ทม่ี บี ุคคล 3 คนขน้ึ ไปมาลงทนุ และเป็นเจ้าของกจิ การเรยี กว่า “ผถู้ อื หุน้ ” ผู้ถอื หนุ้ จะ
รบั ผิดในหน้ีต่างๆ ท่เี กดิ ข้นึ จากการประกอบธุรกจิ ไม่เกินจานวนเงนิ ท่ีผู้ถือหุ้นแต่ละคนตกลงจะร่วมลงทุน บรษิ ัท
จากดั จะต้องจดทะเบยี นเป็นนิตบิ ุคคลตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์

ส่วนการประกอบธุรกจิ ทม่ี บี ุคคล 15 คนขน้ึ ไปมาลงทุนและเป็นเจา้ ของกจิ การเรยี กว่า “ผถู้ อื หนุ้ ” ผถู้ อื
หุน้ จะรบั ผดิ ในหน้ีต่างๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการประกอบธุรกจิ ไม่เกนิ จานวนเงนิ ของผู้ถือหุ้นแต่ละคน ตกลงจะร่วม
ลงทุนคล้ายกบั บรษิ ทั จากดั จะแตกต่างกนั กค็ ือบริษัทมหาชนจากดั สามารถนาหุน้ ออกเสนอขายต่อประชาชน
โดยทวั่ ไปได้ และมกี ฎขอ้ บงั คบั ตอ้ งปฏบิ ตั เิ คร่งครดั กว่าบรษิ ทั จากดั บรษิ ทั มหาชนจากดั จะต้องจดทะเบยี นเป็น
นิติบุคคลตามพระราชบญั ญตั บิ รษิ ทั มหาชนจากดั พ.ศ. 2535

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1. อธบิ ายและจดั ตงั้ บรษิ ทั จากดั ได้

2. อธบิ ายและจดทะเบยี นควบบรษิ ทั จากดั ได้

3. อธบิ ายและจดทะเบยี นเพม่ิ ทุนบรษิ ทั จากดั ได้

4. อธบิ ายและจดทะเบยี นลดทุนบรษิ ทั จากดั ได้

5. อธบิ ายและจดทะเบยี นเลกิ และเสรจ็ การชาระบญั ชบี รษิ ทั จากดั ได้

6. อธบิ ายและจดทะเบยี นจดั ตงั้ บรษิ ทั มหาชนจากดั ได้

7. มกี ารพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของผ้สู าเรจ็ การศกึ ษา

สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทค่ี รสู ามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเรอ่ื ง

7.1 ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ 7.2 ความมวี นิ ยั

7.3 ความรบั ผดิ ชอบ 7.4 ความซ่อื สตั ยส์ ุจรติ

7.5 ความเช่อื มนั่ ในตนเอง 7.6 การประหยดั

7.7 ความสนใจใฝ่รู้ 7.8 การละเวน้ สง่ิ เสพตดิ และการพนนั

7.9 ความรกั สามคั คี 7.10 ความกตญั ญกู ตเวที

สมรรถนะหลกั

99. วิเคราะห์และปฏิบัติงานตามกระบวนการบญั ชีและวชิ าชพี บญั ชขี องธุรกจิ ตามหลกั การบญั ชีท่ี

รบั รองทวั่ ไป
สมรรถนะย่อย

99.1 ศกึ ษาและดาเนินการเกย่ี วกบั เอกสารบญั ชแี ละการปฏบิ ตั งิ านบญั ชขี องธรุ กจิ บรกิ ารซอ้ื ขายสนิ คา้
และอุตสาหกรรม ในรปู แบบเจา้ ของคนเดยี ว หา้ งหนุ้ ส่วนและบรษิ ทั จากดั ตามหลกั การบญั ชที ร่ี บั รองทวั่ ไป และ
การปฏบิ ตั งิ านในวชิ าชพี บญั ชี

39

ตวั บ่งชี้
99.101 อธบิ ายหลกั การ วธิ กี ารเกย่ี วกบั วงจรปฏบิ ตั ิงานบญั ชแี ละการจดั การเก่ยี วกบั เอกสารบญั ชขี อง

