ค.ควรเปน็ ปญั หาทคี่ นอื่นก็อาจประสบเชน่ เดียวกนั
ง.ควรเป็นปัญหาท่พี บกนั เสมอ ๆเชน่ การปอ้ งกันอบุ ัติเหตุบนท้องถนน
ข้อควรปฏิบตั ิในการอภปิ ราย
ผู้ดำเนนิ การอภิปรายควรปฏบิ ัตติ ามข้นั ตอนต่อไปน้ี
๑. กล่าวอารมั ภบทถึงจุดมุง่ หมายในการอภิปราย
๒. แนะนำผรู้ ว่ มอภิปรายเป็นรายบุคคลโดยบอกชือ่ หน้าท่กี ารงาน ความสนใจและความเกีย่ วข้อง
กับหัวขอ้ การอภปิ ราย
๓. กลา่ วนำประเด็นทีจ่ ะอภปิ รายและเชิญผอู้ ภปิ รายทีละคนใหแ้ สดงความคิดเหน็ ในแง่ทต่ี นถนดั
๔. สรุปหรือเสริมขอ้ ความตามสมควรเมือ่ ผู้อภิปรายแต่ละคนกล่าวจบ
๕. เปดิ โอกาสให้ผู้ฟังได้ซักถามผอู้ ภิปรายในตอนท้าย
๖. กลา่ วสรุปทงั้ หมดกอ่ นปิดการอภิปราย
ผู้ร่วมการอภิปรายควรปฏิบตั ิตามหลักการต่อไปน้ี
๑. รักษาเวลาในการพดู
๒. พดู ใหต้ รงประเด็นจัดลำดับความคิดให้ดี
๓. แสดงความคิดเหน็ โดยบรสิ ทุ ธิ์ ไม่กา้ วร้าวหรือเอาใจผหู้ น่งึ ผู้ใด
๔. ใช้คำพูดสุภาพ ยกย่องความคิดเหน็ ของผู้ร่วมอภิปราย
๕. ยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผู้อ่นื ถ้าจะซกั ถามหรอื แทรกขอ้ คิดเห็น ตอ้ งขอผา่ นทางผูด้ ำเนนิ การ
อภปิ รายและข้อคิดเหน็ นน้ั ต้องตรงประเด็น
แบบประเมินผลการอภปิ ราย คะแนน(๒๐)
ข้อที่ รายการประเมนิ
1 บุคลิกด(ี ๕ คะแนน)
2 การแสดงความคิดเห็นตรงกบั หัวข้อท่ีอภิปราย(๕ คะแนน)
3 อภิปรายเปน็ ประโยชน์ต่อสว่ นรวม(๕ คะแนน)
4 มีขอ้ เทจ็ จรงิ ที่ถูกตอ้ ง(๕ คะแนน)
5 มารยาทในการพูด(๕ คะแนน)
รวม
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 8
รายวิชา ภาษาไทย รหสั วชิ า ท 22102 ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2
กลุม่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 4 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 อ่านออกเสียงเรียงภาษา เวลา 10 ช่ัวโมง
เรอื่ ง วเิ คราะหบ์ ทความ เวลา 1 ชว่ั โมง
ผสู้ อน นางสาวมยรุ ี จรัญรกั ษ์ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวทิ ยาลัย สุราษฎร์ธานี
สาระสำคญั
การคดิ วิเคราะหอ์ าจทำได้จากการรวบรวมข้อมูล การสงั เกตการณ์ ประสบการณ์ หลกั แห่งเหตุและผล
หรือการสอื่ ความ การคิดวเิ คราะห์ต้องมีพน้ื ฐานของคุณค่าเชงิ พุทธิปญั ญาทส่ี ูงเลยไปจากการเป็นเพยี งการแบ่งเน้ือหา
ทีร่ วมไปถึง ความกระจา่ งชดั ความแมน่ ยำ ความตอ้ งตรงเนอ้ื หา หลกั ฐาน ความครบถ้วนและความยตุ ธิ รรม
บทความ หมายถึงงานเขียนท่เี ผยแพร่ในสอื่ สิ่งพิมพ์หรือสอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์ ซง่ึ มจี ดุ ประสงค์เพอื่ เผยแพร่
ข่าวสาร ผลการวจิ ยั เผยแพรค่ วามรู้ การวเิ คราะหท์ างการศกึ ษา การวิพากษ์วิจารณ์ เป็นต้น โดยปกตบิ ทความหนง่ึ
บทความจะพดู ถึงเรื่องใดเร่อื งหนงึ่ เป็นประเดน็ หลกั เพียงเรอ่ื งเดยี ว
มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั
มาตรฐานการเรียนรู้ ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพ่อื นำไปใชต้ ัดสินใจแก้ปัญหาในการ
ดำเนินชีวิตและมีนิสยั รักการอา่ น
ตวั ชวี้ ัด วเิ คราะห์และจำแนกขอ้ เท็จจริง ข้อมูลสนับสนนุ และข้อคดิ เห็นจากบทความต่างๆทอ่ี า่ นได้
จุดประสงค์การเรยี นรู้ วเิ คราะหบ์ ทความ
สาระการเรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง
ดา้ นความรู้ 6. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน
-การวเิ คราะห์
-บทความ .
ด้านทกั ษะ/กระบวนการ
-วิเคราะห์บทความ
ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2. ซอ่ื สัตย์สจุ รติ
3. มีวินยั 7. รกั ความเปน็ ไทย
4. ใฝเ่ รียนรู้ 8. มจี ิตสาธารณะ
เบญจวถิ ีกาญจนา
1. เทิดทนู สถาบนั
2. กตัญญู
3. บคุ ลกิ ดี
4. มวี ินยั
5. ใหเ้ กียรติ
สมรรถนะทส่ี ำคัญของผู้เรยี น
1. ความสามารถในการสอ่ื สาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปญั หา
4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
จดุ เน้นสู่การพฒั นาผ้เู รียน
ความสามารถและทักษะที่จำเปน็ ในการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
R1– Reading (อ่านออก) R2– (W)Riting (เขยี นได)้ R3 – (A)Rithmetics (คดิ เลขเป็น)
C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทกั ษะด้านการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณและทกั ษะใน
การแก้ปญั หา)
C2 - Creativity and Innovation (ทกั ษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม)
C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะดา้ นความเข้าใจต่างวัฒนธรรมต่างกระบวนทศั น)์
C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะดา้ นความรว่ มมอื การทำงานเปน็ ทีมและ
ภาวะผนู้ ำ)
C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทักษะดา้ นการส่อื สารสารสนเทศและ
รเู้ ท่าทันสอื่ )
C6 - Computing and ICT Literacy (ทกั ษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สือ่ สาร)
C7 - Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชีพและทกั ษะการเรียนร)ู้
C8 – Compassion (ความมีเมตตากรณุ า วนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม)
L1 – Learning (ทกั ษะการเรยี นรู้)
L2 – Leadership (ทักษะความเปน็ ผนู้ ำ)
การวดั และประเมินผล วธิ ีการวดั เคร่อื งมอื เกณฑ์ทใ่ี ช้
ดา้ นความรู้
ภาระงาน/
ชิ้นงาน
วิเคราะห์ วเิ คราะห์บทความ สังเกต ระดบั 4 ดีเย่ียม 8-10 คะแนน
บทความ = ทำได้ทกุ ตัวช้ีวัด
ระดบั 3 ดี 7 คะแนน
= ทำไดม้ าก
ระดบั 2 พอใช้ 6 คะแนน
= ทำไดน้ อ้ ย
ระดับ 1 ตอ้ งปรับปรงุ
1-5 คะแนน
ดา้ นทักษะ/กระบวนการ
ภาระงาน/ วิธกี ารวดั เครอ่ื งมือ เกณฑท์ ่ใี ช้
ช้ินงาน
วเิ คราะห์ วเิ คราะห์บทความ สังเกต ระดับ 4 ดีเย่ียม 8-10 คะแนน
บทความ = ทำไดท้ กุ ตวั ช้ีวดั
ระดับ 3 ดี 7 คะแนน
= ทำไดม้ าก
ระดบั 2 พอใช้ 6 คะแนน
= ทำได้นอ้ ย
ระดบั 1 ต้องปรับปรุง
1-5 คะแนน
ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
ภาระงาน/ วธิ กี ารวัด เครือ่ งมอื เกณฑท์ ใ่ี ช้
ชิน้ งาน
-มีวินัย วเิ คราะหบ์ ทความ สังเกต ระดับ 3 ดี 8-10 คะแนน
-มุ่งมัน่ ใน = ทำได้ดี
การทำงาน ระดับ 3 ดี 6-7 คะแนน
= ทำได้พอใช้
ระดบั 1 ทำได้ 1-5 คะแนน
= ต้องปรบั ปรงุ
กิจกรรมการเรยี นรู้
ใช้กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรียนรแู้ บบบรรยาย
ขน้ั ที่ 1 นำเขา้ สูบ่ ทเรยี น
1) ครูสอบถามนกั เรียนวา่ ทกั ษะทางภาษาไทยมอี ะไรบา้ ง
2) เมือ่ นักเรียนตอบไดว้ ่าจำ ใจ ใช้ วิ สงั ประ
3) ครแู จ้งใหน้ กั เรยี นทราบว่าในวันนี้เราจะมาวิเคราะห์บทความกันและสอบถามถึงลักษณะของบทความ
ให้นกั เรียนตอบ
ข้ันท่ี 2 สอน
1) ใหน้ ักเรียนดยู ธู ปู เร่ืองการวิเคราะห์บทความ
2) ครอู ธบิ ายเพม่ิ เติมเป็นช่วงๆ
3) ใหน้ กั เรียนดกู ารอา่ นเพอื่ วเิ คราะห์และตอบคำถามจากแบบเรยี นหลักภาษาไทยและการใชภ้ าษาไทยม.2
4) ให้นกั เรยี นดใู บความรู้และทำแบบฝกึ หัดในคลาสรูม
5)ใหน้ กั เรียนดูตัวอย่างการอ่านเพือ่ วเิ คราะห์บทความเรื่องธรุ กิจฮาลาลตลาดใหญ่ในอาเซียน
ข้ันท่ี 3 สรปุ
1. ครูและนกั เรยี นช่วยกนั สรปุ เรอื่ งการวเิ คราะห์บทความจากการอ่าน
ส่ือ/แหลง่ เรยี นรู้
สือ่ การเรยี นรู้
1. ยูทูปเร่ืองการวเิ คราะห์บทความ
2. แบบเรยี นหลกั ภาษาและการใชภ้ าษาชัน้ ม.2
แหลง่ เรียนรู้
1. คลาสรมู
สรุปผลการจัดการเรยี นรู้
ด้านความรู้
กล่มุ ผู้เรียน ช่วงคะแนน จำนวน (คน) คดิ เปน็ ร้อยละ
ดี 8-10 100 42.74
ปานกลาง 6-7 100 42.74
ปรบั ปรงุ 0-5 34 1453
ด้านทักษะ/กระบวนการ ช่วงคะแนน จำนวน (คน) คิดเป็นร้อยละ
กลมุ่ ผเู้ รยี น 8-10 100 42.74
ดี 6-7 100 42.74
ปานกลาง 0-5 34 1453
ปรับปรงุ
ด้านคณุ ลักษะอนั พึงประสงค์
กลมุ่ ผเู้ รียน ชว่ งระดบั คุณภาพ จำนวน (คน) คดิ เป็นรอ้ ยละ
ดี 3 117 50
ปานกลาง 2 117 50
ปรบั ปรุง 0-1 --
บันทึกหลงั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
ด้านการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
นกั เรียนสามารถวเิ คราะห์บทความได้
ปญั หาทพี่ บระหว่างหรือหลงั จดั กจิ กรรม
เนื่องจากเปน็ การเรียนการสอนแบบออนไลนจ์ งึ มปี ัญหาเรื่องอินเตอรเ์ น็ตอย่บู า้ ง
ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชือ่ ........................................................ผ้สู อน
(นางสาวมยุรี จรญั รกั ษ์)
8 / 11 /256
การตรวจสอบและความคิดเหน็ ของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานและตัวชีว้ ัดของหลักสูตรฯ
กิจกรรมการเรียนร้เู นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั
มกี ารวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจริง มีความหลากหลายเหมาะสมกับผู้เรียน
ใชส้ ื่อหรอื แหล่งเรยี นรู้ทท่ี นั สมัยและส่งเสรมิ การเรยี นรูไ้ ด้อย่างมีประสิทธภิ าพ
สอดคลอ้ งตามจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ สพฐ. และจุดเนน้ ของโรงเรียน
สง่ เสริมทกั ษะ 3Rs x 8Cs x 2Ls ส่งเสริมเบญจวิถีกาญจนา
ลงชอื่ ..............................................................
