The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การงบประมาณ การคลังและการใช้
จ่ายงบประมาณขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น (173หน้า)

อ.วิภา ธูสรานนท์
บรรยายหลักสูตรนายกใหม่ ม.ธรรมศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by makenodown, 2021-09-09 08:47:16

การงบประมาณ การคลังและการใช้ จ่ายงบประมาณ

การงบประมาณ การคลังและการใช้
จ่ายงบประมาณขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น (173หน้า)

อ.วิภา ธูสรานนท์
บรรยายหลักสูตรนายกใหม่ ม.ธรรมศาสตร์

การงบประมาณ การคลงั และการใช้
จา่ ยงบประมาณขององคก์ รปกครอง

สว่ นทอ้ งถน่ิ

อ.วภิ า ธูสรานนท์

1
1

หลกั การบรหิ ารงานและการใชจ้ า่ ยเงนิ ของ อปท.

การบรหิ ารงาน ๑.อานาจหนา้ ท่ี ➢ กฎหมายจดั ตง้ั
ตามกฎหมาย ➢ กฎหมายภารกจิ ถ่ายโอน
(หลกั /สง่ เสรมิ ) ➢ กฎหมายอน่ื

๒. ประโยชนส์ ูงสดุ ประโยชน์สาธารณะ พจิ ารณาพ้นื ท่รี บั ผิดชอบกอ่ น

การใชจ้ า่ ยเงนิ ๑. ขอ้ ปฏบิ ตั ิ (ระเบยี บ/ขอ้ บงั คบั ) หากไม่มีจา่ ยไม่ได้
ของ อปท. ๒. งบประมาณ หลกั ความคมุ้ คา่ มีประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล
เป็นไปตามวิธงี บประมาณ
๓. ดลุ พนิ ิจ (ชอบดว้ ยกฎหมาย) จาเป็น/เหมาะสมและประหยดั

๔. โปร่งใส/ตรวจสอบได้ (เปิดเผย/เอกสารถูกตอ้ ง) มีหลกั ฐานช้ีแจง

กฎหมายท่กี าหนดอานาจหนา้ ท่ขี อง อปท.

กฎหมายจดั ตง้ั กฎหมาย กฎหมายอน่ื
ถา่ ยโอนภารกจิ

▪ พ.ร.บ. อบจ. พ.ศ.๒๕๔๐ ▪ พ.ร.บ.กาหนดแผนและขน้ั ตอน ▪ พรบ. ป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั
การกระจายอานาจใหแ้ ก่ อปท. พ.ศ. พ.ศ. ๒๕๕๐
และกฎกระทรวง ๒๕๔๒
▪ พ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ ▪ พ.ร.บ.โรคตดิ ต่อ พ.ศ.๒๕๕๘
▪ พ.ร.บ. สภาตาบล และ อบต. ▪ ประกาศคณะกรรมการการกระจาย ▪ พ.ร.บ.โรคระบาดสตั ว์ พ.ศ.๒๕๕๘
อานาจ ใหแ้ ก่ อปท. ▪ พ.ร.บ.สาธารณสขุ พ.ศ.๒๕๓๕
พ.ศ. ๒๕๓๗ เรอ่ื ง กาหนดอานาจและหนา้ ท่ี
ในการจดั ระบบบรกิ ารสาธารณะของ ฯลฯ
อบจ. ลงวนั ท่ี ๑๓ สงิ หาคม ๒๕๔๖
3

การตรวจสอบ แผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ ขอ้ บญั ญตั /ิ เทศบญั ญตั ิ
การบญั ชี ตามอานาจหนา้ ท่ี งบประมาณรายจา่ ย

วงจรการคลงั งานพสั ดุ
ของ อปท.

การเบกิ จา่ ย

ระเบยี บการคลงั

❖ระเบยี บ มท.ว่าดว้ ยการจดั ทาแผนพฒั นาของ อปท. พ.ศ.๒๕๔๘ และท่แี กไ้ ขเพม่ิ เติม
❖ระเบยี บ มท.วา่ ดว้ ยวธิ กี ารงบประมาณของ อปท. พ.ศ.๒๕๔๑
❖ระเบยี บ มท. วา่ ดว้ ยการรบั เงนิ การเบกิ จา่ ยเงนิ การฝากเงนิ การเกบ็ รกั ษาเงนิ และการตรวจเงนิ ของ อปท.

พ.ศ. ๒๕๔๗ และท่แี กไ้ ขเพม่ิ เตมิ ถงึ ฉบบั ท่ี ๔ พ.ศ. ๒๕๖๑

➢ ระเบียบ มท.ว่าดว้ ยเงนิ อดุ หนุน ของ อปท. พ.ศ.๒๕๕๙
➢ ระเบียบ มท.วา่ ดว้ ยการเบิกจา่ ยค่าใชจ้ า่ ยในการจดั งาน การจดั การแข่งขนั กฬี าและการสง่ นกั กฬี าเขา้ ร่วมการแข่งขนั กฬี า ของ อปท.

พ.ศ.๒๕๕๙ ) (ระเบยี บฉบบั ใหม่ รอลงประกาศราชกจิ จานุเบกษา)
➢ ระเบียบ มท.ว่าดว้ ยค่าใชจ้ า่ ยเพอ่ื ช่วยเหลอื ประชาชนตามอานาจหนา้ ท่ีของ อปท. พ.ศ.๒๕๖๐
➢ ระเบียบ มท.วา่ ดว้ ยค่าใชจ้ า่ ยใหแ้ กอ่ าสาสมคั รป้ องกนั ภยั ฝ่ ายพลเรอื น ของ อปท. พ.ศ.๒๕๖๐
➢ ระเบยี บ มท.ว่าดว้ ยรายจา่ ยเก่ยี วกบั ทนุ การศึกษาสาหรบั นกั ศึกษา และการใหค้ วามช่วยเหลอื นกั เรียน ของ อปท. พ.ศ.๒๕๖๑
➢ ระเบยี บ มท.ว่าดว้ ยค่าใชจ้ า่ ยในการเดินทางไปราชการของเจา้ หนา้ ท่ที อ้ งถ่นิ พ.ศ. ๒๕๕๕
➢ ระเบียบ มท.ว่าดว้ ยค่าใชจ้ า่ ยในการฝึกอบรม และการเขา้ รบั การฝึกอบรมของเจา้ หนา้ ท่ีทอ้ งถ่นิ พ.ศ. ๒๕๕๗
➢ ระเบยี บ มท.วา่ ดว้ ยการเบกิ จา่ ยเงนิ ตอบแทนการปฏบิ ตั ิงานนอกเวลาราชการของ อปท. พ.ศ. ๒๕๕๙
➢ ระเบยี บ มท. ว่าดว้ ยการใชแ้ ละรกั ษารถยนตข์ อง อปท. พ.ศ.๒๕๔๘
➢ ระเบยี บ มท วา่ ดว้ ยรายไดแ้ ละการจา่ ยเงนิ ของสถานศึกษาสงั กดั อปท. พ.ศ. ๒๕๖๒
➢ ระเบียบ มท. วา่ ดว้ ยการเบกิ ค่าใชจ้ า่ ยในการบรหิ ารงานของ อปท. พ.ศ. ๒๕๖๒

ฯลฯ 5

ทบทวนแผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๕)

(หนงั สอื มท. ดส. ท่ี มท ๐๘๐๑.๓ /ว ๒๙๓๑ ลว. ๑๕ พ.ค. ๒๕๖๒)

๓.๔ ครุภณั ฑ์ ท่ดี นิ และสง่ิ ก่อสรา้ งท่ตี อ้ งนามาบรรจุในแผนพฒั นา
ทอ้ งถ่นิ ใหจ้ ดั ทาเฉพาะท่อี ยู่ในโครงการพฒั นาท่ดี าเนินการจดั ทาบรกิ าร
สาธารณะและกจิ กรรมสาธารณะ เพอ่ื ประชาชนไดใ้ ช/้ รบั ประโยชน์

๓.๕ โครงการรายจา่ ยตามแผนงานท่เี ป็นรายจา่ ยประจา หมวด
เงนิ เดือน และค่าจา้ งประจา หมวดค่าจา้ งชวั่ คราว หมวดค่าสาธารณูปโภค
หมวดรายจา่ ยอน่ื หมวดค่าตอบแทน ใชส้ อยและวสั ดุ ไม่ตอ้ งนามาบรรจใุ น
แผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ ยกเวน้ ประเภทรายจา่ ยเกย่ี วเน่ืองในการปฏบิ ตั ริ าชการท่ี
ไม่เขา้ ลกั ษณะรายจา่ ยหมวดอน่ื ๆ เฉพาะการจดั กจิ กรรมสาธารณะ

