สอ่ื การจดั การเรยี นรู
วชิ าการบัญชชี ัน้ กลาง 1 รหัสวิชา 30201-2001
หลักสตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพชั้นสงู พทุ ธศกั ราช 2563
ประเภทวชิ าบรหิ ารธุรกิจ สาขาวิชาการบญั ชี
นางนภลดา อินภูษา
ตาํ แหนงครู วิทยฐานะครชู ํานาญการพิเศษ
แผนกวิชาการบญั ชี วทิ ยาลยั เทคนคิ หนองบัวลาํ ภู
สํานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
หนวยการเรยี นรูท ่ี 1 สนิ ทรัพย
สาระการเรยี นรู
1.1 ความหมายของสนิ ทรพั ย
1.2 ประเภทของสินทรัพย
1.3 หลกั เกณฑท ใ่ี ชใ นการวดั มูลคาของสินทรพั ย
1.4 การแสดงรายการสนิ ทรพั ยใ นงบแสดงฐานะการเงนิ
1.1 ความหมายของสนิ ทรัพย
สินทรัพย (Assets) ตามกรอบแนวคิดสําหรับการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุง 2558)
ของสภาวิชาชีพในพระบรมราชูปถัมภ หมายถึง ทรัพยากรท่ีอยูในความควบคุมของกิจการ
โดยทรัพยากรดังกลาวเปนผลของเหตุการณในอดีตซ่ึงกิจการคาดวาจะไดรับประโยชน
เชงิ เศรษฐกจิ จากทรัพยากรนน้ั ในอนาคต ไดแ ก
สินทรพั ยท เ่ี ปน ตัวเงนิ ไดแก เงนิ สด หลักทรพั ยใ นความตองการของตลาด เงินฝาก
ธนาคาร ลูกหน้ี ต๋ัวเงนิ รับ เปน ตน
สนิ ทรัพยท ม่ี ีรูปรา ง ไดแ ก สนิ คา คงเหลอื ที่ดนิ อาคารและอปุ กรณ เปน ตน
ตนทุนท่ีคาดวาจะกอประโยชนและรายไดในอนาคต ไดแก คาใชจายจายลวงหนา
และรายจา ยรอตัดบญั ชี เปน ตน
1.2 ประเภทของสนิ ทรพั ย
สนิ ทรัพยของกจิ การทแ่ี สดงในงบแสดงฐานะการเงิน สามารถแบง ไดตามระยะเวลา
ที่กิจการไดรบั ประโยชนจ ากสนิ ทรัพยนัน้ โดยแบงเปน 2 ประเภท คอื
1.2.1 สินทรัพยห มนุ เวยี น (Current Assets)
1.2.2 สนิ ทรพั ยไมหมนุ เวยี น (Noncurrent Assets)
1 2
สินทรพั ยหมนุ เวียน สนิ ทรัพยไ มห มนุ เวียน
1.2.1 สินทรัพยหมุนเวียน (Current Assets) หมายถึง เงินสด และสินทรัพย
ที่คาดวาจะไดรับประโยชน หรือตั้งใจจะขาย หรือใชภายใน 12 เดือนนับจากวันท่ี
ในงบแสดงฐานะการเงิน หรือกิจการคาดวาจะไดรับประโยชนจากสินทรัพยนั้นภายใน
รอบระยะเวลาการดําเนนิ งานตามปกติ (Operating Cycle)
1.2.2 สินทรัพยไมหมุนเวียน (Noncurrent Assets) หมายถึง สินทรัพย
ท่ีกิจการจัดหามาไวใช เพ่ือการดําเนินงาน มีวัตถุประสงคที่จะถือไวในระยะเวลานาน
เกินกวารอบระยะเวลาดําเนินงานตามปกติ 12 เดอื น
1.3 หลกั เกณฑที่ใชใ นการวดั มลู คา ของสินทรพั ย
กรอบแนวคิดสําหรับการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุง 2558) ของสภาวิชาชีพบัญชีใน
พระบรมราชปู ถัมภ ใหค วามหมาย การวัดมลู คา หมายถงึ กระบวนการกําหนดจํานวน
ที่เปนเงินเพื่อแสดงรายการในงบการเงิน การวัดมูลคาจะเก่ียวของกับการเลือกใช
เกณฑการวัดมูลคาที่เหมาะสมกับสินทรัพยนั้น ๆ โดยใชประกอบกันในสัดสวนท่ี
แตกตา งกัน ไดแ ก ราคาทนุ เดิม
ราคาทนุ ปัจจบุ นั
มลู ค่าที่จะได้รบั
มลู ค่าปัจจบุ นั
1.4 การแสดงรายการสนิ ทรัพยใ นงบแสดงฐานะการเงิน
กจิ การจะตองจัดเรียงรายการสินทรัพยในงบแสดงฐานะการเงินใหเปนไปตามประกาศ
ของกรมพฒั นาธรุ กิจการคา เรอื่ งรายการยอ ที่ตองมใี นงบการเงิน พ.ศ. 2554 ดังน้ี
1 สินทรพั ยห์ มนุ เวียน 2 สินทรพั ยไ์ มห่ มนุ เวียน
2.1 เงินลงทนุ เผอื่ ขาย
1.1 เงินสดและรายการเทียบเท่า 2.2 เงินลงทนุ ในบริษทั รว่ ม
เงินสด 2.3 เงินลงทนุ ในบริษทั ย่อย
2.4 เงินลงทนุ ในการร่วมค้า