กจิ การบรกิ าร ซอ้ื ขายสนิ ค้าและอุตสาหกรรม ในรูปแบบเจา้ ของคนเดยี ว ห้างหุ้นส่วน บรษิ ทั จากดั และบรษิ ทั
จากดั (มหาชน)

99.102 วเิ คราะหร์ ายการค้า บนั ทกึ บญั ชี จดั ทารายงานทางการเงนิ ตามกฎหมายบญั ชีได้เหมาะสมตาม
ประเภทของธรุ กจิ

99.103 จัดทางบการเงนิ ตามกฎหมายบัญชี การย่นื แบบแสดงรายการเสียภาษีประเภทต่างๆ ต่อ
กรมสรรพากร และการยน่ื แบบงบการเงนิ ประจาปีต่อกระทรวงพาณิชย์

เนื้อหาสาระ

1. การจดั ตงั้ บรษิ ทั จากดั
2. การจดทะเบยี นควบบรษิ ทั จากดั
3. การจดทะเบยี นเพมิ่ ทุนบรษิ ทั จากดั
4. การจดทะเบยี นลดทุนบรษิ ทั จากดั
5. การจดทะเบยี นเลกิ และเสรจ็ การชาระบญั ชบี รษิ ทั จากดั
6. การจดทะเบยี นจดั ตงั้ บรษิ ทั มหาชนจากดั

กิจกรรมการเรยี นรู้
ขนั้ นาเขา้ ส่บู ทเรยี น

1. ครกู ล่าวถงึ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา 1096 เร่อื งดาเนินการจดั ตงั้ บรษิ ทั โดย
แสดงรปู ภาพขนั้ ตอนการจดทะเบยี นประกอบ

2. ครแู ละผูเ้ รยี นกล่าวถงึ การจดั ตงั้ ธุรกจิ โดยทวั่ ๆ ไปตามกฎหมายและหน่วยงานราชการทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
โดยการเปรยี บเทยี บความแตกต่างและลกั ษณะต่างๆ ของกจิ การ

40
ขนั้ สอน

3. ครอู ธบิ ายการจดั ตงั้ บรษิ ทั จากดั การจดทะเบียนควบบรษิ ทั จากดั การจดทะเบยี นเพิ่มทุนบรษิ ทั
จากดั การจดทะเบียนลดทุนบรษิ ทั จากดั การจดทะเบียนเลกิ และเสรจ็ การชาระบญั ชบี รษิ ัทจากดั และการจด
ทะเบยี นจดั ตงั้ บรษิ ทั มหาชนจากดั โดยใชส้ ่อื แผ่นใส และสอ่ื PowerPoint ประกอบ

4. ครแู ละผู้เรยี นจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนแบบร่วมมอื (Cooperative Learning) โดยครใู หใ้ บงาน
ล่วงหน้าอย่างน้อย 2 สปั ดาห์ กาหนดเน้ือหาตามผลการเรยี นรทู้ ่คี าดหวงั ให้ ผเู้ รยี นศกึ ษา โดยใช้เทคนิคการ
เรยี นการสอนแบบ (Co-op-Co-op)

7. ผเู้ รยี นทงั้ ชนั้ เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเรอ่ื งการจดทะเบยี นบรษิ ทั จากดั เพ่อื กาหนดหวั ขอ้ ทจ่ี ะศกึ ษา
8. แบ่งกลุ่มผเู้ รยี นตามความสามารถคละกนั กลุ่มละ 6 คน

❖ กลุ่มท่ี 1 การจดั ตงั้ บรษิ ทั จากดั
❖ กลมุ่ ท่ี 2 การจดทะเบยี นควบบรษิ ทั จากดั
❖ กล่มุ ท่ี 3 การจดทะเบยี นเพม่ิ ทนุ บรษิ ทั จากดั
❖ กล่มุ ท่ี 4 การจดทะเบยี นลดทุนบรษิ ทั จากดั
❖ กลมุ่ ท่ี 5 การจดทะเบยี นเลกิ และเสรจ็ การชาระบญั ชบี รษิ ทั จากดั
❖ กลมุ่ ท่ี 6 การจดทะเบยี นจดั ตงั้ บรษิ ทั มหาชนจากดั

