The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by stabundamrong KM, 2021-10-01 01:57:35

วารสารดำรงราชานุภาพ : ฉบับที่ 63

นักวางแผนมืออาชีพ

บทบรรณาธิการ

ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา-2019 ท�ำให้การท�ำงานของท่านท้ังหลายอาจต้องมี
การสะดดุ หยดุ พกั ปรบั เปลยี่ น แตก่ ระทรวงมหาดไทยยงั คงมงุ่ มน่ั
ในเจตนารมณ์“บำ� บดั ทกุ ข์ บ�ำรงุ สขุ ” เพือ่ ให้ผ่านพน้ วิกฤติน้ไี ปได้
โดยตระหนกั ดีถงึ การบรหิ ารงานแบบบรู ณาการภาครัฐ อนั มยี ทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580)
เปน็ เปา้ หมายสรา้ งการเชอ่ื มโยงการพฒั นาในทกุ ระดบั ทกุ ประเดน็ ทกุ ภารกจิ ทกุ พนื้ ที่ หมายถงึ การบรหิ าร
ที่มีการจัดท�ำแผนท่ีดีเพ่ือจะช่วยให้การบริหารงานส�ำเร็จลุล่วงตามเป้าหมายท่ีก�ำหนดไว้ ตลอดจน
สามารถบรหิ ารงบประมาณทม่ี อี ยอู่ ยา่ งจำ� กดั ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ ตอ่ ประชาชนและประเทศชาติ
เน้ือหาภายในเล่ม “นักวางแผนมืออาชีพ” ฉบับน้ีจะท�ำให้ท่านเข้าใจเรื่องการวางแผน
ได้อย่างรวดเร็วเก่ียวกับระเบียบกฎหมายโดยเฉพาะการวางแผนระดับพ้ืนท่ีให้มีความเช่ือมโยงกับ
ยทุ ธศาสตรช์ าติ เหตุใดจึงมีการวางแผนคราวละ 5 ปี หลักการจัดท�ำค�ำของบประมาณ ข้อควรระวัง
ในการจัดท�ำโครงการ การติดตามประเมินผลโครงการโดยระบบ eMENSCR ความเข้าใจบทบาท
ของคณะกรรมการธรรมาภบิ าลจงั หวดั ตลอดจนเทคนิคของการวางแผนสมัยใหม่ เส้นทางก้าวหน้า
ในตำ� แหนง่ นกั วางแผน นอกจากนย้ี งั จะไดร้ บั ทราบวธิ กี ารทำ� งานของกรมการปกครอง กรมการพฒั นาชมุ ชน
จงั หวดั ยะลา และจงั หวดั เลย ทม่ี สี ว่ นผลกั ดนั โครงการพฒั นาตำ� บลแบบบรู ณาการ (Tambon Smart
Team) โคก หนอง นา โมเดล และการวางแผนโครงการสำ� คญั เพอ่ื สรา้ งงานสรา้ งรายไดใ้ หแ้ กป่ ระชาชน
กองบรรณาธกิ ารขอขอบคณุ หนว่ ยงานและผเู้ ขยี นทกุ ทา่ นทกี่ รณุ าสง่ บทความอนั เปน็ ประโยชน์
ส�ำหรับเผยแพร่สู่สาธารณะ ท่านผู้อ่านท่ีมีค�ำแนะน�ำเพื่อการพัฒนาปรับปรุงการจัดท�ำวารสาร
ให้สมบูรณ์ย่ิงขึ้น ขอความกรณุ าแจง้ ไดท้ สี่ ถาบนั ดำ� รงราชานภุ าพ สำ� นกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย
ผา่ นทางไปรษณยี อ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ [email protected] จะเปน็ พระคณุ ยงิ่ ทงั้ นี้ บทความทงั้ หมด
ในวารสารฉบับน้ีได้ด�ำเนินการจัดเก็บรวบรวมไว้ในระบบคลังความรู้ของสถาบันด�ำรงราชานุภาพ
สำ� นกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย ในเวบ็ ไซตข์ องสถาบนั ดำ� รงราชานภุ าพ www.stabundamrong.go.th
เพ่ือเปน็ ประโยชนใ์ นการสืบค้นต่อไป

(นายบญุ ธรรม ถาวรทัศนกิจ)
ผ้อู �ำนวยการสถาบนั ดำ� รงราชานภุ าพ
บรรณาธกิ ารบริหารวารสารด�ำรงราชานภุ าพ



สารบญั

หนา้

 ระเบยี บกฎหมายการจัดทำ� แผนและประสานแผนพฒั นาในระดับพน้ื ที่ (One Plan) 1
โดย กองบรรณาธิการ

 แผน ๕ ป ี 12
โดย กองบรรณาธิการ

 หลกั การจดั ทำ� แผนทด่ี ี (ตามนโยบาย หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารจดั ทำ� แผนฯ ที่ ก.บ.ภ. กำ� หนด) 29
โดย สำ� นกั พัฒนาและส่งเสริมการบรหิ ารราชการจงั หวัด ส�ำนักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย

 สสี ันการพัฒนาดา้ นการท่องเท่ยี วท่นี า่ จบั ตามอง (best sky walk) 38
โดย จงั หวัดยะลาและจังหวัดเลย

 โคก หนอง นา กรมการพฒั นาชุมชน 51
โดย กรมการพฒั นาชุมชน

 โครงการพัฒนาต�ำบลแบบบรู ณาการ (Tambon Smart Team) ภายใต้แผนงาน 60
หรอื โครงการที่มีวัตถุประสงค์เพ่ือฟืน้ ฟูเศรษฐกจิ และสังคมที่ได้รับผลกระทบจาก
การระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (พ.ศ. 2563)
โดย กรมการปกครอง

 เรอ่ื งเลา่ ประสบการณเ์ ทคนิคการจดั ทำ� แผน : จากโครงการพัฒนานกั ยุทธศาสตร์ 76
เพอื่ ปฏริ ปู ประเทศเชิงบูรณาการ (Strategist Development Program)
ณ สำ� นักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
โดย วชิ า จนั ทร์กลม

สารบญั

หนา้

 การขอรบั การสนบั สนุนงบประมาณ การบริหารงบประมาณและการตดิ ตามผล 91
การเบกิ จา่ ยงบประมาณรายจา่ ยประจำ� ปขี องหนว่ ยรับงบประมาณ
โดย จริยา ชุมพงษ์

 ระบบติดตามและประเมนิ ผลแหง่ ชาติ (eMENSCR) บทบาทและการดำ� เนินการ 99
ของกระทรวงมหาดไทย
โดย กลุ่มขับเคลือ่ นการปฏิรูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามคั คี
ปรองดองกระทรวงมหาดไทย (ป.ย.ป.มท.)

 ข้อควรระวงั ความผดิ พลาดทีต่ รวจพบในการท�ำโครงการ 115
โดย กลุ่มงานตรวจสอบภายในระดบั กรม สำ� นกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย

 บทบาท ก.ธ.จ. ตอ่ การตดิ ตามโครงการ 122
โดย ศิริพร กฤชสนิ ชัย

 เส้นทางความก้าวหน้าในตำ� แหน่งนักวางแผน 133
โดย ไกร เอ่ยี มจุฬา

ระเบยี บกฎหมาย
การจัดทำ� แผนและประสานแผนพฒั นาในระดับพน้ื ที่ (One Plan)



กองบรรณาธิการ

เมือ่ พดู ถงึ คำ� ว่า “One Plan” ในแวดวง กฎหมาย/ระเบยี บตา่ งๆทใี่ ชอ้ ยใู่ นปจั จบุ นั
นกั วางแผน หมายถงึ ลกั ษณะของการวางแผนท่ี
ใช้ในระดับพ้ืนท่ี มีลักษณะเป็นหนึ่งเดียว เม่ือก่อนในสมัยท่ีไม่มียุทธศาสตร์ชาติ
ทต่ี อบสนองความตอ้ งการ จดุ ประสงค์ เปา้ หมาย การจัดท�ำแผนพัฒนาพื้นท่ีจะมีแผนพัฒนา
ตัวชี้วัด ในลักษณะบนลงล่าง (Top-Down) หมูบาน แผนพัฒนาตําบล แผนพัฒนาท้องถ่ิน
คือ การเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนา แผนพัฒนาอ�ำเภอ แผนพัฒนาจังหวัด ต่อมา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนปฏิรูป เม่ือมีการจัดตั้งกลุ่มจังหวัดและภาคจึงให้มี
แผนแม่บทต่าง ๆ ลงไปสู่ระดับพ้ืนท่ีเพื่อใช้เป็น แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด และแผนพัฒนาภาค
กรอบแนวทางในการพฒั นา และลกั ษณะลา่ งขน้ึ บน ซ่ึงหากถามว่าน่ิงแล้วหรือยังก็ตอบได้เลยว่ายัง
(Bottom - Up) เปน็ การเชอื่ มโยงจากระดบั หมบู่ า้ น เพราะก�ำลังจะมีการปรับปรุงยกเลิกกฎหมาย
(แผนพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน) ระดับต�ำบล บางฉบับที่มีลักษณะซ�้ำซ้อนของคณะกรรมการ
(แผนพฒั นาตำ� บล/แผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ ) ระดบั อำ� เภอ ร ะ ดั บ ช า ติ โ ด ย ส รุ ป ก ฎ ห ม า ย ที่ ส� ำ คั ญ
( แ ผ น พั ฒ น า อ� ำ เ ภ อ )  แ ล ะ ร ะ ดั บ จั ง ห วั ด และเกี่ยวข้อง ดงั น้ี
(แผนพัฒนาจังหวัด/แผนพัฒนาองค์การบริหาร  ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ป (พ.ศ. 2561
สว่ นจงั หวดั ) เชอ่ื มโยงไปสแู่ ผนพฒั นากลมุ่ จงั หวดั – 2580) ใหม้ สี ว นรว มของประชาชนในการกําหนด
ซงึ่ เปน การสะทอ นสภาพปญ หา และความตอ งการ ทิศทางการพัฒนาพ้ืนที่ของตนเอง และ
ของประชาชนในพ้ืนที่ โดยมีแผนพัฒนาจังหวัด บูรณาการแผนใหมีความเชื่อมโยงสอดคลองกัน
และแผนพัฒนากลุมจังหวัดเปนจุดเช่ือมสําคัญ ในทกุ ระดบั เปน แผนเดยี วกนั ตง้ั แตร ะดบั หมบู าน
(Focal Point) ในการประสานนโยบายระดบั ชาติ ทองถิ่น อําเภอ จังหวัด จนถึงกลุมจังหวัด
และความตองการของประชาชนในพื้นท่ี มกี ารนํายทุ ธศาสตรช าตสิ กู ารปฏบิ ตั ใิ นทกุ ระดบั
และมกี ารตดิ ตามประเมินผลอยา่ งเป็นระบบ

2 วารสารดำ�รงราชานุภาพ

 พระราชบัญญัติระเบียบบริหาร (ก.บ.ภ.) เพ่ือทําหนาที่ในการกําหนดกรอบ
ราชการแผน่ ดนิ พ.ศ. 2534 และแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ นโยบายและวางระบบในการบริหารงานจังหวัด
(ฉบบั ท่ี 7) พ.ศ. 2550 ใหจ้ งั หวดั หรอื กลมุ่ จงั หวดั กลมุ จงั หวดั และภาค กําหนดนโยบาย หลกั เกณฑ
จัดตั้งงบประมาณเองได้ ใหจังหวัดจัดทํา และวิธีการในการจัดทํา รวมท้ังพิจารณา
แผนพัฒนาจังหวัดใหสอดคลองกับแนวทาง ความรูพ้ืนฐานสําหรับการจัดทําแผนพัฒนา
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ/ จังหวดั และกลมุ จงั หวัด
ความตอ งการของประชาชนในทอ งถิน่  ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา่ ดว้ ย
 พระราชกฤษฎกี าวา่ ดว้ ยการบรหิ าร การจัดทําแผนและประสานแผนพัฒนาพื้นที่
งานจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ ในระดบั อ�ำเภอและตาํ บล พ.ศ. 2562 ในระดบั
พ.ศ. 2551 กําหนดใหคณะกรรมการนโยบาย พ้ืนท่ี การรบั จัดสรรงบประมาณตอ้ งรอแนวทาง
การบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบ จากกระทรวง กรม เพ่ือจัดสรรงบประมาณ
บูรณาการ (ก.น.จ.) ทําหนาท่ีกําหนดกรอบ เพียงเท่านั้น ย่อมท�ำให้บางจังหวัดอาจจะไม่ได้
นโยบายและวางระบบในการบริหารงานจังหวัด รับการจัดสรรงบประมาณเท่าท่ีควร ท�ำให้
และกลุมจังหวัด กําหนดนโยบาย หลักเกณฑ การด�ำเนินการแก้ไขปัญหาของพื้นท่ีไม่สามารถ
และวธิ กี ารในการจดั ทํา รวมทงั้ พจิ ารณากลน่ั กรอง ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่าง
และใหความเห็นชอบแผนพัฒนา แผนปฏิบัติ ครอบคลมุ ทงั้ หมด อนั เปน็ ผลมาจากแผนการพฒั นา
ราชการประจําปของจังหวัดและกลุมจังหวัด ไม่มีความชัดเจน ขาดการเช่ือมโยงกัน
การจัดทําและบริหารงบประมาณจังหวัด ในระหว่างแผน ต้ังแต่ระดับหมู่บ้าน ต�ำบล
และงบประมาณกลุมจังหวดั อ�ำเภอจนมาถึงจังหวัด อาจเกิดจากต่างมี
 ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรวี า ดว ย การออกแบบกลไกของตนเอง การบริหารงาน
การบริหารงานเชิงพื้นที่แบบบูรณาการ ในลกั ษณะตา่ งคนตา่ งทำ� หนว่ ยงานมกี ารออกแบบ
พ.ศ. 2560 ระเบียบฉบับนี้มีเจตนารมณ หรือมีหนังสือสั่งการเพื่อก�ำหนดแนวทาง
ในการบูรณาการและเช่ือมโยงแผนระดับชาติ ของหน่วยงานตนเอง โดยไม่ได้พิจารณาถึง
กบั แผนในระดบั พนื้ ที่ โดยกําหนดใหม กี ารจดั ตงั้ ภาค ความสอดคล้องถึงทิศทางว่ามีการเช่ือมโยงกัน
และจัดทําแผนพัฒนาภาคขึ้นเพ่ือใชเปนกรอบ หรอื ไมอ่ ย่างไร
ทศิ ทางการพฒั นาพนื้ ทซ่ี งึ่ เชอ่ื มโยงแผนระดบั ชาติ • วัตถุประสงค์ ของระเบียบกระทรวง
และนโยบายรัฐบาล โดยปรับระยะเวลา มหาดไทยว่าด้วยการจัดท�ำแผนและประสาน
ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนพัฒนาพ้ืนท่ีในระดับอ�ำเภอและต�ำบล
แผนพัฒนาภาค และแผนพัฒนาจังหวัด/ พ.ศ. 2562
กลุมจังหวัดใหเทากัน คือ 5 ป ตลอดจน
กําหนดใหมีองคกรในการบริหารข้ึนใหม่เรียกวา  เพอื่ ปรบั ปรงุ กลไกการจดั ทำ� และ
คณะกรรมการบูรณาการนโยบายพัฒนาภาค
การประสานแผนพัฒนาในระดับพื้นท่ีให้เกิด
ประสทิ ธภิ าพและครอบคลมุ ทกุ พน้ื ท่ี ตง้ั แตก่ ารใช้

วารสารดำ�รงราชานภุ าพ 3

กลไกคณะกรรมการหมบู่ า้ น คณะกรรมการชมุ ชน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท่ีมีผลบังคับใช้
ในการจดั ทำ� เวทปี ระชาคมรว่ มกนั เพอ่ื จดั ทำ� เปน็ อยแู่ ลว้ มากำ� หนดแนวทางปฏบิ ตั ใิ หม้ คี วามชดั เจน
แผนพฒั นาหมบู่ า้ น/แผนชมุ ชน การกำ� หนดกลไก มากข้นึ และไม่เป็นการแก้ไขระเบยี บ กฎหมาย
คณะกรรมการบริหารงานต�ำบลแบบบูรณาการ ที่ส่งผลกระทบต่อบทบาทอ�ำนาจหน้าที่ของ
(ก.บ.ต.) ในการจดั ทำ� แผนพฒั นาตำ� บล และกลไก องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน
คณะกรรมการบรหิ ารงานอำ� เภอแบบบรู ณาการ
(ก.บ.อ.) ในการจดั ทำ� แผนพัฒนาอ�ำเภอ  กำ� หนดเปา้ หมายเพอ่ื ใหก้ ารจดั ทำ� แผน

 เพ่ือยกระดับคุณภาพแผน ทุกระดับมาจากปัญหาความต้องการของ
ประชาชน อยา่ งแท้จรงิ
ในระดับพนื้ ท่ใี ห้มีลกั ษณะเป็นแผนเดยี ว
 ก�ำหนดกลไกให้มีหน่วยงาน
 เพอื่ กำ� หนดแนวทางการสนบั สนนุ
รบั ผดิ ชอบการจดั ทำ� แผนในทกุ ระดบั และมแี นวทาง
ควบคมุ และกำ� กบั ตดิ ตามการจดั ทำ� และประสาน ก า ร ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร เ ช่ื อ ม โ ย ง ป ร ะ ส า น แ ผ น
แผนพัฒนาในระดับพ้นื ที่ ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพ เพอื่ ใหก้ ารดำ� เนนิ งานไมเ่ กดิ ความซำ�้ ซอ้ น และเกดิ
• หลกั การด�ำเนนิ งานทส่ี �ำคญั 5 ประการ ความคมุ้ ค่ากับประชาชนมากท่สี ุด
เพือ่ ให้เปน็ ไปตามระเบียบฯ ประกอบดว้ ย
 ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง
 ก�ำหนดแนวทางการเช่ือมโยง
(People Centric) ในการบริหารราชการ โดย
และประสานแผนพฒั นาในระดบั พนื้ ทใี่ นลกั ษณะ ความรว่ มมอื จากภาคประชาชน เขา้ มามสี ว่ นรว่ ม
One Plan โดยไม่ส่งผลกระทบบทบาทอ�ำนาจ ในการบริหารราชการสว่ นภมู ิภาค
หน้าท่ีในการจัดท�ำและประสานแผนของ • แนวปฏิบัติรองรับการด�ำเนินงาน
สว่ นราชการหรอื ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา่ ดว้ ยการจดั
ที่ก�ำหนดไว้ในระเบียบ กฎหมายหรือแนวทาง ท�ำแผนและประสานแผนพัฒนาพ้ืนที่ในระดับ
ปฏิบตั ิ อ�ำเภอและต�ำบล พ.ศ. 2562
เพื่อให้การจัดท�ำแผนพัฒนาระดับ
 ก�ำหนดแนวทางการเชื่อมโยง พ้ืนท่ีมีแนวทางปฏิบัติเพื่อขับเคล่ือนเชื่อมโยง
และบูรณาการระหว่างกัน กระทรวงมหาดไทย
ในการทำ� งานรว่ มกนั ระหวา่ งการบรหิ ารราชการ ได้ออกแนวทางปฏิบัติ ฉบับปรับปรุง ประจ�ำ
ส่วนภูมิภาคกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สรปุ ได้ ดังนี้
โดยไม่มีผลบังคับให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ดำ� เนนิ การใด ๆ นอกเหนอื จากระเบยี บ/กฎหมาย
ท่ีก�ำหนดไว้ เป็นการอาศัยระเบียบ กฎหมาย

4 วารสารดำ�รงราชานุภาพ

แผน ผจู้ ัดท�ำ แผน การเหน็ ชอบแผน/ผ้ใู หค้ วาม หนว่ ยรบั ผิดชอบ กำ�หนดรปู แบบ
แผนพฒั นา คณะกรรมการ เหน็ ชอบแผน ของเลม่ แผน
หมู่บ้าน/แผนชมุ ชน หมู่บา้ น/
คณะกรรมการชมุ ชน • คณะกรรมการหมู่บ้านมีมติ • ทที่ �ำการปกครองอ�ำเภอ - กรมการปกครอง
เห็นชอบ แล้วประธาน • ส�ำนักงานพัฒนาชุมชน (แผนพฒั นาหมบู่ า้ น)
กรรมการหมู่บ้านลงนาม อ�ำเภอ สนับสนุนข้อมูล - กรมส่งเสริมการ
เหน็ ชอบ จปฐ. กชช. 2ค และข้อมลู ปกครองท้องถิน่
• คณะกรรมการชมุ ชนเหน็ ชอบ โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูล (แผนชมุ ชน)
แผนชุมชน แล้วประธาน ชุมชนในการพัฒนาระบบ
กรรมการชุมชนอนุมัติ สารสนเทศเพอ่ื การบรู ณาการ
และประกาศใช้ วางแผนงาน (CIA)
หรือสืบคน้ ท่ี
http://ebmn.cdd.go.th