(นางสาวอรพณิ สันเสน็ )
หวั หนา้ กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
การตรวจสอบและความคดิ เห็นของหวั หนา้ กลุม่ บริหารวชิ าการ
ถูกตอ้ งตามรปู แบบของโรงเรยี น
ผ่านการนเิ ทศตรวจสอบจากหัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้/กรรมการนเิ ทศ
ก่อนใช้สอน หลงั ใช้สอน
มบี ันทกึ หลงั จดั กจิ กรรมการเรียนรู้
ลงชอ่ื ..............................................................
(นายธนพนั ธ์ เพ็งสวัสด์ิ)
หวั หนา้ กลุม่ บริหารวชิ าการ
ความคิดเหน็ ของรองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................
ลงชอ่ื ....................................................................
(นางสาวชณิดาภา เวชกลุ )
รองผู้อำนวยการโรงเรยี น กลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ
ความคดิ เห็นของผ้อู ำนวยการโรงเรยี น
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………….........................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................
ลงช่ือ....................................................................
( นางพรทิพย์ นุกลู กจิ )
ผู้อำนวยการโรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลยั สุราษฎรธ์ านี
บทความ
ความหมายของบทความ
บทความ หมายถึงงานเขยี นท่เี ผยแพร่ในสอื่ สงิ่ พิมพ์หรอื สื่ออิเลก็ ทรอนกิ ส์ ซึง่ มจี ดุ ประสงค์เพื่อเผยแพรข่ า่ วสาร
ผลการวจิ ยั เผยแพรค่ วามรู้ การวิเคราะหท์ างการศึกษา การวพิ ากษว์ จิ ารณ์ เป็นต้น โดยปกติบทความหนง่ึ บทความ
จะพดู ถึงเร่อื งใดเร่อื งหนงึ่ เป็นประเดน็ หลกั เพยี งเรอ่ื งเดียว
ลักษณะของบทความ
บทความ คอื ความเรียงประเภทหนึ่งทเ่ี ขยี นเพอ่ื เสนอความรู้ ความคดิ มีรปู แบบการเขยี นคล้ายกับ
เรยี งความ แต่การเขยี นบทความจะตอ้ งมเี รือ่ งราวมาจากขอ้ เทจ็ จริงหรือข่าวประจำวนั มีความทนั สมัย ทันต่อ
เหตกุ ารณ์ อยู่ในความสนใจของผูอ้ ่านและผู้เขยี น และจะต้องสอดแทรกขอ้ เสนอเชงิ วชิ าการ หรอื ความคิดเหน็ เชงิ
สรา้ งสรรค์ไวด้ ว้ ย
บทความมีลักษณะบางประการคล้ายคลึงกบั การเขียนข่าวและเรยี งความ เพราะเปน็ การเขียนที่รวมการ
เขียนทั้งสองแบบดงั กล่าวเข้าไว้ด้วยกัน กลา่ วคอื “ขา่ ว” เขียนขน้ึ เพอื่ บอกข้อเท็จจรงิ ว่าใคร ทำอะไร ท่ีไหน เม่อื ไร
และทำไม โดยประมวลเหตกุ ารณท์ ่ีเกิดขึ้นจรงิ อยา่ งตรงไปตรงมา ทนั ตอ่ เหตุการณ์
กล่าวโดยสรปุ บทความมลี กั ษณะดังตอ่ ไปนี้
๑. เรอื่ งทเ่ี ขียนตอ้ งเป็นเร่อื งที่มีสาระ เปน็ เรอ่ื งจริง มหี ลกั ฐานท่ีนา่ เชือ่ ถือ เม่อื อา่ นแลว้ จะได้ความรหู้ รือ
ความคิดเพิ่มขน้ึ
๒. ต้องเสนอเร่อื งท่ีผู้อ่านสว่ นมากกำลงั สนใจอยู่ในขณะนนั้ ทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์ หรอื เร่ืองที่เปน็ ปัญหา และ
มคี วามสำคัญเป็นพิเศษ
๓. ต้องมีสว่ นเป็นทัศนะหรือความคิดเหน็ ของผ้เู ขยี น โดยนำเสนอแนวคิดท่ีน่าสนใจ ชวนใหผ้ ู้อ่านคดิ ตาม
หรือติดต่อ
๔. ควรใช้ภาษาให้นา่ อ่าน และสรา้ งความสนใจ
๕. ความยาวของบทความควรสัน้ กะทดั รัด เพ่ือให้ผอู้ า่ นสามารถอ่านได้ในเวลาจำกัด
ประเภทของบทความ
บทความแบ่งออกได้หลายประเภท ท้ังนี้ ข้ึนอยกู่ ับแนวคิดและเหตผุ ลว่าจะใชเ้ กณฑใ์ ดในการแบ่ง
โดยทัว่ ไปนิยมแบ่งบทความเป็น ๒ ประเภทกว้าง ๆตามจุดมงุ่ หมายในการนำเสนอและวิธกี ารเขียน ดังนี้
๑. บทความวิชาการ หรือก่ึงวชิ าการ หรือเชงิ วิชาการ บทความวชิ าการ เป็นบทความทเ่ี ขียนเพื่อ
เผยแพรค่ วามรู้โดยตรง ผ้เู ขยี นจึงต้องค้นคว้าจากเอกสาร จากการสงั เกต การสัมภาษณ์ การทดลอง มกี ารวิเคราะห์
อยา่ งเป็นระบบ มีหลักฐานอ้างองิ ทเ่ี ชื่อถือได้ และจะต้องมบี รรณานกุ รม และเอกสารอ้างอิงทา้ ยเรื่องเสมอ ส่วน
บทความกึง่ วิชาการหรอื เชงิ วชิ าการมีลักษณะคลา้ ยบทความวชิ าการ คอื เขยี นขึน้ เพอ่ื เผยแพร่ความร้เู ปน็ สำคัญ แตม่ ี
ความตา่ งกันในเรื่องการใชภ้ าษา กล่าวคอื บทความวชิ าการมลี ักษณะการใช้ภาษาท่ีเป็นทางการ และเปน็ ภาษาที่
ถกู ตอ้ งตามหลกั ภาษา ในขณะที่บทความกงึ่ วิชาการหรอื เชิงวิชาการไมเ่ น้นในเร่อื งความถกู ต้องของภาษามากนัก
อาจจะใช้ถ้อยคำที่ทำใหผ้ อู้ ่านเกิดความรสู้ ึกสนใจ อยา่ งไรกต็ าม ทงั้ บทความวิชาการและกึ่งวชิ าการจะตอ้ งมกี ารใช้
ภาษาคำท่ชี ัดเจน กระชับ กะทดั รดั เรยี บเรียงเนือ้ เรอ่ื งตามลำดับ มเี หตุผล และมขี อ้ มลู สนบั สนุนการเขยี น ทัง้ น้อี าจมี
การใช้แผนภมู ิหรอื ตารางประกอบการนำเสนอขอ้ มูลด้วยก็ได้
๒. บทความท่ัวไป เปน็ บทความที่ใหค้ วามรู้ ความคดิ และความเพลิดเพลนิ แก่ผูอ้ ่าน โดยเน้นความเพลดิ เพลินเปน็
สำคัญ ความแตกตา่ งระหว่างบทความวชิ าการ หรอื กึง่ วิชาการหรอื เชงิ วิชาการกับบทความทัว่ ไปอยู่ทบ่ี ทความทัว่ ไป
เขยี นใหค้ นทั่วไปอ่าน จงึ ใช้ภาษาที่เข้าใจงา่ ย และเรา้ ใจ จงู ใจผอู้ ่าน บางครั้งอาจมีการใชภ้ าษาพูดปะปนด้วย สว่ น
บทความวิชาการเขียนขน้ึ เพอ่ื เผยแพรค่ วามรใู้ นแวดวงวชิ าการน้นั จงึ ใชศ้ ัพท์เทคนิค หรอื ศัพท์วิชาการเฉพาะสาขาท่ี
คนทว่ั ไปอาจจะอ่านไม่เข้าใจ
ขน้ั ตอนในการเขียนบทความการเขียนบทความมขี ้ันตอนต่อไปน้ี
๑. การเลอื กเร่ือง ควรเลอื กเร่อื งทคี่ นกำลงั สนใจและเป็นเรือ่ งที่ผ้เู ขียนมีความรู้ การเสนอเรือ่ งราวและ
ความคดิ ควรกำหนดขอลบเขตใหแ้ คบเพอ่ื ให้สมบูรณ์และลกึ ซ้ึง หรือพยายามเลือกเฉพาะตอนที่เด่นและนา่ สนใจเปน็
พเิ ศษมาเขยี น
๒. การรวบรวมข้อมลู ผูเ้ ขียนบทความจะตอ้ งหาความรู้ ข้อมูล ขอ้ เทจ็ จรงิ เกี่ยวกบั เร่อื งท่ีจะเขียน
การรวบรวมความรู้อาจจะทำไดห้ ลายวิธี และจะต้องพิจารณาดว้ ยวา่ ข้อมลู น้นั จะต้องเปน็ ที่ยอมรบั และเช่ือถือ
ได้
๓. การกำหนดจุดมุ่งหมาย ควรกำหนดจุดมงุ่ หมายให้ชัดเจนว่าบทความท่จี ะเขยี นน้ตี ้องการเขยี นให้
ใครอ่าน ต้องการสือ่ สารกบั คนกล่มุ ใด หรอื ตอ้ งการใหผ้ อู้ า่ นมีความคดิ อยา่ งไร
๔. การวางโครงเรอ่ื ง การวางโครงเร่ืองถือว่าเป็นสง่ิ จำเป็นสำหรับงานเขียนทกุ ประเภท เพราะจะทำ
ให้เขียนได้ตรงตามจุดมุง่ หมาย และลำดับความคิดไดต้ ่อเนอ่ื ง
๕. การลงมือเขียน ควรเขียนด้วยความต้งั ใจ โดยลำดับความคดิ ตามโครงเรือ่ งทกี่ ำหนด และใชภ้ าษา
ท่ีสื่อความหมายชัดเจน ชวนให้ผู้อ่านสนใจติดตาม
๖. การทบทวน ควรอ่านทบทวนบทความที่เขียนเสรจ็ แล้วอย่างน้อย ๒ ครัง้ เพอื่ พจิ ารณาว่าเนื้อหา
สาระสอดคล้องกบั ชื่อเร่ืองหรือไม่ แล้วทบทวนแก้ไขขอ้ บกพร่องในการใช้ภาษา
กลวธิ ใี นการเขียนบทความการเขยี นบทความมีกลวิธที ีท่ ำให้บทความนนั้ นา่ สนใจ ดงั น้ี
๑. การต้ังชือ่ เรื่อง ชอื่ เรอื่ งนบั วา่ เปน็ สว่ นสำคัญท่ีจะดงึ ดดู ความสนใจของผอู้ า่ นเพราะเปน็ ส่งิ แรกท่ี
ผู้อ่านจะอ่านก่อนเสมอ ดงั น้ัน จะต้องเลือกคำหรือข้อความที่สามารถส่ือสาร หรอื แนวคิดให้ดีทสี่ ุด ชวนใหอ้ ยากอ่าน