41

9. สมาชกิ ทกุ คนแบ่งหน้าทร่ี บั ผดิ ชอบและนาผลงานมารวมกนั มกี ารประชุมเพ่อื รวบรวมหรอื
ปรบั แต่งภาษาใหผ้ ลงานกล่มุ ทารว่ มกนั มคี วามต่อเน่อื งกนั

10. ผเู้ รยี นปฏบิ ตั กิ จิ กรรมดงั ต่อไปน้ี
10.1 จดั ทารายงาน 1 เลม่
10.2 แบ่งผู้เรยี นเป็นกลุ่ม แล้วจบั สลากหวั ข้อทารายงานตามความเหมาะสม หรือแบ่งงาน

กนั ทาทงั้ ชนั้ เรยี น ดงั ต่อไปน้ี
10.2.1 การจดทะเบยี นเกย่ี วกบั บรษิ ทั มหาชนจากดั
10.2.1.1 การตงั้ บรษิ ทั มหาชนจากดั
10.2.1.2 การแปรสภาพบรษิ ทั เอกชนเป็นบรษิ ทั มหาชนจากดั
10.2.1.3 การเพมิ่ ทุนของบรษิ ทั มหาชนจากดั
10.2.1.4 การลดทุนของบรษิ ทั มหาชนจากดั
10.2.1.5 การควบบรษิ ทั มหาชนกบั บรษิ ทั เอกชน
10.2.1.6 การเลกิ และชาระบญั ชบี รษิ ทั มหาชนจากดั
10.2.2 ขอ้ มลู ทใ่ี ชใ้ นการจดทะเบยี น
10.2.3 เอกสารหลกั ฐานทต่ี ้องใชใ้ นการจดทะเบยี น
10.2.4 คา่ ธรรมเนยี ม
10.2.5 สถานทจ่ี ดทะเบยี น

10.3. กรอกรายละเอยี ดเอกสารทต่ี อ้ งใชใ้ นการจดทะเบยี นประเภทต่างๆ ใหค้ รบถว้ นสมบรู ณ์
10.4. แบบพิมพ์จดทะเบียนสามารถขอและซ้อื ได้จากหน่วยงานของกรมพฒั นาธุรกจิ การค้า
หรอื ดาวน์โหลดจาก www.dbd.go.th
10.5. จดั สง่ รายงานเพ่อื ประเมนิ ผล
11. ครูแนะนาผเู้ รยี นให้บนั ทึกรายรบั -รายจ่าย โดยกล่าวถึงเศรษฐกจิ พอเพียงกบั การแก้ไขปัญหา
ความยากจนภาคปฏิบตั ิ เป็นการลงมอื ปฏบิ ตั เิ พอ่ื นาพาตวั เองส่เู ศรษฐกจิ พอเพยี ง คอื การอย่อู ย่างพ่งึ ตนเองใน
ระดบั ครวั เรอื น ตอ้ งมคี วามพรอ้ มทจ่ี ะอยอู่ ย่างพง่ึ ตนเองดว้ ยการลดรายจ่าย เพม่ิ รายได้ เพ่อื ใหเ้ กดิ การออม

ขนั้ สรปุ และการประยกุ ต์

12. ผเู้ รยี นสรปุ เน้อื หา โดยสุม่ ผเู้ รยี นบางรายการหน้าชนั้ เรยี น
13. ผเู้ รยี นทาแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ แบบทดสอบ และใบงาน เพ่อื ฝึกทกั ษะความรแู้ ละความเขา้ ใน
ในการหลกั เกณฑแ์ ละขนั้ ตอนในการการบนั ทกึ บญั ชเี พอ่ื นาไปประยกุ ต์ใชต้ ่อไป

ส่ือและแหล่งการเรียนรู้

1. หนงั สอื เรยี น วชิ ากระบวนการจดั ทาบญั ชี ฉบบั ปรบั ปรุง ของบรษิ ทั สานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์ จากดั
2. สอ่ื แผน่ ใส
3. กจิ กรรมการเรยี นการสอน
4. ใบงาน

42

หลกั ฐาน

1. บนั ทกึ การสอน
2. ใบแสดงผลการปฏบิ ตั งิ าน
3. แผนจดั การเรยี นรู้
4. ใบเชค็ ชอ่ื เขา้ หอ้ งเรยี น