แผนพัฒนาตำ�บล - คณะกรรมการ • คณะกรรมการบริหารงาน • สำ�นักงานพัฒนาชุมชน กรมการพฒั นาชมุ ชน
บริหารงานตำ�บล ต�ำบลแบบบูรณาการ มีมติ อำ�เภอ ทำ�คำ�สั่งแต่งตั้ง
แบบบูรณาการ เห็นชอบ แล้วประธาน ก.บ.ต. และนายอำ�เภอ
(ก.บ.ต.) ก.บ.ต. ลงนามเหน็ ชอบ ลงนาม
- คณะกรรมการ
พฒั นาทอ้ งถิ่น

แผนพัฒนาอำ�เภอ คณะกรรมการ • ผ่านการกล่ันกรองจาก - อำ�เภอ ทำ�คำ�ส่ังแต่งต้ัง กรมการปกครอง
บริหารงานอำ�เภอ คณะกรรมการกล่ันกรอง ก.บ.อ. และผู้ว่าราชการ
แบบบูรณาการ แผนพัฒนาอำ�เภอ จังหวดั ลงนาม
(ก.บ.อ.) • นำ�เขา้ ก.บ.จ. เพื่อทราบ - ท่ีทำ�การปกครองจังหวัด
• ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั เหน็ ชอบ เ ส น อ คำ� สั่ ง แ ต่ ง ต้ั ง
คณะกรรมการกลั่นกรอง
แผนพัฒนาอำ�เภอ โดยมี
รองผ้วู ่าราชการจังหวัดเป็น
ประธานใหผ้ วู้ า่ ราชการจงั หวดั
ลงนาม

แผนพฒั นาทอ้ งถิ่น คณะกรรมการ • ผู้บริหารท้องถิ่นพิจารณา - องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั กรมส่งเสรมิ การ
พฒั นาทอ้ งถ่ิน อนมุ ตั ริ า่ งแผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ พิจารณาโครงการของ ปกครองทอ้ งถิน่
และประกาศใช้แผนพัฒนา อปท. ใดควรอยู่ในแผน
แผนพัฒนาจังหวัด คณะกรรมการ ทอ้ งถน่ิ พฒั นาขององคก์ ารบรหิ าร
บรหิ ารงานจงั หวัด ส่วนจังหวดั
แบบบูรณาการ
(ก.บ.จ.) • ผ่านการกลั่นกรองจาก - สำ�นกั งานจงั หวดั - มติ ก.บ.ภ.
อ. ก.บ.ภ. สำ�หรบั ปงี บประมาณ
• ก.บ.ภ. เหน็ ชอบ

วารสารด�ำ รงราชานุภาพ 5

 ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา่ ดว้ ย ส่วนท้องถ่ินในเขตจังหวัด ยุทธศาสตร์จังหวัด
การจัดทําแผนพัฒนาขององค์กรปกครอง ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัด
สว่ นทอ้ งถน่ิ พ.ศ. 2548 และฉบบั แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนพัฒนาภาค
ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2559) และ ฉบบั ท่ี 3 (พ.ศ. 2561) แ ผ น พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม แ ห ่ ง ช า ติ
ให้มีแผนพัฒนาทองถิ่น โดยแผนดังกล่าว ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี และเป้าหมายการพฒั นา
จ ะ ส อ ด ค ล  อ ง กั บ แ ผ น พั ฒ น า จั ง ห วั ด ท่ยี ่ังยนื (Sustainable Development Goals
ยุทธศาสตรการพัฒนาขององคกรปกครอง : SDGs) นอกจากน้อี งคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ
สวนทองถิ่นในเขตจังหวัด แผนพัฒนาอําเภอ จะต้องค�ำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน
แผนพฒั นาตําบล แผนพฒั นาหมบู านหรอื ชมุ ชน ในการจัดทำ� แผนพัฒนาท้องถ่ิน โดยการจัดใหม้ ี
ผู้ว่าราชการจังหวัด และนายอ�ำเภอ การประชุมประชาคมท้องถ่ิน แบ่งออกเป็น
ก�ำกับดูแลในการทบทวนแผนพัฒนาท้องถ่ิน 4 รูปแบบคือ (1) ประชาคมระดับตำ� บล สำ� หรับ
เรื่องการนำ� ข้อมลู มาทบทวน ได้แก่ แผนพฒั นา องค์การบริหารส่วนต�ำบลและเทศบาลต�ำบล
ท้องถิ่นฉบับปัจจุบัน และความสอดคล้อง (2) ประชาคมระดับเมือง ส�ำหรับเทศบาลเมือง
กับยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครอง และเมอื งพทั ยา (3) ประชาคมระดบั นคร สำ� หรบั

6 วารสารด�ำ รงราชานุภาพ

เทศบาลนคร (4) ประชาคมระดบั จงั หวดั สำ� หรบั ปกครองส่วนท้องถ่ิน ลงในแผนพัฒนาท้องถิ่น
องค์การบริหารส่วนจังหวัด และในแผนพัฒนา ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดแล้ว ให้แจ้ง
ท้องถิ่นต้องจัดท�ำโครงการพัฒนาเพ่ือบริการ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในเขตจังหวัด
สาธารณะ กจิ กรรมสาธารณะ ตามอำ� นาจหนา้ ที่ ทุกแห่งได้ทราบในเวลาอันสมควรโดยมชิ กั ช้า
ในการจัดท�ำบริการสาธารณะและกิจกรรม  การประสานส�ำหรับจังหวัด
สาธารณะขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ องค์การบริหารส่วนต�ำบล เทศบาล องค์การ
เม่ือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บริหารส่วนจังหวัด และเมืองพัทยา ประสาน
ใช้แผนพัฒนาท้องถิ่นเป็นกรอบในการจัดท�ำ โครงการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
งบประมาณรายจ่าย รวมทั้งวางแนวทางเพื่อให้ ผา่ นคณะกรรมการบรหิ ารงานจงั หวดั แบบบรู ณาการ
มีการปฏิบัติให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามโครงการ (ก.บ.จ.) และใหจ้ งั หวดั นำ� โครงการทข่ี อประสาน
พั ฒ น า ที่ ก� ำ ห น ด ไ ว ้ ใ น แ ผ น พั ฒ น า ท ้ อ ง ถิ่ น บ ร ร จุ ไ ว ้ ใ น แ ผ น พั ฒ น า จั ง ห วั ด ท่ี เ ห็ น ว ่ า
และจัดท�ำร่างแผนพัฒนาท้องถ่ินได้ตามกรอบท่ี มคี วามเหมาะสมและจำ� เปน็ ในการพฒั นาจงั หวดั
กระทรวงมหาดไทยก�ำหนด ผู้บริหารท้องถ่ิน โ ด ย อ ง ค ์ ร ว ม ต า ม ศั ก ย ภ า พ ข อ ง จั ง ห วั ด
พิ จ า ร ณ า อ นุ มั ติ ร ่ า ง แ ผ น พั ฒ น า ท ้ อ ง ถ่ิ น และเมื่อจังหวัดได้จัดท�ำแผนปฏิบัติการ/
และประกาศใชแ้ ผนพัฒนาทอ้ งถนิ่ แ ผ น ป ร ะ จ� ำ ป ี ข อ ง จั ง ห วั ด แ ล ้ ว ใ ห ้ แ จ ้ ง
• กรอบการประสานแผนเพอ่ื การจดั ท�ำ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพ่ือได้วางแนวทาง
แ ผ น อ ง ค ์ ก ร ป ก ค ร อ ง ส ่ ว น ท ้ อ ง ถิ่ น การพฒั นาท้องถ่ินของตนเอง ตอ่ ไป
(พ.ศ. 2566 – 2570) ก�ำหนดว่า  รายละเอียดอ่ืน ๆ ให้ประกาศ
 การประสานส�ำหรับองค์การ แต่งต้ังคณะกรรมการประสานแผนพัฒนา
บริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนต�ำบล ทอ้ งถน่ิ ระดบั อำ� เภอ/จงั หวดั ในสว่ นทเ่ี ปน็ อำ� นาจ
เทศบาล และเมืองพัทยา ประสานโครงการ หน้าที่ของคณะกรรมการฯ ปรับใช้กรอบ
พัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นผ่าน ระยะเวลาตามปฏิทินการจัดท�ำและประสาน
คณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนพัฒนาท้องถ่ิน (พ.ศ. 2566 – 2570)
ระดับอ�ำเภอ/จังหวัด แล้วแต่กรณี และ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เหมาะสม
ให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดน�ำโครงการ ของระยะเวลา
ที่ผ่านกระบวนการคณะกรรมการดังกล่าว จะเห็นวา่ โครงการจะไม่เกดิ ความซ�้ำซอ้ น
บรรจุไว้ในแผนพัฒนาท้องถิ่น ท่ีเห็นว่า เพราะมีคณะกรรมการประสานแผนพัฒนา
มคี วามเหมาะสมและจำ� เปน็ ในการพฒั นาจงั หวดั ท้องถ่ินระดับจังหวัดตรวจสอบโครงการจาก
โดยองค์รวม ตามศักยภาพขององค์การบริหาร แผนพัฒนาท้องถิ่นของเทศบาลและองค์การ
ส่วนจังหวดั และเมื่อองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวดั บริหารส่วนต�ำบลเพ่ือมิให้โครงการซ�้ำซ้อน
ได้บรรจุโครงการประสานแผนขององค์กร กับแผนพฒั นาขององคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัด

วารสารด�ำ รงราชานุภาพ 7

 พระราชบัญญัติลักษณะปกครอง และเลขานุการทั้งสองคณะมีองค์ประกอบ
ทอ้ งที่ พ.ศ. 2457 แก้ไขเพ่มิ เตมิ (ฉบับท่ี 11) และอ�ำนาจหน้าที่คล้ายคลึงกัน ระหว่าง
พ.ศ. 2551 ใหม กี ารจดั ตง้ั คณะกรรมการหมบู าน คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัด
เพื่อเปนองคกรในการจัดทําแผนหมูบาน และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.น.จ.)
เพื่อสงเสริมการมีสวนรวมในการจัดการหมูบาน ซง่ึ เลขาธกิ าร ก.พ.ร. เปน็ กรรมการและเลขานกุ าร
ของประชาชนในพนื้ ท่ี มาตรา 28 ตรี ในหมบู านหนงึ่ ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงาน
ใหมีคณะกรรมการหมูบาน ประกอบดวย จงั หวดั และกลมุ่ จงั หวดั แบบบรู ณาการ พ.ศ. 2551
ผูใหญบาน เปนประธาน ผูชวยผูใหญบาน และคณะกรรมการบรู ณาการนโยบายพัฒนาภาค
สมาชิกสภาองคกรปกครองสวนทองถิ่นท่ีมี (ก.บ.ภ.) เลขาธิการสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ
ภูมิลําเนาในหมูบาน ผูนําหรือผูแทนกลุม และสงั คมแหง่ ชาติ เปน็ กรรมการและเลขานกุ าร
หรือองคกรในหมูบาน เปนกรรมการหมูบาน ต า ม ร ะ เ บี ย บ ส� ำ นั ก น า ย ก รั ฐ ม น ต รี ว ่ า ด ้ ว ย
โดยตําแหนง และกรรมการหมบู า้ นผทู รงคณุ วฒุ ิ การบรหิ ารงานเชงิ พน้ื ทแ่ี บบบรู ณาการ พ.ศ. 2560
ซึ่งนายอําเภอแตงตั้งจากผูซ่ึงราษฎรในหมูบาน จึงเห็นควรยุบรวมโดยร่างพระราชกฤษฎีกา
เลือกเปนกรรมการหมูบานผูทรงคุณวุฒิ ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
จํานวนไมนอยกวาสองคน แตไมเกินสิบคน แบบบรู ณาการ พ.ศ. ..... คณะรฐั มนตรมี มี ตเิ หน็ ชอบ
ใหค ณะกรรมการหมบู านเปน องคก รหลกั ทร่ี บั ผดิ ชอบ ในหลักการเม่ือวันท่ี 6 ตุลาคม 2563
ในการบูรณาการจัดทําแผนพัฒนาหมูบาน และคณะกรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 13
แ ล ะ บ ริ ห า ร จั ด ก า ร กิ จ ก ร ร ม ท่ี ดํา เ นิ น ง า น โดยมีนายบวรศักด์ิ อุวรรณโณ เป็นประธาน
ในหมบู านรว มกับองคกรอืน่ ทกุ ภาคสวน ได้มีมติให้ส�ำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ

ระเบยี บใหมท่ ก่ี �ำลงั จะมาทดแทน

เป็นธรรมดาท่ีจะต้องมีการปรับปรุง
เปล่ียนแปลง หรือยกเลิกเมื่อถึงเวลาเหมาะสม
สืบเนื่องจากส�ำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสงั คมแหง่ ชาติ (สศช.) เสนอวา่ ปจั จบุ นั การจดั ทำ�
แ ล ะ ใ ห ้ ค ว า ม เ ห็ น ช อ บ แ ผ น พั ฒ น า จั ง ห วั ด
แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนพัฒนาภาค แผน
ปฏิบัติราชการประจ�ำปีของจังหวัด แผนปฏิบัติ
ราชการประจ�ำปีของกลุ่มจังหวัด จะต้องปฏิบัติ
ตามนโยบาย หลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และไดร้ บั ความ
เหน็ ชอบจากคณะกรรมการสองคณะซง่ึ คณะกรรมการ

8 วารสารด�ำ รงราชานุภาพ

และสงั คมแหง่ ชาติ และสำ� นกั งานคณะกรรมการ การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดท�ำ
พัฒนาระบบราชการ จัดรับฟังความคิดเห็น โครงการของภาค/กลุ่มจังหวัด/จังหวัด รวมถึง
และข้อเสนอแนะจากจังหวัด กลุ่มจังหวัด เคร่ืองมือและการประสานแผนงานโครงการ
และส่วนราชการทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ในระดับพื้นท่ีมีน้อย เครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ
ส�ำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ ในกระบวนการขน้ั ตอนและระยะเวลาในการประสาน
และสังคมแห่งชาติ โดยส�ำนักงานเลขานุการ แผนงานโครงการขาดความชัดเจน ช่วงเวลา
คณะกรรมการบูรณาการนโยบายพัฒนาภาค ของแผนแตล่ ะระดบั ไมส่ อดคลอ้ งกนั ผลกระทบ
(ก.บ.ภ.)1 ได้จัดประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็น ต ่ อ ก า ร บู ร ณ า ก า ร แ ผ น แ ล ะ ง บ ป ร ะ ม า ณ
ตอ่ รา่ งพระราชกฤษฎกี าดงั กลา่ วเมอื่ วนั องั คารท่ี การแต่งต้ังหัวหน้ากลุ่มจังหวัดในนามบุคคล
8 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ณ โรงแรมเบอร์เคลีย์ ซง่ึ บางครงั้ ไมไ่ ดอ้ ยปู่ ฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี หรอื มกี ารโยกยา้ ย
ประตูน�้ำ กรุงเทพมหานคร ซ่ึงเปน็ กระบวนการ และเกษยี ณอายรุ าชการ องคป์ ระกอบของ ก.บ.จ.
ระดมความคดิ เหน็ ทเี่ กดิ จากปญั หาและอปุ สรรค ในสว่ นภาคเอกชนยงั ไมค่ รอบคลมุ ขาดการบรู ณาการกนั
ในการดำ� เนนิ การที่เกิดขึ้นจริง ทำ� ให้ไดร้ บั ทราบ ระหวา่ งกลมุ่ จงั หวดั ใกลเ้ คยี ง การบรหิ ารงบประมาณ
ถึงประเด็นต่าง ๆ มากมาย ในกรณียกเลิก จงั หวดั /กลมุ่ จงั หวดั มขี อ้ จำ� กดั ในการมอบอำ� นาจ
ระเบยี บสำ� นกั นายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยการบรหิ ารงาน ใ ห ้ กั บ ห น ่ ว ย ง า น ส ่ ว น ก ล า ง ที่ ต้ั ง ใ น พ้ื น ท่ี
เชงิ พนื้ ทแี่ บบบรู ณาการ พ.ศ. 2560 และปรบั ปรงุ กรอบระยะเวลาในการจัดท�ำแผนน้อยมาก
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัด เม่ือเทียบกับการด�ำเนินการจริงในขณะท่ี
และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 ระยะเวลา ในการจดั ทำ� แผนลว่ งหนา้ นานเกนิ ไป
หมายถึงจะไม่มีอีกแล้วทั้ง ก.บ.ภ. และ ก.น.จ. จึงเป็นสาเหตุให้มีการเปล่ียนแปลงยกเลิก
ถา้ พระราชกฤษฎกี าใหมม่ ผี ลบงั คบั ใช้ แตใ่ หเ้ ปน็ โครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจ�ำปี
หนา้ ทขี่ องคณะกรรมการนโยบายการบรหิ ารงาน จ�ำนวนมาก ปฏิทินการจัดท�ำแผนพัฒนา
เชงิ พนื้ ทแ่ี บบบรู ณาการ (ก.บ.บ.) เขา้ มาทดแทน ทกุ ระดบั จดั ทำ� พรอ้ มกนั ทำ� ใหม้ คี วามซำ�้ ซอ้ นกนั
• ผลจากการระดมความคิดเห็น.. ในกระบวนการจดั ทำ� แผนพฒั นา ไมส่ ามารถสง่ ตอ่
รปู้ ญั หา เพอื่ น�ำไปปรบั ปรงุ รา่ งพระราชกฤษฎกี า โครงการได้อยา่ งทันท่วงที
ให้เหมาะสม ขณะเดยี วกนั แนวคดิ ในการจดั ทำ� แผน
ตวั อย่างของปัญหาทีไ่ ด้จากการระดม นั้นมีกระบวนการจัดท�ำแผนพัฒนาซ�้ำซ้อน
ความคิดเห็น อาทิเช่น การขาดความเข้าใจ มีการค�ำนึงถึงความต้องการของประชาชนน้อย
และเชอื่ มโยงแผนระดบั พน้ื ทก่ี บั แผนของสว่ นราชการ โครงการความตอ้ งการของประชาชนทเ่ี สนอผา่ น

1สรปุ ผลการระดมความคดิ เหน็ ตอ่ รา่ งพระราชกฤษฎกี าวา่ ดว้ ยการบรหิ ารงานเชงิ พน้ื ทแี่ บบบรู ณาการ พ.ศ. ... [ออนไลน]์ จาก สำ� นกั งาน
เลขานกุ ารคณะกรรมการบรู ณาการนโยบายพฒั นาภาค ส�ำนกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ เว็บไซต์ :
https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=11358&filename=index (สบื ค้นข้อมลู : 24 พฤษภาคม 2564)

