The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by stabundamrong KM, 2021-10-01 01:57:35

วารสารดำรงราชานุภาพ : ฉบับที่ 63

นักวางแผนมืออาชีพ

วารสารด�ำ รงราชานุภาพ 43

ไวรัสโคโรนา 2019 (Amazing Thailand ปัจจยั แหง่ ความส�ำเร็จ
Safety & Health Administration : SHA
เพ่ือการท่องเที่ยวแบบ “New Normal”)  ความพรอ้ มของผ้นู �ำ - หน่วยงาน
ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง - ประชาชน
ผลผลิต/ผลลพั ธ์ เชงิ ประจกั ษ์ จากการประเมนิ ความพรอ้ มของจงั หวดั
ในการวางแผนเชิงกลยุทธ์การท่องเที่ยว
การก่อสร้าง Sky walk บนจุดชมวิว โดยคณะผู้บริหารของจังหวัดและหน่วยงาน
ทะเลหมอกอัยเยอร์เวง ซ่ึงเป็นระเบียงกระจก ที่เกี่ยวข้อง ซ่ึงมีหน้าที่ความรับผิดชอบ
ทย่ี าวทส่ี ดุ ในอาเซยี น เปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ การทอ่ งเทย่ี ว ในการวางแผนบริหารแผนพัฒนาจังหวัด
สามจงั หวดั ชายแดนใต้ ซง่ึ เปน็ โครงการนวตั กรรม และการวางแผนเชิงกลยุทธ์ในแหล่งท่องเท่ียว
ของจังหวัดยะลา และเป็นความภาคภูมิใจ ไดใ้ หม้ มุ มองเพมิ่ เตมิ เกย่ี วกบั ปญั หาในการวางแผน
ของคนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ท่ีได้สร้าง ของแหล่งท่องเที่ยว ก�ำหนดนโยบาย วิสัยทัศน์
แลนด์มาร์คแห่งใหม่ให้กับประเทศและอาเซียน ต่อการพัฒนา ความเข้าใจต่อแหล่งท่องเที่ยว
อกี ดว้ ย จากในอดตี การทอ่ งเทย่ี วของจงั หวดั ยะลา การวางแผนเชงิ กลยทุ ธ์ ดว้ ยการคน้ หาความโดดเดน่
โดยเฉพาะอ�ำเภอเบตงพึ่งพานักท่องเที่ยว ทเ่ี ปน็ ความทา้ ทายและแตกตา่ งจากแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว
จากมาเลเซยี คนไทยมาเทยี่ วนอ้ ยมาก นกั ทอ่ งเทย่ี ว อ่ืน ๆ เพื่อให้เป็นที่ยอมรับ ของนักท่องเที่ยว
ปีละ 680,000 คน เป็นคนไทยประมาณ ความพร้อมด้านโครงสร้างการบริหารและ
140,000 คน เปน็ ชาวตา่ งชาตปิ ระมาณ 540,000 คน หนว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบ และประการสำ� คญั อยา่ งยงิ่
แต่เม่ือสร้าง Sky walk ผลตอบรับจากการ การมีภาวะผู้น�ำของผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
ท่องเท่ียวเกินความคาดหมายท่ีวางไว้ ถึงแม้ว่า ภาวะผู้น�ำของท้องถิ่น เครือข่ายประชาคม
จะมีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ หรือสมาคมมาร่วมวางแผนเชิงกลยุทธ์ใน
ไวรัสโคโรนา 2019 และมกี ารปิดด่านพรมแดน แหล่งท่องเท่ียวของจังหวัดและการมีส่วนร่วม
ไทยมาเลเซียช่ัวคราว แต่ยังมีนักท่องเที่ยว ของทกุ ภาคส่วนที่เกีย่ วข้อง
(คนไทย) ได้ให้ความสนใจในการข้ึนไปชม  การมสี ว่ นร่วมของประชาชน
บนอาคาร Sky walk เปน็ จำ� นวนมากเฉลย่ี เดอื นละ จังหวัดยะลามีการก�ำหนดนโยบาย
75,000 คน มีรายได้ให้กับชุมชนในพ้ืนท่ี ทิศทาง หรือยุทธศาสตร์ ท่ีให้ความส�ำคัญ
ประมาณเดอื นละ 22 ลา้ นบาท กับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหาร
ราชการ โดยน�ำหลักการการบริหารราชการ
ที่น�ำผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท่ีเก่ียวข้อง ทุกภาคส่วน
เขา้ มามสี ว่ นรว่ มในกระบวนการหรอื ขนั้ ตอนตา่ ง ๆ
ของการบรหิ าร ตง้ั แตก่ ารรบั รขู้ อ้ มลู การปฏบิ ตั งิ าน
การร่วมแสดงความคิดเห็น ร่วมเสนอปัญหา
และความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น

44 วารสารดำ�รงราชานภุ าพ

รว่ มตดิ ตามและแกไ้ ขปญั หา รว่ มในกระบวนการ การจัดระเบียบร้านค้า ร้านขายของที่ระลึก
ตัดสินใจ การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามี ห้องสุขา ถังขยะ การรักษาความสะอาด
ส่วนร่วมในการบริหารราชการพร้อมจังหวัด ที่จอดรถ มีปัญหาทุกระบบ เนื่องจากเกี่ยวข้อง
และแผนปฏิบัติราชการประจ�ำปี โดยใช้วิธี กบั หลายหนว่ ยงาน เชน่ จงั หวดั ยะลา สำ� นกั งาน
การประชมุ เชน่ การประชมุ สภาสนั ตสิ ขุ ทกุ เดอื น ทรพั ยากรปา่ ไมท้ ี่ 13 สาขานราธวิ าส อำ� เภอเบตง
การประชุมคณะกรรมการบริหารงานจังหวัด องค์การบริหารส่วนต�ำบลอัยเยอร์เวง และ
แบบบรู ณาการ (ก.บ.จ.) การประชมุ ปรกึ ษาหารอื หนว่ ยงานความม่ันคงในพนื้ ท่ี จึงทำ� ใหบ้ ุคลากร
กบั ผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งทกุ ระดบั ขาดความต่อเนื่อง เทคโนโลยีระบบบริหาร
 ชุมชนตน้ แบบ จัดการยังไม่สามารถน�ำมาใช้ได้ ระเบียบต่าง ๆ
ชุมชนต�ำบลอัยเยอร์เวงซ่ึงเป็น ไมเ่ ออื้ ในการบริหารจัดการให้เกิดประสิทธภิ าพ
เร่ียวแรงส�ำคัญ เพราะเป็นที่ต้ังของแหล่ง จังหวัดยะลาจึงของบประมาณเพ่ิม
ทอ่ งเทย่ี ว มคี วามกระตอื รอื รน้ จากการมสี ว่ นรว่ ม ในการด�ำเนินการปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
และการพง่ึ ตนเองในการพฒั นาชมุ ชนดา้ นตา่ ง ๆ เพอื่ อำ� นวยความสะดวกการรกั ษาความปลอดภยั
การเปล่ียนแปลงในพ้ืนท่ีได้หล่อหลอม ให้คน ในการก่อสร้างระบบส่งน้�ำ เพ่ือการอุปโภค
ในชมุ ชนมคี วามเขา้ ใจ มที ศั นคตทิ ด่ี ตี อ่ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว และพฒั นาพนื้ ทตี่ อ่ เนอ่ื ง เพอ่ื สนบั สนนุ การทอ่ งเทยี่ ว
ว่ามีความส�ำคัญและเป็นประโยชน์ต่อชุมชน ทะเลหมอกอยั เยอรเ์ วง อำ� เภอเบตง จงั หวดั ยะลา
อย่างเป็นรูปธรรม ปลุกกระแสความรัก งบประมาณ 48,900,000 บาท ดงั นี้
ทรัพยากรธรรมชาติ เห็นคุณค่าและหวงแหน 1) งานปรับปรุงภูมิทัศน์โดยรอบ
แหล่งท่องเที่ยว ประชาชนทุกคน ทุกครัวเรือน อาคาร Sky Walk พร้อม
ได้รับผลประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อม ประตมิ ากรรม
การบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวใช้รูปแบบ 2) งานปรบั ปรงุ พนื้ ทบี่ รเิ วณหอ้ งนำ้�
การพึ่งตนเองโดยบูรณาการของที่มีในชุมชน (เดิม)
ใหเ้ ขา้ กับเทคโนโลยสี มัยใหม่ ทงั้ เรอ่ื งวัฒนธรรม 3) งานก่อสรา้ งลานจอดรถ
ดงั้ เดมิ เรอ่ื งราววถิ ชี วี ติ ของคน ทำ� ใหแ้ หลง่ ทอ่ งเทย่ี ว 4) งานกอ่ สรา้ งอาคารจดุ พกั คอย
มคี วามนา่ สนใจตอบสนองความตอ้ งการนกั ทอ่ งเทย่ี ว 5) งานก่อสร้างระบบประปา
ได้มากกว่าที่เปน็ มา 6) งานระบบรักษาความปลอดภัย
 ไมล่ ะเลยส่งิ อ�ำนวยความสะดวก ของอาคาร Sky Walk
ก า ร พั ฒ น า โ ค ร ง ส ร ้ า ง พ้ื น ฐ า น 7) งานกอ่ สรา้ งระบบปอ้ งกนั ดนิ พงั ทลาย
เพอื่ รองรบั แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว ตอ้ งทำ� อยา่ งสมบรู ณพ์ รอ้ ม 8) งานก่อสร้างทางเทา้
อาทิ ถนน ไฟฟา้ ประปา ความปลอดภยั การกชู้ พี

วารสารดำ�รงราชานภุ าพ 45

 การโฆษณาและประชาสัมพนั ธ์ ลาดตระเวนเดือนละคร้ัง และท�ำเป็นประจ�ำ
การวางแผนโฆษณา ในส่วนของ ไม่ว่าจะมีหรือไม่มีเหตุการณ์ แต่หากทราบว่า
พื้นท่ีมีความพร้อมในเรื่องข้อมูลที่ทันสมัย มีเหตุการณ์การส่ือสารดูแลกันจะเข้มข้นข้ึน
เป็นปัจจุบัน บุคลากร ในพ้ืนที่มีความพร้อม ซึ่งการรักษาความปลอดภัยน้ีเป็นการสร้าง
ต่อเน่ือง โดยการใช้สื่อที่หลากหลายทุกมิติ ความเชื่อมน่ั ให้กบั นักทอ่ งเทยี่ วได้
Facebook Youtuber และการจัดโปรแกรม ในช่วงไม่มีสถานการณ์การแพร่ระบาด
ทัวร์ของภาคเอกชน สมาคมธุรกิจการท่องเท่ยี ว ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 จ�ำนวน
พร้อมรับผิดชอบในการท�ำงานด้วยจิตอาสา นักท่องเท่ียว ที่เข้าชมต่อรอบได้สูงสุด จ�ำนวน
ไมม่ เี งอ่ื นไขหรอื หาผลประโยชน์ มคี วามเสยี สละ 2,600 คน แบ่งเป็น 9 จุด จุดละประมาณ
ในการท�ำงาน และสร้างความเชื่อถือ 290 คน ซึ่งในปัจจุบันอยู่ในช่วงสถานการณ์
 การสร้างความเชื่อมั่นเรื่อง การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
การรักษาความปลอดภยั 2019 ท�ำให้จ�ำนวนนักท่องเที่ยวที่เข้าชมลดลง
ในประเดน็ ผลกระทบจากเหตกุ ารณ์ ซงึ่ สามารถเขา้ ชมตอ่ รอบไดส้ งู สดุ จำ� นวน 630 คน
ความรุนแรงในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ แบ่งเป็น 9 จุด จุดละ 70 - 80 คน ไหลเวียน
ที่เกิดข้ึนจากเหตุการณ์ความไม่สงบ ส�ำหรับ เพื่อความคล่องตัวและความหลากหลายของ
อ�ำเภอเบตง ก็ได้รับผลกระทบแต่ไม่ใช่ประเด็น มมุ ทศั นยี ภาพ อกี ทง้ั ปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของ
หลักเป็นเพียงปัจจัยที่เข้ามากระทบเท่าน้ัน โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)
ตลอดระยะเวลาทผ่ี า่ นมาเบตงเปน็ เมอื งทอี่ ยรู่ ว่ มกนั ไดด้ ี ทง้ั นคี้ วามแขง็ แรงของกระจก ซงึ่ เปน็ กระจก
อย่างสงบสุข และแทบจะไม่เกิดเหตุการณ์ พิเศษ หนา 3.6 เซนติเมตร สามารถรองรับ
ทกี่ ระทบกระเทอื นตอ่ คนในพนื้ ทแี่ ละนกั ทอ่ งเทยี่ วเลย นำ�้ หนักไดถ้ ึง 500 กิโลกรัม ต่อ 0.8 ตารางเมตร
ซ่ึงนักท่องเท่ียวส่วนใหญ่เข้าใจและมีทางเลือก ระยะเวลาความเสื่อมใช้ได้ถึง 3,650 วัน หรือ
ในการเดนิ ทาง คนในพน้ื ทเ่ี ขา้ ใจ ยอมรบั และชว่ ยกนั 10 ปี
ดูแลฟื้นฟูให้ก�ำลังใจกัน และที่ส�ำคัญยังช่วยกัน
สอดส่องดูแลและมีการส่ือสารกันอย่างท่ัวถึง
เมอื่ มเี หตกุ ารณห์ รอื ขา่ วลอื มาจะสอื่ สารกนั ผา่ นไลน์
ของคนในชุมชนและมีการรักษาความปลอดภัย
ในพ้ืนที่ โดยมีโครงการ “ตาสับปะรด”
จากประชาชนจิตอาสาในพื้นที่ที่ช่วยเหลือกัน
สอดส่องดูแลตลอดเวลา รวมท้ังมีการติดต้ัง
กลอ้ งวงจรปิดทุกจุดสำ� คัญ ๆ ท�ำใหส้ ถานการณ์
ความรนุ แรงคลค่ี ลายลงมกี ารปลอ่ ยแถวตรวจตรา

46 วารสารดำ�รงราชานภุ าพ

ขอ้ เสนอแนะส�ำหรบั การวางแผนด�ำเนนิ ตามอัตลักษณ์ท่ีแตกต่างกัน เพ่ือสร้างจุดขาย
โครงการทโ่ี ดดเดน่ เรอ่ื งการทอ่ งเทยี่ ว และเป็นประโยชน์ต่อการวางแผน การพัฒนา
ใหส้ อดคล้องกับเปา้ หมายการพฒั นาประเทศ
 การบรรจุแผนงาน/โครงการให้  ศกึ ษาความเป็นไปได้ เพ่ือประกนั
ครบวงจร ความส�ำเรจ็
จงั หวดั ทมี่ แี หลง่ ทอ่ งเทย่ี วศกั ยภาพสงู ควรมีการจัดท�ำโครงการศึกษา
ควรผลักดันเข้าแผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนา ความเป็นไปได้และประเมินโครงการ เพ่ือน�ำไป
กลมุ่ จงั หวดั แผนพฒั นาภาค เพราะอตุ สาหกรรม จัดท�ำแผนธุรกิจและการท่องเท่ียว และอย่าลืม
การท่องเที่ยวเติบโตในอัตราค่อนข้างสูง มูลค่า ที่จะค้นหาข้อเสนอแนะ ด้านศักยภาพ
ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมทางตรงดา้ นการทอ่ งเทยี่ วกอ่ ให้ และความสามารถของจงั หวัดอย่างต่อเนอ่ื ง
เกิดการจ้างงาน ควรจดั สรรงบประมาณส่งเสริม
และพัฒนาการท่องเที่ยวท้ังในด้านโครงสร้าง จังหวัดเลย
พ้ืนฐานด้านการท่องเที่ยว สินค้าและบริการ ใ น ท� ำ น อ ง เ ดี ย ว กั น จั ง ห วั ด เ ล ย
ผู้ประกอบการ และบุคลากรดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว มชี อื่ เสยี งจากอทุ ยานแหง่ ชาตภิ กู ระดงึ มาชา้ นาน
เพอื่ สรา้ งใหเ้ ปน็ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วคุณภาพที่ย่ังยืน นอกจากนี้มีอุทยานแห่งชาติภูผาม่าน, อุทยาน
และสมดลุ แห่งชาติภูเรือ, อุทยานแห่งชาติภูสวนทราย,
 แนวคิด และวิธีปฏิบัติแบบเดิม อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า ระยะหลังมี
ตอ้ งเปลีย่ นแปลง จุดชมวิวและพักผ่อนที่มีเอกลักษณ์โด่งดัง
แนวคิดและวิธีปฏิบัติเดิมอาจจะยัง ของอ�ำเภอเชียงคาน ถ้าจะเพ่ิมอีกสักอย่างต้อง
ไม่เพียงพอซ่ึงยากต่อความเข้าใจ และยังไม่ เป็น best sky walk ท่ีอ�ำเภอเชียงคาน
ตอบสนองต่อการแก้ปัญหาได้อย่างย่ังยืน เช่น ด้วยความเหมาะสมของสภาพพ้นื ที่
การขออนญุ าตใชพ้ น้ื ทใี่ นการกอ่ สรา้ งแลนดม์ ารค์ จังหวัดเลยมีพื้นท่ีชายแดนติดต่อ
จุดท่องเท่ียวแหล่งใหม่ในพื้นที่ป่าไม้ เพราะ กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทางธรรมชาตสิ ว่ นใหญอ่ ยใู่ นพน้ื ที่ (สปป. ลาว) ความยาว 197 กโิ ลเมตร มแี มน่ ำ้� โขง
ป่าไม้ การปรับสภาพให้เป็นแหล่งท่องเท่ียว แม่น้�ำเหือง และแนวสันเขาเป็นแนวพรมแดน
และช่วยกันดแู ลพืน้ ที่ปา่ ควบคูก่ นั ไป ติดต่อกับแขวงไชยะบูลี และแขวงเวียงจันทน์
 คิดเชิงสร้างสรรค์ พัฒนาร่วมกัน ของ สปป.ลาว
ในพื้นที่ • แมน่ ำ้� โขงระยะทางยาว 71 กโิ ลเมตร
เมื่อคิดและตกผลึกร่วมกันว่าเป็น อยใู่ นเขตอ�ำเภอปากชม และอ�ำเภอเชียงคาน
ประโยชน์ทั้งในระดับท้องถิ่น จังหวัด และ • แม่น้�ำเหืองระยะทางยาว 123
ระดับประเทศ ให้ความส�ำคัญในระดับท้องถิ่น กิโลเมตร อยู่ในเขตอ�ำเภอท่าลี่ อ�ำเภอภูเรือ
และสรา้ งความเขา้ ใจถงึ การพฒั นาของแตล่ ะเมอื ง อำ� เภอด่านซา้ ยและอำ� เภอนาแหว้

วารสารดำ�รงราชานภุ าพ 47

• แนวสันเขาในอ�ำเภอนาแห้ว อ�ำเภอดา่ นซา้ ย อ�ำเภอนาแห้ว และอ�ำเภอภเู รือ
มคี วามยาว 3 กโิ ลเมตร แล้วถ้ามี Sky walk สวย ๆ ที่สามารถชม
จังหวัดเลย มี 6 อ�ำเภอท่ีมีพื้นที่ ความงามได้ท้ังฝั่งไทยฝั่งลาวแบบไม่ต้อง
ชายแดนติดต่อกับ สปป.ลาว จึงเป็นเสน่ห์ให้ ข้ามไป ไม่มีอ�ำเภอใดที่จะเหมาะสมเท่ากับ
ผมู้ าเทย่ี วรสู้ กึ ถงึ การไดอ้ ยใู่ กลช้ ดิ ชายแดน ไดแ้ ก่ อำ� เภอเชยี งคาน
อ�ำเภอปากชม อ�ำเภอท่าล่ี อ�ำเภอเชียงคาน

อำ�เภอ ระยะทาง ความเหมาะสม
อำ�เภอปากชม
อำ�เภอทา่ ล่ี ตดิ ต่อกบั บา้ นวงั เมอื งหมืน่ แขวงเวยี งจันทน์ (ระยะทาง นอ้ ย
อำ�เภอเชียงคาน ระหว่างแขวงเวียงจันทน์กับอ�ำเภอปากชม ประมาณ
อำ�เภอด่านซา้ ย 160 กโิ ลเมตร) ซึ่งมีแม่น�้ำโขงเป็นเส้นกั้นพรมแดน
อำ�เภอนาแหว้
อำ�เภอภูเรอื ติดต่อกับบ้านเมืองหมอ เมืองแก่นท้าว แขวงไชยะบูลี น้อย
(ระยะทางระหว่างแขวงไชยะบูลีกับอ�ำเภอท่าล่ีประมาณ
210 กโิ ลเมตร) มีแม่น�ำ้ เหอื งเป็นเส้นกน้ั พรมแดน

ติดต่อกับเมืองสานะคาม แขวงเวียงจันทน์(ระยะทาง สูง
ระหว่างเมืองสานะคามกับอำ�เภอเชียงคาน ประมาณ
3 - 5 กิโลเมตร) ซ่งึ มีแม่น้ำ�โขงเป็นเสน้ กัน้ พรมแดน

ติดต่อกับบ้านนาข่า เมืองบ่อแตน แขวงไชยะบูลี นอ้ ย
ระยะทางระหวา่ งเมอื งบอ่ แตนกบั อำ� เภอดา่ นซา้ ยประมาณ
30 กโิ ลเมตร

ติดต่อกับบ้านเหมืองแพร่ เมืองบ่อแตน แขวงไชยะบูลี น้อย
มีระยะทางระหว่างเมืองบ่อแตนกับอ�ำเภอนาแห้ว
ประมาณ 40 กิโลเมตร

ติดต่อกับเมืองแก่นท้าว เมืองบ่อแตน แขวงไชยะบูลี น้อย
มรี ะยะทางระหวา่ งเมอื งบอ่ แตนกบั อำ� เภอภเู รอื ประมาณ
112 กโิ ลเมตร

48 วารสารด�ำ รงราชานภุ าพ

เชียงคาน เป็นเสมือนแม่เหล็กดึงดูด เมอ่ื ปี พ.ศ. 2558 การทอ่ งเทยี่ วแหง่ ประเทศไทย
นักท่องเท่ียวให้เดินทางมาสัมผัสจังหวัดเลย ได้จัดให้จังหวัดเลยเป็นหน่ึงใน 12 เมือง
อีกแห่งหนึ่ง คือ แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ต้องห้าม...พลาด จาก 5 ภูมิภาคท่ัวประเทศ
อ�ำเภอเชียงคาน อำ� เภอเลก็ ๆ ริมแม่น�้ำโขง เป็น อันเน่ืองมาจากความพร้อมทั้งแหล่งท่องเท่ียว
อ�ำเภอที่ติดชายแดนของประเทศสาธารณรัฐ ทางธรรมชาติ วถิ ชี วี ิต และศิลปวัฒนธรรม
ประชาธิปไตยประชาชนลาว และในสมัยก่อน จังหวัดเลยได้รับการประกาศเป็นพื้นท่ี
ชาวหลวงพระบางเองก็ได้อพยพมาตั้งรกราก พิเศษเพ่ือการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนเลย และ
ท่ีอ�ำเภอเชียงคานและได้น�ำวัฒนธรรมต่าง ๆ คณะรฐั มนตรไี ดม้ มี ติ เมอ่ื วนั ท่ี 27 มนี าคม พ.ศ. 2558
เข้ามาด้วย อาทิ วัฒนธรรมประเพณี อาหาร เหน็ ชอบแผนยทุ ธศาสตรก์ ารบรหิ ารพน้ื ทพ่ี เิ ศษ
การกนิ ภาษาพดู กม็ คี วามคลา้ ยคลงึ กนั หรอื อาจ 4 พนื้ ที่ ไดแ้ ก่ (1) อทุ ยานประวตั ศิ าสตรส์ โุ ขทยั -
จะเรียกได้ว่า เชียงคานเป็นเมืองคู่แฝด ศรีสัชนาลัย - ก�ำแพงเพชร (2) เมืองเก่าน่าน
หลวงพระบาง กว็ า่ ได้ ดว้ ยมนตเ์ สนห่ ข์ องวถิ ชี วี ติ (3) เลย และ (4) เมอื งโบราณอทู่ อง ไดม้ อบหมาย
ของผู้คนท่ีเรียบง่าย และยังคงรักษาวัฒนธรรม จังหวัดเลยเป็นเจ้าภาพโครงการน�ำร่องเร่งด่วน
ประเพณอี นั งดงามดงั้ เดมิ ตา่ ง ๆ ไวอ้ ยา่ งเหนยี วแนน่ เพื่อด�ำเนินโครงการความร่วมมือในการพัฒนา
ทำ� ใหเ้ ชยี งคานไดร้ บั การบรรจเุ ปน็ 100แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว การทอ่ งเทย่ี วสเ่ี หลยี่ มวฒั นธรรมลา้ นชา้ ง สเ่ี มอื ง
ยั่งยืนระดับโลก Sustainable Destinations สองประเทศ เพ่ือเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวจาก
TOP 100 ประจ�ำปี พ.ศ. 2563 ครั้งแรกของ เมืองเลย - เมืองหลวงพระบาง - นครหลวง
ประเทศไทย เวียงจันทน์ - เมืองหนองคาย ประกอบกับ
คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาตไิ ด้
จุดเด่นของจังหวัดเลย ประกาศเขตพฒั นาการทอ่ งเทยี่ ววถิ ชี วี ติ ลมุ่ นำ้� โขง
(หนองคาย เลย บงึ กาฬ มกุ ดาหาร และนครพนม)
จังหวัดเลย เป็นเมืองท่ีมีลักษณะ เม่อื วันท่ี 12 พฤษภาคม 2559 เปน็ การสง่ เสริม
ภมู ปิ ระเทศทสี่ วยงามโอบลอ้ มดว้ ยภเู ขา มแี หลง่ ความสมั พนั ธข์ องชมุ ชนรมิ ฝง่ั แมน่ ำ้� โขงเพอื่ พฒั นา
ท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่หลากหลาย มีสภาพ ชวี ติ และวฒั นธรรมทน่ี ำ� มาซง่ึ การเพมิ่ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว
อากาศเย็นสบาย ในระหว่างเดือนพฤศจิกายน คุณภาพในพื้นที่ และก่อให้เกิดการเชื่อมโยง
- กุมภาพันธ์ มีอากาศหนาวเย็น นักท่องเที่ยว การทอ่ งเทย่ี วของประเทศเพอ่ื นบา้ น สง่ ผลใหเ้ กดิ
จะได้สัมผัสกับทะเลหมอกและสายลมหนาว การขยายตัวของนักท่องเที่ยวของจังหวัดเลย
พรอ้ มกบั การชมแสงแรกของพระอาทติ ยบ์ นยอดภตู า่ ง ๆ เพม่ิ สงู ขน้ึ ตอ่ เนอ่ื ง โดยในปี พ.ศ. 2562 มนี กั ทอ่ งเทย่ี ว
ความอุดมสมบูรณ์ด้วยพรรณไม้ป่านานาชนิด เข้ามายังจังหวัดเลยกว่า 2,257,978 คน
แ ล ะ มี ป ร ะ เ พ ณี วั ฒ น ธ ร ร ม อั น ง ด ง า ม เ ป ็ น สรา้ งรายไดใ้ หก้ บั คนในทอ้ งถนิ่ ราว 4,740.59 ลา้ นบาท
อัตลักษณ์เฉพาะที่สืบทอดกันมายาวนาน