การวดั ผลและการประเมินผล
วิธีวดั ผล

1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. ตรวจใบงาน
3. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี น แบบทดสอบ
4 ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม
5 สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม
6 การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

เครือ่ งมือวดั ผล
1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม (โดยคร)ู
3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ (โดยผ้เู รยี น)
4. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน
5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ แบบทดสอบ
6. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ โดยครูและผเู้ รยี น
รว่ มกนั ประเมนิ

เกณฑก์ ารประเมินผล
1. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ต้องไมม่ ชี ่องปรบั ปรงุ
2. เกณฑผ์ ่านการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป)
3. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุม่ คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป)
4. กจิ กรรมใบงาน เกณฑผ์ า่ น คอื 50%
5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแลลทดสอบมเี กณฑผ์ ่าน 50%
6 แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนข้นึ อยกู่ บั การ
ประเมนิ ตามสภาพจรงิ

กิจกรรมเสนอแนะ
1. ทาใบงานและแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
2. บนั ทกึ การรบั -จ่าย

43

ตวั อย่างแบบบนั ทึกบญั ชีรายรบั -รายจ่าย

ว.ด.ป. รายรบั จานวนเงิน ว.ด.ป. รายรบั จานวนเงิน
บาท สต. บาท สต.

แบบทดสอบหน่วยท่ี 5

จงเลือกคาตอบที่ถกู ต้องท่ีสดุ เพียงคาตอบเดยี ว

1. หนงั สอื บรคิ ณหส์ นธยิ น่ื จดทะเบยี นภายในกว่ี นั นบั แต่วนั ทน่ี ายทะเบยี นอนุญาตใหจ้ องชอ่ื นติ บิ ุคคล

ก. 7 วนั ข. 14 วนั

ค. 15 วนั ง. 30 วนั

2. ใครคอื ผทู้ ย่ี น่ื จองช่อื นติ บิ ุคคล ในการขอจดทะเบยี นหนงั สอื บรคิ ณหส์ นธิ

ก. หนุ้ สว่ นผจู้ ดั การ ข. ผชู้ าระบญั ชี

ค. ผถู้ อื หนุ้ ง. ผเู้ รมิ่ กอ่ การ

3. เวบ็ ไซต์ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การจดทะเบยี นของกรมพฒั นาธุรกจิ การค้าคอื ขอ้ ใด

ก. www.rd.go.th ข. www.dbd.go.th

ค. www.cgd.go.th ง. www.depthai.go.th

4. คณะกรรมการเรยี กเกบ็ ค่าหนุ้ จากผเู้ ขา้ ชอ่ื ซอ้ื หนุ้ งวดแรกอยา่ งน้อยรอ้ ยละเทา่ ใดของมลู ค่าหนุ้

ก. 5% ข. 15% ค. 25% ง. 50%

5. ผเู้ รมิ่ ก่อการอยา่ งน้อยตอ้ งมกี ค่ี น เขา้ ชอ่ื ทาหนงั สอื บรคิ ณหส์ นธิ

ก. 3 คน ข. 7 คน ค. 10 คน ง. 15 คน

6. เหตุใดจงึ ตอ้ งมกี ารควบบรษิ ทั จากดั

ก. เพราะขาดทุน ข. เพ่อื ตงั้ สารองบรษิ ทั ไว้

ค. ลดการแขง่ ขนั ทางการคา้ ง. ถกู ทกุ ขอ้

7. บรษิ ทั ทจ่ี ะควบเขา้ กนั จะตอ้ งนามตไิ ปจดทะเบยี นมตพิ เิ ศษใหค้ วบบรษิ ทั ภายในกว่ี นั นบั แต่วนั ทม่ี กี ารลงมติ

ก. 30 วนั ข. 15 วนั ค. 14 วนั ง. 7 วนั

8. ถ้าบรษิ ทั ไม่ได้แต่งตงั้ ผชู้ าระบญั ชไี วต้ ามขอ้ บงั คบั ของบรษิ ทั ตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ใด