วารสารด�ำ รงราชานุภาพ 9

องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ และอำ� เภอ ไมไ่ ดร้ บั มีการปรับเปล่ียนเจ้าหน้าที่ตลอด ส่งผลต่อ
การพิจารณา เนื่องจากเป็นภารกิจถ่ายโอน การท�ำงานขาดความต่อเน่ืองและบุคลากรที่มี
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภารกิจ ความเชี่ยวชาญด้านการปรับปรุงพัฒนาแผน/
ของอ�ำเภอ การประสานเชื่อมโยงหรือส่งต่อ งบประมาณ กฎระเบียบของส่วนราชการ
แผนงานโครงการระหวา่ งสว่ นราชการทงั้ สว่ นกลาง มกี ระบวนการดำ� เนนิ งานทใ่ี ชเ้ วลา อาจมผี ลกระทบ
และในพื้นท่ีกับจังหวัด/กลุ่มจังหวัดยังมีไม่มาก ต่อการด�ำเนินงานจังหวัด/กลมุ่ จงั หวัด ตลอดจน
เท่าที่ควรและหรือไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทมี บรู ณาการกลางมกี ารปรบั ปรงุ ระเบยี บกฎเกณฑ์
บางครั้งซ้�ำซ้อนแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่ม ทุกปี ท�ำให้ระเบียบต่าง ๆ มีความซับซ้อน
จังหวัด จังหวัด/กลุ่มจังหวัดไม่ทราบแผนงาน มากขนึ้ เปน็ ต้น
โครงการของสว่ นราชการทจ่ี ะดำ� เนนิ การในพนื้ ท่ี • มคี ณะกรรมการนโยบายการบรหิ ารงาน
ในแต่ละปี เนือ่ งจากหน่วยงานไม่ใหค้ วามสำ� คัญ เชงิ พน้ื ทแ่ี บบบรู ณาการ (ก.บ.บ.) สะทอ้ นอะไร
กับการบรรจุแผนงานโครงการของตนเองใน การยุบเหลือเพียงคณะกรรมการ
แผนปฏิบัติราชการประจ�ำปีของจังหวัด/กลุ่ม เดยี วนนั้ สะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ การกำ� หนดหลกั เกณฑ์
จงั หวดั โครงการกลมุ่ จงั หวดั ยงั ไมม่ กี ารเชอ่ื มโยงกนั วิ ธี ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร จั ด ท� ำ แ ผ น พั ฒ น า จั ง ห วั ด
อย่างแท้จริง การก�ำหนดเขตพ้ืนที่งาน แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แผนพัฒนาภาค
ของแต่ละส่วนราชการไม่เหมือนกัน และ แ ผ น ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร ป ร ะ จ� ำ ป ี ข อ ง จั ง ห วั ด
ไม่สอดคล้องกับการแบ่งจังหวัด/กลุ่มจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจ�ำปีของกลุ่มจังหวัด
งบประมาณจังหวัดได้รับงบประมาณน้อย การจัดท�ำและบริหารงบประมาณจังหวัด
และถูกปรับลดลงทุกปี ปัญหาเกิดจากการ กลมุ่ จงั หวดั ตลอดจนสว่ นราชการทจ่ี ะดำ� เนนิ การ
ก�ำหนดส่วนงบประมาณระหว่างงบลงทุน ตามแผนพัฒนาภาคตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการ
และงบด�ำเนินงาน 75 : 25 ในการจัดสรร งบประมาณ เพอื่ ใหเ้ กดิ การบรู ณาการการทำ� งาน
งบจังหวัดและกลุ่มจังหวัดตามแผนปฏิบัติ รว่ มกนั ลดความซ้�ำซ้อนและสามารถด�ำเนินงาน
ราชการประจำ� ปี การเบกิ จา่ ยงบประมาณไมเ่ ปน็ ไป ตามแผนใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถ
ตามกรอบระยะเวลาที่ก�ำหนด รวมทั้ง ตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนในทอ้ งถนิ่
การก�ำกับ ติดตาม ประเมินผล ไม่เป็นไปตาม ใหไ้ ดร้ บั ประโยชนอ์ ย่างสงู สุด
ตัวช้ีวัดเป็นรูปแบบลักษณะของการติดตาม โดยคณะกรรมการนโยบายการบรหิ ารงาน
เร่งรัดให้ทันงบประมาณ ดูผลผลิต แต่ไม่มี เชงิ พนื้ ทแี่ บบบรู ณาการ (ก.บ.บ.) มนี ายกรฐั มนตรี
การประเมินผลของโครงการ เป็นประธาน เลขาธิการ สศช. เป็นกรรมการ
นอกจากรูปแบบการด�ำเนินงานแล้ว และเลขานุการ โดยมีกรรมการและผู้ช่วย
ยังมีข้อจ�ำกัดด้านบุคลากรกลุ่มงานยุทธศาสตร์ เลขานุการร่วมจาก สศช. กระทรวงมหาดไทย
และข้อมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัด ส�ำนักงาน สำ� นกั งบประมาณ สำ� นกั งาน ก.พ.ร. มกี ารเพมิ่ ขนึ้
จังหวัดท่ีมีปริมาณของบุคลากรไม่เพียงพอ และลดลงของกรรมการโดยเพ่ิมเลขาธิการ

10 วารสารด�ำ รงราชานภุ าพ

สภาความมั่นคงแห่งชาติ จากเดิมไม่มี และแผนพัฒนาประเทศดานตาง ๆ ที่เก่ียวของ
ทั้งใน ก.น.ภ. หรือ ก.บ.ภ. และลดลง รวมตลอดทงั้ นโยบายของรฐั บาล และความตอ งการ
คือ ประธานสมาคมธนาคารไทย ซ่ึงเดิม ของประชาชนในทอ งถน่ิ
ด�ำรงต�ำแหน่งใน ก.บ.ภ. แต่กลับไม่มีต�ำแหน่ง  พิจารณา กล่ันกรอง และให
ในร่างของ ก.บ.บ. ชุดใหม่ มีการเปลี่ยนหน้าที่ ความเห็นชอบแผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนา
งานธุรการจากเดิม ท�ำหน้าท่ีโดยส�ำนักงาน กลมุ จงั หวดั แผนพฒั นาภาค แผนปฏบิ ตั ริ าชการ
ก.พ.ร. เปล่ียนเป็น สศช. เพียงหน่วยงานเดียว ประจ�ำปของจังหวัด แผนปฏิบัติราชการ
เทา่ นนั้ ซงึ่ คณะกรรมการชดุ ดงั กลา่ วจะมบี ทบาท ประจ�ำปของกลุมจังหวัด งบประมาณจังหวัด
ส�ำคัญในการขับเคล่ือนแผนและประสาน และงบประมาณกลมุ จงั หวดั ตามกฎหมายวาดว ย
แผนพัฒนาในระดับพ้ืนท่ี (One Plan) วิธีการงบประมาณ แลวเสนอคณะรัฐมนตรี
เป็นอย่างมาก เน่ืองจากได้มีหน้าที่และอ�ำนาจ เพอื่ ทราบ
หลายประการ ไดแ้ ก่  ก�ำกับดูแลการด�ำเนินการตาม 
 กำ� หนดกรอบนโยบายและวางระบบ   และ  ใหเ กดิ ผลสมั ฤทธ์ิ
ในการบริหารงานจังหวัด กลุมจังหวัด และ  แตงตั้งคณะอนุกรรมการหรือ
ภาคแบบบูรณาการเพ่ือใหสามารถบริหารงาน คณะทำ� งานเพอ่ื ปฏบิ ตั หิ นาทต่ี าง ๆ ตามทมี่ อบหมาย
แกไขปญหา และพัฒนาพ้ืนท่ีไดอยางมี  ปฏิบัติหนาท่ีอ่ืนตามที่คณะรัฐมนตรี
ประสิทธิภาพและตอบสนองความตองการ มอบหมาย
ของประชาชนใหไ ดรับประโยชนส ูงสดุ อย่างไรก็ตาม การยุบคณะกรรมการ
 ก�ำหนดนโยบาย หลักเกณฑ และ สองคณะกรรมการเหลือเพียงคณะกรรมการ
วธิ กี ารในการจดั ทำ� แผนพฒั นาจงั หวดั แผนพฒั นา เดียวคือ ก.บ.บ. แต่เนื้อหาภายในไม่ได้
กลมุ จงั หวดั แผนพฒั นาภาค แผนปฏบิ ตั ริ าชการ เปล่ียนแปลงมากนัก ยังคงชุดคณะกรรมการ
ประจ�ำปของจังหวัด และแผนปฏิบัติราชการ ได้แก่ คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบ
ประจ�ำปของกลุมจังหวัด การจัดท�ำและบริหาร บูรณาการ (ก.บ.จ.) ซึ่งมีผู้ว่าราชการจังหวัด
งบประมาณจงั หวดั และงบประมาณกลมุ จงั หวดั เป็นประธานกรรมการ มีหัวหน้าส�ำนักงาน
 บูรณาการแผนของสวนราชการ จังหวัดเป็นกรรมการและเลขานุการ รวมถึง
และแผนพฒั นาระดบั พนื้ ท่ี เพอื่ ใหก ารขบั เคลอ่ื น คณะกรรมการบริหารงานกลุ่มจังหวัดแบบ
แผนในพื้นที่ของกระทรวง กรม สอดคลองกับ บูรณาการ (ก.บ.ก.) มีหัวหน้ากลุ่มจังหวัด
ศกั ยภาพหรอื ประเดน็ ปญ หาในพน้ื ทแี่ ละเชอื่ มโยง เป็นประธานกรรมการ โดยให้ปลัดกระทรวง
ใหสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ แผนแมบท มหาดไทยแต่งต้ังข้าราชการในสังกัดกระทรวง
ภายใตยุทธศาสตรชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ มหาดไทยคนหน่ึงเป็นกรรมการและเลขานุการ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ พรอ้ มทงั้ มหี วั หนา้ สำ� นกั งานจงั หวดั ของทกุ จงั หวดั

วารสารด�ำ รงราชานภุ าพ 11

ในกลมุ่ จงั หวดั เปน็ กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร สรุป
ส่วนระยะเวลาของแผนก�ำหนดให้มีระยะเวลา
5 ปี ส�ำหรบั กลมุ่ จงั หวดั และภาคเชน่ กันให้มีอยู่ ระเบียบกฎหมายมีความเก่ียวข้อง
ตอ่ ไป เวน้ แตเ่ มอื่ พระราชกฤษฎกี านม้ี ผี ลใชบ้ งั คบั กับการจัดท�ำแผนและประสานแผนพัฒนา
เมื่อใดจึงจะมีการออกประกาศ หลักเกณฑ์ ในระดบั พนื้ ที่ (One Plan) สง่ ผลตอ่ ทกุ ภาคสว่ น
แนวทาง มติ หรือคำ� สั่ง ทีม่ าเปล่ียนแปลง อาทิ เพ่ือให้การถือปฏิบัติเป็นไปในแนวทางเดียวกัน
เช่น นโยบาย หลักเกณฑ์และวิธีการท�ำแผน กฎหมายในยคุ สมยั หนงึ่ เมอื่ ถงึ เวลาจำ� เปน็ จะตอ้ ง
การพิจารณาจัดตั้งกลุ่มจังหวัด ภาค จังหวัด มีการปรับปรุงแก้ไขเพ่ือให้ทันต่อสถานการณ์
ท่ีเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด หัวหน้า พ ร ้ อ ม ส ่ ง เ ส ริ ม ส นั บ ส นุ น ใ ห ้ ก า ร ป ฏิ บั ติ มี
กลุ่มจังหวัด เป็นต้นนั้นขึ้นอยู่กับ ก.บ.บ. ความคลอ่ งตวั แตค่ วามสำ� เรจ็ คอื การมสี ว่ นรว่ ม
เป็นผู้พจิ ารณาก่อนเสนอคณะรัฐมนตรีพจิ ารณา และเอาใจใส่อย่างจริงจังของทุกภาคส่วนท่ี
ใหค้ วามเหน็ ชอบแลว้ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา จะขับเคล่ือนแผนพัฒนาในระดับพ้ืนท่ีให้เป็น
แผนที่ตอบสนองต่อปัญหาความต้องการ
ตลอดจนยทุ ธศาสตรใ์ นทุกระดบั

บรรณานุกรม

สำ� นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต.ิ (2563). สรปุ ผลการระดมความคดิ เหน็ ตอ่ รา่ ง
พระราชกฤษฎกี า ว่าดว้ ยการบริหารงานเชงิ พ้นื ทแี่ บบบรู ณาการ พ.ศ. .... สืบค้นเมื่อ 2564,
พฤษภาคม 24 , จาก https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=
11358&filename=index

กระทรวงมหาดไทย (2562). ความรู้พ้ืนฐานส�ำหรับการจัดท�ำแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด.
สบื ค้นเมือ่ 2564, พฤษภาคม 24, จากสำ� นกั พัฒนาและส่งเสริมการบริหารราชการจงั หวัด.
http://www.stabundamrong.go.th/2019/wordpress/download/743/

ส�ำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย. (2564). แนวทางปฏิบัติรองรับการด�ำเนินการตามระเบียบ
กระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจดั ท�ำแผนพฒั นาพ้ืนท่ีในระดับอ�ำเภอและต�ำบล พ.ศ. 2562
(ฉบับปรับปรุง ประจ�ำปีงบประมาณพ.ศ. 2564). สืบค้นเม่ือ 2564, พฤษภาคม 24
จากส�ำนักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารราชการจังหวัด http://www.stabundamrong.
go.th/2019/wordpress/download/2900/

แผน 5 ปี

กองบรรณาธิการ

เปน็ ทที่ ราบกนั ดอี ยแู่ ลว้ วา่ รอบการจดั ทำ� แผน พระราชบัญญัติ การจัดท�ำยุทธศาสตร์ชาติ
เพื่อของบประมาณจะท�ำล่วงหน้าก่อน 2 ปี พ.ศ. 2560 โดยก�ำหนดให้มีคณะกรรมการ
โดยวธิ กี ารจดั ทำ� แผนอะไรบา้ งอยา่ งไรนน้ั เพอื่ ให้ ยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อรับผิดชอบในการจัดท�ำ
สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาของประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และเมื่อได้รับความเห็นชอบ
มงุ่ เนน้ การเชอื่ มโยงแผนของทงั้ ประเทศทง้ั ระบบ จากคณะรัฐมนตรีและสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
เขา้ ดว้ ยกนั เพอื่ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล แลว้ ใหน้ ายกรฐั มนตรนี ำ� ขน้ึ ทลู เกลา้ ทลู กระหมอ่ มถวาย
ในการพัฒนาประเทศในภาพรวม เร่ิมจาก เพ่ือมีพระบรมราชโองการประกาศใช้เป็น
แผนยุทธศาสตร์ชาติซ่ึงเป็นกรอบแผน 20 ปี ยุทธศาสตร์ชาติ ตอ่ ไป
(พ.ศ. 2561 – 2580) แผนพัฒนาเศรษฐกิจ การวางเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
และสังคมแห่งชาติเป็นกรอบแผน 5 ปี ขณะน้ี คือ กรอบระยะเวลาในการด�ำเนินงานของแผน
ก�ำลังอยู่ในช่วงเตรียมท�ำแผนฯ ฉบับท่ี 13 ยุทธศาสตร์ชาติ ซึง่ ภายใต้แผนพฒั นาใน 20 ปนี ้ี
(พ.ศ. 2566 - 2570) และลดหลนั่ ระดบั ยอ่ ยลงมา จะมตี อ้ งมกี ารบรรลเุ ปา้ หมายในดา้ นตา่ ง ๆ ทกุ ๆ 5 ปี
เป็นแผนพัฒนาภาค แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด เพือ่ ให้เห็นการพัฒนาของประเทศ
แ ผนพัฒน าจังหวัด แ ผน พั ฒนาอ� ำ เ ภ อ เปา้ หมายใน 5 ปแี รก (พ.ศ. 2561 - 2565)
แผนพัฒนาต�ำบล แผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ (เทศบาล จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารปรบั เปลย่ี นระบบตา่ ง ๆ ครง้ั ยงิ่ ใหญ่
/องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บล) แผนพฒั นาหมบู่ า้ น/ โดยเน้นแก้ไขส่ิงที่เป็นจุดอ่อนของประเทศ
ชุมชน ท่ีเป็นแผน 5 ปีทง้ั สน้ิ และใช้จุดแข็งของประเทศให้เกิดประโยชน์
ใช้นวัตกรรมใหม่ ๆ เข้ามาผสมผสานเพื่อเพ่ิม
แผนยทุ ธศาสตรช์ าตไิ ทย มคี วามเปน็ มา มูลค่าทางเศรษฐกจิ
อยา่ งไร ท�ำไมจงึ วางแผนไว้ 20 ปี เป้าหมายใน 10 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570)
ประเทศจะตอ้ งมรี ะบบเศรษฐกจิ ทด่ี ี โดยเรมิ่ จาก
การสนับสนุนการวิจัย และการน�ำเทคโนโลยี
รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย มาตรา 65 มาผสมผสานกบั สนิ คา้ กลมุ่ เกษตรและสาธารณสขุ
บญั ญตั ใิ หร้ ฐั พงึ จดั ใหม้ ยี ทุ ธศาสตรช์ าติ เปน็ เปา้ หมาย นอกจากนี้ผู้ประกอบการจะต้องทันเทคโนโลยี
การพฒั นาประเทศอยา่ งยงั่ ยนื ตามหลกั ธรรมาภบิ าล และยงั ตอ้ งสรา้ งบคุ ลากรทางการวจิ ยั เพอื่ รองรบั
เพอื่ ใชเ้ ปน็ กรอบในการจดั ทำ� แผนตา่ ง ๆ ใหส้ อดคลอ้ ง เทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่จะเข้ามามีบทบาทมากขึ้น
และบรู ณาการกนั เพอื่ ใหเ้ กดิ เปน็ พลงั ผลกั ดนั รว่ มกนั ในอนาคต
ไปสู่เป้าหมายดังกล่าว และต่อมาได้มีการตรา

วารสารดำ�รงราชานุภาพ 13

เปา้ หมายใน 15 ปี (พ.ศ. 2571 - 2575) เป้าหมายใน 20 ปี (พ.ศ. 2576 - 2580)
ประชากรในประเทศจะต้องเป็นประชากร เศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศตอ้ งมเี สถยี รภาพ
ทมี่ คี ุณภาพ โดยจะพัฒนาให้บุคลากรทกุ ช่วงวัย ระบบราชการของไทยจะเป็นแบบดิจิทัล
มีศักยภาพสูง มีความรู้และทักษะ นอกจากน้ี มีคุณภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ นอกจากนี้
สงั คมไทยจะเปน็ สงั คมท่ีเท่าเทียม และลดความ ยังได้วางแผนในการฟื้นฟูพ้ืนที่ป่าไม้ในประเทศ
เหลอ่ื มลำ้� โดยการจดั สรรทรพั ยากร และกระจาย เพื่อความย่ังยืนของระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
บริการจากภาครัฐอย่างทวั่ ถงึ ในประเทศอีกด้วย

คอ่ ย ๆ เดนิ สเู่ ปา้ หมายทลี ะ 5 ปี แต่ สภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ (สศช.) เสนอ
พ.ศ. 2563 เกดิ สถานการณโ์ ควดิ -19 โดยแผนระดับที่ 3 ก�ำหนดให้ส่วนราชการ
จงึ ผดุ แผนแมบ่ ทเฉพาะกิจฯ และหน่วยงานของรัฐน�ำเสนอแผนตามแนวทาง
ที่ สศช. กำ� หนด และให้ สศช. เปน็ ผดู้ �ำเนนิ การ
       ชี้แจงและสร้างความเข้าใจเก่ียวกับแนวทาง
ตามที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันท่ี 4 การเสนอแผนกบั ทกุ ภาคสว่ น
ธนั วาคม พ.ศ. 2560 เหน็ ชอบการจำ� แนกแผนเปน็
3 ระดับ และวิธีการเสนอแผนตามที่ส�ำนักงาน

14 วารสารด�ำ รงราชานภุ าพ

แผนระดบั 1 หมายถงึ ยทุ ธศาสตรช์ าติ เพอ่ื ใหเ้ กดิ เปน็ พลงั ผลกั ดนั รว่ มกนั ไปสเู่ ปา้ หมาย
ตามกฎหมายว่าด้วยการจัดท�ำยุทธศาสตร์ชาติ ดังกล่าว (รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ซ่ึงเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืน พ.ศ. 2560 หมวด 6 แนวนโยบายแหง่ รฐั มาตรา 65)
ต า ม ห ลั ก ธ ร ร ม า ภิ บ า ล เ พ่ื อ ใ ช ้ เ ป ็ น ก ร อ บ มพี ระราชโองการ ประกาศเรอ่ื ง ยทุ ธศาสตรช์ าติ
ในการจดั ทำ� แผนตา่ ง ๆ ใหส้ อดคลอ้ งและบรู ณาการกนั (พ.ศ. 2561 - 2580) ลงวนั ท่ี 8 ตลุ าคม พ.ศ. 2561

ยทุ ธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561 – 2580) 6 ยุทธศาสตร์
1. ยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านความม่นั คง
2. ยุทธศาสตร์ชาตดิ า้ นการสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน
3. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
4. ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
5. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม
6. ยุทธศาสตรช์ าติดา้ นการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ

วารสารดำ�รงราชานุภาพ 15

แผนระดับ 2 ประกอบดว้ ย 4 แผน ดงั น้ี (พ.ศ. 2561 - 2580) ลงวันท่ี 18 เมษายน
1. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2562
หมายความว่า แผนแม่บทเพ่ือบรรลุเป้าหมาย 1.2 ประกาศส�ำนักนายกรัฐมนตรี
ตามท่ีก�ำหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ (พระราช เรื่อง การประกาศแผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้
บัญญัติการจัดท�ำยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 ยุทธศาสตร์ชาติอันเป็นผลมาจากสถานการณ์
มาตรา 3) มีประกาศที่เก่ียวข้อง ได้แก่ โควดิ -19 พ.ศ. 2564 - 2565 ลงวนั ที่ 24 ธนั วาคม
1.1 ประกาศส�ำนักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2563
เรอ่ื ง การประกาศแผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ

แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561 - 2580) 23 ประเดน็ 140 ประเดน็ ยอ่ ย

1. ประเด็นความมัน่ คง 13. ประเด็นการเสริมสร้างใหค้ นไทยมี
สุขภาวะท่ดี ี

2. ประเด็นการต่างประเทศ 14. ประเด็นศกั ยภาพการกฬี า

3. ประเดน็ การเกษตร 15. ประเดน็ พลังทางสังคม

4. ประเดน็ อตุ สาหกรรมและบรกิ ารแหง่ อนาคต 16. ประเด็นเศรษฐกิจฐานราก

5. ประเดน็ การทอ่ งเทยี่ ว 17. ป ร ะ เ ด็ น ค ว า ม เ ส ม อ ภ า ค แ ล ะ ห ลั ก
ประกนั ทางสังคม

6. ประเดน็ พื้นทแ่ี ละเมืองน่าอย่อู จั ฉรยิ ะ 18. ประเด็นการเติบโตอย่างยงั่ ยนื

7. ประเด็นโครงสรา้ งพื้นฐาน ระบบโลจิสตกิ ส์ 19. ประเด็นการบรหิ ารจัดการน�้ำทัง้ ระบบ
และดิจทิ ัล

