แผนการจัดการเรียนรู้
หนว่ ยท่ี 1 อา่ นออกเสียงเรยี งภาษา
รายวชิ าภาษาไทย 4 รหัส ท 22102
ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2
จดั ทำโดย
นางสาวมยรุ ี จรญั รักษ์
ตำแหนง่ ครชู ำนาญการ
โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวทิ ยาลยั สรุ าษฎรธ์ านี
อำเภอไชยา จังหวดั สุราษฎรธ์ านี
สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษาสุราษฎรธ์ านี ชมุ พร
แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 1
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท 22102 ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 อ่านออกเสียงเรียงภาษา เวลา 10 ชั่วโมง
เรือ่ ง การจบั ใจความสำคัญจากการอา่ น เวลา 1 ช่ัวโมง
ผสู้ อน นางสาวมยุรี จรัญรกั ษ์ โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลยั สรุ าษฎรธ์ านี
สาระสำคัญ
ใจความสำคัญ หมายถึง ใจความที่สำคัญ และเด่นทสี่ ุดในย่อหน้า เปน็ แก่นของย่อหนา้ ทส่ี ามารถ
ครอบคลุมเนอื้ ความในประโยคอ่ืนๆ ในยอ่ หน้านั้นหรอื ประโยคท่ีสามารถเป็นหัวเร่อื งของย่อหน้านนั้ ได้ ถ้าตดั
เน้อื ความของประโยคอืน่ ออกหมด หรอื สามารถเปน็ ใจความหรือประโยคเดยี่ ว ๆ ได้ โดยไม่ต้องมปี ระโยคอื่น
ประกอบ ซึง่ ใน แต่ละยอ่ หน้าจะมปี ระโยคในความสำคัญเพียงประโยคเดียว หรอื อยา่ งมากไม่เกนิ ๒ ประโยค
ใจความรอง หรอื พลความ (พน-ละ-ความ) หมายถึง ใจความ หรอื ประโยคที่ขยายความประโยคใจความ
สำคัญ เป็นใจความสนบั สนนุ ใจความสำคัญให้ชัดเจนข้นึ อาจเปน็ การอธิบายให้รายละเอียด ให้คำจำกัดความ
ยกตัวอยา่ ง เปรียบเทยี บ หรอื แสดงเหตผุ ลอยา่ งถ่ีถ้วน เพื่อสนับสนุนความคิด สว่ นท่มี ใิ ช่ใจความสำคญั และมิใช่
ใจความรอง แต่ชว่ ยขยายความให้มากข้นึ คือ รายละเอยี ด
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้ ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความร้แู ละความคิดเพอ่ื นำไปใชต้ ัดสินใจแก้ปัญหาในการ
ดำเนนิ ชีวิตและมนี ิสยั รักการอา่ น
ตัวชว้ี ัด จับใจความสำคญั สรปุ ความและอธิบายรายละเอียดจากเรือ่ งที่อ่านได้
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ บอกหลกั การอ่านจบั ใจความสำคัญได้
สาระการเรียนรู้
ด้านความรู้ .
-หลักการอ่านจบั ใจความสำคัญ
ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ
-ศกึ ษาหลกั การอ่านจบั ใจความสำคญั
ด้านคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5. อยู่อย่างพอเพียง
2. ซ่อื สัตย์สุจริต 6. มงุ่ มั่นในการทำงาน
3. มีวนิ ยั 7. รกั ความเป็นไทย
4. ใฝเ่ รียนรู้ 8. มจี ติ สาธารณะ
เบญจวถิ ีกาญจนา
1. เทดิ ทนู สถาบนั
2. กตญั ญู
3. บคุ ลิกดี
4. มวี ินยั
5. ให้เกยี รติ
สมรรถนะทสี่ ำคญั ของผ้เู รียน
1. ความสามารถในการสือ่ สาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
จุดเน้นสกู่ ารพัฒนาผ้เู รียน
ความสามารถและทกั ษะที่จำเป็นในการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
R1– Reading (อ่านออก) R2– (W)Riting (เขยี นได)้ R3 – (A)Rithmetics (คดิ เลขเป็น)
C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะด้านการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณและทักษะใน
การแก้ปญั หา)
C2 - Creativity and Innovation (ทกั ษะด้านการสรา้ งสรรค์และนวตั กรรม)
C3 - Cross-cultural Understanding (ทกั ษะด้านความเขา้ ใจต่างวฒั นธรรมต่างกระบวนทัศน)์
C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดา้ นความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทีมและ
ภาวะผนู้ ำ)
C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะดา้ นการสื่อสารสารสนเทศและ
รู้เท่าทันส่ือ)
C6 - Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สอ่ื สาร)
C7 - Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทกั ษะการเรียนร้)ู
C8 – Compassion (ความมีเมตตากรณุ า วินยั คุณธรรม จรยิ ธรรม)
L1 – Learning (ทกั ษะการเรยี นรู้)
L2 – Leadership (ทกั ษะความเปน็ ผู้นำ)
การวดั และประเมินผล
ด้านความรู้
ภาระงาน/ วธิ กี ารวัด เคร่อื งมอื เกณฑ์ที่ใช้
ชนิ้ งาน
ศกึ ษา ใหน้ กั เรยี นตอบคำถาม การสงั เกต ระดับ 4 ดีเยี่ยม 8-10 คะแนน
หลักการจับ = ทำไดท้ ุกตัวช้ีวดั
ใจความ ระดับ 3 ดี 7 คะแนน
สำคัญ = ทำได้มาก
ระดบั 2 พอใช้ 6 คะแนน
= ทำไดน้ ้อย
ระดับ 1 ต้องปรบั ปรงุ
1-5 คะแนน
ด้านทกั ษะ/กระบวนการ
ภาระงาน/ วิธกี ารวัด เครอื่ งมอื เกณฑ์ที่ใช้
ชิ้นงาน
ศกึ ษา ใหน้ กั เรยี นตอบคำถาม การสังเกต ระดับ 4 ดีเย่ียม 8-10 คะแนน
หลกั การจบั = ทำได้ทกุ ตัวชี้วดั
ใจความ ระดับ 3 ดี 7 คะแนน
สำคญั = ทำได้มาก
ระดับ 2 พอใช้ 6 คะแนน
= ทำไดน้ อ้ ย
ระดบั 1 ต้องปรับปรุง
1-5 คะแนน
ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
ภาระงาน/ วธิ ีการวัด เครอ่ื งมอื เกณฑ์ที่ใช้
ชน้ิ งาน
ใฝร่ ้ใู ฝ่เรยี น สงั เกตจากพฤตกิ รรมการเรยี น สงั เกต ระดบั 3 ดี 8-10 คะแนน
= ทำได้ดี
ระดบั 3 ดี 6-7 คะแนน
= ทำได้พอใช้
ระดบั 1 ทำได้ 1-5 คะแนน
= ตอ้ งปรบั ปรงุ
กิจกรรมการเรยี นรู้
ใชก้ ระบวนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้แบบบรรยาย
ขน้ั ที่ 1 นำเขา้ สูบ่ ทเรียน
1) ครูนำข้อความมาใหน้ ักเรยี นดูและใหน้ ักเรียนลองบอกวา่ สว่ นใดคือใจความสำคัญ
ขน้ั ที่ 2 สอน
1)ครสู อบถามนักเรียนวา่ ใครทราบบา้ งว่าการอ่านจับใจความสำคญั คอื อะไร
2)ใหน้ กั เรียนช่วยกนั ใหค้ วามหมาย
3)ครสู รปุ ความหมายของการอ่านเพื่อจบั ใจความสำคญั
4)ครใู ห้นกั เรียนดยู ทู ูปเรื่องการจบั ใจความสำคญั จากการอา่ น
5)ครูให้นักเรยี นศกึ ษาเรอ่ื งการอา่ นจับใจความสำคัญจากแบบเรยี นหลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปมี ัธยมศึกษาปที ี่ 2 หน้า 23 เกี่ยวกับความหมาย ความสำคญั ของการอ่านจับใจความสำคัญ
และหลกั การอา่ นจับใจความสำคญั
6)ใหน้ ักเรยี นอา่ นออกเสียงบทความเร่อื งพระอรหนั ตอ์ ยใู่ นบ้านคนละยอ่ หนา้ เพื่อจับใจความสำคัญ
ใหน้ ักเรยี นช่วยกนั จบั ใจความสำคัญแต่ละยอ่ หน้า
7)นกั เรยี นสามารถไปศึกษาเพ่มิ เตมิ ไดจ้ ากอนิ เตอร์เนต็
8)มอบหมายงานเปน็ การบา้ นให้นักเรยี นไปจบั ใจความสำคญั เรื่องเศรษฐกจิ พอเพียง
ข้ันท่ี 3 สรปุ
1)ใหน้ ักเรียนตอบคำถามทบทวนเร่ืองหลักการอ่านจบั ใจความสำคญั
ส่อื /แหล่งเรยี นรู้
สื่อการเรยี นรู้
1)ยทู ปู เร่ืองการจับใจความสำคัญจากการอ่าน
2)แบบเรยี นหลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทยชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2
แหล่งเรยี นรู้
1)อินเตอร์เนต็
สรปุ ผลการจดั การเรียนรู้ ช่วงคะแนน จำนวน (คน) คิดเปน็ ร้อยละ
ดา้ นความรู้ 8-10 74 31.62
กลมุ่ ผู้เรียน 6-7 80 34.19
ดี 0-5 80 34.19
ปานกลาง
ปรับปรงุ ชว่ งคะแนน จำนวน (คน) คดิ เป็นรอ้ ยละ
8-10 74 31.62
ด้านทักษะ/กระบวนการ 6-7 80 34.19
กลุ่มผเู้ รียน 0-5 80 34.19
ดี
ปานกลาง
ปรับปรงุ
ดา้ นคณุ ลกั ษะอนั พึงประสงค์
กลุ่มผู้เรียน ช่วงระดบั คณุ ภาพ จำนวน (คน) คิดเป็นรอ้ ยละ
117 50
ดี 3 117 50
- -
ปานกลาง 2
ปรบั ปรุง 0-1
บนั ทกึ หลงั การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ด้านการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
นักเรยี นใหค้ วามสนใจและเขา้ ใจเรอ่ื งการอา่ นจับใจความสำคญั
ปญั หาทพี่ บระหว่างหรือหลังจัดกจิ กรรม
เนื่องจากสถานการณโ์ ควิดทำให้มปี ญั หาเร่อื งสัญญาณอินเตอร์เน็ตบ้างเลก็ นอ้ ย
ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่อื ........................................................ผู้สอน
(นางสาวมยุรี จรัญรกั ษ์)
1/11/2564
การตรวจสอบและความคิดเหน็ ของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานและตัวชีว้ ัดของหลักสูตรฯ
กิจกรรมการเรียนร้เู นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั
มกี ารวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจริง มีความหลากหลายเหมาะสมกับผู้เรียน
ใชส้ ื่อหรอื แหล่งเรยี นรู้ทท่ี นั สมัยและส่งเสรมิ การเรยี นรไู้ ด้อย่างมีประสทิ ธิภาพ
สอดคลอ้ งตามจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ สพฐ. และจุดเนน้ ของโรงเรียน
สง่ เสริมทกั ษะ 3Rs x 8Cs x 2Ls ส่งเสริมเบญจวิถีกาญจนา
ลงชอื่ ..............................................................
(นางสาวอรพณิ สันเสน็ )
หวั หนา้ กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
การตรวจสอบและความคดิ เห็นของหวั หนา้ กลุม่ บริหารวชิ าการ
ถูกตอ้ งตามรปู แบบของโรงเรยี น
ผ่านการนเิ ทศตรวจสอบจากหัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้/กรรมการนเิ ทศ
ก่อนใช้สอน หลงั ใช้สอน
มบี ันทกึ หลงั จดั กจิ กรรมการเรียนรู้
ลงชอ่ื ..............................................................
(นายธนพันธ์ เพ็งสวัสด์ิ)
หวั หนา้ กลุม่ บริหารวชิ าการ
ความคิดเหน็ ของรองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................
ลงชอ่ื ....................................................................
(นางสาวชณิดาภา เวชกลุ )
รองผู้อำนวยการโรงเรยี น กลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ
ความคดิ เห็นของผ้อู ำนวยการโรงเรยี น
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………….........................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................
ลงช่ือ....................................................................
( นางพรทิพย์ นุกลู กจิ )
ผู้อำนวยการโรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลยั สุราษฎรธ์ านี
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 2
รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวิชา ท 22102 ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 2
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 อ่านออกเสยี งเรียงภาษา เวลา 10 ชว่ั โมง
เรื่อง การจับใจความสำคญั จากบทความ เวลา 1 ชว่ั โมง
ผูส้ อน นางสาวมยรุ ี จรญั รักษ์ โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลัย สรุ าษฎรธ์ านี
สาระสำคญั
บทความ คือ ความเรยี งประเภทหน่ึงท่ีเขียนเพอื่ เสนอความรู้ ความคิด มีรูปแบบการเขยี นคลา้ ยกับ
เรียงความ แต่การเขยี นบทความจะต้องมเี รื่องราวมาจากข้อเทจ็ จรงิ หรอื ข่าวประจำวนั มคี วามทนั สมยั ทันต่อ
เหตุการณ์ อยู่ในความสนใจของผูอ้ า่ นและผู้เขยี น และจะต้องสอดแทรกข้อเสนอเชิงวชิ าการ หรือความคดิ เห็น
เชงิ สร้างสรรคไ์ ว้ด้วย
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ัด
มาตรฐานการเรยี นรู้ ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรู้และความคิดเพอื่ นำไปใชต้ ัดสินใจแก้ปญั หาในการ
ดำเนนิ ชวี ติ และมีนสิ ัยรกั การอา่ น
ตัวช้วี ัด จับใจความสำคัญ สรปุ ความและอธบิ ายรายละเอียดจากเรือ่ งท่อี า่ นได้
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ จบั ใจความสำคัญจากบทความได้
สาระการเรียนรู้
ด้านความรู้ .