แนวทางการดาเนินการแผนพฒั นาทอ้ งถ่นิ

(หนงั สอื มท. ดส. ท่ี มท ๐๘๑๐.๓/ว ๓๘๖๗ ลว. ๖ ก.ค. ๒๕๖๔)

๖. โครงการดงั ต่อไปน้ี ไม่ตอ้ งจดั ทาแผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ
- กรณีเกดิ สาธารณภยั ตาม พ.ร.บ.ป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ.
๒๕๕๐ และ
- การดาเนินการป้ องกนั เหตทุ ่จี ะเกดิ ตาม พ.ร.บ.โรคตดิ ตอ่ พ.ศ. ๒๕๕๘
- เหตฉุ ุกเฉินท่ไี ม่สามารถป้ องกนั ได้
- มีเหตจุ าเป็ นเรง่ ด่วน หากไม่ดาเนินการแกไ้ ขจะก่อใหเ้ กิดความ
เสยี หายต่อราชการหรอื ประชาชน

กรณีไม่ตอ้ งแกไ้ ข หรอื เปลย่ี นแปลงหรอื เพม่ิ เติมแผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ

(หนงั สอื ท่ี มท ๐๘๐๑.๓/ว ๖๗๓๒ ลว. ๖ พ.ย. ๒๕๖๒)

▪ เม่ือใชแ้ ผนพฒั นาทอ้ งถ่นิ เป็ นกรอบในการจดั ทางบประมาณแลว้
▪ เม่ือสภาทอ้ งถน่ิ ใหค้ วามเหน็ ชอบวธิ กี ารงบประมาณแลว้
▪ ต่อมาภายหลงั เกณฑร์ าคากลาง หรอื บญั ชีราคามาตรฐานครุภณั ฑห์ รอื

ราคากลางโครงสรา้ งพ้นื ฐาน มีคณุ ลกั ษณะ มาตรฐาน ราคาปรบั

เปลย่ี นไปหรอื เพอ่ื ใหเ้ ป็ นไปตาม พรบ.จดั ซ้ือจดั จา้ ง
▪ ใหด้ าเนินการตามวธิ ีการงบประมาณ

การใชจ้ า่ ยงบประมาณ/เงนิ นอกงบประมาณ

และเงนิ อดุ หนุนเฉพาะกจิ ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ

และการจดั ขอ้ บญั ญตั ิ/เทศบญั ญตั ิงบประมาณ

-พ.ร.บ.วนิ ัยการเงินการคลงั ของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑
-พ.ร.บ.วธิ ีการงบประมาณ พ.ศ. 2561
-ระเบยี บว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2562
-หลกั เกณฑ์ว่าด้วยการใช้งบประมาณรายจ่าย การโอนเงินจดั สรรหรือการ
เปลยี่ นแปลงเงินจัดสรร พ.ศ. ๒๕๖๒
-ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถนิ่ พ.ศ. 2563(มีผลใช้บงั คบั วนั ท่ี 26 พ.ย. 2563)

พ.ร.บ.วนิ ยั การเงนิ การคลงั ของรฐั พ.ศ. ๒๕๖๑

มาตรา ๖๕ การจดั ทางบประมาณขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ตอ้ งทา
อย่างโปรง่ ใส และตรวจสอบได้ โดยตอ้ งพจิ ารณา ผลสมั ฤทธ์ิ ความคมุ้ คา่
ความประหยดั และภาระทางการคลงั ท่จี ะเกดิ ข้ึนในอนาคต

มาตรา ๖๖ การจดั ทางบประมาณประจาปีขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน
ใหพ้ จิ ารณาฐานะการคลงั ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ความจาเป็ นท่ี
ตอ้ งใชจ้ า่ ยเงนิ งบประมาณ การจดั เกบ็ รายได้ ในปี งบประมาณน้นั โดยให้
ปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย ว่าดว้ ยการจดั ตง้ั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ และ
พระราชบญั ญตั นิ ้ี

10

รายการเงนิ อดุ หนุนท่ตี ามประกาศ กกถ.

ประกาศ กกถ. เร่อื ง หลกั เกณฑก์ ารจดั สรรเงนิ อดุ หนุนทวั่ ไปใหแ้ ก่ อปท.
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

ขอ้ ๔ ใหอ้ ปท.นาเงนิ อดุ หนุนทวั่ ไปท่ไี ดร้ บั จดั สรร ไปจดั ทาขอ้ บญั ญตั /ิ เทศบญั ญตั ิ
งบประมาณรายจา่ ยประจาปี หาก อปท.นาไปใชจ้ า่ ยและมีเงนิ เหลอื จา่ ย ใหต้ กเป็น
เงนิ สะสมของ อปท.

ยกเวน้ เงนิ อดุ หนุนดงั ตอ่ ไปน้ี ใหอ้ ปท.นาไปใชจ้ า่ ยตามรายการท่กี าหนด โดยมติ อ้ งจดั ทา
ขอ้ บญั ญตั /ิ เทศบญั ญตั ิ หากมเี งนิ เหลอื จา่ ย และอปท.มิไดส้ ง่ คนื เป็ นรายไดแ้ ผ่นดิน ใหน้ าเงนิ
เหลอื จา่ ยไปใชต้ ามวตั ถปุ ระสงคท์ ่กี าหนดในปี ๒๕๖๕ หรอื ปีต่อๆไป
-เงนิ อดุ หนุนสนบั สนุนการถ่ายโอนบคุ ลากร (เงนิ เดอื น/คา่ จา้ ง,สทิ ธิประโยชน์)
-เงนิ อดุ หนุนการจดั การศึกษาภาคบงั คบั (คา่ การศึกษาของบตุ ร)(คา่ เช่าบา้ น)(คา่ บาเหน็จ บานาญ)

11

ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา่ ดว้ ยวธิ ีการงบประมาณ

ขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน พ.ศ. 2563
(มีผลใชบ้ งั คบั วนั ท่ี 26 พ.ย. 2563)

เงนิ งบประมาณของ อปท.

๑. เงนิ งบประมาณของ อปท. มี ๒ สว่ น

๑.๑. เงนิ งบประมาณ
๑.๒. เงนิ นอกงบประมาณ

๒. เงนิ งบประมาณของอปท.ตอ้ งจดั ทาขอ้ บญั ญตั ิ/เทศบญั ญตั งิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี ดงั น้ี

2.1 ประมาณการรายรบั ไดแ้ ก่ รายไดท้ ่จี ดั เกบ็ เอง รายไดภ้ าษีจดั สรร เงนิ รายไดอ้ น่ื และเงนิ อดุ หนุน
ทวั่ ไป

2.2 งบประมาณรายจา่ ย โดยการนาขอ้ มูลประมาณการรายรบั ลว่ งหนา้ มา ประมาณการรายจา่ ย
จา่ ยลว่ งหนา้ และหากในระหว่างปีเงนิ รบั จรงิ เกนิ ประมาณการรายรบั ทง้ั ฉบบั กส็ ามารถ
นาสว่ นท่เี กนิ มาตง้ั งบประมาณรายจา่ ยเพม่ิ เติมได้

๓. เงนิ นอกงบประมาณ ไม่ตอ้ งตราขอ้ บญั ญตั ิ/เทศบญั ญตั งิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี เช่น

เงนิ สะสม เงนิ ทนุ สารองเงนิ สะสม เงนิ กู้ เงนิ อดุ หนุนเฉพาะกจิ เงนิ อดุ หนุนทวั่ ไปแบบระบุ
วตั ถปุ ระสงค์

เงนิ รายรบั ท่ีอปท.ตอ้ งนามาจดั ทางบประมาณรายจา่ ย

๑.รายไดท้ ่ี อปท.จดั เกบ็ เอง ประมาณการ ประมาณการรายจา่ ย
๒.เงนิ ภาษีจดั สรร รายรบั ตามรา่ งขอ้ บญั ญตั /ิ
๓.เงนิ อดุ หนุนทวั่ ไป (รวม )
๔.รายไดอ้ น่ื เทศบญั ญตั ิ
1. รายจา่ ยงบกลาง
2. รายจา่ ยตามแผนงาน
-งบบคุ ลากร
-งบดาเนินงาน
-งบลงทนุ
-งบเงนิ อดุ หนุน
-งบรายจา่ ยอน่ื