8. ประเดน็ ผปู้ ระกอบการและวสิ าหกจิ ขนาดกลาง 20. ประเด็นการบริการประชาชนและ
และขนาดยอ่ มยุคใหม่ ประสทิ ธภิ าพภาครฐั

9. ประเด็นเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ 21. ประเด็นการต่อต้านการทุจริตและ
ประพฤติมชิ อบ

10. ประเดน็ การปรบั เปลย่ี นคา่ นยิ มและวฒั นธรรม 22. ประเดน็ กฎหมายและกระบวนการยตุ ธิ รรม

11. ประเดน็ การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชวี ติ 23. ประเด็นการวจิ ยั และพัฒนานวตั กรรม

12. ประเด็นการพฒั นาการเรยี นรู้

16 วารสารดำ�รงราชานภุ าพ

แผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ อันเป็นผลมาจากสถานการณ์โควิด - 19
พ.ศ. 2564 – 2565
4 ประเด็นการพฒั นา
1. การเสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งของเศรษฐกจิ ฐานรากภายในประเทศ (Local Economy)
2. การยกระดบั ขดี ความสามารถของประเทศเพอื่ รองรบั การเตบิ โตอยา่ งยงั่ ยนื ในระยะยาว
(Future Growth)
3. การพฒั นาศกั ยภาพและคณุ ภาพชวี ติ ของคนใหเ้ ปน็ กำ� ลงั หลกั ในการขบั เคลอื่ นการพฒั นา
ประเทศ (Human Capital)
4. การปรับปรุงและพัฒนาปัจจัยพ้ืนฐานเพ่ือส่งเสริมการฟื้นฟูและพัฒนาประเทศ
(Enabling Factors)

2. แผนการปฏิรูปประเทศ หมายถึง เดิมที เมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2561
แผนและข้ันตอนการด�ำเนินการปฏิรูปประเทศ ราชกิจจานุเบกษาประกาศใช้แผนการปฏิรูป
ตามพระราชบญั ญตั ิ แผนและขน้ั ตอนการดำ� เนนิ การ ประเทศจำ� นวน 11 ดา้ น ตอ่ มามตคิ ณะรฐั มนตรี
ปฏิรปู ประเทศ พ.ศ. 2560 เห็นชอบเมื่อวันท่ี 30 มิถุนายน พ.ศ. 2563
เพ่ิมเตมิ อีก 2 ดา้ น รวมเป็น 13 ด้าน

แผนการปฏริ ูปประเทศ 13 ด้าน
1. ดา้ นการเมือง 8. ดา้ นสอ่ื สารมวลชน เทคโนโลยสี ารสนเทศ
2. ดา้ นการบริหารราชการแผ่นดิน 9. ด้านสังคม
3. ดา้ นกฎหมาย 10. ดา้ นพลงั งาน
4. ด้านกระบวนการยุติธรรม 11. ดา้ นการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ
5. ดา้ นเศรษฐกิจ และประพฤติมชิ อบ
6. ดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม 12. ด้านการศึกษา
7. ด้านสาธารณสขุ 13. ดา้ นวฒั นธรรมกฬี าแรงงานและการพฒั นา
ทรัพยากรมนุษย์

วารสารดำ�รงราชานุภาพ 17

แผนการปฏริ ปู ประเทศสง่ ผลตอ่ การบรรลุ ภายใน Y ยังแบง่ เป็น Y1 คอื เปา้ หมายในระดับ
เป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ และแผนแม่บท แผนยอ่ ยของแผนแมบ่ ท และ Y2 คือ เปา้ หมาย
ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ซึ่งทุกหน่วยงาน ในระดับประเด็นแผนแม่บท และ X หมายถึง
ต้องด�ำเนินการตามกิจกรรมปฏิรูปประเทศ โครงการส�ำคัญที่สามารถส่งผลต่อการบรรลุ
ที่จะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อประชาชน ผลลัพธ์ Y และ Z) เพื่อให้บรรลุผลสมั ฤทธิต์ าม
อยา่ งมนี ัยส�ำคญั (Big Rock) น�ำไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิ เปา้ หมายของยทุ ธศาสตรช์ าตขิ องแตล่ ะชว่ งเวลา
ตามหลักความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล (Causal 5 ปี โดยแผนการปฏริ ปู ประเทศ ฉบับปรบั ปรงุ
Relationship : XYZ) (Z หมายถึง เปา้ หมาย จะด�ำเนินการคู่ขนานไปกับเล่มแผนการปฏิรูป
ของยุทธศาสตร์ชาติ Y หมายถึง เป้าหมาย ประเทศฉบับเดิม
ของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ทั้งนี้

ยกตัวอยา่ งประเดน็ Big Rock ตามแผน ทางทะเล ของนโยบายและแผนระดับชาติ
ขับเคลื่อนกิจกรรมปฏิรูปที่จะส่งผลให้เกิด วา่ ดว้ ยความมนั่ คงแหง่ ชาติ (พ.ศ. 2562 – 2565)
การเปลย่ี นแปลง ต่อประชาชนอยา่ งมีนัยสำ� คญั ที่ส�ำนักงานสภาความม่นั คงแหง่ ชาติ เป็นหน่วย
(Big Rock) ปี พ.ศ. 2564 - 2565 ทก่ี ระทรวงมหาดไทย รบั ผิดชอบหลกั นัน้ มคี วามตา่ งกนั คอื Big Rock
รับผดิ ชอบ เพ่ือบรรลุเป้าหมายย่อย 3 เร่ือง ในขณะท่ี
BR 0602 การบรหิ ารจดั การเขตทางทะเล นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคง
และชายฝั่งรายจังหวัด มีหน่วยงานหลัก คือ แหง่ ชาติ (พ.ศ. 2562 – 2565) จะก�ำหนดเป็น
กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย แต่หาก ตัวช้ีวดั 2 เรือ่ ง
เปรียบเทียบกับประเด็นการรักษาความม่ันคง

18 วารสารดำ�รงราชานุภาพ

• เปรยี บเทียบ

การบรหิ ารจัดการเขตทางทะเล ประเด็นการรักษาความมั่นคงทางทะเล
และชายฝงั่ รายจงั หวดั

(1) มีร่างแผนที่เขตการปกครองของจังหวัด (1) ระดับความสำ�เร็จในการป้องกัน แก้ไข
ทางทะเล และยบั ย้งั ภยั คกุ คามทางทะเล
(2) การจัดทำ�กฎหมายเพ่อื รองรับการกำ�หนด (2) ระดับความคืบหน้าในการจัดทำ�ปรับปรุง
เขตจงั หวดั ในทะเลและชายฝ่ัง กฎหมายที่เก่ียวข้องกับการรักษา
(3) บรรจุเร่ืองเขตทางทะเลและเขตทรัพยากร ความม่ันคง และผลประโยชน์ของชาติ
ทางทะเลและชายฝงั่ ในหลกั สตู รการศึกษา ทางทะเลภายในประเทศ ให้สอดคล้อง
กับอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วย
กฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (United
Nations Convention on the Law of
the Sea : UNCLOS)

3. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ
หมายความวา่ แผนสำ� หรบั ถา่ ยทอดยทุ ธศาสตรช์ าติ ฉบบั แรก 6 ปี ต่อมาจึงเหลอื 5 ปี
สู่กรอบและแนวทางในการพัฒนาประเทศ
ในแต่ละชว่ งระยะเวลา 5 ปี มีความสำ� คญั มาก          
โดยจุดเปลี่ยนส�ำคัญจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ประเทศไทยได้มีการริเริ่มจัดท�ำแผน
และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 จะเรม่ิ กำ� กบั กรอบ พฒั นาเศรษฐกจิ ของชาตมิ าตง้ั แตป่ ี  พ.ศ. 2502 
เป้าหมายและแนวทางหลักในระยะยาวด้วย ในสมัยรัฐบาลจอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต์ โดย
ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี เชอื่ มตอ่ กบั การแปลงแผน ก�ำหนดแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
สู่การปฏิบัติกับแผนในระดับต่าง ๆ ให้มีกรอบ ของประเทศ  เพื่อให้ประชาชนมีชีวิตและ
ทศิ ทางกำ� กับทชี่ ัดเจนข้ึน มกี ารก�ำหนดแนวทาง ความเปน็ อยทู่ ด่ี ขี น้ึ ใหป้ ระชาชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ ม
การพัฒนาจงั หวดั ภาค เมือง เพือ่ ให้สอดคลอ้ ง ของทุกข้นั ตอนอย่างเปน็ ระบบ ในปี พ.ศ. 2504
กบั เป้าหมายรวมของประเทศ ได้ประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ
ฉบับแรกขึ้น ซึ่งแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ

วารสารดำ�รงราชานุภาพ 19

ฉบับท่ี 1 มรี ะยะเวลาของแผน 6 ปี (พ.ศ. 2504  ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการในภาครัฐ
– 2509) โดยที่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและ
แห่งชาติฉบับต่อจากนั้น มีระยะเวลาของแผน ธรรมาภบิ าลในสังคมไทย
5 ปี หนว่ ยงานทมี่ หี นา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบในการจดั ทำ� แผน  ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
คือ ส�ำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ และระบบโลจสิ ติกส์
และสังคมแห่งชาติ ปัจจุบันประเทศไทยอยู่  ยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์
ในช่วงของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เทคโนโลยี วจิ ัย และนวตั กรรม
แห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564)  ยุทธศาสตร์ การพัฒนาภาค เมอื ง และพ้ืนท่ี
เศรษฐกจิ
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ  ยุทธศาสตร์ความร่วมมือระหว่างประเทศ
ฉบับที่ 12 มี 10 ยุทธศาสตร์ เพอื่ การพัฒนา
เป้าหมายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
 ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างและพัฒนา สังคมแห่งชาติ เป็นส่วนหนึ่งส�ำหรับการจัดท�ำ
ศักยภาพทนุ มนุษย์ แผนระดบั 3 ทผ่ี ทู้ ำ� แผนจำ� เปน็ จะตอ้ งรเู้ ปา้ หมาย
 ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรม โดยความเชื่อมโยงจากแผนพัฒนาภาค ซึ่งถ่าย
และลดความเหล่อื มล้�ำในสงั คม ระดับเป้าหมายการพัฒนาจากยุทธศาสตร์ชาติ
 ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งทาง และแผนระดับที่ 2 เพือ่ สง่ ต่อใหแ้ ผนพัฒนากลุ่ม
เศรษฐกจิ และแข่งขนั ได้อย่างยั่งยืน จงั หวดั แลว้ แผนพฒั นากลมุ่ จงั หวดั พจิ ารณาจาก
 ยุทธศาสตร์การเติบโตที่เป็นมิตรกับ เป้าหมายของแผนพัฒนาภาค และแผนพัฒนา
สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอยา่ งย่ังยนื จังหวัดพิจารณาจากเป้าหมายของแผนพัฒนา
 ยทุ ธศาสตรก์ ารเสรมิ สรา้ งความมนั่ คงแหง่ ชาติ กลมุ่ จังหวดั
เพอ่ื การพฒั นาประเทศสคู่ วามมงั่ คงั่ และยง่ั ยนื

20 วารสารดำ�รงราชานุภาพ

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตง้ั แตว่ นั ที่ 29 ธนั วาคม พ.ศ. 2561 กำ� หนดวา่ ให้
ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) สงสัยหรือไม่ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12
พ.ศ. 2565 หายไปไหน (พ.ศ. 2560 – 2564) ตามประกาศพระราชโองการ
สืบเน่ืองมาจากเพ่ือให้สอดคล้องกับ ลงวันที่ 29 ธันวาคม พุทธศักราช 2559 ท่ีใช้
การบรรลเุ ปา้ หมายยทุ ธศาสตรช์ าตคิ ราวละ 5 ปี อยู่ก่อนพระราชบัญญัติน้ีถือว่าเป็นแผนพัฒนา
และพระราชบัญญัติสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาตติ ามพระราชบญั ญตั นิ ้ี
และสังคมแหง่ ชาติ พ.ศ. 2561 ซง่ึ มผี ลบังคับใช้ และยงั ใหค้ งใชไ้ ดถ้ งึ วนั ท่ี 30 กนั ยายน พ.ศ. 2565

แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาตฉิ บับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570)
4 ประเดน็ 13 หมุดหมาย

รัฐบาลได้ก�ำหนดกรอบแนวทาง คือ ความส�ำคญั ในชว่ งระยะเวลา 5 ปี (พ.ศ. 2566
“มุ่งพลิกโฉมประเทศไทย” (Thailand’s – 2570) ขณะน้ีอยู่ในช่วงรับฟังความคิดเห็น
Transformation) ให้เท่าทันและสอดคล้อง ผา่ นโลกออนไลนแ์ ละระดมความเหน็ จากทกุ ภาคสว่ น
กับการเปล่ียนแปลงของโลก มุ่งสร้างสมดุล ในเวทีภูมิภาค ก่อนที่จะได้มีการพิจารณา
ในการพัฒนาดา้ นเศรษฐกิจ สังคม คณุ ภาพชีวิต ผ่านความเห็นชอบ ไปจนถึงมีพระราชโองการ
พร้อมรักษาความย่ังยืนของทรัพยากรธรรมชาติ ประกาศใชต้ ่อไป
และสิ่งแวดล้อม ให้ไทยเป็นประเทศที่มี สรปุ 4 ประเดน็ 13 หมดุ หมายที่จะเป็น
“เศรษฐกจิ สรา้ งคณุ คา่ สงั คมเดนิ หนา้ อยา่ งยง่ั ยนื ” กรอบการแปลงแผนสู่การปฏิบัติ
โดยมี 13 หมดุ หมาย (milestone) ทไ่ี ทยจะให้

วารสารด�ำ รงราชานภุ าพ 21

ประเด็นท่ี 1. เศรษฐกิจมูลค่าสูงที่เป็นมิตร ประเดน็ ท่ี 3. วถิ ชี วี ติ ทีย่ ่ังยืน โดยทุกภาคสว่ น
ต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีเป้าหมายให้เศรษฐกิจไทย ในสังคมมีรูปแบบการด�ำเนินชีวิตและกิจกรรม
มีความสามารถ ในการแข่งขันสูง บนพื้นฐาน ทางเศรษฐกิจที่เอื้อให้เกิดความย่ังยืนต่อ
ของการสร้างมลู คา่ เพิ่ม จากการพฒั นา ต่อยอด สิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งสามารถรับมือและ
และใช้ประโยชน์จากองค์ความรู้ ความคิด มภี ูมคิ ุ้มกนั จากสภาพแวดลอ้ มที่เปลี่ยนแปลงไป
สร้างสรรค์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม พร้อมกับ ประกอบดว้ ย
การลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และใช้ (10) เศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคม
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ คาร์บอนต�่ำ
ประกอบด้วย (11) ลดความเสยี่ งจากภยั ธรรมชาติ
(1) เกษตรและเกษตรแปรรูปมูลค่าสูง ประเด็นท่ี 4. ปัจจัยสนับสนุนการพลิกโฉม
(2) การทอ่ งเทย่ี วเนน้ คณุ คา่ และความยงั่ ยนื ประเทศ เพอื่ เออื้ ตอ่ การเปลยี่ นผา่ นประเทศไปสู่
(3) ฐานการผลติ ยานยนต์ไฟฟ้า การเป็นเศรษฐกิจสร้างคุณค่า สังคมเดินหน้า
(4) การแพทยแ์ ละสุขภาพครบวงจร อย่างยงั่ ยืน ประกอบด้วย
(5) ประตกู ารคา้ การลงทนุ และโลจสิ ตกิ ส์ (12) ก�ำลังคนมีสมรรถนะสูงตอบโจทย์
ของภมู ิภาค การพัฒนาแห่งอนาคต และ
(6) อเิ ลก็ ทรอนกิ สอ์ จั ฉรยิ ะและบรกิ ารดจิ ทิ ลั (13) ภาครัฐทีม่ สี มรรถนะสงู
ประเดน็ ท่ี 2. สงั คมแหง่ โอกาสและความเสมอภาค
โดยทุกกลุ่มคนมีโอกาสในการเลื่อนสถานะ 4. แผนความมั่นคง หมายถึง นโยบาย
ทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างเต็มศักยภาพ และแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ
ไดร้ บั ความคมุ้ ครองทางสงั คมทเี่ พยี งพอ มสี ว่ นรว่ ม ตามกฎหมายว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ
และได้รับประโยชน์จากการเจริญเติบโต ซ่ึงเป็นนโยบายและแผนหลักของชาติที่เป็น
ทางเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค และประเทศ กรอบหรือทิศทางในการด�ำเนินการป้องกัน
มีความเหล่ือมล้�ำลดลง ทั้งในเชิงธุรกิจ พ้ืนที่ แจ้งเตือน แก้ไข หรือระงับ ยับยั้งภัยคุกคาม
รายได้ และความมัง่ คั่ง  ประกอบด้วย เพ่ือธำ� รงไวซ้ ึ่งความม่ันคงแห่งชาติ
(7) SMEs วิสาหกิจชุมชนและวิสาหกิจ ในท�ำนองเดียวกันนโยบายและแผน
เพื่อสังคมเตบิ โตอย่างตอ่ เนอ่ื ง ร ะ ดั บ ช า ติ ว ่ า ด ้ ว ย ค ว า ม ม่ั น ค ง แ ห ่ ง ช า ติ
(8) พื้นท่ีและเมืองมีความเจริญทันสมัย (พ.ศ.2562-2565)ไดม้ ปี ระกาศพระบรมราชโองการ
และนา่ อยู่ ในราชกิจจานุเบกษา เมื่อปี พ.ศ. 2562
(9) ความยากจนข้ามรุ่นลดลงและได้รับ
ความคุ้มครองทางสงั คมเพียงพอ

22 วารสารดำ�รงราชานภุ าพ

19 แผน และหนว่ ยรบั ผิดชอบหลัก

19 แผน หนว่ ยรบั ผิดชอบหลัก
1. การเสรมิ สรา้ งความมนั่ คงของมนษุ ย์ สำ�นักงานสภาความมั่นคงแหง่ ชาติ

2. การข่าวกรองและการประเมินด้านสถานการณ์ สำ�นกั ข่าวกรองแห่งชาติ
ความมนั่ คง

3. การเสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลัก สำ�นกั งานสภาความมน่ั คงแห่งชาติ
ของชาตภิ ายใตก้ ารปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
อนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ

4. การพฒั นาระบบการเตรียมพรอ้ มแห่งชาติ สำ�นกั งานสภาความม่นั คงแหง่ ชาติ

5. การพฒั นาศกั ยภาพการปกครองประเทศ กระทรวงกลาโหม

6. การสร้างความสามัคคปี รองดอง กระทรวงมหาดไทย

7. การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาการกอ่ เหตรุ นุ แรง สำ�นักงานสภาความมั่นคงแหง่ ชาติ
ในพื้นท่ีจงั หวัดชายแดนภาคใต้

8. การบรหิ ารจัดการผูห้ ลบหนเี ข้าเมอื ง สำ�นกั งานสภาความมั่นคงแหง่ ชาติ

9. การป้องกนั และแก้ไขปัญหาการคา้ มนษุ ย์ กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์

10. การปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพตดิ สำ�นกั งานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปราม
ยาเสพตดิ

11. การเสรมิ สรา้ งความมน่ั คงของชาตจิ ากภยั ทจุ รติ สำ�นกั งานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปราม
การทุจริตในภาครฐั

12. การรักษาความม่ันคงพื้นท่ีชายแดน สำ�นักงานสภาความมน่ั คงแห่งชาติ

13. การรกั ษาความมน่ั คงทางทะเล สำ�นกั งานสภาความมน่ั คงแห่งชาติ

14. การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาภยั คกุ คามขา้ มชาติ สำ�นักงานสภาความมั่นคงแหง่ ชาติ

15. การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาความมน่ั คงทางไซเบอร์ กระทรวงดจิ ทิ ัลเพอื่ เศรษฐกิจและสังคม

16. การรักษาดุลยภาพสภาวะแวดล้อมระหว่าง กระทรวงการต่างประเทศ
ประเทศ

17. การรักษาความมน่ั คงทางพลังงาน กระทรวงพลงั งาน

18. การรักษาความม่ันคงดา้ นอาหารและน้ำ� สำ�นกั สภาความมั่นคงแหง่ ชาติ

19. การรกั ษาความมน่ั คงดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
และส่ิงแวดลอ้ ม