เนอื้ หาในบทความนน้ั ขอให้พิจารณาตวั อย่างการต้งั ช่อื เรอ่ื งต่อไปนี้
การตงั้ ชอ่ื เร่ืองตามเนอ้ื หา เช่น เสนห่ ์กระดาษสา เมอื งสมุนไพร ล้มบอล : มะเร็งร้ายในวงการ
ลกู หนงั ซีดผี ีไม่มวี ันตาย
การต้ังชื่อเรอื่ งโดยใช้คำถาม เชน่ เยาวชนไทยเสยี ไปหมดแลว้ หรือ การอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมทำ
อยา่ งไร
การตงั้ ชื่อเร่อื งโดยใชค้ ำท่มี ีความหมายตรงกนั ขา้ ม เช่น รมต. อ่อนนอกแข็งใน ยคุ
โลกาภวิ ตั น์หรือโลกาพบิ ตั ิ
การตง้ั ชือ่ เรื่องท่สี ือ่ ความหมายชักชวน เช่น การจราจรไทยควรเลกิ ใช้ระบบอภิสทิ ธ์ิ หยุด
ทำลายป่าไมเ้ สยี ที
๒. การเขยี นบทนำ บทนำเปน็ สว่ นสำคัญอกี ส่วนหนงึ่ ทช่ี ่วยสรา้ งความสนใจจากผอู้ ่านดังนั้น ผู้เขยี น
บทความจะตอ้ งใชก้ ลวิธกี ารเขียนบทนำ เพราะถา้ สามารถขึ้นตน้ บทความไดด้ ีกเ็ ท่ากบั วา่ ได้รบั ความสำเร็จไปแล้ว
ครง่ึ หนึ่ง นักเรยี นสามารถศึกษาวธิ กี ารเขียนบทนำไดจ้ ากการเขยี นบทนำเรยี งความในหนงั สือเรียนเลม่ กอ่ น เพราะใช้
วิธีการเดยี วกนั
๓. การเขียนเน้อื เร่ือง เนอื้ เรอื่ งเปน็ สว่ นทยี่ าวและสำคญั ท่ีสุด เพราะรวบรวมความคิดและขอ้ มูล
ทั้งหมด ย่อหน้าแต่ละยอ่ หนา้ ในเน้ือเร่ืองจะตอ้ งมสี มั พันธภาพ คือ รอ้ ยเรยี งเป็นเรือ่ งเดยี วกันและมลี ำดบั
ขนั้ ตอน ผเู้ ขียนอาจจะลำดับเน้ือเรอ่ื งตามเวลา ลำดบั ตามเหตุผล หรอื ลำดบั ตามความสำคญั ก็ได้
นอกจากนใ้ี นการเขียนเน้ือเรอ่ื ง ควรคำนงึ ถึงเร่อื งต่อไปนี้
๑) ใช้ถอยคำทถ่ี ูกต้องตามความหมาย ใชต้ วั สะกดให้ถูกต้องตามพจนานุกรม
๒) ใช้สำนวนโวหารให้เหมาะกับเรื่อง เชน่ ใช้ถอยคำท่เี ปน็ ทางการ ใชค้ ำศพั ท์เฉพาะในการเขียน
บทความทางวชิ าการ ใชถ้ ้อยคำท่ีเปน็ ภาษาปาก คำสแลง ในการเขียนบทความ ท่วั ไป
๓) มีข้อมลู เหตุผล สถิตแิ ละการอ้างอิงประกอบเรอ่ื ง เพ่ือให้เขา้ ใจงา่ ยและนา่ เช้อื ถอื
๔. การเขียนบทสรุป การเขียนบทสรุปเป็นส่วนท่มี ีความตอ่ เน่อื งจากเนอ้ื เร่อื ง และเป็นสว่ นทผ่ี เู้ ขียน
ตอ้ งการบอกให้ผู้อ่านทราบว่าข้อมลู ทง้ั หมดเสนอมาได้จบลงแลว้ ผเู้ ขยี นควรมีกลวิธที ี่จะทำให้ผู้อ่าน
พอใจ ประทับใจ และได้รับความคิดท่ีผู้อ่านสามารถนำไปใช้ได้ การเขยี นบทสรุปของบทความมีกลวธิ ีเชน่ เดียวกับ
การเขยี นบทสรปุ เรียงความ ซ่ึงได้อธบิ ายแล้วในหนังสือเรียนเลม่ กอ่ น
การพิจาณาบทความ
๑. ชอ่ื เร่อื ง เป็นส่วนแรกของบทความทส่ี ร้างความสนใจแกผ่ ู้อ่าน บทความในหนังสอื พมิ พห์ รือ
นติ ยสารอาจตีพมิ พช์ อ่ื เรอ่ื งดว้ ยตัวอักษรขนาดใหญเ่ พ่อื สร้างความสนใจ หากชอื่ เร่ืองมขี นาดยาว กอ็ าจตีพมิ พท์ ีเ่ ปน็
เรือ่ งรอง ด้วยตวั อักษรขนาดเลก็ ลง
๒. บทนำ คือ ส่วนใหญ่อยยู่ ่อหน้าแรกของบทความ มีลักษณะเปน็ การกล่าวนำเรือ่ ง โดยให้ความรู้
เบอื้ งต้น บอกเจตนาและผู้เขยี นหรือตง้ั คำถาม ซ่ึงผเู้ ขยี นจะใชก้ ลวธิ ีตา่ ง ๆในการเขยี นให้ผูอ้ ่านสนใจติดตามเนือ้
เร่ือง
๓. เน้ือหา เปน็ สว่ นสำคัญท่ีสดุ ของบทความ เพราะเป็นส่วนท่ีรวบรวมความรู้ สาระต่าง ๆ และความ
คดิ เห็นของผูเ้ ขยี น
๔. บทสรุป คือสว่ นสุดท้ายของบทความที่ผูเ้ ขียนใชส้ รุปเน้ือหา และสร้างความประทบั ใจแก่
ผ้อู ่าน โดยใช้กลวธิ หี ลายประการ เชน่ การชกั จูงใจใหด้ ำเนินการอย่างใดอย่างหนง่ึ การใหข้ ้อคิดการหาแนว
รว่ ม การต้ังคำถามให้ผู้อ่านนำไปคิดต่อ การเสนอแนะแนวทางการแกไ้ ขปัญหา การให้ทางเลอื กเพอ่ื นำไปสูก่ าร
ตดั สนิ ใจ การทำนายเหตกุ ารณ์ท่ีจะเกิดข้ึนต่อไป เป็นต้น
ตัวอย่างบทความ
อย่าตดั สินคนจากหน้าตาและรูปลักษณ์ภายนอก
ในสมยั ท"่ี ลซิ ซี เวลาสเกซ"เรียนช้นั มธั ยมปลาย เธอไดร้ บั ฉายาว่า "ผหู้ ญิงทีอ่ ปั ลกั ษณ์ที่สุดใน
โลก" จากคลิปวดิ ีโอทโ่ี พสตล์ งในยทู ูบนาน 8 วินาที แน่นอน ไมม่ ใี ครเลอื กเกิดได้ เวลาสเกซ เกิดมาพร้อม
อาการทางการแพทยท์ ่ีหาผูป้ ่ วยยากย่ิง กระทงั่ ปัจจุบนั ในโลกมีผูป้ ่ วยจากโรคน้ีทีพ่ บแลว้ เพียง 3 ราย
อาการของเธอคอื เธอไมม่ "ี เน้ือเย่อื ไขมนั "ภายใตผ้ วิ หนงั และไมม่ กี ลา้ มเน้ือใดๆบนร่างกาย ทาให้ไม่
สามารถกกั เก็บพลงั งานได้ และไมส่ ามารถเพม่ิ น้าหนกั ได้ ฉะน้นั ไขมนั ในร่างกายของเธอจึงเป็นศนู ย์ และมี
น้าหนกั เพยี ง 60 ปอนด์
ในคอมเมนตใ์ นยทู ูบ ผูใ้ ชบ้ างรายเรียกเธอว่า"มนั " และบอกให้เธอ"ไปฆา่ ตวั ตายเสีย" แตน่ นั่
ไม่ไดท้ าใหเ้ ธอทอ้ ใจแมแ้ ต่นอ้ ย และทาใหเ้ ธอต้งั จุดมุ่งหมายไว้ 4 ประการ 1.เป็นนกั พูดเพอื่ กระตนุ้ ให้
กาลงั ใจผคู้ น 2.เขียนหนงั สือ 3. เรียนจบมหาวทิ ยาลยั และ 4.สร้างครอบครัวและหางานทาดว้ ยลาแขง้ ของ
ตนเอง
ปัจจบุ นั ในวยั 23 ปี เธอเป็นนกั พูดเพ่อื ใหก้ าลงั ใจแก่ผูค้ นมานาน 7 ปี แลว้ รวมถงึ เปิ ดเวิร์คชอ็ ป
เพื่อใหค้ นรู้จกั ท่จี ะสร้างความโดดเด่นใหอ้ อกมาจากภายใน รวมถึงการรบั มือจากการข่มเหงรังแกและการ
เอาชนะอุปสรรค นอกจากน้นั เธอยงั เรียนปริญญาโทในสาขาการส่ือสาร จากมหาวิทยาลยั เทก็ ซสั สเตท
และเป็นเจา้ ของหนงั สือ "Lizzie Beautiful" ที่ตพี มิ พค์ ร้งั แรกเมอ่ื ปี 2010 ขณะทีห่ นงั สือเลม่ ทส่ี องของเธอ
"Be Yourself, Be Beautiful" เพงิ่ ออกวางจาหน่ายเมือ่ ตน้ เดือนทผี่ า่ นมา
เวลาสเกซ ใหส้ มั ภาษณใ์ นรายการขา่ วของซีเอน็ เอ็นวา่ "การถกู จอ้ งมอง"เป็นสิ่งท่ีเธอตอ้ ง
จดั การในขณะน้ีเม่อื ตอ้ งออกสู่ทส่ี าธารณะ แตเ่ ธอคดิ วา่ เธอเดินทางไปถึงจดุ จดุ หน่ึง ทคี่ ดิ ไดว้ ่า แทนทจ่ี ะนง่ั
เฉยๆและปลอ่ ยใหค้ นอ่ืนคอยตดั สิน เธอเริ่มตอ้ งการเดินออกไปหาคนเหลา่ น้นั และแนะนาตวั ว่าเธอคอื ใคร
พร้อมเสนอนามบตั รให้ พร้อมท้งั กลา่ ววา่ "บางทคี ณุ ควรหยดุ จอ้ งมองฉนั และเร่ิมท่ีจะเรียนรู้"
เวลาสเกซ เกิดที่เมอื งซานแอนโตนิโอในรฐั เทก็ ซสั เธอเกิดก่อนกาหนด 4 สปั ดาห์ ดว้ ยน้าหนกั ตวั
เพียง 2 ปอนด์ 10 ออนซ์? แม่ของเธอเคยกล่าวว่า ยงั คดิ ไม่ออกวา่ ลกู สาวของเธอจะมีชีวติ รอดไดอ้ ยา่ งไร
เน่ืองจากแพทยไ์ ดแ้ จง้ วา่ เดก็ คนน้ีอาจไมส่ ามารถพดู หรือเดินได้ หรือปลอ่ ยใหใ้ ช้ชีวิตตามลาพงั ได้
อยา่ งไรกด็ ี เธอเติบโตข้นึ ตามปกติ ท้งั อวยั วะภายในและภายนอก แมร้ ่างกายจะผอมบางมากจน
น่ากลวั และพบวา่ ไม่มีช้นั ไขมนั ภายใตผ้ ิวหนงั ซ่ึงเป็นแหล่งกกั เกบ็ สารอาหาร ทาให้เธอตอ้ งทานอาหาร
ทกุ ๆ 15-20 นาที เพือ่ ให้ร่างกายมพี ลงั งานพอทจี่ ะดาเนินชีวิตตอ่ ไปได?้ ตาขา้ งหน่ึงของเธอเร่ิมพร่าเลือนเมอ่ื
อายไุ ด้ 4 ขวบ และบอดในที่สุด ทาให้ปัจจบุ นั เธอตอ้ งมองสิ่งต่างๆดว้ ยตาเพียงขา้ งเดียว เธอเขยี นถงึ
ความสาเร็จและแรงบนั ดาลใจในการใชช้ ีวติ ลงในโพสตบ์ ล็อคส่วนตวั โดยกล่าววา่ เธอเรียนรู้ที่จะอา้ แขนรับ
สิ่งต่างๆทที่ าให้เธอดแู ตกตา่ งจากคนอนื่ แทนทีจ่ ะคอยมานง่ั ตอบโตใ้ นส่ิงทีท่ าใหต้ นเองรู้สึกแย่ เธอ
