The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนการจัดการเรียนรู้ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

แผนการจัดการเรียนรู้ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

ตวั อยา่ งการเขียนแผนผงั ความคดิ (Mind Map)





แบบประเมนิ ผังมโนทัศน์ คะแนน
เลขท่ี ชื่อ-สกลุ เตม็ 100 คะแนน

1 เน้ือหาสาระครบถว้ น(20 คะแนน)
2 รปู แบบ(20 คะแนน)
3 ความสวยงาม(20 คะแนน)
4 การนำเสนอ(20 คะแนน)
5 ความคิดรเิ รม่ิ สร้างสรรค(์ 20 คะแนน)

รวม

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 5

รายวิชา ภาษาไทย รหัสวชิ า ท 22102 ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 อา่ นออกเสยี งเรยี งภาษา เวลา 10 ช่วั โมง

เรื่อง เขยี นผงั ความคดิ เกยี่ วกบั เศรษฐกจิ พอเพยี ง เวลา 1 ช่วั โมง

ผสู้ อน นางสาวมยุรี จรัญรักษ์ โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สรุ าษฎร์ธานี

สาระสำคัญ
Mind Map คือ การถ่ายทอดความคิด หรอื ข้อมลู ตา่ ง ๆ ทม่ี อี ยใู่ นสมองลงกระดาษ โดยการใชภ้ าพ สี เส้น
และการโยงใย แทนการจดย่อแบบเดมิ ท่ีเป็นบรรทัด ๆ เรียงจากบนลงลา่ ง ขณะเดียวกันมันกช็ ่วยเป็นส่ือนำ
ข้อมูลจากภายนอก เช่น หนงั สือ คำบรรยาย การประชุม ส่งเข้าสมองให้เกบ็ รกั ษาไวไ้ ดด้ ีกวา่ เดิม ซ้ำยังช่วยให้
เกดิ ความคิดสรา้ งสรรค์ได้ง่ายเขา้ เนื่องจะเหน็ เปน็ ภาพรวม และเปิดโอกาสใหส้ มองให้เชื่อมโยงตอ่ ขอ้ มลู หรือ
ความคดิ ตา่ ง ๆ เข้าหากนั ได้งา่ ยกว่า

มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้วี ัด
มาตรฐานการเรยี นรู้ ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความรแู้ ละความคิดเพ่อื นำไปใช้ตัดสนิ ใจแกป้ ัญหาในการ

ดำเนนิ ชีวติ และมีนสิ ัยรกั การอา่ น

ตวั ชีว้ ัด เขยี นผังความคิดเพื่อแสดงความเข้าใจในบทเรียนตา่ งๆทีอ่ ่านได้

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เขยี นผงั ความคดิ จากการอ่านเร่อื งเศรษฐกจิ พอเพยี งได้

สาระการเรยี นรู้

ด้านความรู้ .

-การจัดทำผงั มโนทัศน์

ด้านทักษะ/กระบวนการ

จัดทำผงั มโนทัศน์

ด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงค์

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  5. อยู่อย่างพอเพียง

 2. ซือ่ สตั ยส์ ุจรติ  6. ม่งุ ม่นั ในการทำงาน

 3. มวี นิ ัย  7. รกั ความเปน็ ไทย

4. ใฝเ่ รียนรู้  8. มีจติ สาธารณะ

เบญจวิถกี าญจนา
 1. เทดิ ทนู สถาบัน
 2. กตัญญู
 3. บุคลิกดี
 4. มีวินัย
 5. ใหเ้ กียรติ

สมรรถนะทีส่ ำคัญของผูเ้ รยี น
 1. ความสามารถในการส่อื สาร
 2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

จดุ เนน้ สู่การพฒั นาผเู้ รียน
ความสามารถและทกั ษะที่จำเป็นในการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
 R1– Reading (อ่านออก)  R2– (W)Riting (เขยี นได้)  R3 – (A)Rithmetics (คิดเลขเป็น)
 C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะด้านการคดิ อย่างมีวิจารณญาณและทักษะใน

การแก้ปญั หา)
C2 - Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม)
 C3 - Cross-cultural Understanding (ทกั ษะด้านความเข้าใจต่างวฒั นธรรมต่างกระบวนทศั น์)
 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะดา้ นความรว่ มมือ การทำงานเปน็ ทีมและ

ภาวะผนู้ ำ)
 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศและ

รู้เทา่ ทนั ส่อื )
 C6 - Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

สื่อสาร)
 C7 - Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนร้)ู
 C8 – Compassion (ความมีเมตตากรณุ า วินยั คุณธรรม จริยธรรม)
L1 – Learning (ทักษะการเรียนร)ู้
 L2 – Leadership (ทกั ษะความเป็นผนู้ ำ)

การวดั และประเมินผล
ด้านความรู้

ภาระงาน/ วิธีการวดั เคร่อื งมอื เกณฑ์ที่ใช้
ชนิ้ งาน

ศึกษา จัดทำผังมโนทศั น์ แบบประเมิน ระดบั 4 ดีเยี่ยม 8-10 คะแนน
หลักการ = ทำได้ทุกตวั ชี้วดั
จัดทำผัง ระดบั 3 ดี 7 คะแนน
มโนทศั น์ = ทำไดม้ าก
เรื่อง ระดบั 2 พอใช้ 6 คะแนน
เศรษฐกจิ = ทำได้น้อย
พอเพยี ง ระดับ 1 ต้องปรับปรงุ
1-5 คะแนน

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ วิธีการวดั เคร่ืองมอื เกณฑ์ทีใ่ ช้
ช้ินงาน

ศึกษา จัดทำผงั มโนทศั น์ แบบประเมิน ระดบั 4 ดีเยี่ยม 8-10 คะแนน
หลักการจบั = ทำได้ทุกตัวชี้วัด
จัดทำผังมโน ระดบั 3 ดี 7 คะแนน
ทัศน์ = ทำไดม้ าก
ระดบั 2 พอใช้ 6 คะแนน
= ทำไดน้ อ้ ย
ระดบั 1 ตอ้ งปรับปรงุ
1-5 คะแนน

ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

ภาระงาน/ วิธีการวัด เคร่ืองมอื เกณฑ์ทใี่ ช้
ชิ้นงาน

มุ่งมน่ั ในการ สังเกตจากพฤติกรรมการทำงาน สงั เกต ระดบั 3 ดี 8-10 คะแนน
ทำงาน = ทำได้ดี
ระดับ 3 ดี 6-7 คะแนน
= ทำได้พอใช้
ระดบั 1 ทำได้ 1-5 คะแนน
= ต้องปรบั ปรงุ

กจิ กรรมการเรียนรู้
1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรยี น

1. ให้นักเรียนดูคลิปวีดโี อเรือ่ งเศรษฐกจิ พอเพยี งช่วงหนง่ึ แลว้ สอบถามวา่ คอื เรอ่ื งอะไร
2. ขนั้ สอน

1. ให้นกั เรียนดคู ลิปวีดโี อเร่อื งเศรษฐกจิ พอเพียงต่อและสอบถามนกั เรยี นวา่ หวั ข้อหลักหัวขอ้ รองและหัวข้อยอ่ ย
ในเรอ่ื งนีน้ ่าจะเปน็ อะไร

2. ครแู จ้งเกณฑ์ในการให้คะแนนใหน้ กั เรยี นทราบถงึ หลกั เกณฑใ์ นการประเมนิ ผังมโนทัศน์
3. ให้นักเรียนสบื คน้ รปู แบบทส่ี วยงามได้จากอนิ เตอร์เน็ตและใบความรใู้ นคลาสรูม
4. ใหน้ กั เรียนแบ่งกกลุ่มจดั ทำผงั มโนทัศน์เรอ่ื งเศรษฐกจิ พอเพียงลงในกระดาษโฟชารท์
5. ให้แต่ละกลมุ่ ส่งตัวแทนรายงาน
6. ให้ทำลงในกระดาษเอ 3 หรือแอปสง่ ในคลาส
ขน้ั สรปุ
1. ครูและนกั เรียนชว่ ยกันสรุปผังมโนทัศนใ์ นเรื่องเศรษฐกจิ พอเพียง
สื่อ/แหล่งเรียนรู้

ส่ือการเรียนรู้
1) ยทู ปู เรอ่ื งเศรษฐกจิ พอเพียง

แหล่งเรยี นรู้
1) classroom
2) อินเตอร์เนต็

สรุปผลการจดั การเรียนรู้

ด้านความรู้ ช่วงคะแนน จำนวน (คน) คดิ เป็นรอ้ ยละ
กลุ่มผู้เรียน 8-10 204 87.18
ดี 6-7 30 12.8
ปานกลาง 0-5 - -
ปรบั ปรงุ

ด้านทกั ษะ/กระบวนการ ช่วงคะแนน จำนวน (คน) คิดเป็นรอ้ ยละ
กลมุ่ ผ้เู รยี น 8-10 204 87.18
ดี 6-7 30 12.8
ปานกลาง 0-5 - -
ปรับปรุง

ดา้ นคณุ ลักษะอันพงึ ประสงค์

กลุม่ ผู้เรียน ช่วงระดบั คุณภาพ จำนวน (คน) คิดเปน็ ร้อยละ
200 85.47
ดี 3 34 14.53
- -
ปานกลาง 2

ปรบั ปรุง 0-1

บันทกึ หลังการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
ดา้ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
นกั เรียนสามารถจดั ทำผังมโนทัศน์ได้สวยงาม
ปญั หาทพ่ี บระหว่างหรือหลงั จัดกจิ กรรม
ขอ้ เสนอแนะ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื ........................................................ผ้สู อน
(นางสาวมยรุ ี จรญั รกั ษ์)
//

การตรวจสอบและความคดิ เห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้
 สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชว้ี ัดของหลกั สูตรฯ
 กจิ กรรมการเรยี นร้เู นน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคัญ
 มกี ารวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ มคี วามหลากหลายเหมาะสมกับผู้เรยี น
 ใช้สอ่ื หรือแหลง่ เรยี นรทู้ ่ีทนั สมยั และสง่ เสรมิ การเรยี นร้ไู ดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ
 สอดคลอ้ งตามจดุ เนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สพฐ. และจุดเนน้ ของโรงเรียน
 สง่ เสริมทกั ษะ 3Rs x 8Cs x 2Ls  สง่ เสรมิ เบญจวิถีกาญจนา

ลงชื่อ..............................................................
(นางสาวอรพิณ สนั เส็น)

หัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

การตรวจสอบและความคิดเหน็ ของหวั หน้ากล่มุ บริหารวิชาการ

 ถกู ต้องตามรปู แบบของโรงเรยี น

 ผ่านการนเิ ทศตรวจสอบจากหวั หนา้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้/กรรมการนิเทศ

 ก่อนใช้สอน  หลงั ใช้สอน

 มบี ันทกึ หลงั จัดกิจกรรมการเรียนรู้

ลงช่ือ..............................................................
(นายธนพันธ์ เพ็งสวสั ด์ิ)

หวั หน้ากลมุ่ บริหารวิชาการ

ความคิดเห็นของรองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................

ลงช่ือ....................................................................
(นางสาวชณดิ าภา เวชกลุ )

รองผู้อำนวยการโรงเรียน กลุ่มบริหารงานวชิ าการ

ความคดิ เห็นของผ้อู ำนวยการโรงเรยี น
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………….........................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................

ลงช่อื ....................................................................
( นางพรทิพย์ นกุ ูลกจิ )

ผู้อำนวยการโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลยั สรุ าษฎรธ์ านี

ใบความรู้
เร่อื ง การเขยี นแผนผงั ความคิด หรือแผนทีค่ วามคิด (Mind Map)
Mind Map คอื การถ่ายทอดความคิด หรือข้อมูลต่าง ๆ ทีม่ อี ยใู่ นสมองลงกระดาษ โดยการใช้ภาพ สี
เส้น และการโยงใย แทนการจดยอ่ แบบเดมิ ทีเ่ ปน็ บรรทดั ๆ เรียงจากบนลงล่าง ขณะเดยี วกันมนั ก็ชว่ ยเป็นส่ือนำขอ้ มูล
จากภายนอก เชน่ หนงั สอื คำบรรยาย การประชุม สง่ เขา้ สมองใหเ้ กบ็ รกั ษาไวไ้ ด้ดีกวา่ เดมิ ซ้ำยังช่วยใหเ้ กิดความคิด
สร้างสรรค์ได้งา่ ยเข้า เน่อื งจะเหน็ เป็นภาพรวม และเปิดโอกาสให้สมองให้เชอื่ มโยงตอ่ ข้อมลู หรอื ความคดิ ต่าง ๆ เข้า
หากันได้งา่ ยกว่า “ใช้แสดงการเชื่อมโยงขอ้ มูลเก่ยี วกับเร่อื งใดเรื่องหนึ่งระหว่างความคดิ หลกั ความคิด รอง และ
ความคิดยอ่ ยทีเ่ กี่ยวขอ้ งสมั พนั ธ์กัน” ผงั ความคิด (Mind Map)ลกั ษณะการเขยี นผังความคดิ เทคนิคการคิดคือ นำ
ประเด็นใหญ่ ๆ มาเป็นหลกั แลว้ ต่อด้วยประเด็นรองในชัน้ ถดั ไป

การสร้างแผนทค่ี วามคิด
ขน้ั ตอนการสร้าง Mind Map
๑. เขยี น/วาดมโนทศั น์หลักตรงกึง่ กลางหนา้ กระดาษ
๒. เขยี น/วาดมโนทศั น์รองทีส่ มั พันธก์ ับมโนทัศนห์ ลกั ไปรอบ ๆ
๓. เขียน/วาดมโนทศั นย์ อ่ ยท่ีสัมพนั ธ์กบั มโนทัศน์รองแตกออกไปเรอื่ ย ๆ
๔. ใชภ้ าพหรือสัญลักษณส์ อ่ื ความหมายเปน็ ตวั แทนความคิดใหม้ ากท่สี ุด
๕. เขียนคำสำคัญ (Key word) บนเส้นและเสน้ ต้องเชอ่ื มโยงกัน
๖. กรณีใช้สี ท้ังมโนทัศน์รองและยอ่ ยควรเปน็ สเี ดียวกัน
๗. คิดอย่างอสิ ระมากท่ีสุดขณะทำ

เขยี นคำหลัก หรอื ข้อความสำคัญของเร่ืองไวก้ ลาง โยงไปยังประเด็นรองรอบ ๆ ตามแต่ว่าจะมกี ่ีประเดน็
กฏการสรา้ ง Mind Map