เงนิ ท่ี อปท.ไม่ตอ้ งจดั ทางบประมาณรายจา่ ย

ข้อ ๓๕ การใช้จ่ายเงนิ อุดหนุนเฉพาะกจิ เงนิ กู้ เงนิ สะสม หรือ
เงนิ อดุ หนุนจากกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดทมี่ ลี กั ษณะให้ อปท.
ดาเนินการตามทร่ี ะบุไว้เป็ นการเฉพาะโดยไม่มเี ง่ือนไข
ให้ อปท. พจิ ารณาดาเนินการตามทรี่ ะบุไว้โดยไม่ต้องตราเป็ นงบประมาณรายจ่ายตาม
ระเบียบนี้

วรรคสอง เงนิ ท่ไี ดร้ บั ในลกั ษณะคา่ ชดใชค้ วามเสยี หาย หรอื ส้นิ เปลอื งแหง่
ทรพั ยส์ นิ และจาเป็นจะตอ้ งจา่ ยเพอ่ื บูรณะทรพั ยส์ นิ หรอื จดั ใหไ้ ดท้ รพั ยส์ นิ คนื มา

ใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ พจิ ารณาดาเนินการตามระเบยี บท่เี ก่ียวขอ้ ง
โดยไม่ตอ้ งตราเป็นงบประมาณรายจา่ ยตามระเบยี บน้ี

(ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา่ ดว้ ยวธิ ีการงบประมาณขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น พ.ศ. 2563
(มีผลใชบ้ งั คบั วนั ท่ี 26 พ.ย. 2563)

หลกั การสาคญั ในการตง้ั งบประมาณและการจา่ ยเงนิ

ขอ้ ๙ เงินรายจ่ายประจาปี ของ อปท.ให้ ขอ้ ๓๔ อปท. จะจา่ ยเงนิ หรอื ก่อหน้ีผูกพนั
จดั ทาเป็นงบประมาณรายจ่ายประจาปี ไดต้ ามขอ้ ความท่กี าหนดไวใ้ นงบประมาณ
และใหม้ ีประมาณการรายรับประกอบ รายจา่ ยประจาปี หรอื งบประมาณรายจา่ ย
งบประมาณรายจ่ายประจาปี ดว้ ย เพม่ิ เตมิ ทง้ั น้ี ตอ้ งมกี ฎหมาย ระเบยี บ
ขอ้ บงั คบั คาสงั่ หรอื หนงั สอื สงั่ การ มท.
ขอ้ ๑๖ การตง้ั งบประมาณ อนุญาตใหจ้ า่ ย และมีเงนิ รายไดเ้ พยี งพอท่จี ะ
รายจา่ ยเพอ่ื เป็นคา่ ใช่จา่ ยของ เบกิ จา่ ยได้
อปท.ใหก้ ระทาตามท่มี ีกฎหมาย
ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั คาสงั่ หรอื 16
หนงั สอื สงั่ การ มท.กาหนด

การจดั ทาขอ้ บญั ญตั ิ/ เงนิ นอกงบประมาณ
เทศบญั ญตั งิ บประมาณ ประมาณการรายรบั
ประมาณการรายจา่ ย เงนิ อดุ หนุน เงนิ อดุ หนุน
รายจา่ ยประจาปี - รายไดจ้ ดั เกบ็ เอง ทวั่ ไปกาหนด เฉพาะกจิ
- ใชแ้ ผนพฒั นาทอ้ งถ่ิน วตั ถปุ ระสงค์
- รายไดภ้ าษีจดั สรร เป็ นกรอบ
- รายไดอ้ ดุ หนุน - บูรณาการแผนงาน ทนุ สารองเงนิ
โครงการโดยสอดคลอ้ ง สะสม
ทวั่ ไป กบั ยทุ ธศาสตรจ์ งั หวดั
รายรบั - รายไดอ้ น่ื และยทุ ธศาสตร์ คสช.
รายจา่ ย - จาแนกตาม แผนงาน/
โครงการ
เงนิ กู้ เงนิ สะสม

ผ่านการ รายละเอยี ดประกอบการพจิ ารณา ไม่ตอ้ งจดั ทาขอ้ บญั ญตั งิ บประมาณ
พจิ ารณาของ ของสภาทอ้ งถ่นิ เป็นไปตามท่ี มท.กาหนด
สภาทอ้ งถน่ิ ๑. สทิ ธปิ ระโยชน์ขา้ ราชการและลกู จา้ งถา่ ยโอน
๒. เงนิ เดือนและคา่ จา้ งสาหรบั ขา้ ราชการ
ผ่านการ - พ.ร.บ.องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั พ.ศ.๒๕๔๐
พจิ ารณาของ มาตรา ๕๓ และลูกจา้ งถา่ ยโอน
ผวจ./นอ. - พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ.๒๔๙๖ มาตรา ๖๒ ๓. การจดั การศึกษาภาคบงั คบั (การศึกษาบตุ ร)
- พ.ร.บ. สภาตาบลและ อบต. พ.ศ.๒๕๓๗ ๔. การจดั การศึกษาภาคบงั คบั (คา่ เช่าบา้ น)
มาตรา ๘๗ ๕. การจดั การศึกษาภาคบงั คบั (คา่ บาเหน็จ
บานาญ)

การโอนเงนิ งบประมาณ

การโอนเงนิ ขอ้ ๒๖
งบประมาณรายจา่ ยตา่ ง ๆ ใหเ้ ป็นอานาจอนุมตั ิของผูบ้ รหิ าร
ทอ้ งถ่นิ

การโอนเงนิ งบประมาณรายจา่ ย ขอ้ ๒๗ ใหเ้ ป็นอานาจอนุมตั ิ
ในงบลงทนุ โดยการโอนเพ่มิ โอนลด ของสภาทอ้ งถน่ิ
ท่ที าใหล้ กั ษณะ ปรมิ าณ คณุ ภาพเปล่ียน
หรอื โอนไปตง้ั จา่ ยเป็ นรายการใหม่

การแกไ้ ขเปล่ยี นแปลงคาช้ีแจง

การแกไ้ ขเปลย่ี นแปลงคาช้ีแจง ขอ้ ๒๘ ใหเ้ ป็นอานาจอนุมตั ขิ อง
ผูบ้ รหิ ารทอ้ งถ่นิ
ประมาณการรายรบั หรอื งบประมาณรายจา่ ย

การแกไ้ ขเปล่ยี นแปลงคาช้ีแจง ขอ้ ๒๙ ใหเ้ ป็นอานาจอนุมตั ิของ
งบประมาณรายจา่ ยในงบลงทนุ ขอ้ ๓๐ สภาทอ้ งถน่ิ
ท่ที าใหล้ กั ษณะ ปรมิ าณ คณุ ภาพเปล่ียน
หรอื เปล่ยี นแปลงสถานท่กี ่อสรา้ ง จะกระทาไดต้ อ่ เม่อื ไดร้ บั อนุมตั ิ
จากผูม้ อี านาจใหก้ นั เงนิ
การแกไ้ ขเปล่ยี นแปลงคาช้ีแจง
งบประมาณรายการท่ไี ดก้ นั เงนิ หรือขยายเวลา หรอื ขยายเวลาการเบกิ จา่ ยเงนิ

การเบกิ จา่ ยเงนิ ไวแ้ ลว้

การแกไ้ ขเปลย่ี นแปลงคาช้ีแจง ขอ้ ๓๑ ใหเ้ ป็นอานาจอนุมตั ขิ อง
งบประมาณรายการท่ไี ดก้ อ่ หน้ีผูกพนั ไวแ้ ลว้ ผูบ้ รหิ ารทอ้ งถ่นิ

หากมไิ ดเ้ พม่ิ วงเงนิ

การกอ่ หน้ีผูกพนั มากกว่า ๑ ปีงบประมาณ

ขอ้ ๓๗ อปท. อาจกอ่ หน้ีผูกพนั งบประมาณรายจา่ ยมากกว่า 1 ปีงบประมาณได้ โดยความ
เหน็ ชอบของสภาทอ้ งถ่นิ ภายใตเ้ งอ่ื นไข ดงั ตอ่ ไปน้ี

