The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฏาคม-ธันวาคม 2564)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by avelinox101, 2021-12-19 20:49:46

วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฏาคม-ธันวาคม 2564)

วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฏาคม-ธันวาคม 2564)

Keywords: วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน

วารสารการวิจัยการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

ตามแผนการนิเทศ การสังเกตการสอนและ 6. เก็บข้อมูลความพึงพอใจของครูผู้สอน
การปฏบิ ัติการวจิ ัยในชนั้ เรยี น ท่ี มี ต่ อ รู ป แ บ บ ก า ร พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ ก า ร วิ จั ย
ในชั้นเรียนของครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้
เครอ่ื งมอื ท่ใี ชใ้ นการวจิ ัย วิทยาศาสตร์ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการ ศึกษา
มธั ยมศกึ ษา เขต 16 และสนทนากลมุ่
1. แบบทดสอบความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับ
การวจิ ัยในช้นั เรยี น 7. วิเคราะห์สรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ของผู้เรียนที่เกิดจากครูผู้สอนท่ีได้รับการนิเทศ
2. แบบประเมินความสามารถในการเขียน โดยรูปแบบการนิเทศ ที่พัฒนาศักยภาพการวิจัย
เค้าโครงวิจัยในช้ันเรยี นของครผู สู้ อน ในช้ันเรียนของครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
3. แบบประเมนิ ความสามารถในการทาวิจัย มัธยมศกึ ษา เขต 16

ในชนั้ เรยี นของครูผูส้ อน การวิเคราะห์ข้อมลู
4. แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อ 1. วิ เ ค ร า ะ ห์ ผ ล ก า ร ท ด ส อ บ ค ว า ม รู้
ค ว า ม เ ข้ า ใ จ เ กี่ ย ว กั บ ก า ร วิ จั ย ใ น ช้ั น เรียน
รู ป แ บ บ ก า ร นิเ ท ศ เ พ่ือ พัฒ น า ศั ก ยภ า พ ก าร วิ จัย ของครูผู้สอนท่ีเป็นกลุ่มตัวอย่าง โดยการหา
ในช้ันเรียนของครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ค่าเฉล่ีย ( X ) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ
วิทยาศาสตร์ ทดสอบคา่ ที (t-test)
2. วิเคราะห์การประเมินความสามารถ
5. แบบวิเคราะห์สรุปผลสัมฤทธ์ิทาง ในการเขียนเค้าโครงวิจัยและความสามารถทาวิจัย
การเรียนของผู้เรียนที่เกิดขึ้นจากการทาวิจัยของ ในชั้นเรียนของครูผู้สอน โดยการหาค่าเฉล่ีย
(X ) สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.)
ครูผู้สอนและ แนวทางการนิเทศตามรูปแบบ 3. วิเคราะห์ความพึงพอใจที่มีต่อการนิเทศ
การนเิ ทศ โดยใช้รปู แบบการนเิ ทศ เอพไี อดดี ับเบ้ลิ อี (APIDEE
Model) โดยการหาค่าเฉล่ีย ( X ) ส่วนเบี่ยงเบน
การเก็บรวบรวมข้อมลู มาตรฐาน (S.D.) และจาแนกเป็นระดับคุณภาพ
5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และ
1. ผู้วิจัยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างด้วย นอ้ ยทสี่ ุด
ตนเอง 4. สรุปประเด็นการสนทนากลุ่ม นาเสนอ
เชงิ พรรณนา
2. เก็บรวบรวมข้อมูลจากการประเมิน 5. วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรยี นท่ีเกิดจาก
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน การทาวิจัยในช้ันเรียนของครูผู้สอนก่อนและหลัง
ของครูผู้สอนก่อนการใช้รูปแบบ หลังการใช้ การใช้รปู แบบการนเิ ทศ เอพไี อดีดับเบิ้ลอี (APIDEE
Model) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รูปแบบการพัฒนาศักยภาพการวิจัยในชั้นเรียน สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 16
ของครูผูส้ อน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โ ด ย ก า ร ห า ค่ า เ ฉ ล่ี ย ( X )

3. เก็ บข้อมูลจาก าร สัง เก ตก าร สอน 44
ของครผู สู้ อนรอบท่ี 1 และ รอบที่ 2

4. เก็บข้อมูลจากการประเมินเค้าโครงวิจัย

ในชัน้ เรียนของครูผูส้ อน รอบท่ี 1และ รอบท่ี 2
5. เก็บขอ้ มูลจากการประเมนิ ความสามารถ

ใ น ท า วิ จั ย ใ น ชั้ น เ รี ย น ข อ ง ค รู ผู้ ส อ น ห ลั ง ก า ร ใ ช้
รูปแบบ การพัฒนาศักยภาพการวิจัยในชั้นเรียน
ของครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 16

วารสารการวิจัยการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และทดสอบค่าที 1.5 หาค่าความยากง่าย อยู่ระหว่าง 0.20 -
(t-test) 0.80