ก. กรรมการทกุ คนเป็นผชู้ าระบญั ชี ข. ผเู้ รม่ิ ก่อการเป็นผชู้ าระบญั ชี

ค. ผจู้ ดั การบรษิ ทั เป็นผชู้ าระบญั ชี ง. ผสู้ อบบญั ชรี บั อนุญาต

9. การเสนอขายหนุ้ ต่อประชาชนของบรษิ ทั มหาชนจากดั ตอ้ งขออนุญาตจากหน่วยงานใด

ก. กรมพฒั นาธุรกจิ การคา้ ข. กรมสรรพากร

ค. สานกั งาน ก.ล.ต. ง. กรมบญั ชกี ลาง

44

10. บรษิ ทั มหาชนจากดั ต้องประกาศโฆษณาเลกิ ในหนงั สอื พมิ พท์ จ่ี าหน่าย ณ ทอ้ งทท่ี ต่ี งั้ สานกั งานใหญ่มกี าหนด

เวลาตดิ ต่อกนั ไม่น้อยกว่ากว่ี นั

ก. 3 วนั ข. 7 วนั

ค. 14 วนั ง. 30 วนั



เฉลยแบบทดสอบหน่วยท่ี 5

1. หนงั สอื บรคิ ณหส์ นธยิ น่ื จดทะเบยี นภายในกว่ี นั นบั แต่วนั ทน่ี ายทะเบยี นอนุญาตใหจ้ องช่อื นติ บิ ุคคล

ง. 30 วนั

2. ใครคอื ผทู้ ย่ี น่ื จองช่อื นติ บิ ุคคล ในการขอจดทะเบยี นหนงั สอื บรคิ ณหส์ นธิ ง. ผ้เู ริ่มก่อการ

3. เวบ็ ไซตท์ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การจดทะเบยี นของกรมพฒั นาธรุ กจิ การคา้ คอื ขอ้ ใด ข. www.dbd.go.th

4. คณะกรรมการเรยี กเกบ็ ค่าหนุ้ จากผู้เขา้ ชอ่ื ซอ้ื หนุ้ งวดแรกอย่างน้อยรอ้ ยละเท่าใดของมลู คา่ หนุ้

ค. 25%

5. ผเู้ รมิ่ ก่อการอยา่ งน้อยตอ้ งมกี ค่ี น เขา้ ช่อื ทาหนงั สอื บรคิ ณหส์ นธิ ก. 3 คน

6. เหตุใดจงึ ต้องมกี ารควบบรษิ ทั จากดั ค. ลดการแข่งขนั ทางการค้า

7. บรษิ ทั ทจ่ี ะควบเขา้ กนั จะต้องนามตไิ ปจดทะเบยี นมตพิ เิ ศษใหค้ วบบรษิ ทั ภายในกว่ี นั นบั แต่วนั ทม่ี กี ารลงมติ

ค. 14 วนั

8. ถา้ บรษิ ทั ไม่ได้แต่งตงั้ ผชู้ าระบญั ชไี วต้ ามขอ้ บงั คบั ของบรษิ ทั ตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ใด

ก. กรรมการทกุ คนเป็นผชู้ าระบญั ชี

9. การเสนอขายหนุ้ ต่อประชาชนของบรษิ ทั มหาชนจากดั ตอ้ งขออนุญาตจากหน่วยงานใด

ค. สานักงาน ก.ล.ต.

10. บรษิ ทั มหาชนจากดั ต้องประกาศโฆษณาเลิกในหนังสอื พมิ พ์ท่จี าหน่าย ณ ท้องท่ที ่ตี งั้ สานักงานใหญ่มี

กาหนดเวลาตดิ ต่อกนั ไม่น้อยกว่ากว่ี นั ก. 3 วนั



45

บนั ทึกหลงั การสอน

ขอ้ สรปุ หลงั การสอน

..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
................................................................................................................................................ ..
............................................................................................................................. .....................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
........................................................................................................................................... .......

ปัญหาที่พบ

............................................................................................................................. .....................
.................................................................................................. ................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................

แนวทางแก้ปัญหา

..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
............................................................................................................................... ...................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................

46

แผนการจดั การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการท่ี 6 หน่วยท่ี 6

รหสั วิชา 2201-2109 กระบวนการจดั ทาบญั ชี 3 (6) สอนครงั้ ที่ 6 (31-36)
ชื่อหน่วย เอกสารและการจดั ประเภทเอกสารทใ่ี ชใ้ นการบนั ทกึ บญั ชี จานวน 6 ชม.