วารสารดำ�รงราชานภุ าพ 23

แผนระดับ 3 หมายถึง แผนท่ีจัดท�ำขึ้น ฉบับท่ี 13 จะเป็นแผนพัฒนาจังหวัด......
เพ่อื สนบั สนนุ การด�ำเนินงานของแผนระดับท่ี 1 (พ.ศ. 2566 – 2570) ดว้ ยเชน่ กนั
และแผนระดบั ท่ี 2 สกู่ ารปฏบิ ตั ใิ หบ้ รรลเุ ปา้ หมาย การจัดท�ำโครงการและการด�ำเนินงาน
ทก่ี ำ� หนดไว้ หรอื จดั ทำ� ขน้ึ ตามทกี่ ฎหมายกำ� หนด ในแผนระดบั 3 วา่ ให้มกี ารทำ� แผนในระยะ 5 ปี
หรือจัดท�ำขึ้นตามพันธกรณีหรืออนุสัญญา และรายปีเพ่ือขับเคล่ือนการด�ำเนินงานให้บรรลุ
ระหวา่ งประเทศ รวมถงึ แผนปฏบิ ตั กิ ารทกุ ระดบั เป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติประจ�ำปีงบประมาณ
โดยนบั ตงั้ แตว่ นั ที่ 4 ธนั วาคม พ.ศ. 2560 คณะรฐั มนตรี พ.ศ. 2566 – 2570 มตคิ ณะรฐั มนตรีเมอื่ วนั ท่ี
มมี ตกิ ำ� หนดการตง้ั ชอ่ื แผนในระดบั ท่ี 3 ใหใ้ ชช้ อ่ื วา่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ใหห้ นว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งยดึ
“แผนปฏบิ ตั กิ ารดา้ น … ระยะท่ี ... (พ.ศ. .... - ....)” 4 แนวทาง ซ่ึงต้องเป็นการดำ� เนนิ การท่ีมขี ้อมูล
เวน้ แตไ่ ดม้ ี การระบชุ อื่ แผนไวใ้ นกฎหมายกอ่ นท่ี สนบั สนนุ (data driven) บนฐานขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษ์
จะมมี ตคิ ณะรฐั มนตรี วนั ที่ 4 ธนั วาคม 2560 เชน่ (evidence base) ไดแ้ ก่ (1) มองเปา้ หมายรว่ มกนั
พระราชบญั ญตั ิ พระราชกำ� หนด พระราชกฤษฎกี า โดยหน่วยงานเจ้าภาพและที่เกี่ยวข้องร่วมกัน
กฎกระทรวง มติคณะรฐั มนตรี เป็นต้น ว่าใหใ้ ช้ พิจารณาหาชอ่ งวา่ งการพฒั นา (gap analysis)
ช่อื แผนวา่ แผนแม่บทด้าน... แผนพัฒนา... หรือ และทบทวนความเหมาะสมของห่วงโซ่คุณค่า
แผนอื่น ๆ ... จึงจะสามารถใช้ชื่อแผนตามที่ ของเป้าหมายแผนในระดับพื้นที่ เพ่ือใช้เป็น
บัญญัติไว้ในกฎหมายนั้น ๆ แผนปฏิบัติการ ข้อมูลประกอบการจัดท�ำโครงการ (2) จัดท�ำ
ด้าน.... (พ.ศ .... - ....), แผนปฏบิ ตั ริ าชการระยะ โครงการและด�ำเนนิ งาน โดยหนว่ ยงานเจ้าภาพ
3 ปี (พ.ศ ....-....), แผนปฏบิ ัตริ าชการระยะ 3 ปี และหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งใชข้ อ้ มลู จากหว่ งโซค่ ณุ คา่
(พ.ศ ....-....) แผนพัฒนาภาค, แผนพัฒนากลุ่ม ขอ้ มลู สถติ ิ สถานการณ์ และงานวจิ ยั ประกอบการ
จังหวัด, แผนพัฒนาจงั หวัด, แผนพฒั นาอำ� เภอ, ด�ำเนินการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายที่ก�ำหนด
แผนพฒั นาต�ำบล แผนพฒั นาทอ้ งถ่ิน (เทศบาล ตามหลักความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล (XYZ)
/องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บล) แผนพฒั นาหมบู่ า้ น/ชมุ ชน (3) จัดล�ำดับความส�ำคัญและความเร่งด่วน
ตัวอย่างเช่น ท�ำปีแรกแผนพัฒนาจังหวัด...... ของโครงการ (prioritization) และ (4) จัดท�ำ
(พ.ศ. 2563 – 2565) ถัดมาเมื่อจะจัดท�ำแผน แผนปฏบิ ัติราชการราย 5 ปี และรายปี
ใหส้ อดคลอ้ งกบั แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ

24 วารสารดำ�รงราชานุภาพ

สศช. ได้สรุปไว้ในแนวทางการเสนอ และนำ� แผนฯ เขา้ ระบบ eMENSCR ตามระเบยี บ
แผนระดับท่ี 3 เข้าสู่การพิจารณาของ ว่าด้วยการติดตามตรวจสอบและประเมินผล
คณะรัฐมนตรี เร่ืองการปรับปรุงและจัดท�ำ การด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติและแผน
แผนปฏิบัติราชการ ไวว้ า่ สว่ นราชการไม่จ�ำเป็น การปฏริ ูปประเทศ พ.ศ. 2562
ต้องส่งแผนปฏิบัติราชการ 5 ปี และประจ�ำปี แผนปฏิบัติราชการประจ�ำปี ตั้งแต่ปี
ของส่วนราชการ ให้ สศช. พิจารณา เนอื่ งจาก 2562 เป็นต้นไป ส่วนราชการด�ำเนินการ
ไม่ต้องมีการน�ำเสนอ ครม. พิจารณาก่อน ปรับปรุง/ จัดท�ำแผนฯ ให้สอดคล้องกับ
การประกาศใชต้ ามทรี่ ะบไุ วใ้ นพระราชกฤษฎกี า ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทฯ แผนการปฏิรูปฯ
วา่ ดว้ ยหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารบรหิ ารกจิ การบา้ นเมอื งทดี่ ี แผ นพัฒ น าฯ และ อื่ น ๆ ที่ เก่ี ยวข ้ อง
พ.ศ. 2546 และ พ.ศ. 2562 โดยหน่วยงาน และเสนอตอ่ รฐั มนตรเี จา้ สงั กดั ใหค้ วามเหน็ ชอบ
มีข้ันตอนการปรับปรุงและจัดท�ำแผนปฏิบัติ ก่อนการประกาศใช้และการด�ำเนินการตาม
ราชการราย 5 ปี และรายปีงบประมาณ ดงั นี้ แผนฯ และข้ันตอนของระบบงบประมาณตอ่ ไป
แผนปฏบิ ตั ิราชการราย 5 ปี วาระแรก พร้อมท้ังน�ำแผนฯ เข้าระบบ eMENSCR
ทำ� ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 – 2565) ส่วนราชการ ตามระเบียบว่าด้วยการติดตาม ตรวจสอบ
ด�ำเนินการจัดท�ำแผนฯ ให้สอดคล้องกับ และประเมนิ ผลการดำ� เนนิ การตามยทุ ธศาสตรช์ าติ
ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทฯ แผนการปฏิรูปฯ และแผนการปฏริ ูปประเทศ พ.ศ. 2562
แผนพัฒนาฯ และอืน่ ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง ประกาศใช้

วารสารดำ�รงราชานุภาพ 25

ท�ำแผนระดบั 3 ใหอ้ ยใู่ นกรอบเคา้ โครง พ.ศ. 2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2)
พ.ศ. 2559 และ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2561 ทำ� ให้
แผนพัฒนาภาค แผนพัฒนาจังหวัด เกิดการเชื่อมโยงการท�ำแผนพัฒนาท้องถ่ิน
แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด หรือแผนปฏิบัติการ ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ (องคก์ ารบรหิ าร
ดา้ น....ระยะที.่ .. (พ.ศ ....-....) (ชื่อส่วนราชการ) สว่ นจงั หวดั เทศบาล เมอื งพทั ยา องคก์ ารบรหิ าร
ท่ีจะสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ ส่วนต�ำบล และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอ่ืน
สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ก็จะเป็นแผนระยะ ท่ีมีกฎหมายจัดตั้ง ยกเว้นกรุงเทพมหานคร)
5 ปดี ้วยเช่นกนั คือ (พ.ศ. 2566 - 2570) สมั พันธ์ และมกี ระบวนการประสานแผนใหเ้ กดิ ศกั ยภาพ
สอดคล้องกับ “กรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจ เร่ิมจาก (1) องค์การบริหารส่วนจังหวัดกำ� หนด
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - ก ร อ บ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ์ ก า ร พั ฒ น า ข อ ง อ ง ค ์ ก ร
2570)” ดังท่ไี ดก้ ลา่ วแลว้ ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ในเขตจงั หวดั (2) คณะกรรมการ
ป ร ะ ส า น แ ผ น พั ฒ น า ท ้ อ ง ถ่ิ น ร ะ ดั บ อ� ำ เ ภ อ
การทบทวนแผน 5 ปี ในทกุ ระดบั เสนอโครงการที่เกินศักยภาพของเทศบาล และ
องค์การบริหารส่วนต�ำบล ไปยังคณะกรรมการ
ในปัจจุบัน พระราชกฤษฎีกาว่าด้วย ประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นระดับจังหวัด
ก า ร บ ริ ห า ร ง า น จั ง ห วั ด แ ล ะ ก ลุ ่ ม จั ง ห วั ด (3) คณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถ่ิน
แบบบรู ณาการ พ.ศ. 2551 มาตรา 19 วรรคสาม ระดับจังหวัด เสนอโครงการที่เกินศักยภาพ
กำ� หนดวา่ เมอื่ แผนพฒั นาจงั หวดั ไดร้ บั ความเหน็ ชอบ ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดรวมถึงโครงการ
จากคณะรฐั มนตรแี ละประกาศใชแ้ ลว้ การจดั ทำ� ท่ีจ�ำเป็นแต่ไม่อยู่ในอ�ำนาจหน้าที่ขององค์การ
แผนพฒั นาทอ้ งถนิ่ ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ บริหารส่วนจังหวัด ไปยังคณะกรรมการบริหาร
และการดำ� เนนิ กจิ กรรมของจงั หวดั และหนว่ ยงาน งานจังหวดั แบบบูรณาการ (ก.บ.จ.)
ของรัฐท่ีเก่ียวข้องต้องสอดคล้องกับแผนพัฒนา
จังหวัดดังกล่าว ประกอบกับระเบียบส�ำนัก แผนพฒั นาจงั หวดั เชอ่ื มโยงแผนพฒั นา
นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารงานเชิงพ้ืนที่ ระดับพ้ืนท่ี One Plan
แบบบูรณาการ พ.ศ. 2560 ข้อ 7 ก�ำหนดให้
แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ในปี พ.ศ. 2562 ได้มีระเบียบกระทรวง
และแผนพฒั นาภาคมรี ะยะเวลา 5 ปี ดงั นน้ั ขณะนี้ มหาดไทยว่าด้วยการจัดท�ำแผนและประสาน
จงึ อยใู่ นหว้ งการจัดท�ำแผนในทกุ ระดบั แผนพัฒนาพื้นท่ีในระดับอ�ำเภอและต�ำบล
พ.ศ. 2562 ข้ึนเพื่อให้เกิดการบูรณาการ
บรู ณาการแผนและงบประมาณระหวา่ ง ในการจดั ทำ� แผนและประสานแผนพฒั นาในระดบั
จงั หวดั กบั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ พื้นท่หี มู่บา้ น ชุมชน ต�ำบล และอ�ำเภอ ใหเ้ กิด
ความเชื่อมโยงสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนา
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการ
จดั ทำ� แผนพฒั นาขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่

26 วารสารดำ�รงราชานภุ าพ

ในระดบั จังหวัด กลมุ่ จงั หวดั ภาค และประเทศ อย่างไรก็ตาม องค์การท่ีเป็นแกนหลัก
ไปในทิศทางเดียวกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในการวางนโยบาย ยุทธศาสตร์ของชาติ คือ
เกดิ ความคมุ้ คา่ นำ� ไปสคู่ วามมนั่ คง มงั่ คง่ั และยง่ั ยนื ส�ำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
ซ่ึงในบทเฉพาะกาล ข้อ 32 ได้กล่าวถึงเรื่อง แห่งชาติ (สศช.) ซ่ึงได้ออกแบบนวัตกรรม
การจดั ทำ� แผนพฒั นาอำ� เภอ 5 ปี (พ.ศ. 2561 - ในการวางระบบติดตามประเมินผลแห่งชาติ
2565) ฉบบั ทบทวนในปี พ.ศ. 2562 หรือระบบ e-MENSCR ไปแลว้ น้ัน กำ� ลงั สรรหา
เครื่องมือใหม่ ๆ มาเพิ่มเติมเสริมกลยุทธ์
สรุป การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่จากท่ีหน่วยงาน
ตา่ ง ๆ มีและใช้อยู่ เชน่ ข้อมูล จปฐ. กชช. 2ค
ทุกหน่วยงานทราบดีว่าเรามีจุดหมาย ระบบบรหิ ารจดั การขอ้ มลู การพฒั นาคนแบบชเ้ี ปา้
เดยี วกนั คอื การทำ� แผนตา่ ง ๆ ใหส้ ำ� เรจ็ เพอ่ื บรรลุ (TPMAP) ระบบข้อมูลส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ
วิสัยทัศน์ของประเทศ คือ “ประเทศไทยมี ระบบศูนย์ข้อมูลกลางกระทรวงมหาดไทย
ความมนั่ คง มงั่ คงั่ ยง่ั ยนื เปน็ ประเทศพฒั นาแลว้ และจังหวัด เป็นต้น โดยสร้างความร่วมมือของ
ด ้ ว ย ก า ร พั ฒ น า ต า ม ห ลั ก ป รั ช ญ า ข อ ง สถาบันนโยบายสาธารณะและการพัฒนา
เศรษฐกจิ พอเพยี ง” แตเ่ สน้ ทางทเี่ ดนิ ไปมนั ไมง่ า่ ย (IPPD) กับส�ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ
ด้วยพ้ืนท่ี คน ปัจจัยทั้งภายในประเทศ และภูมิสารสนเทศ (องค์กรมหาชน) (GISTDA)
และต่างประเทศ สถานการณ์โรคโควิด-19 พฒั นาระบบ IPPD Map ให้เป็นแผนท่วี เิ คราะห์
ดงั นน้ั การเดนิ ทางสเู่ ปา้ หมายการพฒั นาประเทศ ขอ้ มลู หลายตวั แปร จากการนำ� ขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษ์
ภายในระยะเวลา 20 ปี จึงจ�ำเป็นต้องก�ำหนด จากข้อมูลเชิงพ้ืนที่ในแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ท้ังใน
กรอบการวางแผน การบูรณาการ การติดตาม เชงิ ภมู ศิ าสตร์ ประชากรศาสตร์ การศกึ ษา สขุ ภาพ
ประเมนิ ผล ใหม้ คี วามเชอ่ื มโยงจากยทุ ธศาสตรช์ าติ ส่ิงแวดล้อม เศรษฐกิจ เกษตรกรรม มาใช้
ไปสู่การวางแผนในทกุ ระดับ วิเคราะห์นโยบายด้านต่าง ๆ ของประเทศ
ในการวางแผน 5 ปี และประเมิน เพ่อื ความอยดู่ มี สี ขุ ความสามารถในการปรับตวั
ความสำ� เรจ็ ตามเปา้ หมายของแผนทกุ ระยะ 5 ปี ของประเทศ และความพร้อมส�ำหรับอนาคต
ที่ผ่านมาจึงยังผลให้มีการปรับปรุงแผนแม่บท เพื่อย่างก้าวไปอย่างม่ันใจให้ดีที่สุดส�ำหรับ
หรือระเบียบกฎหมายต่าง ๆ การเปล่ียนแปลง นกั วางแผน
ระยะเวลาของแผนท้องถน่ิ จากเดิม 4 ปี ก็ปรับ
เปล่ยี นเป็น 5 ปี เพ่ือให้เหมาะสมสอดคลอ้ งเป็น
แบบเดียวกันท้ังประเทศ

วารสารดำ�รงราชานภุ าพ 27

บรรณานกุ รม

กรงุ เทพธรุ กจิ . (2564). สภาพฒั น์ เรง่ จัดระดมความคิดกรอบแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 13 ทั่วประเทศ.
สืบค้นเม่ือ 2564, พฤษภาคม 24, จาก https://www.bangkokbiznews.com/news/
detail/925211

ภาพรวมยุทธศาสตรช์ าต.ิ (2564). [สไลด]์ . กรงุ เทพมหานคร : สำ� นกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ
และสังคมแห่งชาติ. จาก http://nscr.nesdc.go.th/wp-content/uploads/2021/06/
May21_Full_01.pdf

สถาบนั นโยบายสาธารณะและการพฒั นา. (2563). GISTDA จบั มอื IPPD ใช้ BIG Data จดั ทำ� นโยบาย
ใหป้ ระเทศ. สบื คน้ เมื่อ 2564, มิถุนายน 21, จาก https://ippd.or.th/gistda-ippd-mou/

สำ� นกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต.ิ (2561). หลกั เกณฑก์ ารวเิ คราะหแ์ ผนระดบั ที่ 3
ของ สศช. สืบค้นเม่ือ 2564, พฤษภาคม 18, จาก ส�ำนักวิเคราะห์โครงการลงทุนภาครัฐ
http://planning. dld.go.th/th/images/stories/section-5/2561/strategy11.pdf

ส�ำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). แนวทางการเสนอแผนระดับท่ี 3
เข้าส่กู ารพิจารณาของคณะรัฐมนตร.ี สืบคน้ เมอ่ื 2564, พฤษภาคม 18, จาก http://nscr.
nesdb.go.th/wp-content/uploads/2019/10/คู่มือแนวทางการเสนอแผนฯ
กันยายน2562.pdf

ส�ำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562) ข้อชี้แจงเกี่ยวกับแนวทางการจัดท�ำ
แผนระดับที่ 3 ตามมตคิ ณะรฐั มนตรี เม่อื วนั ท่ี 4 ธนั วาคม 2560 ในหวั ข้อ “แผนปฏิบตั ิการ
ดา้ น...”. สบื คน้ เม่ือ 2564, พฤษภาคม 18, จาก http://nscr.nesdc.go.th/การจัดทำ� แผน
ระดับท-่ี 3

ส�ำนกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต.ิ (2564). สรปุ สาระส�ำคญั ของแผนขับเคลอื่ น
กจิ กรรมปฏิรปู ที่จะส่งผลใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงตอ่ ประชาชนอย่างมนี ัยส�ำคญั (Big Rock).
สืบค้นเม่ือ 2564, มิถุนายน 2, จาก http://nscr.nesdc.go.th/wp-content/up-
loads/2021/02/เอกสารแนบวาระที่-4.1-แผนขับเคลอื่ น-Big-Rock-v.2.1.pdf

ส�ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. (2564). เคาะ ! กรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 13. สบื คน้ เมอ่ื 2564, พฤษภาคม 24, จาก https://www.thaigov.go.th/news/
contents/details/40978

28 วารสารด�ำ รงราชานุภาพ

กฎหมาย/ระเบียบ
การประกาศแผนการปฏริ ปู ประเทศ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ). (2564). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ 138 ตอนพเิ ศษ

44 ง, น. 1.
นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ (พ.ศ. 2562 – 2565). (2562).

ราชกจิ จานุเบกษา. เล่ม 136 ตอนที่ 124 ก, น. 34.
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564). (2559). ราชกิจจานเุ บกษา.

เล่ม 133 ตอนท่ี 115 ก, น. 1.
ยทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580). (2561). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม 135 ตอนที่ 82 ก, น. 1.
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดท�ำแผนและประสานแผนพัฒนาพ้ืนที่ในระดับอ�ำเภอ

และตำ� บล พ.ศ. 2562. (2562). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136 ตอนพิเศษ 149 ง, น. 1.