๑. เร่ิมดว้ ยภาพสีตรงกึง่ กลางหนา้ กระดาษ
๒. ใช้ภาพให้มากท่ีสดุ ใน Mind Map ของคณุ ตรงไหนท่ใี ชภ้ าพไดใ้ ห้ใช้ก่อนคำ หรอื รหัส เปน็ การช่วยการ

ทำงานของสมอง ดงึ ดดู สายตา และชว่ ยความจำ
๓. ควรเขียนคำบรรจงตวั ใหญๆ่ ถา้ เปน็ ภาษาองั กฤษใหใ้ ช้ตัวพิมพ์ใหญ่ จะช่วยให้เราสามารถ

ประหยดั เวลาได้ เมื่อย้อนกลับไปอา่ นอีกคร้ัง
๔. เขียนคำเหนอื เสน้ ใต้ แต่ละเส้นตอ้ งเชอ่ื มต่อกับเสน้ อื่นๆ เพือ่ ให้ Mind Map มีโครงสร้างพนื้ ฐานรองรบั
๕. คำควรมีลักษณะเป็น "หนว่ ย" เปดิ ทางให้ Mind Map คล่องตัวและยดื หยุ่นไดม้ ากขน้ึ
๖. ใช้สที ่วั Mind Map เพราะสีชว่ ยยกระดับความคิด เพลินตา กระตุ้นสมองซกี ขวา
๗. เพือ่ ใหเ้ กิดความคิดสร้างสรรค์ใหม่ ควรปลอ่ ยให้สมองคิดมีอิสระมากที่สดุ เท่าที่จะเป็นไปได้

วิธีการเขยี น
Mind Map โดยละเอียดอีกวธิ ีหนง่ึ
๑. เตรียมกระดาษเปล่าทีไ่ ม่มีเส้นบรรทดั และวางกระดาษภาพแนวนอน
๒. วาดภาพสีหรอื เขยี นคำหรือข้อความทีส่ ือ่ หรือแสดงถึงเรอ่ื งจะทำ Mind Map กลาง หน้ากระดาษ โดยใช้

สอี ย่างนอ้ ย 3 สี และตอ้ งไมต่ ีกรอบดว้ ยรปู ทรงเรขาคณติ
๓. คิดถึงหัวเร่ืองสำคญั ทีเ่ ปน็ ส่วนประกอบของเรือ่ งทที่ ำ Mind Map โดยให้เขียนเปน็ คำทมี่ ีลกั ษณะเป็น

หนว่ ย หรือเป็นคำสำคญั (Key Word) สน้ั ๆ ทีม่ ีความหมาย บนเสน้ ซึง่ เส้นแต่ละเสน้ จะต้องแตกออกมา

จากศนู ย์กลางไมค่ วรเกิน 8 กิ่ง
๔. แตกความคดิ ของหัวเรือ่ งสำคัญแตล่ ะเรอ่ื งในข้อ 3 ออกเป็นกิ่ง ๆ หลายก่ิง โดยเขียนคำหรือ วลบี นเส้นท่ี

แตกออกไป ลักษณะของก่ิงควรเอนไม่เกนิ 60 องศา
๕. แตกความคดิ รองลงไปท่เี ปน็ ส่วนประกอบของแต่ละก่งิ ในขอ้ 4 โดยเขยี นคำหรอื วลีเส้นที่แตกออกไป

ซง่ึ สามารถแตกความคิดออกไปเรือ่ ย ๆ
๖. การเขียนคำ ควรเขียนดว้ ยคำท่เี ปน็ คำสำคญั (Key Word) หรอื คำหลกั หรอื เป็นวลีท่ีมี ความหมายชดั เจน
๗. คำ วลี สญั ลกั ษณ์ หรือรูปภาพใดที่ตอ้ งการเนน้ อาจใชว้ ิธีการทำใหเ้ ด่น เชน่ การลอ้ มกรอบ หรือใส่

กล่อง เปน็ ต้น
๘. ตกแต่ง Mind Map ท่เี ขียนดว้ ยความสนุกสนานทั้งภาพและแนวคดิ ท่ีเชือ่ มโยงต่อกนั

การนำไปใช้
๑. ใช้ระดมพลงั สมอง
๒. ใชน้ ำเสนอขอ้ มลู
๓. ใช้จดั ระบบความคดิ และช่วยความจำ
๔. ใช้วเิ คราะหเ์ นอ้ื หาหรืองานต่าง ๆ
๕. ใช้สรปุ หรอื สรา้ งองคค์ วามรู้

ตวั อยา่ งการเขียนแผนผงั ความคดิ (Mind Map)





แบบประเมนิ ผังมโนทัศน์ คะแนน
เลขท่ี ชื่อ-สกลุ เตม็ 100 คะแนน

1 เน้ือหาสาระครบถว้ น(20 คะแนน)
2 รปู แบบ(20 คะแนน)
3 ความสวยงาม(20 คะแนน)
4 การนำเสนอ(20 คะแนน)
5 ความคิดรเิ รม่ิ สร้างสรรค(์ 20 คะแนน)

รวม

จดุ เร่ิมตน้ แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง

ผลจากการใชแ้ นวทางการพัฒนาประเทศไปสคู่ วามทันสมัย ได้ก่อใหเ้ กิดการเปลยี่ นแปลงแก่สงั คมไทยอยา่ งมากในทุก
ด้าน ไมว่ า่ จะเปน็ ดา้ นเศรษฐกิจ การเมอื ง วัฒนธรรม สังคมและสง่ิ แวดลอ้ ม อกี ท้งั กระบวนการของความเปลีย่ นแปลง
มคี วามสลับซับซ้อนจนยากทีจ่ ะอธิบายใน เชิงสาเหตแุ ละผลลพั ธ์ได้ เพราะการเปลย่ี นแปลงทง้ั หมดต่างเป็นปัจจยั
เช่อื มโยงซึ่งกันและกนั

สำหรับผลของการพฒั นาในด้านบวกนั้น ได้แก่ การเพม่ิ ข้ึนของอัตราการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจ ความเจรญิ ทาง
วัตถุ และสาธารณปู โภคตา่ งๆ ระบบสือ่ สารทีท่ นั สมัย หรือการขยายปรมิ าณและกระจายการศึกษาอย่างท่ัวถึงมากข้ึน
แตผ่ ลด้านบวกเหล่าน้สี ว่ นใหญก่ ระจายไปถงึ คนในชนบท หรอื ผดู้ อ้ ยโอกาสในสงั คมน้อย แตว่ า่ กระบวนการ
เปลย่ี นแปลงของสังคมไดเ้ กดิ ผลลบติดตามมาด้วย เชน่ การขยายตัวของรัฐเขา้ ไปในชนบท ไดส้ ่งผลให้ชนบทเกิดความ
ออ่ นแอในหลายดา้ น ทง้ั การต้องพงึ่ พิงตลาดและพ่อคา้ คนกลางในการส่ังสนิ ค้าทนุ ความเสอ่ื มโทรมของ
ทรัพยากรธรรมชาติ ระบบความสัมพันธแ์ บบเครือญาติ และการรวมกลุ่มกนั ตามประเพณเี พอ่ื การจัดการทรพั ยากรที่
เคยมีอยู่แต่เดมิ แตก สลายลง ภูมคิ วามร้ทู ่ีเคยใช้แก้ปัญหาและสง่ั สมปรับเปลีย่ นกันมาถกู ลมื เลือนและเริ่ม สญู หายไป

สิ่งสำคัญ กค็ อื ความพอเพียงในการดำรงชีวิต ซ่งึ เป็นเง่ือนไขพนื้ ฐานท่ีทำให้คนไทยสามารถพง่ึ ตนเอง และดำเนนิ ชีวิต
ไปไดอ้ ยา่ งมีศักดศิ์ รภี ายใตอ้ ำนาจและความมอี ิสระในการกำหนด ชะตาชวี ติ ของตนเอง ความสามารถในการควบคมุ
และจดั การเพอื่ ให้ตนเองไดร้ บั การสนองตอบตอ่ ความต้อง การตา่ งๆ รวมทง้ั ความสามารถในการจดั การปญั หาตา่ งๆ
ได้ดว้ ยตนเอง ซ่ึงทงั้ หมดนีถ้ อื ว่าเป็นศักยภาพพนื้ ฐานทีค่ นไทยและสังคมไทยเคยมอี ยู่แต่ เดมิ ตอ้ งถูกกระทบกระเทอื น
ซึ่งวกิ ฤตเศรษฐกิจจากปัญหาฟองสบแู่ ละปัญหาความออ่ นแอของชนบท รวมทั้งปัญหาอ่นื ๆ ทเ่ี กดิ ขึ้น ลว้ นแต่เป็นขอ้
พสิ จู น์และยืนยันปรากฎการณ์นีไ้ ด้เป็นอยา่ งดี

พระราชดำริว่าดว้ ยเศรษฐกจิ พอเพยี ง

“...การพัฒนาประเทศจำเปน็ ต้องทำตามลำดบั ข้ัน ต้องสร้างพ้นื ฐานคอื ความพอมี พอกนิ พอใชข้ องประชาชนสว่ น
ใหญ่เบ้อื งต้นกอ่ น โดยใชว้ ิธีการและอุปกรณ์ทป่ี ระหยดั แตถ่ กู ต้องตามหลักวิชาการ เมือ่ ได้พื้นฐานความมน่ั คงพรอ้ ม
พอสมควร และปฏบิ ตั ไิ ด้แลว้ จึงคอ่ ยสร้างคอ่ ยเสรมิ ความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกิจขัน้ ที่สงู ข้นึ โดยลำดับตอ่ ไป...”
(๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗)

“เศรษฐกิจพอเพยี ง” เป็นแนวพระราชดำรใิ นพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ทพ่ี ระราชทานมานานกวา่ ๓๐ ปี เป็น
แนวคดิ ท่ีตั้งอยบู่ นรากฐานของวัฒนธรรมไทย เป็นแนวทางการพฒั นาทตี่ ง้ั บนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่

ประมาท คำนงึ ถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคมุ้ กันในตวั เอง ตลอดจนใช้ความรู้และคุณธรรม เปน็
พน้ื ฐานในการดำรงชีวติ ทสี่ ำคัญจะต้องมี “สติ ปัญญา และความเพยี ร” ซึง่ จะนำไปสู่ “ความสุข” ในการดำเนิน
ชีวิตอยา่ งแทจ้ ริง

“...คนอนื่ จะว่าอยา่ งไรกช็ ่างเขา จะว่าเมืองไทยลา้ สมยั ว่าเมอื งไทยเชย ว่าเมอื งไทยไมม่ สี ิ่งทสี่ มยั ใหม่ แต่เราอยู่
พอมพี อกนิ และขอใหท้ ุกคนมคี วามปรารถนาที่จะให้เมืองไทย พออย่พู อกนิ มีความสงบ และทำงานต้ังจิตอธษิ ฐานตง้ั
ปณิธาน ในทางนท้ี ีจ่ ะให้เมอื งไทยอยู่แบบพออยู่พอกิน ไมใ่ ชว่ ่าจะรุง่ เรอื งอยา่ งยอด แต่วา่ มคี วามพออย่พู อกนิ มีความ
สงบ เปรยี บเทยี บกับประเทศอื่นๆ ถ้าเรารกั ษาความพออยูพ่ อกนิ นไี้ ด้ เรากจ็ ะยอดยง่ิ ยวดได.้ ..” (๔ ธันวาคม ๒๕๑๗)
พระบรมราโชวาทน้ี ทรงเหน็ วา่ แนวทางการพัฒนาท่ีเน้นการขยายตวั ทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหลักแต่ เพียง
อย่างเดยี วอาจจะเกดิ ปัญหาได้ จึงทรงเน้นการมีพอกินพอใช้ของประชาชนสว่ นใหญ่ในเบอ้ื งตน้ ก่อน เมื่อมีพ้นื ฐาน
ความม่นั คงพร้อมพอสมควรแลว้ จงึ สรา้ งความเจริญและฐานะทางเศรษฐกจิ ให้สูงข้ึน

ซึ่งหมายถงึ แทนทจี่ ะเน้นการขยายตัวของภาคอตุ สาหกรรมนำการพัฒนาประเทศ ควรทจี่ ะสรา้ งความมน่ั คงทาง
เศรษฐกิจพนื้ ฐานกอ่ น นัน่ คือ ทำให้ประชาชนในชนบทส่วนใหญพ่ อมีพอกนิ กอ่ น เปน็ แนวทางการพฒั นาที่เนน้ การ
กระจายรายได้ เพ่อื สร้างพืน้ ฐานและความมน่ั งคงทางเศรษฐกจิ โดยรวมของประเทศ กอ่ นเน้นการพฒั นาในระดบั สูง
ขนึ้ ไป

ทรงเตอื นเรอ่ื งพออยพู่ อกนิ ต้งั แต่ปี ๒๕๑๗ คอื เมอ่ื ๓๐ กว่าปีท่แี ล้ว
แตท่ ศิ ทางการพฒั นามิได้เปลยี่ นแปลง
“...เมอ่ื ปี ๒๕๑๗ วันนัน้ ได้พูดถงึ ว่า เราควรปฏบิ ัติให้พอมีพอกิน พอมีพอกนิ น้กี แ็ ปลวา่ เศรษฐกจิ พอเพียงนนั่ เอง ถา้
แตล่ ะคนมีพอมีพอกิน ก็ใช้ได้ ยิ่งถา้ ทั้งประเทศพอมีพอกินกย็ ิ่งดี และประเทศไทยเวลานัน้ ก็เรม่ิ จะเป็นไม่พอมีพอกิน
บางคนก็มมี าก บางคนกไ็ ม่มีเลย...” (๔ ธันวาคม ๒๕๔๑)

เศรษฐกิจพอเพยี ง
“เศรษฐกจิ พอเพยี ง” เปน็ ปรชั ญาท่ีพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัวพระราชทานพระราชดำรชิ ้แี นะแนวทาง การดำเนนิ
ชวี ติ แก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ต้งั แต่ก่อนเกดิ วกิ ฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลงั ได้
ทรงเน้นย้ำแนวทางการแกไ้ ขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยัง่ ยืนภายใตก้ ระแสโลกาภวิ ตั น์
และความ เปลย่ี นแปลงต่างๆ

