The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นางนภลดา อินภูษา, 2021-09-10 03:31:03

สื่อการจัดการเรียนรู้วิชาการบัญชีชั้นกลาง 1

ilovepdf_merged

การบันทกึ บญั ชลี กู หน้ีท่ีเกบ็ เงินไมได มี 2 วธิ ี คือ วธิ ตี ดั จําหนายโดยตรง และวธิ ตี ้งั คา เผือ่
การบนั ทกึ บัญชีมดี งั นี้

เดบติ หนี้สงสยั จะสูญ ××
เครดิต คาเผอื่ หนสี้ งสัยจะสญู ××

การประมาณหนสี้ งสัยจะสญู ทนี่ ยิ มใชม ี 3 วธิ ี
1) ประมาณการเปนรอยละของยอดขาย กจิ การอาจเลือก
คํานวณเปน รอยละของยอดขายรวม
คํานวณเปน รอ ยละของยอดขายเชอื่
**การประมาณเปนรอยละของยอดขาย ไมต องพิจารณาวา คา เผอื่ หนส้ี งสยั จะสูญ
จะมียอดคงเหลอื ในบญั ชีเทา ใด**

ตวั อยา ง 4.2 หนา 121 บรษิ ัท การนุ จํากดั มียอดขายท้ังสน้ิ ในป 2562 จํานวน 5,000,000 บาท
บัญชลี ูกหน้ี จํานวน 3,000,000 บาท บญั ชีคา เผอื่ หนส้ี งสยั จะสูญคงเหลอื จํานวน 15,000 บาท
ในวันส้นิ งวดบัญชีกิจการมีนโยบายทีจ่ ะประมาณหนีส้ งสัยจะสูญ 2% ของยอดขายทั้งส้นิ

พ.ศ. 2562 สมุดรายวันทว่ั ไป เลขท่ี เดบติ หนา 1
เดือน วัน รายการ บญั ชี เครดติ
ธ.ค. 31 บาท สต.
หน้สี งสัยจะสญู บาท สต.
คา เผื่อหนสี้ งสัยจะสูญ 100,000 -
100,000 -
ประมาณคา เผือ่ หน้ีสงสัยจะสญู

ไมน ํายอดคงเหลือบญั ชีคาเผ่อื หน้ีสงสัยจะสูญท่ีมอี ยูเดิมมาพิจารณา
ใหบันทึกตามจาํ นวนท่ปี ระมาณได (5,000,000 x 2% = 100,000)

2) ประมาณการเปนรอยละของลกู หนี้
**กจิ การจะนาํ ยอดคงเหลือของบญั ชีคา เผอื่ หนส้ี งสยั จะสญู มาพิจารณาดวย**

กจิ การอาจเลอื ก คาํ นวณเปนรอ ยละของยอดลูกหน้ี ณ วันสิ้นงวดบัญชี
ตัวอยา ง 4.3 หนา 122 บริษทั การุน จาํ กดั มียอดขายทงั้ ส้ินในป 2562 จาํ นวน 5,000,000 บาท
บญั ชลี กู หนี้ จํานวน 3,000,000 บาท บญั ชีคา เผือ่ หน้สี งสัยจะสญู คงเหลอื จํานวน 15,000 บาท
ในวันส้ินงวดบัญชกี จิ การมีนโยบายทจี่ ะประมาณหนี้สงสัยจะสญู 2% ของยอดลกู หนส้ี ิ้นงวด

พ.ศ. 2562 สมดุ รายวนั ทว่ั ไป หนา 1
เดอื น วัน รายการ เลขท่ี เดบติ เดบิต
ธ.ค. 31 บัญชี บาท สต. บาท สต.
หนี้สงสัยจะสญู
คาเผ่ือหน้ีสงสยั จะสญู 45,000 - 45,000 -

ประมาณคา เผ่อื หน้สี งสัยจะสูญ

คาํ นวณเปนรอ ยละของลูกหนีจ้ าํ แนกตามอายขุ องลูกหนี้ทค่ี างชาํ ระ (Aging Report)
ตัวอยา ง 4.4 หนา 124 บรษิ ัท ดวงใจ จาํ กดั มีบัญชีคา เผ่ือหนส้ี งสัยจะสูญยกมา จํานวน 7,500 บาท
มีบญั ชลี ูกหนี้จากการขายเช่อื ท้งั ส้นิ ป 2562 จํานวน 500,000 บาท เง่อื นไขการชําระหนี้ 2/10, n/45

พ.ศ. 2562 สมดุ รายวนั ท่วั ไป เลขที่ เดบติ หนา 1
เดอื น วนั รายการ เครดิต
ธ.ค. 31 บญั ชี บาท สต.
หนสี้ งสยั จะสูญ บาท สต.
คา เผ่อื หน้สี งสัยจะสญู 13,005 -
13,005 -
ประมาณคาเผอ่ื หน้สี งสยั จะสูญ

4.3 ความหมายของตัว๋ เงนิ รับ
ตว๋ั เงินรับ (Notes Receivable) หมายถงึ ตราสารแสดงสทิ ธิทจ่ี ะไดรับชาํ ระเงินตามจํานวน

เวลา และสถานท่ี ท่ีระบไุ วในตั๋ว ไดแก ตัว๋ แลกเงิน และตั๋วสญั ญาใชเงนิ ตวั๋ เงนิ รับทกี่ ิจการไดรบั จาก
การขายสินคา หรอื บริการ จากการรบั ชาํ ระหน้ี เปนตน

ตั๋วเงนิ รับทางบญั ชี แบงเปน 2 ชนิด คอื
1) ตว๋ั เงินชนิดมดี อกเบี้ย
กจิ การจะไดรับจํานวนเงนิ ทคี่ รบกาํ หนด = จํานวนมลู คา หนา ตวั๋ + ดอกเบ้ยี
2) ตว๋ั เงินชนิดไมมีดอกเบี้ย
กจิ การจะไดรับจํานวนเงนิ ทคี่ รบกําหนด = จาํ นวนมลู คา หนา ต๋ัว