(๑) ไม่อาจแยกงบประมาณ (๒) มีรายไดไ้ ม่เพยี งพอท่จี ะดาเนินการในปีงบประมาณเดยี ว
ตง้ั จา่ ยเพ่อื ดาเนินการในแต่ละ หรอื มคี วามจาเป็นตอ้ งกอ่ หน้ีผูกพนั งบประมาณรายจา่ ยมากกวา่
ปี งบประมาณได ้ หน่ึงปี งบประมาณ

(๓) จดั ทาเป็นงบประมาณรายจา่ ยโดยจะตอ้ ง (๔) ใหก้ อ่ หน้ีผูกพนั ไดไ้ ม่เกนิ ๓ ปีงบประมาณ
ระบใุ นงบประมาณรายจา่ ย ปีปจั จุบนั และ เวน้ แต่ กฎหมาย มตคิ ณะรฐั มนตรี ระเบยี บ ประกาศ
งบประมาณรายจา่ ยปีถดั ไป ท่จี ะกอ่ หน้ี ของกระทรวงมหาดไทยกาหนดไวเ้ ป็ นอยา่ งอน่ื
ผูกพนั ใหช้ ดั เจน

การเสนองบประมาณต่อสภาทอ้ งถน่ิ

ผูบ้ รหิ ารทอ้ งถ่นิ เสนอร่างงบประมาณรายจา่ ยประจาปีต่อ
สภาทอ้ งถ่นิ ภายในวนั ท่ี ๑๕ สงิ หาคม

กรณีเสนอไม่ทนั ขอขยายเวลาต่อประธานสภา
ทอ้ งถ่นิ

มีเอกสารประมาณการคา่ ใชจ้ า่ ย
โครงการกอ่ สรา้ งอกี หน่ึงเลม่
นอกเหนือจากขอ้ บญั ญตั ิ/เทศบญั ญตั ิ

การขอรบั เงนิ อดุ หนุนทวั่ ไปและเงนิ อดุ หนุนเฉพาะกิจ
(พ.ร.บ.วธิ ีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑)

มาตรา ๒๙ การขอตง้ั งบประมาณรายจา่ ยเพอ่ื สนบั สนุน อปท. เป็นเงนิ อดุ หนุน
สาหรบั การดาเนินการโดยทวั่ ไป หรอื สาหรบั การดาเนินการในเร่อื งใดเร่อื งหน่ึง
เป็ นการเฉพาะ

๑. ให้ อปท. ดาเนินการ ย่นื คาขอตง้ั งบประมาณรายจา่ ยต่อ รมว.มท. เพอ่ื เสนอ
ตอ่ ผูอ้ านวยการ ทง้ั น้ี ตามหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และระยะเวลาท่ผี ูอ้ านวยการกาหนด

๒. การจดั สรรงบประมาณเป็นเงนิ อดุ หนุนสาหรบั การดาเนินการโดยทวั่ ไป
ของ อปท. ใหส้ านกั งบประมาณพจิ ารณาจดั สรรงบประมาณใหส้ อดคลอ้ งกบั กฎหมายว่า
ดว้ ยการกาหนดแผนและขน้ั ตอนการกระจายอานาจใหแ้ ก่ อปท.

การเบกิ จา่ ยเงนิ และการกนั เงนิ อดุ หนุนเฉพาะกจิ

มาตรา ๔๓ การขอเบกิ เงนิ จากคลงั ตามงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณใด
ใหก้ ระทาไดแ้ ตเ่ ฉพาะภายในปีงบประมาณน้นั

ในกรณีท่ีไม่สามารถเบิกเงินจากคลงั ไดภ้ ายในปี งบประมาณ ใหข้ ยาย
ระยะเวลาขอเบิกเงนิ จากคลงั ไดเ้ ฉพาะในกรณีท่หี น่วยรบั งบประมาณไดก้ ่อหน้ีผูกพนั
ไวก้ ่อนส้นิ ปี งบประมาณและไดม้ กี ารกนั เงนิ ไวต้ ามระเบยี บเก่ยี วกบั การเบิกจา่ ยเงนิ จาก
คลงั แลว้

การขยายเวลาขอเบกิ เงนิ จากคลงั ตามวรรคสอง ใหข้ ยายออกไปไดอ้ กี ไม่เกิน
หกเดือนของปี งบประมาณถดั ไป เวน้ แต่มีความจาเป็ นตอ้ งขอเบกิ เงนิ จากคลงั ภายหลงั
เวลาดงั กลา่ วใหข้ อทาความตกลงกบั กระทรวงการคลงั เพอ่ื ขอขยายเวลาออกไปไดอ้ กี
ไม่เกนิ หกเดอื น

ระเบียบว่าดว้ ยการบรหิ ารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

ขอ้ ๒๗ การโอนจดั สรร และหรอื การเปล่ยี นแปลงเงนิ จดั สรรท่ไี ดร้ บั อนุมตั ใิ ห้
ขยายเวลาเบกิ จา่ ยเงนิ จากคลงั ใหข้ อทาความตกลงกบั สานกั งบประมาณก่อน

ขอ้ ๒๘ นอกจากท่กี าหนดในขอ้ ๒๓ ขอ้ ๒๖ และขอ้ ๒๗
การโอนเงนิ จดั สรร จากผลผลติ หรอื โครงการใดๆ ไปตง้ั จา่ ยในผลผลติ
หรอื โครงการอน่ื ๆ (ภายในแผนงานเดียวกนั ) การเปล่ยี นแปลงเงนิ จดั สรร
การเปล่ยี นแปลงรายละเอยี ดของเงนิ จดั สรร (สาหรบั งบรายจา่ ยของ
หน่วยรบั งบประมาณ และงบบูรณาการ) “ใหถ้ อื ปฏบิ ตั ิตามหลกั เกณฑ์
วา่ ดว้ ยการใชง้ บประมาณรายจา่ ย การโอนเงนิ จดั สรร หรอื การเปล่ยี นแปลงเงนิ
จดั สรรท่สี านกั งบประมาณกาหนด”

การแกไ้ ขสญั ญาหรอื ขอ้ ตกลง

มาตรา 97 วรรคสาม “ การแกไ้ ขสญั ญาหรอื ขอ้ ตกลงตามวรรคหน่ึงหรอื วรรคสองจะตอ้ งปฏบิ ตั ติ าม

กฎหมายว่าดว้ ยวธิ กี ารงบประมาณหรอื กฎหมายอน่ื ท่เี กย่ี วขอ้ ง หากมคี วามจาเป็นตอ้ งเพม่ิ หรอื ลด

วงเงนิ หรอื เพม่ิ หรอื ลดระยะเวลาสง่ มอบหรอื ระยะเวลาในการทางานใหต้ กลงพรอ้ มกนั ไป”

๑) กรณีเงนิ งบประมาณของ อปท. (ใชร้ ะเบยี บมท.ว่าดว้ ยวธิ กี ารงบประมาณขององคก์ ร

ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ พ.ศ. ๒๕๖๓)

๒) กรณีเงนิ อดุ หนุนเฉพาะกจิ (ใชร้ ะเบยี บของสานกั งบประมาณ)

-ระเบยี บว่าดว้ ยการบรหิ ารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒

-หลกั เกณฑว์ ่าดว้ ยการใชง้ บประมาณรายจา่ ย การโอนเงนิ จดั สรรหรอื การเปลย่ี นแปลง

เงนิ จดั สรร พ.ศ. ๒๕๖๒

- คาสงั่ กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถน่ิ ท่ี ๗๑๐/๒๕๖๓ ลว. ๑๐ ก.ย. ๒๕๖๓(มอบ

อานาจใหผ้ วจ.) 25

การแกไ้ ขสญั ญาหรอื ขอ้ ตกลง

(นส. ด่วนท่สี ดุ ท่ี กค 0405.4/32820 ลว 1 ส.ค.62)
- ในกรณีท่ี อปท. มีความประสงคจ์ ะแกไ้ ขสญั ญาหรอื ขอ้ ตกลง
ซ่ึงมคี วามจาเป็นโดยไม่ทาใหร้ าชการเสยี ประโยชน์หรอื แกไ้ ขเพอ่ื
ประโยชนข์ องทางราชการ ภายใตข้ องเขตวตั ถปุ ระสงคเ์ ดิมของสญั ญาหรอื
ขอ้ ตกลง
- ดาเนินการไดอ้ ย่างชา้ กอ่ นทาการตรวจรบั งานไวใ้ ชใ้ นราชการแลว้
- จะตอ้ งถอื ปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยวธิ กี ารงบประมาณหรอื กฎหมายอน่ื
ท่เี ก่ยี วขอ้ ง กอ่ นท่จี ะเสนอ หน.หน่วยงานของรฐั แกไ้ ขสญั ญาหรอื ขอ้ ตกลง