วารสารดำ�รงราชานุภาพ 49

โครงการพฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วแหง่ ใหม่ มแี นวคดิ การกอ่ สรา้ งมาตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2559
สกายวอลค์ พระใหญภ่ คู กงวิ้ เปน็ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว เพม่ิ งาน เพม่ิ รายได้

ภูคกงิ้ว บ้านท่าดีหมี ต�ำบลปากตม ณ จุดบริเวณท่ีต้ังของพระใหญ่ภูคกงิ้ว
อ�ำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย เป็นท่ีประดิษฐาน เป็นความสวยงามและเหมาะสมของสภาพพ้ืนที่
ของพระพทุ ธนวมนิ ทร - มงคลลลี าทวนิ คราภริ กั ษ์ ที่จะสามารถพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว
หรือที่ชาวบ้านเรียกกันติดปากว่า“พระใหญ่ แห่งใหม่ของเชียงคานได้ ในปี พ.ศ. 2559
ภูคกงิ้ว”แห่งวัดปากน้�ำเหือง เป็นพระพุทธรูป ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั เลย (นายวโิ รจน์ จวิ ะรงั สรรค)์
ปางลลี าประทานพร สเี หลอื งทองอรา่ ม หลอ่ ดว้ ย ไดม้ ีแนวคดิ ที่จะพฒั นาสถานที่ บรเิ วณพระใหญ่
ไฟเบอร์ผสมกับเรซิ่น องค์พระมีความสูง ภคู กงวิ้ บา้ นทา่ ดหี มี ตำ� บลปากตม อำ� เภอเชยี งคาน
19 เมตร และมีฐานกว้าง 7.2 เมตร จดั สร้างขึ้น จังหวัดเลย ให้เป็นสถานท่ีท่องเที่ยวแห่งใหม่
เมอื่ ปี พ.ศ. 2540 โดยกองทพั ภาคท่ี 2 และประชาชน จงึ ไดจ้ ดั ทำ� โครงการสกายวอลค์ พระใหญภ่ คู กงว้ิ
เพ่ือถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จ- อ�ำเภอเชยี งคาน จงั หวัดเลย เพือ่ เพมิ่ ศักยภาพ
พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช ใหบ้ รเิ วณองคพ์ ระใหญ่ภคู กง้ิว อ�ำเภอเชยี งคาน
บรมนาถบพิตรและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ เป็นอีกแหล่งท่องเที่ยวหนึ่งท่ีจะกระตุ้นให้
พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง นักท่องเท่ียวเดินทางมาสัมผัสกับจังหวัดเลย
เนื่องในวโรกาสท่ีเจริญพระชนมพรรษาครบ เพิ่มมากขึ้น ซ่ึงจะสร้างความประทับใจให้กับ
6 รอบ และในมหามงคลแห่งพระราชพิธี นกั ทอ่ งเทย่ี วทมี่ าเทย่ี วชมไดเ้ ปน็ อยา่ งดี นอกจากนน้ั แลว้
ราชาภเิ ษกสมรส ครบ 50 ปี เพื่อแสดงออกถงึ ยงั จะเป็นการสร้างงาน สร้างอาชพี สร้างรายได้
ความจงรักภกั ดี จากการทอ่ งเทย่ี วสปู่ ระชาชน และชมุ ชนในพน้ื ที่
พระใหญภ่ คู กงิว้ ตงั้ อยใู่ นบริเวณท่ีเป็น โดยจงั หวดั เลยไดม้ อบหมายใหส้ ำ� นกั งานโยธาธกิ าร
ผืนดินแห่งแรกของอีสานที่แม่น้�ำโขงไหลผ่าน และผังเมืองจังหวัดเลยด�ำเนินการออกแบบ
โดยมี “แมน่ ำ�้ เหอื ง” แมน่ ำ้� อกี สายทเ่ี ปน็ พรมแดน “สกายวอลค์ ” โดยมอี งคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บลปากตม
ธรรมชาติกั้นระหว่างประเทศสาธารณรัฐ เปน็ ผขู้ อใช้พื้นที่
ประชาธิปไตยประชาชนลาวกับประเทศไทย
ซึ่งตรงบริเวณท่ีแม่น้�ำเหืองไหลมาบรรจบกับ
แมน่ ำ้� โขงนน้ั จะเหน็ เปน็ แมน่ ำ้� สองสี เพราะแมน่ ำ้�
ทง้ั สองสายนี้มีสเี ขม้ - อ่อน ต่างกันอยา่ งชัดเจน
เราจะสามารถมองเห็นทัศนียภาพของแม่น�้ำโขง
ทม่ี คี วามสวยงาม ในแบบมมุ สงู 360 องศา จะได้
สมั ผสั วถิ ชี วี ติ ของชาวบา้ น การสญั จรไป - มาทางเรอื
หรือล่องเรือหาปลาในแม่น้�ำริมสองฝั่งโขง และ
เป็นจุดที่ชมพระอาทิตย์ตกลับเหล่ียมภูเขา
ทส่ี วยงามน่าประทบั ใจอกี แหง่ หนง่ึ ดว้ ย

50 วารสารดำ�รงราชานุภาพ

การด�ำเนินงาน งานงวดสุดท้าย เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2563
เพ่ือให้การบริหารจัดการโครงการสกายวอล์ค
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 จงั หวดั เลย พระใหญ่ภูคกง้ิว มีการบริหารจัดการที่มี
ได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี ประสิทธิภาพ และมีความพร้อมในการรองรับ
งบประมาณ พ.ศ. 2561 (งบพฒั นากลุม่ จังหวดั ) นักท่องเที่ยว จังหวัดเลยได้มีการวางแผน
โครงการสนับสนุนการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว และประชุมปรึกษาหารือร่วมกับทุกภาคส่วน
ทส่ี ำ� คญั ของกลมุ่ จงั หวดั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ทง้ั ภาครฐั ภาคเอกชน ภาคประชาชน พร้อมทั้ง
ตอนบน 1 กิจกรรมหลัก ก่อสร้างส่ิงสนับสนุน ได้มีการแต่งต้ังคณะกรรมการฯ คณะท�ำงานฯ
จุดขายหรือ Land Mark ของสถานท่ที อ่ งเทย่ี ว ด้านต่าง ๆ เพ่ือให้การก�ำหนดรูปแบบและ
กิจกรรมย่อย พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ แนวทางการให้บริการ การอ�ำนวยความสะดวก
สกายวอล์คพระใหญ่ภูคกงิ้ว อ�ำเภอเชียงคาน จัดระเบียบต่าง ๆ ตลอดจนความเช่ือมั่น
จังหวัดเลย งบประมาณ 29,700,000 บาท ในความปลอดภยั ใหก้ บั นกั ทอ่ งเทย่ี วอยา่ งเปน็ รปู ธรรม
โดยมสี ำ� นกั งานโยธาธกิ ารและผงั เมอื งจงั หวดั เลย ในปัจจุบัน จากความร่วมมือจาก
เปน็ หนว่ ยดำ� เนนิ การ โครงการกอ่ สรา้ งสกายวอลค์ ทกุ ภาคสว่ น โครงการสกายวอลค์ พระใหญภ่ คู กงว้ิ
หา่ งจากตวั อำ� เภอเชยี งคานประมาณ 20 กโิ ลเมตร ด�ำเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จและได้เปิดให้
ตัวสกายวอล์คจะมีความสูงจากพ้ืนดินประมาณ บริการกับนักท่องเท่ียวอย่างเป็นทางการแล้ว
19 เมตร พน้ื ทท่ี างเดนิ ลอ้ มรอบองคพ์ ระใหญภ่ คู กงว้ิ ซึ่งก็สามารถสร้างความตื่นตาต่ืนใจ และสร้าง
ด้านหน้าองค์พระเป็นแขนย่ืนออกไปด้านหน้า ความประทบั ใจใหก้ บั นกั ทอ่ งเทยี่ วไดเ้ ปน็ อยา่ งมาก
มีความยาวประมาณข้างละ 23 – 26 เมตร จากการเดินทางมาของนักท่องเท่ียวส่งผลให้
แขนท้ังสองข้างห่างกันประมาณ 19 เมตร ผู้ประกอบการ โรงแรม ที่พัก ร้านอาหาร
ทางเดนิ ของสกายวอลค์ เปน็ กระจกใสชนดิ พเิ ศษ ร้านขายของที่ระลึก ประชาชน ชุมชนพื้นท่ี
มีตะแกรงเหล็กรองรับ และบริเวณใกล้เคียงมีรายได้จากการท่องเท่ียว
เพ่ิมมากข้ึน นอกจากน้ัน ยังสามารถเช่ือมโยง
การบรหิ ารจัดการ เสน้ ทางทอ่ งเทยี่ วเชงิ สรา้ งสรรคแ์ ละการทอ่ งเทยี่ ว
ชุมชนในพ้ืนที่ต�ำบลปากตมท่ีน่าสนใจ อาทิเช่น
โครงการสกายวอล์ค พระใหญ่ภูคกง้ิว โครงการพฒั นาพนื้ ทเ่ี ทดิ พระเกยี รตฯิ บา้ นคกงว้ิ
ได้ด�ำเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จ และได้ส่งมอบ ผลิตภัณฑ์ชุมชนจานกาบหมาก หาดนางคอย
และประตรู ะบายนำ�้ ศรสี องรกั ซง่ึ เปน็ การสรา้ งงาน
สร้างอาชีพ และสร้างรายได้ กระจายสู่ชุมชน
และประชาชนในพนื้ ที่ได้อย่างแทจ้ ริง

โคก หนอง นา กรม กรมการพฒั นาชุมชน

กรมการพัฒนาชมุ ชน
กระทรวงมหาดไทย

กรมการพัฒนาชุมชนมีภารกิจส�ำคัญ กรมการพฒั นาชมุ ชนเชื่อม่ันวา่ ปรัชญา
เพอ่ื ไปสูเ่ ป้าหมายตามวสิ ยั ทัศน์ คือ “เศรษฐกิจ ของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหนทางท่ีจะท�ำให้
ฐานรากมั่งคงและชุมชนพ่ึงตนเองได้ ภายใน ประเทศชาติรอดพ้นวิกฤติ จึงได้น้อมน�ำ
ปี 2565” ซึ่งหมายถึง กรมการพัฒนาชุมชน พระราชดำ� รสั พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร
มุ่งขับเคล่ือนภารกิจไปสู่การปฏิบัติให้เกิด มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ประโยชน์ต่อประชาชนอย่างแท้จริง โดยมี พระราชทานแก่ คณะบุคคลต่าง ๆ ที่เข้าเฝ้าฯ
การดำ� เนนิ งานหลายดา้ น ทง้ั ดา้ นการสรา้ งสรรค์ ถวายพระพรชัยมงคล เน่ืองในโอกาสวันเฉลิม
ชมุ ชนใหพ้ ง่ึ ตนเอง การสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ฐานราก พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั สวนจติ รลดาฯ
ใหข้ ยายตวั การเสรมิ สรา้ งทนุ ชมุ ชนใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ พระราชวงั ดสุ ติ วนั ศกุ รท์ ่ี 4 ธนั วาคม พ.ศ. 2541
และมีธรรมาภิบาล ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม “...เศรษฐกิจพอเพียง และทฤษฎใี หม่
และการเรียนรู้การพึ่งตนเอง การพัฒนา สองอยา่ งน้ี จะท�ำความเจรญิ ให้แกป่ ระเทศได้
การบริหารจัดการชมุ ชน ให้พง่ึ ตนเองได้ รวมถงึ แตต่ อ้ งมี ความเพยี ร แลว้ ตอ้ งอดทน ตอ้ งไมใ่ จรอ้ น
ส่งเสริมกิจกรรมทางเศรษฐกิจฐานรากให้ม่ันคง ต้องไม่พูดมาก ต้องไม่ทะเลาะกัน ถ้าท�ำโดย
โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็น เขา้ ใจกนั เช่อื วา่ ทกุ คนจะมคี วามพอใจได.้ ..”
แนวทางในการขับเคล่ือนภารกิจ เพ่ือให้ ประกอบกับสถานการณ์ปัจจุบันท่ี
“เศรษฐกิจครัวเรือนมีความม่ันคง ประชาชน สังคมไทยประสบปัญหาหลายด้าน ไม่ว่าจะเปน็
ใชช้ ีวติ อยใู่ นชุมชนอยา่ งมคี วามสุข” ปญั หาภาวะหนสี้ นิ ครวั เรอื นสงู ขน้ึ มกี ารแพรร่ ะบาด
ของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ซ่ึงส่งผลกระทบต่อประชาชนโดยตรง ทั้งด้าน
สุขภาพ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมอย่างรุนแรง
รวมถึงพี่น้องประชาชนในพื้นที่ส่วนใหญ่ท่ีเป็น
เกษตรกร การนอ้ มนำ� หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพยี ง และทฤษฎใี หม่ มาปรบั ใชใ้ นการพฒั นา
คุณภาพชีวิตตนเอง จะชว่ ยแกไ้ ขปญั หาในระดบั
ครัวเรือนและเสริมสร้างความเข้มแข็งในระดับ
ฐานรากได้

52 วารสารด�ำ รงราชานุภาพ

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็น พ่ีน้องประชาชน เป็นจุดเร่ิมต้นส�ำคัญใน
พระราชด�ำริของพระบาทพระบาทสมเด็จ การพัฒนาอาชีพ ความเป็นอยู่ และน�ำไปสู่
พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช ความมงั่ คงั่ มัน่ คง และยง่ั ยนื
บรมนาถบพิตร ซ่ึงพระราชทานให้แก่สังคมไทย “โคก หนอง นา” เป็นการประยุกต์
โดยมีหลักคิดอยู่ที่การด�ำรงอยู่และปฏิบัติตน หลักทฤษฎีใหม่ในการบริหารจัดการพ้ืนท่ี
ของประชาชนในทกุ ระดบั ตง้ั แตร่ ะดบั ครอบครวั ให้เหมาะสมตามภูมิสังคมของแต่ละพื้นที่
ชุมชนและรัฐบาล ให้ด�ำเนินไปในทางสายกลาง เพอื่ ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ กลา่ วคอื สอดคลอ้ งกบั
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพ่ือให้ก้าวทัน “ภูมิ” หรือ สภาพทางกายภาพของพ้ืนที่
ต่อโลกยคุ โลกาภิวัฒน์ และ “สงั คม” หรอื วถิ ชี วี ติ คา่ นยิ ม ความหลากหลาย
ความพอเพยี ง หมายถงึ ความพอประมาณ ของวัฒนธรรมและประเพณีของคนที่อาศัยอยู่
ความมีเหตุผล รวมถึงความจ�ำเป็นที่จะต้องมี ในพน้ื ที่
ภมู คิ มุ้ กนั สำ� หรบั ตวั เองทด่ี พี อสมควรตอ่ ผลกระทบ หลกั การสำ� คญั ในการทำ� “โคก หนอง นา”
ท่ีเกิดจากภายนอกและภายใน อีกทั้งต้องอาศัย เ ป ็ น ก า ร จั ด ก า ร พ้ื น ที่ ซึ่ ง เ ห ม า ะ กั บ ก า ร ท� ำ
ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมดั ระวงั การเกษตรตามทฤษฎีใหม่ โดยยึดหลักการ
ในการน�ำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ ขณะเดียวกัน ท่ีว่าฝนตกเท่าไหร่ต้องกักเก็บน�้ำไว้ให้ได้ทั้งหมด
ก็ต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของประชาชน ไมท่ ้งิ ควบค่กู บั หลกั ทรงงาน คอื ต้องไม่ติดต�ำรา
คนในชาติ ใหม้ สี ำ� นึกในคณุ ธรรม ความซ่ือสัตย์ ต้องมีความยืดหยุ่นในการท�ำงาน ท�ำตาม
สุจริต และการด�ำเนินชีวิตด้วยความเพียร ภมู สิ งั คมและทำ� แบบคนจน (คอ่ ย ๆ ทำ� ตามกำ� ลงั )
อยา่ งอดทน  โคก ดินที่ขุดท�ำหนองน้�ำน้ัน
แนวคิด “ทฤษฎีใหม่” เป็นหลักคิด ให้น�ำมาท�ำโคก บนโคกปลูก “ป่า 3 อย่าง
และเครอื่ งมอื หนงึ่ ทก่ี รมการพฒั นาชมุ ชนนำ� มาใช้ ประโยชน์ 4 อย่าง” ตามแนวพระราชด�ำริ คือ
เพอ่ื ให้ประชาชน ไดเ้ รียนรู้ ดว้ ยหลักการพัฒนา ใช้เป็นไม้ใช้สอย เพื่อสร้างบ้านเรือน ช่วยสร้าง
ตนเอง การพ่ึงตนเอง การเรียนรู้ด้วยตนเอง ความรม่ เยน็ ความชมุ่ ชน้ื ในพนื้ ท่ี และควรปลกู ปา่
และน�ำไปทดลองปฏิบัติ เน่ืองด้วยประชาชน
ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ส ่ ว น ใ ห ญ ่ ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ
เกษตรกรรม “น�้ำ” จึงมีความส�ำคัญและเป็น
ป ั จ จั ย ห ลั ก ท่ี จ ะ ช ่ ว ย พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต
และยกระดับฐานะของประชาชนได้มั่นคง
และย่ังยืน กรมการพัฒนาชุมชนจึงน�ำแนวทาง
การประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
และทฤษฎีใหม่ รูปแบบ “โคก หนอง นา”
มาเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ

วารสารดำ�รงราชานภุ าพ 53

เป็น 5 ระดับ ได้แก่ ไม้สูง ไม้กลาง ไม้เต้ีย ทิศทางของแสง ลม ดิน น้�ำ และที่ส�ำคัญคือ
ไม้เร่ยี ดิน และพืชหัวใตด้ นิ เพ่ือให้รากประสานกนั “คน” ออกแบบให้เหมาะสมกับความต้องการ
หลายระดบั ตำ� แหนง่ ของปา่ ควรอยทู่ ศิ ตะวนั ตก ฐานะ และก�ำลังของเจ้าของท่ีดิน และ “คน”
เพอ่ื ช่วยบงั แสงอาทิตย์ยามบ่าย หรือเจ้าของที่ดิน ต้องผ่านการฝึกอบรมให้มี
 หนองน�้ำ ต้องมีขนาดเหมาะสม ความรู้ลึกซ้ึงถึงวิธีการต่าง ๆ นอกจากความรู้
กั บ พื้ น ท่ี เ พ่ื อ ใ ห ้ มี น�้ ำ เ ห ลื อ พ อ ใ น ห น ้ า แ ล ้ ง แลว้ ยงั ตอ้ งฝกึ เรอ่ื งความเพยี ร ความเออ้ื เฟอ้ื เผอื่ แผ่
มีความต่างระดับลึกตื้น เพื่อปลา จะได้วางไข่ “โคก หนอง นา” ตอ้ งปรบั ใชใ้ หเ้ หมาะสม
บรเิ วณตะพกั ควรปลกู หญา้ แฝกไวบ้ รเิ วณรอบ ๆ กับสภาพพ้ืนที่ และลักษณะภูมิประเทศ ทั้งน้ี
เพอ่ื ปอ้ งกนั การพงั ทลายของขอบบอ่ และเพอ่ื ให้ การด�ำเนินงาน ที่กรมการพัฒนาชุมชนน�ำมาใช้
น�้ำกระจายไปเต็มพื้นท่ี ให้ขุด “คลองไส้ไก่” เ ป ็ น เ ค ร่ื อ ง มื อ ใ น ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต
โดยขุดให้คดเค้ียวตามพ้ืนที่ เมื่อน้�ำกระจาย ประชาชน อาศัยหลักการ “ฟาร์มตัวอย่าง”
เต็มพื้นที่จะสร้างความชุ่มช้ืน ลดพลังงาน ด�ำเนินการเพ่ือให้เป็นแหล่งเรียนรู้ แหล่งสร้าง
ในการรดน�้ำต้นไม้ ในคลองไส้ไก่น้ันท�ำหลุม อาหารท่ีปลอดภัย สร้างรายได้และสร้างอาชีพ
ขนมครกและฝายทดน�้ำได้ดว้ ย อยา่ งยัง่ ยืน ควบคู่ไปกบั การไดเ้ รียนรู้ทฤษฎใี หม่
 นา ยกคันนาให้สูง ความกว้าง โดยมีหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็น
ตามความเหมาะสม เพอ่ื ใหน้ าสามารถกกั เกบ็ นำ้� พ้ืนฐาน และเสริมพลังสร้างเครือข่ายด้วย
ไว้ได้ยามน้�ำหลาก ปลูกข้าวหรือพืชอ่ืน ๆ วิถีธรรมดาของชีวิตชนบทของคนไทย คือ
โดยการฟื้นฟูดินด้วยการท�ำเกษตรอินทรีย์ ประเพณีการลงแขก ถูกน�ำกลับมาใช้ด้วยค�ำว่า
คนื ชวี ิตเล็ก ๆ หรอื จุลนิ ทรีย์ คืนแผน่ ดิน โดยใช้ “เอาม้ือสามัคคี” เพ่ือให้ประชาชนพ่ึงตนเอง
พนั ธพุ์ ชื พนั ธข์ุ า้ วที่เหมาะสมกับพื้นที่ บนคนั นา และสามารถอยู่อาศัยในบ้านเกิดได้อย่างมี
และโดยรอบพ้ืนที่ ปลูกพืชผักสวนครัว เล้ยี งหมู ความสุข
เล้ียงไก่ เล้ียงปลา ท�ำให้พออยู่ พอกิน พอใช้
พอรม่ เย็น “โคก หนอง นา พัฒนาชมุ ชน”
ในการออกแบบพ้ืนท่ี จ�ำเป็นต้องอาศัย
องคค์ วามรู้ หลกั วชิ าการ ประสบการณม์ าปรบั ใช้ พฒั นา “คน” พฒั นา “พน้ื ท”ี่ เพอื่ การเรยี นรู้
เพื่อให้เกิดประโยชน์สูง ประหยัดสุด รวมถึง หลายรูปแบบน�ำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต
ความสวยงาม โดยค�ำนึงถึงดินฟ้าอากาศ ท่มี งั่ คั่ง มัน่ คง และยง่ั ยืน
ทิศทางลม ว่าจะให้มีโคกอยู่มุมไหนมีหนองน�้ำ  ศนู ยเ์ รยี นรตู้ น้ แบบ กรมการพฒั นา
บริเวณไหน และท�ำนาตรงจุดไหน ให้สัมพันธ์ ชุมชน เริ่มด�ำเนินงานตามแนวทางดังกล่าว
กับการไหลเวียนของน้�ำ ผ่านคลองไส้ไก่ โดยเร่ิมจากการพัฒนาศูนย์ศึกษาและพัฒนา
หลุมขนมครก โดยมีตัวแปรส�ำคัญ ที่ต้องน�ำมา ชุมชน 11 แหง่ เปน็ ศูนย์เรียนรตู้ ้นแบบ เรมิ่ จาก
พิจารณาในการด�ำเนินการ คือ ไฟ หมายถึง กระบวนการสร้างการเรียนรู้เพ่ือให้บุคลากร
ของกรมการพฒั นาชมุ ชน ได้รับรู้ เขา้ ใจแนวคิด