4.4 การบันทกึ รายการเก่ียวกบั ตว๋ั เงนิ รับ
1) กิจการขายสินคา และไดรับต๋ัวเงนิ การบันทึกบญั ชมี ีดงั น้ี

เดบติ ตั๋วเงินรบั (บนั ทึกตามมลู คาหนาต๋ัว) ××
เครดติ ขายสนิ คา ××
ภาษขี าย ××
2) กิจการรบั ชําระหน้ีดวยตั๋วเงนิ การบนั ทึกบญั ชมี ีดงั นี้

เดบิต ต๋ัวเงินรบั ××
เครดิต ลูกหนี้การคา ××
3) เม่ือตวั๋ เงนิ รบั ครบกาํ หนด-ชนดิ มีดอกเบย้ี การบนั ทึกบัญชีมีดังนี้

เดบิต เงนิ สด ××
เครดิต ตั๋วเงนิ รับ ××
ดอกเบ้ยี รับ ××
เมอ่ื ตวั๋ เงินรบั ครบกําหนด-ชนิดไมม ดี อกเบีย้ การบันทกึ บัญชีมีดงั น้ี

เดบติ เงินสด ××
เครดิต ตัว๋ เงนิ รับ ××





4.5 การเปดเผยขอ มลู ลูกหนี้และต๋ัวเงนิ รบั
ลูกหน้ีการคาและตว๋ั เงินรับ แสดงเปนสินทรัพยหมุนเวยี น ภายใตร ายการลูกหน้กี ารคาและ
ลูกหน้อี ่ืน ในงบแสดงฐานะการเงิน แตถ า ต๋ัวเงนิ รับมีจํานวนตงั้ แตร อ ยละ 10 ของยอดลกู หน้กี ารคา
ใหแ สดงตวั๋ เงนิ รบั แยกตา งหากจากลกู หน้กี ารคา ดงั แสดงในตัวอยาง 4.10

ตัวอยา ง 4.10 การแสดงรายการลกู หนีแ้ ละต๋ัวเงนิ รบั ในงบแสดงฐานะการเงิน
บรษิ ทั ขายดี จํากัด
งบแสดงฐานะการเงิน (บางสว น)
ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2562
(หนว ย : บาท)
สนิ ทรพั ย หมายเหตุ
สินทรพั ยหมุนเวียน
เงนิ สดและรายการเทียบเทาเงนิ สด
ลกู หนสี้ ุทธิ 6 390,000
ตว๋ั เงนิ รบั สทุ ธิ 7 170,000
การเปด เผยขอ มลู เกยี่ วกบั ลูกหนกี้ ารคาในหมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน มีรายละเอียดดงั นี้
1) นโยบายการบญั ชเี ก่ียวกบั ลกู หน้ี
2) มลู คาของลูกหน้กี ารคา ณ วนั ตน งวด วันสนิ้ งวด และจาํ นวนคา เผอ่ื หน้ีสงสยั จะสูญ
3) มูลคาหนส้ี ูญที่ตัดจาํ หนา ยระหวา งงวด และหนส้ี ูญไดร บั คนื สําหรบั งวด
4) จาํ นวนและรายละเอียดของลูกหน้ที ่ีใชเปน หลักทรัพยคํ้าประกนั

ลูกหน้ี หมายถึง ภาระผูกพันที่บุคคลหรือกิจการอ่ืนมีตอกิจการท่ีจะชดใชหรือชําระดวยเงินสด

หรือสินทรัพยอ ่นื จดั เปนสนิ ทรพั ยข องกจิ การและควรแสดงในงบการเงนิ ดว ยมลู คาสุทธทิ ค่ี าดวา จะไดรับ
ซ่ึงหมายถึงจํานวนเงินที่คาดวาจะเก็บได โดยการประมาณการจํานวนหน้ีสงสัยจะสูญ และตั้งเปน
บัญชีคา เผ่อื หนสี้ งสยั จะสูญเพ่อื นาํ ไปลดมลู คาลกู หน้ี

ตั๋วเงินรับ เปนตั๋วเงินแสดงถึงภาระผูกพันที่กิจการจะไดรับชําระเงินตามจํานวน และเวลา

ที่ระบุไวตามตั๋ว การแสดงรายการในงบแสดงฐานะการเงินรวมกับลูกหนี้หรือแสดงแยกตางหากจาก
ลูกหนีถ้ ามูลคาตามต๋ัวมจี าํ นวนมากกวารอ ยละ 10 ของจํานวนลูกหนี้

หนวยการเรียนรทู ่ี 5 สนิ คาคงเหลือ

สาระการเรียนรู

5.1 ความหมายของสินคาคงเหลอื
5.2 การบันทกึ บัญชีสินคาคงเหลอื
5.3 การวัดมูลคาสนิ คาคงเหลือตามวิธีราคาทนุ
5.4 การวดั มูลคา สนิ คาคงเหลอื ดว ยมลู คาสุทธิท่จี ะไดร บั
5.5 การวัดมูลคาสนิ คาคงเหลือตามวิธปี ระมาณการ
5.6 การเปด เผยขอ มลู สนิ คา คงเหลือ

5.1 ความหมายของสินคาคงเหลอื
ตามมาตรฐานการบญั ชี ฉบับท่ี 2 (ปรบั ปรุง 2562) เรอ่ื ง สินคา คงเหลือ (TAS 2)

สนิ คา คงเหลือ (Inventories) หมายถึง สินทรัพยของกิจการ ซ่ึงมีลักษณะใดลักษณะหนึ่ง
ดังตอ ไปนี้

1) ถอื ไวเ พอ่ื ขายตามลกั ษณะการประกอบธุรกจิ ตามปกตขิ องกิจการ
2) อยใู นระหวา งกระบวนการผลิตเพือ่ ใหเปน สนิ คา สําเรจ็ รปู เพอ่ื ขาย หรือ
3) อยใู นรูปของวตั ถดุ ิบ หรือวัสดทุ ี่มีไวเ พื่อใชในกระบวนการผลิตสนิ คา