26

การแกไ้ ขคาผดิ อนั เกดิ จากการพมิ พเ์ อกสารของรายการงบประมาณ
ทไ่ี ดร้ บั อนุมตั หิ รือไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากสานกั งบประมาณ

หนงั สอื สานกั งบประมาณ ด่วนทสี่ ุด ท่ี นร ๐๗๐๒/ว ๑๓๗ ลงวนั ท่ี ๒๖ กนั ยายน ๒๕๖๒

“คาผิดอนั เกดิ จากการพมิ พ์ เช่น สะกดผิด คาซ้า เกนิ หรอื ตกหล่น หรอื ใช้
คาไม่ถกู ตอ้ ง ซ่งึ อาจเป็นความคลาดเคล่อื น ในขน้ั ตอน

การจดั ทาเอกสารของหน่วยรบั งบประมาณ และของสานกั งบประมาณ เม่ือ
หน่วยรบั งบประมาณจะดาเนินการใชจ้ า่ ยหรอื ก่อหน้ีผูกพนั งบประมาณ

รายจา่ ยต่อไป จงึ สามารถแกไ้ ขคาผิดใหถ้ กู ตอ้ งได้
โดยไม่ตอ้ งขอแกไ้ ขคาผิดจากสานกั งบประมาณอกี

ใหจ้ ดั ทาบนั ทกึ เกบ็ ไวเ้ ป็นหลกั ฐานดว้ ยวา่ มกี ารแกไ้ ขถอ้ ยคาผิดดงั กลา่ ว

การใชจ้ า่ ยเงนิ สะสม ทนุ สารองเงนิ สะสม การกนั เงนิ กรณี
กอ่ หน้ีผูกพนั หรอื ไม่กอ่ หน้ีผูกพนั

อานาจของผูบ้ รหิ ารทอ้ งถน่ิ หรอื สภาทอ้ งถน่ิ

ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยว่าดว้ ย การรบั เงนิ การเบกิ จา่ ยเงนิ การฝากเงนิ
การเกบ็ รกั ษาเงนิ และการตรวจเงนิ ของ อปท. พ.ศ. ๒๕๔๗
(แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ ถงึ (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๑)

การกนั เงนิ กรณีกอ่ หน้ีผูกพนั (ขอ้ ๕๗)

ขอ้ ๕๗ กรณีท่ี อปท. ไดก้ อ่ หน้ีผูกพนั ไวก้ อ่ นส้นิ ปี โดย
สงั่ ซ้ือหรอื สงั่ จา้ ง หรอื การเช่าทรพั ยส์ นิ ถา้ เหน็ ว่าการเบกิ
เงนิ ไปชาระหน้ีผูกพนั ไม่ทนั ส้นิ ปี ใหผ้ ูบ้ รหิ ารทอ้ งถ่นิ
อนุมตั ใิ หก้ นั เงนิ ไวเ้ บกิ จา่ ยในปีถดั ไปไดอ้ กี ไม่เกนิ
ระยะเวลาหน่ึงปีหรอื ตามขอ้ ผูกพนั

29

การกนั เงนิ กรณีกอ่ หน้ี ๐๔
ผูกพนั ขอ้ ๕๗
เบกิ จา่ ยในปีถดั ไปไดอ้ กี ไม่
๐๓ เกนิ ระยะเวลา ๑ ปี หรอื

๐๒ ตามขอ้ ผูกพนั
(ปี = ปีงบประมาณ)
ผูบ้ รหิ ารทอ้ งถน่ิ
30
๐๑ อนุมตั ใิ หก้ นั เงนิ ไว้

เบกิ เงนิ ไปชาระหน้ีผูกพนั

ไม่ทนั ส้นิ ปี

อปท. สงั่ ซ้อื หรอื สงั่ จา้ ง

หรอื การเช่าทรพั ยส์ นิ โดย

กอ่ หน้ีผูกพนั

ไวก้ อ่ นส้นิ ปี

การกนั เงนิ กรณียงั มไิ ดก้ อ่ หน้ีผูกพนั (ขอ้ ๕๙)

ขอ้ ๕๙ ในกรณีท่มี รี ายจา่ ยหมวดคา่ ครุภณั ฑท์ ่ดี ินและสง่ิ กอ่ สรา้ ง ยงั มิไดก้ อ่ หน้ีผูกพนั แต่มคี วามจาเป็ นตอ้ ง
ใชจ้ า่ ยเงนิ น้นั ตอ่ ไปอกี ให้ อปท. รายงานขออนุมตั กิ นั เงนิ ต่อสภาทอ้ งถ่นิ ไดอ้ กี ไม่เกนิ ระยะเวลา ๑ ปี

กรณีเม่ือส้นิ สดุ ระยะเวลาการกนั เงนิ แลว้ หาก อปท. ยงั มิไดด้ าเนินการกอ่ หน้ีผูกพนั ใหข้ อ
อนุมตั ขิ ยายเวลาเบกิ จา่ ยเงนิ ไดไ้ มเ่ กนิ อกี ๑ ปีต่อสภาทอ้ งถน่ิ หรอื กรณีมคี วามจาเป็ นตอ้ งแกไ้ ข
เปลย่ี นแปลงรายการ ท่ที าให้ ลกั ษณะ ปรมิ าณ คณุ ภาพเปล่ยี นหรอื เปล่ยี นแปลงสถานท่กี ่อสรา้ ง ใหข้ อ
อนุมตั เิ ปล่ยี นแปลงและหรอื ขยายเวลาเบกิ จา่ ยเงนิ ไดไ้ ม่เกนิ อกี ๑ ปีต่อสภาทอ้ งถน่ิ แลว้ แต่กรณี และ
โครงการดงั กลา่ วตอ้ งมีวตั ถปุ ระสงคเ์ ดิมตามท่ไี ดร้ บั อนุมตั ใิ หก้ นั เงนิ ไว้

กรณีท่ี อปท. ไดก้ อ่ หน้ีผูกพนั แลว้ ให้ เบกิ จา่ ยไดต้ ามขอ้ ผูกพนั
เม่อื ส้นิ สดุ ระยะเวลาการกนั เงนิ หรอื ขยายเวลาเบกิ จา่ ยเงนิ แลว้ หากยงั ไม่ไดด้ าเนินการกอ่ หน้ี
ผูกพนั หรอื มเี งนิ เหลอื จา่ ยจากเงนิ ดงั กล่าว ใหเ้ งนิ จานวนน้นั ตกเป็ นเงนิ สะสม

31

การกนั เงนิ (ยงั ไม่ไดก้ อ่ หน้ีผูกพนั ) ขอ้ ๕๙

❖ กรณีท่มี ีรายจา่ ยหมวดค่าครภุ ณั ฑท์ ่ดี นิ และสง่ิ กอ่ สรา้ ง อปท. รายงานขออนุมตั กิ นั เงนิ ไดอ้ กี ตอ่ สภาทอ้ งถน่ิ
ยงั มิไดก้ อ่ หน้ีผูกพนั มีความจาเป็น ตอ้ งใชจ้ า่ ยเงนิ น้ัน ไม่เกนิ ระยะเวลา ๑ ปี
ตอ่ ไปอกี

❖ กรณีเม่ือส้นิ สดุ ระยะเวลาการกนั เงนิ ตามวรรคหน่ึงแลว้ ใหข้ ออนุมตั ขิ ยายเวลาเบกิ ต่อสภาทอ้ งถน่ิ
หาก อปท. ยงั มิไดด้ าเนินการกอ่ หน้ีผูกพนั จา่ ยเงนิ ไดไ้ ม่เกนิ อกี ๑ ปี
ตอ่ สภาทอ้ งถ่นิ
❖ กรณีมีความจาเป็นตอ้ งแกไ้ ขเปลย่ี นแปลงรายการ ใหข้ ออนุมตั เิ ปล่ยี นแปลง แลว้ แตก่ รณี
ดงั กลา่ วท่ที าให้ ลกั ษณะ ปรมิ าณ คณุ ภาพเปล่ียน หรอื และหรอื ขยายเวลาเบกิ จา่ ย
เปล่ยี นแปลงสถานท่กี อ่ สรา้ ง เงนิ ไดไ้ ม่เกนิ อกี ๑ ปี