1.2 เงินลงทนุ ชวั่ คราว 2.5 เงินลงทนุ ระยะยาวอ่ืน
1.3 ลกู หนี้การค้าและลกู หนี้อ่ืน 2.6 เงินให้ก้ยู ืมระยะยาว
1.4 เงินให้ก้ยู ืมระยะสนั้ 2.7 อสงั หาริมทรพั ยเ์ พือ่ การลงทนุ
1.5 สินค้าคงเหลอื 2.8 สินทรพั ยไ์ ม่หมนุ เวียนที่ถือไว้เพื่อขาย
1.6 สินทรพั ยห์ มนุ เวียนอ่ืน 2.9 ท่ีดิน อาคารและอปุ กรณ์
2.10 สินทรพั ยไ์ มม่ ีตวั ตน
2.11 สินทรพั ยภ์ าษีเงินได้รอการตดั บญั ชี
2.12 สินทรพั ยไ์ มห่ มนุ เวียนอ่ืน
เฉพาะดานสนิ ทรพั ย บริษทั กขค จาํ กดั
งบแสดงฐานะการเงิน
ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2562 และ 2561 หน่วย : บาท
2562 2561
สินทรพั ย์ หมายเหตุ XX XX
สินทรพั ยห์ มนุ เวียน XX XX
XX XX
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด XX XX
เงินลงทุน XX XX
ลกู หนี้การค้าและลกู หนี้อ่ืน XX XX
เงินให้ก้ยู มื ระยะสนั้ XX XX
สินคา้ คงเหลอื
สินทรพั ยห์ มนุ เวียนอื่น
รวมสินทรพั ยห์ มนุ เวียน
สินทรพั ยไ์ มห่ มนุ เวียน XX XX
เงินลงทุนเผอื่ ขาย XX XX
เงินลงทนุ ในบริษทั ร่วม XX XX
เงินลงทุนในบริษทั ยอ่ ย XX XX
เงินลงทนุ ในการรว่ มคา้ XX XX
เงินลงทนุ ระยะยาวอ่ืน XX XX
เงินให้ก้ยู ืมระยะยาว XX XX
อสงั หาริมทรพั ยเ์ พ่อื การลงทุน XX XX
สินทรพั ยไ์ มห่ มนุ เวียนที่ถือไวเ้ พอื่ ขาย XX XX
ที่ดิน อาคาร และอปุ กรณ์ XX XX
สินทรพั ยไ์ มม่ ีตวั ตน XX XX
สินทรพั ยภ์ าษีเงินไดร้ อการตดั บญั ชี XX XX
XX XX
สินทรพั ยไ์ ม่หมนุ เวียนอ่ืน XX XX
รวมสินทรพั ยไ์ มห่ มนุ เวียน
รวมสินทรพั ย์
สินทรัพย (Assets) ตามกรอบแนวคิดสําหรับการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุง 2558)
ของสภาวิชาชีพในพระบรมราชูปถัมภ หมายถึง ทรัพยากรที่อยูในความควบคุมของกิจการ
โดยทรัพยากรดังกลาวเปนผลของเหตุการณในอดีตซ่ึงกิจการคาดวาจะไดรับประโยชน
เชงิ เศรษฐกิจจากทรพั ยากรน้นั ในอนาคต
สนิ ทรพั ย แบงเปน 2 ประเภท คือ สินทรัพยห มนุ เวียน และสินทรพั ยไมห มุนเวียน
การวัดมูลคาของสินทรัพยในแตละชนิดเพ่ือแสดงในงบการเงินจะเกี่ยวของกับการใช
เกณฑการวัดมูลคาท่ีเหมาะสมกับสินทรัพยน้ัน ๆ โดยใชประกอบกันในสัดสวนที่ตางกัน
คอื ราคาทุนเดิม โดยใชรว มกับเกณฑอื่น ๆ
หนวยการเรยี นรทู ่ี 2 เงินสดและรายการเทียบเทาเงนิ สด
สาระการเรียนรู
2.1 ความหมายของเงนิ สดและรายการเทยี บเทา เงนิ สด
2.2 การควบคมุ ภายในเกีย่ วกบั เงินสด
2.3 การพสิ ูจนย อดเงินฝากธนาคาร
2.4 เงินสดยอ ย
2.5 งบประมาณเงนิ สด
2.6 การแสดงรายการเงินสดและรายการเทยี บเทาเงนิ สดในงบแสดงฐานะการเงนิ
2.1 ความหมายของเงินสดและรายการเทยี บเทา เงนิ สด
สภาวิชาชพี บญั ชใี นพระบรมราชูปถมั ภ ไดค วามหมายเงนิ สดไวในศพั ทบญั ชวี า
เงนิ สด หมายถึง เงนิ สดในมอื และเงนิ ฝากธนาคารทุกประเภท แตไ มร วม
เงนิ ฝากประเภททีต่ อ งจายคืนเม่ือสิ้นระยะเวลาที่กาํ หนด
1 มาตรฐานการบัญชี ฉบับท่ี 7 เรอื่ ง งบกระแสเงนิ สด ใหค วามหมายวา
รายการเทียบเทาเงนิ สด (Cash Equivalents) หมายถึง เงนิ ลงทนุ ระยะสัน้
ท่ีมีสภาพคลองสงู ซึง่ พรอ มทจ่ี ะเปลยี่ นเปนเงินสดในจํานวนทท่ี ราบได และมีความเสี่ยง
ตอ การเปลย่ี นแปลงในมลู คานอย หรอื ไมม นี ัยสําคัญ
เงนิ สดและรายการเทียบเทาเงินสดของกจิ การ ประกอบดวยรายการดงั ตอไปน้ี