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เปน็ ปรัชญาช้ีถงึ แนวการดำรงอยแู่ ละปฏบิ ัติตนของประชาชนในทกุ ระดับ ตั้งแต่ระดบั ครอบครวั
ระดบั ชมุ ชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพฒั นาและบรหิ ารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนา
เศรษฐกิจ เพ่อื ใหก้ ้าวทนั ต่อโลกยุคโลกาภวิ ัตน์ ความพอเพยี ง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถงึ ความ
จำเปน็ ที่จะตอ้ งมีระบบภมู ิคุ้มกนั ในตัวทีด่ พี อสมควร ตอ่ การกระทบใดๆ อันเกดิ จากการเปลีย่ นแปลงท้ังภายใน
ภายนอก ทัง้ น้ี จะตอ้ งอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมดั ระวงั อย่างยง่ิ ในการนำวิชาการตา่ งๆ มาใช้ใน
การวางแผนและการดำเนินการ ทุกข้ันตอน และขณะเดียวกัน จะตอ้ งเสรมิ สร้างพ้ืนฐานจติ ใจของคนในชาติ

โดยเฉพาะเจ้าหน้าทข่ี องรฐั นักทฤษฎี และนกั ธรุ กจิ ในทกุ ระดบั ใหม้ ีสำนกึ ในคณุ ธรรม ความซื่อสตั ย์สจุ รติ และให้มี
ความรอบร้ทู ่ีเหมาะสม ดำเนนิ ชวี ติ ด้วยความอดทน ความเพยี ร มสี ติ ปญั ญา และความรอบคอบ เพอ่ื ให้สมดลุ และ
พร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็วและกวา้ งขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สงิ่ แวดล้อม และวัฒนธรรมจาก
โลกภายนอกไดเ้ ป็นอยา่ งดี

ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จงึ ประกอบด้วยคุณสมบัติ ดงั น้ี
๑. ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดีทไี่ ม่นอ้ ยเกินไปและไมม่ ากเกนิ ไป โดยไมเ่ บียดเบียนตนเองและผู้อ่ืน เช่น
การผลติ และการบรโิ ภคทีอ่ ย่ใู นระดับพอประมาณ
๒. ความมเี หตุผล หมายถงึ การตัดสนิ ใจเกย่ี วกบั ระดับความพอเพียงน้ัน จะตอ้ งเปน็ ไปอย่างมเี หตุผล โดยพิจารณา
จากเหตุปัจจัยทเี่ กย่ี วข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนจากการกระทำนน้ั ๆ อยา่ งรอบคอบ
๓. ภูมิคมุ้ กัน หมายถึง การเตรยี มตวั ให้พรอ้ มรบั ผลกระทบและการเปล่ยี นแปลงดา้ นต่างๆ ท่ีจะเกดิ ข้ึน โดยคำนงึ ถงึ
ความเปน็ ไปไดข้ องสถานการณต์ ่างๆ ท่ีคาดว่าจะเกดิ ขึ้นในอนาคต

โดยมี เง่อื นไข ของการตัดสินใจและดำเนินกิจกรรมต่างๆ ใหอ้ ยูใ่ นระดับพอเพยี ง ๒ ประการ ดังน้ี
๑. เงอื่ นไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรเู้ ก่ยี วกับวชิ าการตา่ งๆ ทีเ่ กยี่ วขอ้ งรอบดา้ น ความรอบคอบทีจ่ ะนำความรู้
เหลา่ นัน้ มาพจิ ารณาให้เชอ่ื มโยงกนั เพอื่ ประกอบการวางแผนและความระมดั ระวงั ในการปฏบิ ัติ
๒. เงอ่ื นไขคุณธรรม ทจี่ ะตอ้ งเสริมสรา้ ง ประกอบด้วย มีความตระหนักใน คณุ ธรรม มคี วามซอ่ื สัตย์สุจรติ และมีความ
อดทน มคี วามเพียร ใช้สติปญั ญาในการดำเนนิ ชีวิต

พระราชดำรสั ท่ีเกีย่ วกับเศรษฐกจิ พอเพยี ง
“...เศรษฐศาสตร์เป็นวชิ าของเศรษฐกิจ การทีต่ อ้ งใช้รถไถต้องไปซ้ือ เราต้องใช้ต้องหาเงินมาสำหรับซ้ือน้ำมันสำหรบั
รถไถ เวลารถไถเกา่ เราตอ้ งยิง่ ซ่อมแซม แตเ่ วลาใช้นน้ั เรากต็ ้องปอ้ นน้ำมนั ใหเ้ ปน็ อาหาร เสร็จแล้วมันคายควนั ควันเรา
สูดเข้าไปแลว้ ก็ปวดหัว ส่วนควายเวลาเราใช้เราก็ต้องป้อนอาหาร ตอ้ งใหห้ ญ้าให้อาหารมันกิน แต่ว่ามันคายออกมา ท่ี
มันคายออกมากเ็ ป็นปยุ๋ แลว้ ก็ใชไ้ ดส้ ำหรับให้ท่ีดินของเราไม่เสีย...”
พระราชดำรัส เนอื่ งในพระราชพธิ ีพืชมงคลจรดพระนงั คลั แรกนาขวญั
ณ ศาลาดุสดิ าลัย วนั ท่ี ๙ พฤษภาคม ๒๕๒๙

“...เราไมเ่ ปน็ ประเทศรำ่ รวย เรามีพอสมควร พออยไู่ ด้ แต่ไมเ่ ปน็ ประเทศท่ีก้าวหน้าอย่างมาก เราไมอ่ ยากจะเป็น
ประเทศก้าวหนา้ อย่างมาก เพราะถา้ เราเปน็ ประเทศก้าวหนา้ อยา่ งมากกจ็ ะมแี ตถ่ อยกลับ ประเทศเหล่านัน้ ทีเ่ ปน็
ประเทศอตุ สาหกรรมกา้ วหนา้ จะมีแตถ่ อยหลังและถอยหลังอยา่ งนา่ กลัว แตถ่ ้าเรามกี ารบรหิ ารแบบเรยี กว่าแบบคน
จน แบบทีไ่ มต่ ิดกับตำรามากเกินไป ทำอย่างมีสามัคคีน่แี หละคอื เมตตากัน จะอยู่ได้ตลอดไป...”
พระราชดำรัส เนื่องในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสดิ าลยั วันท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๓๔

“...ตามปกติคนเราชอบดสู ถานการณ์ในทางดี ท่ีเขาเรยี กว่าเลง็ ผลเลิศ ก็เหน็ ว่าประเทศไทย เราน่ีกา้ วหนา้ ดี การเงิน
การอุตสาหกรรมการค้าดี มีกำไร อีกทางหน่งึ กต็ ้องบอกว่าเรากำลงั เสอ่ื มลงไปสว่ นใหญ่ ทฤษฎีว่า ถ้ามเี งนิ เทา่ นน้ั ๆ มี

การก้เู ท่าน้นั ๆ หมายความว่าเศรษฐกิจก้าวหน้า แลว้ ก็ประเทศกเ็ จรญิ มีหวังวา่ จะเปน็ มหาอำนาจ ขอโทษเลยต้องเตอื น
เขาว่า จริงตวั เลขดี แต่ว่าถา้ เราไมร่ ะมัดระวงั ในความต้องการพนื้ ฐานของประชาชนนน้ั ไม่มีทาง...”
พระราชดำรสั เนอื่ งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา

ณ ศาลาดุสดิ าลยั วันท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๓๖

“...เดย๋ี วน้ปี ระเทศไทยกย็ งั อยดู่ ีพอสมควร ใช้คำวา่ พอสมควร เพราะเดีย๋ วมีคนเห็นว่ามีคนจน คนเดือดร้อน จำนวน
มากพอสมควร แต่ใชค้ ำว่า พอสมควรน้ี หมายความวา่ ตามอัตตภาพ...”
พระราชดำรสั เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสดิ าลัย วันท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๓๙

“...ทเ่ี ปน็ ห่วงนน้ั เพราะแม้ในเวลา ๒ ปี ทีเ่ ปน็ ปีกาญจนาภเิ ษกก็ไดเ้ หน็ ส่ิงที่ทำให้เห็นไดว้ ่า ประชาชนยังมีความ
เดอื ดรอ้ นมาก และมีสิ่งที่ควรจะแก้ไขและดำเนนิ การตอ่ ไปทกุ ดา้ น มภี ัยจากธรรมชาติกระหน่ำ ภยั ธรรมชาตนิ ้เี ราคง
สามารถท่ีจะบรรเทาไดห้ รอื แกไ้ ขได้ เพยี งแตว่ า่ ต้องใชเ้ วลาพอใช้ มภี ัยท่มี าจากจิตใจของคน ซึ่งกแ็ ก้ไขได้เหมอื นกนั
แตว่ า่ ยากกวา่ ภัยธรรมชาติ ธรรมชาตนิ ัน้ เปน็ สงิ่ นอกกายเรา แต่นสิ ัยใจคอของคนเป็นสง่ิ ท่ีอยู่ข้างใน อนั น้ีกเ็ ปน็ ขอ้ หน่ึง
ท่ีอยากให้จัดการให้มีความเรยี บร้อย แต่ก็ไมห่ มดหวัง...”
พระราชดำรัส เนื่องในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสิดาลัย วนั ที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๙

“...การจะเปน็ เสือนัน้ ไมส่ ำคญั สำคญั อยทู่ เ่ี รามีเศรษฐกจิ แบบพอมีพอกิน แบบพอมพี อกนิ น้ัน หมายความว่า อุม้ ชู
ตัวเองได้ ใหม้ พี อเพยี งกับตนเอง ความพอเพยี งนไ้ี ม่ได้หมายความวา่ ทุกครอบครวั จะต้องผลติ อาหารของตัวเอง จะต้อง
ทอผ้าใสเ่ อง อย่างนัน้ มันเกนิ ไป แต่วา่ ในหมบู่ ้านหรอื ในอำเภอ จะต้องมคี วามพอเพยี งพอสมควร บางสิ่งบางอยา่ งผลติ
ได้มากกว่าความต้องการก็ขายได้ แต่ขายในทีไ่ ม่ห่างไกลเทา่ ไร ไม่ต้องเสยี คา่ ขนสง่ มากนกั ...”
พระราชดำรัส เน่อื งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสิดาลัย วันท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๙.

“...เมอ่ื ปี ๒๕๑๗ วนั นน้ั ไดพ้ ูดถึงว่า เราควรปฏบิ ัติใหพ้ อมีพอกนิ พอมพี อกินนีก้ ็แปลวา่ เศรษฐกิจพอเพียงน่ันเอง ถา้
แตล่ ะคนมีพอมพี อกิน ก็ใชไ้ ด้ ยงิ่ ถ้าทง้ั ประเทศพอมพี อกนิ กย็ ิ่งดี และประเทศไทยเวลาน้ันก็เร่มิ จะเป็นไม่พอมพี อกิน
บางคนกม็ มี าก บางคนก็ไม่มเี ลย...”
พระราชดำรสั เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑

“...พอเพยี ง มคี วามหมายกวา้ งขวางย่ิงกว่านี้อกี คือคำว่าพอ กพ็ อเพียงนี้ก็พอแค่นนั้ เอง คนเราถา้ พอในความต้องการ
ก็มคี วามโลภน้อย เม่ือมีความโลภน้อยก็เบียดเบียนคนอ่นื น้อย ถ้าประเทศใดมคี วามคดิ อันน้ี มีความคดิ ว่าทำอะไรตอ้ ง
พอเพียง หมายความวา่ พอประมาณ ซอ่ื ตรง ไม่โลภอยา่ งมาก คนเรากอ็ ยู่เปน็ สขุ พอเพยี งนีอ้ าจจะมี มีมากอาจจะมี
ของหรหู ราก็ได้ แต่ว่าตอ้ งไมไ่ ปเบียดเบียนคนอน่ื ...”

พระราชดำรัส เนื่องในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสดิ าลัย วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑

“...ไฟดับถ้ามคี วามจำเปน็ หากมีเศรษฐกจิ พอเพียงแบบไม่เต็มที่ เรามีเครอ่ื งปั่นไฟกใ็ ช้ปนั่ ไฟ หรือถ้าขัน้ โบราณกวา่
มืดกจ็ ดุ เทียน คอื มีทางที่จะแกป้ ญั หาเสมอ ฉะนนั้ เศรษฐกจิ พอเพยี งก็มเี ป็นขัน้ ๆ แตจ่ ะบอกว่าเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ให้
พอเพียงเฉพาะตวั เองรอ้ ยเปอร์เซ็นตน์ เี่ ป็นสงิ่ ทำไมไ่ ด้ จะต้องมกี ารแลกเปล่ยี น ต้องมกี ารช่วยกนั ถ้ามีการช่วยกัน
แลกเปล่ยี นกนั กไ็ ม่ใช่พอเพยี งแลว้ แต่วา่ พอเพยี งในทฤษฎีในหลวงน้ี คือให้สามารถท่จี ะดำเนนิ งานได.้ ..”
พระราชดำรัส เนื่องในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสิดาลยั วันท่ี ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒

“...โครงการตา่ งๆ หรอื เศรษฐกจิ ที่ใหญ่ ต้องมีความสอดคล้องกนั ดที ไ่ี ม่ใช่เหมอื นทฤษฎีใหม่ ที่ใช้ท่ีดินเพียง ๑๕ ไร่
และสามารถท่ีจะปลกู ข้าวพอกนิ กจิ การน้ีใหญก่ วา่ แต่ก็เป็นเศรษฐกจิ พอเพยี งเหมอื นกนั คนไมเ่ ขา้ ใจว่ากิจการใหญๆ่
เหมอื นสรา้ งเขอื่ นปา่ สกั กเ็ ปน็ เศรษฐกิจพอเพยี งเหมอื นกนั เขานึกว่าเป็นเศรษฐกจิ สมัยใหม่ เป็นเศรษฐกิจทีห่ ่างไกล
จากเศรษฐกิจพอเพียง แต่ทจ่ี รงิ แล้ว เปน็ เศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน...”
พระราชดำรัส เน่ืองในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสดิ าลัย วนั ท่ี ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๔๒