-บทความ
ดา้ นทักษะ/กระบวนการ
-จับใจความสำคัญจากบทความ
ด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5. อยู่อย่างพอเพียง
2. ซื่อสตั ย์สจุ ริต 6. มุ่งมน่ั ในการทำงาน
3. มีวินยั 7. รักความเปน็ ไทย
4. ใฝเ่ รยี นรู้ 8. มีจิตสาธารณะ
เบญจวถิ ีกาญจนา
1. เทดิ ทนู สถาบนั
2. กตญั ญู
3. บคุ ลิกดี
4. มวี นิ ยั
5. ให้เกยี รติ
สมรรถนะท่สี ำคญั ของผเู้ รยี น
1. ความสามารถในการส่ือสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปญั หา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
จดุ เนน้ ส่กู ารพัฒนาผู้เรยี น
ความสามารถและทกั ษะท่ีจำเป็นในการเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
R1– Reading (อา่ นออก) R2– (W)Riting (เขียนได)้ R3 – (A)Rithmetics (คิดเลขเป็น)
C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะดา้ นการคดิ อย่างมีวิจารณญาณและทักษะใน
การแก้ปัญหา)
C2 - Creativity and Innovation (ทกั ษะด้านการสรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม)
C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรมต่างกระบวนทศั น์)
C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทีมและ
ภาวะผนู้ ำ)
C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะดา้ นการสื่อสารสารสนเทศและ
ร้เู ทา่ ทันสอ่ื )
C6 - Computing and ICT Literacy (ทกั ษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สอ่ื สาร)
C7 - Career and Learning Skills (ทักษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นร)ู้
C8 – Compassion (ความมีเมตตากรุณา วนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม)
L1 – Learning (ทักษะการเรยี นร)ู้
L2 – Leadership (ทกั ษะความเป็นผู้นำ)
การวดั และประเมินผล
ด้านความรู้
ภาระงาน/ วิธีการวดั เครอ่ื งมือ เกณฑท์ ใ่ี ช้
ชิ้นงาน
จบั ใจความ ใหน้ ักเรยี นจับใจความสำคัญ การประเมนิ ระดบั 4 ดเี ย่ียม 8-10 คะแนน
สำคญั จาก ความถูกตอ้ ง = ทำได้ทุกตัวชี้วดั
บทความ ระดับ 3 ดี 7 คะแนน
= ทำได้มาก
ระดบั 2 พอใช้ 6 คะแนน
= ทำไดน้ ้อย
ระดับ 1 ตอ้ งปรับปรงุ
1-5 คะแนน
ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ
ภาระงาน/ วธิ ีการวัด เคร่อื งมอื เกณฑ์ทใ่ี ช้
ชน้ิ งาน
จับใจความ ใหน้ ักเรยี นจบั ใจความสำคัญ การประเมิน ระดับ 4 ดีเย่ียม 8-10 คะแนน
สำคญั จาก ความถกู ต้อง = ทำไดท้ ุกตวั ชี้วัด
บทความ ระดับ 3 ดี 7 คะแนน
= ทำไดม้ าก
ระดับ 2 พอใช้ 6 คะแนน
= ทำได้นอ้ ย
ระดับ 1 ตอ้ งปรบั ปรุง
1-5 คะแนน
ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
ภาระงาน/ วธิ กี ารวดั เครอื่ งมือ เกณฑ์ท่ใี ช้
ชิน้ งาน
ใฝ่รู้ใฝ่เรยี น สังเกตจากพฤตกิ รรมการเรียน สังเกต ระดับ 3 ดี 8-10 คะแนน
= ทำได้ดี
ระดบั 3 ดี 6-7 คะแนน
= ทำได้พอใช้
ระดบั 1 ทำได้ 1-5 คะแนน
= ต้องปรับปรงุ
กิจกรรมการเรียนรู้
ใช้กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนร้แู บบบรรยาย
ขั้นที่ 1 นำเขา้ สูบ่ ทเรียน
1) ครนู ำบทความมาให้นกั เรยี นดูและสอบถามนกั เรยี นว่าเป็นงานเขียนประเภทใด
2) เมือ่ นกั เรยี นตอบวา่ บทความใหน้ ักเรยี นลองใหค้ ำจำกัดความว่าบทความคอื อะไร
ข้ันท่ี 2 สอน
1) ใหน้ ักเรียน
1) ใหน้ กั เรียนอ่านออกเสยี งบทความเร่อื งพระอรหนั ต์อยใู่ นบ้านคนละย่อหนา้ เพื่อจับใจความสำคญั
2) ใหน้ ักเรียนช่วยกนั จบั ใจความสำคญั แต่ละย่อหน้า
3) นกั เรียนสามารถไปศึกษาเพิ่มเติมไดจ้ ากอนิ เตอร์เน็ต
4) มอบหมายงานเปน็ การบ้านให้นักเรยี นไปจับใจความสำคญั จากบทความเรอื่ งเศรษฐกจิ พอเพียง
ขั้นท่ี 3 สรุป
1) ให้นกั เรียนตอบคำถามทบทวนเรอื่ งหลกั การอา่ นจับใจความสำคญั
ส่ือ/แหล่งเรียนรู้
สอ่ื การเรยี นรู้
1) แบบเรียนหลกั ภาษาและการใชภ้ าษาไทยชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2
แหล่งเรยี นรู้
1) อินเตอรเ์ น็ต
สรปุ ผลการจัดการเรยี นรู้
ดา้ นความรู้
กล่มุ ผ้เู รยี น ช่วงคะแนน จำนวน (คน) คดิ เปน็ ร้อยละ
ดี 8-10 80 34.19
ปานกลาง 6-7 80 34.19
ปรับปรงุ 0-5 74 31.62
ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ ช่วงคะแนน จำนวน (คน) คิดเปน็ ร้อยละ
กลุ่มผเู้ รียน 8-10 80 34.19
ดี 6-7 80 34.19
ปานกลาง 0-5 74 31.62
ปรบั ปรุง
ด้านคุณลักษะอันพึงประสงค์
กลมุ่ ผู้เรียน ชว่ งระดบั คุณภาพ จำนวน (คน) คิดเปน็ รอ้ ยละ
117 50
ดี 3 117 50
- -
ปานกลาง 2
ปรับปรงุ 0-1
บันทกึ หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ด้านการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
นักเรียนจบั ใจความสำคญั จากบทความได้
ปัญหาท่ีพบระหวา่ งหรอื หลงั จัดกิจกรรม
เน่ืองจากสถานการณโ์ ควดิ ทำให้นักเรยี นมีปัญหาเร่อื งสญั ญาณอินเตอร์เน็ตอยูบ่ ้าง
ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่ือ........................................................ผู้สอน
(นางสาวมยุรี จรญั รกั ษ์)
3 / 11 /2564
การตรวจสอบและความคิดเหน็ ของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานและตัวชีว้ ัดของหลักสูตรฯ
กิจกรรมการเรียนร้เู นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั
มกี ารวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจริง มีความหลากหลายเหมาะสมกับผู้เรียน
ใชส้ ื่อหรอื แหล่งเรยี นรู้ทท่ี นั สมัยและส่งเสรมิ การเรยี นรูไ้ ด้อย่างมีประสิทธภิ าพ
สอดคลอ้ งตามจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ สพฐ. และจุดเนน้ ของโรงเรียน
สง่ เสริมทกั ษะ 3Rs x 8Cs x 2Ls ส่งเสริมเบญจวิถีกาญจนา
ลงชอื่ ..............................................................
(นางสาวอรพณิ สันเสน็ )
หวั หนา้ กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
การตรวจสอบและความคดิ เห็นของหวั หนา้ กลุม่ บริหารวชิ าการ
ถูกตอ้ งตามรปู แบบของโรงเรยี น
ผ่านการนเิ ทศตรวจสอบจากหัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้/กรรมการนเิ ทศ
ก่อนใช้สอน หลงั ใช้สอน
มบี ันทกึ หลงั จดั กจิ กรรมการเรียนรู้
ลงชอ่ื ..............................................................
(นายธนพนั ธ์ เพ็งสวัสด์ิ)
หวั หนา้ กลุม่ บริหารวชิ าการ
ความคิดเหน็ ของรองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................
ลงชื่อ....................................................................
(นางสาวชณดิ าภา เวชกุล)
รองผู้อำนวยการโรงเรยี น กลุ่มบริหารงานวิชาการ
ความคดิ เห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………….........................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................
ลงชือ่ ....................................................................
( นางพรทพิ ย์ นกุ ลู กิจ )
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย สุราษฎรธ์ านี
การอ่านจบั ใจความสำคญั
ความหมายของการอา่ นจับใจความสำคัญ
คอื การอา่ นเพือ่ จับใจความหรือข้อคดิ ความคิดสำคัญหลักของข้อความ หรือเรื่องที่อา่ นเปน็ ข้อความที่คลุมขอ้ ความ
อนื่ ๆ ในย่อหน้าหนึง่ ๆ ไวท้ งั้ หมด
ใจความสำคัญ หมายถึง ใจความที่สำคญั และเด่นทส่ี ดุ ในยอ่ หนา้ เปน็ แก่นของยอ่ หน้าทส่ี ามารถครอบคลุมเนอ้ื ความ
ในประโยคอื่นๆ ในยอ่ หน้านนั้ หรือประโยคที่สามารถเป็นหัวเรื่องของยอ่ หน้านน้ั ได้ ถ้าตดั เน้ือความของประโยคอ่ืน
ออกหมด หรอื สามารถเป็นใจความหรอื ประโยคเดี่ยว ๆ ได้ โดยไม่ตอ้ งมีประโยคอ่ืนประกอบ ซ่ึงใน แตล่ ะย่อหน้าจะมี
ประโยคในความสำคัญเพียงประโยคเดยี ว หรอื อย่างมากไมเ่ กิน ๒ ประโยค
ใจความรอง หรอื พลความ (พน-ละ-ความ) หมายถงึ ใจความ หรอื ประโยคที่ขยายความประโยคใจความสำคัญ เป็น
ใจความสนบั สนุนใจความสำคญั ให้ชดั เจนขน้ึ อาจเปน็ การอธบิ ายใหร้ ายละเอียด ให้คำจำกดั ความ ยกตวั อย่าง