1. ธนบตั รและเหรียญกษาปณ (Coins and Bank Notes)
2. บัญชีเงินฝากออมทรัพย (Saving Account) บญั ชเี งินฝากกระแส
รายวนั (Current Account)
3. เชค็ (Check) ดราฟต (Draft) ธนาณัติ (Money Orders)
ตัว๋ แลกเงนิ (Bill of Exchange)
4. เงนิ สดยอย (Petty Cash)
2.2 การควบคมุ ภายในเก่ยี วกับเงนิ สด
2.3 การพสิ จู นยอดเงนิ ฝากธนาคาร (Reconciliation of Bank Balance)
งบพิสูจนยอดเงินฝากธนาคารเพ่ือเปรียบเทียบยอดเงินฝากธนาคาร เพ่ือทําให
ยอดคงเหลือเทากัน งบพิสูจนยอดเงินฝากธนาคารวิธีนี้ทําขึ้นเพื่อวิเคราะหหาสาเหตุท่ีทําให
ยอดเงินฝากธนาคารคงเหลือตามใบแจงยอดของธนาคารกับยอดคงเหลือในสมุดบัญชี
ของกิจการไมต รงกนั ซง่ึ รปู แบบของการจดั ทาํ มี 2 แบบ คือ
1) วิธกี ารพิสูจนหายอดทถ่ี กู ตอง ***
2) วธิ ีการพสิ จู นจากฝา ยหนงึ่ ไปยงั อีกฝา ยหนง่ึ มี 2 กรณี
(1) พสิ จู นจ ากธนาคารไปหากจิ การ
(2) พิสูจนจากกจิ การไปหาธนาคาร
สาเหตุทที่ ําใหย อดเงนิ ฝากธนาคารไมตรงกับใบแจง ยอดจากธนาคาร
1. รายการท่ีกจิ การบนั ทกึ บัญชฝี ายเดยี ว ไดแก
1) เงนิ ฝากระหวางทาง (Deposits in Transit)
2) เชค็ ที่ส่ังจา ยแลวแตผูรบั ยงั ไมนาํ ไปขน้ึ เงิน หรอื เชค็ คางจาย
(Outstanding Check)
3) รายการทกี่ จิ การบันทึกบัญชีผิด (Book Errors) เชน พนกั งานบนั ทกึ
จาํ นวนเงนิ ของเช็คสง่ั จา ยสงู หรอื ต่าํ กวาความเปนจริงในขณะท่ีธนาคารบนั ทกึ
ถกู ตอ ง
2. รายการทธี่ นาคารบันทึกฝา ยเดยี ว ไดแก
1) คาธรรมเนียมธนาคาร ธนาคารจะหักบัญชีกิจการเปนคาบริการ
กิจการจะยงั ไมท ราบจนกวา จะไดรบั ใบแจงยอดเงินฝากธนาคาร
2) ธนาคารเรียกเก็บเงิน เม่อื ธนาคารเก็บเงินตามตว๋ั เงินรับและรายการอื่น ๆ
ธนาคารจะเพิม่ ยอดในบญั ชีเงินฝากใหก จิ การ
3) ธนาคารจา ยเงนิ แทนกิจการ เปนรายการทกี่ ิจการขอใหธนาคารจา ยเงนิ แทน
เชน คานํ้า คาไฟฟา และอื่น ๆ เมื่อจา ยแลวธนาคารจะหกั ออกจากบญั ชีเงนิ ฝากของกิจการทันที
4) ขอ ผดิ พลาดดานธนาคาร เชน ธนาคารบนั ทึกตัวเลขผดิ ธนาคารนําเชค็ ของกจิ การอื่น
มาหกั บญั ชขี องกิจการ หรือธนาคารบนั ทึกจาํ นวนเงินผดิ เปนตน
5) เชค็ คนื หรอื เช็คที่มเี งนิ ในบัญชีไมเ พยี งพอ (Nonsufficient funds : NSF Check)
เปน เชค็ ท่ีกิจการนําฝากธนาคารแตธนาคารไมสามารถเรียกเกบ็ เงนิ ได เน่ืองจากไมมีเงินในบัญชี
ของผสู ัง่ จายเชค็ ธนาคารจึงหกั บญั ชเี งินฝากของกิจการ
ตวั อยางท่ี 2.1 หนา 32
รายการ งบพสิ จู นยอดเงนิ ฝากธนาคาร
ยอดเงนิ ฝากธนาคาร
1. เงินฝากระหวางทาง กจิ การ ธนาคาร
2. ลกู คาชําระหนี้โดยนําเงินเขา บญั ชี 56,690 57,890
3. คาธรรมเนียมธนาคาร 5,700
4. เช็คคางจา ย เลขท่ี 12348 3,900
(100)
เลขที่ 12350 (1,800)
ยอดเงินฝากธนาคารทถ่ี ูกตอง (หนา 34) (1,300)
60,490 60,490
รานสหไทย
งบพิสจู นยอดเงนิ ฝากธนาคาร
วันท่ี 31 พฤษภาคม 25x2
ยอดเงินฝากตามใบแจงยอดธนาคาร 57,890 ยอดเงินฝากตามสมดุ บญั ชขี องกิจการ 56,690
3,900
บวก เงนิ ฝากระหวา งทาง 5,700 บวก ลูกคาชาํ ระหนผ้ี า นธนาคาร 60,590
100
63,590
60,490
หัก เช็คคา งจา ย : หัก คา ธรรมเนียมธนาคาร
เดบติ
เลขที่ 12348 1,800 บาท สต.
เลขที่ 12350 1,300 3,100 3,900 -
ยอดเงนิ ฝากธนาคารทถ่ี กู ตอง 60,490 ยอดเงนิ ฝากธนาคารทถี่ ูกตอ ง 100 -
สมดุ รายวันทั่วไป หนา 1
เครดติ
พ.ศ. 25x2 รายการ เลขท่ี บาท สต.