ต้งั เป้าหมายใหต้ นเองและผลกั ดนั ไปจนถึงความสาเร็จ ถงึ แมจ้ ะมคี นทีเ่ กลียดอยบู่ า้ งก็ตาม นอกจากน้นั เธอ
ยงั เปิ ดช่องยทู ูบ ทสี่ อนเทคนิคต่างๆ อาทวิ ธิ ีการรับมือกบั การดูถกู ดแู คลน การทาผม และการคดิ บวก แม้
บางคร้งั จะมคี อมเมนตท์ ีแ่ สดงความเห็นในเชิงลบ เธอกล่าวว่าเธออา่ นทกุ คอมเมนตเ์ พราะมองว่านนั่ ก็เป็น
เพยี งแค"่ คาพูด"
เธอกล่าววา่ เธอดีใจท่ีเธอดูไมเ่ หมอื นเหล่าเซเล็บทมี่ ีหนา้ ตาสวยงาม ซ่ึงดเู หมอื นๆกนั ไปหมด ทเี่ ท่ากบั เป็น
การเปิ ดโอกาสให้คนอื่นไดเ้ ขา้ ใจถึงตวั ตนท่ีแทจ้ ริงของเธอ
เวลาสเกซ กล่าวว่า เธอกเ็ ป็นมนุษยค์ นหน่ึง แน่นอนว่าเธอตอ้ งรู้สึกเจบ็ ปวด แตค่ าตดั สินของคนอ่นื ไมไ่ ด้
หมายความวา่ เธอตอ้ งเป็นเช่นน้นั และเธอจะไม่ยอมใหค้ าพดู เหล่าน้นั มากาหนดความเป็นตนเอง และจะไม่
ยอมจมไปกบั ความเสียใจเดด็ ขาด แต่จะ"แกแ้ คน้ "ผ่านการสร้างความสาเร็จให้ตนเอง และความมมุ านะ
"และในสงครามระหวา่ ง คลปิ ?ผหู้ ญงิ ที่อปั ลกั ษณท์ ส่ี ุดในโลก? และ ?ตวั ฉันเอง? ฉนั คิดวา่ ฉนั เป็นผชู้ นะ"
เวลาสเกซกลา่ วปิ ดทา้ ย
การคิดวิเคราะห์
การคดิ วิเคราะห์
เป็นกระบวนการทางจิตสำนกึ เพอ่ื วิเคราะห์ หรือ ประเมินข้อมลู ในคำแถลง หรือ ข้อเสนอท่ีมีผู้แถลงหรอื
อา้ งวา่ เป็นความจรงิ การคิดวเิ คราะหเ์ ปน็ รูปแบบของกระบวนการทส่ี ะทอ้ นให้เห็นความหมายของคำแถลง
(statement) และการตรวจสอบหลกั ฐานท่ไี ดร้ ับการไตต่ รองดว้ ยเหตแุ ละผล แล้วจึงทำการตดั สนิ คำแถลงหรือ
ขอ้ เสนอท่ถี กู อ้างวา่ เปน็ ความจรงิ นนั้
การคิดวิเคราะห์อาจทำไดจ้ ากการรวบรวมข้อมูล การสังเกตการณ์ ประสบการณ์ หลกั แหง่ เหตแุ ละผล หรอื
การสอื่ ความ การคดิ วิเคราะห์ตอ้ งมีพน้ื ฐานของคุณคา่ เชงิ พุทธปิ ญั ญาทส่ี ูงเลยไปจากการเปน็ เพียงการแบ่งเน้ือหาท่ี
รวมไปถึง ความกระจ่างชัด ความแม่นยำ ความต้องตรงเน้อื หา หลักฐาน ความครบถว้ นและความยุตธิ รรม
ความหมายหรือนิยามการคดิ วิเคราะหม์ มี ากมายและหลากหลาย แต่ส่วนใหญไ่ ปในแนวเดียวกันคอื การใช้
เหตผุ ล หลกั ฐานและตรรกะมาวเิ คราะหใ์ ห้แนช่ ัดกอ่ นลงความเห็นหรอื ตดั สิน
พระพทุ ธเจ้าไดใ้ ชว้ ธิ กี ารสอนท่ีอาจนับเป็นการคิดวิเคราะห์ทเ่ี รียกว่า "ปจุ ฉาวิสัชนา" ด้วยการใหพ้ ระสงฆ์ใช้
"วิจารณญาน" ถามตอบซักไซไ้ ลเ่ ลียงคา้ นกันไปมาจนไดค้ ำตอบซึ่งอาจถอื ไดว้ า่ เป็นการคดิ วเิ คราะห์ โดยทรงให้หลกั
แห่งความเชื่อทไ่ี มง่ มงายไว้ในพระสูตรชื่อ กาลามสตู ร
กรรมวธิ ขี องการคิดวเิ คราะห์
การคดิ วิเคราะหม์ ขี น้ั ตอนการคดิ ทม่ี ปี ระโยชนด์ งั นี้
1. การจำแนกความเห็นในประเดน็ ปัญหาจากทุกฝ่ายทเ่ี ก่ยี วข้องและการจดั เก็บขอ้ โตแ้ ยง้ ท่ีมตี รรกะท่สี นับสนุน
ในแตล่ ะฝ่าย
2. แตกขอ้ โตแ้ ย้งออกเปน็ สว่ น ๆ ตามเนื้อหาของคำแถลงและดึงเอาเน้อื หาสว่ นเพมิ่ เติมท่ีมีความหมายตรงนัย
ของคำแถลง
3. ตรวจสอบคำแถลงและความหมายตามนยั เหลา่ น้ีเพือ่ หาความขดั แย้งในตัวเอง
4. บ่งช้เี นอ้ื หาการอา้ งที่ขดั แย้งกันในบรรดาข้อถกเถียงตา่ ง ๆ ท่มี แี ล้วจึงใส่น้ำหนักหรือคะแนนใหข้ อ้ อา้ งนน้ั ๆ
1. เพมิ่ นำ้ หนักเมือ่ ขอ้ อ้างมหี ลกั ฐานสนับสนนุ ท่ีเด่นชัด โดยเฉพาะการมีเหตมุ ีผลทส่ี อดคลอ้ งกนั หรือมี
หลกั ฐานจากแหลง่ ใหม่ ๆ หลายแหลง่ ลดน้ำหนกั เมอ่ื ขอ้ อา้ งมคี วามขัดแยง้ กนั
2. ปรบั นำ้ หนกั ขึ้นลงตามความสอดคลอ้ งของข้อมูลกับประเดน็ กลาง
3. จะต้องมหี ลักฐานสนบั สนนุ ทเ่ี พยี งพอสำหรบั ใชใ้ นการตดั สนิ ขอ้ อา้ งทไ่ี มน่ ่าเช่ือถอื หรือมฉิ ะนน้ั
จะต้องไม่นำประเดน็ การกลา่ วอ้างดงั กลา่ วมาประกอบการตัดสนิ
5. ประเมินน้ำหนกั ด้านตา่ ง ๆ ของข้ออา้ ง
นิยามของการคดิ วิเคราะห์
โดยทีแ่ นวคิดเกีย่ วกับการคิดวเิ คราะห์เพ่งิ เป็นท่ีแพรห่ ลายและมคี วามสำคัญตอ่ สังคมแหง่ โลกไร้พรมแดนมากขึ้นเปน็
ลำดับ จึงมผี ู้เขียนหนังสอื และมกี ารเปดิ สอนวชิ านีอ้ ยา่ งแพรห่ ลายตามมหาวทิ ยาลัยต่าง ๆ ทัว่ โลก ดังนัน้ ความหมาย
และนยิ ามของ "การคิดวิเคราะห"์ จงึ มคี วามหลากหลายดงั นยิ ามท่ไี ดร้ วมรวมไวข้ ้างล่างนี้ ท้ังนีเ้ พอื่ ใหผ้ ศู้ กึ ษาเหน็ ภาพที่
กวา้ งขึ้น แหล่งทม่ี าได้ให้ไว้ที่ท้ายของแตล่ ะนิยามแลว้
• การคดิ วเิ คราะหห์ มายถึงชนดิ ของกจิ กรรมทางจิตทแี่ จ่มแจง้ แมน่ ยำและมีความมุง่ หมายที่ชัดเจน ปกติจะ
เกย่ี วโยงกบั การแก้ปญั หาที่ซบั ซ้อนในโลกของความเป็นจรงิ เปน็ การสรา้ งทางแกป้ ัญหาเชงิ ซ้อน เป็นการหยบิ
ยกความแตกต่าง การสงั เคราะห์และบรู ณาการขอ้ มลู ขา่ วสาร ชูความแตกตา่ งระหวา่ งขอ้ เทจ็ จริงกับ
ความเหน็ หรือการอนุมาณศกั ยภาพของผลที่จะตามออกมา แตก่ ารคิดวเิ คราะห์ยังโยงไปถงึ กระบวนการ
ประเมนิ คุณภาพในความคิดของตนเองไดด้ ว้ ย
• การคดิ วเิ คราะหห์ มายถงึ ความสามารถในการประเมินข้อมลู และความเหน็ อย่างมรี ะบบ มเี ปา้ หมายที่ชัดเจน
และถกู ตอ้ งและด้วยวธิ กี ารทมี่ ีประสิทธิภาพ
• การคดิ วิเคราะหค์ ือเครอ่ื งมอื ท่ีจำเปน็ ย่งิ ยวดเพอื่ การตัดสินหรอื ลงความเห็นด้ววธิ ีสบื เสาะ กำหมดเป้าหมายท่ี
ถูกต้องชดั เจนและการบงั คบั ตนเองไมใ่ ห้ถูกชกั จงู เพอื่ ให้ไดม้ าซง่ึ การแปลความหมาย การวิเคราะห์ การ
ประเมนิ และการลงความเหน็ ตลอดจนการอธบิ ายพยานหลกั ฐานหรือส่ิงอ้างองิ แนวคดิ วิธกี าร การกำหนด
กฎเกณฑห์ รอื บรบิ ทของขอ้ พิจารณาท่ีเป็นท่มี าของขอ้ สรุป ความเหน็ หรือข้อตดั สนิ
• การคิดวเิ คราะหค์ ือกระบวนการรับรู้ทตี่ ้ังอยบู่ นพน้ื ฐานของการสะทอ้ นความคิดและการอดทน (ตอ่ การหา
ความกระจา่ ง) ในความคลุมเครอื ไมช่ ัดเจนซึ่งมีลกั ษณะประจำดังนี้
o มีวินยั และชี้นำตนเอง
o หันเหไปทางการสบื ค้น วิเคราะห์และวิจารณ์
o ใช้วิธแี ก้ไขปัญหาแบบหลายมติ แิ ละหลายตรรกะมากกว่าการแกแ้ บบมติ เิ ดยี ว ตรรกะเดียว หรือ ใช้
ความร้คู ดิ ยาวไปทางเดยี ว จะต้องใชค้ วามสามารถสรา้ งทางเลือกหลายทางที่นำไปสู่การช่ังใจตัดสนิ ท่ี
ปราศจากการเอนเอียง
• การคดิ วเิ คราะหค์ อื การสะท้อนความคิดท่มี ีเหตุผลโดยการพุ่งประเด็นไปเนน้ ที่การตดั สินใจทีจ่ ะเชอื่ หรอื
ตัดสนิ ใจที่จะกระทำในส่ิงใดสิ่งหนง่ึ กลา่ วใหช้ ดั ก็คือการประเมินในความจริง ความแม่นยำ และ/หรอื คณุ ค่า
ของความรู้หรอื ขอ้ ถกเถยี งทีไ่ ดร้ ับ ในการนี้ตอ้ งการการวิเคราะห์ความรู้หรือความเชือ่ ที่ไดร้ ับรู้มาอยา่ ง
ระมดั ระวงั ตรงจุด เกาะตดิ และเป็นรูปธรรมทีม่ ีเหตผุ ล เพือ่ ให้สามารถตัดสินไดว้ ่าสิ่งนนั้ ๆ จรงิ หรอื มีคุณค่า
จริงหรือไม่
• การคิดวเิ คราะหค์ อื กระบวนการประเมินขอ้ เสนอหรอื สมมตุ ฐิ านที่ได้รบั แล้วทำการไตร่ตรองตดั สินบนพ้นื ฐาน
แห่งพยานหลักฐานที่นำมาสนับสนนุ ตวั อย่าง: พิจารณาตาม 5 ขัน้ ตอนของการคดิ วเิ คราะห์
1. เรากำลงั ถกู บอกใหเ้ ชือ่ หรือยอมรับอะไร? สมมุติฐานในเรื่องนค้ี อื อะไร?
2. มพี ยานหลักฐานใดทใี่ ช้สนับสนุนในเรื่องนี้? และหลกั ฐานนเ้ี ช่อื ถอื ไดแ้ ละหนักแน่นแล้วหรอื ?