54 วารสารดำ�รงราชานุภาพ

กระบวนการ และขยายผลไปยังประชาชน คนรักษ์น�้ำ คนเอาถ่าน คนรักษ์แม่ธรณี
ในพน้ื ที่ ซึ่งผลการด�ำเนนิ การท่ีส�ำคญั ไดแ้ ก่ คนรักสุขภาพ คนมีน้�ำยา คนรักษ์แม่โพสพ
1.1 การบนั ทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมอื และฐานเรียนรู้คนพอเพียง
กับหน่วยงาน 7 ภาคี  ขยายผลพฒั นาศนู ยเ์ รยี นรตู้ น้ แบบ
1.2 สร้างการรับรู้แก่ผู้บริหารระดับ เพอื่ รองรบั การฝกึ อบรมและพฒั นาคน ยกระดบั
กรมฯ และพัฒนาการจังหวัด เปน็ “ศนู ยเ์ รียนรตู้ น้ แบบ” ให้เปน็ แหลง่ เรียนรู้
1.3 ส ร ้ า ง ที ม ขั บ เ ค ล่ื อ น ศู น ย ์ แก่พ่ีน้องประชาชนในพื้นที่ โดยด�ำเนินการ
การเรียนรู้ฯ ประกอบด้วย บุคลากรศูนย์ศึกษา ในพ้ืนท่ีศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน 11 แห่ง
และพฒั นาชมุ ชน และเครอื ขา่ ยกสกิ รรมธรรมชาติ วิทยาลัยการพฒั นาชุมชน 1 แหง่ ศนู ยฝ์ กึ อาชพี
จ�ำนวน 110 คน และศูนย์พัฒนาอาชีพของกรมฯ 6 แห่ง และ
1.4 ฝกึ อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร หลกั สตู ร ชุมชนต้นแบบในชุมชนอีก 14 แห่ง กระจาย
การพฒั นาผนู้ ำ� กสกิ รรมสรู่ ะบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง ในทุกภาค ซึ่งชุมชนเหล่านี้มีความหลากหลาย
“ผนู้ ำ� เศรษฐกจิ พอเพยี ง หวั ไวใจส”ู้ ณ ศนู ยศ์ กึ ษา ในบริบทและลักษณะพื้นท่ี เช่น ชุมชนท่ีอยู่บน
และพฒั นาชมุ ชน ทงั้ 11 แหง่ รวมจำ� นวน 1,100 คน พื้นท่ีสูงในภาคเหนือ เช่น ชุมชนพะกอยวา
1.5 ฝกึ อบรมหลกั สตู รการออกแบบ จังหวัดตาก ชุมชนปิล็อคค่ี จังหวัดกาญจนบุรี
เชิงภูมิสังคมไทยเพ่ือการพึ่งตนเองและรองรับ ซ่ึงปัจจุบันศูนย์เรียนรู้ต้นแบบมีศักยภาพรองรับ
ภยั พบิ ตั ิ “โคก หนอง นา โมเดล” จำ� นวน 250 คน การฝึกอบรมตามหลักสูตรการพัฒนากสิกรรม
1.6 กิจกรรม “เอาม้ือสามัคคี” สู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียงได้ปีละ 50,000 คน
กิจกรรมท่ีเกิดขึ้นจากกระบวนการฝึกอบรม มีวิทยากรกระบวนการ วิทยากรฐานเรียนรู้
เพ่ือสร้างเครือข่าย การเรียนรู้ร่วมกันระหว่าง ครพู าทำ� มากกวา่ 540 คน และรองรบั การศกึ ษา
ผเู้ ขา้ อบรม เกดิ กระแสการดำ� เนนิ งานกระจายไป เรยี นร้ไู ด้ตลอดทงั้ ปี
ในพืน้ ทร่ี ะดับจังหวดั ดงั น้ี  พฒั นาผนู้ �ำตน้ แบบ เปน็ การพฒั นา
1.6.1 ด�ำเนินการ 60 ครั้ง คุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่
ในพ้นื ท่ี 51 จงั หวดั จ�ำนวน 7,990 คน “โคก หนอง นา โมเดล” โดยกลุ่มเป้าหมาย
1.6.2 กิจกรรมที่ด�ำเนินการ เป็นผู้น�ำท่ีจะเป็นต้นแบบและเป็นศูนย์เรียนรู้
เชน่ ขดุ คลองไสไ้ ก่ 6,671 เมตร ขดุ หลมุ ขนมครก การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ตนเอง ในระดบั ครวั เรอื น
61 หลมุ ขดุ รอ่ งแปลงผกั 1 งาน ปลกู ปา่ 5 ระดบั จ�ำนวน 1,500 คน ในพื้นที่ 76 จังหวัด และ
1,920 ตน้ ห่มดนิ 64 ไร่ 3 งาน เปน็ ตน้ สร้างเครือข่ายผู้น�ำในระดับพื้นที่ด้วยกิจกรรม
1.7 การพัฒนาปรับปรุงพื้นที่ศูนย์ เอาม้ือสามัคคีโดยมีผู้น�ำต้นแบบเป็นแกนหลัก
ศกึ ษาและพฒั นาชมุ ชนในรปู แบบ “โคก หนอง นา” ขยายเครอื ขา่ ยไปสผู่ นู้ ำ� ในชมุ ชน 1 คน ตอ่ 15 คน
และพัฒนาเป็นฐานการเรียนรู้ จ�ำนวน 8 ฐาน รวมเป็น 22,500 คน และเป็นจุดเร่ิมต้นพื้นที่
เรียนรู้ ประกอบด้วย ฐานเรียนรู้คนรักษ์ป่า เรียนรู้การพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎี

วารสารด�ำ รงราชานภุ าพ 55

ใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” ระดับ ด้วยการฝึกอบรมหลักสูตรเพิ่มทักษะระยะส้ัน
ครวั เรอื น การพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง
 โครงการพัฒนาพื้นท่ีต้นแบบ รูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล เพื่อให้ประชาชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ มคี วามรู้ทศั นคติ เชอ่ื มนั่ และมที กั ษะการออกแบบ
ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา” มีวัตถุประสงค์ บรหิ ารจดั การพนื้ ทร่ี ปู แบบ โคก หนอง นา โมเดล
เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้การน้อมน�ำหลักปรัชญา จำ� นวน 35,015 คน
ของเศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์สู่การปฏิบัติ 4.2 สรา้ งพนื้ ทเ่ี รยี นรชู้ มุ ชนตน้ แบบ
รปู แบบ โคก หนอง นา ดว้ ยการพฒั นาพน้ื ทเ่ี รยี นรู้ การพัฒนาคุณภาพชีวิต (Community Lab
ชุมชนต้นแบบ “โคก หนอง นา” ตามหลัก Model for quality of life : CLM) ระดับตำ� บล
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงระดับต�ำบล และพัฒนาพื้นที่ครัวเรือนต้นแบบการพัฒนา
และระดับครัวเรือน และเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิต (Household Lab Model for
ทอ้ งถนิ่ และชมุ ชน ผา่ นการสรา้ งงานสรา้ งรายได้ quality of life : HLM) ระดับครัวเรือน
ให้แก่เกษตรกร แรงงานและบัณฑิตจบใหม่ ด้วยการสนับสนุนการปรับรูปแปลงพื้นที่
กลุ่มแรงงานที่อพยพกลับท้องถ่ินและชุมชน (ขุด ปรับแต่งพื้นท่ีตามภูมิสังคม) พัฒนาสภาพ
ท่ีได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ในช่วงวิกฤต แวดลอ้ มตามแนวทางการการบรหิ ารจดั การพน้ื ที่
การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา โคก หนอง นา โมเดล และส่งเสริมการพัฒนา
2019 (COVID-19) คุณภาพชีวิตครัวเรือนต้นแบบโดยยึดหลัก
การน้อมน�ำเอาแนวคิดและทฤษฎี ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการผลิต
การพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริกว่า 40 ตามหลกั กสกิ รรมธรรมชาติ จำ� นวน 25,179 แหง่
ทฤษฎี ท่ีทรงพระราชทานไว้ให้ในการแก้ไข 4.3 ส ร ้ า ง นั ก พั ฒ น า ต ้ น แ บ บ
ปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ในการพฒั นาพน้ื ทพี่ ฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ประชาชน
มาประยุกต์กับแนวคิดการพัฒนาพื้นท่ีและ ด้วยการสร้างงาน สร้างรายได้ ให้แก่เกษตรกร
การออกแบบเชงิ ภูมสิ ังคมไทยเพือ่ การพง่ึ ตนเอง บณั ฑติ จบใหม่ กลมุ่ แรงงานทอี่ พยพกลบั ทอ้ งถนิ่
และรองรับภัยพิบตั ิ ในรปู แบบ “โคก หนอง นา และชมุ ชนใหม้ คี วามรู้ ทกั ษะดา้ นการพฒั นาพน้ื ที่
โมเดล” สรา้ งการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ใหเ้ หมาะสม และมีรายได้ จ�ำนวน 9,188 คน เกดิ การจา้ งงาน
กับหมู่บ้านในภูมิสังคมต่าง ๆ โดยบูรณาการ มลู คา่ มากกว่า 900 ลา้ นบาท
การท�ำงานจากภาคีภาคส่วนต่าง ๆ ในพื้นที่ 4.4 สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้
เป้าหมาย 73 จงั หวดั 575 อำ� เภอ 3,246 ตำ� บล ส่กู ารพัฒนาพ้ืนทต่ี น้ แบบโคก หนอง นา โมเดล
และ 25,179 ครัวเรือน ประกอบด้วยกิจกรรม ด้วยวิถีธรรมดาของชีวิตชนบทของคนไทย
ท่ดี ำ� เนินการ ดงั น้ี คือ ประเพณกี ารลงแขก ดว้ ยกจิ กรรม “เอามอื้
4.1 พั ฒ น า ค น ใ ห ้ มี ค ว า ม รู ้ สามัคคี” สร้างเครือข่ายการเรียนรู้มากกว่า
ความเขา้ ใจในหลกั กสกิ รรมสรู่ ะบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง 500,000 คน

56 วารสารด�ำ รงราชานุภาพ

4.5 สร้างพลังความร่วมมือ ด้วย และมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ รวมถงึ ชอ่ งทางการตลาด
การบูรณาการความร่วมมือของภาคีการพัฒนา 4.7 สร้างระบบโปรแกรมและ
ทุกภาคส่วนพัฒนาพ้ืนท่ีต้นแบบระดับต�ำบล ระบบฐานข้อมูล พัฒนาระบบ Digital รองรับ
จดั สรา้ งฐานการเรยี นรู้ 9 ฐานเรยี นรู้ เพอ่ื การพง่ึ Local Economy เพื่อส�ำรวจ ติดตาม และ
ตนเอง ไดแ้ ก่ ฐานการเรียนรู้กสิกรรมธรรมชาติ ประเมินผลสัมฤทธิ์การพัฒนาพ้ืนท่ีต้นแบบ
ฐานการเรยี นรคู้ นหวั เหด็ ฐานการเรยี นรคู้ นเอาถา่ น การคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎใี หม่ ประยุกตส์ ู่
ฐานการเรียนรู้คนรักษ์แม่ธรณี ฐานการเรียนรู้ “โคก หนอง นา โมเดล”
คนตดิ ดนิ ฐานการเรยี นรคู้ นรกั ษน์ ำ�้ ฐานการเรยี นรู้ 4.8 สรา้ งการรบั รู้โดยการประชาสมั พนั ธ์
คนรักษ์แม่โพสพ ฐานการเรียนรู้คนมีไฟ และ ผลการดำ� เนนิ งานอยา่ งตอ่ เนอ่ื งทง้ั กอ่ นดำ� เนนิ การ
ฐานการเรียนรู้หัวคันนาทองค�ำ เป็นศูนย์เรียนรู้ ระหว่างด�ำเนินการ รวมถึงผลการด�ำเนินงาน
ของชุมชน จ�ำนวน 337 แห่ง ท่ีพร้อมรองรับ เมอ่ื เสรจ็ สนิ้ และประเมนิ ผลโครงการใหป้ ระชาชน
การเรยี นรแู้ กป่ ระชาชน ไมต่ ำ่� กวา่ ปลี ะ 500,000 คน ได้รับรู้อยา่ งกวา้ งขวาง
4.6 สร้างมาตรฐานการผลิต ในการพฒั นาตามกระบวนดงั กลา่ วทำ� ให้
การแปรรูปและการตลาดตามมาตรฐานอินทรีย์ เกดิ การพฒั นาคนทคี่ ดิ พง่ึ ตนเอง เกดิ การบรหิ าร
วิถีไทย มีผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการพัฒนาพ้ืนที่ จัดการพ้ืนที่ภูมิสังคม เพ่ิมพื้นที่แหล่งน�้ำ
ต้นแบบท้ังระดับครัวเรือน และระดับต�ำบล และพื้นทกี่ ักเกบ็ น�้ำฝน มีการฟน้ื ฟูทรัพยากรดิน
ได้รับการพัฒนาท้ังด้านผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ ลดการชะล้างของหน้าดิน ส่งผลให้ประชาชน

วารสารดำ�รงราชานภุ าพ 57

สามารถประกอบอาชีพทางการเกษตรซ่ึงเป็น  โครงการพฒั นาหมบู่ า้ นเศรษฐกจิ
อาชพี หลกั ของคนไทยสว่ นใหญใ่ นชนบทไดอ้ ยา่ ง พอเพียง มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการใช้
เหมาะสมตลอดทั้งปี เกิดการสร้างความม่ันคง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทาง
ทางอาหารให้กับครัวเรือน/ชุมชน เช่น ข้าว ในการพัฒนาหมู่บ้าน ให้มีระบบการบริหาร
สามารถเปน็ แหลง่ อาหารหลกั เลยี้ งดคู นในชมุ ชน จัดการชุมชนแบบบูรณาการท่ีเข้มแข็งและ
และระยะต่อไปเป็นการเพิ่มพ้ืนที่ป่าปลูกตาม พัฒนาเศรษฐกิจชุมชนให้มั่นคงด้วยการพัฒนา
แนวพระราชด�ำริ ป่า 3 อย่าง เพ่ือประโยชน์ กลไกการขับเคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
4 อยา่ ง ซึง่ ผลผลิตจะสามารถสร้างรายได้ใหก้ ับ ในระดับพ้ืนที่ สร้างความเข้าใจแก่ครัวเรือน
ครวั เรอื นในอนาคต นอกจากนี้ เพอื่ เสรมิ สรา้ งพลงั เป้าหมายให้ตระหนักในการปรับเปล่ียนการใช้
การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื ไดส้ ง่ เสรมิ ชมุ ชนใหร้ วมตวั กนั ชีวิตและการพัฒนาหมู่บ้านให้สอดคล้อง
จดั ตงั้ กลมุ่ เปน็ กลมุ่ อาชพี เพอ่ื สรา้ งวสิ าหกจิ ชมุ ชน กั บหลั ก ปรั ช ญา ข องเศร ษฐ กิจ พอเพี ยง
ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการสร้างความมั่นคงทาง การกำ� หนดเปา้ หมายและแผนการพฒั นาหมบู่ า้ น
เศรษฐกจิ และสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหว้ สิ าหกจิ ในระดับครัวเรือน กลุ่มอาชีพและชุมชน
ชุมชนสามารถพัฒนายกระดับมุ่งไปสู่การจัดตั้ง และการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ทฤษฎีใหม่รูปแบบ
บ ริ ษั ท วิ ส า ห กิ จ เ พื่ อ สั ง ค ม ใ น ร ะ ดั บ ต� ำ บ ล “โคก หนอง นา โมเดล” ด�ำเนินการในพื้นที่
เพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพการเพมิ่ ผลผลติ ตา่ ง ๆ ทไี่ ดจ้ าก 76 จังหวัด 701 อ�ำเภอ 11,414 หมูบ่ ้าน
ในพ้ืนที่ด�ำเนินการ เพ่ิมมูลค่าด้วยการแปรรูป ทั้งน้ี จะเกิดพ้ืนท่ีต้นแบบศูนย์เรียนรู้
ขยายตลาดการท่องเท่ียวชุมชน การท่องเที่ยว ทฤษฎีใหม่รูปแบบ “โคก หนอง นา โมเดล”
เชงิ เกษตร เชอื่ มโยงตอ่ ยอดใหก้ บั วสิ าหกจิ ชมุ ชน ขนาดพน้ื ที่ 1 ไร่ 8,780 แหง่ และขนาด 3 ไร่
ในด้านการพัฒนาการท่องเท่ียวชุมชน การเพิ่ม 2,634 แห่ง ที่เป็นพื้นท่ีท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้
มูลค่าผลผลิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก ดา้ นการนอ้ มนำ� หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ของชุมชน รวมทั้งสร้างการสื่อสารสังคมให้เกิด และทฤษฎีใหมม่ าใช้ในการฟน้ื ฟูดิน การบรหิ าร
กระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมในระดับ จัดการน�้ำ การบริหารจัดการป่าในรูปแบบ
ชุมชน ระดับต�ำบล ระดับอ�ำเภอ ระดับจังหวัด ป่า 3 อย่าง เพ่ือประโยชน์ 4 อย่าง รวมถึง
ระดับประเทศ รวมถึงระดับนานาชาติ เร่ือง การปลกู พชื 5 ระดบั ตามหลกั กสกิ รรมธรรมชาติ
การน้อมน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือความมั่นคงด้านอาชีพและส่ิงแวดล้อม
(Sufficiency Economy Philosophy : SEP) มีการบริหารจัดการด้วยเครือข่ายการเรียนรู้
ไปสู่การปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิตท่ีเป็นรูปธรรม โดยหลักการ “แหล่งเรียนรู้ของประชาชน
และท่เี ขา้ ถึงได้ทกุ ระดบั เพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน

58 วารสารดำ�รงราชานภุ าพ

และชมุ ชน” นำ� มาซง่ึ ความยั่งยนื ท้ังด้านอาหาร มั่นคงและย่ังยืน เพื่อให้เป็นฐานที่ม่ันคง
และทรพั ยากรธรรมชาตทิ ส่ี ง่ ผลตอ่ การพฒั นาชวี ติ ของประเทศชาติ ซึ่งสอดคล้องกับภารกิจ
ของพ่นี อ้ งประชาชนอยา่ งย่ังยืนต่อไป ของกรมการพัฒนาชมุ ชน
ทง้ั นี้ ความสำ� เร็จจะเกิดขึ้นสกู่ ารพฒั นา
บทสรปุ ที่ย่ังยืนได้อย่างแท้จริงนั้น ต้องมุ่งเน้นให้เกิด
การท�ำงานแบบมีส่วนร่วมของคนในชุมชน
กรมการพัฒนาชุมชน มีเป้าหมาย เป็นส�ำคัญ และการบูรณาการการท�ำงานของ
ให้ประชาชนทุกครัวเรือนได้พัฒนาตนเอง ทุกภาคส่วน  โดยกรมการพัฒนาชุมชนได้รับ
“บนรากฐาน ของวัฒนธรรมไทยและ ความร่วมมือในการขับเคลื่อนภารกิจจาก
ภมู สิ งั คม” ยดึ แนวทางการพฒั นาทตี่ งั้ บนพนื้ ฐาน ภาคเี ครอื ขา่ ยการพฒั นา ทง้ั ภาครฐั ภาควชิ าการ
ของทางสายกลาง และความไม่ประมาท ภาคศาสนา ภาคประชาชน ภาคเอกชน
ค�ำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล ภาคประชาสังคม และภาคส่ือมวลชน นับเป็น
การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเอง ตลอดจนใช้ความรู้ ความรว่ มมอื การพฒั นาทย่ี งั่ ยนื โดยรว่ มเปน็ หนุ้ สว่ น
และคุณธรรม เป็นพื้นฐานในการด�ำรงชีวิต และพลังส�ำคัญในการพัฒนาพื้นท่ีต้นแบบ
อยา่ งมสี ติ ปัญญา และความเพยี ร ซึ่งจะนำ� ไปสู่ เพอื่ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ อยา่ งแทจ้ รงิ ทม่ี เี ปา้ หมาย
“ความสุข”ในการด�ำเนินชีวิตอย่างแท้จริง สำ� คญั รว่ มกนั คอื “ประโยชนส์ ขุ ของประชาชน
โดยเน้นกระบวนการท�ำงานอย่างมีล�ำดับขั้น และประเทศชาติ” เพ่ือการพัฒนาอย่างยั่งยืน
และใหค้ วามสำ� คญั กบั ภมู สิ งั คมของแตล่ ะทอ้ งถนิ่ ในอนาคต
เพ่ือเป้าหมายส�ำคัญ คือ “การมีพอกินพอใช้
ของประชาชน” คือ การสร้างความสุขและ
ความเขม้ แขง็ ในระดบั ครวั เรอื น และมงุ่ ใหช้ มุ ชน
มีความสามารถในการบริหารจัดการตนเองได้
สามารถเผชิญกับวิกฤต และรับมือกับ
ความเปลย่ี นแปลงทจี่ ะเกดิ ขนึ้ ในอนาคตไดอ้ ยา่ ง

วารสารด�ำ รงราชานุภาพ 59

โครงการพฒั นาตำ� บลแบบบูรณาการ (Tambon Smart Team)
ภายใตแ้ ผนงานหรอื โครงการทม่ี วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ฟน้ื ฟเูศรษฐกจิ และสงั คม

ท่ไี ดร้ บั ผลกระทบจากการระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(พ.ศ. 2563)

กองวชิ าการและแผนงาน
กรมการปกครอง

กระทรวงมหาดไทย

ในเรื่องร้าย ๆ ยังมีส่ิงดี ๆ เม่ือมี ใครจะเชอื่ วา่ พลงั ของบณั ฑติ นอ้ ย ๆ หรอื ทเี่ รยี กวา่
สถานการณ์การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส “ลกู จา้ งเหมาบรกิ ารตามโครงการพฒั นาต�ำบล
โคโรนา 2019 เกิดผลกระทบไปท้ังประเทศ แบบบูรณาการ” ได้สรา้ งชอ่ื สรา้ งผลงานกระตนุ้
จ�ำเป็นที่หน่วยงานภาครัฐต้องหาทางแก้ไข เศรษฐกจิ ไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง
เพราะรายได้ของประชาชนจะลดน้อยลง
เศรษฐกิจท่ีย�่ำแย่น�ำไปสู่ปัญหาครอบครัว
ปัญหาสังคม ปัญหาสุขภาพ อาชญากรรม
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ถึงคราวที่
ประเทศไดก้ เู้ งนิ มาเพอื่ ฟน้ื ฟเู ศรษฐกจิ และสงั คม
กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย จงึ ไดเ้ ขา้ มา
มีส่วนร่วมในการวางแผนเสนอโครงการ
เพ่ือช่วยฟื้นฟู โดยมุ่งเป้าไปที่การจ้างงาน
ประชาชน อย่างน้อยเขาเหล่านั้นจะมีรายได้
ประจ�ำ 1 ปี และยังเป็นการวางรากฐานให้คน
ในพื้นที่หันมาให้ความส�ำคัญกับเร่ืองข้อมูล
ถิ่นฐานบ้านเรือนของตน จัดเก็บข้อมูลที่เป็น
ประโยชนต์ อ่ การวางแผนพฒั นาพน้ื ทเี่ ปน็ ดอกผล
ต่อการพฒั นาประเทศในระยะยาว ภายในระยะ
เวลา 1 ปเี กดิ Best Practiceใน 18 อำ� เภอตน้ แบบ