หรอื ใหบ ริการ
ตนทุนในการซื้อของสินคาคงเหลือ ประกอบดวย ราคาซื้อ อากรขาเขา และภาษีอื่น
(สุทธิจากจํานวนที่กิจการจะไดรับคืนในภายหลังจากหนวยงานที่มีหนาท่ีจัดเก็บภาษี) รวมทั้ง
คา ขนสง คาขนถา ย และตน ทุนอน่ื ๆ ซึ่งเกยี่ วของโดยตรงกับการไดมาซ่งึ สินคา สําเร็จรูป วัตถุดิบ
และบริการ ในการคํานวณหาตนทุนในการซื้อสินคาใหนําสวนลดการคา เงินท่ีไดรับคืนและ
รายการอน่ื ๆ ทคี่ ลายคลงึ กันมาหักออกในการคานวณตนทุนในการซื้อ



5.2 การบนั ทกึ บัญชีสนิ คา คงเหลือ

การบันทึกบัญชีสินคาคงเหลือ มี 2 ระบบ คือ

5.3 การวัดมูลคา คงเหลอื วิธรี าคาทุน
มาตรฐานการบัญชี ฉบับท่ี 2 (ปรับปรุง 2562) เร่ือง สินคาคงเหลือ (TAS 2) กําหนดให

กิจการวัดมูลคาสินคาคงเหลือดวยราคาทุน หรือ มูลคาสุทธิที่จะไดรับ แลวแตราคาใด
จะตํ่ากวา เนื่องจากไมตองการใหมูลคาสินคาคงเหลือปลายงวดในงบแสดงฐานะการเงิน
มมี ลู คา สงู กวามลู คาทีแ่ ทจ รงิ ณ วันที่ปรากฏในงบแสดงฐานะการเงิน

วิธีราคาทุน (TAS 2) มี 3 วธิ ี

5.4 การวัดมูลคา สินคาคงเหลือดว ยมูลคา สทุ ธทิ ีจ่ ะไดรับ
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2562) เร่ือง สินคาคงเหลือ กําหนดใหกิจการ

ตองวัดมูลคาสินคาคงเหลือดวยราคาทุน หรือ มูลคาสุทธิท่ีจะไดรับ แลวแตมูลคาใดจะตํ่ากวา
(Lower of Cost or Net Realizable Value : LCNRV) สอดคลองกับแนวความคิดที่วาสินทรัพย
ไมค วรแสดงมูลคา ตามบญั ชี ทสี่ ูงกวา มลู คาที่คาดวาจะไดร บั จากการขาย

มูลคาสุทธิท่ีจะไดรับ ต่ํากวา ราคาทุน เนื่องจากสินคาลาสมัยบางสวนหรือท้ังหมด หรือ
เกิดความเสียหาย หรือราคาขายลดลง กิจการจะบันทึกการปรับลดมูลคาสินคาคงเหลือใหเทากับ
มลู คาสทุ ธิท่ีจะไดรบั การบันทึกบัญชีมดี ังน้ี

เดบติ ขาดทุนจากการตีราคาสนิ คาลดลง ××
เครดิต คาเผือ่ การลดมูลคาสินคา คงเหลอื ××

5.5 การวัดมูลคา สนิ คาคงเหลือตามวธิ ปี ระมาณการ
การวัดมูลคาสินคาคงเหลือวิธีประมาณการ (Estimate Cost Method) มักใชคํานวณ

กบั สินคาท่มี จี ํานวนมากและมีหลายชนดิ หลายประเภท ทําใหไมมีเวลาเพียงพอที่จะตรวจนับ
สินคา หรือไมสามารถตรวจนับสินคาไดเน่ืองจากเกิดภัยธรรมชาติ เชน สินคาถูกไฟไหม
สนิ คา ถกู นํา้ ทวม เปนตน

การวดั มูลคา สินคา คงเหลอื วิธปี ระมาณ มี 2 วธิ ี คอื
วิธอี ัตรากําไรขัน้ ตน (Gross Profit Method)
วิธีราคาขายปลกี (Retail Price Method)

5.6 การเปดเผยขอ มูลสินคาคงเหลือ
มาตรฐานการบญั ชี ฉบับที่ 2 (ปรบั ปรงุ 2562) เรื่อง สินคา คงเหลอื

กําหนดใหกิจการเปดเผยขอ มูลเก่ียวกับสินคา คงเหลือในเรื่องตอไปนี้
1) นโยบายการบญั ชที ี่ใชวดั มลู คาสินคา คงเหลือ รวมถึงวิธที ใ่ี ชค าํ นวณราคาทุน
เชน วิธเี ฉพาะเจาะจง วธิ ีเขา กอน ออกกอน หรือวิธตี นทนุ ถวั เฉลยี่ ถวงน้ําหนัก
2) มูลคาตามบญั ชีรวมของสินคา คงเหลอื และมลู คาตามบญั ชขี องสนิ คา คงเหลอื
แตละประเภทจําแนกตามความเหมาะสมของแตละกจิ การ
3) มูลคา ตามบญั ชีของสนิ คาคงเหลอื ท่แี สดงดวยมูลคา ยตุ ิธรรมหกั ตน ทุนในการขาย
4) มลู คาของสินคา คงเหลือทร่ี บั รเู ปนคา ใชจ ายในระหวา งงวดบัญชีนน้ั
5) มลู คาของสนิ คาคงเหลอื ที่ปรบั ลดลง ซ่งึ รับรเู ปน คาใชจา ยในงวดบัญชนี ้นั



สนิ คาคงเหลอื เปน สนิ ทรพั ยท ่กี อ ใหเ กิดรายได กิจการสามารถเลือกใชระบบบันทึกบัญชี

สินคาได 2 ระบบ คือ ระบบการบันทึกบัญชีสินคาคงเหลือแบบสิ้นงวด หรือระบบการบันทึก
บัญชสี ินคา คงเหลอื แบบตอเน่อื ง