❖ โครงการดงั กล่าวตอ้ งมีวตั ถปุ ระสงคเ์ ดิมตามท่ไี ดร้ บั อนุมตั ิใหก้ นั เงนิ ไว้

❖ กรณีท่ี อปท. ไดก้ อ่ หน้ีผูกพนั แลว้ ใหเ้ บกิ จา่ ยไดต้ ามขอ้ ผูกพนั
❖ เม่อื ส้นิ สดุ ระยะเวลาการกนั เงนิ ตามวรรคหน่ึง หรอื ขยายเวลาเบกิ จา่ ยเงนิ ตามวรรคสองแลว้ หากยงั ไม่ไดด้ าเนินการ

กอ่ หน้ีผูกพนั หรอื มเี งนิ เหลอื จา่ ยจากเงนิ ดงั กลา่ ว ใหเ้ งนิ จานวนน้นั ตกเป็นเงนิ สะสม

การกนั เงนิ รายจา่ ยประจา (ขอ้ ๕๙/๑)

ขอ้ ๕๙/๑ รายจา่ ยเงนิ เดือน คา่ จา้ ง บาเหน็จบานาญ เงนิ ประจาตาแหน่ง
เงนิ เพม่ิ เงนิ ประโยชนต์ อบแทนอน่ื เงนิ ช่วยเหลอื และเงนิ อน่ื ในลกั ษณะ
เดียวกนั รวมทง้ั ค่าตอบแทนท่เี รยี กช่ืออย่างอน่ื ท่มี ีระเบยี บ กฎหมาย กาหนดให้
จา่ ยในลกั ษณะเดียวกนั หากเบกิ เงนิ ไม่ทนั ส้นิ ปี และมีความจาเป็ นตอ้ งใชจ้ า่ ยเงนิ
น้นั ต่อไปอกี ใหผ้ ูบ้ รหิ ารทอ้ งถน่ิ อนุมตั ใิ หก้ นั เงนิ ไดไ้ ม่เกนิ ๖ เดอื น

เม่ือส้นิ สดุ ระยะเวลาการกนั เงนิ หากยงั ดาเนินการไม่แลว้ เสรจ็ ใหข้ อ
ขยายเวลาการเบกิ จา่ ยเงนิ ต่อสภาทอ้ งถ่นิ ไดอ้ กี ไม่เกนิ ๖ เดือน

33

การกนั เงนิ (เงนิ เดือน ค่าจา้ งฯ) ขอ้ ๕๙/๑

รายจา่ ยเงนิ เดือน คา่ จา้ ง บาเหน็จ หากเบกิ เงนิ ไม่ทนั ส้นิ ปี และมคี วามจาเป็นตอ้ ง
บานาญ เงนิ ประจาตาแหน่ง เงนิ ใชจ้ า่ ยเงนิ น้นั ตอ่ ไปอกี ใหผ้ ูบ้ รหิ ารทอ้ งถ่นิ อนุมตั ิ

เพ่มิ ใหก้ นั เงนิ ไดไ้ ม่เกนิ ๖ เดอื น
เงนิ ประโยชน์ตอบแทนอน่ื
เงนิ ช่วยเหลอื และเงนิ อน่ื เม่อื ส้นิ สดุ ระยะเวลาการกนั เงนิ ตามวรรคหน่ึง
หากยงั ดาเนินการไม่แลว้ เสรจ็ ใหข้ อขยายเวลา
ในลกั ษณะเดียวกนั การเบกิ จา่ ยเงนิ ต่อสภาทอ้ งถ่นิ ไดอ้ กี ไม่เกนิ ๖ เดอื น
รวมทง้ั ค่าตอบแทนท่ีเรียกช่ือ
อย่างอ่นื ท่ีมีระเบียบ กฎหมาย ขอ้ ๕๙/๒ การขอขยายเวลาเบกิ จา่ ยเงนิ ตามหมวดน้ี
กาหนดใหจ้ ่ายในลกั ษณะ ให้ อปท. ดาเนินการกอ่ นส้นิ ระยะเวลาท่ไี ดร้ บั อนุมตั ิ

เดียวกนั ใหก้ นั เงนิ หรอื ขยายเวลาเบิกจา่ ยเงนิ

การยมื เงนิ (ขอ้ ๘๔)

ขอ้ ๘๔ การจา่ ยเงนิ ยืมจะจา่ ยไดแ้ ตเ่ ฉพาะท่ผี ูย้ มื ไดท้ าสญั ญาการยมื เงนิ และ
ผูบ้ รหิ ารทอ้ งถน่ิ ไดอ้ นุมตั ใิ หจ้ า่ ยเงนิ ยืมตามสญั ญาการยมื แลว้ เท่าน้นั โดย
จะตอ้ งเป็ นไปตามเงอ่ื นไข ดงั ต่อไปน้ี

(๑) มีงบประมาณเพอ่ื การน้นั แลว้

(๒) ผูย้ มื ไดท้ าสญั ญาการยมื เงนิ ข้ึนสองฉบบั ...

(๓) การอนุมตั ใิ หผ้ ูย้ มื เงนิ เพอ่ื ใชใ้ นราชการแตล่ ะราย ใหผ้ ูม้ อี านาจพจิ ารณา
อนุมตั ใิ หย้ มื เท่าท่จี าเป็นไดเ้ ฉพาะผูม้ หี นา้ ท่ตี อ้ งปฏบิ ตั ิงานน้นั ๆ และหา้ มมใิ ห้
อนุมตั ใิ หย้ มื เงนิ รายใหม่ในเม่อื ผูย้ มื มิไดช้ าระคนื เงนิ ยมื รายเกา่ ใหเ้ สรจ็ ส้นิ กอ่ น

35

ฯลฯ

รายการทย่ี มื เงนิ ได้ ข้อ ๘๕/๑

การเบกิ เงนิ ๑) คา่ จา้ งแรงงาน ซ่งึ ไม่มกี าหนดจา่ ยเป็ นงวดแน่นอนเป็ นประจา
เพอ่ื จา่ ยเป็นเงนิ ยมื ใหแ้ ก่ แตจ่ าเป็นตอ้ งจา่ ยใหแ้ ต่ละวนั หรอื แต่ละคราวเม่ือเสรจ็ งาน
บคุ คลใดในสงั กดั ยืมเพ่อื
(๒) ค่าตอบแทนใชส้ อยและวสั ดุ เฉพาะ
ปฏบิ ตั ริ าชการ - ค่าตอบแทนสาหรบั ผูท้ ่ปี ฏบิ ตั งิ านใหแ้ ก่ อปท. และ
ใหก้ ระทาได้ จาเป็นตอ้ งจา่ ยแตล่ ะวนั /แต่ละคราวเม่ือส้นิ สุดการปฏบิ ตั งิ าน
เฉพาะรายการ - ค่าตอบแทนคณะกรรมการ
- ค่าเบ้ยี ประชมุ
- รายการค่าใชส้ อยหรอื วสั ดทุ ่ไี ม่ตอ้ งจดั ซ้อื จดั จา้ ง
- คา่ ใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางไปราชการ / ฝึกอบรม /จดั งาน
เฉพาะรายการท่ไี ม่ตอ้ งจดั ซ้ือจดั จา้ ง
เป็ นตน้

(๓) ค่าสาธารณูปโภค เฉพาะคา่ บรกิ ารไปรษณียโ์ ทรเลข

ท่มี าของเงนิ ทนุ สารองเงนิ สะสมและการจา่ ย

ขอ้ ๘๗ ทกุ วนั ส้นิ ปีงบประมาณ เม่ือ อปท. ไดป้ ิดบญั ชีรายรบั รายจา่ ยแลว้
ใหก้ นั ยอดเงนิ สะสมประจาปีไวร้ อ้ ยละ ๑๕ ของทกุ ปี เพอ่ื เป็นทนุ สารองเงนิ สะสม

อปท. อาจใชจ้ า่ ย ๑. กรณีท่ยี อดเงนิ สะสมคงเหลอื ไม่ถงึ รอ้ ยละ ๑๕ ของเงนิ สะสม
เงนิ ทนุ สารองเงนิ สะสมได้ ณ วนั ท่ี ๑ ตลุ าคม ของปี งปม. น้นั ใหข้ อความเหน็ ชอบ
จากสภาทอ้ งถน่ิ และขออนุมตั ิ ผวจ.
กรณีดงั ต่อไปน้ี
๒. กรณีท่ปี ีใด อปท. มียอดเงนิ ทนุ สารองเงนิ สะสมเกนิ รอ้ ยละ
๑๕ ของ งปม.รายจา่ ยประจาปีน้นั หากมีความจาเป็ น
อปท. อาจนาเงนิ ทนุ สารองเงนิ สะสมเฉพาะในสว่ นท่เี กนิ
ไปใชจ้ า่ ยได้ ภายเงอ่ื นไข ขอ้ ๘๙(๑) โดยไดร้ บั อนุมตั จิ าก
สภาทอ้ งถน่ิ