3. มีทางเลือกอนื่ ใดอกี หรอื ไม่สำหรบั ใชใ้ นการตีความพยานหลักฐานนี้
4. มีหลกั ฐานเพม่ิ เตมิ อื่นใดอกี หรือไม่ทจ่ี ะนำมาชว่ ยประเมนิ ทางเลือกเหลา่ นนั้
5. ขอ้ สรุปใดท่มี ีเหตุผลมากทีส่ ุดตามพยานหลกั ฐานและคำอธบิ ายของทางเลือก[6]
• การคิดวเิ คราะหค์ ือการเจาะมงุ่ เฉพาะจดุ การจัดรูปความคิดเก่ยี วกบั ส่ิงต่าง ๆ อย่างมีความสมั พนั ธ์กันใน
ระหว่างความคดิ ต่าง ๆ ในหลกั ฐานท่ีแน่ชดั และในความแตกตา่ งระหว่างข้อเท็จจรงิ กบั ความเห็น
• การคิดวิเคราะหค์ ือความม่งุ มนั่ ยึดตดิ กบั การตรวจสอบหลกั ฐานท่ีสนับสนุนความเช่ือ ทางแก้ปัญหา หรอื
ข้อสรปุ การยอมรบั การคิดวิเคราะห์หมายถึงความสามารถในการคิดอย่างกระจ่าง การวเิ คราะห์และการมใี ห้
เหตผุ ลอย่างมีตรรกะ
• การคิดวเิ คราะหค์ ือการแสดงให้เหน็ ถงึ หรือความต้องการการวิเคราะหอ์ ยา่ งระมัดระวงั ก่อนการตัดสนิ
• การคดิ วิเคราะหค์ ือการให้เหตุผลและการวิเคราะห์อย่างเปน็ ระบบ ท่ีรวมถงึ การตะล่อมและการมตี รรกะใน
ของการคิดท่ีอยใู่ นระดับสูง
• การคดิ วเิ คราะหค์ อื การเก็บเกย่ี วทกั ษะเชงิ วเิ คราะห์ที่จะช่วยใหน้ ิสติ นักศึกษามีความสามารถในการแก้
แนวคดิ หรือปัญหาตา่ ง ๆ ที่ซับซอ้ นได้
• การคดิ วเิ คราะหค์ ือเซทที่ซบั ซ้อนของทักษะการรบั รทู้ ตี่ อ้ งใชใ้ นการแกป้ ัญหาและการพิจารณาส่ิงตา่ ง ๆ อยา่ ง
มีปญั ญาและนวตั กรรม
• การคดิ วิเคราะหค์ อื กระบวนการทที่ า้ ทายใหบ้ ุคคลใชก้ ารไตรต่ รอง เหตุผล การคดิ อย่างมีหลักเพอื่ รวบรวม
แปลความหมายและประเมนิ ข้อมูลข่าวสารเพอ่ื ให้สามารถตัดสนิ กระบวนการนเ้ี กี่ยวข้องกบั การคิดทีล่ ว่ งเลย
ไปมากกวา่ การใหเ้ หตุผลเพียงอันเดยี วสำหรบั นำมาใช้ในการตัดสินวา่ ทางเลอื กใดเหมาะสมที่สดุ
• การคดิ วิเคราะหค์ ือทกั ษะทีส่ ำคัญทีส่ ดุ สำหรับการศึกษาในมหาวิทยาลยั และสถาบันที่สูงกวา่ นนั้ เปน็ การ
ค้นหาความหมายที่อย่เู บ้ืองใต้ของคำแถลง กวนี พิ นธ์ บทบรรณาธิการ รูปภาพ การโฆษณา หรอื ข้อเขียนใด ๆ
ด้วยการใช้การวเิ คราะห์ นักคิดเชิงวจิ ารณ์จะแยกคำแถลงหรือขอ้ เขยี นนนั้ ออกเปน็ สว่ น ๆ เพือ่ ค้นหา
ความหมาย ความสมั พนั ธแ์ ละสมมตุ ิฐานอาจอาจถูกฝงั ไว้ในน้ันต่อไป
• การคิดวเิ คราะหค์ อื หนทางแหง่ การตดั สินที่ต้องใช้การไตร่ตรองอย่างระมัดระวงั วา่ จะยอมรับ บอกปดั หรือพกั
คำแถลงนน้ั ไว้กอ่ น
• การคดิ วเิ คราะหค์ ือกระบวนการท่ีมเี หตผุ ลและที่สะทอ้ นถงึ การชง่ั ใจตดั สินในสิ่งต่าง ๆ กระบวนการนใี้ ห้
ความสำคญั ในความเป็นเอกเทศและกงึ่ เอกเทศในการตดั สินใจ การคดิ วิเคราะหย์ งั รวมถงึ ความสามารถในการ
จดั การกบั ความคลุมเครอื ซง่ึ เป็นสิ่งทม่ี ีประจำในบทบาทและประสบการณข์ องมนษุ ยท์ ว่ั ไป
• การคิดวิเคราะหค์ ือกระบวนการที่มีระบบการใช้ปัญญาเพอื่ การวางแนวความคิด การประยกุ ต์ การวเิ คราะห์
การสังเคราะหแ์ ละ/หรือประเมินขอ้ มูลด้วยทักษะท่กี ระตอื รอื ล้นด้วยการสังเกต การเข้าไปมปี ระสบการณ์
การสะทอ้ นกลับ การให้เหตุผลและ/หรอื ดว้ ยการสอ่ื เพ่อื ใช้เปน็ แนวทางไปส่คู วามเชอื่ หรือการปฏบิ ัติ
การคดิ วเิ คราะหไ์ มใ่ ช่การเสาะหาหรือการคงไว้ซึ่งข้อมลู แบบธรรมดาท่ัวไป ไมใ่ ช่เปน็ การพัฒนาเซทเฉพาะ
ของทกั ษะ และ/หรือการประยุกตท์ ักษะเหลา่ น้นั ซ้ำ ๆ โดยปราศจากประเมินผลลัพธเ์ ชงิ วจิ ารณ์
การคิดวิเคราะหค์ รอบคลมุ ถงึ องค์ประกอบของเหตุผลท้งั 8 นั่นคือ ความมุ่งหมาย จดุ ความเห็น คำถามของ
ประเด็น ขอ้ มลู ข่าวสาร การแปลความหมายและการอนุมาน แนวคดิ หรอื มโนทศั น์ ขอ้ สมมติ การชบี้ ง่ เปน็ นัย
และผลทีจ่ ะตามมา
• การคดิ วิเคราะหค์ อื กระบวนการทางจิตท่ีใช้ในการวิเคราะหห์ รือประเมนิ ข้อมลู ขอ้ มูลดงั กล่าวอาจเก็บ
รวบรวมจากการสงั เกตการณ์ ประสบการณ์ การใช้เหตุผล หรือจากการสอ่ื ความ การคิดวิเคราะห์มีพน้ื ฐาน
ของมนั เองทางคุณค่าแหง่ พุทธปิ ญั ญาทล่ี ้ำลึกไปจากการแบ่งเรือ่ งราวโดยรวมถงึ ความกระจา่ งแจ้ง ความ
แมน่ ยำ การมพี ยานหลกั ฐาน การครบถว้ นและการมคี วามยุตธิ รรม
จาก https://th.wikipedia.org/wiki/
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 9
รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวิชา ท 22102 ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 4 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 อ่านออกเสยี งเรียงภาษา เวลา 10 ช่ัวโมง
เรือ่ ง การประเมนิ คา่ เรอ่ื งทอ่ี า่ น เวลา 1 ชัว่ โมง
ผู้สอน นางสาวมยรุ ี จรัญรกั ษ์ โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวทิ ยาลยั สรุ าษฎร์ธานี
สาระสำคัญ
เปน็ การอา่ นแลว้ ตัดสินว่า เร่ืองท่อี า่ นดี ถูกต้อง ชดั เจน หรือไม่ การประเมนิ คณุ ค่าต้องใชส้ ติปัญญาในการ
พจิ ารณาตามประเภทของงานเขยี น
มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ดั
มาตรฐานการเรยี นรู้ ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนำไปใช้ตัดสนิ ใจแกป้ ญั หาในการ
ดำเนินชวี ติ และมนี สิ ยั รกั การอา่ น
ตวั ช้วี ัด วเิ คราะห์และจำแนกข้อเท็จจรงิ ข้อมลู สนบั สนนุ และขอ้ คิดเหน็ จากบทความต่างๆท่ีอา่ นได้
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ประเมนิ ค่าเร่อื งทอ่ี า่ น
สาระการเรียนรู้ .
ดา้ นความรู้
การประเมนิ คา่ เร่อื งทอ่ี า่ น 5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง
ดา้ นทักษะ/กระบวนการ
ประเมนิ ค่าเรื่องท่ีอ่าน
ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซอื่ สตั ยส์ ุจริต 6. มุ่งม่ันในการทำงาน