สาระสาคญั

การบันทึกบัญชีทุกรายการต้องบันทึกจากหลักฐานท่ีเป็ นเอกสารต่างๆ ซ่ึงอาจได้รับจาก
บุคคลภายนอก หรือจดั ทาข้นึ ใช้เองภายในกิจการ เพ่อื ให้ทราบถึงการได้มาของข้อมูลท่เี ก่ยี วข้อง เน่ืองจาก
เอกสารนนั้ ไดจ้ ดั ทาขน้ึ เพ่อื บนั ทกึ เหตุการณ์ที่เกดิ ข้นึ ในการดาเนินธุรกจิ และนามาเป็นหลกั ฐานในการบนั ทกึ
บญั ชี ซ่งึ เอกสารทางบญั ชจี ะมี 2 ลกั ษณะ ได้แก่ เอกสารประกอบการลงบญั ชีตามพระราชบัญญตั ิการบัญชี
พ.ศ. 2543 และเอกสารประกอบการลงบญั ชตี ามประมวลรษั ฎากร

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1. อธบิ ายและวเิ คราะหเ์ อกสารประกอบการบนั ทกึ บญั ชไี ด้

2. อธบิ ายและแยกประเภทของเอกสารทใ่ี ชใ้ นการบนั ทกึ บญั ชไี ด้

3. บอกชนดิ ของเอกสารทางบญั ชที ใ่ี ชใ้ นธุรกจิ ได้

4. อธบิ ายและจดั เกบ็ เอกสารประกอบการบนั ทกึ บญั ชไี ด้

5. มกี ารพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผู้สาเรจ็ การศกึ ษา

สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทค่ี รสู ามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเรอ่ื ง

5.1 ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ 5.2 ความมวี นิ ยั

5.3 ความรบั ผดิ ชอบ 5.4 ความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ

5.5 ความเช่อื มนั่ ในตนเอง 5.6 การประหยดั

5.7 ความสนใจใฝ่รู้ 5.8 การละเวน้ สง่ิ เสพตดิ และการพนนั

5.9 ความรกั สามคั คี 5.10 ความกตญั ญกู ตเวที

สมรรถนะหลกั
99. วิเคราะห์และปฏิบตั ิงานตามกระบวนการบญั ชแี ละวชิ าชพี บญั ชขี องธุรกิจ ตามหลกั การบญั ชที ่ี

รบั รองทวั่ ไป

สมรรถนะย่อย
99.1 ศกึ ษาและดาเนินการเกย่ี วกบั เอกสารบญั ชแี ละการปฏบิ ตั งิ านบญั ชขี องธุรกจิ บรกิ ารซอ้ื ขายสนิ คา้

และอุตสาหกรรม ในรปู แบบเจา้ ของคนเดยี ว หา้ งหนุ้ ส่วนและบรษิ ทั จากดั ตามหลกั การบญั ชที ร่ี บั รองทวั่ ไป และ
การปฏบิ ตั งิ านในวชิ าชพี บญั ชี

ตวั บง่ ชี้
99.101 อธบิ ายหลกั การ วธิ กี ารเกย่ี วกบั วงจรปฏบิ ตั ิงานบญั ชแี ละการจดั การเก่ยี วกบั เอกสารบญั ชขี อง

กจิ การบรกิ าร ซอ้ื ขายสนิ ค้าและอุตสาหกรรม ในรปู แบบเจ้าของคนเดยี ว ห้างหุ้นส่วน บรษิ ทั จากดั และบรษิ ทั
จากดั (มหาชน)

47

99.102 วเิ คราะห์รายการคา้ บนั ทกึ บญั ชี จดั ทารายงานทางการเงนิ ตามกฎหมายบญั ชีได้เหมาะสมตาม
ประเภทของธรุ กจิ

99.103 จัดทางบการเงินตามกฎหมายบญั ชี การย่นื แบบแสดงรายการเสียภาษีประเภทต่างๆ ต่อ
กรมสรรพากร และการย่นื แบบงบการเงนิ ประจาปีต่อกระทรวงพาณิชย์

เนื้อหาสาระ

1. เอกสารประกอบการบนั ทกึ บญั ชี
2. ประเภทของเอกสารทใ่ี ชใ้ นการบนั ทกึ บญั ชี
3. ชนิดของเอกสารทางบญั ชที ใ่ี ชใ้ นธุรกจิ
4. การจดั เกบ็ เอกสารประกอบการบนั ทกึ บญั ชี