ระยะที่ 4 การประเมินและการปรับปรุง 1.6 หาคา่ อานาจจาแนก มคี า่ 0.20 ข้นึ ไป
รูปแบบการนิเทศการดาเนินการวิจัยในระยะน้ี 1.7 หาค่าความเช่ือม่ันของแบบประเมิน
เป็นการนาผล การทดลองตามกระบวนการและ เค้าโครงวิจัยในช้ันเรียนและแบบประเมินวิจัย
เงื่อนไขของรูปแบบการนิเทศ ข้ันตอนของ ในชนั้ เรยี น ฉบบั สมบูรณโ์ ดยหาสัมประสทิ ธแ์ิ อลฟา
การประเมินและปรับปรุงรูปแบบการนิเทศเอพีไอ (-Coefficcient) ได้ค่าความเช่ือม่ัน .74 และ
ดดี ับเบ้ิลอี (APIDEE Model ) กล่มุ สาระการเรียนรู้ .76 ตามลาดับ
วิทยาศาสตร์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 1. 8 ห า ค ว า ม เ ชื่ อ ม่ั น ข อ ง แ บ บ วั ด
มัธ ยมศึก ษา เขต 16 ใน ร ะ ยะ ท่ี 3 ร ว มท้ัง ความพึงพอใจของครูผู้สอนท่ีมีต่อรูปแ บบ
ผลการวิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรคและ ก า ร พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ ก า ร วิ จั ย ใ น ชั้ น เ รี ย น
ความคิดเห็นท่ีมีต่อความเหมาะสมของรูปแบบ ของครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มาพิจารณา ปรับปรุงแก้ไขรูปแบบการนิเทศ โดยหาสัมประสิทธิ์แอลฟา (-Coefficcient) ได้
APIDEE Model ให้มีความเหมาะสมมากยิ่งข้ึน ค่าความเชื่อมนั่ .71
และพรอ้ มทจี่ ะนาไปใช้ต่อไป 2. สถิติทีใ่ ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล ดังน้ี
2.1 ค่าเฉลย่ี เลขคณิต (Arithmetic Mean)
สถติ ิที่ใช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล 2.2 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard
1. สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์คุณภาพของ Deviation)
2.3 ทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ย
เครอื่ งมอื ของคะแนนก่ อนกั บหลั งการอบรมเชิ งปฏิ บั ติ การ
1.1 หาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง ใช้ การทดสอบค่าที (t-test)
2.4 หาค่าเฉลี่ยของแบบวัดความพึงพอใจ
ข้อคาถามกับลักษณะพฤติกรรม (IOC) ของ ของของครูผู้สอนที่มีต่อการนิเทศโดยใช้รูปแบบ
เครื่องมือที่สร้างข้ึนทีละข้อ โดยใช้สูตรของ การนิเทศ เอพีไอดีดับเบ้ิลอี (APIDEE Model)
โ ร วิ เ น ล ล่ี แ ล ะ แ ฮ ม เ บิ ล ตั น ( Rovinelli and วิเคราะห์ผลการวัดความพึงพอใจของกลุ่มตวั อย่าง
Hambleton) โดยหาค่าเฉลีย่ ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน
2.5 ค่าเฉล่ียของการประเมินการเขียน
1.2 การหาคา่ ความเชือ่ มน่ั (Reliability) เค้าโครงวิจัยในช้ันเรียน และการเขียนวิจัย
ของแบบประเมิน ใน ช้ัน เรียน ฉบับสมบูร ณ์เก่ี ยว กั บก าร วิ จัย
ในช้ันเรียน ซึ่งเกณฑ์ที่ใช้ในการให้ความหมาย
1.3 หาค่าความเช่ือม่ันของแบบทดสอบ เป็นค่าร้อยละเฉล่ียเป็นรายข้อ โดยประยุกต์ใช้
ความรู้ นาแบบทดสอบหาค่าความเชื่อม่ันทั้งฉบับ เกณฑ์ของเบสส์ (Best)
โดยใช้ สูตร KR – 20 ของคูเดอร์ ริชาร์ดสัน
(Kuder Richardson Formula) ได้คา่ ความเช่ือม่ัน 45
. 84

1.4 สถิติท่ีใช้ในการหาประสิทธิ ภาพ
ของคู่มือนิเทศตามรูปแบบการนิเทศเพ่ือพัฒนา
ศักยภาพของครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ได้ค่า E1/E2 มีค่าเท่ากับ 81.11 /
82.22

วารสารการวิจัยการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

สรุปผลการวจิ ยั จานวน 5 คน ตามท่ีกาหนดไว้ พบว่ามีค่าดัชนี
1. ผลการสร้างและพัฒนารปู แบบการนิเทศ ความสมเหตุสมผลและความเป็นไปได้ 1.00 และ

เ พื่ อ พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ ก า ร วิ จั ย ใ น ชั้ น เ รี ย น ผลการประเมินค่ามาตรส่วนประมาณค่าพบว่า
ค่ า เ ฉ ล่ี ย แ ล ะ ค่ า เ บี่ ย ง เ บ น ม า ต ร ฐ า น ข อ ง
ของครผู สู้ อน เพอื่ การเรยี นรูข้ องผ้เู รียน กล่มุ สาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีชื่อว่า เอพีไอดีดับเบิ้ลอี การตรวจสอบความสอดคล้อง ความเหมาะสม
ตามความคิดเห็นของผู้เช่ียวชาญที่มีต่อรูปแบบ
(APIDEE Model) เป็นรูปแบบที่มีประสิทธิภาพ การนิเทศฯพบวา่ โดยภาพรวมอยใู่ นระดบั มากทีส่ ุด
ประกอบด้วย 6 ขั้น คือ ขั้นท่ี 1 A (Assessing
Need : ตรวจสอบฐานเดมิ ข้ันท่ี 2 P (Planning) : รู ป แ บ บ ก า ร นิ เ ท ศ เ พื่ อ พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ
การวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอน เพ่ือการเรียนรู้
เสริมการวางแผน ขั้นที่ 3 I (Informing) : สร้าง
เสริมความรู้ ขั้นท่ี 4 D (Doing) : สู่การปฏิบัติ ของผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 16
ข้ันที่ 5 E (Evaluating) : ชัดเจน ในผลง าน
ขั้น ท่ี 6 E (Expand the network) : สาน ต่ อ
เครือข่าย โดยผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ

แผนภาพ 1 รูปแบบการนเิ ทศเพอ่ื พฒั นาศักยภาพการวิจัยในชนั้ เรยี นของครผู ้สู อน เพื่อการเรียนรู้ของผเู้ รียน
กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 16

46

วารสารการวิจยั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

2. ผลการใช้รูปแบบการนิเทศเพ่ือพัฒนาศักยภาพการวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนเพ่ือการเรียนรู้
ของผู้เรยี น กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 16 สรปุ ไดด้ ังน้ี

ตาราง 1 ผลการทดสอบความรู้ความเข้าใจเกย่ี วกับการวจิ ัยในช้ันเรียนก่อนและหลงั การนิเทศ
โดยการประชมุ ปฏิบตั กิ าร

การทดสอบ N n X S.D. D D2 t
ก่อนการใช้รูปแบบ 40 10.48 1.36 616 9580 62.87*
หลงั การใชร้ ูปแบบ 40 25.88 0.88

*p  .05

จากตาราง 1 ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการปฏิบัติการวิจัยในช้ันเรียนของครูผู้สอนพบว่า ความรู้
ความเข้าใจเก่ียวกบั การวิจัยในชน้ั เรียนก่อนและหลงั การใช้รปู แบบการนิเทศ มีความแตกตา่ งอย่างมีนยั สาคัญ
ที่ระดับ 0.5 โดยหลังการใช้รูปแบบการนิเทศ มีค่าคะแนนเฉล่ียสูงกวา่ ( X = 25.88, S.D. = .88) ก่อนการใช้

รปู แบบการนิเทศ ( X = 10.48, S.D. = 1.36)

ตาราง 2 ผลการประเมนิ การเขียนเคา้ โครงวจิ ยั ในช้นั เรยี นของครูผู้สอน แยกตามรายการ (n=40)

ผลการประเมนิ ค่าพัฒนา

รายการ รอบท่ี 1 รอบที่ 2 1.30
1.14
1.ช่ือเรอ่ื ง X S.D. X S.D. 1.12
2. ความเป็นมาและความสาคญั 3.22 .45 4.52 .55 1.06
3.วัตถุประสงค์ 0.84
4. ขอบเขตการวิจัย 3.33 .47 4.47 .47 1.03
5. นิยามศัพท์ 0.94
6.ทฤษฎีและงานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วขอ้ ง 3.41 .55 4.53 .56 1.06
7. วิธดี าเนินการวิจยั
3.45 .49 4.51 .51
เฉล่ยี
3.64 .56 4.48 .41

3.47 .47 4.50 .55

3.58 .43 4.52 .48

3.44 .53 4.50 .47

จากตาราง 2 ผลการประเมนิ เค้าโครงวิจัยในชั้นเรยี นของครูผู้สอน แยกตามรายการพบว่าโดยภาพรวม
พ บ ว่ า มี ค่ า พั ฒ น า 1. 09 โ ด ย ร อ บ ท่ี 1 อ ยู่ ใ น ร ะ ดั บ ป า น ก ล า ง ( X = 3. 44, S. D. = . 53)
รอบที่ 2 อยู่ในระดับดีมาก ( X = 4.50 S.D.=.47) เมื่อพิจารณาแต่รายการพบว่าครูผู้สอนเขียนวัตถุประสงค์
สอดคล้องกับประเดน็ ปญั หาและชื่อเรื่องท่ีต้องการศึกษา มีค่าเฉลย่ี สูงสดุ ( X = 4.53, S.D.= .56)

47

วารสารการวิจยั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

ตาราง 3 ผลการประเมนิ เค้าโครงวจิ ัยในช้นั เรียนจาแนกเป็นรายบคุ คล (n=40)

ผลการประเมิน

ระดบั คณุ ภาพ รอบท่ี 1 รอบท่ี 2

ดีมาก ( X = 4.50 - 5.00) จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ
ดี ( X = 3.50 - 4.49)
ปานกลาง ( X = 2.50 - 3.50) 3 7.50 7 17.50
ปรับปรุง (X = 1.00 – 2.49)
รวม 21 52.50 30 75.00

12 30.00 3 7.50

4 10.00 0 0.00

40 100 40 100

จากตาราง 3 ผลการประเมินเค้าโครงวิจัยในช้ันเรียนของครูผู้สอนจาแนกรายบุคคล โดยใช้เกณฑ์ของ
เบสท์ (Best, 1981 : 82) พบว่า รอบที่ 1 ครูผู้สอนท่ีมีผลการประเมินระดับดีมาก 3 คน คิดเป็นร้อยละ 7.50

ระดับดี 21 คน คิดเปน็ ร้อยละ 52.50 ระดบั ปานกลาง 30 คน คิดเป็นร้อยละ 30.00 และระดบั ปรบั ปรุง 4 คน
คิดเป็นร้อยละ 10.00 รอบท่ี 2 ครูผู้สอนท่ีมีผลการประเมินระดับดีมาก 7 คน คิดเป็นร้อยละ 17.50 คน ระดับดี 30 คน
คิดเป็นรอ้ ยละ 75.00 ระดับปานกลาง 3 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 7.50 และระดับปรับปรงุ คดิ เป็นร้อยละ 00.00