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2562) เรื่อง สินคาคงเหลือ กําหนดใหกิจการ
วัดมูลคาของสินคาคงเหลือดวยราคาทุนหรือมูลคาสุทธิท่ีจะไดรับแลวแตราคาใดจะต่ํากวา
ราคาทุนที่กิจการใชอาจเปน วิธีเฉพาะเจาะจง วิธีเขากอน ออกกอน หรือวิธีถัวเฉลี่ยถวง
นํ้าหนัก ท้ังนี้ เมื่อกิจการปรับลดมูลคาของราคาทุนใหเทากับมูลคาสุทธิที่จะไดรับ ใหกิจการ
เปดเผยขอมูลเก่ียวกับสินคาคงเหลือตามขอกําหนดของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2
(ปรบั ปรุง 2562) เรือ่ ง สินคา คงเหลือ

หนว ยการเรยี นรูท ่ี 6 เงนิ ลงทุนระยะยาว

สาระการเรยี นรู

6.1 ความหมายของเงินลงทุนระยะยาว
6.2 การจดั ประเภทเงินลงทุนระยะยาว
6.3 เงินลงทนุ ระยะยาวในตราสารทนุ
6.4 การบนั ทกึ บัญชเี งินลงทุนระยะยาวในตราสารทนุ
6.5 เงนิ ลงทุนระยะยาวในตราสารหนี้
6.6 การบนั ทึกบัญชีเงนิ ลงทุนระยะยาวในตราสารหน้ี
6.7 การเปด เผยขอมลู เงินลงทุนระยะยาว

6.1 ความหมายของเงินลงทนุ ระยะยาว
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 105 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การบัญชีสําหรับ

เงนิ ลงทุนในตราสารหน้ี และตราสารทุน ไดใ หคํานยิ ามของเงินลงทนุ ระยะยาวไวด ังน้ี
เงนิ ลงทนุ ระยะยาว (Long-term Investment) หมายถึง เงนิ ลงทุนทก่ี ิจการ

ตง้ั ใจจะถือไวเกนิ 1 ป เงนิ ลงทนุ ระยะยาวรวมถึง ตราสารทุนที่จัดประเภท
เปนหลักทรัพยเผ่อื ขาย เงนิ ลงทนุ ทวั่ ไป ตราสารหนี้ทจี่ ดั ประเภทเปนหลักทรัพยเผ่ือ
ขายและตราสารหนท้ี ่จี ะถือจนครบกาํ หนด

6.2 การจดั ประเภทเงนิ ลงทนุ ระยะยาว
เงินลงทนุ ระยะยาวแบงเปน 2 ประเภท ดังน้ี
1. ตราสารหนีแ้ ละตราสารทุนที่อยใู นความตองการของตลาด ไดแก
1) หลกั ทรพั ยเผื่อขาย
2) ตราสารหน้ีทถี่ อื จนครบกาํ หนด
2. ตราสารทุนที่ไมอ ยูใ นความตอ งการของตลาด ไดแ ก เงินลงทุนท่ัวไป

ที่ถือไวเกนิ 1 ป

6.3 เงนิ ลงทนุ ระยะยาวในตราสารทุน A – L = OE
ตราสารทุน หมายถงึ สัญญาท่ีแสดงวา ผูถือตราสารมคี วามเปนเจาของในสว นไดเสยี คงเหลอื
ของกจิ การที่ไปลงทนุ เชน หนุ สามัญ หุนบรุ มิ สทิ ธิ

(ทมี่ า : https://www.blogtradehoon.com)

6.4 การบนั ทกึ บัญชเี งินลงทุนระยะยาวในตราสารทนุ

1. การซื้อหุนทนุ การบนั ทกึ บัญชมี ีดงั นี้

เดบติ หลกั ทรพั ยเผอ่ื ขาย-หนุ สามญั /หนุ บรุ ิมสิทธิ บรษิ ัท (ระบุ) ××
เงินลงทุนท่ัวไป-หุนสามญั /หุนบุริมสทิ ธิ บรษิ ทั (ระบ)ุ ××
เครดิต เงินสด

ตวั อยางที่ 6.1 หนา 230 ในวนั ท่ี 1 เมษายน 2562 บริษัท วงเดือน จํากดั ไดล งทนุ ซอ้ื หุน สามัญ
ของบรษิ ัท แสงระวี จํากดั 10,000 หนุ มลู คาหนุ ละ 10 บาท ในราคาหุนละ 49 บาท ดว ยเงินสด
จา ยคาธรรมเนยี มในการซอื้ 0.5% ของราคาซ้ือ โดยต้ังใจจะถือไวเ ปนเงนิ ลงทุนทว่ั ไป

พ.ศ. 2562 สมุดรายวันท่ัวไป เลขที่ เดบติ หนา 1
เดือน วัน รายการ เดบิต
เม.ย. 1 บญั ชี บาท สต.
เงินลงทุนทัว่ ไป-หนุ สามญั บาท สต.
บรษิ ทั แสงระวี จาํ กัด 492,450 -
492,450 -
เงนิ สด
ซอ้ื หุน สามัญบริษทั แสงระวี จาํ กัด
ถือไวเปนเงินลงทุนระยะยาว

2. การรบั เงินปน ผล ××
วนั ประกาศจา ยเงนิ ปน ผล การบันทึกบญั ชีมีดังนี้ ××
เดบติ เงนิ ปนผลคา งรบั
เครดติ เงินปนผลรบั ××
××
วนั จายเงินปน ผล การบนั ทึกบัญชมี ดี ังนี้
เดบติ เงนิ สด
เครดติ เงินปนผลคางรับ

ตัวอยา งท่ี 6.3 หนา 235 บรษิ ทั การะเกด จาํ กดั ลงทุนซอื้ หุนสามญั ในบรษิ ัท ชวนชม จาํ กดั จาํ นวน 2,000 หุน
ตอ มาวันที่ 1 กมุ ภาพนั ธ 2563 บรษิ ทั ชวนชม จาํ กัด ประกาศจายเงินปน ผลแกผ ูถือหุนสามญั หุน ละ 15 บาท
และจายเงนิ ปนผลวันท่ี 1 มนี าคม 2563 การบนั ทกึ บัญชเี ปนดังนี้