เดือน วนั ที่ บญั ชี
3,900 -
พ.ค. 31 เงนิ ฝากธนาคาร
100 -
ลกู หนี้
ปรัปปรุงรายการรบั ชําระหนี้จากลกู หนี้
คา ธรรมเนยี มธนาคาร
เงนิ ฝากธนาคาร
บนั ทึกคาธรรมเนยี มธนาคาร
ตัวอยางที่ 2.2 หนา 35 รา นสหไทยไดรบั ใบแจง ยอดเงินจากธนาคาร (Bank Statement)
เปนยอดเงินเบกิ เกนิ บญั ชี 2,850 บาท สว นยอดเงินฝากธนาคารในสมดุ บญั ชขี องกจิ การ
มจี าํ นวน 1,480 บาท จากการเปรยี บเทียบบัญชีพบขอ แตกตา ง ดังน้ี
1. เงินฝากธนาคาร จํานวน 5,000 บาท ธนาคารยังไมเครดิตบญั ชใี ห
2. เช็คสง่ั จา ยใหเจา หนจ้ี ํานวน 9,640 บาท แตก จิ การลงบญั ชีเปน 6,940 บาท
3. ธนาคารคิดดอกเบ้ียเงินเบิกเกินบญั ชี 450 บาท และคิดคา ธรรมเนยี ม 150 บาท
4. มีเช็คท่สี ั่งจา ยไปแลว แตผูรับยงั ไมนําไปขึ้นเงนิ ดงั น้ี
เลขท่ี 20200 จาํ นวน 2,300 บาท
เลขที่ 21588 จํานวน 1,670 บาท
2.4 เงินสดยอย (Petty Cash)
เปนการจายเงินสดสําหรับคาใชจายที่มีจํานวนเล็กนอย ไมคุมคาในการส่ังจายดวยเช็ค
เพื่อใหเกิดความคลองตัวและสะดวก ดังน้ันกิจการจึงนิยมตั้งเงินสดยอยขึ้นมาแลวใหผูรักษา
เงินสดยอยรบั ผิดชอบรายจา ยยอย ๆ จากเงนิ จาํ นวนน้ี
การบนั ทกึ บญั ชีเก่ยี วกบั เงินสดยอ ยแบบจํากดั วงเงิน (impress System)
1) การตั้งวงเงินสดยอ ย การบันทึกบัญชมี ีดงั นี้
เดบิต เงินสดยอ ย ××
เครดิต เงนิ ฝากธนาคาร ××
2) การจา ยเงนิ จากเงนิ สดยอ ย จะไมบนั ทกึ บัญชี
ผูร ักษาเงนิ สดยอยจะตอ งจัดทําใบสําคัญจา ยและแนบเอกสารหลักฐานประกอบการเบิกจา ย
3) การเบิกชดเชยเงินสดยอ ย เมอื่ เงินสดยอยในมอื ใกลจะหมด
ผรู ักษาเงินสดยอ ยจะนําใบสําคญั จายมาขอเบกิ ชดเชยเงนิ สดยอ ย การบนั ทึกบัญชมี ดี ังนี้
เดบติ คาใชจายตาง ๆ ××
เครดติ เงินฝากธนาคาร ××
ตัวอยา ง 2.3 บริษทั เงินทอง จาํ กัด มีรายการเก่ยี วกบั เงนิ สดยอ ยในระหวา งเดอื นมนี าคม 2562 ดงั น้ี
ม.ี ค. 1 บรษิ ทั ต้งั วงเงินสดยอย 5,000 บาท
4 จายคาดวงตราไปรษณยี 200 บาท
7 จา ยคาจดั สงเอกสารไปยงั บริษทั รวมดี จํากัด 850 บาท
8 จา ยคา จัดสงเอกสารไปยังบรษิ ทั ชนื่ ใจ จาํ กัด 700 บาท
10 จายคาซอ มแซมเครือ่ งถา ยเอกสาร 450 บาท
13 จา ยคารบั รองลูกคา 500 บาท
20 จายคา ซอ มแซมรถยกสนิ คาในคลัง 650 บาท
25 จายคา ทาํ ความสะอาดสาํ นักงาน 1,350 บาท
31 ผรู ักษาเงนิ สดยอยนําใบสําคัญจายมาขอเบกิ ชดเชย
พ.ศ. 2562 สมุดรายวนั ท่วั ไป เลขที่ เดบติ หนา 1เดบิต
เดือน วัน รายการ
มี.ค. 1 บัญชี บาท สต. บาท สต.
เงินสดยอ ย 5,000 -
31 เงนิ ฝากธนาคาร 5,000 -
ตง้ั วงเงินสดยอย 200 - 4,700 -
คาดวงตราไปรษณยี 1,550 -
คา จดั สงเอกสาร 1,100 -
คา ซอ มแซม
คา รบั รอง 500 -
คาทาํ ความสะอาด 1,350 -
เงนิ ฝากธนาคาร
เบิกคา ใชจา ยจากเงินสดยอ ย
2.5 งบประมาณเงินสด (Cash Budget)
เปนการวางแผนการรบั จา ยเงนิ ลวงหนา เพอื่ ใหกิจการมีเงินสดเพียงพอกับความตองการ
รวมท้ังเพื่อปองกันมิใหมีเงินสดมากเกินความตองการ ระยะเวลาในการทํางบประมาณเงินสด
จะสน้ั หรือยาวขึ้นอยกู ับความตอ งการใชเ งินทุนหมุนเวยี นของกจิ การ
การจัดทาํ งบประมาณเงินสดควรพจิ ารณาในเร่ืองตอ ไปนี้
1) เงินสดรบั เชน การขายสินคา เปน เงินสด การรบั ชาํ ระหน้จี ากลูกหน้ี ดอกเบย้ี รับ
เงนิ ปน ผลจากการลงทุน และการขายสินทรพั ย เปนตน
2) เงินสดจา ย เชน การซอื้ สินคา เปนเงนิ สด การจา ยชําระหน้ี การจายดอกเบ้ียเงินกู
การซ้ือสินทรพั ย รวมทัง้ การจา ยคา ใชจ ายในการดําเนนิ งาน เปน ตน
ตัวอยางที่ 2.5 หนา 47 บรษิ ทั รุง เรอื ง จํากัด จดั ทาํ งบประมาณเงินสดสําหรบั ไตรมาสที่ 2 ของป 2562
(เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย.) โดยมขี อมลู เกีย่ วกบั เงนิ สดดงั นี้
1. เงินสดคงเหลือยกมา 1 เมษายน 2562 จาํ นวน 50,000 บาท
2. ยอดขายสดและขายเชือ่ (เงินสดรับ)
ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย.
ขายสด 50,000 55,000 58,000 60,000 61,000
ขายเช่ือ 90,000 95,000 96,000 98,000 100,000
3. สว นลดเงินสด 2/10, n/30 การเก็บเงินจากลกู หน้มี ีเงอ่ื นไขดังน้ี
75% รบั ชําระในเดอื นท่ขี าย ไดส ว นลด 2%
15% รับชาํ ระเดือนแรกถดั จากเดอื นทข่ี าย
10% รบั ชาํ ระเดอื นท่สี องถดั จากเดือนทขี่ าย
4. บรษิ ัทซ้ือสินคา (เงนิ สดจาย)
มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย.