ตาราง 4 ผลการประเมนิ ความสามารถในการเขยี นรายงานวจิ ยั ในช้นั เรียนฉบับสมบูรณข์ องครผู สู้ อน
กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ แยกตามรายการ (n=40)

รายการประเมนิ ผลการประเมนิ ระดบั
X S.D. คุณภาพ
ชื่อเรือ่ ง 4.59 .55 ดีมาก
ความเป็นมาและความสาคัญ 4.56 .47
วัตถปุ ระสงค์ 4.64 .51 ดี
ดมี าก
ขอบเขตการวิจยั 4.67 .52
ดีมาก
นยิ ามศพั ท์ 4.58 .59
ทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง 4.54 .55 ดมี าก
วธิ ดี าเนินการวจิ ยั 4.58 .53 ดีมาก
ผลการวิเคราะห์ข้อมลู 4.57 .57 ดมี าก
การอภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ 4.51 .45 ดมี าก
การอ้างอิง 4.63 .55 ดมี าก
เฉลีย่ 4.58 .49 ดมี าก
ดีมาก

48

วารสารการวิจยั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

จากตาราง 4 ผลการประเมินความสามารถในการเขียนรายงานวิจัยในช้ันเรียนฉบับสมบูรณ์ของครูผู้สอน
กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ โดยภาพรวมในระดับดีมาก ( X = 4.58, S.D. = 0.49) เมื่อพิจารณาแต่ละ
ประเด็นพบว่า เกือบทุกประเด็นอยู่ในระดับดี-ดีมาก และพบว่าขอบเขตการวิจัยเกี่ยวกับการกาหนดตัวแปร

ท่ีศึกษา ได้ถูกต้อง ครบถ้วนมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ( X = 4.67, S.D. = 0.52) รองลงมาคือวัตถุประสงค์เก่ียวกับ
บ่งบอกถงึ วธิ กี าร ทใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ( X = 4.64, S.D. = 0.51)

ตาราง 5 แสดงผลการประเมินความสามารถในการเขยี นรายงานวิจัยในชัน้ เรยี นฉบบั สมบูรณข์ องครูผู้สอน
จาแนกเป็นรายบคุ คล (n=40)

ระดับคณุ ภาพ ผลการประเมิน
จานวน ร้อยละ
ดีมาก ( X = 4.50- 5.00)
ดี ( X = 3.50 - 4.49) 9 22.50
ปานกลาง ( X = 2.50 - 3.50) 24 60.00
ปรบั ปรุง (X = 1.00 – 2.49) 7 17.50
0 0.00
รวม 40 100

จากตาราง 5 พบว่า ผลการประเมินความสามารถในการทาวิจัยในช้ันเรียนของครูผู้สอนจาแนกเป็น
รายบคุ คลใชเ้ กณฑ์ของเบสท์ (Best, 1981 : 82) พบวา่ ครูผสู้ อนทีม่ ีผลการประเมนิ ระดับดีมาก 9 คน คดิ เป็น

รอ้ ยละ 22.50 คนระดบั ดี 24 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 60.00 และระดบั ปานกลาง 7 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 17.50 และ
ระดบั ปรบั ปรงุ ไมม่ ี

ตาราง 6 ความพงึ พอใจของครูผ้สู อนท่ีมตี อ่ การนิเทศโดยใช้รปู แบบการนิเทศ เอพีไอดีดบั เบิ้ลอี
(APIDEE Model) (n=40)

ดา้ น ระดบั ความ ระดบั คุณภาพ
พึงพอใจ
องค์ประกอบของรูปแบบ X S.D. มากทสี่ ุด
ด้านกระบวนการนารูปแบบไปใช้ 4.58 .53 มากท่ีสดุ
ดา้ นผลของรูปแบบทน่ี าไปใช้ มากทีส่ ุด
4.61 .55 มากทสี่ ดุ
รวมเฉล่ีย
4.57 .43

4.59 .56

49

วารสารการวิจยั การศึกษาข้นั พื้นฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

ตาราง 6 ความพึงพอใจของครูผู้สอนท่ีมีต่อการนิเทศโดยใช้รูปแบบการนิเทศ APIDEE Model
โดยภาพรวมมีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมากที่สุด ( X =4.59, S.D.= .56) เมื่อพิจารณา แต่ละด้านพบว่า
ด้านองค์ประกอบของรปู แบบ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( X =4.58, S.D.= .51) ด้านกระบวนการนา

รูปแบบไปใช้ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( X =4.61, S.D.= .55) ด้านผลของรูปแบบที่นาไปใช้
โดยภาพรวมอยูใ่ นระดบั มากทีส่ ดุ ( X =4.57, S.D.= .43)

3. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนท่ีเกิดข้ึนจากการทาวิจัยของครูผู้สอนที่ได้รับการนิเทศ โดยใช้
รูปแบบการนิเทศเพ่ือพัฒนาศักยภาพการวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอน เพื่อการเรียนรู้ของผู้เรียน กลุ่มสาระ

การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ พบว่านักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิหลังการใช้รูปแบบการนิเทศทุกช้ัน ทุกห้องเรียนมีคะแนน
สงู กว่าก่อนใชร้ ูปแบบการนเิ ทศและมีความแตกตา่ งอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .01 และระดบั .05

อภปิ รายผลการวจิ ัย รู ปแ บบทุ ก มิ ติ ให้ม าก พ อ ท่ี จะ น าม าก าหน ด เ ป็ น
จากผลการวิจัยเร่ืองการพัฒนารูปแบบ เป้าหมายหรือ ผลท่ีเกิ ดข้ึน ขอ ง ก ารพัฒนา