“...ฉนั พูดเศรษฐกิจพอเพียงความหมายคือ ทำอะไรใหเ้ หมาะสมกับฐานะของตวั เอง คือทำจากรายได้ ๒๐๐-๓๐๐
บาท ข้ึนไปเป็นสองหม่นื สามหมน่ื บาท คนชอบเอาคำพดู ของฉัน เศรษฐกิจพอเพยี งไปพูดกนั เลอะเทอะ เศรษฐกิจ
พอเพียง คือทำเปน็ Self-Sufficiency มนั ไมใ่ ชค่ วามหมายไม่ใช่แบบท่ฉี ันคิด ท่ีฉนั คิดคือเป็น Self-Sufficiency of
Economy เช่น ถ้าเขาตอ้ งการดทู วี ี ก็ควรให้เขามีดู ไม่ใช่ไปจำกัดเขาไมใ่ หซ้ ้อื ทวี ดี ู เขาตอ้ งการดูเพือ่ ความสนกุ สนาน
ในหม่บู า้ นไกลๆ ทฉี่ นั ไป เขามีทีวดี แู ต่ใช้แบตเตอร่ี เขาไม่มีไฟฟา้ แตถ่ า้ Sufficiency นน้ั มีทีวเี ขาฟมุ่ เฟอื ย
เปรียบเสมือนคนไมม่ สี ตางค์ไปตัดสูทใส่ และยงั ใส่เนคไทเวอร์ซาเช่ อันนีก้ ็เกินไป...”
พระตำหนักเปย่ี มสุข วงั ไกลกงั วล
๑๗ มกราคม ๒๕๔๔

ประเทศไทยกบั เศรษฐกจิ พอเพยี ง
เศรษฐกิจพอเพยี ง มุง่ เนน้ ให้ผผู้ ลิต หรือผู้บริโภค พยายามเรม่ิ ต้นผลิต หรอื บรโิ ภคภายใตข้ อบเขต ข้อจำกัดของรายได้
หรือทรัพยากรทมี่ อี ยู่ไปกอ่ น ซง่ึ กค็ ือ หลกั ในการลดการพ่ึงพา เพิม่ ขีดความสามารถในการควบคุมการผลติ ได้ดว้ ย
ตนเอง และลดภาวะการเสยี่ งจากการไม่สามารถควบคมุ ระบบตลาดไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
เศรษฐกจิ พอเพยี งมใิ ช่หมายความถึง การกระเบยี ดกระเสียนจนเกนิ สมควร หากแต่อาจฟุ่มเฟือยไดเ้ ป็นครั้งคราวตาม
อตั ภาพ แต่คนสว่ นใหญข่ องประเทศ มักใช้จ่ายเกินตัว เกนิ ฐานะท่ีหามาได้

เศรษฐกจิ พอเพียง สามารถนำไปส่เู ป้าหมายของการสร้างความม่นั คงในทางเศรษฐกจิ ได้ เช่น โดยพื้นฐานแลว้
ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม เศรษฐกิจของประเทศจึงควรเน้นท่เี ศรษฐกิจการเกษตร เน้นความม่ันคงทาง
อาหาร เปน็ การสร้างความมั่นคงให้เป็นระบบเศรษฐกจิ ในระดับหน่งึ จึงเป็นระบบเศรษฐกิจท่ีช่วยลดความเสย่ี ง หรอื

ความไมม่ น่ั คงทางเศรษฐกิจในระยะยาวได้
เศรษฐกจิ พอเพียง สามารถประยกุ ต์ใชไ้ ด้ในทกุ ระดับ ทกุ สาขา ทุกภาคของเศรษฐกิจ ไมจ่ ำเปน็ จะต้องจำกัดเฉพาะแต่
ภาคการเกษตร หรอื ภาคชนบท แม้แต่ภาคการเงิน ภาคอสงั หาริมทรัพย์ และการคา้ การลงทุนระหว่างประเทศ
โดยมีหลกั การที่คล้ายคลงึ กนั คือ เน้นการเลอื กปฏิบัติอยา่ งพอประมาณ มเี หตุมีผล และสรา้ งภมู ิคมุ้ กันใหแ้ ก่ตนเอง
และสังคม

การดำเนนิ ชีวติ ตามแนวพระราชดำริพอเพยี ง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว ทรงเข้าใจถึงสภาพสงั คมไทย ดังนน้ั เมื่อได้พระราชทานแนวพระราชดำริ หรอื พระบรม
ราโชวาทในด้านต่างๆ จะทรงคำนงึ ถงึ วิถชี ีวติ สภาพสังคมของประชาชนดว้ ย เพือ่ ไมใ่ หเ้ กดิ ความขัดแยง้ ทางความคดิ
ทอี่ าจนำไปสู่ความขดั แย้งในทางปฏิบัตไิ ด้
แนวพระราชดำริในการดำเนินชีวิตแบบพอเพยี ง
๑. ยดึ ความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดละความฟ่มุ เฟอื ยในการใชช้ ีวติ
๒. ยึดถอื การประกอบอาชพี ดว้ ยความถกู ตอ้ ง ซ่ือสัตยส์ ุจรติ
๓. ละเลิกการแกง่ แย่งผลประโยชนแ์ ละแขง่ ขันกนั ในทางการคา้ แบบตอ่ สกู้ ันอยา่ งรนุ แรง
๔. ไม่หยุดนงิ่ ท่จี ะหาทางให้ชีวิตหลดุ พ้นจากความทุกข์ยาก ด้วยการขวนขวายใฝห่ าความรู้ใหม้ ีรายได้เพิม่ พูนขนึ้ จนถงึ
ขัน้ พอเพยี งเป็นเป้าหมายสำคญั
๕. ปฏิบัติตนในแนวทางทด่ี ี ลดละสิง่ ช่วั ประพฤติตนตามหลกั ศาสนา

ตัวอย่างเศรษฐกิจพอเพยี ง

ทฤษฎใี หม่
ทฤษฎีใหม่ คือ ตวั อย่างทเี่ ป็นรูปธรรมของ การประยกุ ต์ใช้เศรษฐกิจพอเพยี งทเี่ ดน่ ชัดท่ีสุด ซ่ึงพระบาทสมเดจ็ พระ
เจ้าอย่หู วั ได้พระราชทานพระราชดำรนิ ี้ เพือ่ เปน็ การชว่ ยเหลือเกษตรกรทมี่ ักประสบปัญหาทั้งภยั ธรรมชาตแิ ละปัจจัย
ภาย นอกทม่ี ีผลกระทบตอ่ การทำการเกษตร ให้สามารถผา่ นพน้ ชว่ งเวลาวกิ ฤต โดยเฉพาะการขาดแคลนน้ำไดโ้ ดยไม่
เดือดร้อนและยากลำบากนกั
ความเสีย่ งที่เกษตรกร มกั พบเป็นประจำ ประกอบดว้ ย
๑. ความเสีย่ งดา้ นราคาสินค้าเกษตร
๒. ความเสย่ี งในราคาและการพ่ึงพาปัจจยั การผลิตสมัยใหม่จากตา่ งประเทศ
๓. ความเส่ียงด้านนำ้ ฝนทง้ิ ชว่ ง ฝนแลง้
๔. ภยั ธรรมชาตอิ ืน่ ๆ และโรคระบาด
๕. ความเสี่ยงดา้ นแบบแผนการผลติ
- ความเสี่ยงด้านโรคและศัตรูพืช
- ความเสยี่ งดา้ นการขาดแคลนแรงงาน
- ความเส่ียงดา้ นหน้สี นิ และการสญู เสยี ท่ีดิน
ทฤษฎใี หม่ จงึ เปน็ แนวทางหรือหลักการในการบริหารการจัดการทด่ี ินและนำ้ เพอ่ื การเกษตรในทด่ี ินขนาดเล็กใหเ้ กิด
ประโยชนส์ งู สุด

ทฤษฎใี หม่

ความสำคญั ของทฤษฎีใหม่
๑. มกี ารบริหารและจดั แบ่งที่ดนิ แปลงเลก็ ออกเป็นสดั สว่ นท่ีชดั เจน เพอื่ ประโยชนส์ งู สุดของเกษตรกร ซง่ึ ไมเ่ คยมีใคร
คดิ มาก่อน
๒. มีการคำนวณโดยใชห้ ลกั วิชาการเกีย่ วกบั ปรมิ าณน้ำทจ่ี ะกักเกบ็ ใหพ้ อเพยี งตอ่ การเพาะปลูกได้อย่างเหมาะสมตลอด
ปี
๓. มีการวางแผนที่สมบรู ณแ์ บบสำหรับเกษตรกรรายยอ่ ย โดยมถี งึ ๓ ขนั้ ตอน

ทฤษฎใี หมข่ น้ั ต้น
ใหแ้ บ่งพืน้ ทอ่ี อกเป็น ๔ สว่ น ตามอัตราสว่ น ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ ซง่ึ หมายถงึ
พน้ื ที่สว่ นทหี่ น่ึง ประมาณ ๓๐% ให้ขดุ สระเก็บกักนำ้ เพอ่ื ใชเ้ กบ็ กักน้ำฝนในฤดูฝน และใช้เสรมิ การปลกู พชื ในฤดูแล้ง
ตลอดจนการเล้ยี งสัตวแ์ ละพชื น้ำต่างๆ
พื้นท่ีส่วนทส่ี อง ประมาณ ๓๐% ให้ปลกู ข้าวในฤดูฝนเพือ่ ใชเ้ ปน็ อาหารประจำวันสำหรบั ครอบครัวใหเ้ พยี งพอตลอด ปี
เพอ่ื ตดั ค่าใช้จ่ายและสามารถพง่ึ ตนเองได้
พ้นื ที่ส่วนทสี่ าม ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยนื ตน้ พืชผกั พืชไร่ พืชสมนุ ไพร ฯลฯ เพื่อใช้เปน็ อาหารประจำวนั
หากเหลือบรโิ ภคกน็ ำไปจำหนา่ ย
พื้นที่สว่ นท่ีส่ี ประมาณ ๑๐% เป็นทอ่ี ยอู่ าศัย เลย้ี งสตั ว์ ถนนหนทาง และโรงเรือนอ่ืนๆ

ทฤษฎใี หมข่ ั้นที่สอง
เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลกั การและได้ปฏบิ ตั ใิ นที่ดินของตนจนไดผ้ ลแล้ว ก็ต้องเรม่ิ ขัน้ ทสี่ อง คอื ใหเ้ กษตรกรรวมพลัง
กนั ในรูป กลุ่ม หรือ สหกรณ์ ร่วมแรงรว่ มใจกันดำเนินการในด้าน
(๑) การผลิต (พันธ์ุพืช เตรียมดนิ ชลประทาน ฯลฯ)
- เกษตรกรจะต้องรว่ มมือในการผลิต โดยเริ่ม ตั้งแต่ขั้นเตรียมดนิ การหาพนั ธุ์พืช ปุย๋ การจัดหาน้ำ และอืน่ ๆ เพื่อการ
เพาะปลูก
(๒) การตลาด (ลานตากข้าว ยุ้ง เคร่อื งสีขา้ ว การจำหนา่ ยผลผลิต)
- เม่อื มผี ลผลิตแล้ว จะตอ้ งเตรยี มการตา่ งๆ เพอื่ การขายผลผลิตให้ได้ประโยชน์สงู สุด เช่น การเตรียมลานตากขา้ ว
รว่ มกนั การจดั หายุ้งรวบรวมขา้ ว เตรยี มหาเครื่องสีขา้ ว ตลอดจนการรวมกันขายผลผลิตให้ไดร้ าคาดแี ละลดค่าใชจ้ า่ ย
ลงดว้ ย
(๓) การเป็นอยู่ (กะปิ นำ้ ปลา อาหาร เครือ่ งนุ่งหม่ ฯลฯ)
- ในขณะเดยี วกันเกษตรกรต้องมคี วามเปน็ อยทู่ ่ดี ีพอสมควร โดยมปี ัจจยั พื้นฐานในการดำรงชวี ิต เช่น อาหารการกนิ
ต่างๆ กะปิ นำ้ ปลา เสอ้ื ผา้ ท่ีพอเพียง
(๔) สวสั ดิการ (สาธารณสุข เงินก)ู้
- แต่ละชมุ ชนควรมีสวสั ดิภาพและบรกิ ารท่จี ำเป็น เช่น มีสถานีอนามยั เมอื่ ยามป่วยไข้ หรอื มกี องทุนไว้กูย้ มื เพอ่ื
ประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน
(๕) การศกึ ษา (โรงเรยี น ทนุ การศกึ ษา)

- ชุมชนควรมบี ทบาทในการสง่ เสรมิ การศกึ ษา เช่น มกี องทนุ เพ่ือการศกึ ษาเล่าเรียนใหแ้ กเ่ ยาวชนของชมชนเอง
(๖) สังคมและศาสนา
- ชุมชนควรเป็นที่รวมในการพัฒนาสังคมและจติ ใจ โดยมีศาสนาเป็นท่ียึดเหนย่ี ว
โดยกิจกรรมทง้ั หมดดงั กลา่ วข้างตน้ จะต้องไดร้ ับความร่วมมือจากทกุ ฝ่ายทเ่ี กีย่ วข้อง ไมว่ า่ สว่ นราชการ องค์กรเอกชน
ตลอดจนสมาชิกในชมุ ชนนัน้ เปน็ สำคญั

ทฤษฎีใหมข่ ั้นที่สาม
เมื่อดำเนินการผา่ นพน้ ข้นั ที่สองแล้ว เกษตรกร หรือกลมุ่ เกษตรกรกค็ วรพฒั นากา้ วหนา้ ไปส่ขู ั้นท่สี ามต่อไป คอื ติดตอ่
ประสานงาน เพื่อจดั หาทนุ หรือแหลง่ เงิน เชน่ ธนาคาร หรือบริษทั ห้างรา้ นเอกชน มาชว่ ยในการลงทุนและพฒั นา
คุณภาพชีวติ
ท้งั น้ี ท้ังฝ่ายเกษตรกรและฝ่ายธนาคาร หรือบรษิ ัทเอกชนจะไดร้ ับประโยชน์รว่ มกัน กลา่ วคือ
- เกษตรกรขายขา้ วไดร้ าคาสงู (ไมถ่ กู กดราคา)
- ธนาคารหรือบรษิ ัทเอกชนสามารถซอ้ื ข้าวบริโภคในราคาต่ำ (ซอ้ื ข้าวเปลอื กตรงจากเกษตรกรและมาสเี อง)
- เกษตรกรซือ้ เคร่อื งอุปโภคบรโิ ภคได้ในราคาตำ่ เพราะรวมกนั ซื้อเปน็ จำนวนมาก (เปน็ ร้านสหกรณร์ าคาขายสง่ )
- ธนาคารหรือบริษทั เอกชน จะสามารถกระจายบุคลากร เพ่อื ไปดำเนนิ การในกจิ กรรมตา่ งๆ ให้เกดิ ผลดยี งิ่ ขึน้