พ.ศ. 2563 สมุดรายวันทั่วไป เลขท่ี เดบิต หนา 1
เดือน วนั รายการ บญั ชี เดบิต
ก.พ. 1 บาท สต.
ม.ี ค. 1 เงินปน ผลคางรับ (2,000x15) บาท สต.
เงนิ ปน ผลรับ 30,000 -
30,000 -
บรษิ ัท ชวนชม จํากดั 30,000 -
ประกาศจายเงินปน ผล 30,000 -
เงนิ สด

เงนิ ปน ผลคางรับ
รับเงนิ ปนผลจากบริษัท ชวนชม จํากัด

3. การปรบั ปรงุ ณ วนั สิ้นงวดบญั ชี ××
××
บนั ทกึ ปรบั มลู คา หลกั ทรัพยเผ่อื ขายใหเทากับมลู คายุตธิ รรม
ราคาทนุ ตํา่ กวา มลู คา ยุตธิ รรม บนั ทึกบญั ชีดังน้ี ××
เดบติ หลกั ทรพั ยเ ผ่อื ขาย-หุนสามัญ/หนุ บรุ ิมสิทธิ บรษิ ทั (ระบ)ุ ××
เครดิต รายการกําไรที่ยังไมเ กดิ ขน้ึ จากการลงทุน
ในหลกั ทรัพยเ ผอ่ื ขาย ××

บนั ทกึ การดอ ยคาของเงนิ ลงทนุ บนั ทกึ บัญชีดงั น้ี ××
เดบิต รายการกาํ ไรทย่ี งั ไมเ กดิ ขนึ้ จากการลงทนุ
ในหลกั ทรพั ยเ ผือ่ ขาย (กลับบัญช)ี ××
รายการขาดทุนทเ่ี กิดข้นึ จากการดอ ยคา ของเงนิ ลงทุน
เครดติ หลกั ทรัพยเ ผือ่ ขาย-หนุ สามัญ ××
/หุน บุริมสทิ ธิ บรษิ ทั (ระบ)ุ ××
××
ราคาทุน สงู กวา มูลคายุติธรรม บนั ทึกบัญชดี ังนี้
เดบิต รายการขาดทนุ ทีย่ งั ไมเกิดขนึ้ จากการลงทนุ

ในหลกั ทรัพยเผือ่ ขาย
เครดิต หลกั ทรัพยเ ผ่ือขาย-หุนสามัญ
บันทกึ การดอยคาข/อหงุนเงบนิ รุ ลมิ งสทิทนุ ธิ บบรนั ิษทัทกึ บ(รญั ะบชุ)ดี ังนี้
บนั ทึกการดอยคา ของเงินลงทนุ บนั ทกึ บัญชดี งั นี้
เดบิต รายการขาดทุนท่เี กดิ ขน้ึ จากการดอ ยคาของเงินลงทนุ
เครดิต หลักทรพั ยเ ผือ่ ขาย-หุนสามัญ

/หนุ บุริมสิทธิ บริษทั (ระบ)ุ
รายการขาดทนุ ท่ียังไมเ กดิ ข้ึนจากการลงทุน
ในหลกั ทรัพยเ ผือ่ ขาย

ตัวอยางท่ี 6.4 หนา 251 เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2562 บริษัท ชวนชม จํากัด ลงทุนในหุนสามัญ
บริษัท ชงโค จํากัด จํานวน 1,000 หุน มูลคาหุนละ 100 บาท ในราคาหุนละ 115 บาท โดยตั้งใจถือไวเผ่ือขาย
ในวันท่ี 31 ธันวาคม 2562 หุนสามัญของบริษัท ชงโค จํากัด มีมูลคายุติธรรม หุนละ 120 บาท ในเวลาตอมา
มหี ลกั ฐานสนบั สนนุ วาหลักทรัพยเ ผ่อื ขายเกิดการดอ ยคามมี ูลคายตุ ิธรรม หนุ ละ 10 บาท

พ.ศ. 2563 สมดุ รายวันทวั่ ไป เลขที่ เดบิต หนา 1
เดอื น วนั บญั ชี บาท สต. เดบิต
รายการ 115,000 - บาท สต.
115,000 -
ม.ี ค. 1 หลกั ทรพั ยเผอื่ ขาย-หุน สามัญ 5,000 - 5,000 -
บรษิ ัท ชงโค จํากัด
เงนิ สด (1,000 x 115) 5,000 - 15,000 -
ซือ้ หุนสามัญบรษิ ัท ชงโค จํากดั 10,000 -
ถอื ไวเปนหลักทรพั ยเ ผ่อื ขาย
ธ.ค. 31 หลกั ทรัพยเผือ่ ขาย-หุนสามัญ
บรษิ ัท ชงโค จํากัด (120-115)
รายการกาํ ไรท่ยี งั ไมเ กิดข้ึน
จากการลงทุนในหลักทรพั ยเ ผ่อื ขาย
ปรับมลู คาหลกั ทรัพยเผื่อขาย
ใหเทา กับมลู คา ยตุ ธิ รรม
รายการกาํ ไรทยี่ งั ไมเกดิ ข้ึน-
จากการลงทนุ ในหลกั ทรัพยเ ผ่อื ขาย
รายการขาดทุนทเ่ี กดิ ข้นึ - (1,000 x 10)
จากการดอยคา ของเงินลงทนุ
หลักทรัพยเผอื่ ขาย-หนุ สามญั
บริษัท ชงโค จํากัด
บันทึกการดอ ยคาของเงินลงทนุ

6.5 เงินลงทุนระยะยาวในตราสารหนี้
ตามมาตรฐานการบญั ชี ฉบบั ท่ี 105 (ปรับปรุง 2552) เร่ือง การบัญชีสําหรับเงินลงทุน