37

การกนั เงนิ ทนุ สารองเงนิ สะสม

ขอ้ ๘๗ ทกุ วนั ส้นิ ปีงบประมาณ เม่อื อปท. ไดป้ ิดบญั ชีรายรบั รายจา่ ยแลว้
ใหก้ นั ยอดเงนิ สะสมประจาปีไวร้ อ้ ยละ ๑๕ ของทกุ ปี เพอ่ื เป็นทนุ สารองเงนิ สะสม

วธิ กี ารคานวณ
เม่อื ส้นิ ปี มเี งนิ เหลอื ตกเป็ นเงนิ สะสม จานวน ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท
กนั ไวร้ อ้ ยละ ๑๕ ของทกุ ปี (๑,๐๐๐,๐๐๐x๑๕/๑๐๐)

เป็นเงนิ ทนุ สารองเงนิ สะสม ๑๕๐,๐๐๐ บาท
สว่ นท่เี หลอื เป็นเงนิ สะสม ๘๕๐,๐๐๐ บาท

38

หลกั การจา่ ยเงนิ ทนุ สารองเงนิ สะสม

อปท. อาจใชจ้ า่ ยเงนิ ทนุ สารองเงนิ สะสมได้ มี ๒ กรณี

ตอ้ งยอดเงนิ สะสมคงเหลอื ไม่ถงึ รอ้ ยละ ๑๕ ของเงนิ สะสม ณ วนั ท่ี

๑. กรณี ผวจ. อนุมตั ิ ๑ ตลุ าคม ของปี งปม. น้นั ใหข้ อความเหน็ ชอบ จากสภาทอ้ งถ่นิ และ

ขออนุมตั ิ ผวจ.

ตวั อยา่ ง ยอดเงนิ สะสม ณ วนั ท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๓ (ปีงบประมาณ ๖๔) คงเหลอื ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท
- คดิ รอ้ ยละ ๑๕ (๒,๐๐๐,๐๐๐ x ๑๕ / ๑๐๐) เป็นเงนิ ๓๐๐,๐๐๐ บาท
- ณ วนั น้ี(วนั ท่ี ๑ ส.ค. ๒๕๖๔ มีเงนิ สะสมเหลอื ๒๘๐,๐๐๐ บาท
แสดงว่ามเี งนิ สะสม ณ วนั น้ีไม่ถงึ 15 %ของ ๑ ต.ค. ๖๓ ดงั น้นั อปท. จงึ สามารถใชเ้ งนิ ทนุ สารองเงนิ
สะสมได้ โดย
➢ ขอความเหน็ ชอบจากสภาทอ้ งถ่นิ
➢ และขออนุมตั ติ อ่ ผวจ.

39

หลกั การจา่ ยเงนิ ทนุ สารองเงนิ สะสม

อปท. อาจใชจ้ า่ ยเงนิ ทนุ สารองเงนิ สะสมได้ มี ๒ กรณี

๒. กรณีท่ปี ีใด อปท. มียอดเงนิ ทนุ สารองเงนิ สะสมเกนิ รอ้ ยละ ๑๕ ของ งปม.

๒. กรณี สภาทอ้ งถ่นิ รายจา่ ยประจาปีน้นั หากมีความจาเป็น อปท. อาจนาเงนิ ทนุ สารองเงนิ สะสม
อนุมตั ิ เฉพาะในสว่ นท่เี กนิ ไปใชจ้ า่ ยได้ ภายเงอ่ื นไข ขอ้ ๘๙(๑) โดยไดร้ บั อนุมตั จิ าก

สภาทอ้ งถน่ิ

ตวั อยา่ ง อปท.มี งปม.รายจา่ ยประจาปี ๒๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท

- คดิ รอ้ ยละ ๑๕ (๒๐๐,๐๐๐,๐๐๐ x ๑๕ / ๑๐๐) เป็นเงนิ ๓๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท

- ณ วนั น้ีมเี งนิ ทนุ สารองเงนิ สะสมรวม ๓๖,๐๐๐,๐๐๐ บาท

- มียอดเงนิ ทนุ สารองเงนิ สะสมเกนิ (รอ้ ยละ ๑๕) (๓๖,๐๐๐,๐๐๐-๓๐,๐๐๐,๐๐๐= ๖,๐๐๐,๐๐๐)

- อปท.สามารถนาเงนิ ทนุ สารองเงนิ สะสมสว่ นท่เี กนิ จานวน ๖,๐๐๐,๐๐๐ บาท ไปใชจ้ า่ ยไดภ้ ายใต้

เงอ่ื นไข ขอ้ ๘๙(๑) 40
➢ โดยไดร้ บั อนุมตั จิ ากสภาทอ้ งถ่นิ

การใชเ้ งนิ สะสม ❖ ไดร้ บั อนุมตั จิ ากสภาทอ้ งถ่นิ
(ขอ้ ๘๙) ❖ กระทาไดเ้ ฉพาะกจิ การซ่งึ อยู่ในอานาจหนา้ ท่ขี อง อปท.

✓ ดา้ นการบรกิ ารชมุ ชนหรอื สงั คม หรอื
✓ กจิ การท่เี ป็นการเพม่ิ พูนรายได้ ของ อปท. หรอื
✓ กจิ การท่จี ดั ทาเพอ่ื บาบดั ความเดอื ดรอ้ นของประชาชน
❖ เป็นไปตามแผนพฒั นาของ อปท. หรอื ตามท่กี ฎหมายกาหนด

❖ สง่ เงนิ สมทบกองทนุ สง่ เสรมิ กจิ การของ อปท.แต่ละประเภทตามระเบยี บแลว้

❖ กนั เงนิ สะสมสารองจา่ ย เป็นค่าใชจ้ า่ ยดา้ นบคุ ลากรไม่นอ้ ยกว่า
๓ เดือน และ กนั ไวอ้ กี รอ้ ยละ ๑๐ ของ งปม.รายจา่ ยประจาปีน้นั เป็น
คชจ.ในการบรหิ ารงาน และสาธารณภยั เกดิ ข้ึน

❖ อปท.ตอ้ งก่อหน้ีผูกพนั ใหเ้ สรจ็ ส้นิ ภายในระยะเวลาไม่เกนิ ๑ ปีถดั ไป
หากไม่ดาเนินการภายในเวลาท่กี าหนดใหเ้ ป็นอนั พบั ไป

คานึงถงึ ฐานะการเงนิ การคลงั ของ อปท. และเสถยี รภาพในระยะยาว 41

ยกเวน้ การใชจ้ า่ ยเงนิ สะสมหรอื ทนุ สารองเงนิ สะสม (ขอ้ ๘๙/๑)

กรณีท่มี ีภารกจิ ตามนโยบายเรง่ ด่วนของรฐั บาล หรอื มท. และ
➢ จาเป็นตอ้ งให้ อปท. เป็นผูด้ าเนินการ โดยใชจ้ า่ ยงบประมาณ และ
➢ งบประมาณดงั กลา่ วไม่เพยี งพอ และ
➢ ไม่ตอ้ งดว้ ยเงอ่ื นไขการใชจ้ า่ ยเงนิ สะสมหรอื เงนิ ทนุ สารองเงนิ สะสม

ตามขอ้ ๘๗ และขอ้ ๘๙

ปมท. อาจอนุมตั ิยกเวน้ ให้ อปท.ใชจ้ า่ ยจาก
เงนิ สะสมหรอื เงนิ ทนุ สารองเงนิ สะสมได้
โดยความเหน็ ชอบของรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย

การจา่ ยขาดเงนิ สะสม (ขอ้ ๙๐)

ขอ้ ๙๐ กรณีท่ีงบประมาณรายจา่ ยประกาศใชบ้ งั คบั แลว้ มงี บประมาณไม่
เพยี งพอท่ีจะจา่ ย หรอื ไม่ไดต้ ง้ั งบประมาณเพอ่ื การน้นั ไว้ ให้ อปท. จา่ ยขาดเงนิ สะสม
ได้ โดยไดร้ บั อนุมตั จิ ากผูบ้ รหิ ารทอ้ งถน่ิ ในกรณีดงั ต่อไปน้ี