3. มวี ินยั 7. รักความเป็นไทย
4. ใฝเ่ รียนรู้ 8. มจี ิตสาธารณะ
เบญจวถิ กี าญจนา
1. เทดิ ทูนสถาบัน
2. กตญั ญู
3. บุคลิกดี
4. มวี ินยั
5. ให้เกยี รติ
สมรรถนะทสี่ ำคญั ของผเู้ รียน
1. ความสามารถในการสอ่ื สาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแก้ปญั หา
4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
จุดเน้นส่กู ารพฒั นาผู้เรียน
ความสามารถและทักษะท่ีจำเป็นในการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
R1– Reading (อา่ นออก) R2– (W)Riting (เขียนได)้ R3 – (A)Rithmetics (คิดเลขเป็น)
C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทกั ษะด้านการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณและทักษะใน
การแกป้ ัญหา)
C2 - Creativity and Innovation (ทกั ษะด้านการสร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรม)
C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเขา้ ใจต่างวัฒนธรรมต่างกระบวนทศั น)์
C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดา้ นความรว่ มมอื การทำงานเปน็ ทีมและ
ภาวะผ้นู ำ)
C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทักษะดา้ นการส่ือสารสารสนเทศและ
รู้เท่าทนั สือ่ )
C6 - Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
ส่ือสาร)
C7 - Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทกั ษะการเรียนรู)้
C8 – Compassion (ความมีเมตตากรุณา วินัย คุณธรรม จรยิ ธรรม)
L1 – Learning (ทักษะการเรยี นรู)้
L2 – Leadership (ทกั ษะความเป็นผ้นู ำ)
การวัดและประเมินผล วิธกี ารวดั เครื่องมือ เกณฑ์ทีใ่ ช้
ด้านความรู้
ภาระงาน/
ชิน้ งาน
การประเมนิ ประเมนิ คา่ สังเกต ระดบั 4 ดเี ย่ียม 8-10 คะแนน
คา่ เรือ่ งที่ = ทำได้ทุกตวั ช้ีวดั
อา่ น ระดบั 3 ดี 7 คะแนน
= ทำได้มาก
ระดับ 2 พอใช้ 6 คะแนน
= ทำไดน้ ้อย
ระดบั 1 ตอ้ งปรับปรุง
1-5 คะแนน
ดา้ นทักษะ/กระบวนการ
ภาระงาน/ วธิ ีการวัด เครือ่ งมอื เกณฑท์ ใ่ี ช้
ชน้ิ งาน
การประเมนิ ประเมนิ ค่าเร่ืองที่อา่ น สงั เกต ระดบั 4 ดีเย่ียม 8-10 คะแนน
คา่ เรอ่ื งที่ = ทำไดท้ ุกตวั ชี้วดั
อา่ น ระดับ 3 ดี 7 คะแนน
= ทำได้มาก
ระดับ 2 พอใช้ 6 คะแนน
= ทำไดน้ ้อย
ระดับ 1 ต้องปรบั ปรงุ
1-5 คะแนน
ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
ภาระงาน/ วิธกี ารวัด เครือ่ งมอื เกณฑ์ท่ีใช้
ช้นิ งาน
-มุ่งมั่นใน สังเกต สงั เกต ระดบั 3 ดี 8-10 คะแนน
การทำงาน = ทำได้ดี
-รักความ ระดบั 3 ดี 6-7 คะแนน
เปน็ ไทย = ทำได้พอใช้
ระดบั 1 ทำได้ 1-5 คะแนน
= ต้องปรบั ปรงุ
กิจกรรมการเรียนรู้
ใชก้ ระบวนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูแ้ บบ
ขัน้ ที่ 1 นำเข้าสูบ่ ทเรยี น
1) ครูใหน้ ักเรียนอ่านเรอ่ื งเจ้าสาวใบตองจากแบบเรียนหลกั ภาษาไทยม2หน้า32
2) ครูถามนกั เรียนว่าเรื่องนเ้ี ป็นอย่างไร
ขั้นที่ 2 สอน
1) ให้นักเรียนดูยทู ูปเรอ่ื งการอา่ นเพ่ือประเมินคา่
2) ครูอธบิ ายเพ่ิมเตมิ
3) ครูใหศ้ กึ ษาใบความรใู้ นคลาสรมู
4) ให้นกั เรยี นศกึ ษาเรอ่ื งการอา่ นประเมนิ คา่ จากหลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทยช้นั ม.2และตอบคำถาม
5) ให้ดูตัวอย่างการอา่ นประเมนิ ค่าจากเรื่องเจ้าสาวใบตอง
ขั้นท่ี 3 สรปุ
1.ครูใหน้ ักเรยี นบอกหลกั การอา่ นประเมนิ คา่ มาคนละ 1 ข้อ
สือ่ /แหล่งเรียนรู้
สือ่ การเรยี นรู้
1. ยูทปู
2. แบบเรยี นหลักภาษาและการใช้ภาษาไทย
3) ใบความรู้
แหล่งเรียนรู้
1. คลาสรมู
สรปุ ผลการจดั การเรยี นรู้
ด้านความรู้ ชว่ งคะแนน จำนวน (คน) คิดเป็นร้อยละ
กล่มุ ผเู้ รียน 8-10 100 42.74
ดี 6-7 114 48.72
ปานกลาง 0-5 20 8.54
ปรบั ปรุง
ด้านทกั ษะ/กระบวนการ ช่วงคะแนน จำนวน (คน) คิดเปน็ รอ้ ยละ
กลุม่ ผู้เรียน 8-10 100 42.74
ดี 6-7 114 48.72
ปานกลาง 0-5 20 8.54
ปรบั ปรงุ
ดา้ นคณุ ลกั ษะอนั พึงประสงค์
กลุ่มผู้เรยี น ชว่ งระดบั คุณภาพ จำนวน (คน) คดิ เปน็ ร้อยละ
117 50
ดี 3 117 50
- -
ปานกลาง 2
ปรบั ปรงุ 0-1
บนั ทกึ หลงั การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
ดา้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
นกั เรยี นสามารถประเมนิ คา่ จากการอา่ นได้
ปญั หาท่พี บระหว่างหรอื หลังจัดกิจกรรม
เนอื่ งจากเป็นชว่ งที่การเรยี นการสอนเปน็ แบบอนไลนจ์ งึ มปี ญั หาเร่ืองสญั ญาณอนเตอร์เน็ตอยบู่ า้ ง
ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชอื่ ........................................................ผู้สอน
(นางสาวมยุรี จรัญรกั ษ์)
9 / 11 /2565
การตรวจสอบและความคดิ เห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้
สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชว้ี ัดของหลกั สูตรฯ
กจิ กรรมการเรยี นร้เู นน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคัญ
มกี ารวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ มคี วามหลากหลายเหมาะสมกับผู้เรยี น
ใช้สอ่ื หรือแหลง่ เรยี นรทู้ ่ีทนั สมยั และสง่ เสรมิ การเรยี นร้ไู ดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ
สอดคลอ้ งตามจดุ เนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สพฐ. และจุดเนน้ ของโรงเรียน
สง่ เสริมทกั ษะ 3Rs x 8Cs x 2Ls สง่ เสรมิ เบญจวิถีกาญจนา
ลงชื่อ..............................................................