การนิเทศเพื่อพัฒนาศักยภาพการวิจัยในช้ันเรียน สาระสาคัญท่ีควรจะเติมเต็มท่ีเกิดข้ึนระหว่าง
ของครูผู้สอน เพอ่ื การเรียนรู้ของผเู้ รยี น กลุม่ สาระ สภาพท่ีคาดหวัง กับสภาพจริงท่ีปรากฏคือความรู้

การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สานักงานเขตพื้นที่ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ เ ก่ี ย ว กั บ ก า ร วิ จั ย ใ น ช้ั น เรียน
การศึกษามัธยมศึกษาเขต 16 มีข้อค้นพบที่ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ท า วิ จั ย ใ น ชั้ น เ รี ย น
สามารถนาเสนอเพื่อการอภปิ รายผล ดงั น้ี คว ามพึง พ อ ใจต่อ รูปแบบก าร นิเทศ ดัง ท่ี

1. ผลการสรา้ งและพัฒนารูปแบบการนิเทศ สงัด อุทรานนท์ (2530) กล่าวไว้ว่าการนิเทศ
เ พ่ื อ พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ ก า ร วิ จั ย ใ น ชั้ น เ รี ย น ข อ ง มีจุดมุ่งหมายเพ่ือพัฒนาคน เพื่อพัฒนางาน

ครูผู้สอน เพื่อการเรียนรู้ของผู้เรียนกลุ่มสาระ เพื่อประสานสัมพันธ์ และเพ่ือสร้างขวัญและ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีชื่อว่า APIDEE Model กาลังใจหากนิเทศขาดจุดใดจุดหน่งึ แล้ว การนิเทศ
พ บ ว่ า มี ค่ า ดั ช นี ค ว า ม ส ม เ ห ตุ ส ม ผ ล แ ล ะ ก าร ศึก ษา ก็ ย่อ มปร ะสบคว ามสาเร็จยาก

ความเปน็ ไปได้ 1.00 และผลการประเมนิ คา่ มาตรา ซ่ึงสอดคล้องกับ นิตยา ทองไทย (2552 ) กล่าวถึง
ส่วนประมาณค่า พบว่า ค่าเฉลี่ยและค่าเบ่ียงเบน จุดมุ่งหมายการนิเทศไว้ว่าเป็นการช่วยเหลือครู

มาตรฐานของการตรวจสอบความสอดคล้อง ให้มีความสามารถท่ีจะพัฒนาตนเอง พัฒนางาน
ความเหมาะสม ตามความคิดเห็นของผู้เช่ียวชาญ และมขี วญั กาลังใจในการปฏิบัติงาน ซ่งึ จะส่งผลให้
ท่ีมีต่อรูปแบบการนิเทศฯ พบว่า โดยภาพรวมอยู่ การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพและ

ในระดับมากที่สุด ท่ีเป็นเช่นนี้น่าจะเป็นเพราะว่า ประสิทธิผลสูงขึ้น สอดคล้องกับ ปรียาพร
การสร้างและพัฒนารูปแบบการนิเทศ ผู้วิจัยได้ วงศ์อนุตรโรจน์ (2548 ) ที่กล่าวว่าจุดมุ่งหมาย

ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนารูปแบบ ของการนิเทศเพือ่ การพฒั นาวชิ าชีพครูและพัฒนา
การนิเทศ แนวคิด ทฤษฎีเก่ียวกับก าร จัด คุณภาพของนักเรียน สอดคล้องกับ วชิรา
การเรียนรู้ ศึกษาวิเคราะห์ ความต้องการจาเป็น เครือคาอ้าน (2552 ) พบว่ารูปแบบการนิเทศ

การนิเทศการศึกษาที่เก่ียวข้องกับการพัฒนา ดับเบิ้ลพีไออี (PPIE) ประกอบด้วย 4 ข้ันตอนดังน้ี