ซ้อื สนิ คา 25,000 29,000 32,000 36,000
สวนลดเงนิ สด 2/10 การจา ยชําระหนม้ี ีเงื่อนไขดงั น้ี
80% จายชาํ ระในเดอื นทซ่ี ้อื ไดสว นลด 2%
20% จายชาํ ระเดือนแรกถดั จากเดือนทซี่ ื้อ
5. คา ใชจ า ยคงที่ จาํ นวน 20,000 บาทตอเดือน คาใชจ า ยผนั แปร 5% ของยอดขายในแตล ะเดือน
(เงินสดจา ย)
6. บรษิ ทั ซอ้ื เครอ่ื งจักรในเดอื นมถิ ุนายน จาํ นวน 200,000 บาท (เงินสดจาย)
7. บรษิ ทั มีดอกเบ้ียรบั เดอื นละ 5,000 บาท (เงนิ สดรบั )
บรษิ ัท รงุ เรือง จาํ กดั
งบประมาณเงนิ สด
สําหรบั ระยะเวลา 3 เดอื น สนิ้ สุดวนั ท่ี 30 มถิ ุนายน 2562
รายการ เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน
เงินสดรับ 61,000
ขายสินคา เปน เงนิ สด 58,000 60,000 97,800
รบั ชําระหนีจ้ ากลูกหน้ี (งบประกอบ 1) 93,810 95,930 5,000
ดอกเบีย้ รบั 5,000 5,000 163,800
รวมเงินสดรับ 156,810 160,930 34,624
เงินสดจาย 20,000
จายชาํ ระคา สินคา (งบประกอบ 2) 27,736 30,888 8,050
คาใชจ า ยคงที่ 20,000 20,000 200,000
คาใชจายผันแปร (5% ของยอดขายในแตละเดือน) 7,700 7,900 262,674
ซอื้ เคร่ืองจักร -- (98,874)
รวมเงนิ สดจา ย 55,436 58,788 253,516
เงนิ สดเพม่ิ ขนึ้ (ลดลง) (เงินสดรบั -เงนิ สดจาย) 101,374 102,142 154,642
เงนิ สดคงเหลือยกมา (1 เม.ย. 62) 50,000 151,374
เงนิ สดคงเหลือยกไป 151,374 253,516
2.6 การแสดงรายการเงนิ สดและรายการเทียบเทาเงนิ สดในงบแสดงฐานะการเงนิ
ตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการคา เรื่อง กําหนดรายการยอท่ีตองมีใน
งบการเงิน พ.ศ. 2554 ใหแ สดงรายการเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเปนรายการ
แรก ภายใตหวั ขอ สนิ ทรพั ยห มุนเวยี น
ในงบแสดงฐานะการเงนิ
เงินสด จัดเปนสินทรัพยหมุนเวียนท่ีมีสภาพคลองมากที่สุด จึงทําใหเกิดการทุจริตไดงาย
กิจการจะตองมีระบบการควบคุมภายใน เพ่ือปองกันการทุจริตท่ีจะเกิดขึ้น เชน การควบคุม
เก่ียวกับการใชจายเงินสด โดยมีหลักการควบคุมวารายรับของกิจการทุกรายการจะตอง
นําฝากธนาคารทุกวัน สวนรายจายทุกรายการใหจายเปนเช็ค ยกเวนรายจายที่มี
จาํ นวนเงินเลก็ ๆ นอ ย ๆ กิจการจะมอบหมายใหพ นกั งาน คนหนง่ึ เปน ผูร ับผิดชอบจายเงินสด
โดยใชระบบเงนิ สดยอ ย ในการจัดการเก่ียวกบั เงินสดกจิ การจะตองวางแผนจัดทํางบประมาณ
เงนิ สดเพือ่ ใหมีเงินทนุ หมุนเวยี นทีเ่ พียงพอ
หนว ยการเรยี นรทู ี่ 3 เงนิ ลงทุนชัว่ คราว
สาระการเรยี นรู
3.1 ความหมายของเงนิ ลงทุนช่วั คราว
3.2 การจัดประเภทเงนิ ลงทุนชั่วคราว
3.3 การบนั ทกึ บญั ชเี ก่ียวกับเงนิ ลงทนุ ชวั่ คราว
3.4 การโอนเปล่ียนประเภทเงนิ ลงทุนชว่ั คราว
3.5 การเปด เผยขอ มูลในงบการเงนิ
3.1 ความหมายของเงินลงทนุ ช่ัวคราว (Current Investment or Temporary Investment)
มาตรฐานการบัญชี ฉบับท่ี 105 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การบัญชีสําหรับเงินลงทุนในตราสารหน้ี
และตราสารทนุ ใหค าํ นยิ ามดงั นี้
3.2 การจัดประเภทเงินลงทุนชว่ั คราว
เงินลงทนุ ชวั่ คราวแบงได 2 ประเภท ไดแ ก
3.3 การบนั ทึกบัญชเี กี่ยวกับเงนิ ลงทุนชว่ั คราว
หลักทรัพยเพื่อคา หมายถึง เงินลงทุนในตราสารหนี้ทุกชนิดหรือตราสารทุนในความตองการ
ของตลาดท่ีกิจการถือไวโดยมีวัตถุประสงคหลักที่จะขายในอนาคตอันใกล ทําใหกิจการ
ถือหลักทรัพยน้ันไวเปนระยะเวลาส้ัน ๆ เพื่อหากําไรจากการเปล่ียนแปลงราคาของสินทรัพย
ดังน้ัน หลกั ทรัพยเ พือ่ คาจึงมีอัตราการหมนุ เวียนสูง
1) การบนั ทกึ ซ้ือหลักทรัพยเพื่อคา การบนั ทกึ บัญชีมดี งั นี้
เดบติ เงนิ ลงทุนในหลกั ทรัพยเพอ่ื คา -หุน สามัญ บรษิ ทั (ระบุ) ××
เครดติ เงนิ สด ××
ตนทุนของเงินลงทุน ราคาทุนของเงินลงทุนจะตองรวม
รายจา ยโดยตรงทง้ั สน้ิ ท่ีกจิ การจายเพื่อใหไ ดเงนิ ลงทุนนั้นมา ไดแ ก
1. ราคาจายซือ้ เงนิ ลงทุน
2. คานายหนา
3. คา ธรรมเนียมและคา ภาษี
4. ตนทุนการทํารายการ
ตัวอยาง 3.1 หนา 73 ในวันท่ี 1 กุมภาพนั ธ 2562 บริษัท รณฤทธ์ิ จํากดั (มหาชน) ไดล งทุนซอื้ หุนสามัญ
ของบริษัท พิมดาว จํากัด (มหาชน) ซึ่งเปนบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย จํานวน 2,000 หุน
มูลคาหุนละ 100 บาท ในราคาหุนละ 110 บาท จายคาธรรมเนียมในการซ้ือ 0.5%ของราคาซ้ือ
โดยตง้ั ใจจะถือไวเ พ่อื คา
สมดุ รายวนั ทว่ั ไป หนา 1
พ.ศ. 2562 เลขที่ เดบติ เดบติ
เดอื น วัน รายการ บัญชี บาท สต. บาท สต.