(นางสาวอรพิณ สนั เส็น)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
การตรวจสอบและความคิดเหน็ ของหวั หน้ากล่มุ บริหารวิชาการ
ถกู ต้องตามรปู แบบของโรงเรยี น
ผ่านการนเิ ทศตรวจสอบจากหวั หนา้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้/กรรมการนิเทศ
ก่อนใช้สอน หลงั ใช้สอน
มบี ันทกึ หลงั จัดกิจกรรมการเรียนรู้
ลงช่ือ..............................................................
(นายธนพันธ์ เพ็งสวสั ด์ิ)
หวั หน้ากลมุ่ บริหารวิชาการ
ความคิดเห็นของรองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................
ลงช่ือ....................................................................
(นางสาวชณดิ าภา เวชกลุ )
รองผู้อำนวยการโรงเรียน กลุ่มบริหารงานวชิ าการ
ความคดิ เห็นของผู้อำนวยการโรงเรยี น
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………….........................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................
ลงชอ่ื ....................................................................
( นางพรทิพย์ นกุ ูลกจิ )
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลยั สุราษฎร์ธานี
การอ่านเพื่อประเมินคา่
การอ่านมีความสำคญั ตอ่ มนุษยม์ าก เพราะเปน็ การรบั ความรู้ ขา่ วสาร เรือ่ งตา่ งๆ เขา้ มาสูส่ มองของเรา
แมว้ ่าปัจจบุ ันเราจะอ่านหนงั สอื นอ้ ยลง เพราะโลกเปลย่ี นไปในเรือ่ งเทคโนโลยกี ารรบั รขู้ า่ วสาร แต่เรากย็ ังคงตอ้ งอา่ น
ข่าวสารจากส่ือสมยั ใหมอ่ ยู่ดี เพอ่ื ให้ได้ความรู้ท่ีทันต่อยคุ สมัย
จดุ ประสงคข์ องการอา่ น
เน่อื งจากขอ้ มูลข่าวสารท่ีเป็นประโยชน์น้ัน อยใู่ นเนือ้ หาทห่ี ลากหลาย ดังนั้น การอ่านจึงมจี ุดประสงคไ์ ด้หลายอย่าง
ดงั น้ี
1. อ่านเพอ่ื เพ่ิมพูนความรู้ เชน่ หนงั สือ ตำราเรียน สารคดี
2. อ่านเพือ่ ความบันเทงิ เช่น นวนิยาย เรือ่ งสนั้ การต์ นู ซึ่งบางทีกไ็ ด้ความรู้เหมอื นกัน
3. อ่านเพื่อให้จดุ ประกายความคดิ เปิดมุมมองให้กว้างขึ้น เช่น บทสมั ภาษณ์ บทวิเคราะห์
4. อา่ นเพื่อติดตามสถานการณบ์ ้านเมอื ง เศรษฐกิจโลก เช่น หนังสือพิมพ์ นิตยสาร
การอา่ นเพอื่ ประเมินคุณคา่
เปน็ การอา่ นแล้วตัดสนิ วา่ เรือ่ งท่ีอ่านดี ถกู ตอ้ ง ชัดเจน หรอื ไม่ การประเมนิ คุณคา่ ตอ้ งใชส้ ตปิ ญั ญาในการพิจารณา
ตามประเภทของงานเขียน ดงั น้ี
1. สารคดี สารคดที ี่ดจี ะต้องเสนอความรู้ที่นา่ สนใจ มคี วามถูกต้อง และนา่ เชอื่ ถือ เสนอความเห็นท่ีมเี หตผุ ล เป็นกลาง
ใช้ภาษาชัดเจน เขา้ ใจงา่ ย
2. บันเทิงคดี เน้ือหาควรเป็นเน้ือหาท่ีดีมุ่งไปในทางดี ไม่ใชใ่ นทางผิดศีลธรรม เรื่องราวตอ้ งก่อให้เกดิ ความเพลิดเพลนิ
และสติปญั ญาแกผ่ ูอ้ า่ น แนวคิดของเร่อื งชดั เจน และมคี ุณค่าแกผ่ อู้ ่าน ตัวละครและฉากมีลกั ษณะสมจรงิ และชว่ ย
เสนอแนวคดิ ของเร่ือง การนำเสนอเรอ่ื งชวนตดิ ตาม เรา้ ความสนใจของผอู้ ่าน การใชภ้ าษาชดั เจน และเขา้ ใจง่าย
หลักการประเมินคุณค่า
1. ต้องรจู้ ักหนงั สอื หรืองานเขยี นประเภทนน้ั ๆ
2. อ่านอย่างละเอยี ดถี่ถ้วน พจิ ารณาเน้ือหาและส่วนประกอบเนื้อหา
3. ตีความเน้อื หา
4. ประเมนิ ค่า เปน็ การตดั สนิ ว่าสิ่งทอ่ี ่าน นา่ เช่ือถือ มคี วามสมบูรณ์ ถกู ต้อง หรอื ไม่ โดยใชเ้ หตุผลประกอบ
การประเมนิ คา่ การอ่านมี 4 ด้าน
- ด้านวรรณศลิ ป์ คือการใชภ้ าษา การใช้คำทีส่ ละสลวยเหมาะสม
- ด้านเนื้อหา ทมี่ ีสาระเป็นขอ้ เท็จจริง
- ดา้ นสังคม อาจมเี นอื้ หาตามสภาพสงั คม เชน่ ภมู ิภาค ภาษาถน่ิ
- การนำไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ คือการประเมินค่างานแลว้ ไดข้ อ้ คิดอะไรทีจ่ ะนำไปใช้ในชีวิตของเรา เช่นเปน็ ความรู้
ใหมๆ่ ข้อคิดใหม่ๆ ในการดำเนนิ ชวี ติ เป็นคตเิ ตอื นใจ เป็นตน้
เรียบเรยี งโดย : อลงกรณ์ พลอยแก้ว
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 10
รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วิชา ท 22102 ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564
หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 อา่ นออกเสยี งเรียงภาษา เวลา 10 ชัว่ โมง
เรอ่ื ง การอ่านอย่างมมี ารยาท เวลา 1 ชว่ั โมง
ผสู้ อน นางสาวมยรุ ี จรัญรกั ษ์ โรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลยั สรุ าษฎรธ์ านี
สาระสำคญั
มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้วี ดั
มาตรฐานการเรียนรู้ ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใชต้ ัดสนิ ใจแกป้ ัญหาในการ
ดำเนินชวี ิตและมีนสิ ยั รักการอา่ น
ตวั ชีว้ ัด มีมารยาทในการอา่ น
จุดประสงค์การเรยี นรู้ มีมารยาทในการอ่าน
สาระการเรยี นรู้
ด้านความรู้
หลักการอ่านอย่างมมี ารยาท .