(๑) รบั โอน เล่อื นระดบั เล่อื นขน้ั เงนิ เดือนพนกั งานสว่ นทอ้ งถ่นิ
(๒) เบกิ เงนิ ใหผ้ ูบ้ รหิ ารทอ้ งถ่นิ ผูช้ ่วยผูบ้ รหิ ารทอ้ งถน่ิ สมาชิกสภาทอ้ งถน่ิ
เลขานุการผูบ้ รหิ ารทอ้ งถ่นิ เลขานุการสภาทอ้ งถ่นิ ท่ีปรกึ ษาผูบ้ ริหารทอ้ งถน่ิ พนกั งาน
สว่ นทอ้ งถ่นิ ซ่ึงมีสทิ ธิไดร้ บั เงนิ ตามกฎหมายว่าดว้ ยการจดั ตง้ั อปท. น้นั ตลอดจน
ลูกจา้ งซ่ึงมีสทิ ธิไดร้ บั เงนิ อน่ื ตามกฎหมาย ระเบยี บ คาสงั่ หรอื หนงั สอื สงั่ การ
กระทรวงมหาดไทย ในระหว่างปี งบประมาณ
(๓) ค่าใชจ้ า่ ยตาม (๑) และหรอื (๒) ใหถ้ อื เป็ นรายจา่ ยในปี งบประมาณน้นั

43

การจา่ ยขาดเงนิ สะสม (ขอ้ ๙๑)
ขอ้ ๙๑ กรณีฉุกเฉินท่มี สี าธารณภยั เกดิ ข้ึน
ผูบ้ รหิ ารทอ้ งถน่ิ อนุมตั ใิ หจ้ า่ ยขาดเงนิ สะสมไดต้ าม
ความจาเป็ นในขณะน้นั

44

พระราชบญั ญตั ิ
ป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั

พ.ศ. ๒๕๕๐

ผูอ้ านวยการ อานาจหนา้ ท่ขี องผูอ้ านวยการทอ้ งถน่ิ
เจา้ พนกั งาน
อาสาสมคั ร ผอ.กลาง ผอ.จงั หวดั ผอ.อาเภอ ผูอ้ านวยการทอ้ งถ่นิ และ ผอ.กทม.
ผูซ้ ่ึงไดร้ บั แตง่ ตง้ั ใหป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ท่ใี นการป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั
อานาจ ในพ้นื ท่ตี ่าง ๆ ตาม พรบ.น้ี
อาสาสมคั รป้ องกนั ภยั ฝ่ ายพลเรอื น (อพปร.)
ผูอ้ านวยการทอ้ งถ่นิ แตง่ ตง้ั เจา้ พนกั งานใหป้ ฏบิ ตั ิหนา้ ท่ไี ดใ้ นเขต อปท.แหง่ พ้นื ท่ี
(ผูบ้ รหิ ารทอ้ งถ่นิ )
จดั ใหม้ ีอาสาสมคั รในพ้นื ท่ที ่รี บั ผิดชอบเพ่อื ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ี ดงั ตอ่ ไปน้ี
หนา้ ท่ี (๑) ใหค้ วามช่วยเหลอื เจา้ พนักงานในการป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั
(๒) ปฏบิ ตั ติ ามท่ผี ูอ้ านวยการมอบหมายและตามระเบียบท่ี มท.กาหนด

อปท.แหง่ พ้นื ท่มี ีหนา้ ท่ีป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในเขตทอ้ งถ่นิ ของตน

เป็นผูร้ บั ผิดชอบและมีหนา้ ท่ีช่วยเหลอื ผอ.จงั หวดั และ ผอ.อาเภอ ตามท่ไี ดร้ บั
มอบหมาย
มีอานาจสงั่ การ ควบคมุ และกากบั ดูแลการปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ขี อง จพง.และอาสาสมคั ร
ใหเ้ ป็นไปตาม พรบ.น้ี

อานาจหนา้ ท่ี ตาม พรบ.ป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ.๒๕๔๐

มาตรา ๒๑

๑. เขา้ ดาเนินการป้ องกนั และ ๗. จดั ใหม้ กี ารสงเคราะหผ์ ูป้ ระสบภยั โดย
บรรเทาสาธารณภยั โดยเรว็ ทวั่ ถงึ และรวดเรว็

๒. แจง้ ผูอ้ านวยการอาเภอ เม่อื เกดิ /คาดว่าจะเกดิ ๖. สงั่ หา้ มเขา้ หรอื ใหอ้ อกจากพ้นื ท่ี
ท่รี บั ผดิ ชอบในเขตพ้นื ท่ีน้นั สาธารณภยั ข้ึนในเขตพ้นื ท่ี อปท. อาคารหรอื สถานท่กี าหนด
และผูอ้ านวยการจงั หวดั ทราบ ใด ใหผ้ ูอ้ านวยการทอ้ งถ่ินของ

อปท.แห่งพ้นื ท่ีน้นั มีหนา้ ท่ี

๓. สงั่ ขา้ ราชการ/พนกั งานสว่ นทอ้ งถ่นิ ๕. ขอความช่วยเหลอื จาก อปท.อน่ื
เจา้ หนา้ ท่ขี องรฐั เจา้ พนกั งาน อาสาสมคั ร ในการป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั
และบคุ คลใดๆ ในเขตพ้นื ท่ี อปท.ท่ีเกดิ
สาธารณภยั ใหป้ ฏบิ ตั ิการอย่างหน่ึงอย่างใด ๔. ใชอ้ าคาร สถานท่ี วสั ดุ อปุ กรณ์ เคร่อื งมือเคร่อื งใช้
เคร่อื งมอื สอ่ื สาร และยานพาหนะ
ตามความจาเป็ น

47

อานาจหนา้ ท่ี ตาม พรบ.ป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ.๒๕๔๐

มาตรา ๓๐

๑. สารวจความเสยี หาย ผูอ้ านวยการในเขตพ้นื ท่ี ๕. รายงานจงั หวดั อาเภอ และ
จากสาธารณภยั ท่เี กดิ ข้ึน ท่รี บั ผิดชอบ หน่วยงานท่เี ก่ยี วขอ้ งทราบ
มีหนา้ ท่ี

๒. จดั ทาบญั ชีรายช่ือประสบภยั และ ๔. ระบหุ น่วยงานท่รี บั ผิดชอบ
ทรพั ยส์ นิ ท่เี สยี หาย

๓. ออกหนงั สอื รบั รองใหผ้ ูป้ ระสบภยั ไวเ้ ป็ นหลกั ฐาน
ในการรบั การสงเคราะหแ์ ละฟ้ื นฟู

ระเบยี บ มท. วา่ ดว้ ยค่าใชจ้ า่ ย
เพอ่ื ช่วยเหลอื ประชาชนตามอานาจหนา้ ท่ี

ของ อปท. พ.ศ. ๒๕๖๐

มผี ลใชบ้ งั คบั วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๐

(ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑

มีผลใชบ้ งั คบั วนั ท่ี ๑๘ มกราคม ๒๕๖๒

คานิยาม ❖ การใหค้ วามช่วยเหลอื ประชาชนท่ไี ดร้ บั ความเดือดรอ้ น หรอื ไม่

การช่วยเหลอื สามารถช่วยเหลอื ตนเองไดใ้ นการดารงชีพ
ประชาชน ❖ โดยอาจใหเ้ ป็นสง่ิ ของ หรอื จา่ ยเป็นเงนิ หรอื การจดั บริการ

สาธารณะ เพอ่ื ใหก้ ารช่วยเหลอื ประชาชนในระดบั เขตพ้นื ท่หี รอื

ทอ้ งถน่ิ ตามอานาจหนา้ ท่ขี อง อปท.
❖ ดาเนินการในขอบเขตอานาจหนา้ ท่ีของ อปท. ตามกฎหมาย โดย

คานึงถงึ สถานะทางการคลงั และความจาเป็ นเหมาะสม

การช่วยเหลอื ดา้ นสาธารณภยั
ประชาชน ดา้ นการสง่ เสรมิ และพฒั นาคุณภาพชีวิต
แบง่ ๔ กรณี
การป้ องกนั และควบคมุ โรคติดตอ่
เกษตรกรผูม้ รี ายไดน้ อ้ ย


Click to View FlipBook Version