ก.พ. 1 เงนิ ลงทุนในหลกั ทรพั ยเพ่อื คา - 221,100 -
หุนสามัญ บริษทั พิมดาว จาํ กัด (มหาชน) 221,100 -
เงินสด
ซอื้ หนุ สามัญบรษิ ทั พิมดาว จาํ กัด (มหาชน)
ถือไวเปน เงินลงทุนชัว่ คราว
2) บันทึกผลตอบแทนจากการลงทุนในหลักทรัพยเพ่ือคา เงินลงทุนในตราสารทุน
ไดแก หุนสามัญ และหุนบุริมสิทธิ ผลตอบแทน คือ เงินปนผลรับ จะไดรับเม่ือบริษัทที่ลงทุน
ประกาศจา ยเงนิ ปน ผล
วนั ประกาศจายเงินปนผล การบันทึกบญั ชีมดี ังน้ี
เดบติ เงินปนผลคา งรบั ××
เครดิต เงินปน ผลรับ ××
วันจา ยเงินปนผล การบันทกึ บญั ชีมดี งั น้ี ××
××
เดบติ เงนิ สด
เครดติ เงนิ ปน ผลคา งรับ
ตัวอยา ง 3.2 หนา 74 ในวนั ที่ 1 กมุ ภาพนั ธ 2562 บริษัท รณฤทธ์ิ จํากัด (มหาชน) ไดลงทุนซื้อหุนสามัญ
ของบริษัท พิมดาว จํากัด (มหาชน) ซึ่งเปนบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย จํานวน 2,000 หุน
มูลคาหุนละ 100 บาท ตอมาวันท่ี 1 กุมภาพันธ 2563 บริษัท พิมดาว จํากัด (มหาชน) ประกาศจาย
เงินปน ผลแกผ ถู ือหุนสามัญ หุนละ 15 บาท และไดจ ายเงนิ ปนผลในวนั ท่ี 1 มีนาคม 2563
พ.ศ. 2563 สมุดรายวันทว่ั ไป เลขที่ เดบิต หนา 1
เดือน วัน รายการ บัญชี เดบติ
ก.พ. 1 บาท สต.
มี.ค. 1 เงนิ ปนผลคางรบั (2,000x15) บาท สต.
เงินปนผลรบั 30,000 -
30,000 -
บริษทั พมิ ดาว จํากัด (มหาชน) 30,000 -
ประกาศจา ยเงินปนผล 30,000 -
เงนิ สด
เงนิ ปนผลคา งรับ
รบั เงนิ ปนผลจากบริษทั พิมดาว จํากดั
(มหาชน)
3) การจําหนายหลักทรัพยเพ่อื คา การบันทกึ บัญชมี ดี ังนี้ ××
xx
เดบติ เงนิ สด
รายการขาดทุนที่เกดิ ขน้ึ จากการจาํ หนา ยเงนิ ลงทนุ ××
เครดติ เงนิ ลงทนุ ในหลักทรัพยเพอ่ื คา-หนุ สามญั บริษัท (ระบุ) xx
รายการกําไรท่เี กิดขนึ้ จากการจําหนา ยเงินลงทนุ
ตัวอยา ง 3.4 หนา 76 บรษิ ทั รณฤทธิ์ จํากัด (มหาชน) ลงทนุ ในหลกั ทรัพยเ พือ่ คา หนุ สามญั
ของบรษิ ัท พิมดาว จํากดั (มหาชน) ดังนี้
จาํ นวนหุนทซ่ี ื้อ ราคาตามบญั ชี
วันท่ี (ขาย) ราคาตลาดตอ หนุ ราคาตามบัญชคี งเหลอื ถัวเฉลี่ยตอ หุน
1 พ.ค. 2562 2,000 111.25 (2,000x111.25) (222,500/2,000)
222,500 111.25
มี 2,000 ขาย 1,000 (1,000x111.25) (111,250/1,000)
7 พ.ค. 2562 (1,000)ขาย 115.00
111,250 111.25
(2,500x108.73=271,825+111,250) (383,075/(2,500+1,000)
19 พ.ค. 2562 2,500 108.73
28 พ.ค. 2562 (2,700)ขาย 383,075 109.45
112.00 (2,700x109.45) 383,075-295,515=87,560/800
(3,500-2,700=800)
295,515
109.45
พ.ศ. 2562 สมุดรายวนั ท่วั ไป เลขที่ เดบติ หนา 1
เดือน วนั รายการ บญั ชี เดบิต
พ.ค. 7 บาท สต.
เงินสด บาท สต.