วารสารด�ำ รงราชานุภาพ 61

    หลักการและความจ�ำเป็นของโครงการ และประสานแผนพัฒนาพ้ืนที่ในระดับอ�ำเภอ
และต�ำบล พ.ศ. 2562 ได้ก�ำหนดแนวทาง
คณะรัฐมนตรี ได้มีมติเม่ือวันท่ี 21 การบูรณาการในการจัดท�ำแผนและประสาน
กรกฎาคม พ.ศ. 2563 เหน็ ชอบผลการพจิ ารณา แผนพัฒนาในระดับพ้ืนท่ีหมู่บ้าน ชุมชน ต�ำบล
ของคณะกรรมการกล่ันกรองการใช้จ่ายเงินกู้ และอ�ำเภอ ให้เกิดความเช่ือมโยงสอดคล้องกับ
ในคราวประชมุ ครงั้ ท่ี 11/2563 ทไี่ ดม้ กี ารพจิ ารณา ทิศทางการพัฒนาในระดับจังหวัด กลุ่มจังหวัด
กล่ันกรองข้อเสนอโครงการเพ่ือขอใช้จ่ายเงินกู้ ภาคและประเทศ จึงท�ำให้อ�ำเภอต้องมีบทบาท
ภายใต้แผนงานหรือโครงการท่ีมีวัตถุประสงค์ ในแผนพฒั นาพนื้ ทแ่ี ตล่ ะระดบั แตกตา่ งกนั ออกไป
เพ่ือฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมที่ได้รับผลกระทบ เชน่ บทบาทผสู้ นบั สนนุ ผนู้ ำ� ผจู้ ดั ทำ� ผขู้ บั เคลอ่ื น
จากการระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ผ้กู �ำกับดแู ล และผปู้ ระสาน เป็นต้น
(พ.ศ. 2563) ตามบัญชีท้ายพระราชก�ำหนดฯ ในขณะเดยี วกนั การจดั ทำ� ขอ้ มลู พนื้ ฐาน
ซงึ่ ไดอ้ นมุ ตั โิ ครงการพฒั นาต�ำบลแบบบรู ณาการ เพื่อการพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน และสนับสนุน
(Tambon Smart Team) ของกรมการปกครอง การจดั ทำ� และประสานแผนพฒั นาพน้ื ทใ่ี นระดบั ตา่ ง ๆ
กระทรวงมหาดไทยวงเงนิ ไมเ่ กนิ 2,701,876,000 บาท ในลกั ษณะแผนเดยี ว (One Plan) ไดแ้ ก่ แผนพฒั นา
โดยมวี ตั ถปุ ระสงคส์ ำ� คญั เพอ่ื สง่ เสรมิ และกระตนุ้ หมบู่ า้ น/ชมุ ชน แผนพฒั นาตำ� บล แผนพฒั นาอำ� เภอ
การบริโภคภาคครัวเรือนโดยการจ้างงาน แผนพัฒนาจังหวัด ตลอดจนการด�ำเนินการ
ในทุกต�ำบลทั่วประเทศ จ�ำนวน 7,255 ต�ำบล ช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบต่าง ๆ ยังไม่ได้มี
ต�ำบลละ 2 คน รวมจ�ำนวน 14,510 อัตรา การจัดท�ำฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data)
วฒุ กิ ารศกึ ษาปรญิ ญาตรหี รอื เทยี บเทา่ ระยะเวลา และจดั เกบ็ ขอ้ มลู จำ� เปน็ ทสี่ ำ� คญั อยา่ งเปน็ ระบบ
12 เดือน ค่าตอบแทนเดือนละ 15,000 บาท อีกทั้งยังขาดการเช่ือมโยงข้อมูลในระดับพ้ืนท่ี
เรมิ่ ดำ� เนนิ การจา้ งในวนั ที่ 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2563 สู่หน่วยก�ำหนดนโยบายในส่วนกลาง จึงอาจ
และเป็นการจัดเก็บฐานข้อมูลแบบบูรณาการ ท�ำให้เกิดความคลาดเคล่ือน ในการตัดสินใจ
ในระดับหมู่บ้าน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพส�ำหรับ ในระดับนโยบาย
การวางแผนพัฒนาพน้ื ทีใ่ นทกุ ระดับ การขับเคล่ือนโครงการพัฒนาต�ำบล
ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) แบบบูรณาการ (Tambon Smart Team)
ในประเด็นยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุล นอกเหนือจากจะเป็นโครงการจ้างงานในระดับ
และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ พื้นท่ีต�ำบลแล้ว ยังเป็นการจัดเก็บฐานข้อมูล
ข้อ 4.2 ก�ำหนดให้ภาครัฐบริหารงานแบบ แบบบูรณาการในระดับหมู่บ้าน เพื่อเพ่ิม
บูรณาการ โดยมียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมาย ประสิทธิภาพส�ำหรับการวางแผนพัฒนาพ้ืนที่
และเชอื่ มโยงการพฒั นาในทกุ ระดบั ทกุ ประเดน็ ในทกุ ระดบั เพอ่ื สนบั สนนุ การดำ� เนนิ การขบั เคลอื่ น
ทุกภารกิจ ทุกพื้นที่ ประกอบกับระเบียบ แผนพฒั นาพนื้ ทใี่ นลกั ษณะแผนเดยี ว (One plan)
กระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดท�ำแผน

62 วารสารด�ำ รงราชานภุ าพ

อีกท้งั การวเิ คราะหข์ ้อมูล และการบริหารข้อมูล  เป็นการส่งเสริมการมีส่วนร่วม
(Data Analytics) เป็นฐานขอ้ มลู พ้ืนฐานส�ำคัญ ในการแกไ้ ขปญั หาความเดอื ดรอ้ นของประชาชน
ในระดับหมู่บ้านที่สามารถน�ำไปขับเคล่ือนเป็น และการพฒั นาพน้ื ที่ และเสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็
กรอบการก�ำหนดโยบายสาธารณะของประเทศ ของภาคประชาชน ท�ำให้การแก้ไขปัญหา
ช่วยสนับสนุนการพัฒนาเชิงพ้ืนที่ ใช้เป็นฐาน ความเดือดร้อนของประชาชนในต�ำบล อ�ำเภอ
ขอ้ มลู แบบบรู ณาการ (Data Base) ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ ไดต้ รงตอ่ ความตอ้ งการและมปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ
ส�ำหรับการวางแผนพัฒนาพื้นที่ในทุกระดับ
ได้แก่ แผนพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน แผนพัฒนา  แนวทางการด�ำเนนิ งานและความคบื หนา้
ต�ำบล แผนพัฒนาอ�ำเภอ แผนพัฒนาจังหวัด ของการขบั เคลอื่ นโครงการฯ
เป็นต้น ซึ่งเป็นกลไกส�ำคัญในการแก้ไขปัญหา
ความเดือดร้อนของประชาชน และการพัฒนา กรอบการด�ำเนินงานในภาพรวม
พ้นื ท่ใี นระยะยาว ของโครงการพัฒนาต�ำบลแบบบูรณาการ
(Tambon Smart Team)
 วัตถปุ ระสงค์ กรมการปกครองได้ก�ำหนดกรอบ
การดำ� เนินงานของโครงการฯ ในภาพรวม ดังน้ี
 เพอื่ สง่ เสรมิ และกระตนุ้ การบรโิ ภค  แผนปฏิบัติการ (Action Plan)
ภาคครัวเรือน โดยการจ้างงานในทุกต�ำบล ในการขับเคลื่อนโครงการพัฒนาต�ำบลแบบ
อ�ำเภอทั่วประเทศ ก่อให้เกิดรายได้ในระดับ บรู ณาการ (Tambon Smart Team) แบง่ ออกเปน็
บุคคล และครัวเรือน จ�ำนวน 14,510 อัตรา 3 ระยะ ได้แก่
ได้กระจายลงสู่ระบบเศรษฐกจิ ในพน้ื ท่ี ระยะที่ 1 กระบวนการคัดเลือก
 เพ่ือได้ฐานข้อมูลแบบบูรณาการ ลูกจ้างเหมาบริการตามโครงการพัฒนาต�ำบล
(Data Base) ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพสำ� หรบั การวางแผน แบบบูรณาการ (Recruitment Process)
พัฒนาพื้นที่ ในทุกระดับ เช่น แผนพัฒนา ได้วางแนวทางรายละเอียด หลักเกณฑ์
หมู่บ้าน/ชุมชน แผนพัฒนาต�ำบล แผนพัฒนา การด�ำเนินงาน ส�ำหรับกระบวนการรับสมัคร
อ�ำเภอ แผนพฒั นาจังหวัด เป็นต้น ซึ่งเปน็ กลไก กระบวนการคัดเลือก เพ่ือให้ท่ีท�ำการปกครอง
ส�ำคัญในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของ จงั หวดั และทที่ ำ� การปกครองอำ� เภอ ดำ� เนนิ งาน
ประชาชน และการพัฒนาพื้นท่ีในระยะยาว ภายใตแ้ นวทาง และหลกั เกณฑข์ องกระบวนการ
แ ล ะ เ ป ็ น ฐ า น ข ้ อ มู ล ก ล า ง ที่ เ ป ิ ด เ ผ ย ต ่ อ คัดเลือก เปน็ ไปด้วยขน้ั ตอนและวธิ กี ารเดียวกัน
สาธารณชน (Single opened - data system) ท่ัวประเทศ เป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจ
ใหท้ กุ ภาคสว่ นของรฐั เอกชน ภาคประชาสงั คมตา่ ง ๆ และกระตุ้นการบริโภคภาคครัวเรือน โดย
สามารถเขา้ ถงึ และใชป้ ระโยชนร์ ว่ มกนั ในขอ้ มลู ก า ร จ ้ า ง ง า น ผู ้ ท่ี มี คุ ณ ส ม บั ติ ต า ม เ ก ณ ฑ ์
ชดุ เดยี วกัน ทกี่ รมการปกครองกำ� หนด ในทกุ ตำ� บลทวั่ ประเทศ

วารสารด�ำ รงราชานภุ าพ 63

จ�ำนวน 7,255 ต�ำบล ต�ำบลละ 2 คน 80,596 แห่ง ท้ังน้ีกระบวนการจัดเก็บข้อมูล
รวมจ�ำนวนทงั้ สิ้น 14,510 คน เป็นระยะเวลา ดงั กลา่ วดำ� เนนิ การในหว้ งเดอื นตลุ าคม พ.ศ. 2563
12 เดอื น (ตง้ั แตเ่ ดอื นตลุ าคม พ.ศ. 2563 - กนั ยายน - กันยายน พ.ศ. 2564
พ.ศ. 2564) อาศยั การดำ� เนนิ งานผา่ นกลไกโครงสรา้ ง ระยะที่ 3 การน�ำข้อมูลไปใช้ประโยชน์
ในรูปแบบคณะกรรมการด�ำเนินการคัดเลือก (Database Utilization) โดยกรมการปกครอง
ลูกจ้างเหมาบริการตามโครงการพัฒนาต�ำบล กำ� หนดเปา้ หมายในการนำ� ขอ้ มลู ไปใชป้ ระโยชน์
แบบบรู ณาการ (Tambon Smart Team) ระดบั ให้มีอ�ำเภอต้นแบบ (Role Model) ตาม
อ�ำเภอเป็นผู้รับผิดชอบในกระบวนการคัดเลือก โครงการพฒั นาตำ� บลแบบบรู ณาการ (Tambon
โดยจัดทดสอบความรู้ในภาคความสามารถ Smart Team) จ�ำนวน 18 แห่ง ซึง่ เป็นอำ� เภอ
และความเหมาะสมกบั ตำ� แหนง่ ภายใตห้ ลกั เกณฑ์ ท่ีสามารถน�ำข้อมูลที่ได้จัดเก็บตามโครงการ
ม า ต ร ฐ า น จ า ก ส ่ ว น ก ล า ง แ ล ะ บั น ทึ ก ผ ล พัฒนาต�ำบลแบบบูรณาการ (Tambon Smart
การทดสอบแบบออนไลนผ์ ่านระบบ E - report Team) ไปบูรณาการใช้ในการพัฒนาพื้นท่ี
(ระบบ Tambon Smart Team Recruitment ได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือลูกจ้างเหมาบริการ
Report) ซง่ึ เปน็ ระบบการประมวลผลทสี่ ามารถ ตามโครงการพัฒนาต�ำบลแบบบูรณาการ
ตรวจสอบได้ ท้ังน้ีกระบวนการคัดเลือกฯ (Tambon Smart Team) มผี ลการปฏิบัตงิ าน
ได้ดำ� เนนิ การในเดือนกันยายน พ.ศ. 2563 ทสี่ รา้ งประโยชนแ์ กพ่ น้ื ทอี่ ยา่ งยงั่ ยนื โดยผตู้ รวจ-
ระยะท่ี 2 การจัดเก็บข้อมูล (Data ราชการกรมการปกครองทุกเขต ด�ำเนินการ
Collection) การบูรณาการข้อมูลเพื่อพัฒนา คดั เลือกอำ� เภอต้นแบบ จ�ำนวนเขตละ 1 อำ� เภอ
พ้ืนท่ีตามโครงการพัฒนาต�ำบลแบบบูรณาการ รวมจำ� นวนท้ังสน้ิ 18 อ�ำเภอ
(Tambon Smart Team) เป็นการบูรณาการ นอกจากนกี้ รมการปกครองไดจ้ ดั ทำ� ฐาน
ข้อมูลส�ำคัญเพ่ือการพัฒนาพ้ืนที่ในทุกระดับ ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Database) จากขอ้ มลู
โ ด ย ค ว า ม ร ่ ว ม มื อ ข อ ง ห น ่ ว ย ง า น ใ น สั ง กั ด ทจ่ี ดั เกบ็ ไดใ้ นพน้ื ที่ ส�ำหรบั เปน็ ฐานขอ้ มลู กลาง
กรมการปกครอง และส่วนราชการระดับกรม ทเ่ี ปดิ เผยต่อสาธารณชน (Single Opened -
รัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงมหาดไทย รวมถึง data system) และใชฐ้ านขอ้ มลู ในการวางแผน
ส่วนราชการระดับกระทรวง หน่วยงานภาคี พัฒนาพนื้ ท่ีในทุกระดับ ทัง้ นี้ การน�ำขอ้ มลู ไปใช้
ท่ีเกี่ยวข้อง ก�ำหนดกรอบการจัดเก็บข้อมูล ประโยชน์ มแี ผนการดำ� เนนิ งานในหว้ งเดอื นมนี าคม
ในรูปแบบชุดค�ำถาม ซึ่งลูกจ้างเหมาบริการ - กนั ยายน พ.ศ. 2564
ตามโครงการพัฒนาต�ำบลแบบบูรณาการ  การด�ำเนินการสนับสนุนแผน
(Tambon Smart Team) ได้ลงพื้นท่ีจัดเก็บ การปฏบิ ตั งิ าน (Action Plan) ในการขบั เคลอ่ื น
ขอ้ มลู ในแตล่ ะเดอื น จ�ำนวน 12 ดา้ น โดยแหลง่ โครงการพฒั นาต�ำบลแบบบรู ณาการ (Tambon
ที่มาของข้อมูล ได้ด�ำเนินการจัดเก็บมาจาก Smart Team)
หมู่บ้านและชุมชนท่ัวประเทศ รวมจ�ำนวน

64 วารสารดำ�รงราชานภุ าพ

(1) การประชาสมั พนั ธส์ รา้ งการรบั รู้ รูปแบบการแสดงผลที่เป็นหมวดหมู่ เข้าใจง่าย
โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ต� ำ บ ล แ บ บ บู ร ณ า ก า ร และเปน็ ปจั จุบัน
(Tambon Smart Team) แบง่ ออกเปน็ 2 ส่วน (3) กลไกการบูรณาการจัดการ
ดังน้ี 1) กลไกสนับสนุนการปฏิบัติงานของ ฐานข้อมูล โดยกรมการปกครอง ได้แต่งต้ัง
เจา้ หนา้ ทผ่ี ปู้ ระสานงาน ระหวา่ งกรมการปกครอง คณะกรรมการอำ� นวยการการขบั เคลอื่ นโครงการ
กับท่ีท�ำการปกครองจังหวัด และที่ท�ำการ พัฒนาต�ำบลแบบบูรณาการ (Tambon Smart
ปกครองอำ� เภอ มี 3 ช่องทาง ดงั นี้ (1) เว็บไชต์ Team) ระดับกระทรวงและคณะกรรมการ
www.dopa.go.th แบนเนอร“์ Tambon Smart อ�ำนวยการด�ำเนินงานระดับกรม ก�ำหนดกรอบ
Team” (2) แอปพลิเคชันไลน์แบบกลุ่ม การจัดเก็บข้อมูลเพื่อจัดท�ำชุดค�ำถามส�ำหรับ
ในชอ่ื “Dopa Tambon Smart Team” สำ� หรบั ให้ลกู จ้างเหมาบริการตามโครงการพฒั นาตำ� บล
สอบถามแนวทางการปฏิบัติงานในพื้นที่ และ แบบบรู ณาการ (Tambon Smart Team) ลงพน้ื ท่ี
แนวทางการบรหิ ารงานบคุ คล (3) แอปพลเิ คชนั ไลน์ จัดเก็บข้อมูล เพ่ือจัดท�ำฐานข้อมูลขนาดใหญ่
แบบ Official ในชอ่ื “Tambon Smart Team” (Big Database) และใหข้ อ้ เสนอแนะในกระบวนการ
ส�ำหรับสอบถามปัญหาการเข้าใช้งานระบบ ด�ำเนินงานตลอดโครงการฯ ให้เป็นไปด้วย
Tambon Smart Team ความเรียบร้อย
2) ชอ่ งทางประชาสมั พนั ธส์ ำ� หรบั ประชาชน
ท่วั ไป ส�ำหรับประชาสัมพนั ธ์การปฏิบัตงิ านของ  การก�ำหนดแหล่งที่มาของข้อมูล
ลูกจ้างเหมาบริการตามโครงการพัฒนาต�ำบล           เพ่ือการพฒั นาพืน้ ที่
แบบบรู ณาการ (Tambon Smart Team) ทวั่ ประเทศ
รวมถึงแจ้งข่าวสารท่ีเก่ียวข้องกับโครงการ  กรมการปกครองก�ำหนดให้ลูกจ้าง
มี 2 ชอ่ งทาง ดงั นี้ (1) Facebook ของโครงการฯ เหมาบริการตามโครงการพัฒนาต�ำบลแบบ
ในช่ือ“Tambon Smart Team Fanpage” บูรณาการ (Tambon Smart Team) ลงพนื้ ที่
(2) นติ ยสารเทศาภบิ าล จัดเก็บข้อมูลในหน่วยการจัดเก็บและวิเคราะห์
(2) การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ในระบบแสดงผล ขอ้ มลู (Unit of Analysis) ระดบั หมบู่ า้ น/ชมุ ชน
(Data Visualization) เป็นการเข้าถึงชุดข้อมูล จำ� นวน 80,596 แหง่ ทั่วประเทศ ประกอบดว้ ย
จากฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Database) 75,012 หมู่บ้าน 5,584 ชุมชน โดยข้อมูล
ที่ลูกจ้างเหมาบริการตามโครงการพัฒนาต�ำบล ที่จัดเก็บเป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ท่ีมีความเป็น
แบบบูรณาการ (Tambon Smart Team) พลวตั ในระดบั ทตี่ ำ�่ (StaticData)หรอื มคี วามเปลย่ี นแปลง
ลงพนื้ ทจ่ี ดั เกบ็ ขอ้ มลู ตลอดโครงการฯ ซง่ึ ภาคสว่ น ของข้อมลู นอ้ ย เช่น ขอ้ มูลทางกายภาพ ขอ้ มลู
ของรัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม สถานท่ีส�ำคัญประเภทต่าง ๆ ข้อมูลระบบ
และประชาชนท่ัวไป สามารถเข้าถึงข้อมูล สาธารณูปโภค ข้อมูลพ้ืนท่ีจุดเส่ียง ภัยพิบัติ
ผ่านระบบแสดงข้อมูลแบบ Dashboard ซึ่งมี ทางธรรมชาติ ข้อมูลประเภทของที่ดิน เป็นต้น
ซง่ึ เปน็ ขอ้ มลู พน้ื ฐานทส่ี ามารถนำ� ไปใชป้ ระโยชน์

วารสารดำ�รงราชานุภาพ 65

ในการสนับสนุนการจัดท�ำแผนและประสาน (2) การประชุมส่วนราชการระดับ
แผนพัฒนาพื้นที่ในระดับต่าง ๆ ตั้งแต่ในระดับ กรม และรฐั วสิ าหกจิ ในสงั กดั กระทรวงมหาดไทย
หมบู่ า้ น/ชมุ ชน ต�ำบลและอำ� เภอ ประกอบด้วย 7 กรม และ 6 รัฐวิสาหกิจ
 กรมการปกครองไดก้ ำ� หนดหมวดหมู่ มีการประชมุ รว่ มกนั จำ� นวน 3 ครัง้ เพอ่ื ก�ำหนด
ในการจัดเกบ็ ข้อมูลอยา่ งชัดเจน โดยการจดั เก็บ หัวข้อส�ำหรับการจัดเก็บข้อมูลส�ำคัญในระดับ
ขอ้ มูลผ่านชุดค�ำถาม จ�ำนวน 12 ด้าน ได้แก่ หมู่บ้าน/ชุมชน ท่ีอยู่ในความรับผิดชอบ
1) ดา้ นโครงสรา้ งพนื้ ฐานและกายภาพ ของแตล่ ะหนว่ ยงาน รวมถงึ บรู ณาการและเชอ่ื มโยง
2) ดา้ นการปกครองและความมน่ั คง ฐานขอ้ มลู เพอ่ื การพฒั นาพน้ื ทใ่ี นความรบั ผดิ ชอบ
3) ดา้ นสาธารณภัย ของแต่ละหนว่ ยงาน
4) ด้านสาธารณสุข (3) ความร่วมมือกับส่วนราชการ
5) ด้านทีด่ นิ นอกสังกดั กระทรวงมหาดไทย และภาคประชา-
6) ด้านการผังเมือง สงั คมตา่ ง ๆ เพอ่ื บรู ณาการจดั ทำ� ชดุ ขอ้ มลู คำ� ถาม
7) ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม และการใช้ประโยชน์จากข้อมูลท่ีจัดเก็บ โดย
8) ด้านเศรษฐกจิ หน่วยงานที่ได้มีการประสานความร่วมมือกับ
9) ดา้ นเกษตรกรรม กรมการปกครอง อาทิ ส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ
10) ดา้ นอตุ สาหกรรม ประสานขอใช้ข้อมูลด้านโครงสร้างพื้นฐาน
11) ดา้ นการบรกิ ารและการทอ่ งเทยี่ ว และกายภาพ เพ่ือประกอบการจัดท�ำข้อมูล
และ สำ� มะโนประชากร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
12) ด้านสังคมและการศึกษา ได้มีการประสาน ความร่วมมือในชั้นต้น
 กรมการปกครองได้ประชุมปรึกษา ขอความรว่ มมอื ลกู จา้ งเหมาบรกิ ารฯ ดำ� เนนิ การ
หารอื รว่ มกบั หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง โดยบรู ณาการ ส�ำรวจข้อมูลฟาร์มสุกรในพ้ืนที่ และมูลนิธิ
ก�ำหนดกรอบแนวทางการจัดเก็บข้อมูลเพ่ือ สาธารณสขุ แหง่ ชาติ (มสช.) ประสานขอความรว่ มมอื
การพฒั นาพน้ื ทก่ี บั สว่ นราชการระดบั กรม หนว่ ยงาน ลกู จ้างเหมาบริการฯ ส�ำรวจข้อมลู ด้านสุขภาวะ
รัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงมหาดไทย และ ของคนไทย เปน็ ตน้
ความรว่ มมอื กบั สว่ นราชการนอกสงั กดั กระทรวง
มหาดไทย และภาคประชาสังคมต่าง ๆ ดังนี้  ชุดค�ำถามข้อมูลเพื่อการพัฒนา
(1) การประชุมหน่วยงานภายใน พ้ืนที่ (ฐานข้อมูลฯ ท่ีมีการจัดเก็บ
ของกรมการปกครอง เปน็ การประชมุ เพอ่ื กำ� หนด ณ เดอื นพฤษภาคม 2564)
หวั ขอ้ สำ� หรบั การจดั เกบ็ ขอ้ มลู สำ� คญั ตา่ ง ๆ ในระดบั
หมู่บ้าน/ชุมชน เพ่ือน�ำมาใช้ประโยชน์  ชดุ ค�ำถามท่ี 1 ประจำ� เดือนตลุ าคม
ในการพัฒนางาน และการวางแผนพัฒนาพื้นที่ พ.ศ. 2563 : ขอ้ มลู ทตี่ งั้ และสภาพทวั่ ไปของหมบู่ า้ น
ของอำ� เภอ ตำ� บล หมบู่ า้ น/ชมุ ชน จำ� นวน 1 ครง้ั  ชุดค�ำถามที่ 2 ประจ�ำเดือน
พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2563 : ข้อมูลสถานทรี่ าชการ
และสถานทส่ี ำ� คญั ทต่ี งั้ อยภู่ ายในหมบู่ า้ น/ชมุ ชน