เปรียบเทียบ หรือแสดงเหตผุ ลอยา่ งถ่ีถ้วน เพื่อสนับสนนุ ความคดิ สว่ นที่มใิ ช่ใจความสำคัญ และมใิ ช่ใจความรอง แต่
ชว่ ยขยายความให้มากขนึ้ คือ รายละเอียด
หลักการจบั ใจความสำคญั
1. ตง้ั จดุ มุง่ หมายในการอา่ นให้ชัดเจน
2. อา่ นเรื่องราวอยา่ งครา่ วๆ พอเข้าใจ และเกบ็ ใจความสำคัญของแต่ละยอ่ หน้า
3. เมอ่ื อา่ นจบให้ต้ังคำถามตนเองว่า เรอื่ งทอ่ี ่าน มีใคร ทำอะไร ทไี่ หน เม่ือไหร่ อย่างไร
4. นำสงิ่ ทีส่ รปุ ได้มาเรียบเรียงใจความสำคญั ใหม่ด้วยสำนวนของตนเองเพอื่ ให้เกิดความสละสลวย
วธิ กี ารจบั ใจความสำคญั
วธิ กี ารจับใจความมีหลายอย่าง ขึน้ อยูก่ ับความชอบว่าอย่างไร เชน่ การขดี เส้นใต้ การใช้สตี ่างๆ กนั แสดงความสำคัญ
มากน้อยของข้อความ การบันทกึ ยอ่ เป็นส่วนหนง่ึ ของการอา่ นจบั ใจความสำคญั ท่ดี ี แต่ผู้ท่ยี อ่ ควรย่อด้วยสำนวนภาษา
และสำนวนของตนเองไม่ควรยอ่ ด้วยการตัดเอาข้อความสำคญั มาเรยี งต่อกนั เพราะอาจทำให้ผู้อ่านพลาดสาระสำคัญ
บางตอนไปอันเปน็ เหตุใหก้ ารตคี วามผิดพลาดคลาดเคล่อื นได้ วธิ ีจับใจความสำคญั มีหลกั ดงั นี้
1. พิจารณาทีละย่อหนา้ หาประโยคใจความสำคัญของแต่ละยอ่ หน้า
2. ตัดส่วนที่เป็นรายละเอยี ดออกได้ เชน่ ตวั อยา่ ง สำนวนโวหาร อปุ มาอปุ ไมย(การเปรยี บเทยี บ) ตวั เลข สถติ ิ
ตลอดจนคำถามหรอื คำพูดของผู้เขียนซึ่งเปน็ ส่วนขยายใจความสำคญั
3. สรุปใจความสำคญั ดว้ ยสำนวนภาษาของตนเอง
การพจิ ารณาตำแหน่งใจความสำคัญ
ใจความสำคัญของข้อความในแต่ละย่อหน้าจะปรากฏดังนี้
1. ประโยคใจความสำคัญอยู่ตอนตน้ ของยอ่ หน้า
2. ประโยคใจความสำคัญอยตู่ อนกลางของยอ่ หน้า
3. ประโยคใจความสำคัญอย่ตู อนท้ายของย่อหน้า
4. ประโยคใจความสำคญั อยตู่ อนต้นและตอนท้ายของยอ่ หน้า
5. ผู้อ่านสรุปขึน้ เอง จากการอา่ นทัง้ ย่อหน้า (ในกรณีใจความสำคญั หรือความคิดสำคญั อาจอยรู่ วมในความคดิ ยอ่ ยๆ
โดยไม่มีความคิดที่เป็นประโยคหลกั )
การอา่ นจบั ใจความเพอ่ื หาคำสำคญั
การอ่านจบั ใจความเพือ่ หาคำสำคญั เปน็ การอ่านเพ่ือค้นหาคำสำคัญทป่ี รากฏอยใู่ นเรือ่ ง เพราะคำสำคัญจะชว่ ยให้
ผอู้ ่านสามารถคาดเดาเรอื่ งราวได้ กอ่ นทจ่ี ะอ่านรายละเอียดตอ่ ไป
ความหมายของคำสำคญั
คำสำคญั หมายถึง คำท่ีบง่ บอกสาระสำคญั ของเรื่อง หรือคำท่ีมีความหมายพเิ ศษ เพ่ือกำหนดเป้าหมายท่จี ะนำไปสู่
แนวคิดของเร่ือง ซง่ึ ในเร่ืองอาจมีคำสำคัญหลายคำกไ็ ด้และเมื่อนำคำเหลา่ น้ันมาเรียบเรียงจะทำให้เขา้ ใจเรอื่ งทอี่ า่ น
อยา่ งคร่าวๆ
ลกั ษณะของคำสำคัญ
1. เป็นคำที่ผ้เู ขยี นพมิ พต์ วั หนา ตัวเอน หรือขีดเส้นใต้ หรอื คำทอี่ ย่ใู นเครอื่ งหมายคำพูด เช่น
ตัวเล็กนิด มพี ิษเหลอื ใจ
สตั วม์ ีพิษมอี ย่ทู ว่ั ไป เชน่ แมงปอ่ ง ตะขาบ มดแดง และมดคนั ไฟ พบอยู่บนดินในซอกหนิ ซอกไม้ และโพรงไม้ ตัวตอ่
แตน และผึ้ง พบอยู่ตามตน้ ไม้ คางคก และปลงิ พบตามหว้ ย หนอง คลอง บงึ ยุง และ บ่งึ บินอยู่ในอากาศ
สตั วแ์ ต่ละชนิดมอี าวธุ สำหรับตอ่ ส้ศู ัตรู อาวธุ เหล่านี้อาจอู่ตรงส่วนใดของสัตว์กไ็ ด้ เม่ือมนั กัดหรือตอ่ ยศัตรแู ลว้ กจ็ ะฉดี
นำ้ พษิ เขา้ ทางแผลทำให้เจบ็ ปวด บางชนิดอาจเป็นอนั ตรายถึงตายได้
จากขอ้ ความข้างต้น คำท่พี ิมพต์ วั หนา คือ แมงปอ่ ง ตะขาบ มดแดง มดคนั ไฟ ตวั ต่อ แตน ผึง้ คางคก ปลงิ ยุง
และบ่ึง แสดงวา่ ผู้เขียนตอ้ งการบอกให้ทราบวา่ สัตวท์ พ่ี ิมพ์ตัวหนา ถึงแมจ้ ะตัวเล็ก แตเ่ ปน็ สัตว์มพี ษิ ซึ่งคำทพ่ี ิมพ์
ด้วยตวั หนาดังกลา่ ว จึงเปน็ คำสำคัญของขอ้ ความน้ี
2. เปน็ คำทแี่ สดงใหเ้ ห็นถงึ ความเปน็ เหตุและเป็นผลของเรือ่ งราวหรือเหตุการณท์ ี่เกิดขนึ้ เช่น
เศรษฐกิจพอเพียง คอื การสรา้ งงานอาชีพให้มีฐานะพอมพี อกิน เพยี งพอทจี่ ะพง่ึ พาตนเองได้ พระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยหู่ ัวรบั ส่งั วา่ เศรษฐกิจพอเพียง ต้องชว่ ยตัวเองไมฟ่ ุ่มเฟือย อย่อู ย่างธรรมดา อยู่อยา่ งมเี หตมุ ผี ล ถา้ เราดำเนิน
ชีวิตเช่นนี้ กค็ งมเี งินเหลอื เก็บ
จากข้อความข้างตน้ จะปรากฏคำทม่ี ีลักษณะเป็นเหตแุ ละผลกนั ซ่งึ เหตุก็คือ การดำเนนิ ชีวิตแบบเศรษฐกจิ จะทำใหม้ ี
เงินเหลอื เก็บ ดังนน้ั คำสำคญั ของขอ้ ความดังกลา่ ว คอื เศรษฐกิจพอเพียง
หลกั การอ่านจบั ใจความเพ่อื หาคำสำคญั
1. กรณที ีผ่ ูเ้ ขียนระบุคำสำคญั คอื คำท่ีพมิ พด์ ้วยตวั หนา ตัวเอน ขีดเสน้ ใต้ หรือคำทอ่ี ยู่ในเคร่ืองหมายคำพูด มี
ข้นั ตอนการอ่าน ดังนี้
ขน้ั ท่ี 1 อ่านชอื่ เรื่องแลว้ ทำความเขา้ ใจความหมายของชอ่ื เรื่อง
ขนั้ ท่ี 2 เพ่งตาที่จดุ ก่งึ กลางของบรรทัดแรก หรือช่ือเรอื่ ง แล้วใหเ้ คลอ่ื นสายดาผา่ นกง่ึ กลางของบรรทดั แรกเร่อื ยลงไป
จนถึงบรรทัดสดุ ท้าย เพอื่ หาคำที่พิมพ์ตวั หนา หรือตวั เอน หรือคำที่ขีดเสน้ ใต้ หรอื คำท่อี ยูใ่ นเครื่องหมายคำพูด
2. กรณีทผ่ี เู้ ขยี นไม่ได้ระบคุ ำสำคัญไว้ในเน้อื เร่ือง ให้ผู้อา่ นค้นหาคำสำคัญด้วยตนเอง มีขัน้ ตอนการอ่าน ดังนี้
ข้นั ท่ี 1 อ่านชื่อเรอ่ื งแล้วทำความเข้าใจความหมายของชอื่ เรือ่ ง
ขั้นที่ 2 เพง่ ตาท่ีจดุ กึ่งกลางของบรรทดั แรก แลว้ เคล่ือนสายตาผ่านคำทุกคำของแต่ละบรรทัด แล้วทำความเข้าใจ
ความหมายของคำทกุ คำ
ขน้ั ท่ี 3 ทำความเข้าใจเร่อื งราวในแต่ละย่อหน้า แล้วลองตอบคำถามให้ได้ว่า ใจความในแต่ละยอ่ หนา้ กลา่ วถงึ อะไร
และจดบันทึกใจความของแต่ละย่อหนา้ ไว้
ขน้ั ท่ี 4 อ่านเน้อื เร่อื งให้ละเอียดอกี ครั้ง เพ่อื ตรวจทานข้อสรุปทไี่ ด้จดบันทึกไว้ว่าถูกต้อง สมบูรณ์หรอื ไม่
การอา่ นจบั ใจความเพ่อื หาประโยคสำคัญ
การอ่านจบั ใจความเพอื่ หาประโยคสำคัญในเร่อื งทีอ่ า่ น จะชว่ ยให้ผอู้ า่ นสามารถจับใจความได้รวดเร็วข้นึ
ความหมายของประโยคสำคญั
ประโยคสำคญั หมายถึง ประโยคหลักของแต่ละย่อหน้า เป็นประโยคท่ีมีควรจดจำ
ลักษณะของประโยคหลกั
ประโยคสำคัญมีลกั ษณะ ดงั น้ี
1. เปน็ ประโยคหลกั ของข้อความในย่อหน้า โดยมีประโยคอนื่ ๆ ช่วยเสรมิ หรืออธบิ ายขยายความให้มีความละเอียด
ชดั เจนมากขน้ึ เช่น
น้ำเปน็ ทรพั ยากรธรรมชาติที่สำคัญ และจำเป็นต่อการดำรงชีวติ ของมนุษย์ สัตว์และพืช ส่ิงมีชีวติ ถา้ ขาดนำ้ จะต้อง
ตาย
จากข้อความข้างต้นประโยคสำคญั คอื น้ำเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สำคญั และจำเป็นตอ่ การดำรงชวี ิต ส่วนคำสำคญั
ของขอ้ ความอยู่ในประโยคสำคัญ คือ “นำ้ ”
2. เป็นประโยคทมี่ ักจะมีคำสำคญั ปรากฏอยู่ในประโยคนนั้ เชน่
น้ำสะอาด คอื นำ้ ทีไ่ ม่มีสิ่งสกปรกและเช้อื โรคเจือปน การทำน้ำให้สะอาด ทำได้โดยการต้ม การใช้สารเคมี การกรอง
และการกลนั่
จากข้อความข้างต้นประโยคสำคัญ คือ นำ้ สะอาด คือ นำ้ ที่ไมม่ สี ิง่ สกปรกและเชอ้ื โรคเจือปน สว่ นคำสำคัญของ
ขอ้ ความอย่ใู นประโยคสำคัญ คือ “น้ำสะอาด”
3. เปน็ ประโยคหลักท่อี าจปรากฏอยูต่ อนตน้ ตอนกลาง หรอื ตอนท้ายของย่อหน้า อยา่ งใดอย่างหน่ึงข้นึ อยู่กบั
วตั ถปุ ระสงค์ของผเู้ ขียน เช่น
ประโยคสำคัญอยูต่ อนตน้ ของยอ่ หนา้
ดวงอาทติ ยเ์ ปน็ แหล่งใหพ้ ลงั งานความร้อนและแสงสว่าง ความรอ้ นจากด้วยอาทิตย์ ทำให้โลกอบอนุ่ แสงจากดวง
อาทิตย์ทำใหเ้ ราเหน็ สง่ิ ต่าง ๆ
ประโยคสำคญั คือ “ดวงอาทติ ยเ์ ป็นแหลง่ ให้พลังงานความร้อนและแสงสว่าง” อยูต่ อนต้นของย่อหน้า
ประโยคสำคัญอยู่ตอนกลางของยอ่ หน้า
แม่เสือและลกู เสือ 3 ตวั อาศยั อยู่ในป่าละเมาะใกล้ทุง่ หญา้ ตน้ ไมแ้ ละใบหญ้า ในบรเิ วณน้นั เรมิ่ มีสีเหลือง เพราะถูก
แสงแดดแผดเผา สว่ นนำ้ ในลำธารกแ็ ห้งขอด แม่เสือจึงพาลกู เสือเดนิ ทางออกมาจากบรเิ วณนัน้ ม่งุ หน้า
ตรงไปยังทศิ ตะวันตก ซงึ่ มภี เู ขาลูกใหญ่อยเู่ บ้อื งหน้า แมเ่ สอื คาดหวังวา่ ท่ภี เู ขาลกู นนั้
ะต้องมีอาหารอดุ มสมบรู ณ์ เพราะมันแลเหน็ ต้นไม้และใบหญา้ เขยี วชอ่มุ ต่างจากทม่ี นั อยู่
ประโยคสำคัญ “แม่เสอื จึงพาลกู เสอื เดนิ ทางออกมาจากบริเวณ” อยู่ตอนกลางของย่อหนา้
ประโยคสำคัญอยู่ตอนท้ายของย่อหนา้
เปน็ ท่ที ราบกันดีวา่ ปลาวาฬเป็นสัตวช์ า่ งคยุ และยังเป็นนักรอ้ งเพลง แต่บัดนีไ้ ทราบเพิม่ เตมิ ว่าการส่งเสียงรอ้ งเพลง