กิจกรรมการเรียนรู้
ขนั้ นาเขา้ ส่บู ทเรียน
1. ครูกล่าวถงึ เอกสารทางบญั ชี (Accounting documents) ซ่งึ เป็นเอกสารท่ใี ชเ้ ป็นหลกั ฐานประกอบการ

บนั ทกึ บญั ชี อาจจะไดร้ บั จากธุรกจิ หรอื บุคคลภายนอก เช่น บิลเงนิ สด ใบเสรจ็ รบั เงนิ ใบสงั ่ ซือ้ ใบขอซ้อื
ใบกากบั ภาษี เป็นต้น

2. ผเู้ รยี นยกตวั อยา่ งเอกสารทใ่ี ชเ้ ป็นหลกั ฐานประกอบการบนั ทกึ บญั ชี เช่น ใบเสรจ็ รบั เงนิ ใบส่งของ
ใบกากบั ภาษี เป็นต้น

ขนั้ สอน

3. ครใู ชร้ ปู แบบการเรยี นแบบอธบิ ายและสาธติ เอกสารประกอบการบนั ทกึ บญั ชี ประเภทของเอกสาร
ทใ่ี ชใ้ นการบนั ทกึ บญั ชี ชนดิ ของเอกสารทางบญั ชที ใ่ี ชใ้ นธุรกจิ และการจดั เกบ็ เอกสารประกอบการบนั ทกึ บญั ชี
โดยใชส้ ่อื แผน่ ใสและ PowerPoint ประกอบ

4. ครแู นะนาการเรยี นการสอนแบบร่วมมอื โดยการใชเ้ ทคนิค Co-op-Co-op และเปิดโอกาสใหผ้ เู้ รยี น
ซกั ถามแสดงความคดิ เหน็ ร่วมกนั ในชนั้ เรยี น

5. อ่านกรณศี กึ ษาทค่ี รกู าหนดใหแ้ ลว้ ตอบคาถาม
6. กรณที พ่ี นกั งานบญั ชบี นั ทกึ เอกสารบญั ชเี สรจ็ แลว้ ควรจะจดั เกบ็ เอกสารอย่างไรบา้ ง

- เอกสารการขายสนิ คา้ เป็นเงนิ เชอ่ื (ตวั อย่าง)
- เอกสารการซอ้ื สนิ คา้ เป็นเงนิ เชอ่ื (ตวั อยา่ ง)
- เอกสารการขายสนิ คา้ เป็นเงนิ สด (ตวั อยา่ ง)
- เอกสารการซอ้ื สนิ คา้ เป็นเงนิ สด (ตวั อย่าง)
- เอกสารการรบั เงนิ (ตวั อยา่ ง)
- เอกสารการจ่ายเงนิ (ตวั อยา่ ง)

48

เล่มท่ี 05  บริษทั นิวสแ์ อร์ จากดั เลขที่ 05-003

103 ถนนพหลโยธนิ เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพฯ 10900 จานวนเงิน
โทร. 0-2382-3654 300,000 -

เลขประจาตวั ผเู้ สยี ภาษอี ากร 3 21535661 2 

ใบเสรจ็ รบั เงิน (Receipt)

วนั ท่ี 5 มกราคม 25X4 

ช่อื ลกู คา้ รา้ นเจริญกรงุ พานิ ช

ท่ีอยู่ 125 เขตบางกอกใหญ่ กรงุ เทพฯ 10600

จานวน รายการ ราคาต่อหน่วย
30,000 -
10 เคร่อื ง โทรศพั ท์ Mobile 3 G-25X4/1

รวมเงนิ 300,000 -

ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ 7% 21,000 -

(สามแสนสองหมน่ื หน่ึงพนั บาทถว้ น) รวมทงั้ สน้ิ 321,000 -

สนิ คา้ ซอ้ื แลว้ ไมร่ บั คนื

()เชค็ เลขท่ี 12356 ธนาคารกรุงไทย ลงวนั ท่ี 25 มนี าคม 25X4 (.....) เงนิ สด

ผรู้ บั เงนิ .............................................