ในตราสารหนแี้ ละตราสารทุน ไดใหค ํานิยามเกี่ยวกับตราสารหนีไ้ ววา

6.6 การบันทึกบญั ชเี งนิ ลงทุนระยะยาวในตราสารหนี้

1. การซ้ือหนุ กู การบนั ทกึ บญั ชีมดี งั น้ี ××
××
เดบิต ตราสารหนท้ี จ่ี ะถือจนครบกาํ หนด-หุนกู
เครดิต เงนิ สด

ตัวอยา งที่ 6.7 หนา 257 วันท่ี 1 มกราคม 2562 บรษิ ทั จําป จาํ กดั ซื้อหนุ กู 8% จากบรษิ ัท จามจรุ ี จํากดั
1หุนกูมีอายุ 5 ป จายดอกเบ้ียปละ 1 ครั้ง ทุกวันท่ี 31 ธันวาคม ราคาตามมูลคา 100,000 บาท

ซือ้ ในราคา 100,000 บาท เปน หนุ กทู อ่ี ยใู นความตอ งการของตลาด โดยบรษิ ทั ต้งั ใจถือไวจ นครบกาํ หนด
การบันทึกบัญชเี ปน ดังน้ี
สมุดรายวนั ท่ัวไป หนา 1
พ.ศ. 2562 เลขที่ เดบติ เดบติ
เดอื น วัน รายการ บัญชี บาท สต. บาท สต.

ม.ค. 1 ตราสารหนีท้ ่จี ะถอื จนครบกําหนด-หุนกู 100,000 -
เงินสด 100,000 -
ซอ้ื หุน กูโดยต้งั ใจถือไวจนครบกําหนด

2. บันทึกดอกเบ้ียรบั และปรับบญั ชตี ราสารหน้ใี หแ สดงตามราคาทุนตัดจาํ หนาย
การตัดจําหนา ยสวนเกินหรอื สวนลด ใหใ ชวธิ ีอตั ราดอกเบีย้ ทีแ่ ทจริง (Effective Interest Rate)
เปน วิธอี ตั ราคงท่ีตลอดอายขุ องตราสารหน้ี

ตัวอยางที่ 6.10 หนา 269 วันท่ี 1 มกราคม 2562 บรษิ ัท จาํ ป จํากัด ซือ้ หนุ กู 8% จากบริษัท จามจุรี จาํ กัด
มลู คา 100,000 บาท จายดอกเบีย้ ปล ะ 2 ครงั้ คือ 1 มกราคม และ 1 กรกฎาคม หนุ กมู ีอายุ 5 ป
อตั ราดอกเบย้ี ในตลาด 6% โดยบรษิ ทั ตัง้ ใจถือไวจ นครบกําหนด

การคํานวณ
ราคาตามมลู คา ของหนุ กู 8 % = 100,000 บาท
มลู คาปจ จุบันของหนุ 100,000 × 0.7441 = 74,410
มูลคาปจ จุบันของดอกเบีย้ 4,000 × 8.5302 = 34,120 = 108,530 บาท

ดอกเบ้ยี ตราสารหน้ี (100,000x8%x6/12)

สวนเกนิ มลู คา = 8,530 บาท

ตารางการตดั สวนเกินมลู คาหนุ กู

วนั /เดือน/ป ดอกเบ้ยี รบั ดอกเบ้ยี ทแี่ ทจรงิ ตัดสว นเกนิ มลู คา ราคาตามบัญชี
1-ม.ค.-62 - - - 108,530.00
1-ก.ค.-62 4,000 3,255.90 744.10 107,785.90
1-ม.ค.-63 4,000 3,233.58 766.42 107,019.48
1-ก.ค.-63 4,000 3,210.58 789.42 106,230.06
1-ม.ค.-64 4,000 3,186.90 813.10 105,416.96
1-ก.ค.-64 4,000 3,162.51 837.49 104,579.47
1-ม.ค.-65 4,000 3,137.38 862.62 103,716.86
1-ก.ค.-65 4,000 3,111.51 888.49 102,828.36
1-ม.ค.-66 4,000 3,084.85 915.15 101,913.21
1-ก.ค.-66 4,000 3,057.40 942.60 100,970.61
1-ม.ค.-67 4,000 3,029.39 970.61 100,000.00

พ.ศ. 2562 สมุดรายวันทัว่ ไป เลขที่ เดบิต หนา 1
เดือน วัน รายการ บัญชี เดบิต
ม.ค. 1 บาท สต.
ก.ค. 1 ตราสารหน้ที ่ีจะถือจนครบกาํ หนด-หุน กู บาท สต.
108,530 -
เงินสด 108,530 -
ซ้ือหุน กูโ ดยตง้ั ใจถือไวจนครบกาํ หนด 4,000 -
เงนิ สด 744 10
3,255 90
ตราสารหนีท้ ี่จะถือ
จนครบกาํ หนด-หุนกู
ดอกเบ้ยี รับ
บนั ทกึ รบั ดอกเบ้ียและปรับบัญชี
ตราสารหนใี้ หแสดงตามราคาทุน
ตัดจําหนา ย

3. เม่อื เงนิ ลงทุนในตราสารหนีค้ รบกําหนด การบันทึกบัญชมี ดี งั น้ี

เดบิต เงนิ สด ××
เครดิต ตราสารหนท้ี ีจ่ ะถือจนครบกาํ หนด-หุนกู ××

การบนั ทึกบญั ชใี นป 2567
สมุดรายวันทัว่ ไป หนา 1
พ.ศ. 2567 เลขที่ เดบติ เดบติ
เดอื น วัน รายการ
บญั ชี บาท สต. บาท สต.
ม.ค. 1 เงินสด
ตราสารหนท้ี ีจ่ ะถอื 4,000 - 970 61
3,029 39
จนครบกําหนด-หนุ กู
ดอกเบีย้ รับ
บนั ทกึ รบั ดอกเบย้ี และปรับบญั ชี
ตราสารหน้ใี หแ สดงตามราคาทุน
ตัดจาํ หนาย
เงนิ สด 100,000 -
ตราสารหนีท้ ่ีจะถอื 100,000 -
จนครบกําหนด-หุนกู
บันทกึ รับเงนิ เม่ือหนุ กูค รบกาํ หนด