หรอื คุยกันของปลาวาฬ มไิ ดเ้ ปน็ การสื่อสารของปลาวาฬแบบปกตธิ รรมดา แต่เป็นการเตือนภยั และบอก
สภาพแวดลอ้ มรอบตัวของปลาวาฬ ปลาวาฬเปน็ สัตว์เลย้ี งลูกด้วยนมท่ีมีขนาดใหญ่ท่ีสุดในโลกชนิดแรกทีม่ รี ะบบ
เรดาร์เสียงนำ
ประโยคสำคัญ คอื “ปลาวาฬเป็นสัตว์เลีย้ งลูกด้วยนมที่มรี ะเรดาร์เสียงนำ” อย่ตู อนทา้ ยของยอ่ หนา้ เปน็ ประโยค
สำคัญสรปุ เนื้อความของยอ่ หนา้ น้วี า่ ปลาวาฬมีระบบเรดารเ์ สียงนำทาง เพื่อเตือนภัย และบอกสภาพแวดล้อมรอบตวั
ของปลาวาฬ มิใชเ่ สียงรอ้ งเพลงหรือพูดคุยของปลาวาฬ
หลกั การอ่านจับใจความโดยหาประโยคสำคญั
การอ่านจับใจความโดยหาประโยคสำคัญ ผ้อู ่านควรปฏิบัติ ดังน้ี
ขั้นท่ี 1 อา่ นสำรวจเพอื่ ตรวจหาคำสำคัญ
ขน้ั ที่ 2 อ่านละเอยี ด โดยให้ผ้อู า่ นอา่ นชื่อเรอ่ื งแล้วทำความเข้าใจความหมายของช่อื เร่ืองจากน้ันใหอ้ า่ นเน้ือเรือ่ งทีละ
ย่อหน้าใหเ้ ขา้ ใจเพื่อคน้ หาประโยคสำคัญ
ขน้ั ที่ 3 บนั ทึกประโยคสำคญั ของแต่ละยอ่ หนา้ ลงในสมุด
ข้นั ท่ี 4 อา่ นคร่าว ๆ เพ่อื ตรวจสอบความเข้าใจในเนือ้ เรอ่ื งทอ่ี า่ นแตล่ ะยอ่ หน้าและตรวจสอบความถูกตอ้ งของประโยค
สำคญั
ขัน้ ที่ 5 ตรวจทานความถกู ต้องในการบนั ทกึ ได้แก่ การเขียนสะกดคำความถูกต้องของ
ประโยค
การอ่านจับใจความเพ่ือหาข้อเท็จจริงและขอ้ คดิ เห็น
ขอ้ เท็จจริง หมายถงึ ขอ้ ความแหง่ เหตุการณ์ทเ่ี ป็นมาหรอื เปน็ อยูต่ ามความจรงิ ข้อความหรอื เหตุการณท์ ี่
จะตอ้ งวินจิ ฉยั ว่าเทจ็ หรอื จริง
ขอ้ คดิ เหน็ หมายถงึ ความเหน็ ความร้สู กึ นกึ คิดของผูส้ ่งสารที่สอดแทรกอยู่ในเน้ือหา
อาจกลา่ วไดว้ ่า ข้อเท็จจริง น้นั ตอ้ งสามารถพสิ ูจนส์ นับสนุนยืนยันได้
ขอ้ คดิ เห็น น้นั ไม่สามารถสนบั สนนุ ยืนยันได้
ลักษณะของข้อเทจ็ จริง
1. มีความเปน็ ไปได้
2. มีความสมจรงิ
3. มหี ลักฐานเชือ่ ถือได้
4. มีความสมเหตุสมผล
ลกั ษณะของขอ้ คิดเห็น
1. เป็นขอ้ ความทแี่ สดงความรูส้ ึก
2. เปน็ ข้อความทแ่ี สดงการคาดคะเน
3. เปน็ ขอ้ ความท่ีแสดงความเปรียบเทยี บหรืออปุ มาอปุ ไมย
4. เปน็ ขอ้ ความทเ่ี ปน็ ขอ้ เสนอแนะหรือเป็นแนวคดิ ของผพู้ ดู และผเู้ ขียนเอง
ตัวอยา่ งข้อความที่เปน็ ข้อเท็จจริง
1. กตเวที หมายถงึ สนองคุณท่าน (พิสจู น์ได้ดว้ ยค้นความหมายจากพจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตสถาน
พ.ศ.2545)
2. ดวงตาเป็นอวัยวะท่ที ำใหม้ องเหน็ (พสิ จู น์ไดจ้ ากประสบการณ์)
ตวั อย่างข้อความทเ่ี ปน็ ขอ้ คิดเหน็
1. การปกครองในระบอบประชาธิปไตยดีทสี่ ุด (ไม่มีข้อวนิ ิจฉัย)
2. คนเรียนเกง่ ยอ่ มประสบความสำเร็จในชวี ติ เสมอ (ไมม่ ีข้อยืนยนั )
3. การรบั ประทานผกั ไม่นา่ จะเป็นผลดีตอ่ ร่างกาย (ไม่มขี ้อยืนยัน)
การลำดบั เหตุการณ์และคาดคะเนเหตกุ ารณ์
การคิดวิเคราะห์ในการรับสาร
การสอื่ สารในปัจจุบนั ผ่านสอ่ื หลายประเภท เชน่ หนงั สอื พมิ พ์ วารสาร โทรทัศน์ วทิ ยุ โทรศพั ท์
อนิ เทอรเ์ น็ต ฯลฯ ผู้สง่ สารถา่ ยทอดความรู้ ความเข้าใจ และความคดิ เห็น โดยการพดู และการเขยี นตามประสบการณ์
การศึกษาและการอบรม ตลอดจนความเชอ่ื และนสิ ยั ของแต่ละคนท่ีแตกต่างกัน ขอ้ มูลข่าวสารต่างๆ ที่เราไดร้ บั มานั้น
อาจมีท้ังขอ้ เท็จจรงิ การบิดเบอื นข้อเท็จจริง และขอ้ คิดเห็น ผ้รู บั สารจงึ ควรพจิ ารณาวิเคราะห์ใหร้ อบคอบ ถี่ถว้ น เมื่อ
ฟัง ดู และอ่านสารนน้ั ๆ ดงั น้ี
1. เปน็ เรอื่ งเกยี่ วกบั อะไร มเี น้ือหาอย่างไร
2. ผู้รบั สารมคี วามนา่ เช่ือถอื เพยี งใด
3. ผู้สง่ สารมเี จตนาและจุดมุง่ หมายอะไร
4. พิจารณาว่าอะไรเปน็ ขอ้ เท็จจริงและขอ้ คิดเหน็
5. หาขอ้ มูลประกอบหรอื เปรยี บเทียบ
6. คิดวิเคราะหแ์ ละตดั สินใจอยา่ งมีเหตุผล อา้ งอิงได้
การพดู และเขียนแสดงความคิดเหน็
เมือ่ วิเคราะหส์ ารจากฟัง ดู และอา่ นแล้ว ผ้รู บั สารตอ้ งการพดู หรือเขยี น แสดงความคิดเห็น ควรยดึ แนว
ปฏบิ ัติดงั นี้
1. จบั ประเดน็ สำคญั และเรยี งลำดับเนื้อหา
2. แสดงความคดิ เห็นให้ตรงประเดน็ มีข้อมูลอ้างอิงชดั เจน ถกู ตอ้ ง
3. แสดงความคดิ เห็นอยา่ งมีเหตผุ ลและเปน็ ธรรม
4. ใช้ถอ้ ยคำสภุ าพ หลีกเลย่ี งการใชค้ ำรนุ แรง ท้าทาย และลว่ งเกนิ
5 มมี ารยาทในการพูดและเขยี น
การจับใจความสำคญั และหาแนวคิดเรอ่ื ง
การอ่านเพ่ือจบั ใจความ เปน็ การอา่ นที่มุ่งให้ผ้อู ่านเกบ็ สาระสำคัญของเรอ่ื งท่อี ่าน
ความหมายของใจความ
ใจความ หมายถึง สว่ นสำคัญของเรื่อง ตรงกนั ข้ามกบั พลความ หมายถึง ส่วนที่ไม่สำคญั ของเร่ือง
ใจความจะมปี รากฏอยู่ตามยอ่ หน้าต่างๆ ของเรือ่ งทอี่ า่ น ซ่งึ อาจมลี กั ษณะเป็นประโยคทเี่ ป็นส่วนสำคญั ในสว่ น
ตน้ ส่วนกลาง หรอื ส่วยทา้ ยของยอ่ หน้า
หลักการอา่ นเพือ่ คน้ หาใจความ
ในการอ่านเพอ่ื ค้นหาใจความ ผอู้ ่านควรปฏิบัติ ดังนี้
ขนั้ ที่ 1 อ่านชอื่ เรอื่ งทุกถอ้ ยคำ ทำความเข้าใจความหมายก่อนที่จะอ่านเน้ือเรอ่ื ง เพราะโดยทว่ั ไปช่อื เรื่อง
จะให้แนวทางเก่ียวข้องกบั เน้ือเรอ่ื ง
ขน้ั ที่ 2 อ่านเน้ือเรื่องทีละย่อหน้าอย่างละเอียด เมื่ออ่านจบแต่ละยอ่ หนา้ ใหห้ าประโยคสำคัญของย่อหน้า
ขนั้ ท่ี 3 จดบันทึกประโยคสำคญั ของแตล่ ะยอ่ หน้าลงสมดุ
ขน้ั ท่ี 4 อ่านประโยคสำคญั ที่จดบนั ทึกไวอ้ ย่างละเอียดแล้วเทียบเคยี งกบั เน้ือเร่อื งทอี่ ่านทั้งหมด เพ่อื
ตรวจสอบวา่ เป็นประโยคสำคญั ของแตล่ ะยอ่ หนา้ จริงหรือไม่
ข้ันที่ 5 นำประโคสำคญั ทั้งหมดท่ีบันทึกไวม้ าเขียนเรยี งลำดับให้เป็นใจความโดยปรบั ภาษาให้สละสลวย
และใหม้ ีความเช่ือมโยงเก่ยี วขอ้ งกัน
ข้นั ท่ี 6 อ่านใจความทป่ี รบั ภาษาอย่างละเอียด เพื่อตรวจสอบความถกู ต้อง ความชัดเจน การสะกด
คำ การเว้นวรรคและหลักภาษา
ความหมายของแนวคิด
แนวคดิ หมายถึง แกน่ ของเร่ืองที่เป็นเนอื้ หาสำคัญ
ความสำคญั ของแนวคดิ
แนวคดิ มีความสำคญั ต่อผอู้ า่ นทุกคน เพราะจะชว่ ยให้เขา้ ใจในเร่อื งตอ่ ไปน้ี
1. ทิศทางของเน้อื เรอ่ื งตง้ั แตต่ ้นจนจบ สะดวกตอ่ การเข้าใจและจดจำ ตลอดจนสามารถนำไปใชป้ ระโยชน์
ได้
2. แนวคดิ เป็นขอ้ สรปุ ที่ส้ันท่ีสดุ ทำใหน้ กั เรียนมีทกั ษะในการแยกใจความและ พลความออกจากกัน
ได้อยา่ งรวดเรว็
3. แนวคดิ ช่วยใหผ้ ู้อ่านสามารถเข้าใจวัตถุประสงคข์ องผ้เู ขยี นทต่ี อ้ งการให้ผอู้ ่านนำแนวคิดไปใช้ประโยชน์
ในการศึกษาวิชาการอ่ืน หรอื นำไปใช้ในชีวิตประจำวันในทิศทางท่ผี ้เู ขยี นไดช้ ้ีแนะท้งั ในทางตรงและทางนยั
ประเภทของแนวคิด
แนวคิดแบ่งออกเป็น 3 ประเภท
1. แนวคดิ เปน็ คำ มีลักษณะทเี่ ปน็ รปู ธรรมและนามธรรม
2. แนวคิดที่เปน็ กลมุ่ คำ มีลักษณะทเี่ ป็นรปู ธรรมและนามธรรม
3. แนวคิดเปน็ ประโยค เป็นขอ้ สรุปสั้นๆ เพียง 1 ประโยค อาจจะเปน็ ประโยคสามัญ ประโยครวมหรือ
ประโยคซ้อน อยา่ งใดอย่างหนงึ่
หลักการอ่านจบั ใจความเพอื่ คน้ หาแนวคดิ
ในการอ่านจับใจความเพอ่ื ค้นหาแนวคิด ผอู้ ่านควรปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี
ขั้นที่ 1 อ่านสำรวจ เพือ่ ค้นหาคำ กลุ่มคำ หรือประโยคสำคญั ท่เี กยี่ วขอ้ งกับเรอ่ื ง โดยสังเกตคำท่ีขีดเสน้
ใต้ คำทีอ่ ยู่ในเครอ่ื งหมายคำพดู คำที่พมิ พด์ ว้ ยตัวหนา หรือคำทีพ่ มิ พ์ ตัวเอนซงึ่ อาจจะเปน็ คำ กลมุ่ คำ หรอื
ประโยคทน่ี ำไปสู่การสรุปเปน็ แนวคิดได้
ขน้ั ที่ 2 อ่านเน้ือเรอื่ งโดยละเอยี ดอีกครง้ั เพอื่ ตรวจสอบรายละเอียดของเรือ่ งในทกุ ประเด็น พิจารณา
ความหมายของคำ กลมุ่ คำหรือประโยคท้ังความหมายโดยตรง และความหมายโดยนยั และจัดเรียงลำดบั เหตุการณ์ที่
นำไปสูข่ ้อสรปุ และจัดเรยี งลำดับเหตุการณ์ท่นี ำไปสขู่ อ้ สรุป และเขยี นเรียบเรียงยอ่ เรอื่ งใหส้ ้นั ที่สดุ
ขัน้ ที่ 3 อ่านเนอ้ื เรื่องครา่ วๆ เพ่อื ตรวจสอบ ทบทวน พิจารณาคำ หรอื ประโยคที่เขียนเรียบเรยี งนน้ั มี
ความหมายครอบคลุมเน้อื หาของเรอ่ื งท่ีอา่ นหรือไม่
ข้นั ที่ 4 เขียนสรุปเรียนเรยี งแนวคดิ จากการยอ่ เรื่องนนั้ แลว้ อ่านทบทวนตัดประเดน็ ทเี่ ห็นว่าเป็นส่วนอธบิ าย
หรือขยายความออก ใหเ้ หลือเฉพาะแก่นของเรื่อง
ช่อื ………………………………………..เลขที่…………….ชั้น…………………………………………………………………………………….