“หลักการจดั ท�ำแผนทีด่ ”ี
(ตามนโยบาย หลักเกณฑ์และวธิ กี ารจดั ท�ำแผนฯ ที่ ก.บ.ภ. ก�ำหนด)

กล่มุ งานประสานยทุ ธศาสตร์การพฒั นาพน้ื ที่
ส�ำนักพัฒนาและสง่ เสริมการบริหารราชการจงั หวดั

ส�ำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย

การจัดท�ำแผนจากอดีตสู่ปัจจุบัน ก า ร จั ด ท� ำ แ ผ น เ ชิ ง พ้ื น ที่ จึ ง เ ร่ิ ม มี ลั ก ษ ณ ะ
บูรณาการงานของพ้นื ที่ บูรณาการความร่วมมอื
การจัดท�ำแผนพัฒนาจังหวัดและ ของทกุ ภาคกี ารพฒั นา จนกระทง่ั ในปี พ.ศ. 2550
กลุ่มจังหวัดได้มีพัฒนาการมาอย่างต่อเน่ือง รัฐบาลได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติระเบียบ
ตั้งแต่แผนพัฒนาจังหวัดถูกเรียกในชื่อว่า บรหิ ารราชการแผน่ ดนิ พ.ศ. 2534 แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ
โครงการพัฒนาจังหวัด มีกระทรวงมหาดไทย พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ
แ ล ะ ส� ำ นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร พั ฒ น า ก า ร (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 ซ่ึงก�ำหนดให้จังหวัด
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (ในขณะน้ัน) ห รื อ ก ลุ ่ ม จั ง ห วั ด ส า ม า ร ถ ยื่ น ค� ำ ข อ จั ด ตั้ ง
ท�ำหน้าท่ีประสานหลักการนโยบายและแจ้ง งบประมาณได้ โดยให้ถือว่าจังหวัดหรือ
วงเงินจัดสรรให้จังหวัดแต่ละจังหวัดจัดท�ำ กลมุ่ จงั หวดั เปน็ สว่ นราชการตามกฎหมายวา่ ดว้ ย
โครงการให้สอดคล้องกับหลักการ นโยบาย วิธีการงบประมาณ และก�ำหนดให้มีการจัดท�ำ
แ ล ะ ว ง เ งิ น ท่ี ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร พั ฒ น า ช น บ ท แผนจังหวัดและกลุ่มจังหวัด และภายหลังได้มี
และกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาค (กชช.ภ.) การประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาว่าด้วย
ก�ำหนดข้ึน ต่อมาเม่ือคณะรัฐมนตรีมีนโยบาย ก า ร บ ริ ห า ร ง า น จั ง ห วั ด แ ล ะ ก ลุ ่ ม จั ง ห วั ด
กระจายอ�ำนาจการบริหาร สนับสนุนให้ แบบบรู ณาการ พ.ศ. 2551 ซึ่งเปน็ การก�ำหนด
การปฏบิ ตั ริ าชการของจงั หวดั ตา่ ง ๆ เปน็ การบรหิ าร แนวทางการบริหารงาน การจัดท�ำแผนพัฒนา
งานจังหวัดแบบบูรณาการและเห็นชอบให้ การจัดสรรงบประมาณของจังหวัดและกลุ่ม
ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั เปน็ ผบู้ รหิ ารสงู สดุ ของจงั หวดั จังหวัดแบบบูรณาการ ตลอดจนก�ำหนดให้
(Chief Executive Officer : CEO) และ คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัด
ได้ประกาศใช้ “ระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรี และกลมุ่ จงั หวดั แบบบรู ณาการ (ก.น.จ.) ดำ� เนนิ การ
ว่าด้วยระบบการบริหารงานจังหวัดแบบ จัดต้ังกลุ่มจังหวัด จ�ำนวน 18 กลุ่มจังหวัด
บรู ณาการ พ.ศ. 2546” เพอื่ รองรบั การบรหิ ารงาน และก�ำหนดจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของ
จังหวัด กลุ่มจังหวัดและภาคแบบบูรณาการ

30 วารสารดำ�รงราชานุภาพ

กลุ่มจังหวัด โดยการตั้งกลุ่มจังหวัดน้ันเอง เจตนารมณใ์ นการบรหิ ารงานจงั หวดั และ
ถือเป็นการเปล่ียนแปลงรูปแบบการบริหาร กลุ่มจังหวดั แบบบูรณาการ
สว่ นภูมภิ าคครง้ั สำ� คญั ของประเทศไทย
ในปี พ.ศ. 2560 รัฐบาลมีนโยบาย พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
ให้ปรับปรุงรูปแบบการบูรณาการในลักษณะ แผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 และพระราช
“ภาค” ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหาร ก ฤ ษ ฎี ก า ว ่ า ด ้ ว ย ก า ร บ ริ ห า ร ง า น จั ง ห วั ด
ราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศ และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551
ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคี มีเจตนารมณ์ส�ำคัญในการบริหารงานจังหวัด
ปรองดอง (ป.ย.ป.) เมอ่ื วนั ท่ี 30 มกราคม พ.ศ. 2560 และกลุ่มจงั หวัด 2 ประการ คอื
ซึ่งก�ำหนดให้มีการจัดท�ำแผนงานบูรณาการ 1. การบรหิ ารแบบบรู ณาการในลกั ษณะ
ระดบั ภาคออกเปน็ 6 ภาค และมตคิ ณะรฐั มนตรี ยดึ พนื้ ทเี่ ปน็ หลกั (Area - Based Approach)
เมอื่ วนั ท่ี 24 ตุลาคม พ.ศ. 2560 เห็นชอบใหม้ ี เพ่ือกระจายการพัฒนาและลด
การจดั ตงั้ คณะกรรมการบรู ณาการนโยบายพฒั นาภาค ความเหล่ือมล�้ำของความเจริญเติบโตระหว่าง
(ก.บ.ภ.) ตามระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรี พน้ื ทต่ี า่ ง ๆ ในประเทศ แบง่ เปน็ 18 กลมุ่ จงั หวดั
ว่าด้วยการบริหารงานเชิงพื้นท่ีแบบบูรณาการ และ 76 จงั หวัด และให้แตล่ ะพนื้ ท่มี ยี ุทธศาสตร์
พ.ศ. 2560 โดยมีอ�ำนาจหน้าท่ีก�ำหนดกรอบ ทิศทางการพัฒนาท่ีชัดเจน ค�ำนึงถึงความ
นโยบายและวางระบบในการบริหารงานภาค สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาการเศรษฐกิจ
กำ� หนดนโยบาย หลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารในการจดั ทำ� แ ล ะ สั ง ค ม แ ห ่ ง ช าติ แ ล ะ ค ว าม ต ้ อ ง ก า ร
แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ของประชาชนในท้องถ่ินในจังหวัด โดยจัดท�ำ
และแผนพฒั นาภาค และเชอ่ื มโยงกลไกการจดั ทำ� แผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด
แผนและประสานแผนแต่ละระดับเข้าด้วยกัน รวมทั้งการแปลงแผนพัฒนาฯ ไปสู่แผนปฏิบัติ
ท้ังการบริหารราชการส่วนกลาง การบริหาร ราชการประจ�ำปีของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
ราชการสว่ นภมู ภิ าค การบรหิ ารราชการสว่ นทอ้ งถนิ่ ซึ่งทิศทางการพัฒนาดังกล่าวจะต้องผ่าน
โดยมุ่งหวังให้การด�ำเนินงานสามารถตอบสนอง การเห็นชอบร่วมกันจากทุกภาคส่วนในจังหวัด
ความตอ้ งการของพนื้ ทไ่ี ด้อยา่ งเตม็ ศักยภาพ เพื่อให้เกิดความย่ังยืนและร่วมมือร่วมใจ
ในการขบั เคลื่อนการพัฒนา
2. การสรา้ งความรว่ มมอื ในการบรหิ าร
จัดการท่ีดี (Collaboration for Good
Governance)
เป็นการจัดการความสัมพันธ์แนวดิ่ง
ระหว่างส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น
โดยแบ่งหน้าที่กันตามแต่ละยุทธศาสตร์
ซงึ่ จะชว่ ยลดความซำ�้ ซอ้ นของการใชง้ บประมาณ

วารสารด�ำ รงราชานภุ าพ 31

แผ่นดิน ระดมทรพั ยากรเขา้ มาใชร้ ่วมกนั ใหเ้ กดิ ความเขม้ แขง็ มศี กั ยภาพในการแขง่ ขนั สามารถ
ประโยชน์สูงสุดในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน
รวมทั้งเป็นการจัดการความสัมพันธ์แนวนอน ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและขบั เคลอื่ นการพฒั นา
ระหว่างภาครัฐและภาคส่วนอื่นในสังคม จังหวัด ใหเ้ กดิ การพัฒนาท่ียง่ั ยืน
(ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คม) โดยทกุ ภาคสว่ น 3. หลกั การมสี ว่ นรว่ ม โดยผวู้ า่ ราชการ
จะมีการด�ำเนินการท่ีสอดคล้องกับแผนพัฒนา จังหวัดมีบทบาทในการประสานและสร้าง
จังหวัดและกลุ่มจังหวัด ซึ่งเป็นแผนท่ีผ่าน การมีสว่ นรว่ ม จากทกุ ภาคีการพฒั นาผ่านกลไก
ความเหน็ ชอบรว่ มกนั เพอ่ื ประโยชนต์ อ่ ประชาชน การจัดท�ำแผนในแต่ละระดับต้ังแต่กลไก
ในพื้นที่ โดยก�ำหนดให้ “ผู้ว่าราชการจังหวัด” คณะกรรมการบรหิ ารงานจงั หวดั แบบบรู ณาการ
เป็นผู้ประสานเพื่อบูรณาการการด�ำเนินการ (ก.บ.จ.) คณะกรรมการบริหารงานกลุ่มจังหวัด
ของฝ่ายต่าง ๆ ให้สอดคล้องเชื่อมโยงกับ แบบบรู ณาการ (ก.บ.ก.) คณะกรรมการบรหิ ารงาน
แผนพฒั นาจังหวัดและแผนพัฒนากลุม่ จังหวัด อำ� เภอแบบบรู ณาการ (ก.บ.อ.) โดยทุกภาคสว่ น
ดงั นน้ั การจดั ท�ำแผนพฒั นาเชงิ พนื้ ทด่ี ี ร่วมกันก�ำหนดยุทธศาสตร์ ร่วมแสดงความเห็น
จะต้องค�ำนึงถึง และร่วมขับเคล่ือนการพัฒนาพื้นที่เพ่ือบรรลุ
1. หลักความสอดคล้องและเช่ือมโยง เป้าหมาย ผลสัมฤทธ์ิตามแผนพัฒนาจังหวัด
ระหวา่ งนโยบายระดบั บน ไดแ้ ก่ ยทุ ธศาสตรช์ าติ และแผนพฒั นากลุ่มจงั หวดั ท่ีก�ำหนดไว้
(พ.ศ. 2561 – 2580) แผนแม่บทภายใต้
ยทุ ธศาสตรช์ าติ แผนปฏริ ปู ประเทศ แผนพฒั นา นโยบาย หลกั เกณฑแ์ ละแนวทางในการจดั ท�ำ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายส�ำคัญ แผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจงั หวัด
ของรฐั บาล ฯลฯ กบั ศกั ยภาพ ปญั หา ความตอ้ งการ
ของพื้นที่ ตลอดจนความต้องการที่มาจาก เพอ่ื ใหจ้ งั หวดั และกลมุ่ จงั หวดั ดำ� เนนิ การ
ประชาชนในทอ้ งถน่ิ จั ด ท� ำ แ ผ น พั ฒ น า จั ง ห วั ด แ ล ะ แ ผ น พั ฒ น า
2. ห ลั ก ก า ร บู ร ณ า ก า ร ตั้ ง แ ต ่ กลุ่มจังหวัดที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ
กระบวนการวางแผนก�ำหนดยุทธศาสตร์ (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนแม่บทภายใต้
การจัดท�ำแผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนา ยทุ ธศาสตรช์ าติ แผนปฏริ ปู ประเทศ แผนพฒั นา
กลมุ่ จงั หวดั การบรหิ ารตามแผนและยทุ ธศาสตร์ เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฯลฯ มตคิ ณะกรรมการ
การบริหารงบประมาณท่ีเก่ียวข้องกับพ้ืนท่ี บูรณาการนโยบายพัฒนาภาค (ก.บ.ภ.) ครั้งที่
รวมไปถึงการบูรณาการความร่วมมือระหว่าง 1/2563 เมื่อวันท่ี 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2563
ภาครัฐ ภาคธุรกิจเอกชน ภาคประชาสังคม ไดก้ ำ� หนดนโยบาย หลกั เกณฑ์ และวธิ ีการจดั ทำ�
และใชห้ ลกั การบรหิ ารเชงิ กลยุทธ์ เปน็ เคร่อื งมือ แผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด
ในการบริหารจัดการเพ่ือพัฒนาจังหวัดให้มี พ . ศ .  2 5 6 5  มี ส า ร ะ ส� ำ คั ญ ใ น ท า ง ป ฏิ บั ติ
ประกอบด้วย

32 วารสารดำ�รงราชานภุ าพ

1. นโยบายการจัดท�ำแผนพัฒนา  การขบั เคลอ่ื นประเดน็ การพฒั นา
จังหวดั และแผนพฒั นากลุม่ จงั หวัด มุ่งเน้นการท�ำงานแบบเครือข่ายร่วมกัน
 ยึดยทุ ธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561 ทุกภาคส่วนท้ังส่วนราชการ (ส่วนกลาง
- 2580) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น) ภาคเอกชน
แผนปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ ภาคประชาสังคมหรือประชารัฐ และชุมชน
และสังคมแห่งชาติ นโยบายรัฐบาล รวมทั้ง เพอื่ รว่ มกนั วางยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาใหเ้ หมาะสม
แผนรายสาขา แผนเฉพาะด้านต่าง ๆ ท่ีผ่าน กับโอกาสและศักยภาพของภาค กลุ่มจังหวัด
ความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแล้ว และ และจังหวัด รวมท้ังร่วมมือกันในการสนับสนุน
ข้อสั่งการของนายกรัฐมนตรี เป็นกรอบ การขับเคลื่อนประเด็นการพัฒนาท่ีส�ำคัญ
การด�ำเนินงานจดั ทำ� แผน ของภาค กล่มุ จังหวัด และจงั หวัด สกู่ ารปฏบิ ตั ิ
 ใหค้ วามสำ� คญั กบั แผนพฒั นาภาค อยา่ งสมั ฤทธผ์ิ ล โดยจะตอ้ งมกี ารกำ� หนดเปา้ หมาย
เพอื่ เปน็ แผนชนี้ ำ� การพฒั นาในภาพรวมของพนื้ ท่ี และตวั ช้ีวัดท่ีชัดเจน
เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่สอดคล้องเช่ือมโยงกัน  ใ ห ้ เ ส น อ แ ผ น พั ฒ น า ภ า ค
ในทกุ พนื้ ที่ และเพมิ่ ความสามารถในการแขง่ ขนั แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด และแผนพัฒนาจังหวัด
อันจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชน ในชว่ งปีแรกของแผน 5 ปี สำ� หรบั การทบทวน
ไดอ้ ย่างทั่วถึง หรือปรับปรุงแผนพัฒนาภาค แผนพัฒนา
 การจัดท�ำแผนพัฒนากลุ่ม กลมุ่ จงั หวดั และแผนพฒั นาจงั หวดั ใหด้ ำ� เนนิ การ
จังหวัดและจังหวดั ใหใ้ ชก้ ระบวนการประชาคม เฉพาะเมื่อมีการเปล่ียนแปลงสถานการณ์
แบบมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนหรือการจัดเวที อย่างมีนัยส�ำคัญที่มีผลต่อการบรรลุเป้าหมาย
ระดมความคิดเห็นของประชาชนเพ่ือให้ได้มา ของการพัฒนาภาค กลุ่มจังหวัด และจังหวัด
ซ่ึงปัญหา และความต้องการจากประชาชน เพอ่ื ใหท้ นั สถานการณ์ และยดื หยนุ่ ตอ่ การเปลย่ี นแปลง
ในพื้นที่ รวมทั้งให้มีการประสานแผนในระดับ อย่างไรก็ตาม ไม่จ�ำเป็นต้องขอทบทวน
พ้นื ที่ โดยการรวบรวมและจดั ล�ำดบั ความสำ� คญั หรือปรับปรุงแผนทุกปี หากไม่มีเหตุการณ์
ของปัญหาและความต้องการของประชาชน หรือสถานการณ์ที่มีผลกระทบต่อการบรรลุ
ในพนื้ ที่ ผา่ นกลไกการจัดทำ� แผนพัฒนาหมบู่ า้ น เปา้ หมายการพฒั นา
แผนชมุ ชน แผนพฒั นาตำ� บล แผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ 2. หลักเกณฑ์การจัดท�ำแผนปฏิบัติ
และแผนพฒั นาอำ� เภอ เพอื่ ใหแ้ ผนมคี วามเชอื่ มโยง ราชการประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
สอดคล้องกันในทุกระดับเป็นแผนเดียวกัน ของจงั หวดั และกลมุ่ จงั หวดั โดยมตคิ ณะกรรมการ
(One Plan) ภายใตร้ ะเบยี บกระทรวงมหาดไทย บูรณาการนโยบายพัฒนาภาค (ก.บ.ภ.) ครั้งท่ี
ว่าด้วยการจัดท�ำแผนและประสานแผนพัฒนา 1/2563 เมอ่ื วนั ที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 กำ� หนด
พน้ื ทีใ่ นระดบั อ�ำเภอและตำ� บล พ.ศ. 2562 ให้จังหวัดและกลุ่มจังหวัดจัดท�ำแผนปฏิบัติ
ราชการประจ�ำปีของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

วารสารด�ำ รงราชานภุ าพ 33

โ ด ย แ ผ น ดั ง ก ล ่ า ว จ ะ ต ้ อ ง ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ  โครงการต้องมีความเหมาะสม
วัตถุประสงค์และแนวทางการพัฒนาตามแผน และเป็นไปได้ทั้งด้านเทคนิค (วิธีการหรือ
พัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ทั้งนี้ โครงการ รูปแบบท่ีใช้ในการด�ำเนินการ) ด้านกายภาพ
ตามแผนปฏิบัติราชการประจ�ำปีของจังหวัด (ความพร้อมของพ้ืนที่ด�ำเนินงาน บุคลากร
และกลุ่มจังหวัดจะต้องสอดคล้องและเชื่อมโยง การบริหารความเส่ียง และการบริหารจัดการ)
กับแผนงานที่ก�ำหนดไว้ในแผนพัฒนาจังหวัด ดา้ นงบประมาณ (ความสมเหตสุ มผลของวงเงิน
และกล่มุ จังหวดั กับประโยชน์ท่ีได้จากการด�ำเนินโครงการ)
โครงการท่ีด�ำเนินการโดยจังหวัด ด้านระยะเวลาท่ีด�ำเนินการได้แล้วเสร็จภายใน
และกลมุ่ จงั หวดั ตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำ� ปี ปีงบประมาณ รวมท้ังการวิเคราะห์ผลกระทบ
ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ซ่ึงจะเสนอเป็น เชิงบวกและเชิงลบในการด�ำเนินโครงการ
ค�ำของบประมาณของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ซงึ่ ก.บ.ภ. ก.น.จ. และ อ.ก.บ.ภ. ภาค จะพจิ ารณา
จะต้องมีลกั ษณะของโครงการ ดังต่อไปนี้ และให้ความเห็นชอบเฉพาะโครงการท่ีมี
 โครงการต้องมีความสอดคล้อง ความพรอ้ มในการดำ� เนนิ โครงการเทา่ น้นั
และเช่ือมโยงกับแนวทางการพัฒนาจังหวัด  โครงการต้องมีความคุ้มค่า
และกลุ่มจังหวัด และ ก.บ.จ/ก.บ.ก. ต้องเสนอ ผลลัพธ์ หรือประโยชน์ของโครงการที่คาดว่า
โ ค ร ง ก า ร โ ด ย มี ก า ร จั ด ล� ำ ดั บ ค ว า ม ส� ำ คั ญ จะไดร้ บั ทงั้ ทางดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม ความมน่ั คง
ของโครงการ เพอื่ เสนอ อ.ก.บ.ภ. ภาค พิจารณา ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม อาทิ จำ� นวน
แล้วเสนอ ก.น.จ. พิจารณากลัน่ กรอง และเสนอ ประชากร จ�ำนวนเกษตรกร พื้นที่เพาะปลูก
ก.บ.ภ. พิจารณาให้ความเห็นชอบ โดย ก.บ.ภ. รายได้ ฯลฯ โดยเฉพาะในสว่ นของผลประโยชน์
ก.น.จ. และ อ.ก.บ.ภ. ภาค จะให้ความส�ำคัญ ทกี่ ระทบตอ่ ประชาชนในพืน้ ท่ี
แ ล ะ พิ จ า ร ณ า เ ห็ น ช อ บ โ ค ร ง ก า ร ท่ี จั ง ห วั ด  โครงการต้องมีรายละเอียด
แ ล ะ ก ลุ ่ ม จั ง ห วั ด จั ด ท� ำ เ พื่ อ ส นั บ ส นุ น ข้อมูลที่ครบถ้วนตามแบบฟอร์มที่ ก.บ.ภ.
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ แผนระดับชาติ กำ� หนด โดยกรณีที่เปน็ โครงการก่อสรา้ งจะต้อง
นโยบายรฐั บาล ทศิ ทางการพฒั นาภาค ศกั ยภาพ ระบุความพร้อมของพ้ืนท่ีด�ำเนินงาน รวมท้ัง
และปญั หา/ความตอ้ งการของประชาชนในพนื้ ที่ รูปแบบรายการโดยสังเขปพร้อมด้วยเอกสาร
เปน็ สำ� คัญ ยนื ยนั วา่ สามารถดำ� เนนิ โครงการไดท้ นั ทหี ลงั จาก
 แ ผ น ง า น โ ค ร ง ก า ร ต ้ อ ง มี ผา่ นการพิจารณาของ ก.บ.ภ.
ความสอดคล้องเชื่อมโยงกับห่วงโซ่คุณค่า  โครงการต้องมีรายละเอียด
ของแผนพฒั นาจงั หวดั และกลมุ่ จงั หวดั เพอ่ื แกไ้ ข ประมาณการค่าใช้จ่ายท่ีสามารถพิจารณา
ปัญหาในจังหวัดและกลุ่มจังหวัดอย่างยั่งยืน ความเหมาะสมของคา่ ใชจ้ า่ ยได้ หากโครงการใด
หรือสร้างคุณค่าให้แก่ผลิตภัณฑ์และพัฒนา ไมม่ รี ายละเอยี ดประมาณการคา่ ใชจ้ า่ ย โครงการนน้ั
ศักยภาพของจงั หวัดและกลุ่มจงั หวดั จะไมไ่ ดร้ ับการพจิ ารณา