50

วารสารการวิจัยการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

1) ข้ันเตรียมความรู้/เทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้ การสอน 4) ประเมินผลการนิเทศ ติดตามดูแล
(Preparing : P) 2) ข้ันเตรียมการวางแผน และขั้นตอนที่ 5) ประเมินผลการนิเทศตลอด
การนิเทศ (Planning : P) 3) ข้ันดาเนินการนเิ ทศ ภ า ค เ รี ย น ( Evaluation : E) แ ล ะ ผ ล จ า ก
ก าร ตร ว จสอ บปร ะ สิทธิ ภาพ เชิง ปร ะ จั ก ษ์
การสอน (Implementing : I) 4) ขั้นประเมินผล ของรูปแบบการนิเทศการสอนครูวิทยาศาสตร์
การนิเทศ (Evaluation : E) รูปแบบท่ีพัฒนาขึ้น เพื่อพัฒนาศักยภาพนักเรียนท่ีมีแววความสามารถ
พเิ ศษทางวิทยาศาสตร์ โดยผเู้ ชย่ี วชาญ 5 คนพบวา่
มีประสิทธิภาพโดยการตรวจสอบจากผู้เช่ียวชาญ รูปแบบการนิเทศการ สอนมีประสิทธิ ภาพ
อยู่ในระดับดีมาก สอดคล้องกับประทินทิพย์ สอดคล้องกับ อรอุมา รุ่งเรืองวาณิช (2556)
พรไชยา (2561) ทาวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบ ได้ทาการวิจัยเรื่องการพัฒนารูปแบบการสร้าง
สมรรถนะครูนักวิจัยด้วยบูรณาการการเรียนรู้
การเสรมิ สรา้ งสมรรถนะการวิจัยในชน้ั เรยี นของครู สาหรับข้าราชการครู สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
ในสังกัดสานักงาน เขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 ที่พบว่าการตรวจ
คุณภาพรูปแบบการเสริมสร้างครูนักวิจัยด้วย
เขต 23 ผลการวิจัยพบว่า ผลการประเมินและ การบูรณการกระบวนการเรียนรู้ รูปแบบที่ได้
รับรองรูปแบบเพ่ือสร้างเสริม สรรถนะการวิจัย ในขั้นตอนท่ี 1 โดยตรวจสอบคุณภาพ จาก
ในชั้นเรียนของครูในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี ผู้เชี่ยวชาญ 5 คน เพ่ือตรวจสอบความเที่ยงตรง
และความเหมาะสมของรูปแบบและปรับปรุงตาม
ก า ร ศึ ก ษ า มั ธ ย ม ศึ ก ษ า เ ข ต 23 โ ด ย ร ว ม ข้อเสนอแนะ พบว่า มีความเที่ยงตรง เชิงเน้ือหา
รูปแบบมีความเหมาะสม มีความสอดคล้อง (IOC=0.60 - 1.00) และมีคะแนนความเหมาะสม
ขององค์ประกอบต่าง ๆ ของรูปแบบอยู่ในระดับ
มีความเป็นประโยชน์ มีความเป็นไปได้อยู่ในระดบั มากท่ีสุด ( X = 4.20 - 4.80) นอกจากนี้ได้
มากที่สุด จึงทาให้รูปแบบได้รับการรับรอง ต ร ว จ ส อ บ คุ ณ ภ า พ โ ด ย ศึ ก ษ า น า ร่ อ ง กั บ
จากผเู้ ชี่ยวชาญอยู่ในระดับมากทสี่ ุด สอดคล้องกับ กลมุ่ ตัวอยา่ ง 10 คน เพือ่ ตรวจสอบความเปน็ ไปได้
ก่อนนาไปใช้จริง พบว่ารูปแบบมีความเป็นไปได้
เกรียงศักด์ิ สังข์ชัย (2552) ได้ทาวิจัยเรื่อง ใ น ก า ร เ ส ริ ม ส ร้ า ง ส ม ร ร ถ น ะ ค รู นั ก วิ จั ย
การพัฒนารูปแบบการนิเทศการสอนของครู สอดคล้องกับระย้า คงขาว, มนสิช สิทธิสมบูรณ์
และเอื้อมพร หลินเจริญ (2559) ทาวิจัยเรื่อง
เพ่ือพัฒนาศักยภาพนักเรียนที่มีแววความสามารถ การพัฒนารูปแบบการนิเทศ เพ่ือเสริมสร้าง
พิเศษ ทางวิทยาศาสตร์ ผลการวิจัยพบว่า รปู แบบ สมรรถภาพการวิจัยเพื่อการพัฒนาการเรียนรู้
การนิเทศการสอนครูวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนา สาหรับครูระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พบว่า
ผลการประเมินรูปแบบการนิเทศเพื่อเสริมสร้าง
ศักยภาพนักเรียนที่มี แววความสามารถพิเศษ สมรรถภาพการวิจัยเพื่อการพัฒนาการเรียนรู้
ทาง วิ ทยาศาสตร์เรียก ว่ า “ APFIE Model” สาหรับครูระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพบว่ามี
ความเหมาะสมอยใู่ นระดบั มากทสี่ ุด
ประกอบด้วยขั้นตอน 5 ขั้นตอนคือ ข้ันตอนที่ 1
ศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการ 51
จาเป็น (Assessment Need : A) ขั้นตอนที่ 2

จั ด ก า ร ค ว า ม รู้ ก่ อ น ก า ร นิ เ ท ศ ( Providing
Information : P) ข้ันตอนท่ี 3 วางแผนการนิเทศ

(Formulation Plan : F) ข้ันตอนที่ 4 ปฏิบัติการ
นิ เ ท ศ ( Implementing : I) ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย
กระบวนการ 4 ขั้นตอนคือ 1) ข้ันเตรียมการสอน

และการนิเทศ 2) ข้ันสังเกตการสอนในชั้นเรียน
3) ขั้นประชุมให้ข้อมูลย้อนกลับหลังการสังเกต

วารสารการวิจัยการศึกษาขัน้ พื้นฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