เฉลยแบบฝึกหดั เรอื่ ง การอ่านจับใจความสำคัญ
ขอ้ 1. ความสมบูรณ์ของชีวติ มาจากความเข้าใจชีวิตเป็นพื้นฐาน
ขอ้ 2.ความเครียดจงึ เป็นตวั การให้แกเ่ รว็
ขอ้ 3. ฉะนน้ั เมือ่ ซอื้ ผกั ไปรับประทานจึงควรลา้ งผักด้วยนำ้ หลา
ข้อ 4. การรักษาศีลเพอื่ บงั คบั ตนเองใหม้ รี ะเบียบวินยั ในการกระทำทุกส่ิงทุกอย่าง
ข้อ 5. การทำใหส้ ุขภาพแขง็ แรงทำได้หลายวธิ ี
บทความ
ความหมายของบทความ
บทความ หมายถึงงานเขยี นท่ีเผยแพร่ในส่อื สิง่ พมิ พ์หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซ่ึงมจี ดุ ประสงค์เพือ่ เผยแพร่
ข่าวสาร ผลการวจิ ยั เผยแพร่ความรู้ การวเิ คราะห์ทางการศกึ ษา การวพิ ากษว์ ิจารณ์ เป็นตน้ โดยปกตบิ ทความหน่ึง
บทความจะพูดถึงเร่อื งใดเรอื่ งหน่งึ เป็นประเดน็ หลกั เพยี งเรื่องเดยี ว
ลักษณะของบทความ
บทความ คอื ความเรยี งประเภทหน่ึงท่เี ขยี นเพ่อื เสนอความรู้ ความคดิ มีรปู แบบการเขียนคลา้ ยกับ
เรยี งความ แตก่ ารเขียนบทความจะต้องมเี รื่องราวมาจากข้อเทจ็ จริงหรอื ขา่ วประจำวนั มีความทนั สมัย ทนั ต่อ
เหตุการณ์ อยู่ในความสนใจของผูอ้ ่านและผู้เขยี น และจะต้องสอดแทรกขอ้ เสนอเชิงวชิ าการ หรอื ความคิดเห็นเชิง
สรา้ งสรรคไ์ ว้ด้วย
บทความมลี ักษณะบางประการคล้ายคลงึ กับการเขยี นขา่ วและเรยี งความ เพราะเป็นการเขียนท่รี วมการ
เขยี นทั้งสองแบบดังกล่าวเข้าไว้ด้วยกนั กล่าวคอื “ข่าว” เขยี นขึน้ เพ่ือบอกข้อเท็จจรงิ วา่ ใคร ทำอะไร ท่ไี หน เมือ่ ไร
และทำไม โดยประมวลเหตกุ ารณ์ที่เกิดขึ้นจริงอย่างตรงไปตรงมา ทันต่อเหตกุ ารณ์
กล่าวโดยสรปุ บทความมลี ักษณะดังตอ่ ไปน้ี
1. เร่อื งทีเ่ ขยี นตอ้ งเป็นเร่อื งทมี่ สี าระ เป็นเรื่องจริง มีหลักฐานที่นา่ เชอ่ื ถอื เมือ่ อ่านแล้วจะได้ความรู้หรอื
ความคิดเพ่มิ ข้นึ
2. ตอ้ งเสนอเรอ่ื งทผี่ ู้อา่ นสว่ นมากกำลังสนใจอยู่ในขณะน้ัน ทนั ต่อเหตุการณ์ หรอื เรอ่ื งทเ่ี ป็นปญั หา และ
มคี วามสำคญั เปน็ พเิ ศษ
3. ต้องมีสว่ นเป็นทศั นะหรือความคิดเหน็ ของผเู้ ขียน โดยนำเสนอแนวคิดท่นี ่าสนใจ ชวนใหผ้ อู้ ่านคดิ ตาม
หรือตดิ ต่อ
4. ควรใชภ้ าษาให้นา่ อ่าน และสร้างความสนใจ
5. ความยาวของบทความควรสัน้ กะทดั รัด เพอ่ื ให้ผ้อู า่ นสามารถอ่านได้ในเวลาจำกัด
ประเภทของบทความ
บทความแบ่งออกไดห้ ลายประเภท ทั้งน้ี ข้นึ อยู่กบั แนวคดิ และเหตผุ ลว่าจะใชเ้ กณฑ์ใดในการแบ่ง
โดยท่ัวไปนยิ มแบ่งบทความเป็น ๒ ประเภทกว้าง ๆตามจุดมงุ่ หมายในการนำเสนอและวธิ กี ารเขยี น ดังน้ี
1. บทความวชิ าการ หรอื ก่งึ วชิ าการ หรอื เชิงวชิ าการ บทความวชิ าการ เปน็ บทความท่เี ขยี นเพอื่
เผยแพรค่ วามรโู้ ดยตรง ผเู้ ขยี นจึงต้องคน้ ควา้ จากเอกสาร จากการสงั เกต การสัมภาษณ์ การทดลอง มีการวิเคราะห์
อยา่ งเปน็ ระบบ มหี ลกั ฐานอ้างองิ ท่ีเชื่อถอื ได้ และจะตอ้ งมบี รรณานกุ รม และเอกสารอา้ งองิ ทา้ ยเร่ืองเสมอ สว่ น
บทความกึง่ วชิ าการหรือเชงิ วิชาการมีลักษณะคลา้ ยบทความวิชาการ คอื เขยี นขึ้นเพื่อเผยแพรค่ วามรเู้ ป็นสำคัญ แต่มี
ความต่างกนั ในเร่อื งการใชภ้ าษา กล่าวคือ บทความวิชาการมีลักษณะการใชภ้ าษาที่เป็นทางการ และเป็นภาษาที่
ถูกต้องตามหลักภาษา ในขณะที่บทความกง่ึ วิชาการหรือเชงิ วชิ าการไม่เนน้ ในเรอ่ื งความถกู ตอ้ งของภาษามากนัก
อาจจะใช้ถ้อยคำที่ทำใหผ้ ู้อ่านเกดิ ความรสู้ ึกสนใจ อย่างไรก็ตาม ทงั้ บทความวชิ าการและกึ่งวิชาการจะตอ้ งมีการใช้
ภาษาคำทช่ี ัดเจน กระชบั กะทัดรัด เรียบเรยี งเน้ือเรอ่ื งตามลำดับ มีเหตุผล และมีข้อมูลสนบั สนนุ การเขียน ท้งั น้ีอาจมี
การใช้แผนภูมหิ รอื ตารางประกอบการนำเสนอข้อมูลด้วยกไ็ ด้
2. บทความทั่วไป เป็นบทความที่ใหค้ วามรู้ ความคดิ และความเพลิดเพลนิ แก่ผ้อู ่าน โดยเนน้ ความ
เพลดิ เพลนิ เปน็ สำคัญ ความแตกตา่ งระหวา่ งบทความวิชาการ หรอื ก่งึ วิชาการหรือเชงิ วชิ าการกบั บทความทว่ั ไปอย่ทู ่ี
บทความทั่วไปเขียนใหค้ นทว่ั ไปอ่าน จงึ ใชภ้ าษาที่เข้าใจง่าย และเรา้ ใจ จงู ใจผ้อู ่าน บางคร้งั อาจมกี ารใช้ภาษาพดู
ปะปนด้วย ส่วนบทความวชิ าการเขยี นขน้ึ เพอื่ เผยแพรค่ วามรใู้ นแวดวงวชิ าการนัน้ จงึ ใชศ้ พั ทเ์ ทคนคิ หรอื ศพั ท์วิชาการ
เฉพาะสาขาท่คี นทว่ั ไปอาจจะอา่ นไม่เข้าใจ
ขน้ั ตอนในการเขียนบทความการเขียนบทความมีขัน้ ตอนตอ่ ไปนี้
1. การเลือกเรือ่ ง ควรเลอื กเรอื่ งท่ีคนกำลงั สนใจและเปน็ เรือ่ งท่ีผู้เขียนมีความรู้ การเสนอเรื่องราวและ
ความคดิ ควรกำหนดขอลบเขตให้แคบเพ่ือให้สมบูรณ์และลึกซ้งึ หรอื พยายามเลือกเฉพาะตอนท่ีเด่นและน่าสนใจเปน็
พเิ ศษมาเขยี น
2. การรวบรวมข้อมูล ผู้เขียนบทความจะตอ้ งหาความรู้ ข้อมูล ข้อเท็จจรงิ เก่ยี วกบั เรื่องท่จี ะเขียน
การรวบรวมความรอู้ าจจะทำได้หลายวิธี และจะต้องพจิ ารณาดว้ ยวา่ ข้อมลู นน้ั จะต้องเป็นที่ยอมรับและเช่อื ถอื
ได้
3. การกำหนดจุดม่งุ หมาย ควรกำหนดจดุ มุ่งหมายให้ชดั เจนว่าบทความท่จี ะเขียนนต้ี ้องการเขยี นให้
ใครอ่าน ตอ้ งการสอื่ สารกบั คนกลมุ่ ใด หรอื ตอ้ งการใหผ้ อู้ า่ นมีความคดิ อยา่ งไร
4. การวางโครงเรอื่ ง การวางโครงเรอื่ งถือวา่ เป็นสง่ิ จำเปน็ สำหรบั งานเขยี นทกุ ประเภท เพราะจะทำ
ให้เขียนไดต้ รงตามจดุ มุง่ หมาย และลำดับความคิดไดต้ อ่ เน่อื ง
5. การลงมือเขียน ควรเขยี นด้วยความตง้ั ใจ โดยลำดบั ความคิดตามโครงเรือ่ งท่กี ำหนด และใชภ้ าษา
ที่สื่อความหมายชัดเจน ชวนให้ผอู้ า่ นสนใจตดิ ตาม
6. การทบทวน ควรอา่ นทบทวนบทความที่เขียนเสรจ็ แลว้ อย่างนอ้ ย ๒ ครัง้ เพอ่ื พจิ ารณาว่าเนอื้ หา
สาระสอดคลอ้ งกบั ชอื่ เร่ืองหรือไม่ แล้วทบทวนแก้ไขขอ้ บกพรอ่ งในการใช้ภาษา
กลวิธใี นการเขยี นบทความการเขยี นบทความมกี ลวิธที ี่ทำให้บทความนน้ั นา่ สนใจ ดงั น้ี
1. การตั้งช่อื เร่ือง ชื่อเร่อื งนับว่าเป็นสว่ นสำคญั ที่จะดึงดดู ความสนใจของผู้อา่ นเพราะเปน็ ส่งิ แรกที่
ผูอ้ า่ นจะอา่ นก่อนเสมอ ดังนนั้ จะตอ้ งเลอื กคำหรือข้อความที่สามารถส่ือสาร หรือแนวคิดใหด้ ีท่ีสดุ ชวนใหอ้ ยากอ่าน
เน้ือหาในบทความน้นั ขอให้พจิ ารณาตวั อยา่ งการตง้ั ชอ่ื เรอ่ื งตอ่ ไปน้ี
การต้ังช่ือเร่อื งตามเนือ้ หา เชน่ เสน่หก์ ระดาษสา เมืองสมุนไพร ลม้ บอล : มะเรง็ ร้าย ในวงการลกู หนัง
ซีดีผีไมม่ ีวนั ตาย
การตั้งชื่อเรอ่ื งโดยใชค้ ำถาม เชน่ เยาวชนไทยเสียไปหมดแล้วหรือ การอนรุ กั ษ์วัฒนธรรมทำ
อยา่ งไร
การต้ังชอ่ื เรอื่ งโดยใช้คำท่ีมีความหมายตรงกนั ข้าม เช่น รมต. ออ่ นนอกแขง็ ใน ยุคโลกาภิวตั นห์ รือ
โลกาพบิ ตั ิ
การต้ังชื่อเร่ืองท่สี ่ือความหมายชักชวน เชน่ การจราจรไทยควรเลกิ ใชร้ ะบบอภสิ ิทธิ์ หยดุ ทำลายป่าไม้
เสยี ที
2. การเขียนบทนำ บทนำเปน็ สว่ นสำคญั อกี ส่วนหน่งึ ทีช่ ่วยสร้างความสนใจจากผูอ้ ่านดังนัน้ ผู้เขียน
บทความจะตอ้ งใชก้ ลวธิ กี ารเขยี นบทนำ เพราะถา้ สามารถขึน้ ตน้ บทความไดด้ ีก็เท่ากบั ว่าได้รับความสำเร็จไปแลว้
ครึง่ หน่ึง นักเรยี นสามารถศึกษาวธิ กี ารเขียนบทนำได้จากการเขียนบทนำเรียงความในหนังสอื เรียนเล่มก่อน เพราะใช้
วธิ กี ารเดยี วกัน
3. การเขยี นเนือ้ เรอื่ ง เนอื้ เรอ่ื งเป็นส่วนท่ียาวและสำคัญท่สี ดุ เพราะรวบรวมความคดิ และขอ้ มลู
ทง้ั หมด ยอ่ หนา้ แต่ละยอ่ หนา้ ในเนอ้ื เร่อื งจะตอ้ งมีสัมพันธภาพ คอื รอ้ ยเรียงเป็นเรื่องเดยี วกนั และมลี ำดบั
ขัน้ ตอน ผเู้ ขียนอาจจะลำดับเน้อื เรอ่ื งตามเวลา ลำดับตามเหตผุ ล หรอื ลำดับตามความสำคญั ก็ได้
นอกจากนี้ในการเขยี นเนอื้ เรอื่ ง ควรคำนงึ ถึงเร่ืองตอ่ ไปนี้
1) ใชถ้ อยคำทีถ่ กู ต้องตามความหมาย ใช้ตัวสะกดให้ถกู ต้องตามพจนานกุ รม
2) ใช้สำนวนโวหารให้เหมาะกบั เร่ือง เชน่ ใชถ้ อยคำทเี่ ปน็ ทางการ ใช้คำศพั ทเ์ ฉพาะในการเขียน
บทความทางวิชาการ ใช้ถ้อยคำที่เปน็ ภาษาปาก คำสแลง ในการเขียนบทความ ท่ัวไป
3) มีข้อมลู เหตุผล สถติ ิและการอา้ งองิ ประกอบเร่อื ง เพ่ือใหเ้ ขา้ ใจง่ายและน่าเช้อื ถือ
4. การเขยี นบทสรุป การเขยี นบทสรปุ เป็นสว่ นทม่ี ีความต่อเน่ืองจากเนือ้ เรอ่ื ง และเปน็ สว่ นทีผ่ ูเ้ ขียน
ตอ้ งการบอกใหผ้ อู้ า่ นทราบวา่ ขอ้ มลู ทงั้ หมดเสนอมาได้จบลงแลว้ ผเู้ ขียนควรมีกลวธิ ีทีจ่ ะทำให้ผู้อา่ น
พอใจ ประทบั ใจ และได้รบั ความคิดที่ผอู้ ่านสามารถนำไปใช้ได้ การเขยี นบทสรปุ ของบทความมีกลวิธเี ช่นเดียวกบั
การเขยี นบทสรปุ เรียงความ ซึง่ ไดอ้ ธิบายแลว้ ในหนงั สอื เรียนเลม่ ก่อน
การพจิ าณาบทความ
1. ชอ่ื เร่อื ง เป็นส่วนแรกของบทความทส่ี ร้างความสนใจแก่ผู้อ่าน บทความในหนังสอื พิมพห์ รือ
นิตยสารอาจตีพิมพช์ ่อื เร่อื งด้วยตวั อกั ษรขนาดใหญ่เพอ่ื สรา้ งความสนใจ หากชือ่ เร่อื งมขี นาดยาว กอ็ าจตพี มิ พ์ทเ่ี ป็น
เร่อื งรอง ดว้ ยตวั อักษรขนาดเล็กลง
2. บทนำ คือ ส่วนใหญ่อยูย่ ่อหนา้ แรกของบทความ มีลกั ษณะเปน็ การกล่าวนำเร่ือง โดยให้ความรู้