34 วารสารดำ�รงราชานภุ าพ

 โครงการท่ีเป็นงบลงทุนและ/ ภายในปีงบประมาณท่ีได้รับอนุมัติ โดยย่ืน
หรือครุภัณฑ์ ต้องแสดงถึงหน่วยงานที่พร้อม เอกสาร/หลักฐานยืนยันการได้รับการอนุมัติ/
จะรับผิดชอบค่าใช้จ่ายท่ีจะเกิดขึ้นในปีต่อไป อนญุ าตจากเจา้ ของพน้ื ท/ี่ หนว่ ยงานเจา้ ของพนื้ ที่
รวมท้ังต้องมีร่างบันทึกข้อตกลงระหว่างจังหวัด และ/หรือเอกสารการประเมินผลกระทบต่อ
แ ล ะ ก ลุ ่ ม จั ง ห วั ด กั บ ห น ่ ว ย ง า น ดั ง ก ล ่ า ว สง่ิ แวดล้อม มาพร้อมกับคำ� ขอโครงการ
ในการขอต้ังงบประมาณ และการโอนสินทรัพย์  โครงการต้องไมม่ ลี ักษณะดงั นี้
ที่เกิดจากการด�ำเนินโครงการต่อไป โดยมี  ไม่เป็นการจัดซื้อวัสดุ
การจดั ทำ� บนั ทกึ ขอ้ ตกลงแนบมาพรอ้ มกบั คำ� ขอ ครุภัณฑ์เพื่อแจกจ่ายแก่ประชาชนโดยตรง
โครงการ หากไมม่ เี อกสารบนั ทกึ ขอ้ ตกลงแนบมา ยกเวน้ ในกรณขี องครภุ ณั ฑท์ จี่ ดั ซอื้ นนั้ เปน็ สว่ นหนงึ่
โครงการนั้นจะไม่ไดร้ ับการพจิ ารณา ของกิจกรรมภายใต้โครงการที่สอดคล้องกับ
 จงั หวดั และกลมุ่ จงั หวดั สามารถ แนวทางการพัฒนาจังหวดั และกลมุ่ จังหวดั
เสนอโครงการทต่ี อ้ งใชร้ ะยะเวลาในการดำ� เนนิ การ  ไม่เป็นการจัดซื้อครุภัณฑ์
มากกวา่ หนง่ึ ปไี ด้ โดยตอ้ งแสดงเหตผุ ลความจำ� เปน็ เพื่อใช้งานตามภารกิจปกติของส่วนราชการ
ที่ต้องด�ำเนินการต่อเน่ืองมากกว่าหนึ่งปีว่า ยกเวน้ ในกรณขี องครภุ ณั ฑท์ จี่ ดั ซอ้ื นนั้ เปน็ สว่ นหนง่ึ
หากไม่ด�ำเนินการต่อเน่ืองจะส่งผลต่อการบรรลุ ของกิจกรรมภายใต้โครงการท่ีสอดคล้องกับ
เป้าหมายการพัฒนาอย่างไร และโครงการ แนวทางการพฒั นาจงั หวดั และกลมุ่ จังหวัด
ที่ต้องใช้ระยะเวลาในการด�ำเนินการมากกว่า  ไม่เป็นค่าใช้จ่ายส�ำหรับ
หน่ึงปี ต้องมีการเตรียมการล่วงหน้า ก่อนที่จะ การปรบั ปรงุ ซอ่ มแซม หรอื กอ่ สรา้ งอาคารสถานท่ี
เสนอค�ำขอโครงการ เช่น รายงานการวิเคราะห์ ของสว่ นราชการ
ผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม (EIA) การศกึ ษา/ออกแบบ  ไมม่ วี ตั ถปุ ระสงคห์ ลกั เกยี่ วกบั
สำ� หรบั การจดั ทำ� โครงการทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต การศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน เว้นแต่ฝึกอบรม
เช่น เขียนแบบกอ่ สรา้ ง เปน็ ต้น เพือ่ ให้สามารถ ดา้ นอาชพี ดา้ นความมน่ั คง หรอื เปน็ ประเดน็ สำ� คญั
ด�ำเนินการได้ภายในปีงบประมาณที่ได้รับอนุมัติ ของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และกลุ่มเป้าหมาย
งบประมาณ ตอ้ งไมใ่ ชเ่ จา้ หนา้ ทขี่ องรฐั และไมใ่ ชก่ ลมุ่ เปา้ หมาย
 โครงการท่ีต้องด�ำเนินการ เดียวกับส่วนราชการอื่น รวมท้ังจะต้องแสดง
ในพนื้ ทที่ ต่ี อ้ งไดร้ บั การอนมุ ตั /ิ อนญุ าต ตอ้ งไดร้ บั เป้าหมายโดยรวม และขอบเขตการด�ำเนินงาน
การอนมุ ตั /ิ อนญุ าต จากเจา้ ของพน้ื ท/่ี หนว่ ยงาน ระหว่างจังหวัด/กลุ่มจังหวัดกับส่วนราชการ
เจ้าของพื้นท่ีก่อนที่จะเสนอขอโครงการ เช่น ใหช้ ดั เจน
โครงการที่จะต้องเข้าไปด�ำเนินการในพ้ืนที่  ไม่เป็นในลักษณะของ
อุทยานป่าไม้ เป็นต้น รวมถึงโครงการที่จะต้อง กิจกรรมย่อย ควรมีการจัดกลุ่มเป็นโครงการ
ประเมนิ ผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม เพอื่ ใหส้ ามารถ เดียวกันและ/หรือบูรณาการกิจกรรม/โครงการ
ด�ำเนินโครงการที่ได้รับจัดสรรงบประมาณได้ ท่ีเกี่ยวข้องเข้าดว้ ยกนั เป็นแผนงาน

วารสารดำ�รงราชานุภาพ 35

 ไม่เป็นการเดินทางไป การเชื่อมโยงและบูรณาการแผนระดับ
ต่างประเทศ เว้นแต่เป็นกิจกรรมที่มีข้อผูกพัน นโยบายและแผนในระดบั พนื้ ท่ี (ONE PLAN)
ในเร่ืองการเจรจาด้านการค้าและการลงทุน
การท่องเท่ียว และการเสริมสร้างความสัมพันธ์ จากนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการ
กบั ประเทศในกลมุ่ ประชาคมอาเซยี น สาธารณรฐั ในการจัดท�ำแผนพัฒนาท่ียึดโยงตามนโยบาย
ประชาชนจีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี และหลักเกณฑ์ในลักษณะ Bottom-Up
ทั้งน้ี จังหวัดและกลุ่มจังหวัดจะต้องมีแผน ทีก่ ลา่ วมาข้างตน้ แล้วน้นั จะต้องใหค้ วามส�ำคญั
การดำ� เนนิ งานทส่ี ะทอ้ นถงึ ประโยชนจ์ ากการไป ต่อประเด็นความต้องการพัฒนาและประเด็น
ราชการต่างประเทศอย่างเป็นรูปธรรม กรณีท่ี ปญั หาทส่ี ะทอ้ นจากระดบั พนื้ ทดี่ ว้ ย ซง่ึ กระทรวง
ไม่ได้มีข้อผูกพันกับต่างประเทศ จะต้องแสดง มหาดไทยได้ให้ความส�ำคัญกับการจัดท�ำ
ให้เห็นถึงความคุ้มค่าของการด�ำเนินงาน กรณี แ ผ น พั ฒ น า จั ง ห วั ด แ ล ะ ก ลุ ่ ม จั ง ห วั ด ใ ห ้ มี
เป็นการเดินทางเพื่อไปเจรจาเกี่ยวกับการค้า ค ว า ม เ ชื่ อ ม โ ย ง ส อ ด ค ล ้ อ ง กั น ทั้ ง ร ะ บ บ
การลงทุน หรอื การเจรจาทม่ี ีผลใหเ้ กดิ ข้อผูกพัน โดยเป็นการเชื่อมโยงแผนพัฒนาท้ังในลักษณะ
ระหวา่ งกนั จะตอ้ งขอความเหน็ เกยี่ วกบั ประเดน็ บนลงล่าง (Top - Down) คือ การเช่ือมโยง
ทจี่ ะไปเจรจาจากหนว่ ยงานหลกั ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกอ่ น ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และจะต้องจัดท�ำรายงานผลการด�ำเนินงาน และสังคมแห่งชาติ แผนปฏิรูปประเทศ
ภายหลงั จากการเดนิ ทางไปตา่ งประเทศทกุ กรณี แผนแม่บทต่าง ๆ และแผนพัฒนาภาค ลงไปสู่
ทง้ั นี้ จะเสนอตอ่ อ.ก.บ.ภ. ภาค ก.น.จ. และ ก.บ.ภ. แผนพฒั นาในระดบั พนื้ ทเ่ี พอ่ื ใชเ้ ปน็ กรอบแนวทาง
เพ่ือรับทราบผลการด�ำเนินงานท่ีตอบสนองต่อ ในการพัฒนา และลา่ งข้นึ บน (Bottom - Up)
แนวทางการพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด คอื การเชอื่ มโยงจากแผนพฒั นาหมบู่ า้ น แผนชมุ ชน
รวมท้ังผลลัพธ์ที่เกิดข้ึนท่ีเป็นประโยชน์กับพื้นที่ แผนพัฒนาต�ำบล แผนพัฒนาท้องถิ่น และ
จังหวัดและกลุ่มจังหวัด และจัดส่งรายงานผล แผนพัฒนาอ�ำเภอข้ึนไปสู่แผนพัฒนาจังหวัด
การด�ำเนินการดังกล่าวมายังฝ่ายเลขานุการ ซง่ึ เปน็ การสะทอ้ นสภาพปญั หา และความตอ้ งการ
ก.บ.ภ. ภายใน 45 วัน หลงั การเดนิ ทาง ของประชาชนในพื้นท่ี โดยมีแผนพัฒนาจังหวัด
 ไม่เป็นภารกิจขององค์กร และแผนกลมุ่ จังหวดั เปน็ จุดเชอื่ มสำ� คญั (Focal
ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ เวน้ แตม่ เี หตผุ ลความจำ� เปน็ Point) ในการประสานนโยบายระดับชาติ
และเกนิ ศกั ยภาพขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และความต้องการของประชาชนในพื้นท่ี
รวมทั้งให้มีหนังสือยืนยันจากองค์กรปกครอง โดยมีกลไกในแต่ละระดับที่สามารถเช่ือมโยง
สว่ นทอ้ งถนิ่ ทงั้ นี้ เฉพาะองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ การจัดท�ำและประสานแผนในแต่ละระดับ
ทย่ี งั ไม่ไดเ้ ป็นหนว่ ยรบั งบประมาณโดยตรง เข้าด้วยกัน ท้ังราชการบริหารส่วนกลาง
ราชการบรหิ ารสว่ นภมู ภิ าค และองคก์ รปกครอง
ส่วนท้องถิ่น ซึ่งกระทรวงมหาดไทยได้ออก

36 วารสารดำ�รงราชานุภาพ

ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดท�ำ (ก.บ.ต.) เพ่ือใช้วิเคราะห์ กลั่นกรอง และ
แผนและประสานแผนพัฒนาพื้นที่ในระดับ ใช้ประกอบในการจัดท�ำแผนพัฒนาต�ำบล
อ�ำเภอและตำ� บล พ.ศ. 2562 โดยเปน็ แนวทาง ส่งต่อให้คณะกรรมการบริหารอ�ำเภอแบบ
ในการจัดท�ำแผนและประสานแผนพัฒนา บรู ณาการ (ก.บ.อ.) เพอื่ ใชป้ ระกอบในการจดั ทำ�
ในระดับพื้นท่ี (แผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนชุมชน แผนพัฒนาอ�ำเภอ และส่งต่อให้คณะกรรมการ
แผนพัฒนาต�ำบล แผนพัฒนาท้องถิ่น และ บริหารจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) เพื่อใช้
แผนพัฒนาอ�ำเภอ) เพ่ือใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ ประกอบในการจัดท�ำแผนพฒั นาจังหวัด รวมทงั้
รว่ มกนั ของหนว่ ยงาน ที่รบั ผิดชอบในการจดั ท�ำ การประสานบัญชีโครงการกับองค์กรปกครอง
แผนพัฒนาในระดับพ้ืนท่ี เร่ิมจากการจัดเวที ส่วนท้องถิ่นของแผนพัฒนาในแต่ละระดับ
ประชาคมร่วมกันของหมู่บ้าน/ชุมชน/ท้องถิ่น เพ่ือบรรจุแผนงาน/โครงการ ไว้ในแผนพัฒนา
เพอ่ื รวบรวมปญั หา ความตอ้ งการของประชาชน ทอ้ งถน่ิ หรอื แผนของหนว่ ยงานอน่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
มาจัดท�ำแผนพัฒนาหมู่บ้าน และแผนชุมชน ซ่ึงจะท�ำให้มีกลไกการจัดท�ำและประสาน
และแผนพัฒนาท้องถิ่น น�ำไปสู่การส่งต่อ แผนพฒั นาในระดบั พน้ื ทชี่ ดั เจน และแผนพฒั นา
ปัญหาความต้องการของหมู่บ้าน/ชุมชน ในระดับพ้ืนท่ีมีคุณภาพ สามารถตอบสนอง
ใหค้ ณะกรรมการบรหิ ารงานตำ� บลแบบบรู ณาการ ความตอ้ งการของประชาชนในพนื้ ทไ่ี ดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ

แผนภาพกลไกการเช่อื มโยงแผนในแตล่ ะระดับ

วารสารด�ำ รงราชานภุ าพ 37

นอกจากการจดั ทำ� แผนใหม้ คี วามสอดคลอ้ ง หนว่ ยงานได้ คอื บคุ ลากรทจ่ี ดั ทำ� แผน เครอื่ งมอื
เชื่อมโยงระหว่างนโยบายระดับบน ปัญหา ทช่ี ว่ ยในการจดั ทำ� แผน และการประเมนิ ผลแผน
ความต้องการของประชาชนท่ีมาจากระดับล่าง บุคลากร – จะต้องมีความรแู้ ละทักษะ
และผสานการบูรณาการความร่วมมือจาก ท่ีจ�ำเป็นต่อการจัดท�ำ เขียนแผนงาน โครงการ
ทกุ ภาคกี ารพฒั นาแลว้ การจดั ทำ� ขอ้ เสนอโครงการทดี่ ี และขับเคลื่อนแผนงาน โครงการที่มีคุณภาพ
จะช่วยให้เกิดผลสัมฤทธิ์ เกิดประสิทธิภาพ โดยจะต้องมีการพัฒนาทักษะด้านการคิด เช่น
ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล แ ล ะ ค ว า ม คุ ้ ม ค ่ า สู ง สุ ด ข อ ง การคิดเชิงกลยุทธ์ การคิดวิเคราะห์ ประเมิน
การขับเคลอื่ นแผนงานโครงการ ดงั นั้น แนวทาง คาดการณ์ สรุปผลข้อมูลอย่างเป็นระบบ ฯลฯ
การจดั ทำ� ขอ้ เสนอโครงการทด่ี ี ควรมลี กั ษณะ ดงั น้ี การรับรู้ถึงสถานการณ์ในระดับมหภาค เช่น
 มคี วามเบด็ เสรจ็ สมบรู ณใ์ นรปู แบบ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างสถานการณ์
หว่ งโซ่คณุ คา่ (Value Chain) มีความครบถ้วน ของประเทศกับทิศทาง แนวโน้มของโลก
ครอบคลุมกิจกรรมตั้งแต่ต้นทาง - กลางทาง - การใชเ้ ทคโนโลยใี นการบรหิ ารจดั การและพฒั นา
ปลายทาง พนื้ ที่ การแปลงแผนสกู่ ารปฏบิ ตั ิ หลกั การจดั สรร
 ขอ้ มลู โครงการมคี วามสมบรู ณค์ รบถว้ น งบประมาณ หลกั การบรหิ ารจัดการเพือ่ กำ� หนด
ทั้งในเชิงคุณภาพและปริมาณ มีผลตอบแทน และขับเคลอื่ นแผน เป็นตน้
ทค่ี มุ้ คา่ เกดิ ผลลพั ธต์ ามเปา้ หมายเชงิ ยทุ ธศาสตร์ เครอ่ื งมอื ในการจดั ท�ำแผน – การจดั ทำ�
และความจำ� เป็นเรง่ ด่วนของพืน้ ที่ แผนท่ีดีมีความจ�ำเป็นต้องใช้เครื่องมือ/ระบบ
 มีต้นทุนโครงการท่ีเหมาะสม ที่ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศส�ำหรับ
ประหยัด ไม่ซ�้ำซอ้ น การวางแผน เคร่ืองมือทางวิชาการที่เป็นกรอบ
 มีวิธีการท่ีชัดเจนน�ำไปปฏิบัติได้ ในการกำ� หนดตวั ชวี้ ดั และจดั ทำ� แผนยทุ ธศาสตร์
และมีความพร้อมในการด�ำเนินการ ท้ังในด้าน เคร่ืองมือที่ช่วยในการน�ำเสนอข้อมูล ปัจจุบัน
ศกั ยภาพของบคุ ลากร เทคโนโลยี รปู แบบ และสถานที่ ยงั มกี ารใชเ้ ครอ่ื งมอื /ระบบทชี่ ว่ ยในการจดั ทำ� แผน
 กจิ กรรมมคี วามครอบคลมุ และครบถว้ น ในระดับน้อย หากมีการพัฒนาเคร่ืองมือใหม่ ๆ
 กำ� หนดหนว่ ยด�ำเนนิ การทีม่ ภี ารกจิ หรือปรับปรุงเคร่ืองมือเดิมที่มีอยู่ จะช่วย
และอำ� นาจหนา้ ทตี่ ามกฎหมายและสอดคลอ้ งกบั ยกระดับคณุ ภาพการจดั ทำ� แผนให้ดยี งิ่ ขึ้น
กจิ กรรมท่ีจะดำ� เนนิ การ การประเมนิ ผลแผน – เนอ่ื งจากปจั จบุ นั
ตามทไ่ี ดก้ ลา่ วขา้ งตน้ ถงึ ทมี่ า เจตนารมณ์ ยังไม่มีแนวทาง หลักการและหลักเกณฑ์
นโยบาย หลักเกณฑ์และแนวทางในการจัดท�ำ ในการประเมนิ ผลแผนงาน/โครงการทเี่ ปน็ รปู ธรรม
แผนพฒั นาจงั หวดั และกลมุ่ จงั หวดั องคป์ ระกอบ ชัดเจน หากส่วนราชการมีการศึกษาแนวทาง
ที่ส�ำคัญที่สุดที่จะขับเคล่ือนแผนงาน โครงการ การประเมนิ ผลแผน จะชว่ ยกำ� หนดคณุ ภาพของ
ให้บรรลุยุทธศาสตร์ เป้าหมาย พันธกิจของ แผนงานโครงการใหเ้ ปน็ มาตรฐานเดยี วกนั ในอนาคต

สสี นั การพฒั นาดา้ นการทอ่ งเทย่ี วทนี่ า่ จบั ตามอง (best sky walk)

กลมุ่ งานยุทธศาสตร์และขอ้ มลู เพ่ือการพัฒนาจงั หวดั
ส�ำนักงานจงั หวดั ยะลา และ
ส�ำนกั งานจังหวดั เลย

หากคดิ ถงึ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทก่ี ำ� ลงั มาแรง และ จังหวัดเลย ถึงได้จับเรื่อง Sky walk
ในชว่ งน้ี นา่ จะหนไี มพ่ น้ การทอ่ งเทย่ี วชมธรรมชาติ ท้งั ทีย่ งั ไมเ่ คยทำ� มากอ่ น
ทำ� ไมจงึ นำ� เรอ่ื งนม้ี าเปน็ ประเดน็ เพราะนกั วางแผน จังหวัดยะลา คือจังหวัดใต้สุดของ
จ�ำเป็นจะต้องจับจุดให้ได้ว่าจะเพิ่มจุดขาย ประเทศไทย ถึงจะอยู่แสนไกลแต่มีสิ่งท่ีท้าทาย
ของเราอย่างไร ถ้าเป็นจังหวัดต้องคิดวางแผน ผู้คนให้มุ่งมั่น บากบั่นไปให้ถึง มีอ�ำเภอเบตง
พัฒนาให้แหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดสามารถ เป็นใต้สุดแดนสยาม สิ่งดีงามที่มีในจังหวัด
ดงึ ดดู นกั ทอ่ งเทยี่ วใหพ้ กั คา้ งคนื มาจบั จา่ ยใชส้ อย ได้สลายความกลัวให้ค่อย ๆ มลายหายไป
อะไรจะเป็นแลนด์มาร์ค ย่ิงกระแสโซเชียล เร่ืองพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้และแน่นอน
ทนี่ กั ทอ่ งเทย่ี วจะมา Check in ถอื เปน็ การโฆษณา ความสวยของธรรมชาติไม่แพ้ที่ใดในโลก
และสรา้ งแรงกระเพอ่ื มใหค้ นหลงั่ ไหลมามใิ ชน่ อ้ ย แตจ่ ุดชมวิวกอ่ นทีจ่ ะสร้าง Sky walk ทีม่ ีอย่เู ดมิ
เร่ืองของ Sky walk จึงเป็นทมี่ าให้นักวางแผน เร่ิมคับแคบไปเสียแล้ว ความคิดที่จะพัฒนา
ชวนคดิ วา่ จากจดุ เรมิ่ ตน้ ไปจนกระทง่ั ถงึ วางแผน ให้เป็นจุดชมวิวท่ีมีชื่อเสียงติดอันดับโลก
และบริหารให้สถานท่ีท่องเที่ยวติดตลาดน้ัน และมสี ง่ิ อำ� นวยความสะดวกโดยสรา้ ง Sky walk
จะตอ้ งผา่ นขน้ั ตอนกระบวนการความรว่ มมอื อยา่ งไร จงึ ก่อตวั ขึ้น ถงึ แม้หนทางความสำ� เรจ็ จะมาดว้ ย
และสาเหตุใดท้ังสองจังหวัดคือ จังหวัดยะลา ความยากลำ� บากกต็ าม จะใชง้ บประมาณจากทใี่ ด