66 วารสารด�ำ รงราชานุภาพ

 ชดุ ค�ำถามที่ 3 ประจำ� เดอื นธนั วาคม ข้อมูลในระบบตาม Platform ในเว็บไซต์
พ.ศ. 2563 : ขอ้ มลู พนื้ ทเ่ี สยี่ งสาธารณภยั ภายใน จากนั้นพิมพ์ข้อมูลออกมาในรูปแบบเอกสาร
หมู่บ้าน/ชุมชน (ในรอบ 20 ปีท่ีผ่านมา เพื่อใหก้ �ำนัน ผใู้ หญ่บา้ น ผชู้ ว่ ยผ้ใู หญบ่ ้าน หรือ
พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2563) ผู้น�ำชุมชน ตรวจสอบและลงลายมือชื่อรับรอง
 ชุดค�ำถามที่ 4 ประจ�ำเดือน ความถูกตอ้ งของข้อมลู
มกราคม - กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 : ข้อมลู ดา้ น  ข้ันตอนการตรวจสอบ : ลูกจ้าง
การบริหารงานปกครองและความมั่นคงภายใน เหมาบรกิ ารฯ ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู
หมบู่ า้ น/ชมุ ชน ทไ่ี ดบ้ นั ทกึ ในระบบอกี ครง้ั หากพบวา่ ขอ้ มลู ไมถ่ กู ตอ้ ง
 ชดุ ค�ำถามที่ 5 ประจำ� เดอื นมนี าคม ให้ย้อนกลับไปแก้ไขข้อมูลในระบบ และหาก
พ.ศ. 2564 : ขอ้ มลู ดา้ นสาธารณสขุ ในหมบู่ า้ น/ชมุ ชน ขอ้ มลู ถกู ตอ้ งใหท้ ำ� การยนื ยนั ขอ้ มลู ในระบบ และ
 ชุดค�ำถามท่ี 6 ประจ�ำเดือน กำ� นนั ผใู้ หญบ่ า้ น ผชู้ ว่ ยผใู้ หญบ่ า้ น หรอื ผนู้ ำ� ชมุ ชน
เมษายน พ.ศ. 2564 : ข้อมูลด้านท่ีดินและ ตรวจสอบและลงลายมือชื่อรับรองความถูกต้อง
การผงั เมือง ของข้อมูล
 ชุดค�ำถามท่ี 7 ประจ�ำเดือน  ข้ันตอนการยืนยัน : ปลัดอ�ำเภอ
พฤษภาคมพ.ศ.2564:ขอ้ มลู ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติ ผรู้ บั ผดิ ชอบประจำ� ตำ� บล ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง
และสิ่งแวดล้อม ของขอ้ มลู ในระบบทล่ี กู จา้ งเหมาบรกิ ารฯ ไดย้ นื ยนั
สง่ มาให้ หากพบวา่ ขอ้ มูลไม่ถูกตอ้ งให้ย้อนกลับ
 วธิ กี าร และขน้ั ตอนการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ไปแกไ้ ขขอ้ มลู ในระบบ และหากขอ้ มลู ถกู ตอ้ งใหท้ ำ�
กรมการปกครอง การยนื ยนั ขอ้ มลู ในระบบ เมอ่ื ทำ� การยนื ยนั ขอ้ มลู
ดงั กลา่ วแลว้ จะถอื วา่ เปน็ ขอ้ มลู ทถี่ กู ตอ้ งสมบรู ณ์
ศูนย์สารสนเทศเพื่อการบริหารงาน ทั้งน้ี กรมการปกครองได้แจ้งแนวทาง
ปกครอง ได้จัดทำ� เว็บไซต์โครงการพัฒนาต�ำบล ในการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ตามโครงการฯ ในคมู่ อื ปฏบิ ตั งิ าน
แบบบูรณาการ (Tambon Smart Team) โครงการพฒั นาตำ� บลแบบบรู ณาการ (Tambon
เข้าถึงได้จาก https://surveytambon.dopa. Smart Team) สำ� หรบั ลกู จา้ งเหมาบรกิ ารฯ โดย
go.th/tst/login.php ส�ำหรับเป็น Platform กรมการปกครองได้เผยแพร่คู่มือปฏิบัติงานฯ
ในการบันทึกและจัดเก็บข้อมูลโครงการฯ ส�ำหรับดาวน์โหลดทางเว็บไซต์ของโครงการฯ
โดยปลัดอ�ำเภอผู้ประสานงานประจ�ำต�ำบลเป็น รวมท้ังมีหนังสือแจ้งท่ีท�ำการปกครองจังหวัด
ผู้ก�ำหนดรหัสเข้าใช้งานในระบบให้แก่ลูกจ้าง- และท่ีท�ำการปกครองอ�ำเภอ ศึกษาและปฏิบัติ
เหมาบริการฯ เพ่ือท�ำการบันทึกข้อมูลในระบบ ตามคู่มือปฏิบัติงานฯ เพ่ือให้การจัดเก็บข้อมูล
โดยมขี น้ั ตอนดงั น้ี ของลูกจา้ งเหมาบริการฯ ท่วั ประเทศ เปน็ ไปใน
 ขั้นตอนการจัดเก็บ : ลูกจ้าง ทศิ ทางเดยี วกัน
เหมาบริการฯ จัดเก็บข้อมูลตามชุดค�ำถาม
ท่ีกรมการปกครองก�ำหนด โดยท�ำการบันทึก

วารสารด�ำ รงราชานภุ าพ 67

 ความสอดคล้องระหว่างห้วง - แผนพฒั นาตำ� บล สามารถใชข้ อ้ มลู
ระยะเวลาการจดั เกบ็ ขอ้ มลู และปฏทิ นิ ทจี่ ดั เกบ็ ในชว่ งเดอื นตลุ าคมพ.ศ.2563–กมุ ภาพนั ธ์
การจดั ท�ำแผนพฒั นาพน้ื ท่ี 2564 ในการจัดท�ำแผนพัฒนาต�ำบล ประจ�ำปี
พ.ศ. 2564 และใช้ข้อมูลท่ีจัดเก็บในช่วง
กรมการปกครองไดว้ างกรอบการจดั เกบ็ เดอื นตลุ าคม พ.ศ. 2563 - กันยายน พ.ศ. 2564
ข้อมูลตามโครงการพัฒนาต�ำบลแบบบูรณาการ ในการจดั ทำ� แผนพฒั นาตำ� บล ประจำ� ปี พ.ศ. 2565 ได้
(Tambon Smart Team) โดยแบง่ เปน็ 12 ดา้ น - แผนพัฒนาขององค์กรปกครอง
ในแต่ละด้านจะมีการก�ำหนดเป็นชุดค�ำถาม ส่วนท้องถ่ิน สามารถใช้ข้อมูลที่จัดเก็บในช่วง
จำ� นวนเฉลี่ยประมาณ 40 - 50 คำ� ถามต่อเดือน เดอื นตลุ าคม พ.ศ. 2563 – กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564
หว้ งเวลาการจดั เกบ็ ระหวา่ งเดอื น ตลุ าคม พ.ศ. 2563 ในการทบทวนแผนพัฒนาขององค์กรปกครอง
- กนั ยายน พ.ศ. 2564 รวมจำ� นวน 12 เดอื น ทงั้ นี้ สว่ นทอ้ งถนิ่ ฉบับทบทวนปี พ.ศ. 2564 และ
เป็นไปตามข้อเสนอโครงการพัฒนาต�ำบลแบบ ใชข้ อ้ มลู ทจี่ ดั เกบ็ ในชว่ งเดอื น ตลุ าคม พ.ศ. 2563
บูรณาการ (Tambon Smart Team) ทไ่ี ด้ผา่ น - กันยายน พ.ศ. 2564 ในการจัดแผนพัฒนา
มตคิ ณะรฐั มนตรี เมอื่ วนั ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ 5 ปี (พ.ศ. 2566
การเช่ือมโยงและการใช้ประโยชน์ - 2570) ได้
จากฐานข้อมูลที่จัดเก็บเพื่อกระบวนการจัดท�ำ - แผนพฒั นาอำ� เภอ สามารถใชข้ อ้ มลู
แผนพฒั นาพ้ืนท่ี กรมการปกครองมกี ารกำ� หนด ทจ่ี ดั เกบ็ ในชว่ งเดอื น ตลุ าคม พ.ศ. 2563 - เมษายน
แนวทางการด�ำเนินงาน ดังน้ี พ.ศ. 2564 ในการทบทวนแผนพฒั นาอำ� เภอ 5 ปี
1) การใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูล (พ.ศ. 2561 – 2565) ฉบบั ทบทวนปี พ.ศ. 2564
เพื่อการทบทวนและจัดท�ำแผนพัฒนาพื้นที่ และใชข้ อ้ มลู ทจ่ี ดั เกบ็ ในชว่ งเดอื น ตลุ าคม พ.ศ. 2563
โดยการทบทวน และจัดท�ำแผนพัฒนาพ้ืนที่ - กนั ยายน พ.ศ. 2564 ในการจดั แผนพฒั นาอำ� เภอ
ในแต่ละระดับ สามารถใช้ประโยชน์จากฐาน 5 ปี (พ.ศ. 2566 – 2570) ซึง่ จะต้องด�ำเนนิ การ
ขอ้ มูลได้ ดังนี้ ใหแ้ ล้วเสรจ็ ภายในปี พ.ศ. 2565 ได้
- แ ผ น พั ฒ น า ห มู ่ บ ้ า น / ชุ ม ช น 2) การใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูล
สามารถใช้ข้อมูลที่จัดเก็บในช่วงเดือนตุลาคม เพอ่ื การจดั ทำ� ธนาคารโครงการ (Project Bank)
- ธันวาคม พ.ศ. 2563 ในการจัดทำ� แผนพฒั นา ในระดบั หมบู่ า้ น ตำ� บล อำ� เภอ เพอ่ื รองรบั การขอรบั
หมู่บ้าน/ชุมชน ประจ�ำปี พ.ศ. 2564 และ การสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานต่าง ๆ
ใชข้ อ้ มลู ทจ่ี ดั เกบ็ ในชว่ งเดอื น ตลุ าคม พ.ศ. 2563 ท้ังภาครัฐ เอกชน องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่
- กนั ยายน พ.ศ. 2564 ในการจดั แผนพฒั นาหมบู่ า้ น รวมถึงการขับเคลื่อนนโยบายเฉพาะกิจเร่งด่วน
/ชุมชน ประจ�ำปี พ.ศ. 2565 ได้ ของรฐั บาล

68 วารสารด�ำ รงราชานุภาพ

ผลการปฏบิ ตั ิงานท่เี ปน็ แบบอยา่ งที่ดี (Best Practices)

จากการขบั เคลอ่ื นโครงการพฒั นาต�ำบลแบบบรู ณาการ (Tambon Smart Team)

เรือ่ งท่ี 1 : การแปรรปู เพอ่ื เพม่ิ มูลคา่ ขา้ วของเกษตรแปลงใหญ่ กลมุ่ ธนาคารเมลด็ ข้าว
ชุมชนบา้ นครึ่งใต้ – ประชาภวิ ัฒน์ ต�ำบลคร่งึ อ�ำเภอเชียงของ จงั หวดั เชยี งราย

     หลกั การและความส�ำคัญของโครงการ/กิจกรรม

ประชากรหมบู่ า้ นครงึ่ ใต้ - ประชาภวิ ฒั น์ ลกู จา้ งเหมาบรกิ ารโครงการพฒั นาตำ� บล
ประกอบอาชีพเกษตรกรชาวนาเป็นส่วนใหญ่ แบบบูรณาการได้จัดท�ำแผนธุรกิจเพ่ือเพ่ิม
และบางส่วนผลิตข้าว ที่ได้มาตรฐานการปฏิบัติ ช่องทางการจ�ำหน่ายและเพ่ิมรายได้ให้กับ
ทางการเกษตรท่ีดี (Good Agricultural เกษตรกร ดว้ ย 2 หลกั การ 2 แนวคดิ ได้แก่
Practices : GAP) แตเ่ กษตรกรยงั คงประสบปญั หา - หลักการที่ 1 ตลาดน�ำการผลติ คอื
หนี้สินครัวเรือนท่ีเพ่ิมขึ้น เนื่องจากราคาข้าว การผลิตข้าวให้ตรงกับความต้องการของตลาด
ขาดเสถยี รภาพ ขาดสภาพคลอ่ งในการซอ้ื - ขาย โดยสนบั สนนุ ใหเ้ กษตรกรเชอ่ื มโยงกบั หนว่ ยงานตา่ งๆ
อกี ทง้ั เกษตรกรยงั จำ� หนา่ ยขา้ วใหก้ บั โรงสเี อกชน ทั้งภาครัฐ เอกชน และผูค้ า้ โดยมตี ลาดทสี่ ำ� คญั
เท่าน้ัน ท�ำให้จ�ำหน่ายข้าวได้ในราคาที่ต่�ำ ได้แก่ 1) ตลาดภายใน 2) ตลาดออนไลน์ และ
และเปน็ ราคาเดยี วกบั ขา้ วทไี่ มไ่ ดม้ าตรฐาน GAP 3) ตลาดตา่ งประเทศ
ประกอบกบั ประสบปญั หาภยั แลง้ บา้ ง อทุ กภยั บา้ ง - หลักการท่ี 2 เศรษฐกิจพอเพียง
แต่เกษตรกรไม่สามารถน�ำองค์ความรู้ได้รับ ประกอบไปดว้ ย 3 หว่ ง 2 เงอื่ นไข ไดแ้ ก่ หว่ งท่ี 1
จากการอบรมมาปรบั ใชห้ รอื แกป้ ญั หาทเ่ี กดิ ขน้ึ ได้ พอประมาณ ห่วงท่ี 2 เกษตรกรมีความรู้
นอกจากน้ีในด้านเทคโนโลยีการใช้เครื่องจักร ด้านกระบวนการผลิตข้าว และ ห่วงท่ี 3
ทไี่ ม่ไดม้ าตรฐาน ทำ� ใหผ้ ลผลิตทีไ่ ดห้ ลงั จากผ่าน มภี มู คิ มุ้ กนั ทด่ี ี เกษตรกรเขา้ รว่ มโครงการสง่ เสรมิ
กระบวนการสขี า้ วมปี รมิ าณลดลง ปญั หาการขาด การท�ำนาเชิงอุตสาหกรรม (นาแปลงใหญ่)
ตลาดรองรับ ท�ำให้เกิดการปรับตัวเพ่ือเพ่ิมช่อง ส�ำหรับ 2 เง่ือนไข ประกอบด้วย เง่ือนไขท่ี 1
ทางการจ�ำหน่ายและเพ่ิมรายได้ให้กับเกษตรกร ความรู้ รอบรู้ รอบคอบในเรอ่ื งทที่ ำ� และเงอ่ื นไขที่ 2
โดยหมู่บ้านครึ่งใต้และหมู่บ้านประชาภิวัฒน์ คณุ ธรรม ผลติ ขา้ วดว้ ยความจรงิ ใจ ซอ่ื สตั ย์ ใสใ่ จ
ได้เข้าร่วมโครงการเกษตรแปลงใหญ่ภายใต้ชื่อ ผ้บู ริโภค
แปลง “แปลงใหญ่ข้าวกลมุ่ ธนาคารเมล็ดพันธุ์ - แนวคิดท่ี 1 ประตู 6 บาน เพ่อื แก้ไข
ขา้ วชมุ ชนบา้ นครึง่ ใต้ - ประชาภิวัฒน์ อ�ำเภอ ปัญหาการเกษตร ส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาสู่
เชยี งของ จงั หวดั เชยี งราย” เมอ่ื เดอื นมถิ นุ ายน ความยงั่ ยนื
พ.ศ. 2559 มีสมาชิกท้ังหมด 152 ครัวเรือน - แนวคดิ ที่ 2 เกษตรปลอดภัย GAP
เป็นเกษตรกร 142 ราย รวม 2,493 ไร่

วารสารดำ�รงราชานภุ าพ 69

 จุดมุ่งหมาย/เป้าหมาย บ้านครึ่งใต้ - ประชาภิวัฒน์ และขยายผลไปสู่
 เพื่อดูแลเกษตรกรแปลงใหญ่ใน การไดร้ บั การสนบั สนนุ งบประมาณรายจา่ ยประจำ�
พนื้ ท่ี 4,636 ไร่ ใหส้ มาชกิ ในกลมุ่ มรี ายไดท้ มี่ นั่ คง ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 งบกลาง รายการเงิน
เปน็ ชมุ ชนเขม้ แขง็ มกี ารบรหิ ารจดั การทดี่ ภี ายในกลมุ่ ส�ำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจ�ำเป็นของ
และขยายผลเช่ือมโยงสู่กลุ่มเกษตรกรในพ้ืนท่ี รองนายกรฐั มนตรี (พลเอกประวติ ร วงษส์ วุ รรณ)
อำ� เภอเชยี งของ  ต่อยอดชุมชนเพื่อเป็นต้นแบบ
 เพ่ือการผลิตข้าวให้ได้มาตรฐาน ในการผลติ เมลด็ พนั ธข์ุ า้ วสกู่ ารขยายผลในพน้ื ทอ่ี น่ื ๆ
เกษตรปลอดภัย GAP และเป็นศูนย์กลางเมล็ด รวมทั้งการต่อยอดการจ�ำหน่ายเมล็ดพันธุ์ข้าว
พันธข์ุ ้าว ภายใต้แบรนด์ ปิฎก 310
 เพอ่ื การบรหิ ารจดั การน�ำ้ ได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ  ผ ลสัมฤทธิ์/ประโยชนท์ ่ไี ดร้ บั
 สมาชิกเกษตรแปลงใหญ่กลุ่ม
 การด�ำเนนิ งานของอ�ำเภอ ธนาคารเมลด็ ขา้ วชมุ ชนบา้ นครงึ่ ใต้ - ประชาภวิ ฒั น์
 ลูกจ้างเหมาบริการตามโครงการ ยกระดบั ขดี ความสามารถใหม้ ที กั ษะในการผลติ
พัฒนาต�ำบลแบบบรู ณาการ (Tambon Smart และสรา้ งมลู คา่ เพม่ิ ดว้ ยเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม
Team) อำ� เภอเชยี งของ สนบั สนนุ การแปรรปู ขา้ ว ภายใต้หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ภายใต้แบรนด์ “ปิฎก 310” ด้านการตลาด  เกิดการท�ำการเกษตรปลอดภัย
ออนไลน์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ รวมทั้ง เกษตรชีวภาพ และสร้างความเข้มแข็งให้
การท�ำสอ่ื ประชาสมั พันธ์ องค์กรชาวนาในชุมชน ให้คิดอย่างมีวิสัยทัศน์
 จัดท�ำแผนธุรกิจกลุ่มวิสาหกิจ ท�ำอย่างเป็นระบบ ให้สามารถพัฒนาเศรษฐกิจ
เกษตรแปลงใหญ่ กลมุ่ ธนาคารเมลด็ ขา้ ว ชมุ ชน ฐานรากไดอ้ ยา่ งมน่ั คง พงึ่ พาตนเองไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื
บ้านครึ่งใต้ - ประชาภิวัฒน์ เพ่ือการลงนาม  เกิดการพัฒนาธุรกิจแบบครบ
บันทึกข้อตกลงการพัฒนาคุณภาพผลผลิตและ วงจรให้สามารถเป็นต้นแบบ ขยายผลสู่กลุ่ม
การตลาดข้าวแบบบรู ณาการ (MOU) ธรุ กิจชุมชนอ่นื ๆ การแปรรปู เพอ่ื เพ่มิ มลู ค่าข้าว
 ร่วมขับเคลื่อนโครงการเสริมสร้าง เ พ่ื อ ก า ร พั ฒ น า ชี วิ ต ค ว า ม เ ป ็ น อ ยู ่ ท่ี ดี ข อ ง
ศักยภาพการแปรรูปเพ่ือเพิ่มมูลค่าข้าวของ ประชาชนในพ้ืนที่ระดับต�ำบลสู่การขยายผล
เกษตรแปลงใหญ่ กล่มุ ธนาคารเมลด็ ขา้ ว ชมุ ชน ในระดบั อำ� เภอตอ่ ไป

70 วารสารด�ำ รงราชานภุ าพ

วารสารด�ำ รงราชานุภาพ 71

เร่อื งที่ 2 : การพัฒนาการท่องเท่ียว 5 เชียง (5 เชียงน้อย) เช่ือมโยงเส้นทางการท่องเทีย่ ว
2 จงั หวัดภาคเหนอื ตอนบน อ�ำเภอเชยี งของ จงั หวัดเชยี งราย

      หลักการและความส�ำคัญของโครงการ/กจิ กรรม

แนวทางการพัฒนาของกลุ่มจังหวัด  เพ่ือขับเคลื่อนการพัฒนาและ
ภาคเหนอื ตอนบน 2 (พ.ศ. 2561-2565) (จงั หวดั ยกระดับการท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรม
เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน) มีเป้าหมาย อารยธรรมล้านนา โดยสอดคล้องกับแผน
การพัฒนากลุ่มจังหวัดคือ “ประตูการค้าสากล การพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2
โดดเดน่ วฒั นธรรมลา้ นนา สนิ คา้ เกษตรปลอดภยั ให้เกิดการพัฒนาด้านการท่องเท่ียว รวมถึง
ประชาชนรว่ มใจอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาต”ิ การบริการให้มมี าตรฐาน
ซงึ่ เมอ่ื กลา่ วถงึ วฒั นธรรมลา้ นนาทเี่ ปน็ การเชอื่ มโยง  เพ่ือสรา้ งรายได้จากการท่องเทยี่ ว
เส้นทางท่องเท่ียวในพ้ืนท่ีกลุ่มจังหวัดภาคเหนือ ให้แก่ชุมชน และเกิดการกระตุ้นอุตสาหกรรม
ตอนบน 2 มเี มอื งทม่ี คี ำ� ขน้ึ ตน้ ดว้ ยคำ� วา่ “เชยี ง” การท่องเที่ยวในเส้นทาง 5 เชียง (เชียงราย
ได้แก่ จังหวดั เชียงราย ประกอบด้วย เชยี งราย เชยี งแสน เชียงของ เชยี งคำ� เชียงม่วน)
เชยี งแสน เชยี งของ และจงั หวดั พะเยา ประกอบดว้ ย  เพอื่ เกดิ ภาพลกั ษณท์ ด่ี ดี า้ นการสง่ เสรมิ
เชียงค�ำ และเชียงม่วน ซึ่งมีความเช่ือมโยงกัน การท่องเท่ยี วของประเทศ
ของมติ ทิ างสงั คม วฒั นธรรมและความเกยี่ วโยง  เพื่อเพ่ิมจ�ำนวนนักท่องเท่ียว
ของเช้ือชาติ ภาษา อาหาร ที่มีเอกลักษณ์ ท้งั ในประเทศและตา่ งประเทศ
เฉพาะตวั ดงั นน้ั เพอ่ื สง่ เสรมิ การทอ่ งเทยี่ วตามรอย
อาณาจักรล้านนาบนเส้นทางเชื่อมโยงพื้นท่ี       การด�ำเนนิ งานของอ�ำเภอ
2 จังหวัด (เชียงราย - พะเยา) ท่ียังคงคุณค่า  ดำ� เนนิ การสำ� รวจเสน้ ทางการทอ่ งเทย่ี ว
ทางวฒั นธรรมวถิ ชี วี ติ ตามอตั ลกั ษณช์ มุ ชนพน้ื ถน่ิ 5 เชียง (5 เชียงน้อย : เชียงราย เชียงแสน
จงึ ดำ� เนนิ “โครงการพฒั นาการทอ่ งเทย่ี ว 5 เชยี ง เชยี งของ เชยี งคำ� และเชยี งมว่ น) โดยครอบคลมุ
(5 เชยี งนอ้ ย) เชื่อมโยงเสน้ ทางการทอ่ งเทย่ี ว พน้ื ท่ี 2 จงั หวดั เพอื่ รวบรวมขอ้ มลู และจดั ทําฐาน
2 จงั หวดั ภาคเหนอื ตอนบน 2 (เชยี งราย - พะเยา)” ขอ้ มลู เสน้ ทางทอ่ งเทย่ี วทงั้ ประเภท แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว
สินค้าทางการท่องเที่ยว การบริการท่องเท่ียว
      จุดมงุ่ หมาย เปา้ หมาย และประเภทอื่น ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ ง
 เพื่อพัฒนาและน�ำเสนอศักยภาพ  พฒั นาพน้ื ทต่ี ามเสน้ ทางการทอ่ งเทย่ี ว
ของพ้ืนท่ีในเส้นทางการท่องเที่ยว สินค้า และ โดยการสรา้ งแลนดม์ ารค์ (Land Mark) เชอื่ มโยง
บริการ ตามรอยอาณาจกั รล้านนาท่ียังคงคุณคา่ กบั ประวตั ศิ าสตรว์ ฒั นธรรมหรอื วถิ ชี วี ติ ชมุ ชนทอ้ งถน่ิ
ทางวฒั นธรรมวถิ ชี วี ติ และอตั ลกั ษณช์ มุ ชนทอ้ งถน่ิ รวมถึงการพัฒนารูปแบบสินค้า การบริการ