เบ้ืองตน้ บอกเจตนาและผเู้ ขียนหรอื ตั้งคำถาม ซ่ึงผ้เู ขยี นจะใช้กลวิธีตา่ ง ๆในการเขียนให้ผอู้ า่ นสนใจตดิ ตามเนือ้
เร่ือง
3. เนือ้ หา เป็นส่วนสำคัญท่สี ุดของบทความ เพราะเปน็ สว่ นทร่ี วบรวมความรู้ สาระตา่ ง ๆ และความ
คดิ เห็นของผู้เขยี น
4. บทสรปุ คอื ส่วนสดุ ท้ายของบทความท่ีผ้เู ขียนใชส้ รุปเนือ้ หา และสรา้ งความประทบั ใจแก่
ผู้อา่ น โดยใช้กลวธิ หี ลายประการ เช่น การชกั จูงใจใหด้ ำเนินการอย่างใดอย่างหนึง่ การใหข้ ้อคดิ การหาแนว
รว่ ม การต้ังคำถามใหผ้ ู้อา่ นนำไปคดิ ต่อ การเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหา การใหท้ างเลือกเพ่อื นำไปส่กู าร
ตดั สนิ ใจ การทำนายเหตกุ ารณ์ทจี่ ะเกดิ ข้นึ ตอ่ ไป เปน็ ตน้
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 3
รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวชิ า ท 22102 ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย 4 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 อ่านออกเสยี งเรยี งภาษา เวลา 10 ชว่ั โมง
เร่อื ง หลกั การจัดทำผงั มโนทศั น์ เวลา 1 ชั่วโมง
ผสู้ อน นางสาวมยุรี จรัญรักษ์ โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวทิ ยาลัย สรุ าษฎรธ์ านี
สาระสำคญั
Mind Map คือ การถ่ายทอดความคิด หรือข้อมูลตา่ ง ๆ ท่ีมอี ยูใ่ นสมองลงกระดาษ โดยการใช้ภาพ สี เส้น
และการโยงใย แทนการจดยอ่ แบบเดมิ ท่ีเป็นบรรทดั ๆ เรยี งจากบนลงล่าง ขณะเดียวกนั มนั ก็ชว่ ยเปน็ สือ่ นำ
ขอ้ มูลจากภายนอก เช่น หนังสอื คำบรรยาย การประชุม สง่ เข้าสมองให้เก็บรักษาไว้ไดด้ กี วา่ เดมิ ซ้ำยังช่วยให้
เกดิ ความคิดสรา้ งสรรค์ได้ง่ายเขา้ เน่ืองจะเหน็ เปน็ ภาพรวม และเปิดโอกาสใหส้ มองใหเ้ ชอื่ มโยงต่อข้อมูลหรือ
ความคิดต่าง ๆ เข้าหากันได้ง่ายกว่า
มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชว้ี ดั
มาตรฐานการเรยี นรู้ ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใชต้ ัดสนิ ใจแก้ปัญหาในการ
ดำเนนิ ชีวิตและมีนิสยั รักการอ่าน
ตวั ชีว้ ัด เขียนผังความคิดเพ่ือแสดงความเข้าใจในบทเรยี นตา่ งๆท่อี ่านได้
จุดประสงค์การเรยี นรู้ บอกหลักการเขียนผงั มโนทัศนไ์ ด้
สาระการเรียนรู้
ดา้ นความรู้ .
-หลักการจดั ทำผงั มโนทัศน์
ดา้ นทักษะ/กระบวนการ
-ศึกษาหลักการจดั ทำผงั มโนทศั น์
ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง
2. ซ่อื สัตย์สจุ ริต 6. มุง่ มนั่ ในการทำงาน
3. มวี นิ ยั 7. รกั ความเป็นไทย
4. ใฝ่เรียนรู้ 8. มีจติ สาธารณะ
เบญจวถิ กี าญจนา
1. เทดิ ทูนสถาบนั
2. กตญั ญู
3. บคุ ลิกดี
4. มีวนิ ยั
5. ให้เกยี รติ
สมรรถนะทีส่ ำคญั ของผู้เรียน
1. ความสามารถในการส่อื สาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
จดุ เน้นสู่การพฒั นาผู้เรียน
ความสามารถและทักษะที่จำเปน็ ในการเรียนร้ใู นศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
R1– Reading (อ่านออก) R2– (W)Riting (เขียนได)้ R3 – (A)Rithmetics (คดิ เลขเป็น)
C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทกั ษะดา้ นการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณและทกั ษะใน
การแก้ปญั หา)
C2 - Creativity and Innovation (ทกั ษะด้านการสรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม)
C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเขา้ ใจตา่ งวัฒนธรรมต่างกระบวนทัศน)์
C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะดา้ นความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและ
ภาวะผนู้ ำ)
C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทักษะดา้ นการสือ่ สารสารสนเทศและ
รู้เท่าทนั สือ่ )
C6 - Computing and ICT Literacy (ทกั ษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร)
C7 - Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)
C8 – Compassion (ความมีเมตตากรุณา วินยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม)
L1 – Learning (ทกั ษะการเรียนร)ู้
L2 – Leadership (ทักษะความเปน็ ผนู้ ำ)
การวดั และประเมินผล
ด้านความรู้
ภาระงาน/ วธิ ีการวดั เคร่ืองมอื เกณฑท์ ่ีใช้
ชิน้ งาน
ศกึ ษา ใหน้ ักเรียนตอบคำถาม การสังเกต ระดบั 4 ดเี ยี่ยม 8-10 คะแนน
หลกั การ = ทำได้ทกุ ตวั ชี้วดั
จัดทำผังม ระดับ 3 ดี 7 คะแนน
ทัศน์ = ทำไดม้ าก
ระดับ 2 พอใช้ 6 คะแนน
= ทำได้นอ้ ย
ระดับ 1 ตอ้ งปรบั ปรุง
1-5 คะแนน
ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ
ภาระงาน/ วิธีการวดั เคร่ืองมือ เกณฑ์ที่ใช้
ช้นิ งาน
ศกึ ษา ให้นกั เรยี นบอกถงึ หลกั การจัดทำผงั การสังเกต ระดับ 4 ดเี ย่ียม 8-10 คะแนน
หลักการจับ มโนทศั น์ = ทำไดท้ กุ ตัวช้ีวัด
จัดทำผงั มโน ระดบั 3 ดี 7 คะแนน
ทศั น์ = ทำได้มาก
ระดับ 2 พอใช้ 6 คะแนน
= ทำไดน้ ้อย
ระดบั 1 ตอ้ งปรบั ปรงุ
1-5 คะแนน
ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
ภาระงาน/ วิธกี ารวดั เคร่อื งมอื เกณฑ์ท่ีใช้
ช้นิ งาน
ใฝ่รูใ้ ฝ่เรยี น สงั เกตจากพฤติกรรมการเรียน สงั เกต ระดบั 3 ดี 8-10 คะแนน
= ทำได้ดี
ระดบั 3 ดี 6-7 คะแนน
= ทำได้พอใช้
ระดับ 1 ทำได้ 1-5 คะแนน
= ต้องปรบั ปรงุ
กจิ กรรมการเรียนรู้
1. ขั้นนำเขา้ สู่บทเรียน
1. เอาตวั อยา่ งแผนที่ความคิดแบบต่างๆมาใหน้ กั เรียนดแู ลว้ สอบถามนกั เรยี นว่าคอื อะไร
2. ข้ันสอน
1. ครูสอบถามนักเรยี นวา่ ทนี่ ักเรยี นเหน็ เรยี กว่าอะไร
2. เม่ือนกั เรยี นตอบได้ถกู ต้องว่าเป็นผังมโนทศั น์ครูใหน้ ักเรยี นดยู ูทปู เรื่องการเขียนผังความคิด
3. ครูอธิบายข้นั ตอนการจัดทำผงั ความคดิ สลบั กับดูยูทปู นักเรียนเปน็ ช่วงๆเพอ่ื เน้นยำ้ ความเข้าใจ
4. ใหน้ กั เรยี นดตู วั อยา่ งการสรปุ บทเรยี นดว้ ยผงั ความคดิ จากแบบเรยี นหนา้ 26-27
ข้นั สรุป
1. ครูและนกั เรียนช่วยกันสรปุ วิธกี ารทำแผนท่ีความคดิ (Mind Map)มาคนละ 1 ข้อ
2. ครูให้นกั เรยี นไปศกึ ษาหารูปแบบและความรเู้ พมิ่ เติมจากอนิ เตอรเ์ นต็
3. ครูสง่ั ให้นกั เรียนเตรยี มกระดาษ100ปอนด์สีมาทำผังมโนทัศนเ์ ร่ืองโคลงสุภาษติ ในห้องเรียน
ส่อื /แหลง่ เรยี นรู้
ส่ือการเรยี นรู้
1) ยธู ูปเร่อื งการจัดทำผงั มโนทัศน์
2) แบบเรียนหลักภาษาและการใช้ภาษาไทยชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2
3) ใบความรู้
แหลง่ เรยี นรู้
1) classroom
2) แบบเรยี นหลกั ภาษาและการใชภ้ าษาไทยชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 2
3) อนิ เตอร์เนต็
สรุปผลการจัดการเรยี นรู้
ดา้ นความรู้ ชว่ งคะแนน จำนวน (คน) คดิ เป็นรอ้ ยละ
กลมุ่ ผเู้ รียน 8-10 180 76.92
ดี 6-7 54 23.08
ปานกลาง 0-5 - -
ปรับปรุง
ด้านทักษะ/กระบวนการ ชว่ งคะแนน จำนวน (คน) คดิ เป็นรอ้ ยละ
กล่มุ ผู้เรยี น 8-10 180 76.92
ดี 6-7 54 23.08
ปานกลาง 0-5 - -
ปรบั ปรุง
ดา้ นคณุ ลกั ษะอนั พึงประสงค์
กลมุ่ ผ้เู รยี น ชว่ งระดบั คณุ ภาพ จำนวน (คน) คิดเป็นร้อยละ
180 76.92
ดี 3 54 23.08
- -
ปานกลาง 2
ปรบั ปรงุ 0-1
บันทกึ หลงั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้
ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
นักเรียนมีความเขา้ ใจในบทเรียน
ปัญหาทพ่ี บระหวา่ งหรอื หลังจดั กจิ กรรม
มีปญั หาอยู่บา้ งเรอื่ งสญั ญาณโทรศัพท์
ขอ้ เสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชือ่ ........................................................ผู้สอน
(นางสาวมยุรี จรัญรกั ษ์)
//
การตรวจสอบและความคิดเหน็ ของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานและตัวชีว้ ัดของหลักสูตรฯ
กิจกรรมการเรียนร้เู นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั
มกี ารวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจริง มีความหลากหลายเหมาะสมกับผู้เรียน
ใชส้ ื่อหรอื แหล่งเรยี นรู้ทท่ี นั สมัยและส่งเสรมิ การเรยี นรูไ้ ด้อย่างมีประสิทธภิ าพ
สอดคลอ้ งตามจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ สพฐ. และจุดเนน้ ของโรงเรียน
สง่ เสริมทกั ษะ 3Rs x 8Cs x 2Ls ส่งเสริมเบญจวิถีกาญจนา
ลงชอื่ ..............................................................
(นางสาวอรพณิ สันเสน็ )
หวั หนา้ กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
การตรวจสอบและความคดิ เห็นของหวั หนา้ กลุม่ บริหารวชิ าการ
ถูกตอ้ งตามรปู แบบของโรงเรยี น
ผ่านการนเิ ทศตรวจสอบจากหัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้/กรรมการนเิ ทศ
ก่อนใช้สอน หลงั ใช้สอน
มบี ันทกึ หลงั จดั กจิ กรรมการเรียนรู้
ลงชอ่ื ..............................................................