วารสารด�ำ รงราชานุภาพ 39

เร่ืองของกฎหมายเพราะพ้ืนท่ีต้ังเป็นของ เกี่ยวข้องกับอาณาจักรลังกาสุกะท่ีถือว่าเป็น
ราชการกรมป่าไม้ ไหนจะการบริหารดแู ลรกั ษา อาณาจักรท่ีเกา่ แก่ทสี่ ดุ บนแหลมมาลายู
จะท�ำได้ดีหรือไม่ แต่เมื่อมีแนวคิดแน่วแน่แล้ว อาณาเขต
จึงเกิดเป็นเวทีการพูดคุยร่วมกันเพ่ือวางแนวคิด ทิศเหนอื ตดิ กบั อำ� เภอสะบา้ ยอ้ ย
(Concept) ในการพัฒนาพนื้ ท่ี จังหวัดสงขลา และ
ถึงแม้จังหวัดจะไกลเพียงใด ถ้าเรา อ�ำเภอโคกโพธ์ิ จังหวดั
มีของดีของเด่นเขาก็จะเดินทางมากันเอง ปัตตานี
ต้องพรอ้ มรุกและรบั ทศิ ตะวนั ออก ติดกับอ�ำเภอบาเจาะ
จงั หวดั ยะลามแี หลง่ ทอ่ งเทย่ี วหลากหลาย อ�ำเภอรือเสาะ จังหวัด
ประเภททั้งแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ นราธิวาส รัฐเปรัค
วิถวี ฒั นธรรม และธรรมชาติ ที่ล้วนมีเอกลักษณ์ ประเทศมาเลเซีย
น่าค้นหา ในส่วนของตัวเมืองยะลานั้น ได้รับ ทิศใต ้ ตดิ กบั รฐั เปรคั ประเทศ
การกล่าวขานว่ามีการวางผังเมือง เป็นระเบียบ มาเลเซีย
เรียบร้อยและสวยงาม ถนนหนทางกว้างขวาง ทิศตะวนั ตก ติดกับจังหวัดสงขลา
น่าไปเท่ียวชม นอกจากสถานที่มากมาย และรัฐเคดาร์ ประเทศ
หลายสไตล์ ยะลายังมีความน่าสนใจเน่ืองจาก มาเลเซีย
เ ป ็ น จั ง ห วั ด ที่ ผ ส ม ผ ส า น ร ะ ห ว ่ า ง วิ ถี ชี วิ ต “เบตง” เปน็ อำ� เภอทอี่ ยใู่ นจงั หวดั ยะลา
ของชาวไทยพุทธ ไทยมุสลิม และชาวไทย มีพ้ืนที่อยู่ทางตอนใต้สุดของประเทศไทย
เชื้อสายจีนไว้ด้วยกันได้อย่างน่าทึ่ง ลักษณะ สภาพภมู ปิ ระเทศสว่ นใหญโ่ อบลอ้ มดว้ ยภเู ขาสงู
บ้านเรือนและวิถีความเชื่อท่ีแตกต่างนั้น ท�ำให้ สง่ ผลใหม้ อี ากาศหนาวเยน็ ตลอดปดี ว้ ยความโดดเดน่
ยะลาเปน็ หนงึ่ ในจงั หวดั ทเี่ หมาะอยา่ งยงิ่ สำ� หรบั ทางภูมิศาสตร์เฉพาะตัว ท�ำให้เบตงกลายเป็น
นักทอ่ งเท่ยี วทรี่ ักเรยี นรู้เรือ่ งราวของผคู้ น เมืองท่องเที่ยวท่ีมีเสน่ห์และน่าสนใจ เป็นเมือง
จังหวัดยะลา มีเน้ือท่ีประมาณ 4,521 ช า ย แ ด น ท่ี มี ค ว า ม ส� ำ คั ญ ม า ต้ั ง แ ต ่ อ ดี ต
ตารางกโิ ลเมตร เปน็ จงั หวดั เดยี วในภาคใตท้ ไี่ มม่ ี หา่ งจากตวั เมอื งยะลา 140 กโิ ลเมตร ตามเสน้ ทาง
พื้นท่ีติดต่อกับทะเล พ้ืนที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขา ท่ีคดเค้ียวเลี้ยวลัดเลาะตามแนวเขาเหนือเขื่อน
ท่ีปกคลุมด้วยผืนป่าอุดมสมบูรณ์ พื้นที่ราบ บางลาง ผ่านทะเลสาบน้อยใหญ่กลางหุบเขา
มีน้อยและถูกใช้ประโยชน์ในด้านการเป็นพื้นท่ี สลับซับซ้อน ตัวเมืองเบตงต้ังอยู่บนเทือกเขา
ทต่ี งั้ ชมุ ชนและพน้ื ทเี่ กษตรกรรม ดว้ ยความทเี่ ปน็ สันกาลาคีรี ทา่ มกลางภเู ขาลอ้ มรอบ เป็นประตู
ปา่ เขาอดุ มสมบรู ณ์ จงึ มฝี นตกชกุ ตลอดปี สง่ ผลดี สปู่ ระเทศมาเลเซยี และสงิ คโปร์ มอี ากาศเยน็ สบาย
ต่อการเพาะปลูกเป็นอย่างยิ่ง ความเป็นมา มีเมฆปกคลุมตอนเช้า สามารถปลูกไม้ดอก
ของยะลาเรมิ่ ตน้ และเตบิ โตมาเคยี งคเู่ มอื งปตั ตานี ได้ตลอดท้งั ปี จึงไดส้ มญานามว่า “เมอื งในหมอก
โดยเป็นส่วนหนึ่งของเมืองปัตตานี ซึ่งเชื่อกันว่า

40 วารสารด�ำ รงราชานุภาพ

ดอกไม้งาม” เบตงมีแหล่งท่องเที่ยวมากมาย เปิดจุดชมวิวทะเลหมอก 360 องศา หรือ
ที่สวยงาม และโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ อาทิ ทะเลหมอกอยั เยอรเ์ วง ตามมาดว้ ยรฐั บาลอนมุ ตั ิ
ตู้ไปรษณีย์ท่ีใหญ่ที่สุดในโลก อุโมงค์รถยนต์ งบประมาณ ในการสรา้ งสนามบนิ ณ อำ� เภอเบตง
รอบภูเขาแห่งแรกของประเทศไทย สนามกีฬา สถติ นิ กั ทอ่ งเทยี่ วทเี่ ดนิ ทางมาทอ่ งเทย่ี ว
ทส่ี งู ทส่ี ดุ ในประเทศไทย พระพทุ ธรปู ทองคำ� สมั ฤทธ์ิ ในเบตง ยังมีจ�ำนวนสูงขึ้นอย่างต่อเน่ือง
องคใ์ หญท่ ส่ี ดุ ในประเทศไทย รวมทงั้ สวนดอกไม้ จนปัจจุบันเบตง ได้ถูกยกให้เป็นเมืองต้นแบบ
เมอื งหนาวแห่งเดยี วในภาคใตก้ อ็ ยทู่ ่เี บตง ภายใตโ้ ครงการ“สามเหลย่ี ม มนั่ คง มงั่ คง่ั ยงั่ ยนื ”
นอกจากทรัพยากรด้านการท่องเท่ียว ซง่ึ จดุ นี้แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ศกั ยภาพของอ�ำเภอเบตง
ที่กล่าวมาแล้ว ในส่วนของวิถีชีวิตวัฒนธรรม ในการผลักดันตนเองต่อการเจริญเติบโตด้าน
ประเพณี และอาหารการกนิ ในเบตงกม็ คี วามโดดเดน่ การทอ่ งเทย่ี วทา่ มกลางสถานการณค์ วามรนุ แรง
แ ล ะ มี ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
การอยู่ร่วมกันของกลุ่มคนหลากหลายเช้ือชาติ
ศาสนา ซ่ึงต่างมีวัฒนธรรมท่ีมีเอกลักษณ์ แนวคิดการพฒั นาวางแผนเชงิ พื้นที่
เฉพาะตวั ทำ� ใหเ้ กดิ การผสมผสานทางวฒั นธรรม
และวิถีชีวิตกันอย่างลงตัว ส่งผลให้เบตงกลาย  ยุทธศาสตร์พระราชทาน “เข้าใจ
เปน็ เมอื งพหวุ ฒั นธรรมทมี่ คี วามหลากหลายทาง เขา้ ถงึ พฒั นา”
วัฒนธรรมมากท่ีสุดของประเทศ และเบตง  แนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ยังเป็นเมืองท่องเที่ยวทางภาคใต้ตอนล่าง  ทฤษฎกี ารมีส่วนร่วมของประชาชน
ท่ีสร้างรายได้เข้าประเทศมากที่สุด ด้วยความท่ี  การบรหิ ารงานแบบบรู ณาการ
เบตงเปน็ เมอื งทม่ี พี น้ื ทอ่ี ยใู่ นเขตของจงั หวดั ยะลา  การทำ� งานเชิงรุก
ซึ่งเป็นจังหวัดท่ีมีเหตุการณ์ความรุนแรงเกิดขึ้น  ทฤษฎีการตัดสินใจเลือกนโยบาย
อย่างต่อเนื่อง ท�ำให้ส่งผลกระทบต่อพ้ืนที่ และทฤษฎีผสมผสานระหว่างทางกว้างและ
อย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ สร้างความเสียหาย ทางลึก (Mixed Scanning)
และส่ันคลอน ความเช่ือม่ันของประชาชน  แนวคิดด้านการท่องเทีย่ ว
และนักท่องเท่ียวท้ังชาวไทยและชาวต่างชาติ  แนวคิดเก่ียวกับการจัดการด้าน
เป็นอยา่ งมาก แต่ขณะเดยี วกันตลอดระยะเวลา การท่องเท่ียว (Tourism Management)
การเกิดเหตุการณ์ความรุนแรง อ�ำเภอเบตง (1) การโฆษณาและประชาสัมพันธ์
ก็ได้มีการส่ือสารประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ โ ด ย เ ผ ย แ พ ร ่ ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ ์ โ ค ร ง ก า ร ใ ห ้
นักท่องเที่ยวมาท่องเที่ยว อยู่อย่างไม่ขาดสาย สาธารณชน ได้รบั ร้แู ละทราบให้มากทส่ี ดุ
ในทุกปี เชน่ การจดั งานมหกรรมประจ�ำปตี ่าง ๆ (2) การส�ำรวจหาข้อมูลแหล่ง
เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวหรือการประกาศ ทอ่ งเทย่ี วทมี่ อี ยู่ เพอ่ื เปน็ ขอ้ มลู ในการประชาสมั พนั ธ์
ในพน้ื ที่

วารสารดำ�รงราชานภุ าพ 41

(3) การปรับปรุงและพัฒนา เป็น และชาวต่างประเทศ (โดยเฉพาะนักท่องเท่ียว
การจัดท�ำแผนงาน โครงการ เพื่อปรับปรุง ชาวมาเลเซยี ) เฉลยี่ วนั ละประมาณ 500 - 1,000 คน
และใหเ้ ปน็ ท่ีประทบั ใจของนกั ทอ่ งเทยี่ ว จนทำ� ใหจ้ ดุ ชมววิ มคี วามคบั แคบแออดั ในการขน้ึ ไปชม
(4) การบรหิ ารโครงการ เปน็ การกำ� หนด อย่างยากล�ำบากก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัย
แนวทางในการบรหิ ารจดั การโครงการอยา่ งเหมาะสม ไมส่ ามารถรองรับนกั ท่องเท่ียวได้เพียงพอ
และเกิดประโยชน์สงู สดุ จากปญั หาดงั กลา่ ว จงั หวดั ยะลาไดป้ รบั
(5) การรกั ษาความปลอดภยั เปน็ การวางระบบ ยุทธศาสตร์ให้เหมาะสมโดยมีการสร้าง Sky
ในการดูแล รักษาระบบความปลอดภัยให้แก่ walk ที่ย่ืนไปในอากาศซึ่งมีสถิติยาวที่สุด
นักทอ่ งเทยี่ วทเี่ ข้ามาในพืน้ ทรี่ บั ผดิ ชอบ ในอาเซียน ความสูง 6 ชน้ั พร้อมลฟิ ตโ์ ดยสาร
สูงจากพื้นดิน 45.50 เมตร ความยาววัดจาก
การแกไ้ ขปัญหา ตวั อาคาร 51 เมตร มพี น้ื ทใี่ ชส้ อยสามารถรองรบั
นักท่องเที่ยวเพ่ิมขึ้นชมทะเลหมอกได้ทั้งหมด
ทะเลหมอกอัยเยอร์เวง ต้ังอยู่ที่ 1,132 ตารางเมตร หรือจัดเป็น 1,080 คน
ต�ำบลอัยเยอร์เวง อ�ำเภอเบตง จังหวัดยะลา ต่อรอบของการข้ึนชม ซึ่งบริเวณส่วนปลาย
มีทะเลหมอกให้ชม ได้ตลอดทั้งปีเป็นหน่ึงเดียว วงกลมสามารถรองรับนกั ทอ่ งเทย่ี วได้ถงึ 80 คน
ของประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นเวลาใดก็สามารถ เปน็ พนื้ กระจกพรอ้ มปรบั ภมู ทิ ศั น์ เปน็ แลนดม์ ารค์
สมั ผสั ทะเลหมอกไดแ้ ทบทกุ ครงั้ ทไี่ ป เปน็ จดุ ชมววิ การทอ่ งเทยี่ วแหง่ ใหมข่ องประเทศไทย งบประมาณ
ที่เดินทางสะดวก รถยนต์สามารถขับขึ้นถึง 91,050,000 บาท (เกา้ สบิ เอด็ ลา้ นหา้ หมนื่ บาทถว้ น)
อยู่ห่างจากอ�ำเภอเบตงประมาณ 40 กิโลเมตร ตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มจังหวัดภาคใต้
ในพนื้ ทขี่ องเขาไมโครเวฟ (เขตปา่ สงวนแหง่ ชาติ ชายแดน ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
เบตง) มีความสงู จากระดบั นำ�้ ทะเล 2,038 เมตร (เพ่มิ เติม) ใช้เวลาการกอ่ สร้าง 700 วนั
เป็นทะเลหมอก ท่ีมีลักษณะเหมือนเกลียวคลื่น
ที่ใหญ่และสวยงาม ในช่วงเช้าจุดชมวิวแห่งนี้
จะกลายเปน็ สวรรค์บนดนิ นักท่องเทย่ี วจะได้มา
สมั ผสั อากาศบรสิ ทุ ธ์ิ ถา่ ยรปู กจิ กรรมชมววิ ทะเล
หมอกที่สวยทส่ี ดุ ในภาคใตแ้ ละสวย อันดับตน้ ๆ
ของเมืองไทยโดยสามารถชมทะเลหมอกได้
360 องศา ดึงดดู นกั ทอ่ งเทยี่ วเข้ามาชมไดต้ ลอด
ทง้ั ปจี ดุ ชมววิ ทะเลหมอกอยั เยอรเ์ วงไดก้ ลายเปน็
แหล่งท่องเท่ียวที่มีชื่อเสียงมากที่สุดแห่งหน่ึง
ในอ�ำเภอเบตง โดยมีนักท่องเท่ียวทั้งชาวไทย

42 วารสารด�ำ รงราชานุภาพ

การท�ำโครงการน้ี ได้มีการศึกษา ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานทรัพยากรป่าไม้ท่ี 13
ก า ร ก ่ อ ส ร ้ า ง ต ล อ ด จ น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร สาขานราธวิ าส ดำ� เนนิ การตามระเบยี บกรมปา่ ไม้
จากหลายประเทศ ได้แก่ เกาะลังกาวี เก็นต้ิง วา่ ดว้ ยการเกบ็ คา่ บรกิ ารหรอื คา่ ตอบแทนสำ� หรบั
ปีนัง ประเทศมาเลเซีย เมืองเบดาน บาหลี การที่พนักงานเจ้าหน้าท่ีได้ให้บริการหรือ
ประเทศอินโดนีเซีย และฮานอย ฮาลองเบย์ ให้ความสะดวกต่าง ๆ แก่ประชาชน ระเบียบ
ประเทศเวียดนาม ป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2563 และระเบียบ
ความคิดเห็นของประชาชน เน่ืองจาก กรมป่าไม้ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเก็บ
ประสบความสำ� เรจ็ จากการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี ว การรักษา และการใช้จ่ายเงินค่าบริการ
ในระยะแรกจากการสรา้ งหอชมววิ ซงึ่ มนี กั ทอ่ งเทยี่ ว หรือค่าตอบแทน รวมทั้งชุมชนอัยเยอร์เวง
เข้าชม ปีละ 240,000 คน ประชาชนจึงให้ ได้เข้ามามีส่วนร่วมโดยได้บันทึกข้อตกลง
ความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ความร่วมมือการจัดท�ำโครงการพัฒนาแหล่ง
ภาคเอกชน ด�ำเนินการต้ังแต่การจัดท�ำ ทอ่ งเที่ยวเชิงนเิ วศ “ทะเลหมอก อยั เยอรเ์ วง”
แผนยุทธศาสตร์ ออกแบบเสนอโครงการ ในพื้นท่ีป่าสงวนแห่งชาติเบตง จังหวัดยะลา
โดยมีเอกชนร่วมช่วยให้ค�ำแนะน�ำ วิเคราะห์ ฉบับท่ี 1/2563 ลงวันท่ี 9 ธันวาคม 2563
ความเปน็ ไปไดข้ องโครงการ ระหวา่ งโครงการพฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วเชงิ นเิ วศ
“ทะเลหมอก อัยเยอร์เวง” กับองค์การบริหาร
กระบวนการดแู ลรักษา ส่วนต�ำบลอัยเยอร์เวง เพ่ือแสดงเจตนารมณ์
และความตงั้ ใจในการบรหิ ารโครงการ Sky Walk
การก่อสร้างจุดชมวิวทะเลหมอก พรอ้ มทงั้ มกี ลมุ่ ตา่ ง ๆ เขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการบรกิ าร
อัยเยอร์เวง Sky walk เป็นการด�ำเนินการ และการรักษาความปลอดภัย อาทิ เจ้าหน้าที่
เพ่ือประโยชน์ในการควบคุมดูแล รักษาหรือ จากกรมป่าไม้ อาสาสมัครท่องเท่ียว ต�ำรวจ
สำ� รวจปา่ สงวนแหง่ ชาติ และเพอื่ พฒั นาศกั ยภาพ ตระเวนชายแดน ชดุ สนบั สนนุ กำ� นนั ผใู้ หญบ่ า้ น
และรักษาธรรมชาติป่าสงวนแห่งชาติเบตง อ�ำเภอเบตง และสาธารณสุขจังหวัดยะลา
โดยขอใชพ้ นื้ ทป่ี า่ ไม้ ตามมาตรา 19 แหง่ พระราช- เปน็ ตน้ เขา้ มาอำ� นวยความสะดวกตามมาตรการ
บญั ญัตปิ า่ สงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 เนือ่ งจาก การเฝ้าระวัง การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ
พื้นท่ีในการก่อสร้างเป็นพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ
เบตง เม่ือก่อสร้างเสร็จจะต้องโอนสินทรัพย์
ให้ส�ำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 13 สาขา
นราธิวาส กรมปา่ ไม้ ดูแลรกั ษา ตอ่ มากรมปา่ ไม้
ได้ออกประกาศฉบับที่ 192/2563 ลงวันท่ี
19 กันยายน 2563 เรื่อง พนักงานเจ้าหน้าที่
กรมป่าไม้เข้าด�ำเนินการเพ่ือควบคุมดูแลรักษา
หรือบ�ำรุงป่าสงวนแห่งชาติ โดยก�ำหนดให้


Click to View FlipBook Version