หลักการและแนวทางสำคญั
๑. เปน็ ระบบการผลติ แบบเศรษฐกจิ พอเพยี งท่ีเกษตรกรสามารถเลีย้ งตัวเองได้ในระดับ ทป่ี ระหยดั ก่อน ทัง้ น้ี ชุมชน
ต้องมีความสามคั คี ร่วมมือร่วมใจในการชว่ ยเหลือซ่ึงกันและกนั ทำนองเดียวกับการ “ลงแขก” แบบด้ังเดมิ เพื่อลด
ค่าใช้จ่ายในการจ้างแรงงานดว้ ย
๒. เน่ืองจากขา้ วเปน็ ปจั จยั หลักท่ีทุกครัวเรือนจะต้องบริโภค ดงั นนั้ จงึ ประมาณวา่ ครอบครัวหน่ึงทำนาประมาณ ๕ ไร่
จะทำใหม้ ขี ้าวพอกินตลอดปี โดยไม่ต้องซือ้ หาในราคาแพง เพ่ือยึดหลกั พึง่ ตนเองได้อย่างมีอิสรภาพ
๓. ต้องมนี ้ำเพ่อื การเพาะปลูกสำรองไว้ใชใ้ นฤดูแล้ง หรือระยะฝนท้งิ ช่วงไดอ้ ย่างพอเพียง ดงั นนั้ จึงจำเป็นต้องกนั ที่ดิน
สว่ นหน่งึ ไว้ขดุ สระน้ำ โดยมหี ลกั วา่ ต้องมีนำ้ เพียงพอท่จี ะเพาะปลูกไดต้ ลอดปี ทง้ั นี้ ไดพ้ ระราชทานพระราชดำรเิ ป็น
แนวทางวา่ ตอ้ งมนี ำ้ ๑,๐๐๐ ลูกบาศกเ์ มตร ตอ่ การเพาะปลูก ๑ ไร่ โดยประมาณ ฉะน้นั เม่อื ทำนา ๕ ไร่ ทำพชื ไร่
หรอื ไม้ผลอกี ๕ ไร่ (รวมเป็น ๑๐ ไร่) จะต้องมนี ำ้ ๑๐,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตรต่อปี

ดังน้ัน หากต้งั สมมติฐานวา่ มพี ืน้ ท่ี ๕ ไร่ ก็จะสามารถกำหนดสตู รครา่ วๆ ว่า แต่ละแปลง ประกอบดว้ ย
- นาข้าว ๕ ไร่
- พืชไร่ พชื สวน ๕ ไร่
- สระน้ำ ๓ ไร่ ขดุ ลกึ ๔ เมตร จุน้ำไดป้ ระมาณ ๑๙,๐๐๐ ลกู บาศก์เมตร ซงึ่ เปน็ ปริมาณนำ้ ทเี่ พยี งพอทจี่ ะสำรองไวใ้ ช้
ยามฤดแู ลง้
- ทอี่ ย่อู าศัยและอืน่ ๆ ๒ ไร่
รวมทง้ั หมด ๑๕ ไร่
แตท่ ัง้ น้ี ขนาดของสระเกบ็ น้ำขน้ึ อยูก่ บั สภาพภูมิประเทศและสภาพแวดลอ้ ม ดังน้ี
- ถา้ เป็นพืน้ ทีท่ ำการเกษตรอาศยั น้ำฝน สระน้ำควรมลี ักษณะลกึ เพือ่ ป้องกันไม่ให้น้ำระเหยไดม้ ากเกนิ ไป ซ่งึ จะทำให้มี

นำ้ ใช้ตลอดทง้ั ปี
- ถา้ เป็นพ้นื ทีท่ ำการเกษตรในเขตชลประทาน สระน้ำอาจมีลกั ษณะลึก หรอื ตื้น และแคบ หรือกว้างก็ได้ โดยพจิ ารณา
ตามความเหมาะสม เพราะสามารถมีน้ำมาเตมิ อยู่เรือ่ ยๆ
การมีสระเก็บน้ำก็เพอื่ ใหเ้ กษตรกรมนี ้ำใชอ้ ย่างสม่ำเสมอทั้งปี (ทรงเรยี กว่า Regulator หมายถึงการควบคุมให้ดี มี
ระบบน้ำหมนุ เวียนใชเ้ พ่ือการเกษตรไดโ้ ดยตลอดเวลาอยา่ งตอ่ เนือ่ ง) โดยเฉพาะอย่างย่งิ ในหน้าแลง้ และระยะฝนทงิ้
ชว่ ง แต่มไิ ด้หมายความวา่ เกษตรกรจะสามารถปลกู ข้าวนาปรงั ได้ เพราะหากน้ำในสระเกบ็ นำ้ ไม่พอ ในกรณีมเี ขือ่ น
อยูบ่ รเิ วณใกลเ้ คยี งกอ็ าจจะตอ้ งสูบน้ำมาจากเขอ่ื น ซง่ึ จะทำใหน้ ้ำในเขือ่ นหมดได้ แต่เกษตรกรควรทำนาในหนา้ ฝน
และเมือ่ ถงึ ฤดูแล้ง หรอื ฝนท้ิงช่วงให้เกษตรกรใช้น้ำที่เกบ็ ตุนนน้ั ให้เกดิ ประโยชนท์ างการเกษตรอย่างสูงสดุ โดย
พจิ ารณาปลูกพืชใหเ้ หมาะสมกับฤดกู าล เพ่อื จะได้มผี ลผลติ อน่ื ๆ ไวบ้ รโิ ภคและสามารถนำไปขายได้ตลอดทั้งปี
๔. การจดั แบ่งแปลงทด่ี นิ เพอ่ื ให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสุดนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงคำนวณและคำนงึ จากอัตรา
การถือครองท่ีดินถวั เฉล่ียครัวเรือนละ ๑๕ ไร่ อยา่ งไรก็ตาม หากเกษตรกรมีพืน้ ทถี่ อื ครองนอ้ ยกว่าน้ี หรอื มากกวา่ นี้
กส็ ามารถใชอ้ ัตราสว่ น ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ เปน็ เกณฑ์ปรับใช้ได้ กล่าวคือ
ร้อยละ ๓๐ สว่ นแรก ขุดสระน้ำ (สามารถเลยี้ งปลา ปลูกพชื น้ำ เชน่ ผกั บ้งุ ผกั กะเฉด ฯลฯ ได้ดว้ ย) บนสระอาจสร้าง
เล้าไก่และบนขอบสระน้ำอาจปลูกไมย้ ืนต้นที่ไม่ใช้น้ำมากโดยรอบ ได้
รอ้ ยละ ๓๐ สว่ นทสี่ อง ทำนา
ร้อยละ ๓๐ ส่วนที่สาม ปลกู พืชไร่ พชื สวน (ไมผ้ ล ไมย้ นื ต้น ไมใ้ ชส้ อย ไมเ้ พ่ือเปน็ เชอ้ื ฟนื ไมส้ รา้ งบ้าน พชื ไร่ พืชผกั
สมนุ ไพร เป็นต้น)
ร้อยละ ๑๐ สุดท้าย เป็นที่อยูอ่ าศยั และอืน่ ๆ (ทางเดิน คันดนิ กองฟาง ลานตาก กองปยุ๋ หมกั โรงเรอื น โรงเพาะเห็ด
คอกสตั ว์ ไม้ดอกไมป้ ระดบั พชื สวนครัวหลงั บา้ น เปน็ ตน้ )

อย่างไรก็ตาม อัตราส่วนดังกลา่ วเปน็ สตู ร หรือหลักการโดยประมาณเท่านน้ั สามารถปรบั ปรงุ เปลี่ยนแปลงไดต้ าม
ความเหมาะสม โดยขน้ึ อยกู่ ับสภาพของพื้นท่ีดิน ปรมิ าณนำ้ ฝน และสภาพแวดล้อม เชน่ ในกรณภี าคใต้ทีม่ ีฝนตกชุก
หรอื พ้นื ทท่ี ่ีมแี หลง่ น้ำมาเตมิ สระได้ต่อเน่อื ง กอ็ าจลดขนาดของบอ่ หรือสระเกบ็ น้ำให้เล็กลง เพอื่ เก็บพนื้ ที่ไว้ใช้
ประโชนอ์ น่ื ตอ่ ไปได้
๕. การดำเนนิ การตามทฤษฎีใหม่ มีปัจจยั ประกอบหลายประการ ขึ้นอยกู่ บั สภาพภูมปิ ระเทศ สภาพแวดลอ้ มของแต่
ละทอ้ งถน่ิ ดงั นัน้ เกษตรกรควรขอรับคำแนะนำจากเจา้ หน้าที่ดว้ ย และท่ีสำคัญ คอื ราคาการลงทุนค่อนข้างสงู
โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ การขดุ สระนำ้ เกษตรกรจะต้องได้รับความช่วยเหลอื จากส่วนราชการ มูลนิธิ และเอกชน
๖. ในระหวา่ งการขดุ สระน้ำ จะมีดนิ ที่ถกู ขดุ ขนึ้ มาจำนวนมาก หนา้ ดนิ ซึ่งเปน็ ดินดี ควรนำไปกองไวต้ า่ งหากเพื่อ
นำมาใช้ประโยชน์ในการปลูกพืชต่างๆ ในภายหลัง โดยนำมาเกลี่ยคลุมดนิ ช้ันลา่ งที่เป็นดินไมด่ ี หรอื อาจนำมาถมทำ
ขอบสระนำ้ หรือยกรอ่ งสำหรบั ปลูกไมผ้ ลก็จะไดป้ ระโยชน์อกี ทางหน่ึง

ตวั อย่างพชื ทคี่ วรปลกู และสัตวท์ ี่ควรเล้ียง
ไม้ผลและผกั ยืนต้น : มะม่วง มะพร้าว มะขาม ขนุน ละมดุ สม้ กล้วย น้อยหนา่ มะละกอ กะท้อน แคบา้ น มะรมุ
สะเดา ข้ีเหลก็ กระถิน ฯลฯ
ผักล้มลกุ และดอกไม้ : มันเทศ เผือก ถัว่ ฝกั ยาว มะเขอื มะลิ ดาวเรอื ง บานไม่รูโ้ รย กหุ ลาบ รัก และซ่อนกลิ่น เป็นต้น
เหด็ : เหด็ นางฟา้ เห็ดฟาง เห็ดเป๋าฮ้ือ เปน็ ต้น

สมุนไพรและเคร่อื งเทศ : หมาก พลู พรกิ ไท บุก บวั บก มะเกลือ ชุมเหด็ หญ้าแฝก และพชื ผักบางชนิด เชน่ กะเพรา
โหระพา สะระแหน่ แมงลัก และตะไคร้ เปน็ ตน้
ไมใ้ ชส้ อยและเชอ้ื เพลิง : ไผ่ มะพร้าว ตาล กระถนิ ณรงค์ มะขามเทศ สะแก ทองหลาง จามจุรี กระถนิ สะเดา ขเี้ หล็ก
ประดู่ ชิงชนั และยางนา เปน็ ต้น
พชื ไร่ : ข้าวโพด ถว่ั เหลอื ง ถั่วลิสง ถวั่ พุ่ม ถ่วั มะแฮะ ออ้ ย มันสำปะหลัง ละหุง่ น่นุ เป็นต้น พชื ไรห่ ลายชนดิ อาจเกบ็
เก่ยี วเมื่อผลผลติ ยงั สดอยู่ และจำหนา่ ยเปน็ พืชประเภทผักได้ และมีราคาดีกว่าเกบ็ เมอื่ แก่ ได้แก่ ขา้ วโพด ถัวเหลอื ง
ถ่วั ลิสง ถัว่ พมุ่ ถวั่ มะแฮะ ออ้ ย และมนั สำปะหลัง
พชื บำรงุ ดนิ และพชื คลุมดิน : ถวั่ มะแฮะ ถ่วั ฮามาตา้ โสนแอฟริกัน โสนพื้นเมือง ปอเทอื ง ถั่วพรา้ ขี้เหล็ก กระถนิ
รวมทั้งถว่ั เขียวและถัว่ พมุ่ เป็นตน้ และเม่อื เกบ็ เก่ียวแล้วไถกลบลงไปเพ่ือบำรุงดินได้
หมายเหตุ : พืชหลายชนดิ ใช้ทำประโยชน์ได้มากกวา่ หน่ึงชนดิ และการเลอื กปลกู พืชควรเน้นพืชยืนต้นดว้ ย เพราะการ
ดูแลรักษาในระยะหลังจะลดน้อยลง มผี ลผลิตทยอยออกตลอดปี ควรเลือกพืชยนื ต้นชนิดตา่ งๆ กัน ใหค้ วามร่มเยน็
และชมุ่ ชื้นกับท่อี ย่อู าศัยและส่งิ แวดลอ้ ม และควรเลือกตน้ ไมใ้ ห้สอดคลอ้ งกับสภาพของพ้ืนที่ เช่น ไม่ควรปลูกยูคาลิ
ปตสั บริเวณขอบสระ ควรเป็นไมผ้ ลแทน เป็นต้น

สัตว์เล้ียงอืน่ ๆ ไดแ้ ก่
สตั วน์ ำ้ : ปลาไน ปลานลิ ปลาตะเพยี นขาว ปลาดุก เพ่ือเป็นอาหารเสรมิ ประเภทโปรตนี และยงั สามารถนำไป
จำหน่ายเป็นรายได้เสรมิ ไดอ้ กี ด้วย ในบางพื้นท่ีสามารถเลีย้ งกบได้
สุกร หรือ ไก่ เลย้ี งบนขอบสระน้ำ ทงั้ นี้ มูลสกุ รและไก่สามารถนำมาเปน็ อาหารปลา บางแหง่ อาจเลี้ยงเปด็ ได้