ด้านทกั ษะ/กระบวนการ
การอา่ นอย่างมีมารยาท
ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5. อยู่อย่างพอเพยี ง
2. ซื่อสัตย์สุจรติ 6. มุ่งมนั่ ในการทำงาน
3. มีวนิ ยั 7. รักความเป็นไทย
4. ใฝ่เรียนรู้ 8. มจี ติ สาธารณะ
เบญจวิถีกาญจนา
1. เทิดทนู สถาบนั
2. กตัญญู
3. บุคลกิ ดี
4. มวี นิ ัย
5. ให้เกยี รติ
สมรรถนะทส่ี ำคญั ของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
จดุ เน้นสู่การพัฒนาผูเ้ รียน
ความสามารถและทกั ษะท่ีจำเปน็ ในการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
R1– Reading (อ่านออก) R2– (W)Riting (เขียนได้) R3 – (A)Rithmetics (คิดเลขเป็น)
C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะด้านการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและทกั ษะใน
การแกป้ ัญหา)
C2 - Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวตั กรรม)
C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะดา้ นความเข้าใจตา่ งวฒั นธรรมต่างกระบวนทัศน์)
C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเปน็ ทมี และ
ภาวะผ้นู ำ)
C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการส่ือสารสารสนเทศและ
รู้เท่าทนั สื่อ)
C6 - Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร)
C7 - Career and Learning Skills (ทักษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นร)ู้
C8 – Compassion (ความมเี มตตากรณุ า วนิ ัย คณุ ธรรม จริยธรรม)
L1 – Learning (ทักษะการเรียนรู้)
L2 – Leadership (ทักษะความเป็นผู้นำ)
การวัดและประเมินผล
ด้านความรู้
ภาระงาน/ วธิ ีการวัด เครือ่ งมอื เกณฑ์ท่ใี ช้
ช้ินงาน
การอ่าน การปฏิบัติ การสังเกต ระดบั 4 ดีเย่ียม 8-10 คะแนน
อย่างมี = ทำได้ทุกตวั ชี้วดั
มารยาท ระดบั 3 ดี 7 คะแนน
= ทำได้มาก
ระดบั 2 พอใช้ 6 คะแนน
= ทำได้น้อย
ระดับ 1 ต้องปรบั ปรงุ
1-5 คะแนน
ดา้ นทักษะ/กระบวนการ
ภาระงาน/ วธิ ีการวดั เคร่ืองมือ เกณฑ์ทีใ่ ช้
ชิน้ งาน
การอ่าน การปฏิบตั ิ การสังเกต ระดับ 4 ดีเยี่ยม 8-10 คะแนน
อยา่ งมี = ทำได้ทกุ ตัวช้ีวัด
มารยาท ระดบั 3 ดี 7 คะแนน
= ทำไดม้ าก
ระดบั 2 พอใช้ 6 คะแนน
= ทำได้นอ้ ย
ระดบั 1 ตอ้ งปรบั ปรงุ
1-5 คะแนน
ด้านคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
ภาระงาน/ วิธกี ารวดั เครื่องมือ เกณฑ์ท่ีใช้
ชนิ้ งาน
บุคลกิ ดี สังเกตจากพฤตกิ รรม สงั เกต ระดบั 3 ดี 8-10 คะแนน
มวี นิ ยั = ทำได้ดี
ใหเ้ กยี รติ ระดับ 3 ดี 6-7 คะแนน
= ทำได้พอใช้
ระดับ 1 ทำได้ 1-5 คะแนน
= ต้องปรบั ปรงุ
กิจกรรมการเรียนรู้
ใชก้ ระบวนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบ
ขน้ั ที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน
1) ครูสอบถามนักเรยี นว่าการอ่านจำเป็นจะตอ้ งมีมารยาทหรือไม่
ขั้นท่ี 2 สอน
1ให้นักเรยี นชว่ ยกนั บอกมารยาทในการอา่ นมาคนละข้อ
2)ครเู ปดิ ยูทูปเร่ืองท่ีเก่ียวข้องกบั การอา่ นและอธิบายเพม่ิ เติม
3)ครูสมุ่ ให้นกั เรียนตอบคำถามเกยี ่ยวกับหลักการอา่ นมาคนละขอ้
ขั้นท่ี 3 สรปุ
1) ครูสรปุ เรือ่ งมารยาทในการอ่าน
ส่ือ/แหล่งเรยี นรู้
สื่อการเรยี นรู้
1.ใบความรู้
2.แบบเรยี นหลักภาษาและการใชภ้ าษาม.2
แหลง่ เรยี นรู้
1.คลาสรมู
สรปุ ผลการจดั การเรยี นรู้
ดา้ นความรู้
กลุ่มผเู้ รียน ช่วงคะแนน จำนวน (คน) คิดเป็นรอ้ ยละ
85.47
ดี 8-10 200 15.53
-
ปานกลาง 6-7 34
ปรับปรุง 0-5 -
ด้านทกั ษะ/กระบวนการ ชว่ งคะแนน จำนวน (คน) คิดเป็นรอ้ ยละ
กลุ่มผ้เู รยี น 8-10 200 85.47
ดี 6-7 34 15.53
ปานกลาง 0-5 - -
ปรบั ปรงุ
ดา้ นคุณลักษะอันพงึ ประสงค์
กลมุ่ ผเู้ รียน ชว่ งระดับคุณภาพ จำนวน (คน) คดิ เป็นรอ้ ยละ
188 80.34
ดี 3 46 19.66
- --
ปานกลาง 2
ปรับปรุง 0-1
บนั ทึกหลงั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้
ดา้ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
นักเรยี นได้รบั ความรเู้ ก่ยี วกบั มารยาทในการอ่าน
ปญั หาทีพ่ บระหวา่ งหรอื หลงั จดั กจิ กรรม
เนอ่ื งจากเป็นช่วงที่การเรยี นการสอนเป็นแบบอนไลน์จึงมีปัญหาเร่อื งสญั ญาณอนเตอรเ์ นต็ อยู่บา้ ง
ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่อื ........................................................ผสู้ อน
(นางสาวมยรุ ี จรัญรกั ษ์)
10 / 11 /2564
การตรวจสอบและความคดิ เหน็ ของหวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
สอดคลอ้ งกับมาตรฐานและตวั ช้ีวดั ของหลักสูตรฯ
กจิ กรรมการเรียนรเู้ นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ
มกี ารวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ มีความหลากหลายเหมาะสมกบั ผู้เรียน
ใช้ส่อื หรือแหล่งเรยี นรู้ทที่ นั สมัยและส่งเสรมิ การเรียนรู้ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
สอดคล้องตามจดุ เน้นของกระทรวงศึกษาธิการ สพฐ. และจดุ เนน้ ของโรงเรียน
ส่งเสรมิ ทกั ษะ 3Rs x 8Cs x 2Ls สง่ เสรมิ เบญจวิถีกาญจนา
ลงชื่อ..............................................................
(นางสาวอรพณิ สันเสน็ )
หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
การตรวจสอบและความคิดเหน็ ของหัวหน้ากลุม่ บรหิ ารวิชาการ
ถกู ต้องตามรูปแบบของโรงเรียน
ผา่ นการนิเทศตรวจสอบจากหวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้/กรรมการนเิ ทศ
ก่อนใชส้ อน หลังใช้สอน
มบี ันทกึ หลงั จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
ลงชอื่ ..............................................................
(นายธนพนั ธ์ เพง็ สวัสดิ์)
หัวหนา้ กลุม่ บรหิ ารวชิ าการ
ความคิดเห็นของรองผอู้ ำนวยการฝ่ายวิชาการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................
ลงชือ่ ....................................................................
(นางสาวชณดิ าภา เวชกลุ )
รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี น กลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ
ความคิดเหน็ ของผ้อู ำนวยการโรงเรยี น
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………….........................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................
ลงชอ่ื ....................................................................
( นางพรทิพย์ นกุ ูลกจิ )
ผู้อำนวยการโรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย สรุ าษฎร์ธานี
มารยาทในการอ่าน
การอา่ นเปน็ การรบั ข้อมลู ข่าวสาร โดยการใช้สายตาอ่านตวั หนงั สือจากแหลง่ ขอ้ มูลต่างๆ
มารยาทในการอา่ น
- มีสมาธิในการอ่าน อา่ นอย่างตั้งใจ
- อ่านในใจ ไม่อ่านเสยี งดงั รบกวนผู้อน่ื
- นง่ั อ่านในท่าทางสบาย ตวั ตรง สุภาพ
- หยิบจับหนงั สอื อย่างเบามือ
- ไมใ่ ช้ดินสอ ปากกา หรอื สีตา่ งๆ ขดี เขยี นสิ่งใดลงในหนังสอื
- ไม่พบั หน้าตา่ งๆ ของหนงั สอื
- ไมค่ วรกางหนงั สอื ควำ่ ลง
- ไม่ฉกี สว่ นใดส่วนหนง่ึ ของหนังสอื
- ไม่เลน่ กันขณะอ่านหนงั สือ
- ไม่แยง่ หนังสือของผู้อ่ืนมาอา่ น
- ไม่ทานขนมหรืออาหารขณะอ่านหนังสือเพราะอาจทำใหห้ นังสอื เปรอะเป้อื นได้
- ไมท่ ำกจิ กรรมอ่ืนๆ ระหว่างอา่ นหนงั สอื เพราะจะทำให้อา่ นหนงั สอื ไดไ้ มเ่ ต็มท่ี เชน่ การฟงั เพลง ดูโทรทศั น์ เปน็ ตน้
- ไมอ่ ่านเอกสารหรือขอ้ ความของผู้อื่นโดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต
- เมอ่ื อ่านหนงั สอื เสรจ็ ควรเกบ็ ไวใ้ ห้เปน็ ทีเ่ ปน็ ทาง
- วางหนังสอื อย่างระมัดระวงั เชน่ วางในทีแ่ หง้ และสะอาด
- อา่ นหนังสือให้ถกู ท่ถี ูกเวลา
มารยาทในการอา่ น
.1. รจู้ ักเลือกอ่านส่ิงทีเ่ ปน็ ประโยชน์ ไมอ่ ่านหนังสอื ท่ผี ิดศลี ธรรม หรอื ปลกู ฝังความคดิ ทน่ี ำเราไปในทางทเ่ี สือ่ มเสยี
2. ไม่อา่ นส่ิงทเ่ี ป็นงานเขยี นสว่ นตัวของผู้อืน่ ก่อนไดร้ บั อนุญาต เชน่ จดหมาย บนั ทึกสว่ นตวั เอกสารข้อมูลความลับ
ตา่ งๆ เป็นต้น
.3. เลอื กอ่านให้ถูกต้องตามกาลเทศะ ไมอ่ า่ นในเวลาท่ไี มค่ วรอ่าน เช่น ขณะเรยี นหนังสือ ฟงั ครสู อน ฟงั การบรรยาย
เป็นตน้
4ใไมร่ ับประทานอาหารระหว่างอ่านหนงั สือ เพราะ จะทำให้หนงั สอื เปรอะเปอ้ื นสกปรกได้
5. การอ่านออกเสยี งโดยไมไ่ ดเ้ ปน็ การอ่านใหผ้ ู้อื่นฟัง ไมค่ วรอ่านเสยี งดงั เพราะจะรบกวนสร้างความรำคาญแก่ผู้อ่นื
.6. ใชห้ นังสือดว้ ยความระมัดระวงั ไม่พบั ฉกี ใหช้ ำรดุ เสยี หาย ถา้ เป็นหนังสือของผู้อ่นื ไมค่ วรขีดเขยี น วาดรูปลงใน
หนงั สอื เพราะหนังสือเป็นแหล่งความรทู้ ส่ี ามารถแบง่ ปันให้ผู้อืน่ ใชอ้ ่านต่อไปได้
ทีม่ า https://thai-
learning.wikispaces.com/%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8
%97%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B9%88%E
0%B8%B2%E0%B8%99
http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/27753-040104