(นายธนพนั ธ์ เพ็งสวัสด์ิ)
หวั หนา้ กลุม่ บริหารวชิ าการ
ความคิดเหน็ ของรองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................
ลงชื่อ....................................................................
(นางสาวชณดิ าภา เวชกุล)
รองผู้อำนวยการโรงเรยี น กลุ่มบริหารงานวิชาการ
ความคดิ เห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………….........................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................
ลงชือ่ ....................................................................
( นางพรทพิ ย์ นกุ ลู กิจ )
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย สุราษฎรธ์ านี
ใบความรู้
เร่อื ง การเขยี นแผนผงั ความคิด หรือแผนท่คี วามคิด (Mind Map)
Mind Map คอื การถ่ายทอดความคิด หรือข้อมูลต่าง ๆ ที่มีอยใู่ นสมองลงกระดาษ โดยการใช้ภาพ สี
เส้น และการโยงใย แทนการจดยอ่ แบบเดมิ ทีเ่ ปน็ บรรทดั ๆ เรียงจากบนลงล่าง ขณะเดยี วกันมนั ก็ชว่ ยเป็นส่ือนำขอ้ มูล
จากภายนอก เชน่ หนงั สอื คำบรรยาย การประชุม สง่ เขา้ สมองใหเ้ ก็บรกั ษาไว้ได้ดีกวา่ เดมิ ซ้ำยังช่วยใหเ้ กิดความคิด
สร้างสรรค์ได้งา่ ยเข้า เน่อื งจะเหน็ เป็นภาพรวม และเปิดโอกาสใหส้ มองให้เช่ือมโยงตอ่ ข้อมลู หรอื ความคดิ ต่าง ๆ เข้า
หากันได้งา่ ยกว่า “ใช้แสดงการเชื่อมโยงขอ้ มูลเก่ยี วกับเร่อื งใดเร่อื งหน่ึงระหวา่ งความคดิ หลกั ความคิด รอง และ
ความคิดยอ่ ยทีเ่ กี่ยวขอ้ งสมั พนั ธ์กัน” ผงั ความคิด (Mind Map)ลักษณะการเขยี นผังความคดิ เทคนิคการคิดคือ นำ
ประเด็นใหญ่ ๆ มาเป็นหลกั แลว้ ต่อด้วยประเด็นรองในชัน้ ถดั ไป
การสรา้ งแผนทค่ี วามคดิ
ขน้ั ตอนการสรา้ ง Mind Map
๑. เขยี น/วาดมโนทศั น์หลักตรงกึง่ กลางหนา้ กระดาษ
๒. เขยี น/วาดมโนทัศน์รองทีส่ มั พันธก์ ับมโนทศั นห์ ลกั ไปรอบ ๆ
๓. เขียน/วาดมโนทศั นย์ อ่ ยท่ีสัมพนั ธ์กบั มโนทัศน์รองแตกออกไปเรอื่ ย ๆ
๔. ใชภ้ าพหรือสัญลักษณส์ อ่ื ความหมายเปน็ ตัวแทนความคิดใหม้ ากทีส่ ุด
๕. เขียนคำสำคัญ (Key word) บนเส้นและเสน้ ต้องเชอ่ื มโยงกัน
๖. กรณีใช้สี ท้ังมโนทัศน์รองและยอ่ ยควรเป็นสเี ดียวกัน
๗. คิดอย่างอสิ ระมากท่ีสุดขณะทำ
เขยี นคำหลัก หรอื ข้อความสำคัญของเร่ืองไวก้ ลาง โยงไปยงั ประเดน็ รองรอบ ๆ ตามแต่ว่าจะมกี ่ีประเดน็
กฏการสรา้ ง Mind Map
๑. เร่ิมดว้ ยภาพสีตรงกึง่ กลางหนา้ กระดาษ
๒. ใช้ภาพใหม้ ากท่ีสุดใน Mind Map ของคณุ ตรงไหนท่ใี ชภ้ าพได้ให้ใชก้ อ่ นคำ หรอื รหัส เปน็ การช่วยการ
ทำงานของสมอง ดงึ ดดู สายตา และชว่ ยความจำ
๓. ควรเขียนคำบรรจงตวั ใหญๆ่ ถา้ เปน็ ภาษาองั กฤษใหใ้ ช้ตัวพมิ พ์ใหญ่ จะช่วยให้เราสามารถ
ประหยดั เวลาได้ เมื่อย้อนกลับไปอา่ นอีกคร้ัง
๔. เขียนคำเหนอื เสน้ ใต้ แต่ละเส้นตอ้ งเชอ่ื มตอ่ กับเสน้ อน่ื ๆ เพอื่ ให้ Mind Map มีโครงสร้างพนื้ ฐานรองรบั
๕. คำควรมีลักษณะเป็น "หนว่ ย" เปดิ ทางให้ Mind Map คล่องตวั และยดื หยุ่นไดม้ ากขน้ึ
๖. ใช้สที ่วั Mind Map เพราะสีชว่ ยยกระดับความคิด เพลินตา กระตนุ้ สมองซีกขวา
๗. เพือ่ ใหเ้ กิดความคิดสร้างสรรค์ใหม่ ควรปล่อยให้สมองคิดมีอิสระมากที่สดุ เทา่ ที่จะเป็นไปได้
วิธีการเขยี น
Mind Map โดยละเอยี ดอีกวธิ ีหนง่ึ
๑. เตรียมกระดาษเปล่าทีไ่ ม่มีเส้นบรรทดั และวางกระดาษภาพแนวนอน
๒. วาดภาพสีหรอื เขยี นคำหรือข้อความทีส่ ือ่ หรอื แสดงถึงเรอ่ื งจะทำ Mind Map กลาง หน้ากระดาษ โดยใช้
สอี ย่างนอ้ ย 3 สี และตอ้ งไมต่ ีกรอบดว้ ยรปู ทรงเรขาคณติ
๓. คิดถึงหัวเร่ืองสำคญั ทเ่ี ปน็ ส่วนประกอบของเรือ่ งทที่ ำ Mind Map โดยให้เขียนเปน็ คำทมี่ ีลกั ษณะเป็น
หนว่ ย หรือเป็นคำสำคญั (Key Word) สน้ั ๆ ทีม่ ีความหมาย บนเสน้ ซง่ึ เสน้ แต่ละเสน้ จะต้องแตกออกมา
จากศนู ย์กลางไมค่ วรเกนิ 8 กิ่ง
๔. แตกความคดิ ของหัวเรื่องสำคญั แต่ละเรอ่ื งในข้อ 3 ออกเป็นกิ่ง ๆ หลายก่ิง โดยเขียนคำหรือ วลบี นเส้นท่ี
แตกออกไป ลักษณะของก่ิงควรเอนไม่เกนิ 60 องศา
๕. แตกความคดิ รองลงไปทเ่ี ป็นสว่ นประกอบของแต่ละก่งิ ในขอ้ 4 โดยเขยี นคำหรอื วลีเส้นที่แตกออกไป
ซง่ึ สามารถแตกความคิดออกไปเรื่อย ๆ
๖. การเขียนคำ ควรเขียนด้วยคำท่เี ปน็ คำสำคญั (Key Word) หรอื คำหลกั หรอื เป็นวลีท่ีมี ความหมายชดั เจน
๗. คำ วลี สญั ลกั ษณ์ หรือรปู ภาพใดท่ีตอ้ งการเนน้ อาจใชว้ ิธีการทำใหเ้ ด่น เชน่ การลอ้ มกรอบ หรือใส่
กล่อง เปน็ ต้น
๘. ตกแต่ง Mind Map ทเี่ ขยี นดว้ ยความสนุกสนานทั้งภาพและแนวคดิ ท่ีเชือ่ มโยงต่อกนั
การนำไปใช้
๑. ใช้ระดมพลงั สมอง
๒. ใชน้ ำเสนอขอ้ มูล
๓. ใช้จดั ระบบความคดิ และช่วยความจำ
๔. ใช้วเิ คราะหเ์ นอ้ื หาหรืองานต่าง ๆ
๕. ใช้สรปุ หรอื สรา้ งองคค์ วามรู้
ตวั อยา่ งการเขียนแผนผงั ความคดิ (Mind Map)
แบบประเมนิ ผังมโนทัศน์ คะแนน
เลขท่ี ชื่อ-สกลุ เตม็ 100 คะแนน
1 เน้ือหาสาระครบถว้ น(20 คะแนน)
2 รปู แบบ(20 คะแนน)
3 ความสวยงาม(20 คะแนน)
4 การนำเสนอ(20 คะแนน)
5 ความคิดรเิ รม่ิ สร้างสรรค์(20 คะแนน)
รวม
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 4
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท 22102 ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 อ่านออกเสียงเรยี งภาษา เวลา 10 ชั่วโมง
เรือ่ ง เขยี นผังความคิดจากการอา่ นเรอื่ งจากบทเรียน เวลา 1 ชวั่ โมง
ผูส้ อน นางสาวมยุรี จรัญรักษ์ โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลยั สรุ าษฎร์ธานี
สาระสำคญั
Mind Map คอื การถ่ายทอดความคิด หรอื ข้อมลู ต่าง ๆ ทม่ี อี ยูใ่ นสมองลงกระดาษ โดยการใชภ้ าพ สี เส้น
และการโยงใย แทนการจดย่อแบบเดมิ ที่เปน็ บรรทัด ๆ เรียงจากบนลงลา่ ง ขณะเดียวกันมนั ก็ชว่ ยเปน็ สอื่ นำ
ขอ้ มูลจากภายนอก เช่น หนังสือ คำบรรยาย การประชมุ สง่ เขา้ สมองให้เก็บรกั ษาไว้ไดด้ ีกว่าเดิม ซ้ำยงั ช่วยให้
เกดิ ความคิดสร้างสรรคไ์ ดง้ ่ายเขา้ เน่อื งจะเห็นเปน็ ภาพรวม และเปิดโอกาสให้สมองใหเ้ ช่อื มโยงต่อข้อมูลหรือ
ความคิดต่าง ๆ เข้าหากันได้ง่ายกว่า
มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ัด
มาตรฐานการเรียนรู้ ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความรแู้ ละความคิดเพื่อนำไปใชต้ ัดสนิ ใจแก้ปัญหาในการ
ดำเนินชวี ติ และมนี สิ ัยรักการอา่ น
ตวั ชว้ี ัด เขียนผังความคิดเพ่อื แสดงความเข้าใจในบทเรียนต่างๆทอ่ี ่านได้
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เขยี นผงั ความคดิ จากการอา่ นเร่อื งจากบทเรยี นได้
สาระการเรยี นรู้
ด้านความรู้ .