ประโยชน์ของทฤษฎใี หม่
๑. ใหป้ ระชาชนพออยู่พอกินสมควรแก่อัตภาพในระดับทปี่ ระหยัด ไม่อดอยาก และเล้ียงตนเองไดต้ ามหลกั ปรชั ญา
“เศรษฐกจิ พอเพยี ง”
๒. ในหน้าแลง้ มีน้ำนอ้ ย ก็สามารถเอานำ้ ทีเ่ กบ็ ไว้ในสระมาปลูกพชื ผักต่างๆ ท่ีใชน้ ำ้ น้อยได้ โดยไมต่ ้องเบียดเบียน
ชลประทาน
๓. ในปที ่ีฝนตกตามฤดกู าลโดยมีน้ำดตี ลอดปี ทฤษฎีใหม่นี้สามารถสร้างรายไดใ้ ห้แกเ่ กษตรกรไดโ้ ดยไม่เดือดรอ้ นใน
เรอ่ื งคา่ ใช้จ่ายตา่ งๆ
๔. ในกรณที ีเ่ กิดอทุ กภัย เกษตรกรสามารถทีจ่ ะฟ้นื ตัวและช่วยตัวเองได้ในระดบั หนึ่ง โดยทางราชการไม่ต้องช่วยเหลือ
มากนกั ซงึ่ เป็นการประหยัดงบประมาณด้วย

ทฤษฎีใหม่ท่ีสมบรู ณ์

ทฤษฎีใหม่ท่ีดำเนนิ การโดยอาศัยแหล่งนำ้ ธรรมชาติ นำ้ ฝน จะอยู่ในลกั ษณะ “หมิ่นเหม่” เพราะหากปใี ดฝนนอ้ ย น้ำ
อาจจะไม่เพียงพอ ฉะนนั้ การท่จี ะทำให้ทฤษฎใี หม่สมบรู ณ์ได้นน้ั จำเป็นตอ้ งมีสระเกบ็ กักนำ้ ทีม่ ีประสทิ ธิภาพและเต็ม
ความสามารถ โดยการมีแหล่งน้ำขนาดใหญท่ ่ีสามารถเพ่ิมเตมิ น้ำในสระเก็บกกั นำ้ ให้เต็มอยู่ เสมอ ดังเช่น กรณีของ
การทดลองทโ่ี ครงการพฒั นาพืน้ ที่บริเวณวัดมงคลชยั พฒั นาอนั เนอื่ งมาจาก พระราชดำริ จังหวดั สระบุรี

ระบบทฤษฎใี หม่ท่ีสมบูรณ์
อา่ งใหญ่ เติมอา่ งเลก็ อ่างเล็ก เติมสระน้ำ

จากภาพ วงกลมเล็ก คือสระน้ำทเี่ กษตรกรขุดข้นึ ตามทฤษฎีใหม่ เมื่อเกิดช่วงขาดแคลนน้ำในฤดูแล้ง เกษตรกร
สามารถสูบนำ้ มาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ และหากน้ำในสระนำ้ ไมเ่ พียงพอก็ขอรับนำ้ จากอ่างห้วยหนิ ขาว (อา่ งเลก็ ) ซ่งึ ได้ทำ
ระบบส่งน้ำเชือ่ มตอ่ ทางท่อลงมายังสระนำ้ ทีไ่ ดข้ ุดไวใ้ นแตล่ ะแปลง ซ่ึงจะชว่ ยใหส้ ามารถมนี ำ้ ใชต้ ลอดปี
กรณีทีเ่ กษตรกรใช้น้ำกนั มาก อ่างห้วยหินขาว (อ่างเล็ก) ก็อาจมปี รมิ าณนำ้ ไม่เพียงพอ กส็ ามารถใช้วิธีการผันนำ้ จาก
เข่ือนป่าสักชลสิทธิ์ (อา่ งใหญ)่ ตอ่ ลงมายังอ่างเกบ็ น้ำห้วยหนิ ขาว (อ่างเลก็ ) ก็จะช่วยใหม้ ีปริมาณนำ้ มาเตมิ ในสระของ
เกษตรกรพอตลอดทั้งปโี ดยไม่ตอ้ งเสย่ี ง
ระบบการจัดการทรัพยากรนำ้ ตามแนวพระราชดำรพิ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สามารถทำใหก้ ารใช้นำ้ มี
ประสทิ ธิภาพอยา่ งสงู สดุ จากระบบส่งท่อเปิดผ่านไปตามแปลงไรน่ าตา่ งๆ ถงึ ๓-๕ เท่า เพราะยามหนา้ ฝน นอกจาก
จะมีนำ้ ในอา่ งเกบ็ น้ำแลว้ ยงั มนี ำ้ ในสระของราษฎรเกบ็ ไวพ้ ร้อมกนั ดว้ ย ทำให้มีปริมาณนำ้ เพมิ่ อย่างมหาศาล น้ำในอ่าง
ท่ีต่อมาสู่สระจะทำหนา้ ท่เี ปน็ แหลง่ นำ้ สำรอง คอยเตมิ เท่านัน้ เอง

แปลงสาธติ ทฤษฎีใหม่ของมูลนธิ ชิ ัยพัฒนา

ท่านทีส่ นใจสามารถขอคำปรึกษาและเยย่ี มชมแปลงสาธติ ทฤษฎใี หม่ได้ ดงั น้ี
๑. สำนักบรหิ ารโครงการ สำนักงานมลู นิธชิ ัยพฒั นา
โทรศัพท์ ๐ ๒๒๘๒ ๔๔๒๕ โทรสาร ๐ ๒๒๘๒ ๓๓๔๑
๒. โครงการพฒั นาพน้ื ที่บริเวณวดั มงคลชยั พฒั นาอันเนอ่ื งมาจากพระราชดำริ จังหวัดสระบรุ ี
โทรศัพท์ / โทรสาร ๐ ๓๖๔๙ ๙๑๘๑
๓. โครงการแปลงสาธติ การเกษตรแบบผสมผสานตามแนวพระราชดำริ (ทฤษฎใี หม)่ อำเภอปากท่อ จงั หวัดราชบุรี
โทรศัพท์ / โทรสาร ๐ ๓๒๓๓ ๗๔๐๗
๔. โครงการสวนสมเด็จพระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบรุ ี

โทรศัพท์ / โทรสาร ๐ ๓๒๕๙ ๔๐๖๗
๕. โครงการสาธติ ทฤษฎีใหม่ อำเภอเขาวง จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์
โทรศัพท์ / โทรสาร ๐ ๔๓๘๕ ๙๐๘๙
๖.โครงการสาธิตทฤษฎีใหม่ อำเภอปกั ธงชยั จงั หวดั นครราชสมี า
โทรศัพท์ / โทรสาร ๐ ๔๔๓๒ ๕๐๔๘

PREVIOUS ITEM1 / 3 เศรษฐกิจพอเพียง

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 6

รายวิชา ภาษาไทย รหสั วิชา ท 22102 ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย 4 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 อ่านออกเสยี งเรียงภาษา เวลา 10 ช่วั โมง

เรอื่ ง เขยี นผงั ความคดิ เกยี่ วกบั โคกหนองนาโมเดล เวลา 1 ช่วั โมง

ผสู้ อน นางสาวมยรุ ี จรญั รักษ์ โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลัย สรุ าษฎรธ์ านี

สาระสำคัญ
Mind Map คอื การถ่ายทอดความคิด หรอื ข้อมลู ตา่ ง ๆ ทมี่ ีอยู่ในสมองลงกระดาษ โดยการใชภ้ าพ สี เส้น
และการโยงใย แทนการจดยอ่ แบบเดิมที่เปน็ บรรทัด ๆ เรียงจากบนลงล่าง ขณะเดยี วกันมนั ก็ช่วยเป็นสอ่ื นำ
ขอ้ มูลจากภายนอก เชน่ หนงั สอื คำบรรยาย การประชุม สง่ เขา้ สมองให้เกบ็ รกั ษาไว้ไดด้ ีกวา่ เดมิ ซ้ำยงั ชว่ ยให้
เกิดความคิดสร้างสรรค์ได้ง่ายเข้า เนอ่ื งจะเหน็ เป็นภาพรวม และเปิดโอกาสให้สมองใหเ้ ช่อื มโยงต่อข้อมลู หรอื
ความคดิ ต่าง ๆ เข้าหากันได้งา่ ยกว่า

มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้ีวดั
มาตรฐานการเรียนรู้ ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคิดเพอ่ื นำไปใชต้ ัดสินใจแกป้ ญั หาในการ

ดำเนนิ ชวี ติ และมนี สิ ยั รักการอา่ น

ตัวช้ีวัด เขียนผังความคดิ เพือ่ แสดงความเข้าใจในบทเรียนตา่ งๆทีอ่ ่านได้

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เขยี นผงั ความคดิ จากการอ่านเรอ่ื งโคก หนอง นาโมเดลได้

สาระการเรยี นรู้

ด้านความรู้ .

-การจดั ทำผังมโนทศั น์

ด้านทกั ษะ/กระบวนการ

จัดทำผงั มโนทศั น์

ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  5. อยู่อย่างพอเพียง

 2. ซ่อื สตั ยส์ จุ ริต  6. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน

 3. มีวินยั  7. รักความเป็นไทย

4. ใฝ่เรียนรู้  8. มีจิตสาธารณะ

เบญจวิถกี าญจนา
 1. เทดิ ทนู สถาบัน
 2. กตัญญู
 3. บุคลิกดี
 4. มีวินัย
 5. ใหเ้ กียรติ

สมรรถนะทีส่ ำคัญของผูเ้ รยี น
 1. ความสามารถในการส่อื สาร
 2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

จดุ เนน้ สู่การพฒั นาผเู้ รียน
ความสามารถและทกั ษะที่จำเป็นในการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
 R1– Reading (อ่านออก)  R2– (W)Riting (เขยี นได้)  R3 – (A)Rithmetics (คิดเลขเป็น)
 C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะด้านการคดิ อย่างมีวิจารณญาณและทักษะใน

การแก้ปญั หา)
C2 - Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม)
 C3 - Cross-cultural Understanding (ทกั ษะด้านความเข้าใจต่างวฒั นธรรมต่างกระบวนทศั น์)
 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะดา้ นความรว่ มมือ การทำงานเปน็ ทีมและ

ภาวะผนู้ ำ)
 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศและ

รู้เทา่ ทนั ส่อื )
 C6 - Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

สื่อสาร)
 C7 - Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู)้
 C8 – Compassion (ความมีเมตตากรณุ า วินยั คุณธรรม จริยธรรม)
L1 – Learning (ทักษะการเรียนร)ู้
 L2 – Leadership (ทกั ษะความเป็นผนู้ ำ)

การวดั และประเมินผล
ด้านความรู้

ภาระงาน/ วธิ ีการวัด เครือ่ งมือ เกณฑ์ทใี่ ช้
ชิ้นงาน

จัดทำผัง จัดทำผังมโนทัศน์ แบบประเมนิ ระดับ 4 ดีเยี่ยม 8-10 คะแนน
มโนทศั น์ = ทำได้ทุกตวั ช้ีวดั
เรือ่ งโคก ระดบั 3 ดี 7 คะแนน
หนองนา = ทำได้มาก
โมเดล ระดับ 2 พอใช้ 6 คะแนน
= ทำได้นอ้ ย
ระดบั 1 ตอ้ งปรบั ปรงุ
1-5 คะแนน

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ วิธกี ารวดั เครื่องมอื เกณฑ์ท่ใี ช้
ชน้ิ งาน

จัดทำผัง จดั ทำผังมโนทศั น์ แบบประเมิน ระดับ 4 ดเี ย่ียม 8-10 คะแนน
มโนทศั น์ = ทำไดท้ ุกตวั ชี้วัด
เรอื่ งโคก ระดับ 3 ดี 7 คะแนน
หนองนา = ทำไดม้ าก
โมเดล ระดบั 2 พอใช้ 6 คะแนน
= ทำได้น้อย
ระดบั 1 ต้องปรบั ปรุง
1-5 คะแนน

ด้านคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

ภาระงาน/ วธิ ีการวัด เครือ่ งมือ เกณฑท์ ใ่ี ช้
ช้นิ งาน

มงุ่ มน่ั ในการ สังเกตจากพฤตกิ รรมการทำงาน สังเกต ระดบั 3 ดี 8-10 คะแนน
ทำงาน = ทำได้ดี
ระดบั 3 ดี 6-7 คะแนน
= ทำได้พอใช้
ระดบั 1 ทำได้ 1-5 คะแนน
= ตอ้ งปรับปรงุ

กจิ กรรมการเรยี นรู้

1. ข้ันนำเขา้ สู่บทเรียน
1. ให้นกั เรียนดูคลิปวีดโี อเรือ่ งโคกหนองนาโมเดลชว่ งหนง่ึ แลว้ สอบถามว่าคือเร่ืองอะไร

2. ข้นั สอน
1. ให้นกั เรียนดูคลิปวีดโี อเร่อื งโคกหนอองนาโมเดลตอ่ และสอบถามนักเรียนวา่ หวั ขอ้ หลักหัวข้อรองและหวั ข้อ

ยอ่ ย
ในเรื่องน้นี า่ จะเปน็ อะไร

2. ครูแจง้ เกณฑ์ในการให้คะแนนให้นกั เรียนทราบถงึ หลักเกณฑ์ในการประเมินผังมโนทัศน์
3. ใหน้ ักเรยี นสืบค้นรูปแบบท่ีสวยงามได้จากอินเตอร์เน็ตและใบความรูใ้ นคลาสรูม
4. ใหน้ กั เรยี นแบง่ กกลมุ่ จดั ทำผงั มโนทัศน์เรอื่ งโคก หนอง นาโมเดลลงในกระดาษโฟชาร์ท
5. ให้แต่ละกลุ่มสง่ ตัวแทนรายงาน
6. ใหท้ ำลงในกระดาษเอ 3 หรือแอปส่งในคลาส
ข้นั สรุป
1. ครูและนักเรยี นช่วยกนั สรุปผงั มโนทัศนใ์ นเรอ่ื งโคก หนอง นาโมเดล
สอ่ื /แหล่งเรียนรู้

สอื่ การเรยี นรู้
2) ยทู ปู เรือ่ งโคก หนอง นาโมเดล

แหล่งเรียนรู้
1) classroom
2) อินเตอรเ์ น็ต

สรุปผลการจัดการเรียนรู้

ดา้ นความรู้ ช่วงคะแนน จำนวน (คน) คิดเป็นรอ้ ยละ
กล่มุ ผู้เรียน 8-10 200 85.47
ดี 6-7 34 14.53
ปานกลาง 0-5 - -
ปรับปรงุ