72 วารสารด�ำ รงราชานภุ าพ

และกิจกรรมท่องเที่ยวในเส้นทางการท่องเท่ียว        ผลสัมฤทธ์ิ/ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั
เพ่ือเพ่มิ มูลค่าการทอ่ งเทยี่ ว  เส้นทางการท่องเท่ียวตามรอย
 ด�ำเนินการออกแบบและจัดทํา อาณาจักรล้านนาท่ียังคงคุณค่าทางวัฒนธรรม
โปรแกรมการท่องเที่ยวนําร่องตามเส้นทาง วิถีชีวิตและอัตลักษณ์ชุมชนท้องถ่ิน ในพื้นท่ี
ท่องเท่ียว โดยมีโปรแกรมอํานวยความสะดวก 2 จงั หวัด (เชยี งราย - พะเยา) ซงึ่ ประกอบด้วย
ในการเข้าถึงข้อมูลเพ่ือการท่องเที่ยว (Web เมอื ง 5 เชยี ง (5 เชยี งน้อย : เชียงราย เชียงแสน
service) รวมถึงการจัดทําคู่มือประชาสัมพันธ์ เชยี งของ เชยี งคำ� และเชยี งมว่ น) ไดร้ บั การพฒั นา
เ ส ้ น ท า ง ท ่ อ ง เ ที่ ย ว แ ล ะ แ ผ น ที่ เ ส ้ น ทา ง ศักยภาพให้เป็นเส้นทางท่องเท่ียวที่ส�ำคัญเส้น
การทอ่ งเทย่ี ว 3 ภาษา คอื ภาษาไทย จนี และองั กฤษ ทางหน่ึงของกลมุ่ จังหวดั ภาคเหนือตอนบน 2
ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลด้านต่าง ๆ ได้แก่  เกิดการขับเคล่ือนการพัฒนา
ด้านการท่องเท่ียวบนเส้นทาง เช่น ประเภท และยกระดับการท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรม
แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว ประเภทสนิ คา้ ทางการทอ่ งเทย่ี ว อารยธรรมลา้ นนา รวมถงึ การบรกิ ารดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว
สง่ิ อํานวยความสะดวก ระบบการขนสง่ ทง้ั ทางบก ใหม้ มี าตรฐาน
และทางอากาศ ที่พัก ร้านอาหาร  สร้างรายไดจ้ ากการท่องเท่ยี วให้แก่
 ด�ำเนินการประชาสัมพันธ์ผ่าน ชุมชน และกระตุ้นเศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรม
Website ด้านการท่องเท่ียวที่เป็นที่รู้จัก การทอ่ งเทย่ี วในเส้นทาง 5 เชยี ง (5 เชยี งนอ้ ย :
และเป็นท่ีนิยมท่ัวประเทศ รวมถึงการจัดงาน เชียงราย เชียงแสน เชียงของ เชียงค�ำ และ
แถลงข่าวเพื่อประชาสัมพันธ์โครงการให้เกิดผล เชยี งม่วน)
เป็นรูปธรรม  สรา้ งภาพลกั ษณท์ ด่ี ดี า้ นการสง่ เสรมิ
 จัดประชุมเพ่ือติดตามประเมินผล การท่องเที่ยวของประเทศ
การด�ำเนนิ โครงการ อย่างนอ้ ยเดือนละ 1 ครั้ง  สามารถเพิ่มจ�ำนวนนักท่องเท่ียว
 ด�ำเนินการสรุปผลการด�ำเนิน ทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศ ใหเ้ กดิ การทอ่ งเทยี่ ว
โครงการ ปญั หา อุปสรรค รวมถงึ ขอ้ เสนอแนะ ในเส้นทางวฒั นธรรมล้านนาไดอ้ ยา่ งต่อเนอื่ ง
เพอื่ ใหโ้ ครงการสามารถดำ� เนนิ ตอ่ ไปไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง
และมปี ระสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ขึ้น

วารสารดำ�รงราชานภุ าพ 73

เรื่องที่ 3 : การน�ำรอ่ งการจัดท�ำแผนท่รี ปู แบบ Infographic ในพน้ื ทตี่ �ำบลบา้ นทาม
อ�ำเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบรุ ี

       หลักการและความส�ำคญั ของโครงการ/กจิ กรรม

ประชากรส่วนใหญ่ของต�ำบลบ้านทาม ส่วนผู้ที่อยู่ในชุมชนส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ
รอ้ ยละ 80 ประกอบอาชพี เกษตรกรรม เนอื่ งจาก ผู้ท่ีไม่ค่อยมีความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
สภาพภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมกับการเพาะปลูก ส่งผลให้เกิดปัญหา การส่ือสารท่ีเข้าใจได้ยาก
เลี้ยงสัตว์ ประมงน้�ำจืด จงึ ท�ำใหพ้ น้ื ทข่ี องตำ� บล และไมส่ ามารถประชาสมั พนั ธใ์ หข้ อ้ มลู แกบ่ คุ คล
บ้านทามถูกจัดให้อยู่ในพื้นที่สีเขียว ห้ามสร้าง ภายนอก ได้ทราบสถานท่ีส�ำคัญในชุมชนได้
โรงงานอุตสาหกรรม คนรุ่นใหม่ที่เกิดมา อย่างชัดเจน
ย้ายครอบครัวหรือออกไปท�ำงานในพ้ืนที่ต่าง ๆ

74 วารสารดำ�รงราชานุภาพ

 เพอื่ ใหค้ วามรู้ และสรา้ งความเขา้ ใจ
ในการจัดท�ำแผนท่ีอธิบายเชิงสัญลักษณ์ให้แก่
บุคลากรในชุมชนสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้
ในการสง่ เสรมิ ด้านต่าง ๆ ให้เกิดการบูรณาการ
ความรใู้ นชุมชน

ดังน้นั ลูกจ้างเหมาบริการตามโครงการ        การด�ำเนนิ งานของอ�ำเภอ
พฒั นาต�ำบลแบบบูรณาการ (Tambon Smart  ประชุมวางแผนงานเพื่อก�ำหนด
Team) จึงเล็งเห็นว่าควรจัดท�ำแผนท่ีชุมชน กจิ กรรมของโครงการ และขอบขา่ ยงาน
รูปแบบเชิงสัญลักษณ์ให้แก่ชุมชนน้ี เสนอ  ประชุมวางแผนงานเพื่อเสนอ
โครงการน�ำร่องการจัดท�ำแผนที่รูปแบบ รูปแบบ และข้อสรุปของโครงการ “การน�ำร่อง
Infographic ในพื้นที่ต�ำบลบ้านทาม เพื่อ การจัดท�ำแผนท่ีรูปแบบ Infographic ในพ้ืนที่
เป็นต้นแบบน�ำร่องในการจัดท�ำแผนที่ชุมชน ตำ� บลบา้ นทาม”
รูปแบบอธิบายเชิงสัญลักษณ์ในพ้ืนที่ต�ำบล  เสนอโครงการต่อหัวหน้างาน
บ้านทาม เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมระหว่าง ทรี่ บั ผดิ ชอบ
ผู ้ น� ำ ห มู ่ บ ้ า น กั บ ลู ก จ ้ า ง ต� ำ บ ล ส ม า ร ์ ท ที ม  แบ่งหน้าท่ีให้ลูกจ้างเหมาบริการ
ของอ�ำเภอศรีมหาโพธิ และเพ่ือให้ความรู้ และ ตามโครงการพัฒนาต�ำบลแบบบูรณาการ
สร้างความเข้าใจในการจัดท�ำแผนที่อธิบาย (Tambon Smart Team) โดยแบง่ ตามความถนดั
เชิงสัญลักษณ์ให้แก่บุคลากร ในชุมชนสามารถ ของแตล่ ะบคุ คล ดงั นี้
นำ� ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการสง่ เสรมิ ดา้ นตา่ ง ๆ ใหเ้ กดิ 4.1 ประสานงานระดับหมู่บ้าน
การบูรณาการความรู้ในชุมชน โดยเป็นผู้ติดต่อผู้ใหญ่บ้านหรือบุคคลที่ให้ข้อมูล
ได้อยา่ งครบถว้ น และชดั เจน
      จดุ มุ่งหมาย/เปา้ หมาย 4.2 ลงพ้ืนท่ีเพ่ือสอบถามข้อมูล
 เพอ่ื เปน็ ตน้ แบบน�ำรอ่ งในการจดั ท�ำ ของแผนท่ี พิกัด สถานที่ส�ำคัญ พร้อมท้ัง
แผนท่ีชุมชนรูปแบบอธิบายเชิงสัญลักษณ์ วาดแผนทจ่ี �ำลองมาประกอบในขัน้ ตอ่ ไป
ในพื้นทีต่ ำ� บลบา้ นทาม 4.3 สรุปข้อมูลแผนท่ีของแต่ละ
 เพอ่ื สง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มในการทำ� งาน หมู่บ้าน และสอบถามปลัดประสานงานประจ�ำ
ระหว่างผู้น�ำหมู่บ้าน/ชุมชน และที่ท�ำการ ต�ำบลเพ่อื ความชดั เจน และถูกต้อง
ปกครองอ�ำเภอ 4.4 จดั ทำ� พน้ื หลงั แผนท่ี

วารสารดำ�รงราชานุภาพ 75

4.5 ใส่สญั ลักษณ์ (icon) ลงไปใน  สามารถใช้แผนท่ีชุมชนรูปแบบ
พน้ื หลงั และกำ� หนดสญั ลกั ษณใ์ หต้ รงกบั สถานท่ี อธิบายเชิงสัญลักษณ์ในพ้ืนที่ต�ำบลบ้านทาม
สำ� คัญ ประชาสัมพนั ธแ์ กบ่ คุ คลภายนอกได้
4.6 นำ� เอกสารไปตรวจสอบ โดยให้  บุคลากรในชุมชนมีความรู้ และ
ปลัดประสานงานต�ำบล และผู้ใหญ่บ้านแต่ละ ความเข้าใจในการจัดท�ำแผนท่ีอธิบายเชิง
หมูบ่ า้ นตรวจสอบความถกู ตอ้ ง สัญลักษณ์ และสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้
4.7 ส่งมอบเอกสารใหแ้ ก่ผใู้ หญบ่ า้ น ในการส่งเสริมดา้ นตา่ ง ๆ ใหเ้ กดิ การบรู ณาการ
แต่ละหมเู่ พอื่ ใชป้ ระโยชนต์ อ่ ไป ความรใู้ นชมุ ชน

    ผ ลสัมฤทธ์ิ/ประโยชน์ท่ไี ด้รบั
 ใช้แผนที่ชุมชนรูปแบบอธิบายเชิง
สัญลักษณ์ในพื้นท่ีต�ำบลบ้านทามเป็นต้นแบบ
น�ำร่องในการจัดท�ำ แผนที่ของต�ำบลอ่ืน ๆ ใน
อ�ำเภอศรมี หาโพธิ
 ผู้น�ำหมู่บ้านกับท่ีท�ำการปกครอง
อำ� เภอศรมี หาโพธิมสี ว่ นรว่ มในการจดั ท�ำแผนที่

เรอ่ื งเลา่ ประสบการณเ์ทคนคิ การจดั ทำ� แผน : จากโครงการพฒั นานกั ยทุ ธศาสตร์
เพอ่ื ปฏริ ปู ประเทศเชงิ บรู ณาการ (Strategist Development Program)
ณ สำ� นกั เลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี

วิชา จันทรก์ ลม1

 Strategist Development Program ได้สร้างผลงานในระดับประเทศ ไปพร้อม ๆ
และ PWST คือ ? กับการเสริมสร้างประสบการณ์ ทักษะ และ
องค์ความรู้ท่ีหลากหลายซ่ึงจะเป็นประโยชน์
• อัจฉริยะบุคคลชื่อก้องโลกอย่าง ต่อข้าราชการที่เข้าร่วมโครงการ และ
อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ กล่าวว่า “The only เป็นประโยชน์ต่องานราชการทั้งในส่วนของ
source of knowledge is experience.” ส่วนราชการเจ้าภาพโจทย์ และส่วนราชการ
ซ่ึงหมายความว่า “แหล่งก�ำเนิดของความรู้ ต้นสังกัดท่ีบุคลากรในสังกัดจะได้รับการพัฒนา
เพียงแห่งเดียว คือ ประสบการณ์” ดังน้ัน ให้มีประสบการณ์ที่หลากหลายและมีสมรรถนะ
บทความ “เร่ืองเล่าประสบการณ์เทคนิค เพ่ิมข้ึน ผ่านกลไกการมอบหมายให้เข้าร่วม
การจัดทำ� แผน” น้ี จึงมีวัตถปุ ระสงค์เพอื่ แบ่งปัน เป็นทีมปฏิบัติงานเรียกว่า Policy Work/
ความรู้ท่ีได้รับจากการท่ีผู้เขียนได้เข้าร่วม Study Team (PWST) ในโครงการเชงิ ยทุ ธศาสตร/์
โครงการพัฒนานักยุทธศาสตร์เพื่อการปฏิรูป โครงการส�ำคัญระดับประเทศท่ีหน่วยงาน
ประเทศเชงิ บรู ณาการ (Strategist Development เจ้าภาพโจทยก์ �ำหนดข้ึน
Program) ณ ส�ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี • การด�ำเนินงาน “โครงการพัฒนา
เปน็ ระยะเวลา 1 ปี ตง้ั แตว่ นั ท่ี 1 เมษายน พ.ศ. 2563 นักยุทธศาสตร์เพื่อปฏิรูประเทศเชิงบูรณาการ
– 31 มีนาคม พ.ศ. 2564 ซงึ่ นา่ จะเป็นประโยชน์ (Strategist Development Program)”
ตอ่ นกั วางแผนยทุ ธศาสตรท์ งั้ หลายไมม่ ากกน็ อ้ ย รอบ 1 เมษายน พ.ศ. 2563 (วนั ที่ 1 เมษายน
• โครงการพัฒนานักยุทธศาสตร์ พ.ศ. 2563 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2564)
เพื่อปฏิรูปประเทศเชิงบูรณาการ (Strategist มสี ว่ นราชการเจา้ ภาพโจทยเ์ ขา้ รว่ ม จำ� นวนทง้ั สน้ิ
Development Program) เป็นโครงการ 16 หนว่ ยงาน รวม 16 โจทย์ และมขี า้ ราชการ
ท่ีส�ำนักงาน ก.พ. จัดท�ำขึ้นตามแนวทางทาง ที่ไดร้ ับเลือก ใหเ้ ข้าร่วมโครงการ จำ� นวน 25 คน
การรกั ษากลมุ่ กำ� ลงั คนคณุ ภาพ (Talent Retention) โดยส�ำนักงาน ก.พ. เป็นหน่วยงานกลางใน
เพอ่ื เปดิ โอกาสใหข้ า้ ราชการทไ่ี ดร้ บั การคดั เลอื ก

1เดิมต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการกลุ่มงานบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง
ผู้อำ� นวยการกลุ่มงานอำ� นวยการ ส�ำนกั งานจังหวดั อดุ รธานี

วารสารดำ�รงราชานุภาพ 77

การประสานงานเพ่ือให้หน่วยงานเจ้าภาพโจทย์ • ผเู้ ขยี นไดร้ บั เลอื กใหเ้ ขา้ รว่ มโครงการ
มีหนังสือยืมตัวข้าราชการที่ได้รับการคัดเลือก เพื่อปฏิบัติงานตามโจทย์ของส�ำนักเลขาธิการ
เพอื่ ใหส้ ว่ นราชการต้นสังกัดมีค�ำส่ังให้ผู้ท่ีได้รับ นายกรัฐมนตรี เร่ือง “โครงการพัฒนาระบบ
การคัดเลือกไปปฏิบัติงาน ณ ส่วนราชการ ติดตามการด�ำเนินงานตามนโยบายรัฐบาล
เจา้ ภาพโจทย์ เป็นระยะเวลา 1 ปี โดยผู้เขา้ ร่วม และขอ้ สงั่ การนายกรฐั มนตร”ี โดย ไปปฏบิ ตั งิ าน
โครงการจะได้รับสิทธิประโยชน์จากการเข้าร่วม ณ สำ� นกั เลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี เปน็ ระยะเวลา
โครงการ ได้แก่ (1) การเพิ่มพูนประสบการณ์ 1 ปี ส�ำหรับเหตุผลที่เลือกปฏิบัติงานในโจทย์
ในงานทห่ี ลากหลายตามมาตรฐานกําหนดตําแหนง่ ดังกล่าว เน่ืองจากเห็นว่ามีลักษณะงาน
ประเภทอํานวยการ เพื่อใช้เป็นคุณสมบัติ ที่ เ กี่ ย ว ข ้ อ ง กั บ ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น ก า ร แ ป ล ง
ประกอบการพิจารณาให้ด�ำรงต�ำแหน่งท่ีสูงขึ้น ยุทธศาสตร์ชาติ แผนระดบั ตา่ ง ๆ และนโยบาย
ในประเภทอ�ำนวยการของต้นสังกัดต่อไปใน รัฐบาลไปสู่การปฏิบัติในพ้ืนที่ และน่าจะเป็น
อนาคต (2) การได้รับทุนฝึกอบรมเพ่ือพัฒนา ประโยชน์ต่อหน้าท่ีความรับผิดชอบในฐานะ
เฉพาะด้าน และ (3) โอกาสในการพิจารณา นักวางแผนยุทธศาสตร์ของส�ำนักงานปลัด
ความดีความชอบเพิม่ ขึน้ (Top - Up) ร้อยละ 1 กระทรวงมหาดไทยเม่ือกลับคืนต้นสังกัด
และรางวัลตอบแทนเป็นทีมงาน (**อยู่ระหว่าง ซ่ึงในการสมัครเข้าร่วมโครงการ นอกจาก
การพจิ ารณา) จ ะ ด� ำ เ นิ น ก า ร ส มั ค ร ผ ่ า น ร ะ บ บ อ อ น ไ ล น ์

78 วารสารด�ำ รงราชานุภาพ

โดยกรอกขอ้ มลู เกยี่ วกบั คณุ สมบตั ติ า่ ง ๆ และจดั สง่ ผู้บริหารกลุ่มจังหวัด/จังหวัด/เมือง นักวิชาการ
ใบสมัครพร้อมเอกสาร ท่ีเกี่ยวข้องให้ต้นสังกัด นักทอ่ งเท่ยี ว และผู้ประกอบการจากทว่ั ทุกภาค
ตามล�ำดับช้ัน เพ่ือให้ต้นสังกัดพิจารณาอนุญาต ของประเทศ รวมทั้งจากประเทศเพ่ือนบ้าน
ให้เข้าร่วมโครงการ หากได้รับการคัดเลือกแล้ว ในอนภุ ูมิภาคลุ่มนำ�้ โขง ได้แก่ กมั พชู า จนี ลาว
ยังต้องน�ำเสนอผลงานที่ภาคภูมิใจ ซ่ึงผู้เขียนได้ และเวียดนามเข้าร่วมงานทั้งการออกร้าน
นำ� เสนอผลงานเมอื่ ครงั้ ดำ� รงตำ� แหนง่ ผอู้ ำ� นวยการ การน�ำศิลปะการแสดงท้องถิ่นมาร่วมจัดแสดง
กลุ่มงานยุทธศาสตร์และข้อมูลเพ่ือการพัฒนา ในงานการประชุมทางวิชาการ การจัดกิจกรรม
จงั หวัด สำ� นกั งานจงั หวดั อุดรธานี เพื่อประกอบ จบั คธู่ รุ กจิ (Business Matching) การประกวดตา่ ง ๆ
การพจิ ารณาคดั เลอื กของคณะกรรมการคดั เลอื ก เพ่ือให้เกิดการสร้างสรรค์และสร้างมูลค่าเพ่ิม
จ�ำนวน 3 เรื่อง ได้แก่ ใหแ้ กผ่ ลติ ภณั ฑผ์ า้ ทอพนื้ เมอื งของจงั หวดั อดุ รธานี
1) โครงการเสริมสร้างเยาวชนรุ่นใหม่ และของภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
จงั หวดั อดุ รธานี (UD New Generation) ซง่ึ เปน็ 3) การจัดท�ำแผนแม่บทเมืองอัจฉริยะ
โครงการเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (Smart City) จังหวัดอุดรธานี เพื่อขับเคลื่อน
และยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริม แผนยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาดิจิทัลเพ่ือ
สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ให้มีทักษะท่ี เศรษฐกจิ และสงั คม และนโยบายของรฐั บาลทไี่ ด้
เหมาะสมในศตวรรษท่ี 21 ใหแ้ กเ่ ดก็ และเยาวชน แถลงตอ่ รฐั สภา เมอื่ วนั ที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
ของจังหวัดอุดรธานี มีทักษะท่ีพึงประสงค์รวม เรื่อง การส่งเสริมและเร่งรัดการพัฒนาเมือง
3 ประการ ได้แก่ (1) ทกั ษะภาษา (Language อจั ฉรยิ ะนา่ อยู่ท่วั ประเทศ
Skills) (2) ทกั ษะด้านการวางแผนการประกอบ
อาชพี (Career Planning Skills) และ (3) ทกั ษะ  การปฏิบัติงาน (Works) ของทีม
ชีวติ (Life Skills) PWST ส�ำนกั เลขาธิการนายกรฐั มนตรี
2) โครงการจัดงานมหกรรมผ้าทอมือ
อนภุ มู ภิ าคลมุ่ นำ้� โขง (GMS Fabric Expo) ซง่ึ เปน็ • ส�ำหรับการปฏิบัติงานตามโจทย์
โครงการเพอ่ื ขบั เคลอ่ื นแผนพฒั นาภาคตะวนั ออก “โครงการพัฒนาประสิทธิภาพระบบติดตาม
เฉียงเหนือ และยุทธศาสตร์ส่งเสริมจังหวัด นโยบาย และข้อสั่งการนายกรัฐมนตรี” น้ัน
อดุ รธานเี ปน็ เมอื งไมซ์ หรอื MICE City เพือ่ ยก ส�ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีได้มีค�ำสั่ง
ระดบั การพฒั นาดา้ นอตุ สาหกรรมการจดั ประชมุ ส�ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ที่ 118/2563
และการแสดงสินค้าตามแนวทางเศรษฐกิจ ลงวันที่ 6 สิงหาคม 2563 แต่งตง้ั ใหผ้ ้เู ขยี นเป็น
เชงิ สรา้ งสรรค์ (Creative Economy) ใหจ้ งั หวดั หวั หนา้ คณะทำ� งาน (Policy Work/Study Team)
อุดรธานีเป็นศูนย์กลางแฟชั่นและการค้าผ้าทอ โครงการพัฒนาประสิทธิภาพระบบติดตาม
พนื้ เมอื งของอนภุ มู ภิ าคลมุ่ นำ�้ โขง โดยการจดั งาน นโยบายรัฐบาลและข้อส่ังการนายกรัฐมนตรี
แสดงสนิ ค้าผา้ ทอพนื้ เมอื งดงั กล่าว ไดม้ ีการเชิญ ของสำ� นกั เลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี โดยใหม้ หี นา้ ที่
สำ� คัญ 2 ประการ ได้แก่

วารสารดำ�รงราชานุภาพ 79

(1) การศกึ ษาวเิ คราะห์และดำ� เนนิ การ แขวงสี่แยกมหานาค เขตดุสิต กรงุ เทพมหานคร
พัฒนาระบบบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศ ท�ำหน้าท่ีสนับสนุนการท�ำงานของรัฐบาล
เพื่อการติดตามนโยบายรัฐบาลและข้อส่ังการ ในภารกิจเชิงยุทธศาสตร์และเชิงบูรณาการ
นายกรัฐมนตรี เป็นภารกิจเก่ียวกับการศึกษา รวบรวมขอ้ มลู รับฟังข้อคดิ เหน็ ศกึ ษา วิเคราะห์
สภาพปญั หาอปุ สรรค (Pain Point) และความตอ้ งการ และเสนอแนะแนวทางหรือมาตรการในการ
ในการพัฒนาและประยุกต์ใช้ระบบเทคโนโลยี ขบั เคลอื่ นนโยบายของรฐั บาลตามทน่ี ายกรฐั มนตรี
สารสนเทศเพ่ือน�ำไปใช้ในการบริหารจัดการ มอบหมาย ตลอดจนสร้างการรับรู้และ
ขอ้ มลู สารสนเทศงานตดิ ตามการดำ� เนนิ งานตาม ความเข้าใจเก่ียวกับนโยบายส�ำคัญของรัฐบาล
นโยบายรฐั บาลและขอ้ สง่ั การนายกรฐั มนตรใี หม้ ี ซงึ่ สบนร. ไดม้ อบหมายภารกจิ ใหผ้ เู้ ขยี นดำ� เนนิ การ
ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลเพิ่มข้ึน อาทิ การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการแกไ้ ขปญั หาไฟปา่
ซงึ่ เปน็ โครงการทส่ี ำ� นกั เลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี และหมอกควัน ปี พ.ศ. 2564 ของภาคเหนือ
ไดร้ บั การจดั สรรงบประมาณ ตามพระราชบญั ญตั ิ 17 จังหวัด การเขียนบทความประชาสัมพันธ์
งบประมาณรายจา่ ย ประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ผ ล ง า น ข อ ง รั ฐ บ า ล ใ น ส ่ ว น ท่ี เ ป ็ น ภ า ร กิ จ
(2) ภารกจิ การประสานงาน รวบรวม ของกระทรวงมหาดไทยลงในเวบ็ ไซตข์ อง สบนร.
วิเคราะห์ และรายงานผลการด�ำเนินงาน การจัดท�ำโครงการเพ่ือผลักดันการท�ำงาน
ตามนโยบายรฐั บาลและขอ้ สง่ั การนายกรฐั มนตรี ในเชิงบูรณาการ และการประชาสัมพันธ์วาระ
ท่ีได้รับมอบหมาย เช่น การจัดท�ำรายงาน แห่งชาติ เร่ือง แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจ
การศึกษาและติดตาม เรื่อง “การปรับเปล่ียน ชวี ภาพ เศรษฐกจิ หมนุ เวยี น และเศรษฐกจิ สเี ขยี ว
การทำ� งานแบบ New Normal” ตามทน่ี ายกรฐั มนตรี (Bio – Circular – Green Economy : BCG
ได้มีแถลงการณ์ผ่านโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจ Model) เป็นต้น
เมอ่ื วันท่ี 17 มถิ ุนายน 2563 รวมถึงขอ้ สั่งการ • ส�ำหรับเรื่องการจัดท�ำรายงาน
ที่เก่ยี วขอ้ งกบั แถลงการณด์ ังกล่าว การศึกษาและติดตาม “การปรับเปล่ียน
• นอกจากน้ัน ส�ำนักเลขาธิการ การท�ำงานแบบ New Normal” เป็นหนึ่งใน
นายกรฐั มนตรยี งั ไดม้ อบหมายใหผ้ เู้ ขยี นชว่ ยงาน ภารกจิ ทไี่ ดร้ บั มอบหมายใหด้ ำ� เนนิ การ นบั วา่ เปน็
ส�ำนักงานบริหารนโยบายของนายกรัฐมนตรี เรอ่ื งทมี่ คี วามสำ� คญั ตอ่ การขบั เคลอ่ื นการพฒั นา
(Prime Minister’s Delivery Unit : PMDU) ประเทศ ซึ่งนายกรัฐมนตรีได้มีแถลงการณ์ใน
หรือ สบนร. ด้วยอีกหน้าท่ีหนึ่ง ซึ่ง สบนร. 3 ประเด็น ไดแ้ ก่
เป็นหน่วยงานพิเศษจัดตั้งข้ึนตามระเบียบ (1) “การผนึกทุกภาคส่วนร่วม
ส�ำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยส�ำนักงานบริหาร วางอนาคตประเทศไทย” รฐั บาลจะดงึ ทกุ ภาคสว่ น
นโยบายของนายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2562 และทุกระดับในสังคม เข้ามามีส่วนร่วมมากข้ึน
มสี ำ� นกั งานอยทู่ บี่ า้ นมนงั คศลิ า ถนนหลานหลวง มีบทบาทมากข้ึน ในการก�ำหนดอนาคตของ