เงนิ ลงทนุ ในหลกั ทรพั ยเ พื่อคา- 114,425 -
หนุ สามัญ บรษิ ัท พมิ ดาว จาํ กัด (มหาชน) 111,250 -
รายการกําไรทเ่ี กิดข้ึนจาก- 3,175 -
การจําหนา ยเงินลงทุน
ขายหุนสามญั บมจ.พมิ ดาว
การคาํ นวณรายการกาํ ไรหรอื ขาดทุนท่ีเกดิ ขึ้นจากการจําหนา ยเงินลงทนุ แสดงดงั นี้
7 พ.ค. 2562 จาํ หนายหุนสามัญ 1,000 หุน ในราคาหุนละ 115 บาท คา ใชจายในการขาย 0.5% ของราคาขาย
ราคาขาย (1,000 x 115) = 115,000 บาท
หกั คาใชจา ยในการขาย (115,000 x 0.5%) = 575 บาท
ขายสุทธิ = 114,425 บาท
หัก ราคาทนุ ของหนุ สามัญ (1,000 x 111.25) = 111,250 บาท
รายการกาํ ไรท่ีเกดิ ขนึ้ จากการจําหนายเงนิ ลงทุน = 3,175 บาท
4) การปรับมูลคาของหลักทรัพยเพื่อคาในวันสิ้นงวดบัญชี กิจการตองบันทึกสวนตางระหวาง
ราคาตามบัญชีกับมูลคายุติธรรมของหลักทรัพยเพื่อคา เพ่ือปรับมูลคาของเงินลงทุนในหลักทรัพย
เพ่ือคาทแ่ี สดงในงบแสดงฐานะการเงินดว ยมลู คายุตธิ รรม การบันทึกบญั ชีมีดงั น้ี
กรณรี าคาตามบัญชี ตาํ่ กวา มูลคายุตธิ รรม
เดบติ เงินลงทนุ ในหลกั ทรพั ยเพอ่ื คา-หนุ สามัญ บรษิ ทั (ระบ)ุ ×× ××
เครดิต รายการกาํ ไรทยี่ งั ไมเกิดขึ้นจากการลงทนุ ในหลักทรัพยเ พอื่ คา
กรณรี าคาตามบัญชี สูงกวา มูลคา ยตุ ธิ รรม ××
××
เดบติ รายการขาดทุนทีย่ งั ไมเ กิดขน้ึ จากการลงทนุ ในหลกั ทรัพยเพื่อคา
เครดติ เงินลงทนุ ในหลกั ทรัพยเพอื่ คา -หุนสามญั บรษิ ทั (ระบ)ุ
ตัวอยาง 3.5 หนา 78 ในวันที่ 31 ธันวาคม 2562 บริษัท รณฤทธิ์ จํากัด (มหาชน) มีหุนสามัญ
ของบริษัท พิมดาว จํากัด (มหาชน) คงเหลือ 800 หุน ราคาตามบัญชี 87,560 บาท ซ่ึงหุนสามัญ
ของ บมจ.พมิ ดาว มมี ูลคายตุ ิธรรม หนุ ละ 114 บาท (800 x 114 = 91,200)
ปรับราคาตามบญั ชี 87,560 บาท ใหเ ปนมูลคายุติธรรม 91,200 บาท
พ.ศ. 2562 สมดุ รายวนั ทัว่ ไป เลขท่ี เดบิต หนา 1
เดือน วนั รายการ บญั ชี เดบติ
ธ.ค. 31 บาท สต.
เงินลงทนุ ในหลกั ทรพั ยเ พอ่ื คา - บาท สต.
หนุ สามญั บริษัท พมิ ดาว จํากดั (มหาชน) 3,640 -
3,640 -
รายการกําไรทีย่ ังไมเกิดข้นึ
จากการลงทนุ ในหลักทรพั ยเ พ่อื คา
ปรบั มลู คาของหลักทรัพยเพอ่ื คาให
เทากับมูลคายตุ ธิ รรม
3.4 การโอนเปล่ียนประเภทเงินลงทนุ ชวั่ คราว
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 105 (ปรับปรุง 2552) เร่ือง การบัญชีสําหรับเงินลงทุน
ในตราสารหนีแ้ ละตราสารทุน ไดอธบิ ายถึงวธิ กี ารโอนเปล่ยี นประเภทเงินลงทุนช่ัวคราว ไวด ังนี้
การโอนเปลี่ยนหลักทรัพยเ พ่อื คา ไปเปนเงินลงทนุ ประเภทอ่ืน
กิจการตองใชมูลคายุติธรรม ณ วนั ทีโ่ อนในการบนั ทกึ บญั ชแี ละรับรผู ลตางระหวาง
ราคาตามบัญชกี บั มูลคา ยุติธรรม ณ วนั น้นั ในงบกําไรขาดทนุ เบด็ เสร็จทนั ที
การบนั ทกึ บัญชีมดี งั นี้
เดบิต เงนิ ลงทนุ ในหลกั ทรพั ยเผอ่ื ขาย-หุนสามญั บรษิ ัท (ระบ)ุ ××
เครดติ เงินลงทนุ ในหลักทรัพยเพือ่ คา -หนุ สามัญ บรษิ ัท (ระบ)ุ ××
รายการกําไรท่ียงั ไมเ กดิ ข้ึนจากโอนเปล่ยี นเงินลงทนุ ××
ตวั อยา ง 3.7 หนา 100
2562
ก.พ. 1 บริษัท รณฤทธ์ิ จาํ กดั (มหาชน) ไดล งทนุ ซ้อื หุน สามญั ของบริษัท พมิ ดาว จํากัด (มหาชน)
ซง่ึ เปน บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลกั ทรัพย จํานวน 2,000 หุน
ราคาตน ทนุ ท่ีซื้อ 221,100 บาท โดยต้ังใจจะถือไวเพือ่ คา
เดบิต เงนิ ลงทนุ ในหลกั ทรัพยเ พอื่ คา-หนุ สามัญ บริษัท พิมดาว จํากัด (มหาชน) 221,100 221,100
เครดติ เงนิ สด
ธ.ค. 31 หนุ สามัญมมี ูลคา ยุติธรรม 229,000 บาท บรษิ ัทจงึ โอนเปลี่ยนเงินลงทนุ ในหลกั ทรพั ย
เพื่อคาเปน เงนิ ลงทุนในหลกั ทรัพยเผอ่ื ขสามยดุ รายวันทว่ั ไป
พ.ศ. 2562 เลขที่ เดบิต หนา 1
เดือน วัน เดบิต
รายการ บญั ชี บาท สต. บาท สต.