ด้านทกั ษะ/กระบวนการ ช่วงคะแนน จำนวน (คน) คดิ เปน็ รอ้ ยละ
กลมุ่ ผเู้ รียน 8-10 200 85.47
ดี 6-7 34 14.53
ปานกลาง 0-5 - -
ปรบั ปรุง

ดา้ นคณุ ลักษะอันพงึ ประสงค์

กลุม่ ผเู้ รยี น ช่วงระดับคณุ ภาพ จำนวน (คน) คิดเป็นรอ้ ยละ
200 85.47
ดี 3 34 14.53
- -
ปานกลาง 2

ปรบั ปรงุ 0-1

บันทกึ หลังการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

ดา้ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
นกั เรียนสามารถจดั ทำผังมโนทัศน์ได้สวยงาม
ปญั หาทพ่ี บระหว่างหรือหลงั จัดกจิ กรรม
ขอ้ เสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื ........................................................ผ้สู อน
(นางสาวมยรุ ี จรญั รกั ษ์)
//

การตรวจสอบและความคดิ เห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้
 สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชว้ี ัดของหลกั สูตรฯ
 กจิ กรรมการเรยี นร้เู นน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคัญ
 มกี ารวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ มคี วามหลากหลายเหมาะสมกบั ผู้เรียน
 ใช้สอ่ื หรือแหลง่ เรยี นรทู้ ่ีทนั สมยั และสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
 สอดคลอ้ งตามจดุ เนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สพฐ. และจุดเนน้ ของโรงเรียน
 สง่ เสริมทกั ษะ 3Rs x 8Cs x 2Ls  สง่ เสรมิ เบญจวถิ กี าญจนา

ลงชื่อ..............................................................
(นางสาวอรพิณ สนั เส็น)

หวั หน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

การตรวจสอบและความคิดเหน็ ของหวั หน้ากล่มุ บริหารวิชาการ

 ถกู ต้องตามรปู แบบของโรงเรยี น

 ผ่านการนเิ ทศตรวจสอบจากหวั หนา้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้/กรรมการนิเทศ

 ก่อนใช้สอน  หลงั ใช้สอน

 มบี ันทกึ หลงั จัดกิจกรรมการเรียนรู้

ลงช่ือ..............................................................
(นายธนพนั ธ์ เพ็งสวสั ด์ิ)

หวั หน้ากลมุ่ บริหารวชิ าการ

ความคิดเห็นของรองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................

ลงช่ือ....................................................................
(นางสาวชณดิ าภา เวชกลุ )

รองผู้อำนวยการโรงเรยี น กลุ่มบริหารงานวชิ าการ

ความคดิ เห็นของผ้อู ำนวยการโรงเรยี น
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………….........................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................

ลงชือ่ ....................................................................
( นางพรทิพย์ นุกลู กิจ )

ผู้อำนวยการโรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลยั สรุ าษฎรธ์ านี

ใบความรู้
เร่อื ง การเขยี นแผนผงั ความคิด หรือแผนทีค่ วามคิด (Mind Map)
Mind Map คอื การถ่ายทอดความคิด หรือข้อมูลต่าง ๆ ทีม่ อี ยใู่ นสมองลงกระดาษ โดยการใช้ภาพ สี
เส้น และการโยงใย แทนการจดยอ่ แบบเดมิ ทีเ่ ปน็ บรรทดั ๆ เรียงจากบนลงล่าง ขณะเดยี วกันมนั ก็ชว่ ยเป็นส่ือนำขอ้ มูล
จากภายนอก เชน่ หนงั สอื คำบรรยาย การประชุม สง่ เขา้ สมองใหเ้ กบ็ รกั ษาไวไ้ ด้ดีกวา่ เดมิ ซ้ำยังช่วยใหเ้ กิดความคิด
สร้างสรรค์ได้งา่ ยเข้า เน่อื งจะเหน็ เป็นภาพรวม และเปิดโอกาสให้สมองให้เชอื่ มโยงตอ่ ข้อมลู หรอื ความคดิ ต่าง ๆ เข้า
หากันได้งา่ ยกว่า “ใช้แสดงการเชื่อมโยงขอ้ มูลเก่ยี วกับเร่อื งใดเรื่องหนึ่งระหว่างความคดิ หลกั ความคิด รอง และ
ความคิดยอ่ ยทีเ่ กี่ยวขอ้ งสมั พนั ธ์กัน” ผงั ความคิด (Mind Map)ลกั ษณะการเขยี นผังความคดิ เทคนิคการคิดคือ นำ
ประเด็นใหญ่ ๆ มาเป็นหลกั แลว้ ต่อด้วยประเด็นรองในชัน้ ถดั ไป

การสร้างแผนทค่ี วามคิด
ขน้ั ตอนการสร้าง Mind Map
๑. เขยี น/วาดมโนทศั น์หลักตรงกึง่ กลางหนา้ กระดาษ
๒. เขยี น/วาดมโนทศั น์รองทีส่ มั พันธก์ ับมโนทัศนห์ ลกั ไปรอบ ๆ
๓. เขียน/วาดมโนทศั นย์ อ่ ยท่ีสัมพนั ธ์กบั มโนทัศน์รองแตกออกไปเรอื่ ย ๆ
๔. ใชภ้ าพหรือสัญลักษณส์ อ่ื ความหมายเปน็ ตวั แทนความคิดใหม้ ากท่สี ุด
๕. เขียนคำสำคัญ (Key word) บนเส้นและเสน้ ต้องเชอ่ื มโยงกัน
๖. กรณีใช้สี ท้ังมโนทัศน์รองและยอ่ ยควรเปน็ สเี ดียวกัน
๗. คิดอย่างอสิ ระมากท่ีสุดขณะทำ

เขยี นคำหลัก หรอื ข้อความสำคัญของเร่ืองไวก้ ลาง โยงไปยังประเด็นรองรอบ ๆ ตามแต่ว่าจะมกี ่ีประเดน็
กฏการสรา้ ง Mind Map

๑. เร่ิมดว้ ยภาพสีตรงกึง่ กลางหนา้ กระดาษ
๒. ใช้ภาพให้มากท่ีสดุ ใน Mind Map ของคณุ ตรงไหนท่ใี ชภ้ าพไดใ้ ห้ใช้ก่อนคำ หรอื รหัส เปน็ การช่วยการ

ทำงานของสมอง ดงึ ดดู สายตา และชว่ ยความจำ
๓. ควรเขียนคำบรรจงตวั ใหญๆ่ ถา้ เปน็ ภาษาองั กฤษใหใ้ ช้ตัวพิมพ์ใหญ่ จะช่วยให้เราสามารถ

ประหยดั เวลาได้ เมื่อย้อนกลับไปอา่ นอีกคร้ัง
๔. เขียนคำเหนอื เสน้ ใต้ แต่ละเส้นตอ้ งเชอ่ื มต่อกับเสน้ อื่นๆ เพือ่ ให้ Mind Map มีโครงสร้างพนื้ ฐานรองรบั
๕. คำควรมีลักษณะเป็น "หนว่ ย" เปดิ ทางให้ Mind Map คล่องตัวและยดื หยุ่นไดม้ ากขน้ึ
๖. ใช้สที ่วั Mind Map เพราะสีชว่ ยยกระดับความคิด เพลินตา กระตุ้นสมองซกี ขวา
๗. เพือ่ ใหเ้ กิดความคิดสร้างสรรค์ใหม่ ควรปลอ่ ยให้สมองคิดมีอิสระมากที่สดุ เท่าที่จะเป็นไปได้

วิธีการเขยี น
Mind Map โดยละเอียดอีกวธิ ีหนง่ึ
๑. เตรียมกระดาษเปล่าทีไ่ ม่มีเส้นบรรทดั และวางกระดาษภาพแนวนอน
๒. วาดภาพสีหรอื เขยี นคำหรือข้อความทีส่ ือ่ หรือแสดงถึงเรอ่ื งจะทำ Mind Map กลาง หน้ากระดาษ โดยใช้

สอี ย่างนอ้ ย 3 สี และตอ้ งไมต่ ีกรอบดว้ ยรปู ทรงเรขาคณติ
๓. คิดถึงหัวเร่ืองสำคญั ทีเ่ ปน็ ส่วนประกอบของเรือ่ งทที่ ำ Mind Map โดยให้เขียนเปน็ คำทมี่ ีลกั ษณะเป็น

หนว่ ย หรือเป็นคำสำคญั (Key Word) สน้ั ๆ ทีม่ ีความหมาย บนเสน้ ซึง่ เส้นแต่ละเสน้ จะต้องแตกออกมา

จากศนู ย์กลางไมค่ วรเกิน 8 กิ่ง
๔. แตกความคดิ ของหัวเรือ่ งสำคัญแตล่ ะเรอ่ื งในข้อ 3 ออกเป็นกิ่ง ๆ หลายก่ิง โดยเขียนคำหรือ วลบี นเส้นท่ี

แตกออกไป ลักษณะของก่ิงควรเอนไม่เกนิ 60 องศา
๕. แตกความคดิ รองลงไปท่เี ปน็ ส่วนประกอบของแต่ละก่งิ ในขอ้ 4 โดยเขยี นคำหรอื วลีเส้นที่แตกออกไป

ซง่ึ สามารถแตกความคิดออกไปเรือ่ ย ๆ
๖. การเขียนคำ ควรเขียนดว้ ยคำท่เี ปน็ คำสำคญั (Key Word) หรอื คำหลกั หรอื เป็นวลีท่ีมี ความหมายชดั เจน
๗. คำ วลี สญั ลกั ษณ์ หรือรูปภาพใดที่ตอ้ งการเนน้ อาจใชว้ ิธีการทำใหเ้ ด่น เชน่ การลอ้ มกรอบ หรือใส่

กล่อง เปน็ ต้น
๘. ตกแต่ง Mind Map ท่เี ขียนดว้ ยความสนุกสนานทั้งภาพและแนวคดิ ท่ีเชือ่ มโยงต่อกนั

การนำไปใช้
๑. ใช้ระดมพลงั สมอง
๒. ใชน้ ำเสนอขอ้ มลู
๓. ใช้จดั ระบบความคดิ และช่วยความจำ
๔. ใช้วเิ คราะหเ์ นอ้ื หาหรืองานต่าง ๆ
๕. ใช้สรปุ หรอื สรา้ งองคค์ วามรู้

ตวั อยา่ งการเขียนแผนผงั ความคดิ (Mind Map)





แบบประเมนิ ผังมโนทัศน์ คะแนน
เลขท่ี ชื่อ-สกลุ เตม็ 100 คะแนน

1 เน้ือหาสาระครบถว้ น(20 คะแนน)
2 รปู แบบ(20 คะแนน)
3 ความสวยงาม(20 คะแนน)
4 การนำเสนอ(20 คะแนน)
5 ความคิดรเิ รม่ิ สร้างสรรค(์ 20 คะแนน)

รวม

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 7

รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วิชา ท 22102 ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 2

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย 4 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 อ่านออกเสยี งเรียงภาษา เวลา 10 ช่วั โมง

เร่อื ง อภปิ รายแสดงความคิดเห็นและโต้แยง้ เกยี่ วกบั เร่อื งทอ่ี า่ นได้ เวลา 1 ช่วั โมง

ผ้สู อน นางสาวมยรุ ี จรญั รักษ์ โรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย สุราษฎรธ์ านี

สาระสำคญั
การอภปิ รายเป็นการพูดซ่งึ ผ้พู ูดประกอบด้วยกลุ่มบคุ คลที่มเี จตนาจะพจิ ารณาเร่ืองใดเร่อื งหน่ีง

หรอื ปรึกษาหารอื ออกความคดิ เห็นเพอ่ื แกป้ ญั หาทีม่ ีอยู่หรอื เพือ่ เป็นการแลกเปล่ยี นคามรู้ความเหน็
ถ่ายทอดประสบการณท์ ีไ่ ด้รบั มาในทีส่ ดุ กม็ กี ารตัดสนิ ใจวา่ ควรทำอยา่ งไร
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวดั
มาตรฐานการเรยี นรู้ ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความรแู้ ละความคิดเพอ่ื นำไปใชต้ ัดสินใจแก้ปญั หาในการ

ดำเนนิ ชวี ติ และมนี ิสัยรกั การอา่ น

ตวั ช้ีวัด อภิปรายแสดงความคิดเหน็ และข้อโตแ้ ย้งเกีย่ วกับเร่อื งต่างๆทอี่ ่านได้

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ อภปิ รายแสดงความคิดเห็นหรอื โตแ้ ย้งเกยี่ วกับเร่ืองท่ีอ่านได้

สาระการเรยี นรู้

ด้านความรู้ .