80 วารสารดำ�รงราชานภุ าพ

ประเทศ โดยท่ีนายกรฐั มนตรจี ะรบั ฟังวิสยั ทัศน์ (2) ให้สำ� นักงาน ก.พ.ร. เร่งผลกั ดัน
จากภาคสว่ นต่าง ๆ ด้วยตัวเอง ระบบ e-Service ให้เห็นเป็นรูปธรรมเพ่ือเพิ่ม
(2) “การประเมินผลงานภาครัฐ ประสิทธิภาพการให้บริการ และสามารถ
โดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตัวจริง” เปิดโอกาส ให้บริการประชาชนไดต้ ลอด 24 ชั่วโมง
ให้ประชาชน ได้มีบทบาทในการประเมินผล (3) ใหม้ กี ารปรบั ปรงุ ระบบการสรรหา
และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการต่าง ๆ และคดั เลอื กบคุ คลทม่ี คี วามสนใจเขา้ รบั ราชการ
ของภาครัฐ ให้ผู้บริหารระดับสูง ในรัฐบาล โดยให้พิจารณาแนวทาง วิธีการ รวมไปถึง
ไดร้ ับทราบโดยตรงได้ด้วย หลักเกณฑ์ ท่สี ามารถคดั เลอื กบคุ คลซงึ่ มคี วามรู้
(3) “การท�ำงานเชงิ รกุ ” นายกรฐั มนตรี ความสามารถ ทักษะ คุณลักษณะท่ีเหมาะสม
จะมกี ารกำ� หนดนโยบายสำ� คญั เรง่ ดว่ นทเ่ี หมาะสม กบั ภารกจิ และตรงตามความตอ้ งการสว่ นราชการ
กับสถานการณ์ที่จะสร้างประโยชน์ให้กับ นอกจากนี้ ให้พิจารณาขยายผล การบริหาร
ประชาชนได้อย่างเป็นรูปธรรม ให้กับกระทรวง และพัฒนาก�ำลังคนคุณภาพดว้ ยการมอบหมาย
ตา่ ง ๆ ด้วย โดยนายกรัฐมนตรีจะตดิ ตามกำ� กับ ให้ปฏิบัติงานในส่วนราชการอ่ืนอีกหน้าที่หน่ึง
ดูแลอย่างใกล้ชิด เพ่ือให้เกิดผลจริง อย่างมี (Secondment)
ประสิทธิภาพ [1] (4) ใหท้ กุ สว่ นราชการใหค้ วามสำ� คญั
• นายกรัฐมนตรีได้มีข้อสั่งการ กั บ ก า ร ด� ำ เ นิ น น โ ย บ า ย ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น
ในการประชุมหัวหน้าส่วนราชการระดับ นอกสถานที่ต้ังของหน่วยงาน (Work from
กระทรวงหรือเทียบเทา่ คร้ังท่ี 3/2563 เมื่อวนั ที่ Home) อย่างต่อเนื่อง และปรับให้เข้ากับ
23 กรกฎาคม 2563 เก่ียวกับการปรับปรุง การปฏิบัติงานภายใต้ฐานวิถีชีวิตใหม่ (New
โครงสร้างราชการ การจัดองค์กร การสรรหา Normal) ทั้งน้ี ต้องไม่กระทบกับการให้บริการ
บคุ คลเขา้ เป็นข้าราชการ และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ ประชาชน และใหส้ ำ� นกั งาน ก.พ. และสำ� นกั งาน
การให้บรกิ ารประชาชน จำ� นวน 5 ประการด้วย ก.พ.ร. ร่วมกันก�ำหนด แนวทางการปฏิบัติ
ดังนี้ ราชการใหม่ เช่น การก�ำหนดวัน เวลา และ
(1) ใ ห ้ ส� ำ นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร สถานท่ีปฏิบัติราชการ การเหล่ือมเวลาปฏิบัติ
ข้าราชการพลเรือน (ส�ำนักงาน ก.พ.) ราชการ การนบั จำ� นวนชว่ั โมงการปฏบิ ตั ริ าชการ
และส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบ เป็นตน้
ราชการ (ส�ำนักงาน ก.พ.ร.) ร่วมกันปรับปรุง (5) ให้ทุกส่วนราชการสนับสนุน
ระบบการท�ำงานใหม่ เช่น โครงสร้างราชการ ใหก้ ำ� ลงั คนคุณภาพของรัฐ เชน่ กลุ่มนกั บริหาร
การจัดองค์กร ก�ำลังคนภาครัฐ การลดจ�ำนวน การเปลี่ยนแปลงรุ่นใหม่ (นปร.) กลุ่มนักเรียน
ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ โดยน�ำระบบ ทุนรัฐบาล กลุ่มผู้น�ำคล่ืนลูกใหม่ในราชการไทย
ดิจิทัลเข้ามาใช้ในการท�ำงาน เพื่อให้เกิดระบบ กลมุ่ ขา้ ราชการผมู้ ผี ลสมั ฤทธส์ิ งู เขา้ มามบี ทบาท
ราชการใหมท่ ี่เหมาะสมกับอนาคตของประเทศ ในงานดา้ นการปฏริ ปู ของหนว่ ยงาน เชน่ การรว่ ม

วารสารดำ�รงราชานุภาพ 81

ปฏิบัติงานในกลุ่มขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศ และติดตาม เรื่อง “การปรับเปลี่ยนการท�ำงาน
ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคี แบบ New Normal” ของนายกรัฐมนตรี พบวา่
ปรองดอง (กลุม่ ป.ย.ป.) ของกระทรวง การปรบั เปลยี่ นการทำ� งานแบบ New Normal นนั้
• จากการเข้าร่วมโครงการในช่วง มิใช่เร่ืองใหม่ เน่ืองจากค�ำแถลงการณ์
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส และข้อส่ังการท่ีเก่ียวข้องดังที่ได้กล่าวแล้ว
โคโรนา 2019 (Covid-19) ท�ำให้ผู้เขียน มีความสอดคล้องกับแนวทางการขับเคลื่อน
ได้ตระหนักว่า สถานการณ์ในปัจจุบันท�ำให้ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนการปฏิรูปประเทศ
การวางแผนยทุ ธศาสตรเ์ ปน็ เรอื่ งทยี่ งุ่ ยากซบั ซอ้ น นโยบายรฐั บาลเรอื่ งการปฏริ ปู การบรหิ ารจดั การ
ยิ่งกว่าในอดีต เป็นสถานการณ์ที่คาดการณ์ ภาครัฐ แนวคิดระบบราชการ 4.0 รวมถึง
ภาพอนาคตได้ยาก มีความไม่แน่นอนสูง สอดคล้องกับแนวคิดเร่ืองรัฐบาลแห่งอนาคต
ซง่ึ สถานการณด์ งั กลา่ ว เรยี กวา่ VUCA World (Future of Government) ซงึ่ ปรากฏในรายงาน
ประกอบดว้ ย ของ World Economic Forum เรอื่ ง Future
(1) Volatility สถานการณ์ท่ีมี of Government – Fast and Curious is a
ความพลิกผันสูง เช่น ราคาหุ้น ราคาทองค�ำ short and updated version of the Future
Bitcoin ที่ยากต่อการคาดเดา of Government ที่มีการน�ำเสนอแนวคิด
(2) Uncertainty สถานการณ์ การปรบั เปลยี่ นการท�ำงานภาครฐั ใหต้ อบสนอง
ที่มีความไม่แน่นอน เช่น ธุรกิจที่ก�ำลังรุ่งโรจน์ ตอ่ การเปลยี่ นแปลงในศตวรรษที่ 21 เปน็ ภาครฐั
ก็อาจล้มลงในช่วงเวลาอันสั้น การระบาด ในรปู แบบ FAST Government ประกอบดว้ ย
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ท่ียังมี Flat การปฏิบัติงานในแนวราบ, Agile
ความไม่แน่นอนว่าจะสามารถควบคุมปัญหา การปฏิบตั งิ านด้วยความคลอ่ งตวั , Streamlined
ดงั กล่าวได้เมอ่ื ใด เป็นต้น ปรับการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
(3) Complexity สถานการณ์ และ Tech-Enabled น�ำเทคโนโลยีมาใช้ใน
ที่มีความซับซ้อน การตัดสินใจต่าง ๆ มีปัจจัย การปฏบิ ัตงิ าน[2]
เข้ามาเกย่ี วขอ้ งมากมาย ท้ังน้ี แนวคิดของการปรับเปลี่ยน
(4) Ambiguity มีความคลุมเครือ การท�ำงานสู่การเป็นภาครัฐแห่งอนาคต
ไมม่ คี วามชดั เจน เชน่ ยงั ไมช่ ดั เจนวา่ ธรุ กจิ แบบใด ประกอบดว้ ย[3]
จะประสบผลส�ำเร็จ หรือปิดตัวลงภายหลัง (1) แนวคิดการยึดถือประชาชน
การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 เป็นศนู ย์กลาง (Citizen-Centric)
เป็นต้น (2) แนวคิดการเสริมสร้างพลัง
• สถานการณ์ VUCA World ก�ำลัง ก า ร มี ส ่ ว น ร ่ ว ม ข อ ง ป ร ะ ช า ช น  ( P e o p l e
บอกเราวา่ เราจำ� เปน็ ตอ้ งปรบั เปลยี่ นการทำ� งาน Engagement and Empowerment)
อย่างไรก็ตาม จากการจัดท�ำรายงานการศึกษา

82 วารสารด�ำ รงราชานภุ าพ

(3) แ น ว คิ ด ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต ์ ใ ช ้ (6) แนวคดิ การบรกิ ารสาธารณะทมี่ ี
เทคโนโลยีดิจิทัลและการให้บริการทางออนไลน์ ประสทิ ธิภาพ (Public Service Efficiency)
(Digitalization and E-Services) แนวคดิ ทง้ั 6 เรอื่ งดงั กลา่ ว หากสนใจจะ
(4) แนวคิดหลักความโปร่งใสและ ค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมสามารถศึกษาได้จาก
การเปิดกว้างในภาครัฐ (Openness and แนวทางการพัฒนาระบบราชการ 4.0 ของ
Transparency) สำ� นกั งาน ก.พ.ร. และจากแหลง่ ขอ้ มลู ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
(5) แนวคดิ สภาพแวดลอ้ มในการเสรมิ สรา้ ง ทัว่ ไป
พลงั ความรว่ มมอื (Collaborative Environment)

ตารางแสดงความสอดคลอ้ งระหวา่ ง
แถลงการณ์วธิ กี ารท�ำงานแบบ New Normal และขอ้ ส่ังการที่เกยี่ วขอ้ งของนายกรฐั มนตรี
กบั ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี แผนแม่บทปฏิรปู ประเทศ นโยบายรัฐบาล และแนวคดิ เชงิ วชิ าการ

แถลงการณ์/ข้อส่งั การ ยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูป นโยบายรัฐบาล แนวคิดระบบราชการ แนวคดิ ภาครัฐ
ของนายกรฐั มนตรี ด้านการปรับสมดลุ ประเทศ ด้านการปฏิรูป 4.0 แห่งอนาคต
และพฒั นาระบบ ดา้ นการบรหิ าร การบริหารจัดการภาครฐั
การบริหารจัดการ ราชการแผ่นดนิ

ภาครัฐ

การ ผนึกทุกภาคส่วน 2) ภ า ค รั ฐ บ ริ ห า ร ง า น 5) สง่ เสรมิ ระบบธรรมาภบิ าลใน  การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน 2) การเสริมพลังการมี
ปรบั เปลยี่ น
วิธีการ ร่วมวางอนาคต แบบบูรณาการโดยมี การบรหิ ารจดั การภาครฐั และภาคสว่ นตา่ ง ๆ ในการให้ สว่ นรว่ มของประชาชน
ทำ�งาน
แบบ New ประเทศไทย ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ์ ช า ติ เ ป ็ น 6) พัฒนากลไกให้ประชาชน ค�ำปรึกษา ร่วมตัดสินใจ 4) หลักความโปร่งใส
Normal
ประเมินผลงาน เป้าหมายและเช่ือมโยง มีส่วนร่วมในการพัฒนา รว่ มตรวจสอบ เพอ่ื สร้าง และการเปิดกว้าง
ภาครัฐ โดยผู้มี การพัฒนาในทุกระดับ บริการสาธารณะและ ความรู้สึกในการเป็น ในภาครฐั
ส่วนได้ส่วนเสีย ทุกประเด็น ทุกภารกิจ การตรวจสอบภาครัฐ สว่ นหนง่ึ ของการดำ� เนนิ งาน 5) ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม
ตวั จรงิ และทกุ พ้ืนที่
3) ส่งเสริมให้ประชาชน 8) กระจายอำ�นาจ ความรบั ผดิ ชอบ ภาครัฐ ในการเสรมิ สรา้ งพลงั

และเพม่ิ บทบาทการปกครอง ความร่วมมือ

และทกุ ภาคสว่ นมสี ว่ นรว่ ม ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ

ในการพฒั นาประเทศ และส่งเสริมบทบาทของ

เอกชนและชุมชนในการให้

บรกิ ารสาธารณะ

ทำ�งานเชิงรุก 1) ภาครัฐท่ียึดประชาชน  การปรบั เปลยี่ นวฒั นธรรม 1) การยดึ ถอื ประชาชน
เปน็ ศนู ยก์ ลาง ตอบสนอง
ความต้องการ และ การท�ำงานเชิงรุก และ เป็นศนู ยก์ ลาง
ให้บริการอย่างสะดวก
รวดเรว็ โปร่งใส คำ� นงึ ถงึ ความตอ้ งการของ 6) การบรกิ ารสาธารณะ

ประชาชนเปน็ หลัก ท่มี ปี ระสิทธภิ าพ

วารสารด�ำ รงราชานภุ าพ 83

แถลงการณ์/ขอ้ สั่งการ ยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏริ ปู นโยบายรฐั บาล แนวคดิ ระบบราชการ แนวคดิ ภาครฐั
ของนายกรัฐมนตรี ดา้ นการปรับสมดลุ ประเทศ ด้านการปฏริ ปู 4.0 แหง่ อนาคต
และพฒั นาระบบ ด้านการบรหิ าร การบริหารจดั การภาครฐั
การบริหารจัดการ ราชการแผน่ ดนิ

ภาครฐั

ข้อสัง่ การท่ี ปรับปรุงระบบ 3) ภาครัฐมีขนาดเล็กลง 3) โครงสรา้ งภาครฐั 1) พฒั นาโครงสรา้ งและระบบ  การจดั โครงสรา้ ง การวาง
เกี่ยวข้อง การทำ�งาน เหมาะสมกับภารกิจ กะทดั รดั ปรบั ตวั การบริหารจัดการภาครัฐ ระบบและวธิ กี ารทำ�งานใหม่

ดำ�เนินนโยบาย 4) ภาครฐั มีความทนั สมยั ได ้ เ ร็ ว แ ล ะ สมัยใหม่  ก า ร ล ด ข้ อ จำ� กั ด ด้ า น
การปฏิบัติงาน 7) กฎหมายมคี วามสอดคลอ้ ง
นอกสถานทีต่ ั้ง ร ะ บ บ ง า น มี 7) ปรับปรงุ ระเบียบ กฎหมาย สถานท่ีทำ�งานโดยใช้
เ ห ม า ะ ส ม กั บ บ ริ บ ท ผลสมั ฤทธสิ์ งู เพ่ือเอ้ือต่อการทำ�ธุรกิจ ระบบดิจทิ ัล
ตา่ ง ๆ และมเี ทา่ ทจ่ี ำ�เปน็
และการใชช้ วี ิตประจำ�วนั  ก า ร ข อ รั บ บ ริ ก า ร ไ ด้

ห ล า ก ห ล า ย ช่ อ ง ท า ง

แ ล ะ ข อ รั บ บ ริ ก า ร ไ ด้

ห ล า ก ห ล า ย บ ริ ก า ร

ณ ชอ่ งทางเดยี ว

ให้บริการด้วย 1) ตอบสนองความตอ้ งการ 1) บริการภาครฐั 2) ปรบั เปลยี่ นกระบวนการอนมุ ตั ิ  ระบบราชการทเี่ ปดิ กวา้ ง 3) ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ใช้
ระบบ e-Service และใหบ้ รกิ ารอยา่ งสะดวก สะดวก รวดเรว็ อนญุ าตของทางราชการทมี่ ี และเช่ือมโยงกับข้อมูล เทคโนโลยีดิจิทัล
รวดเรว็ โปรง่ ใส และตอบโจทย์ ความสำ� คญั ตอ่ การประกอบ ระหว่างกันโดยสมบูรณ์ และการให้บริการ

ชีวิตประชาชน ธุรกิจและด�ำเนินชีวิตของ ผ่านระบบดจิ ิทลั ทางออนไลน์

2) ระบบขอ้ มลู ภาครฐั ประชาชนใหเ้ ปน็ ระบบดจิ ทิ ลั  ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร โ ด ย 6) การบรกิ ารสาธารณะ
มี ม า ต ร ฐ า น 3) พฒั นาระบบขอ้ มลู ขนาดใหญ่ ไม่จำ�กัดเวลา ท่มี ปี ระสิทธิภาพ

ทันสมัย และ ในการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ

เ ช่ื อ ม โ ย ง กั น

ก ้ า ว สู ่ รั ฐ บ า ล

ดจิ ิทลั

ปรับปรุงระบบ 5) บคุ ลากรภาครัฐเป็นคนดี 4) ก�ำลังคนภาครัฐ  ความเชี่ยวชาญมากกว่า

ก า ร ส ร ร ห า และเกง่ ยดึ หลกั คณุ ธรรม มขี นาดทเ่ี หมาะสม 1 ดา้ น

แ ล ะ คั ด เ ลื อ ก จริยธรรม มีจิตสำ�นึก และมสี มรรถนะสงู

ก า ร บ ริ ห า ร มคี วามสามารถสงู มงุ่ มนั่ พรอ้ มขบั เคลอื่ น

และการพัฒนา และเป็นมอื อาชีพ ยุทธศาสตร์ชาติ

กำ�ลังคน

สนับสนนุ 5) ระบบบรหิ ารงาน
การใช้คนเก่ง บคุ คลทสี่ ามารถ
ดงึ ดูด สร้างและ
รกั ษาคนดี คนเกง่
ไว้ในภาครัฐได้

84 วารสารด�ำ รงราชานุภาพ

 สิง่ ท่ไี ดเ้ รยี นรู้ (Study)...และแบง่ ปัน (Outside - In) (6) Openness การเปดิ รบั สงิ่ ใหม่
เทคนิคที่เป็นประโยชน์กับนักวางแผน มกี รอบแนวคิดแบบเติบโต (Growth Mindset)
ยุทธศาสตร์ และ (7) Questioning เป็นผู้ที่ชอบสืบค้นหา
ข้อมูลข้อเท็จจริง ทั้งนี้ นอกจากทักษะการเป็น
 น อ ก จ า ก ท่ี ม า ข อ ง โ ค ร ง ก า ร นกั คดิ เชงิ กลยทุ ธด์ งั กลา่ วแลว้ ยงั จะตอ้ งมที กั ษะ
และประสบการณ์ตามภารกิจดังที่ได้กล่าวแล้ว ของการแปลงยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ
ส�ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรียังได้มีการจัด (Putting Strategic into Action) ไปพร้อมกัน
กิจกรรมเพ่ือพัฒนาองค์ความรู้ให้แก่ผู้เข้าร่วม เรยี กวา่ “นอกจากจะเปน็ ขนุ แผนแลว้ กย็ งั ตอ้ ง
โครงการฯ และบุคลากรในสังกัดด้วย เช่น เป็นขุนท�ำด้วย” เน่ืองจากพบว่า บ่อยคร้ัง
การอบรมหลักสตู ร e-Meeting : ระบบบรหิ าร แม้แผนยุทธศาสตร์จะถูกวางไว้เป็นอย่างดี
การประชุมอิเล็กทรอนิกส์, การอบรมหลักสูตร แตเ่ นอ่ื งจากขาดทกั ษะและวธิ กี ารเพอ่ื แปลงแผน
e-Drive : ระบบบรหิ ารการจดั เกบ็ และแชรไ์ ฟล,์ ไปสู่การปฏิบัติ จึงท�ำให้ไม่ประสบผลส�ำเร็จ
ก า ร เ ข ้ า ร ่ ว ม กิ จ ก ร ร ม ก า ร ป ร ะ ชุ ม สั ม ม น า ตามเปา้ หมาย ทำ� ใหเ้ สยี ทง้ั เวลาและงบประมาณ
และลงพื้นท่ีติดตามข้อส่ังการนายกรัฐมนตรี ในการจดั ทำ� แผนโดยเปลา่ ประโยชน์ จะวา่ ไปแลว้ ก็
แ บ บ มี ส ่ ว น ร ่ ว ม กั บ ป ร ะ ช า ช น ใ น พื้ น ท่ี , เปรียบเสมือนการวางแผนการรบท่ีวางแผนไว้
ก า ร จั ด สั ม ม น า เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ป รั บ เ ป ล่ี ย น เป็นอย่างดี แต่ขาดเทคนิควิธีการในการปฏิบัติ
การท�ำงานแบบ New Normal เป็นต้น เพอ่ื ใหก้ ารรบเปน็ ไปตามแผน ทา้ ยทส่ี ดุ กพ็ า่ ยแพ้
ซึ่งหนึ่งในองค์ความรู้ที่น่าจะเป็นประโยชน์ สงครามอยู่ดี การเข้าร่วมโครงการครั้งนี้
ต ่ อ นั ก ว า ง แ ผ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ์ ท้ั ง ห ล า ย คื อ ได้รับความรู้มากมาย จึงขอน�ำเรื่องทักษะ
องคค์ วามรเู้ รอ่ื ง “การคดิ เชงิ กลยทุ ธ์ (Strategic และเทคนิคที่จะเป็นประโยชน์ต่อนักวางแผน
Thinking)[4] ยุทธศาสตร์ในการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ
คุณลักษณะของนักคิดเชิงกลยุทธ์ มาแบ่งปันประสบการณก์ นั ดังน้ี
ท่ีพึงจะต้องมี ประกอบด้วย (1) Curiosity (1) Understanding คอื ความเขา้ ใจ
การเป็นผู้ใฝ่รู้ (2) Consistency การเป็น ในคุณลักษณะจุดแข็ง จุดอ่อนขององค์กร
ผู้มีความสม�่ำเสมอมีการท�ำงานอย่างต่อเนื่อง มคี วามเขา้ ใจ ในเปา้ หมายองคก์ ร ซงึ่ การกำ� หนด
ซ่ึงผู้เขียนขอใช้ค�ำว่ามีความมุ่งมั่น ทุ่มเท เปา้ หมายขององคก์ รทด่ี ี (SMART Goal) จะตอ้ ง
“กัดไม่ปล่อย” (3) Agility มีการท�ำงาน มีความชัดเจน (Specific) วัดประเมินได้
ที่คล่องแคล่วว่องไว (4) Future Focus (Measurable) มคี วามเป็นไปได้ (Achievable)
ให้ความส�ำคัญกับการมองอนาคตในระยะยาว มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ขององค์กร
(Long Time Thinking) (5) Outward Focus (Relevant) และมีความชัดเจนว่าจะส�ำเร็จ
ให้ความส�ำคัญกับมุมมองจากภายในสู่ภายนอก เมื่อใด (Timeliness)
(Inside - Out) และมมุ มองจากภายนอกสภู่ ายใน