ธ.ค. 31 เงินลงทนุ ในหลักทรัพยเผ่อื ขาย- มลู คายุติธรรม 229,000 -
หุน สามญั บริษทั พมิ ดาว จํากัด (มหาชน)
เงนิ ลงทนุ ในหลกั ทรัพยเพือ่ คา- มลู คาตามบญั ชี 221,100 -
หุนสามญั บริษทั พิมดาว จํากัด (มหาชน) 7,900 -
รายการกําไรที่ยังไมเ กิดขน้ึ -
จากโอนเปล่ยี นเงินลงทุน
โอนเปล่ยี นเงนิ ลงทนุ ในหลกั ทรพั ยเ พือ่ คาเปน หลักทรัพยเผอ่ื ขาย
3.5 การเปดเผยขอ มูลในงบการเงิน
มาตรฐานการบญั ชี ฉบับท่ี 105 (ปรบั ปรงุ 2552) เรื่อง การบัญชสี าํ หรบั เงินลงทุนในตราสารหน้ี
และตราสารทุน กําหนดใหกิจการตองเปดเผยขอมูลในงบการเงนิ หรือในหมายเหตุประกอบ
งบการเงนิ ดงั น้ี
1. นโยบายบัญชีสําหรบั
1) การกําหนดมลู คา ของเงนิ ลงทุน
2) ขอเท็จจรงิ ท่ีวากจิ การใชวธิ ถี วั เฉลยี่ ถวงนาํ้ หนกั ในการกําหนดตน ทนุ ของตราสารที่จําหนาย
3) การบันทึกบัญชกี ารเปลี่ยนแปลงมลู คา ยตุ ธิ รรมของเงินลงทนุ ชว่ั คราว
ตัวอยา ง 3.8 ขอมูลบางสวนของบรษิ ทั เวิรค พอยท เอน็ เทอรเ ทนเมนท จํากดั (มหาชน)
เงินลงทุน หมายถึง สินทรัพยท่ีกิจการมีไวเพ่ือเพ่ิมความมั่งคั่งใหกับกิจการ ตราสารทุนและ
ตราสารหนีท้ ่ีอยูในความตองการของตลาด ประกอบดวย หลักทรัพยเพื่อคา หลักทรัพยเผื่อขายถือ
ไวไมเกินหน่ึงป ตราสารหนี้ท่ีจะครบกําหนดภายในหนึ่งป ตราสารท่ีไมอยูในความตองการของ
ตลาด ไดแ ก เงินลงทุนท่ัวไปถือไวไมเกินหนึ่งป กิจการสามารถโอนเปล่ียนเงินลงทุนจากหลักทรัพย
เพ่ือคาเปนหลักทรัพยประเภทอ่ืนได กิจการจะตองเปดเผยขอมูลเก่ียวกับเงินลงทุนช่ัวคราวในงบ
การเงินหรือในหมายเหตุประกอบงบการเงินในเร่ืองนโยบายการบัญชีและรายการท่ีมีนัยสําคัญที่
รวมอยใู นงบกาํ ไรขาดทุนเบด็ เสรจ็
หนว ยการเรียนรทู ี่ 4 ลูกหนแ้ี ละตวั๋ เงินรบั
สาระการเรียนรู
4.1 ความหมายของลกู หน้ี
4.2 การบันทึกรายการเก่ยี วกบั ลกู หนี้
4.3 ความหมายของตั๋วเงินรับ
4.4 การบนั ทกึ รายการเก่ียวกับตัว๋ เงนิ รบั
4.5 การเปดเผยขอมลู ลูกหนแ้ี ละตว๋ั เงินรบั
4.1 ความหมายของลูกหน้ี
ลกู หนี้ (Receivables) หมายถงึ สทิ ธเิ รยี กรองของกิจการทีใ่ หบ คุ คลอน่ื จา ยชาํ ระ
คาสินคา หรือบริการ การจา ยชําระอาจอยูใ นรปู เงนิ สด สนิ คา บริการหรือสนิ ทรัพยอยางอ่นื
ลกู หนี้การค้า (Trade receivables)
ลกู หนี้อื่น (Other receivables)
4.2 การบนั ทึกรายการเกีย่ วกบั ลกู หนี้
1. การรบั รลู ูกหนี้ กิจการจะรับรลู กู หน้ีและรายไดพรอมกัน (Dr. ลูกหนี้ Cr. ขายสินคา )
ธรุ กจิ ซอ้ื ขายสินคา จะรบั รูรายไดเม่อื สง มอบสินคา ใหแกผ ูซอื้ สนิ คา และหากเปน ธุรกจิ บรกิ าร
จะรับรรู ายไดเ ม่อื ใหบรกิ ารแกลกู คา แลว ธุรกิจซื้อขายสินคา จะมกี ารใหสว นลดกับลูกคา
เพ่อื เปนการสง เสรมิ การขาย
การใหส วนลด มี 2 ประเภท ไดแ ก
สวนลดการคา (Trade Discount) เปน การลดราคาใหทนั ทที ซ่ี ื้อสนิ คา (ไมบนั ทกึ บัญชี)
สว นลดเงนิ สด (Cash Discount) เปน สว นลดท่ีจงู ใจใหลูกคามาชําระหนเี้ ร็วกวา
กําหนดเวลาการชําระหนท้ี ่ตี กลงไว โดยจะกาํ หนดไวในเง่อื นไขการชําระหนีจ้ ากการขายสนิ คา
เปนเงินเชื่อ เชน 2/10, n/30 หมายถึง ชําระเงินภายใน 10 วัน จะไดส ว นลด 2% โดยตองชําระ
ภายใน 30 วนั
การบนั ทกึ บญั ชีเกีย่ วกับสวนลดเงินสด มี 2 วิธี ไดแก วิธีราคาเตม็ และวธิ รี าคาสทุ ธิ
ตัวอยา ง 4.1 รายการเกี่ยวกับการขายสินคาในป 2562