6.7 การเปด เผยขอ มลู เงินลงทุนระยะยาว
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 105 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การบัญชีสําหรับเงินลงทุนในตรา

สารหน้ี และตราสารทุน กําหนดใหกิจการตองเปดเผยขอมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงิน
เก่ียวกับ

1) กิจการตองเปดเผยขอมูลเก่ียวกับหลักทรัพยเผ่ือขายและตราสารหนี้ท่ีจะถือจนครบ
กาํ หนดโดยแสดงแยกตราสารหนีท้ จ่ี ะถือจนครบกําหนดเปนแตล ะรายการ ดังน้ี

(1) มูลคา ยุติธรรม
(2) จํานวนรวมของรายการกําไรและจํานวนรวมของรายการขาดทุนท่ียังไมเกิดขึ้น
จากการเปลีย่ นแปลงมลู คา
(3) จาํ นวนรวมของราคาทนุ ตัดจาํ หนายของตราสารหนี้ท่ีจะถือจนครบกําหนด
(4) ตราสารหน้ีท่ีจะครบกําหนดตามสัญญาโดยจัดกลุมตามระยะเวลาที่จะถึงกําหนด
เชน ภายใน 1 ป ภายใน 2-5 ป หรือภายใน 6-10 ป

เงินลงทุนระยะยาว หมายถึง เงินลงทุนที่ผูลงทุนต้ังใจจะถือไวเกินกวา 1 ป

โดยไมมีความต้ังใจ ท่ีจะขายในระยะเวลาอันใกล มีวัตถุประสงคเพ่ือมุงหวัง
ผลตอบแทนในระยะยาวเพ่ือสะสมเงินทุนสวนเกิน เพื่อเสริมสรางความสัมพันธ
ทางการคา เพ่ือทําใหมีขอไดเปรียบทางการคา และเพ่ือจะไดมีโอกาสเขาไป
ควบคุมการดาํ เนินงานในกจิ การทไ่ี ปลงทนุ

หนว ยการเรียนรูที่ 7 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ

สาระการเรยี นรู

7.1 ลักษณะของทีด่ ิน อาคารและอุปกรณ
7.2 ประเภทของทด่ี ิน อาคารและอปุ กรณ
7.3 การรับรรู ายการและการวัดมูลคาที่ดนิ อาคารและอปุ กรณ
7.4 การบันทกึ ราคาทุนนของท่ีดิน อาคารและอปุ กรณ
7.5 การแสดงรายการและการเปดเผยขอ มลู ในงบการเงิน

7.1 ลักษณะของทีด่ ิน อาคารและอุปกรณ
มาตรฐานการบัญชี ฉบับท่ี 16 (ปรับปรุง 2558) เร่ือง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ

ไดใหความหมายไววา ท่ีดิน อาคารและอุปกรณ (Property Plant and Equipment : PPE)
หมายถงึ สินทรัพย ที่มตี ัวตน (Tangible Assets) ซ่ึงเขา เง่ือนไขทุกขอตอไปนี้

1) กิจการมีไวเพื่อใชประโยชนในการผลิต ในการจําหนายสินคาหรือใหบริการ
เพอ่ื ใหเชา หรอื เพ่อื ใชในการบริหารงาน และ

2) กจิ การคาดวา จะใชประโยชนมากกวาหน่งึ รอบระยะเวลา

7.2 ประเภทของทดี่ นิ อาคารและอปุ กรณ

ท่ีดิน อาคารและ 1 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่มีอายุ
อปุ กรณ์ จาํ แนกตาม
อายกุ ารให้ประโยชน์ได้ การใช้งานไม่จาํ กดั

2 ประเภท 2 ท่ีดิน อาคารและอปุ กรณ์ที่มีอายุ

การใช้งานจาํ กดั

7.3 การรับรรู ายการและการวดั มลู คา ทด่ี นิ อาคารและอุปกรณ

กจิ การตอ งวดั มลู คารายการที่ดิน อาคารและอปุ กรณท ่ีเขา เงือ่ นไขการรบั รรู ายการ
เปน สนิ ทรพั ยโ ดยใชร าคาทุน

7.4 การบนั ทึกราคาทนุ ของทดี่ นิ อาคารและอุปกรณ
ตน้ ทนุ เริ่มแรก

ทด่ี ิน ประกอบดวย ราคาซื้อ และคาใชจายตาง ๆ ทีเ่ กยี่ วขอ งโดยตรง เชน คานายหนา
คาธรรมเนียมในการโอนกรรมสิทธิ์ คา ถมท่ี คา ปรบั ปรุงทด่ี ิน คา หักรางถางพง คา รือ้ ถอนอาคารเกา
หากกิจการมรี ายไดจ ากการขายซากอาคารเกาใหน าํ รายไดไปลดตนทุนของที่ดิน

คาปรบั ปรงุ ทด่ี ิน ทําใหเกดิ สินทรัพยช นิดท่ตี ดิ กับท่ดี นิ ซึง่ มอี ายกุ ารใหประโยชนอ ยางจํากดั เชน
คาทาํ ทีจ่ อดรถ คา ทาํ สระน้ํา คาทํารัว้ คา ทาํ ทอ ระบายน้าํ คา ทําทางเดนิ เทา คาทําถนน คา ทําสนามหญา
คาติดต้งั เสาไฟฟา คาสาธารณปู โภค คาปราบวัชพืช เปน ตน

การบันทกึ บัญชมี ดี ังนี้

เดบิต ทด่ี ิน ××
คาปรบั ปรุงทดี่ นิ xx
เครดติ เงินสด
××

ตัวอยา งที่ 7.1 เม่อื วันที่ 1 มกราคม 2562 บริษัท ทําได จาํ กัด ซ้อื ทดี่ นิ แปลงหนึ่ง
ในราคา 2,400,000 บาท นอกจากนยี้ ังไดจา ยคา ใชจายอ่นื ๆ เก่ียวกบั ท่ีดิน ดงั นี้
คา นายหนา 84,000 บาท
คาถมทแ่ี ละปรบั พ้ืนที่ 150,000 บาท
คาทําร้ัว 46,000 บาท
คาขายซากอาคาร 25,000 บาท
คา ธรรมเนียมในการโอนทดี่ ิน 20,000 บาท
คา ทําถนน 40,000 บาท
คา รอ้ื ถอนอาคาร 50,000 บาท