-การอภปิ ราย

ด้านทักษะ/กระบวนการ

-อภิปรายแสดงความคดิ เหน็ และโต้แย้งเก่ยี วกบั เร่อื งทอี่ ่าน

ด้านคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  5. อย่อู ย่างพอเพียง

 2. ซือ่ สัตยส์ ุจรติ  6. ม่งุ ม่นั ในการทำงาน

 3. มวี ินัย  7. รกั ความเปน็ ไทย

4. ใฝ่เรยี นรู้  8. มจี ติ สาธารณะ

เบญจวิถีกาญจนา

 1. เทดิ ทูนสถาบนั

 2. กตัญญู

 3. บุคลิกดี

 4. มวี ินัย
 5. ให้เกยี รติ

สมรรถนะทส่ี ำคญั ของผู้เรยี น

 1. ความสามารถในการส่ือสาร

 2. ความสามารถในการคิด

 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา

4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต

 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

จดุ เน้นสู่การพฒั นาผเู้ รียน
ความสามารถและทกั ษะที่จำเป็นในการเรียนร้ใู นศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
 R1– Reading (อ่านออก)  R2– (W)Riting (เขียนได)้  R3 – (A)Rithmetics (คิดเลขเป็น)
 C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะดา้ นการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณและทักษะใน

การแก้ปญั หา)
 C2 - Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม)
 C3 - Cross-cultural Understanding (ทกั ษะดา้ นความเข้าใจต่างวัฒนธรรมต่างกระบวนทัศน์)

C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความรว่ มมอื การทำงานเป็นทมี และ
ภาวะผนู้ ำ)

 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทักษะดา้ นการสอื่ สารสารสนเทศและ

ร้เู ทา่ ทันสอื่ )

C6 - Computing and ICT Literacy (ทกั ษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

สื่อสาร)

 C7 - Career and Learning Skills (ทักษะอาชพี และทักษะการเรียนร้)ู

 C8 – Compassion (ความมีเมตตากรุณา วนิ ัย คุณธรรม จริยธรรม)

 L1 – Learning (ทักษะการเรยี นร้)ู

 L2 – Leadership (ทักษะความเปน็ ผนู้ ำ)

การวดั และประเมนิ ผล

ดา้ นความรู้

ภาระงาน/ วิธกี ารวัด เครื่องมอื เกณฑ์ท่ีใช้
ชน้ิ งาน

การอภปิ ราย ประเมนิ แบบประเมิน ระดับ 4 ดเี ยี่ยม 8-10 คะแนน
= ทำได้ทกุ ตัวช้ีวัด
ระดบั 3 ดี 7 คะแนน
= ทำได้มาก

ระดบั 2 พอใช้ 6 คะแนน
= ทำได้นอ้ ย
ระดบั 1 ต้องปรับปรงุ
1-5 คะแนน

ดา้ นทักษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ วธิ ีการวดั เครอ่ื งมอื เกณฑ์ทใี่ ช้
ช้ินงาน

การอภิปราย ประเมนิ แบบประเมิน ระดับ 4 ดเี ย่ียม 8-10 คะแนน
= ทำไดท้ กุ ตวั ช้ีวดั
ระดับ 3 ดี 7 คะแนน
= ทำได้มาก
ระดบั 2 พอใช้ 6 คะแนน
= ทำได้นอ้ ย
ระดบั 1 ตอ้ งปรบั ปรงุ
1-5 คะแนน

ดา้ นคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

ภาระงาน/ วธิ ีการวดั เครอ่ื งมือ เกณฑ์ทใ่ี ช้
ชน้ิ งาน

-ใฝร่ ้ใู ฝ่เรยี น สังเกตจากพฤตกิ รรมการเรียน สงั เกต ระดบั 3 ดี 8-10 คะแนน
-มงุ่ มน่ั การ = ทำได้ดี
ทำงาน ระดบั 3 ดี 6-7 คะแนน
= ทำได้พอใช้
ระดบั 1 ทำได้ 1-5 คะแนน
= ตอ้ งปรบั ปรงุ

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ใช้กระบวนการจดั กิจกรรมการเรียนรแู้ บบ
ขน้ั ที่ 1 นำเข้าส่บู ทเรยี น

1) เปิดตัวอยา่ งยูธูปการอภิปรายแสดงความคดิ เห็นให้นกั เรยี นดูแลว้ สอบถามวา่ คอื การพูดในลักษณะใด
2) เม่ือนกั เรียนตอบได้ว่าเป็นการอภิปรายแสดงความคิดเหน็ ก็เปิดวีดโี อเร่ืองการอภปิ รายแสดงความคิดเหน็
ขน้ั ท่ี 2 สอน
1) ครูเปดิ ยูธปู เรอ่ื งการพูดอภิปรายแสดงความคิดเหน็ ให้นักเรยี นดแู ละอธบิ ายถามคำถามเพ่ือใหน้ กั เรยี นให้

เขา้ ใจชดั เจนมากย่งิ ข้ึน

2) แบ่งกลุ่มนักเรยี นออกเป็น 4 กลมุ่ เพอ่ื อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ เรอื่ งตอ่ ไปนี้

1. การแกไ้ ขปญั หาความสะอาดภายในโรงเรยี น

2. การแกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ ในสงั คมไทย

3. การแก้ไขปญั หาการมคี รอบครัวกอ่ นถึงวัยอนั ควร

4. การแกไ้ ขปัญหาวนิ ัยจราจรในสังคมไทย

3) ใหเ้ ลขานุการกลุ่มสรุปผลการอภปิ ราย

ข้ันที่ 3 สรุป

1. ครูสรปุ การอภิปรายอกี คร้งั
ส่ือ/แหล่งเรยี นรู้

ส่อื การเรยี นรู้
1.ยูธูปเร่อื งการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
2.ใบความรู้เรือ่ งการอภิปราย

แหล่งเรยี นรู้
1.อนิ เตอร์เน็ต
2.คลาสรมู

สรปุ ผลการจดั การเรียนรู้

ดา้ นความรู้

กลมุ่ ผเู้ รยี น ชว่ งคะแนน จำนวน (คน) คดิ เป็นรอ้ ยละ

ดี 8-10 117 50
ปานกลาง 6-7 117 50
ปรับปรุง 0-5 --

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ ช่วงคะแนน จำนวน (คน) คดิ เป็นรอ้ ยละ
กลมุ่ ผเู้ รยี น 8-10 117 50
ดี 6-7 117 50
ปานกลาง 0-5 - -
ปรบั ปรุง

ด้านคณุ ลักษะอันพงึ ประสงค์

กลมุ่ ผู้เรยี น ชว่ งระดบั คณุ ภาพ จำนวน (คน) คิดเปน็ ร้อยละ
117 50
ดี 3 117 50
- -
ปานกลาง 2

ปรับปรงุ 0-1

บันทึกหลงั การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ดา้ นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
นกั เรียนสามารถอภิปรายแกป้ ัญหาเร่ืองตา่ งๆได้
ปัญหาที่พบระหวา่ งหรือหลังจดั กิจกรรม
เนอ่ื งจากสถานการณ์โควดิ ทำใหน้ ักเรียนมปี ัญหาเรอื่ งสัญญาณอนิ เตอร์เน็ตอยู่บา้ ง
ข้อเสนอแนะ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื ........................................................ผู้สอน
(นางสาวมยุรี จรญั รักษ์)
7 / 11 /256

การตรวจสอบและความคดิ เห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้
 สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชว้ี ัดของหลกั สูตรฯ
 กจิ กรรมการเรยี นร้เู นน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคัญ
 มกี ารวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ มคี วามหลากหลายเหมาะสมกบั ผู้เรียน
 ใช้สอ่ื หรือแหลง่ เรยี นรทู้ ่ีทนั สมยั และสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
 สอดคลอ้ งตามจดุ เนน้ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สพฐ. และจุดเนน้ ของโรงเรียน
 สง่ เสริมทกั ษะ 3Rs x 8Cs x 2Ls  สง่ เสรมิ เบญจวถิ กี าญจนา

ลงชื่อ..............................................................
(นางสาวอรพิณ สนั เส็น)

หวั หน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

การตรวจสอบและความคิดเหน็ ของหวั หน้ากล่มุ บริหารวิชาการ

 ถกู ต้องตามรปู แบบของโรงเรยี น

 ผ่านการนเิ ทศตรวจสอบจากหวั หนา้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้/กรรมการนิเทศ

 ก่อนใช้สอน  หลงั ใช้สอน

 มบี ันทกึ หลงั จัดกิจกรรมการเรียนรู้

ลงช่ือ..............................................................
(นายธนพนั ธ์ เพ็งสวสั ด์ิ)

หวั หน้ากลมุ่ บริหารวชิ าการ
ความคิดเห็นของรองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................

ลงช่ือ....................................................................
(นางสาวชณดิ าภา เวชกลุ )

รองผู้อำนวยการโรงเรยี น กลุ่มบริหารงานวชิ าการ

ความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรยี น
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………….........................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………........................................................

ลงชอ่ื ....................................................................
( นางพรทพิ ย์ นุกูลกจิ )

ผู้อำนวยการโรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลยั สรุ าษฎร์ธานี

การอภปิ ราย
การอภปิ รายเปน็ การพูดซึง่ ผพู้ ดู ประกอบด้วยกลมุ่ บคุ คลท่มี เี จตนาจะพจิ ารณาเรอ่ื งใดเร่อื งหนงี่
หรือปรึกษาหารอื ออกความคิดเห็นเพื่อแกป้ ัญหาที่มีอยู่หรอื เพื่อเปน็ การแลกเปลยี่ นคามรคู้ วามเหน็
ถ่ายทอดประสบการณ์ทีไ่ ด้รบั มาในที่สุดก็มกี ารตัดสนิ ใจวา่ ควรทำอยา่ งไร

ความสำคัญของการอภิปราย
ในสงั คมปจั จุบันการอภปิ รายมีบทบาทมากทง้ั ในด้านการศกึ ษา สังคม การเมอื ง ศาสนา
ในด้านการศึกษา การอภปิ รายอาจใช้เป็นวิธกี ารสอนแบบหนึ่งในชนั้ เรยี น นับตัง้ แต่การศกึ ษาระดับ
มธั ยมศึกษาตอนปลายเปน็ ต้นไป การเรียนแบบอภิปรายจะช่วยใหน้ ักเรียนนักศกึ ษาได้รบั ความร้ดู ้วยเหตผุ ล เปน็ การ
ชว่ ยให้เกดิ ความคิด ไดแ้ สดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยนความรู้ซงึ่ กนั และกนั ทำให้เกิดความคิดริเร่ิม มเี หตุผลและร่วม
ทำงานกับผอู้ ่นื ได้

ในดา้ นสงั คม การอภปิ รายมีบทบาทสำคัญมากในสังคมปัจจบุ นั เพราะการอภปิ รายจะชว่ ยให้บุคคลรู้จกั รบั
ฟังความคิดเหน็ ของผู้อนื่ มใี จกว้าง มีเหตุผลและรว่ มทำงานกับผอู้ ืน่ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
สามารถปฏิบัตติ นไดเ้ หมาะสมในสงั คมประชาธิปไตย

ในด้านการเมือง การอภิปรายเปน็ การเผยแพรค่ วามรนู้ โยบายของรฐั บาลให้ประชาชนเข้าใจ ใน
ขณะเดยี วกันรฐั บาลกม็ โี อกาสทราบความคิดเหน็ ของบคุ คลตลอดจนประชามติทั่วไป

ในด้านศาสนา การเผยแผ่ศาสนาสมัยนีก้ ็ใชว้ ิธอี ภปิ รายกันมาก เพราะเป็นการให้ความรู้อย่าง
กว้างขวาง ผอู้ ภปิ รายแต่ละคนยอ่ มมีความคดิ เห็นแตกต่างกนั ทำให้ผฟู้ ังเข้าใจไดอ้ ย่างชัดเจนขึน้

รปู แบบของการอภปิ ราย
การอภิปรายมีหลายรปู แบบ แต่ละรูปแบบมีลักษณะเฉพาะท่ีแตกตา่ งกนั โดยทัว่ ไปจะมอี ยู่
๒ แบบได้แก่
๑.การอภิปรายกลมุ่ โดยทัว่ ไปเปน็ การอภปิ รายเพ่ือศกึ ษาหรอื แลกเปลีย่ นความคดิ เห็นของกลุ่มบุคคล
การอภิปรายแบบนี้เหมาะสำหรบั การศกึ ษาในชัน้ เรยี น การประชุมสมั นา การประชุมสโมสร สมาคมและหนว่ ยงาน
ท่ัว ๆไป
๒.การอภิปรายแบบคณะหรอื แบบพาเนล(Panel)เป็การประชุมโดยจัดให้มีคณะผู้อภปิ รายประมาณ
๒– ๗ คน ผ้อู ภปิ รายเป็นผู้ศึกษาหารความรหู้ รอื ค้นควา้ หาหลักฐานข้อเท็จจริงในเร่อื งทอ่ี ภิปรายแลว้
มาพดู ตอ่ หน้าผฟู้ งั มีบุคคลหนึง่ ทำหน้าท่ีเปน็ ผู้ดำเนนิ การอภปิ ราย ทำหน้าที่กำหนดหวั ขอ้ อภปิ รายและชว่ งเวลาให้ผู้
อภปิ รายแตล่ ะคนไดพ้ ูด เมอ่ื ผอู้ ภิปรายแตล่ ะคนกล่าวจบ ผู้ดำเนินการอภิปรายจะกลา่ วสรุปประเด็นสำคัญอกี คร้งั
หน่งึ การอภปิ รายแบบนี้ เปน็ การอภิปรายที่คณะผ้อู ภิปรายแสดงความคดิ เห็น
ซกั ถามโตต้ อบกันเอง แล้วสรปุ ผล ตอนท้ายเปดิ โอกาสให้ผูฟ้ ังซักถามและรว่ มอภิปรายด้วย การอภปิ รายแบบนีใ้ ช้ใน
การศกึ ษา การสัมนาปญั หาหรือเพือ่ เผยแพร่ให้สังคมสว่ นใหญ่เข้าใจสิ่งท่ยี ังเขา้ ใจไม่ถกู ต้อง

การเตรียมการอภปิ ราย
ผูร้ ่วมอภิปรายทุกคนควรเตรยี มการอภิปรายไว้ลว่ งหน้าดงั น้ี
๑. ศึกษาจุดมงุ่ หมายของการอภปิ รายว่าจัดข้นึ เพื่อเสนอข้อคิดเห็นหรอื เพอ่ื ลงมติ
๒. ศกึ ษาลกั ษณะอุปนสิ ัย พื้นความรูแ้ ละความร้สู กึ นกึ คิดของผู้ร่วมอภปิ รายแต่ละคนเพอื่ ประโยชนแ์ ก่
การอภปิ รายและลงความเห็นรว่ มกนั ได้
ผู้ดำเนินการอภิปรายควรไดเ้ ตรียมการดงั น้ี
๑. เตรียมหวั ขอ้ อภิปรายโดยดำเนนิ การเป็นข้นั ๆคือ
ก.พจิ ารณาเลอื กหวั ข้อสำหรบั อภิปราย
ข.จัดลำดับหวั ขอ้ สำคัญทก่ี ำหนดไว้
ค.พิจารณาหัวข้อย่อหรือหวั ขอ้ สำคญั ท่พี ึงมี
ง.พจิ ารณาปญั หาทีอ่ าจเกิดขนึ้ จากมตขิ องการอภปิ รายและการแก้ไขปัญหานั้น ๆ
๒. พิจารณาคณุ สมบัติของผ้รว่ มอภิปรายในด้านขดี ความสามารถและทศั นคติเพ่อื กำหนดหัวข้อให้พูดหรอื
ต้ังคำถามเพ่ือให้ตอบได้อยา่ งเหมาะสม
๓. ปัญหาเรื่องทีจ่ ะนำมาอภิปรายควรมลี กั ษณะดังนี้
ก.ไมค่ วรเป็นปัญหาท่ีกวา้ งจนเกนิ ไปจนสรุปผลไม่ได้
ข.ควรเป็นปญั หาทม่ี สี าระทีเ่ สนอแนะใหน้ ำไปปฏิบตั เิ พอื่ ประโยชนส์ ่วนรวม


Click to View FlipBook Version