............../................/...............

7. ผเู้ รยี นนาเอกสารทางบญั ชตี ่อไปน้ี มาศกึ ษาและแลกเปล่ยี นความรกู้ นั ภายในห้องเรยี นและเขยี น
ระบุขอ้ ความในเอกสารทางบญั ชแี ต่ละฉบบั ว่ามขี อ้ ความใดบา้ ง ตามเน้อื หาทไ่ี ดศ้ กึ ษามาแลว้

7.1 ใบรบั หรอื ใบเสรจ็ รบั เงนิ (Receipt)
7.2 ใบส่งของ (Delivery Order)
7.3 ใบกากบั ภาษี (Tax invoice) แบ่งเป็น

7.3.1 ใบกากบั ภาษเี ตม็ รปู แบบ แบ่งเป็น
(1) ใบกากบั ภาษแี บบเตม็ รปู (Full invoice)
(2) ใบกากบั ภาษีอย่างย่อ (Invoice Summary) และใบกากบั ภาษีอย่างย่อท่อี อกโดย

เครอ่ื งบนั ทกึ การเกบ็ เงนิ (Summary of the tax invoice issued by the Recorder of charge)
7.3.2 เอกสารอ่นื ทถ่ี อื เป็นใบกากบั ภาษี

(1) ใบเพม่ิ หน้ี (Debit Note)
(2) ใบลดหน้ี (Credit Note)
(3) ใบเสรจ็ รบั เงนิ ท่สี ่วนราชการออกให้ในการขายทอดตลาด (Government receipts
made out to the auction)

49

(4) ใบเสรจ็ รบั เงนิ ของกรมสรรพากร กรมศุลกากรหรอื กรมสรรพสามิต เฉพาะท่เี ป็น
ภาษมี ลู ค่าเพมิ่ (Receipt of the Department of Revenue)
8. ครปู ลกู ฝังใหผ้ เู้ รยี นประพฤตติ นตามระเบยี บกฎเกณฑ์ของสงั คม มคี วามรบั ผดิ ชอบต่อหน้าท่ขี อง
ตนเอง และการอย่รู ่วมกนั ของทกุ คนยอ่ มมคี วามสมั พนั ธก์ นั ซง่ึ ตอ้ งนากฎระเบยี บและหลกั คุณธรรมตามศาสนา
ทต่ี นนับถือมาปรบั ใช้ เพอ่ื ความเป็นระเบยี บเรยี บร้อยในการอยรู่ ่วมกนั ทาให้สงั คมมคี วามสุข ดงั นนั้ ผเู้ รยี นต้อง
ร่วมกนั ทาประโยชน์เพ่อื สงั คมส่วนรวม เช่น การเปิด-ปิดไฟ ภายในหอ้ งเรยี น หอ้ งน้า เป็นต้น

ขนั้ สรปุ และการประยกุ ต์

9. ผเู้ รยี นสรุปโดยผู้เรยี นทาแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ แบบทดสอบ เพ่อื ฝึกทกั ษะความรแู้ ละความ
เขา้ ในการหลกั เกณฑแ์ ละขนั้ ตอนในการการบนั ทกึ บญั ชเี พ่อื นาไปประยกุ ต์ใชต้ ่อไป

10. ผเู้ รยี นทาใบงานและแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้

ส่ือและแหล่งการเรียนรู้

1. หนงั สอื เรยี น วชิ ากระบวนการจดั ทาบญั ชี ฉบบั ปรบั ปรงุ ของบรษิ ทั สานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์ จากดั
2. ส่อื แผน่ ใส
3. กจิ กรรมการเรยี นการสอน
4. ใบงาน

หลกั ฐาน

1. บนั ทกึ การสอน
2. ใบแสดงผลการปฏบิ ตั งิ าน
3. แผนจดั การเรยี นรู้
4. ใบเชค็ ช่อื เขา้ หอ้ งเรยี น
การวดั ผลและการประเมินผล

วิธีวดั ผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. ตรวจใบงาน
3. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี น แบบทดสอบ
4 ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม
5 สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุม่
6 การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

เครอ่ื งมือวดั ผล
1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุม่ (โดยคร)ู
3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ (โดยผู้เรยี น)
4. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน


Click to View FlipBook Version