วารสารด�ำ รงราชานุภาพ 85

(2) Anticipate คือ การประเมิน ดา้ นสงั คมและวฒั นธรรม, Technology ประเดน็
สภาวะแวดลอ้ มทางยทุ ธศาสตร์ (Environmental การเปลยี่ นแปลงทางดา้ นเทคโนโลย,ี Economic
Scanning) เพื่อการคาดการณ์ภาพอนาคต ประเด็นทางด้านเศรษฐกิจ, Environment
ท่ีมีข้อมูลและประเมินสถานการณ์แนวโน้ม ประเดน็ ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม และ Political & Legal
ทเี่ ปลย่ี นแปลงไป เชน่ ประเดน็ เรอ่ื ง การอนรุ กั ษ์ ประเด็นด้านการเมืองการปกครอง นอกจากน้ี
สงิ่ แวดลอ้ มและการพฒั นาทยี่ งั่ ยนื ประเดน็ เรอ่ื ง ยังมีเทคนิคอื่น ๆ ท่ีนักวางแผนยุทธศาสตร์
สุขอนามัย (Hygiene) ประเด็นเรื่อง การไม่มี ควรศึกษาเพ่ิมเติม เช่น เทคนิค Strategic
ความแตกต่างในเร่ืองเพศ (Genderless) Foresight เทคนิค Scenario Construction
ประเดน็ เร่อื ง ความหลากหลายของคณุ ลกั ษณะ Method and Process เปน็ ตน้ เนอื่ งจากเทคนคิ
บุคคลในคนเดียวกัน(Multiple Identities) เหลา่ นจ้ี ะชว่ ยใหน้ กั วางแผนยทุ ธศาสตรส์ ามารถ
ป ร ะ เ ด็ น เ ร่ื อ ง ก า ร บ ริ โ ภ ค แ บ บ ร ่ ว ม มื อ กั น ประเมนิ สภาวะแวดลอ้ มตา่ ง ๆ ทางยุทธศาสตร์
(Collaborative Consumption) ซงึ่ ประเดน็ ตา่ ง ๆ ได้อย่างครอบคลมุ
ดงั กลา่ ว มผี ลตอ่ รปู แบบแนวคดิ ในการผลติ สนิ คา้ (3) Challenge คอื การทำ� ความเขา้ ใจ
และบรกิ ารที่เปลย่ี นแปลงไป ถึงสาเหตุของปัญหาที่แท้จริง (Root Cause
เ ท ค นิ ค ใ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ภ า ว ะ Analysis) ซง่ึ เทคนคิ ทสี่ ามารถนำ� มาใชใ้ นการคดิ
แวดล้อมภายนอก (External Environment) วิเคราะห์ คือ เทคนิค Fishbone Diagram
ที่ได้รับความนิยมเทคนิคหนึ่ง คือ STEEP เทคนิคนี้จะช่วยท�ำให้นักวางแผนยุทธศาสตร์
Model ประกอบดว้ ย Socio - Cultural ประเดน็ เข้าใจสาเหตขุ องปญั หาในเชิงลกึ ได้เปน็ อยา่ งดี

86 วารสารดำ�รงราชานภุ าพ

(4) Interpret คือความสามารถ (5) Decide คอื ความสามารถในการจดั
ในการน�ำเสนอ เรียกว่า หากน�ำเสนอดีมีชัย ล�ำดับความส�ำคัญและการตัดสินใจซึ่งแนะน�ำ
ไปกว่าครึ่ง ซ่ึงการน�ำเสนอนั้นจะต้องมีกลยุทธ์ ให้ใช้เทคนิค Decision Matrix โดยแบ่งกลุ่ม
เทคนิควิธีการในการน�ำเสนอเพื่อให้ผู้อนุมัติ ของกลยทุ ธ์ และแผนงานโครงการออกเปน็ 4 กลมุ่
แผนยทุ ธศาสตรแ์ ละผทู้ เี่ กยี่ วขอ้ งเกดิ ความเขา้ ใจ ตามความยากง่ายของความส�ำเร็จ และระดับ
และคล้อยตามกับแผนยุทธศาสตร์ท่ีจัดท�ำขึ้น ของผลกระทบของการดำ� เนินงาน แล้วตัดสนิ ใจ
เทคนิควิธีการหนึ่ง คือ “Pyramid Model” เลือกท่ีจะด�ำเนินการในกลยุทธ์และแผนงาน
เปน็ การนำ� เสนอประเดน็ หลกั ลงไปหาประเดน็ ยอ่ ย โครงการที่มีระดับความง่ายและมีผลกระทบ
เชิงบวกมาก มาเป็นกลยุทธ์และแผนงาน
โครงการท่ีมคี วามส�ำคญั ในลำ� ดบั ตน้ ๆ

วารสารด�ำ รงราชานภุ าพ 87

(6) Align คือความสามารถในการคิด ของปญั หาอปุ สรรคตา่ ง ๆ เพอ่ื ปรบั ปรงุ แผนงาน
และวางกลยทุ ธ์ แผนงานโครงการ การลงมอื ปฏบิ ตั ิ โครงการในระยะตอ่ ไป
ที่ร้อยเรียงเป็นเหตุเป็นผล มีความเช่ือมโยงกัน  นอกจากการเสริมสร้างองค์ความรู้
ตง้ั แต่เป้าหมายองค์กร พันธกจิ ตวั ช้วี ดั กลยุทธ์ ที่ส�ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีได้พัฒนา
แผนงาน/โครงการท่ีจะท�ำให้เป้าหมายสูงสุด ผู้เข้าร่วมโครงการและบุคลากรในสังกัดแล้ว
ขององค์กรบรรลุผลสำ� เรจ็ ส�ำนกั งาน ก.พ. ยังได้มีการจดั สรรทุนฝึกอบรม
(7) Execute คือความสามารถ เ พื่ อ พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร ผู ้ เ ข ้ า ร ่ ว ม โ ค ร ง ก า ร
ในการน�ำแผนไปปฏิบัติ ควรประกอบด้วย พัฒนานักยุทธศาสตร์เพ่ือการปฏิรูปประเทศ
แผนการปฏิบัตกิ าร (Action Plan) แผนรองรับ เชิงบูรณาการ (Strategist Development
อนาคตที่ไม่แน่นอน (ความเส่ียง) ให้สามารถ Program) คู่ขนานไปด้วย โดยจัดหลักสูตร
ด� ำ เ นิ น ก า ร ต ่ อ ไ ป ไ ด ้ แ ม ้ เ กิ ด ส ถ า น ก า ร ณ ์ ฝึกอบรมแนวใหม่บนแพลตฟอร์มออนไลน์
ทไี่ มแ่ นน่ อนขนึ้ (Contingency Plan) โดยการจดั ทำ� YourNextU ซง่ึ ผเู้ รยี นสามารถเขา้ ถงึ ความรดู้ ว้ ย
แผนปฏบิ ตั กิ ารตอ้ งมกี ารระบขุ น้ั ตอนการดำ� เนนิ งาน เทคนคิ ทหี่ ลากหลาย เรยี กวา่ Blended learning
ท่ีชัดเจน มีการระบุผู้รับผิดชอบอย่างครบถ้วน ท้ังในรูปแบบการเรียนออนไลน์ (Online
ทุกระดับ และมีการก�ำหนดระยะเวลาส่งมอบ Course) การเรียนแบบห้องเรียนเสมือนจริง
ท่ีแน่นอนชัดเจนสามารถปฏิบัติตามได้อย่าง (Virtual Classroom) การแลกเปลยี่ นความเหน็
ถูกต้อง ระหว่างผู้เข้าเรียนผ่านส่ือออนไลน์ (Social
(8) Learn คือความสามารถใน Learning) โดยเนอ้ื หาหลกั สตู รทที่ างสำ� นกั งาน ก.พ.
การเรียนรู้ ซึ่งหมายถึงการเรียนรู้จากการน�ำ และ YourNextU จัดหลักสูตรให้ผู้เข้าร่วม
แผนงานโครงการไปสู่การปฏิบัติ และการให้ โครงการนักยุทธศาสตร์เพื่อการปฏิรูปประเทศ
ความส�ำคัญกับการประเมินผล (Evaluation) เชงิ บูรณาการเข้าเรยี น ประกอบดว้ ย 2 ชุดวิชา
เพ่ือทบทวนการด�ำเนินงานและวิเคราะห์สาเหตุ ดงั น้ี

88 วารสารดำ�รงราชานุภาพ

1. Fundamental Track หรอื ชดุ วชิ า 2.2 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู (Data - Driven
พื้นฐานที่เน้นการพัฒนาสมรรถนะด้านดิจิทัล Insights for Leaders) จ�ำนวน 8 วิชา อาทิ
(Digital & Technological Trends) จำ� นวน 12 หวั ขอ้ วชิ า Preparing for tomorrow’s world,
หัวข้อวชิ า ตวั อย่างเช่น Tomorrow’s Working Big Data, AI and Cognitive Technologies,
Method, The Mobile Revolution Digital in Do Less Get More with Strategic Thinking
China : The World’s biggest online market, ซ่ึงเป็นชุดวิชาเกี่ยวกับการเสริมสร้างความรู้
AI and Cognitive Technology, The Future ความเข้าใจเกี่ยวเทคโนโลยีด้านการวิเคราะห์
World Community ฯลฯ ซึ่งเนื้อหาในชุด ขอ้ มลู และการนำ� ขอ้ มลู ไปใชป้ ระโยชนเ์ พอ่ื สรา้ ง
วิชาต่าง ๆ จะเก่ียวข้องกับความรู้พื้นฐาน ประสิทธิภาพและขีดสมรรถนะท่ีเหมาะสม
และความส�ำคัญของเทคโนโลยีดิจิทัล รวมถึง ในยคุ ดจิ ทิ ัล
กรณศี กึ ษาเกย่ี วการเปลยี่ นแปลงดา้ นเทคโนโลยี 2.3 การประสานประโยชน์ร่วมกัน
ดิจิทัลในระดับนานาชาติ ซ่ึงจะส่งต่อวิถีชีวิต (Partnering for Success) จ�ำนวน 9 วิชา อาทิ
และรูปแบบการบริหารจัดการองค์กรต่าง ๆ หัวข้อวิชา The Collaborative Economy,
อยา่ งไมส่ ามารถหลกี เลยี่ ง ซง่ึ ถอื วา่ มคี วามสำ� คญั Innovate with Startups, Negotiating for
อยา่ งยง่ิ ทบี่ คุ ลากรทกุ ภาคสว่ นโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ result, The future world community,
ภาครัฐจะต้องมีความรู้ความเข้าใจตระหนักถึง Innovation and disruption community
ความส�ำคัญ เพือ่ ปรับเปล่ียนแนวคดิ และวธิ กี าร ซึ่งเป็นเนื้อหาเกี่ยวกับความส�ำคัญและการสร้าง
ทำ� งานใหก้ ้าวทันการเปลี่ยนแปลง ความรว่ มมอื เพอ่ื สรา้ งความสำ� เรจ็ รว่ มกนั ซงึ่ คำ� วา่
2. Leadership Tracks หรือชุดวิชา “Collaboration” หรอื “การสรา้ งความรว่ มมอื ”
ท่ีเน้นการพัฒนาด้านภาวะผู้น�ำ ซ่ึงมีเนื้อหา เปน็ หวั ใจสำ� คัญของความสำ� เร็จของการทำ� งาน
ประกอบด้วย ทั้งน้ี ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนในวิชา/
2.1 ภาวะผนู้ ำ� ในการขบั เคลอ่ื นดจิ ทิ ลั หัวข้ออื่นที่มีอยู่ในแพลตฟอร์มและเปิดให้
(Leadership to Enable Digital Transformation) ลงทะเบยี นนอกจากชดุ วชิ าทก่ี ำ� หนดในหลกั สตู ร
จ�ำนวน 11 วชิ า อาทิ หวั ขอ้ วิชา Management ได้ตามความสนใจ โดยสามารถบริหารจัดการ
3.0 : Being an Agile Management, Agility ตารางการเรยี นร้ไู ดด้ ้วยตนเองตามความสะดวก
in Action, Change Management, New อย่างไม่มีข้อจ�ำกัดด้านเวลาและสถานท่ี
Me - New Land ซึ่งเป็นเน้ือหาเก่ียวกับ (Any Time Any Where) ภายในเง่ือนไข
การปรับเปล่ียนแนวคิดเพ่ือสร้างภาวะผู้น�ำ กรอบระยะเวลา 1 ปี นับแต่วันที่ผู้เรียน
ทีเ่ หมาะสมในการบริหารจัดการ และการนำ� พา ได้ลงทะเบียนเข้าสู่ระบบของ YourNextU
องค์กรให้ก้าวสู่องค์กรท่ีมีขีดความสามารถ ซึ่งนับว่าเป็นประโยชน์ในการน�ำไปปรับเปลี่ยน
ทางดา้ นเทคโนโลยีท่ีก้าวทันการเปลย่ี นแปลง การท�ำงานแบบ New Normal และใช้เป็น
แนวทางในการพัฒนาบคุ ลากรในสงั กัดตอ่ ไป

วารสารดำ�รงราชานุภาพ 89

 แสดงความขอบคุณ...ร่วมด้วยช่วย ด้วยแพลตฟอร์มของ Zoom และ Webex
ประชาสมั พันธ์ เป็นต้น ดังน้ัน จึงขอถือโอกาสนี้ขอบคุณ
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยท่ีได้ให้
• การท่ีผู้เขียนได้มีโอกาสเข้าร่วม โอกาสในการพฒั นาตนเองพรอ้ มกบั ไดม้ โี อกาส
ปฏิบัติงานภายใต้โจทย์ “โครงการพัฒนาระบบ สร้างผลงานท่ีมีความส�ำคัญในระดับประเทศ
ติดตามการด�ำเนินงานตามนโยบายรัฐบาล ขอบคุณส�ำนักงาน ก.พ. ในฐานะหน่วยงาน
และขอ้ สงั่ การนายกรฐั มนตร”ี ณ สำ� นกั เลขาธกิ าร รับผิดชอบโครงการ และขอขอบคุณ
นายกรัฐมนตรี ซ่ึงเป็นความร่วมมือกันระหว่าง ส�ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ในฐานะ
สำ� นกั งาน ก.พ. และสำ� นกั เลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี หน่วยงานเจ้าภาพโจทย์ที่ได้ให้การสนับสนุน
ถือเป็นโอกาสท่ีดี เนื่องจากท�ำให้ได้เรียนรู้ การปฏิบัติงาน รวมท้ังมอบหมายงานท่ีมี
เทคนคิ วธิ กี ารเพอ่ื นำ� ไปปรบั ใชส้ กู่ ารทำ� งานแบบ ความส�ำคญั
New Normal โดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์ความรู้ • อน่ึง ส�ำหรับข้าราชการที่สนใจ
ที่ เ กี่ ย ว กั บ ก า ร น� ำ เ ท ค โ น โ ล ยี ดิ จิ ทั ล ม า ใ ช ้ เข้าร่วมโครงการสามารถสอบถามรายละเอียด
ในการทำ� งาน การวางแผน และการติดตามงาน หรือค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมจากส�ำนักงาน ก.พ.
เช่น การใช้โปรแกรม Microsoft Team โทรศพั ท์หมายเลข 0 2547 6817 ตอ่ 6817
ก า ร จั ด ก า ร ฐ า น ข ้ อ มู ล แ ล ะ จั ด เ ก็ บ ข ้ อ มู ล หรือเว็บไซต์ส�ำนักงาน ก.พ. www.ocsc.go.
ด้วยเทคโนโลยี Cloud การบริหารจัดการ th/pwst
และการประยุกต์ใช้ระบบการประชุมทางไกล

90 วารสารดำ�รงราชานุภาพ

เอกสารอา้ งองิ

[1] กลุ่มประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ ส�ำนักโฆษก. (2563). ค�ำแถลงการณ์นายกรัฐมนตรี
สบื คน้ จากhttps://spm.thaigov.go.th/web/CRTPRS/spm-sp-layout6.asp?i=21111%
2E92714702112113121111311

[2] ธนวัฒน์ วรี ษร. (2563). “กำ� ลังคน (ภาครฐั ) ในศตวรรษที่ 21” “FASTER GOVERNMENT :
พลิกวกิ ฤตเปน็ โอกาส เปลย่ี นภาครฐั ส่ศู ตวรรษท่ี 21”. วารสารข้าราชการ, 28.

[3] ดนุวัศ สาคริก. (2563). การปรับเปลี่ยนการปฏิบัติราชการภาครัฐสู่ New Normal.
เอกสารประกอบการน�ำเสนอในกิจกรรมเสริมสร้างองค์ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ
การประสาน ตดิ ตามการดำ� เนนิ งานนโยบายรฐั บาล ยทุ ธศาสตร์ และขอ้ สง่ั การนายกรฐั มนตรี
: การปรบั เปลีย่ นการปฏบิ ตั ิราชการภาครฐั สู่ New Normal, โรงแรมเดอะ ทวนิ ทาวเวอร์
กรุงเทพฯ.

[4] กลุ เชษฐ์ มงคล. (2563). การคดิ เชงิ กลยทุ ธ์ (Strategic Thinking). เอกสารประกอบการนำ� เสนอ
ในกจิ กรรมเสรมิ สรา้ งองคค์ วามรแู้ ละความเขา้ ใจเกยี่ วกบั การประสาน ตดิ ตามการดำ� เนนิ งาน
นโยบายรฐั บาล ยทุ ธศาสตร์ และขอ้ สง่ั การนายกรฐั มนตรี : การปรบั เปลย่ี นการปฏบิ ตั ริ าชการ
ภาครฐั สู่ New Normal, โรงแรมเดอะ ทวนิ ทาวเวอร์ กรงุ เทพฯ.

การขอรับการสนับสนุนงบประมาณ การบริหารงบประมาณ
และการติดตามผลการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี

ของหน่วยรับงบประมาณ

จริยา ชมุ พงษ1์

หากท�ำแผนแล้วไม่รู้แหล่งของเงิน ประจำ� ปี ตามนยั “มาตรา 140 การจา่ ยเงนิ แผน่ ดนิ
ก็เปรียบเสมอื นมีเบด็ พรอ้ ม เรือพรอ้ ม แต่ไมร่ ู้ว่า จะกระท�ำได้เฉพาะท่ีได้อนุญาตไว้ในกฎหมาย
แหลง่ นำ้� ทป่ี ลาอาศยั นน้ั อยทู่ ไ่ี หน อยา่ ! ทำ� แตแ่ ผน ว่าด้วยงบประมาณรายจ่าย กฎหมายว่าด้วย
ที่ ส ว ย ห รู โ ด ย ไ ม ่ รู ้ ว ่ า จ ะ เ ส า ะ แ ส ว ง ห า เ งิ น วิธีการงบประมาณ หรือกฎหมายเก่ียวด้วย
ท�ำแผนจากท่ีใด นกั วางแผนที่ดีจงึ ควรรู้ช่องทาง การโอนงบประมาณ กฎหมายว่าด้วยเงินคงคลงั
งบประมาณให้กว้างขวาง ออกแบบกิจกรรม/ หรือกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ
แผนงาน/โครงการ ให้ตรงกับวัตถุประสงค์ เว้นแตใ่ นกรณีจําเป็นรีบด่วน จะจา่ ยไปก่อนก็ได้
ของแหล่งเงินงบประมาณ การค�ำนึงถึง แต่ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการ
ความพร้อมของโครงการ ความคุ้มค่าของ ท่ีกฎหมายบัญญัติ ในกรณีเช่นว่านี้ต้องต้ัง
โครงการ จะแสดงถึงความส�ำคัญว่าทำ� ไมจงึ ต้อง งบประมาณรายจ่ายชดใช้ในพระราชบัญญัติ
ทำ� โครงการ และเมอื่ ไดร้ บั อนมุ ตั งิ บประมาณแลว้ โอนงบประมาณรายจ่ายหรือพระราชบัญญัติ
นักวางแผนจะเข้าสู่โหมดการบริหารโดยติดตาม งบประมาณ รายจา่ ยเพม่ิ เตมิ หรอื พระราชบญั ญตั ิ
ผลความคืบหน้าท้ังผลงาน และผลการเบิกจ่าย งบประมาณรายจา่ ยประจำ� ปงี บประมาณถดั ไป”
งบประมาณ เร่งหาปัญหาอุปสรรคว่าเหตุใด ประกอบกับพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ
โครงการไม่ก้าวหน้า หรือเบิกจ่ายงบประมาณ พ.ศ. 2561 ตามมาตรา 6 และมาตรา 7 กำ� หนดให้
ได้ลา่ ชา้ เพ่อื นำ� ไปแกไ้ ขโดยเรว็ การจัดท�ำงบประมาณ การบริหารงบประมาณ
รายจา่ ย การควบคมุ งบประมาณ และการประเมนิ ผล
งบประมาณรายจา่ ยประจ�ำปี ชอ่ งทางหลกั และการรายงาน ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย และ
ของนกั วางแผน ให้หน่วยรับงบประมาณใช้จ่ายงบประมาณ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ตามกฎหมายว่าด้วยงบประมาณรายจ่ายอย่าง
พุทธศักราช 2560 ก�ำหนดไว้ชัดเจนเกี่ยวกับ เครง่ ครัด โดยต้องเปน็ ไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพสูงสดุ
การจ่ายเงินแผ่นดิน หรืองบประมาณรายจ่าย เพ่ือประโยชน์ของประเทศชาติและประชาชน

1ผู้เช่ียวชาญเฉพาะดา้ นนโยบายและแผน สำ�นักนโยบายและแผน สำ�นักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย

92 วารสารดำ�รงราชานภุ าพ

เปน็ สำ� คญั โดยใหผ้ อู้ ํานวยการสำ� นกั งบประมาณ และวิธีการยื่นค�ำขอตั้งงบประมาณรายจ่าย
มี ห น ้ า ท่ี แ ล ะ อ� ำ น า จ เ กี่ ย ว กั บ ก า ร จั ด ท� ำ ของหน่วยรับงบประมาณ ทั้งน้ี เน่ืองจาก
งบประมาณรายจา่ ยประจำ� ปขี องหนว่ ยงานภาครฐั การจา่ ยเงนิ แผน่ ดนิ จะตอ้ งตง้ั เปน็ พระราชบญั ญตั ิ
และกำ� หนดให้ “หนว่ ยรบั งบประมาณ” หมายความวา่ งบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี จึงต้องเสนอรา่ ง
หน่วยงานของรัฐท่ีขอรับหรือได้รับจัดสรร พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี
งบประมาณรายจ่าย โดย “หน่วยงานของรัฐ” งบประมาณตามรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย
หมายความวา่ (1) สว่ นราชการ ... ซงึ่ “สว่ นราชการ” พุทธศักราช 2560 มาตรา 140 - 145 กลา่ วคอื
หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม หรือ คณะรัฐมนตรีจะต้องเสนอร่างพระราชบัญญัติ
สว่ นราชการทเี่ รยี กชอื่ อยา่ งอน่ื และมฐี านะเปน็ กรม งบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีฯ ต่อสภาผู้แทน
และใหห้ มายความรวมถงึ จงั หวดั และกลมุ่ จงั หวดั ราษฎรและสภาผู้แทนราษฎรจะต้องพิจารณา
ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการ ให้แล้วเสร็จภายใน 105 วัน นับแต่วันท่ี
แผน่ ดินดว้ ย ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวมาถึงและเสนอต่อ
วุฒิสภา โดยวุฒิสภาจะต้องให้ความเห็นชอบ
วงรอบของงบประมาณแต่ละปี ภายใน 20 วัน และเมื่อร่างพระราชบัญญัติ
ที่ได้รับความเห็นชอบของรัฐสภาแล้วให้
จะเห็นได้ว่าในการบริหารงบประมาณ นายกรัฐมนตรีรอไว้ 5 วัน นับแต่วันที่ได้รับ
รายจ่ายประจ�ำปีของหน่วยงานภาครัฐในฐานะ รา่ งพระราชบัญญตั ินั้นจากรัฐสภา และหากไมม่ ี
หนว่ ยรบั งบประมาณ ตง้ั แตก่ ารขอรบั การจดั สรร สมาชิกรัฐสภา เห็นว่าร่างพระราชบัญญัติ
งบประมาณ การบริหารงบประมาณ ตลอดจน ดังกล่าวมีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ
การติดตามผลการเบิกจ่ายงบประมาณและ ใหน้ ายกรฐั มนตรนี ําขนึ้ ทลู เกลา้ ทลู กระหมอ่ มถวาย
ประเมนิ ผลการใชจ้ ่ายงบประมาณ มกี ฎหมายท่ี ภายใน 20 วนั นบั แต่วนั พ้นกําหนดเวลาดังกล่าว
เก่ียวข้องและแนวทางการด�ำเนินซึ่งเป็นวงรอบ ดังนั้น ในการจัดท�ำค�ำของบประมาณ
ของแต่ละปี โดยมีข้อสังเกตจากการด�ำเนินการ รายจ่ายประจ�ำปีของส่วนราชการ จังหวัด
ในแต่ละข้นั ตอน ดงั น้ี และกลมุ่ จงั หวดั ในฐานะหนว่ ยรบั งบประมาณนนั้
ส�ำนักงบประมาณจะเสนอขอความเห็นชอบ
 การขอรับการจดั สรรงบประมาณ ปฏิทินการจัดท�ำงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี
ในการขอรับการจัดสรรงบประมาณ พ.ศ.... และแนวทางการจัดท�ำงบประมาณ
รายจ่ายประจ�ำปีของหน่วยรับงบประมาณ รายจ่ายประปีงบประมาณ พ.ศ.... ต่อ
ต้องด�ำเนินการตามพระราชบัญญัติวิธีการ คณะรัฐมนตรี ก่อนประกาศใช้พระราชบัญญัติ
งบประมาณ พ.ศ. 2561 ซึ่งให้เป็นอ�ำนาจ งบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีงบประมาณ
ของส�ำนักงบประมาณในการก�ำหนดหลักเกณฑ์ ในวันเริ่มต้นปีงบประมาณ ล่วงหน้าประมาณ


Click to View FlipBook Version