การคาํ นวณราคาทนุ ของท่ดี นิ
ราคาซื้อที่ดิน 2,400,000
คา นายหนา 84,000
คาธรรมเนยี มการโอนทด่ี นิ 20,000
คา ถมทแ่ี ละคา ปรับพืน้ ที่ 150,000
คา ร้ือถอนอาคาร 50,000
หกั คาขายซากอาคาร 25,000 25,000
รวม 2,679,000
คาปรับปรุงทด่ี นิ คา ทํารั้ว 46,000 บาท คาทาํ ถนน 40,000 บาท
สมุดรายวนั ทว่ั ไป หนา 1
พ.ศ. 2562 เลขที่ เดบิต เครดติ
เดือน วนั รายการ
บัญชี บาท สต. บาท สต.

ม.ค. 1 ทด่ี ิน 2,679,000 - 2,765,000 -
คาปรับปรุงทด่ี นิ 86,000 -
เงินสด
บนั ทกึ ราคาทุนของท่ีดินและ
คา ปรับปรุงทดี่ นิ

7.5 การแสดงรายการและการเปดเผยขอ มูลในงบการเงนิ
ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณจ ะแสดงรายการในงบแสดงฐานะการเงินดว ยมลู คาตามบญั ชี

หกั ดว ยคาเสอ่ื มราคาสะสม และการดอยคา ของสนิ ทรัพย (ถาม)ี ภายใตห วั ขอ สินทรพั ย
ไมหมนุ เวียน เวน แตท ดี่ ินไมต อ งหักคา เสื่อมราคาสะสม

การเปดเผยขอ มลู
TAS 16 กําหนดใหเ ปดเผยเกย่ี วกบั ทีด่ ิน อาคารและอปุ กรณ ดงั น้ี
1. เกณฑก ารวัดมลู คาท่ใี ชกาํ หนดมูลคา ตามบัญชี
2. วิธกี ารคิดคาเสอื่ มราคา
3. อายกุ ารใหประโยชนเ ชงิ เศรษฐกิจหรืออตั ราคา เสื่อมราคาที่ใช
4. มูลคาตามบัญชีกอนหักคาเส่ือมราคาสะสม คาเส่ือมราคาสะสมของ

สินทรัพย และคาเผื่อการลดมูลคา ณ วันตนงวดและสิ้นงวด คาเสื่อมราคา
และการเปลีย่ นแปลงอนื่

ท่ีดิน อาคารและอุปกรณ คือ สินทรัพยของกิจการท่ีมีตัวตน ซึ่งกิจการ

มไี วเพ่ือใชป ระโยชนใ นการดําเนินงานและคาดวาจะใชประโยชนม ากกวา 1 ป กิจการ
จะรับรูรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณเมื่อมีความเปนไดคอนขางแนท่ีกิจการ
จะไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคต และสามารถวัดมูลคาตนทุนของสินทรัพย
ไดอยางนาเช่ือถือ กิจการวัดมูลคาเร่ิมแรกของรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ
ดวยวิธีราคาทุน

หนว ยการเรยี นรทู ่ี 8
คาเสื่อมราคา การดอยคาของสินทรัพยแ ละทรัพยากรธรรมชาติ

สาระการเรียนรู

8.1 ความหมายของคา เส่ือมราคา
8.2 การบนั ทึกรายการเกีย่ วกับคาเส่ือมราคา
8.3 การคาํ นวณคา เสื่อมราคา
8.4 ความหมายของการดอยคา ของสนิ ทรพั ย
8.5 ขอ บงชีก้ ารดอ ยคาของสินทรพั ย
8.6 การรบั รรู ายการและการวดั มูลคาผลขาดทนุ จากการดอยคา
8.7 ตนทนุ ของทรัพยากรธรรมชาติ
8.8 การบันทกึ รายการเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ
8.9 การบนั ทกึ รายการคา สญู ส้ิน

8.1 ความหมายของคาเส่อื มราคา
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2558) เร่ืองท่ีดิน อาคารและอุปกรณ

ใหค วามหมายของคาเสือ่ มราคาไวด ังน้ี
ค่าเสอ่ื มราคา หมายถงึ การปันส่วนจํานวนทีค่ ิดค่าเสือ่ มราคา

ของสินทรพั ยอ์ ย่างมีระบบตลอดอายุการใหป้ ระโยชนข์ องสินทรพั ยน์ ้นั

8.2 การบันทึกรายการเก่ียวกบั คา เส่อื มราคา
ณ วนั ส้ินงวดบัญชี กิจการจะประมาณคา เสื่อมราคาของสินทรัพยทีจ่ ะตอ งบันทึก

เปน คา ใชจา ยประจํางวด การบันทึกบญั ชีมีดังนี้

Dr. ค่าเสื่อมราคา – ชื่อสินทรพั ย์ XX
Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม - ช่ือสินทรพั ย์ XX

8.3 การคํานวณคา เสอ่ื มราคา

1 การคิ ดค่าเส่ื อมราคา
วิธีเส้นตรง

2 การคิ ดค่าเสื่ อมราคา
วิธีจาํ นวนผลผลิต

3 การคิ ดค่าเสื่ อมราคา
วิธียอดคงเหลือลดลง

8.4 ความหมายของการดอ ยคาของสนิ ทรพั ย
มาตรฐานการบญั ชีฉบับที่ 36 (ปรบั ปรุง 2558) เรื่อง การดอยคาของสินทรพั ย

กําหนดไววา สินทรพั ยจะเกดิ การดอยคาเมื่อมูลคา ตามบญั ชีของสนิ ทรพั ยสูงกวา
มูลคา ท่คี าดวาจะไดร บั คืน

8.5 ขอ บงช้กี ารดอยคา ของสินทรพั ย


Click to View FlipBook Version