-การจัดทำผังมโนทศั น์
ด้านทกั ษะ/กระบวนการ
จดั ทำผังมโนทศั น์
ด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 5. อยู่อย่างพอเพยี ง
2. ซ่อื สตั ย์สจุ รติ 6. มุ่งม่นั ในการทำงาน
3. มีวนิ ัย 7. รักความเป็นไทย
4. ใฝ่เรยี นรู้ 8. มจี ิตสาธารณะ
เบญจวิถกี าญจนา
1. เทดิ ทนู สถาบนั
2. กตัญญู
3. บุคลิกดี
4. มีวินัย
5. ใหเ้ กยี รติ
สมรรถนะทีส่ ำคัญของผเู้ รยี น
1. ความสามารถในการส่อื สาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
จดุ เนน้ สู่การพฒั นาผเู้ รยี น
ความสามารถและทกั ษะที่จำเปน็ ในการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
R1– Reading (อา่ นออก) R2– (W)Riting (เขียนได)้ R3 – (A)Rithmetics (คดิ เลขเป็น)
C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะด้านการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณและทกั ษะใน
การแก้ปญั หา)
C2 - Creativity and Innovation (ทกั ษะด้านการสร้างสรรคแ์ ละนวตั กรรม)
C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะดา้ นความเข้าใจตา่ งวัฒนธรรมต่างกระบวนทัศน)์
C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะดา้ นความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและ
ภาวะผนู้ ำ)
C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสือ่ สารสารสนเทศและ
รู้เทา่ ทนั ส่อื )
C6 - Computing and ICT Literacy (ทักษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร)
C7 - Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชพี และทักษะการเรยี นร้)ู
C8 – Compassion (ความมเี มตตากรุณา วนิ ยั คุณธรรม จรยิ ธรรม)
L1 – Learning (ทักษะการเรียนร้)ู
L2 – Leadership (ทกั ษะความเปน็ ผูน้ ำ)
การวดั และประเมินผล
ด้านความรู้
ภาระงาน/ วิธกี ารวดั เคร่อื งมอื เกณฑ์ทีใ่ ช้
ช้นิ งาน
ศึกษา ใหน้ กั เรยี นตอบคำถาม การสังเกต ระดับ 4 ดเี ยี่ยม 8-10 คะแนน
หลกั การ = ทำได้ทกุ ตัวช้ีวดั
จดั ทำผงั ระดบั 3 ดี 7 คะแนน
มโนทศั น์ = ทำไดม้ าก
ระดับ 2 พอใช้ 6 คะแนน
= ทำไดน้ ้อย
ระดบั 1 ต้องปรับปรุง
1-5 คะแนน
ด้านทกั ษะ/กระบวนการ
ภาระงาน/ วธิ ีการวดั เคร่อื งมือ เกณฑ์ทใี่ ช้
ชน้ิ งาน
ศกึ ษา ให้นกั เรยี นบอกถึงหลกั การจดั ทำผัง การสังเกต ระดบั 4 ดีเย่ียม 8-10 คะแนน
หลักการจับ มโนทัศน์ = ทำไดท้ ุกตวั ชี้วัด
จัดทำผงั มโน ระดบั 3 ดี 7 คะแนน
ทศั น์ = ทำได้มาก
ระดับ 2 พอใช้ 6 คะแนน
= ทำได้น้อย
ระดับ 1 ตอ้ งปรับปรุง
1-5 คะแนน
ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
ภาระงาน/ วธิ กี ารวดั เคร่ืองมือ เกณฑท์ ี่ใช้
ช้นิ งาน
ใฝ่รู้ใฝเ่ รยี น สังเกตจากพฤติกรรมการเรียน สงั เกต ระดบั 3 ดี 8-10 คะแนน
= ทำได้ดี
ระดบั 3 ดี 6-7 คะแนน
= ทำได้พอใช้
ระดับ 1 ทำได้ 1-5 คะแนน
= ต้องปรบั ปรงุ
กจิ กรรมการเรียนรู้
1. ขนั้ นำเข้าสู่บทเรยี น
1. ใหน้ ักเรยี นดตู ัวอย่างตวั อยา่ งผงั มโนทศั นจ์ ากเรอื่ งรามเกยี รตต์ิ อนนารายณป์ ราบนนทกให้นักเรียนดแู ลว้
สอบถามวา่ หวั ขอ้ หลักคืออะไรหัวขอ้ รองและหัวข้อยอ่ ยคอื อะไร
2. ขนั้ สอน
1. ครใู ห้นกั เรียนทำผงั มโนทศั น์เรื่องโคลงสุภาษติ จากหนงั สือวรรณคดีและวรรณกรรมชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2
ดว้ ยกระดาษ 100 ปอนดแ์ ละระบายสีใหส้ วยงาม
2. ครูแจ้งเกณฑใ์ นการให้คะแนนใหน้ ักเรยี นทราบถงึ หลกั เกณฑ์ในการประเมินผังมโนทศั น์
3. ให้นกั เรียนสืบค้นรูปแบบทีส่ วยงามไดจ้ ากอนิ เตอรเ์ น็ตและใบความรูใ้ นคลาสรมู
4. ให้นกั เรียนแบ่งกกลุ่มจัดทำผังมโนทศั นเ์ ร่อื งโคลงสภุ าษิตในกระดาษโฟชารท์
5. ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนรายงาน
6. ใหท้ ำลงในกระดาษเอ 3 หรอื แอปส่งในคลาส
ขั้นสรปุ
1. ครูและนกั เรยี นชว่ ยกนั สรปุ ผงั มโนทัศนใ์ นเรอื่ งเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ขนั้ สรุป
1. ครูและนักเรยี นชว่ ยกนั สรปุ ผังมโนทัศน์ในเร่ืองโคลงสภุ าษิต
2. ครูส่งั ให้นกั เรียนเตรียมกระดาษ100ปอนด์สมี าทำผังมโนทศั น์เรื่องเศรษฐกจิ พอเพียงในห้องเรียน
สื่อ/แหลง่ เรยี นรู้
ส่อื การเรียนรู้
1) แบบเรียนหลักภาษาและการใชภ้ าษาไทยชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 2
แหล่งเรียนรู้
1) classroom
2) อนิ เตอรเ์ นต็
สรปุ ผลการจดั การเรียนรู้
ด้านความรู้
กล่มุ ผเู้ รยี น ชว่ งคะแนน จำนวน (คน) คดิ เป็นรอ้ ยละ
ดี 8-10 200 85.47
ปานกลาง 6-7 34 14,53
ปรับปรุง 0-5 --
ด้านทักษะ/กระบวนการ ช่วงคะแนน จำนวน (คน) คิดเป็นร้อยละ
กลุ่มผู้เรยี น 8-10 200 85.47
ดี 6-7 34 14,53
ปานกลาง 0-5 - -
ปรบั ปรุง
ดา้ นคุณลกั ษะอนั พึงประสงค์
กลุ่มผเู้ รียน ช่วงระดบั คุณภาพ จำนวน (คน) คดิ เป็นร้อยละ
ดี 3 214 91.45
ปานกลาง 2 20 8.55
ปรับปรุง 0-1 --
บนั ทกึ หลงั การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
ดา้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
นักเรยี นสามารถจดั ทำผงั มโนทศั นไ์ ด้สวยงาม
ปัญหาที่พบระหวา่ งหรือหลงั จดั กิจกรรม
ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชือ่ ........................................................ผ้สู อน
(นางสาวมยรุ ี จรัญรักษ์)
//
การตรวจสอบและความคดิ เห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้
สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชว้ี ัดของหลกั สูตรฯ
กจิ กรรมการเรยี นร้เู นน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคัญ
มกี ารวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ มคี วามหลากหลายเหมาะสมกบั ผู้เรียน
ใช้สอ่ื หรือแหลง่ เรยี นรทู้ ่ีทนั สมยั และสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
สอดคลอ้ งตามจดุ เนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สพฐ. และจุดเนน้ ของโรงเรียน
สง่ เสริมทกั ษะ 3Rs x 8Cs x 2Ls สง่ เสรมิ เบญจวถิ กี าญจนา
ลงชื่อ..............................................................
(นางสาวอรพิณ สนั เส็น)
หวั หน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
การตรวจสอบและความคิดเหน็ ของหวั หน้ากล่มุ บริหารวิชาการ
ถกู ต้องตามรปู แบบของโรงเรยี น
ผ่านการนเิ ทศตรวจสอบจากหวั หนา้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้/กรรมการนิเทศ
ก่อนใช้สอน หลงั ใช้สอน
มบี ันทกึ หลงั จัดกิจกรรมการเรียนรู้
ลงช่ือ..............................................................
(นายธนพนั ธ์ เพ็งสวสั ด์ิ)
หวั หน้ากลมุ่ บริหารวชิ าการ
ความคิดเห็นของรองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................
ลงช่ือ....................................................................
(นางสาวชณดิ าภา เวชกลุ )
รองผู้อำนวยการโรงเรยี น กลุ่มบริหารงานวชิ าการ
ความคดิ เห็นของผู้อำนวยการโรงเรยี น
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………….........................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................
ลงชือ่ ....................................................................
( นางพรทิพย์ นุกลู กิจ )
ผู้อำนวยการโรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลยั สรุ าษฎรธ์ านี
ใบความรู้
เรอ่ื ง การเขยี นแผนผังความคดิ หรือแผนที่ความคิด (Mind Map)
Mind Map คอื การถ่ายทอดความคิด หรือข้อมูลต่าง ๆ ทม่ี อี ยใู่ นสมองลงกระดาษ โดยการใชภ้ าพ สี
เส้น และการโยงใย แทนการจดย่อแบบเดิมทเี่ ปน็ บรรทัด ๆ เรียงจากบนลงล่าง ขณะเดยี วกนั มันกช็ ว่ ยเป็นสื่อนำข้อมูล
จากภายนอก เชน่ หนงั สอื คำบรรยาย การประชุม สง่ เขา้ สมองใหเ้ กบ็ รักษาไว้ไดด้ ีกวา่ เดิม ซำ้ ยังช่วยให้เกดิ ความคดิ
สรา้ งสรรค์ได้งา่ ยเขา้ เนอ่ื งจะเหน็ เปน็ ภาพรวม และเปิดโอกาสให้สมองให้เชื่อมโยงตอ่ ขอ้ มลู หรอื ความคิดต่าง ๆ เขา้
หากันไดง้ ่ายกว่า “ใชแ้ สดงการเชื่อมโยงข้อมูลเกี่ยวกับเรอ่ื งใดเรอ่ื งหนึง่ ระหว่างความคดิ หลัก ความคดิ รอง และ
ความคิดย่อยท่เี กีย่ วขอ้ งสัมพนั ธก์ นั ” ผงั ความคดิ (Mind Map)ลกั ษณะการเขียนผังความคดิ เทคนิคการคิดคอื นำ
ประเดน็ ใหญ่ ๆ มาเป็นหลกั แล้วต่อด้วยประเดน็ รองในชั้นถัดไป
การสรา้ งแผนท่ีความคดิ
ขัน้ ตอนการสร้าง Mind Map
1. เขยี น/วาดมโนทัศน์หลกั ตรงกึ่งกลางหนา้ กระดาษ
2. เขยี น/วาดมโนทัศนร์ องทส่ี มั พนั ธ์กบั มโนทศั น์หลักไปรอบ ๆ
3. เขียน/วาดมโนทศั น์ยอ่ ยท่ีสมั พันธ์กับมโนทัศน์รองแตกออกไปเรอื่ ย ๆ
4. ใชภ้ าพหรือสญั ลกั ษณส์ ือ่ ความหมายเป็นตวั แทนความคดิ ให้มากทสี่ ุด
5. เขียนคำสำคัญ (Key word) บนเส้นและเส้นต้องเชื่อมโยงกนั
6. กรณีใช้สี ทัง้ มโนทัศน์รองและยอ่ ยควรเปน็ สีเดยี วกนั
7. คิดอย่างอิสระมากท่ีสุดขณะทำ
เขียนคำหลัก หรือข้อความสำคญั ของเรื่องไว้กลาง โยงไปยังประเดน็ รองรอบ ๆ ตามแตว่ ่าจะมกี ีป่ ระเดน็
กฏการสร้าง Mind Map
1. เร่ิมด้วยภาพสตี รงกงึ่ กลางหนา้ กระดาษ
2. ใช้ภาพให้มากที่สดุ ใน Mind Map ของคุณ ตรงไหนที่ใชภ้ าพไดใ้ ห้ใช้กอ่ นคำ หรอื รหัส เปน็ การชว่ ยการ
ทำงานของสมอง ดงึ ดดู สายตา และชว่ ยความจำ
3. ควรเขียนคำบรรจงตวั ใหญๆ่ ถา้ เปน็ ภาษาองั กฤษใหใ้ ช้ตวั พมิ พใ์ หญ่ จะช่วยใหเ้ ราสามารถ
ประหยัดเวลาได้ เมอ่ื ย้อนกลับไปอา่ นอีกคร้ัง
4. เขียนคำเหนือเส้นใต้ แต่ละเส้นตอ้ งเช่ือมต่อกับเสน้ อ่ืนๆ เพ่ือให้ Mind Map มโี ครงสร้างพืน้ ฐานรองรับ
5. คำควรมีลักษณะเปน็ "หนว่ ย" เปิดทางให้ Mind Map คลอ่ งตัวและยดื หยุ่นไดม้ ากข้นึ
6. ใช้สีทวั่ Mind Map เพราะสชี ่วยยกระดับความคิด เพลนิ ตา กระตุ้นสมองซีกขวา
7. เพอื่ ให้เกดิ ความคิดสรา้ งสรรค์ใหม่ ควรปลอ่ ยใหส้ มองคิดมีอิสระมากท่ีสดุ เทา่ ท่ีจะเปน็ ไปได้
วิธกี ารเขียน
Mind Map โดยละเอยี ดอกี วิธีหน่ึง
1. เตรยี มกระดาษเปลา่ ท่ีไม่มีเส้นบรรทดั และวางกระดาษภาพแนวนอน
2. วาดภาพสีหรือเขียนคำหรือข้อความท่ีส่ือหรือแสดงถึงเร่ืองจะทำ Mind Map กลาง หนา้ กระดาษ โดยใช้
สีอย่างน้อย 3 สี และตอ้ งไมต่ กี รอบด้วยรปู ทรงเรขาคณิต
3. คดิ ถงึ หัวเร่อื งสำคัญทเ่ี ปน็ ส่วนประกอบของเรอ่ื งท่ีทำ Mind Map โดยใหเ้ ขยี นเปน็ คำท่มี ีลักษณะเปน็
หนว่ ย หรอื เปน็ คำสำคญั (Key Word) ส้นั ๆ ท่มี คี วามหมาย บนเส้นซงึ่ เส้นแตล่ ะเสน้ จะตอ้ งแตกออกมา
จากศูนย์กลางไม่ควรเกนิ 8 กิง่
4. แตกความคิดของหวั เรือ่ งสำคัญแตล่ ะเรือ่ งในขอ้ 3 ออกเป็นกิง่ ๆ หลายกิ่ง โดยเขยี นคำหรือ วลีบนเสน้ ที่
แตกออกไป ลกั ษณะของกิง่ ควรเอนไม่เกนิ 60 องศา
5. แตกความคิดรองลงไปทเี่ ป็นสว่ นประกอบของแตล่ ะก่ิง ในข้อ 4 โดยเขยี นคำหรือวลีเสน้ ท่ีแตกออกไป
ซึ่งสามารถแตกความคดิ ออกไปเรื่อย ๆ
6. การเขียนคำ ควรเขียนดว้ ยคำที่เปน็ คำสำคัญ (Key Word) หรือคำหลกั หรือเปน็ วลที ม่ี ี ความหมายชดั เจน
7. คำ วลี สัญลักษณ์ หรอื รปู ภาพใดที่ตอ้ งการเน้น อาจใชว้ ธิ กี ารทำใหเ้ ด่น เชน่ การลอ้ มกรอบ หรือใส่
กล่อง เป็นตน้
8. ตกแต่ง Mind Map ที่เขยี นดว้ ยความสนกุ สนานท้งั ภาพและแนวคิดทีเ่ ชื่อมโยงตอ่ กัน
การนำไปใช้
1. ใชร้ ะดมพลงั สมอง
2. ใชน้ ำเสนอข้อมลู
3. ใช้จัดระบบความคิดและช่วยความจำ
4. ใช้วเิ คราะห์เนื้อหาหรอื งานตา่ ง ๆ
5. ใช้สรุปหรอื สร้างองค์ความรู้