2. การนิเทศโดยใช้รูปแบบการนิเทศเพื่อ ในชั้นเรียนสาหรับครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้
พัฒนาศักยภาพการวิจัยในช้ันเรียนของครูผู้สอน วทิ ยาศาสตร์ ท่ผี ู้วิจยั ได้จัดทาท่ีมีประสทิ ธภิ าพ โดย
เพ่ือการเรียนรู้ของผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ผ่านการทดลองกับกลุ่มย่อย 1:1 กลุ่มเล็ก 1:10
และกลุ่มภาคสนาม 1:100 จนมีประสิทธิภาพ
วิทยาศาสตร์ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา E1/E2 มีค่าเท่ากับ 82.26/81.77 เพ่ือให้ครูใช้
มัธยมศึกษา เขต 16 ผู้วิจัยอภิปรายจากข้อค้นพบ ประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ มีการสังเกตการสอน
ตลอดจนนาข้อมูลมาวิเคราะห์ ค้นหาคาตอบ และ
ของการวิจัยดงั นี้ นามาแก้ปัญหาปรับปรุงการเรียนการสอน และ
2.1 ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติการ วธิ ีการนเิ ทศ ทม่ี ีประสทิ ธิภาพ ผู้วิจยั ได้ใช้เทคนิคท่ี
หลากหลาย มคี วามเปน็ กนั เองกบั ครู พาคิด พาทา
วิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอน หลังการใช้รูปแบบ ปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ มีการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้และร่วมคิด ฝึกปฏิบัติจริง การ
การนิเทศ APIDEE Model ครูทุกคนมีศักยภาพ เป็นที่ปรึกษา การเป็นพ่ีเล้ียงและการให้คาช้ีแนะ
ดา้ นความรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกับการปฏบิ ัติการวิจัย เป็นขวัญกาลังใจครู ทาให้ครูมีความศรัทธาในตัว
ผู้วิจัย มีเจตคติที่ดีต่อการวิจัยในช้ันเรียนซึ่ง
ในชั้นเรียนเพิ่มข้ึนทุกคน และแตกต่างอย่างมี สอดคล้องกับ ยุพิน ยืนยง (2553 ) ได้ทาวิจัยเรือ่ ง
นัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 โดยหลังการใช้ การพัฒนารูปแบบการนิเทศแบบหลากหลายเพ่ือ
รูปแบบการนิเทศ มีคะแนนเฉล่ียสูงกว่าก่อนใช้ ส่งเสริมสมรรถภาพการวิจยั ในชนั้ เรียนของครู เขต
การศกึ ษา 5 อัครสงั ฆมณฑลกรุงเทพฯ ผลการวิจัย
รปู แบบการนเิ ทศ ทง้ั น้นี ่าจะเปน็ เพราะว่าผูว้ จิ ยั ซ่ึง พบว่า มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั การวิจยั ในชนั้
เป็นผู้มีความเช่ียวชาญด้านการนิเทศด้านการวิจัย เรยี นก่อนและหลังการใชร้ ปู แบบการนเิ ทศแตกตา่ ง
กันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ.05 โดยหลัง
ในช้ันเรียน และคณะทางาน ซ่ึงเป็นศึกษานิเทศก์ การใช้รูปแบบการนิเทศมีคะแนนเฉล่ียสูงกวา่ ก่อน
ร่วมเป็นวิทยากรในการพัฒนาศักยภาพการวิจัย การใช้รูปแบบการนิเทศ สอดคล้องกับ รัตติมา
ในช้นั เรียนของครูผู้สอน เพือ่ การเรียนรูข้ องผู้เรียน ภ า ค ะ ยั ง ( 2556) ก า ร พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ ค รู
ด้านการทาวิจัยในช้ันเรียน โรงเรียนบ้านห้วยกอก 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ทาให้ครู สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ทราบถึงหลักการ รวมท้ังมีความรู้ ความเข้าใจ มุกดาหาร พบว่าเมื่อดาเนินการพัฒนาครูด้านการ
ทาวิจัยในช้ันเรียนเสร็จสิ้นลง ครูมีความรู้ ความ
ท่ีถูกต้องตรงกันและได้ปฏิบัติตามข้ันตอนได้ เข้าใจเก่ียวกับขั้นตอน และกระบวนการทาวิจัย
อย่างครบถ้วน โดยใช้ระยะเวลาในการอบรม ในช้ันเรียนเพิ่มมากข้ึน อยู่ในระดับมากที่สุด
เชิงปฏิบัติการ จานวน 3 วัน ได้วางแผนร่วมกัน สอดคล้องกับระย้า คงขาว และคณะ (2559) ทา
วิ จั ย เ ร่ื อ ง ก า ร พั ฒ น า รู ป แ บ บ ก า ร นิ เ ท ศ เ พื่ อ
ท่ีจะให้ครูได้พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง อีกท้ัง เสริมสร้างสมรรถภาพการวิจัยเพื่อการพัฒนา
วิธีการฝึกอบรม มีข้ันตอนสื่อสาร ให้ครูเข้าใจ การเรียนรู้สาหรับครูระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

เป็นรูปธรรม เป็นภาษาท่ีส่ือให้ครูสามารถเข้าใจ 52
และปฏิบัติได้ เปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการ
ดาเนินการทุกข้ันตอน โดยเฉพาะขั้นตอนการ

เพ่ิมพนู ความร้ทู ่ยี ึดผู้เข้าอบรมเป็นสาคัญ ครูผสู้ อน
ได้ปฏิบัติจริงขณะฝึกอบรม มีการนาเสนอผลงาน

ต่อทปี่ ระชุมเพอ่ื แลกเปล่ยี นเรียนร้กู นั อยา่ งตอ่ เนอื่ ง
มีพ่ีเลี้ยงที่คอยใหค้ าแนะนา ชี้แนะตลอดเวลา การ
ท่ีครูผู้สอนได้รับการอบรมเชิงปฏิบัติการ เติมเต็ม

เกี่ยวกับการวิจัยในช้ันเรียน ทาให้ครูรู้และเข้าใจ
เพิ่มมากข้ึน อีกทั้งมีคู่มือพัฒนาศักยภาพการวิจัย

วารสารการวิจัยการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

ผลการวิจัยพบว่า ครูมคี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ คือ การนิเทศตามรูปแบบการนิเทศท่ีผู้วิจัยได้
วิ จั ย ใ น ชั้ น เ รี ย น ห ลั ง ก า ร พั ฒ น า สู ง ก ว่ า พัฒนาข้ึน ซ่ึงผู้วิจัยและคณะทางาน ได้ดาเนินการ
ก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ สังเกตการสอนและบันทึกพฤติกรรมการสอน
ของครู ภายหลังสังเกตการสอนก็จะประชุม
.05 อรอุมา รุ่งเรืองวาณิช (2556) ได้ทาการวิจัย สะท้อนผลแก่ครูผู้สอน โดยการช้ีจุดเด่น จุดด้อย
เ รื่ อ ง ก า ร พั ฒ น า รู ป แ บ บ ก า ร ส ร้ า ง ส ม ร ร ถ น ะ ข อ ง ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ ข อ ง ค รู ผู้ ส อ น
เป็นรายบคุ คลรายกลุ่ม และรว่ มกันหาแนวทางแก้ไข
ค รู นั ก วิ จั ย ด้ ว ย บู ร ณ า ก า ร ก า ร เ รี ย น รู้ ส า ห รั บ ปัญหา ดังน้ันการสังเกตการสอน นับเป็นขั้นตอน
ข้าราชการครู สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สาคัญยิ่งในการใช้รูปแบบการนิเทศที่พัฒนาขึ้น
มธั ยมศกึ ษา เขต2 ผลการวจิ ยั พบวา่ ข้าราชการครู เพราะจะช่วยพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้
ของครูผู้สอนให้เป็นไปตามหลักสูตรสถานศึกษา
มี ค ะ แ น น เ ฉ ลี่ ย ส ม ร ร ถ น ะ ค รู นั ก วิ จั ย ทุ ก ด้ า น และผลจากการสะท้อนผลจากการสังเกตการสอน
หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมี และนาข้อเสนอแนะมาพัฒนาปรับปรุงการเรียน
การสอนให้ดีขึ้น ทาให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ
นยั สาคญั ทางสถติ ิท่ีระดับ .05 เก่ียวกับวิจัยในช้ันเรียนมากขึ้น สอดคล้องกับ
2.2 ความสามารถในการทาเค้าโครงวิจัย วัชรา เล่าเรียนดี (2553) ที่กล่าวว่า การวิจัย
ใ น ชั้ น เ รี ย น แ ล ะ ก า ร สั ง เ ก ต ก า ร ส อ น เ ป็ น
ใ น ชั้ น เ รี ย น ข อ ง ค รู ผู้ ส อ น พ บ ว่ า อ ยู่ ใ น ร ะ ดั บ ดี ก ร ะ บ ว น ก า ร ป ฏิ บั ติ ที่ สั ม พั น ธ์ กั น แ ล ะ
ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ เพียงแต่รู้เข้าใจ
มีค่าพัฒนาท่ีดีข้ึน 1.09 และจาแนกเป็นรายบคุ คล วิธีการดาเนินการวิจัย ถ้าหากผู้ปฏิบัติไม่รู้ และ
พบว่า ครูผู้สอนท่ีมีผลการประเมินรอบท่ี 2 ไม่เข้าใจเก่ียวกับการเก็บรวบรวมข้อมูลพฤติกรรม
การเรียนการสอนต่าง ๆ ในช้ันเรียน และการสอน
อยู่ในระดับดีมาก 7 คน คิดเป็นร้อยละ 17.50 คน ดว้ ยเทคนิคใหม่ๆ ก็ไมส่ ามารถท่ีจะดาเนนิ การวิจัย
ระดับดี 30 คน คิดเป็นร้อยละ 75.00 ระดับ ใหป้ ระสบความสาเรจ็ และมีประสิทธิภาพได้ ดังนนั้
ปานกลาง 3 คน คิดเป็นร้อยละ 7.50 และระดับ จึงพบว่าครูผู้สอน ท่ีเป็นกลุ่มตัวอย่างจึงสามารถ
นาความรู้จากการ ใช้รูปแบบการนิเทศ และ
ปรับปรุงไม่มี ซ่ึงดีกว่าในรอบท่ี 1 ท้ังนี้อาจจะเป็น การทาวิจัยในช้ันเรียนมาปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
เพราะการใช้รูปแบบการนิเทศ APIDEE Model เป็นไปตามเป้าหมายท่ีตง้ั ไว้ ซึ่งจะสง่ ผลให้นกั เรียน
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีข้ึน ยังพบว่า รูปแบบ
โดยเฉพาะการสังเกตการสอนและการประชุม การนิเทศที่ผู้วิจัยได้พัฒนาข้ึน เน้นการช่วยเหลือ
สะทอ้ นผล การใหค้ าปรกึ ษา ชแ้ี นะ การเป็นพี่เลี้ยง ตนเอง มีการสร้างเครือข่ายสัมพันธ์ (Group
ทาให้ครูรับรู้ปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหา มี Dynamic) ได้แก่ การสนับสนุนให้ครูรวมกลุ่ม
จัดกิจกรรมการแลกเปล่ียนเรียนรู้ โดยมีครู
โอกาสแสดงความคิดเห็นและยอมรบั ข้อเสนอแนะ ทม่ี คี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั วจิ ัยในชน้ั เรียนเป็น
สอดคล้องกับ สุวิมล ว่องวาณิช (2557) กล่าวว่า ผู้ให้คาปรึกษา ช้ีแนะและสามารถขยายผลสู่

การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน เป็นการวิจัยที่ทา 53
โดยครูผู้สอนในช้ันเรียน เพื่อแก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึนใน
ช้ันเรียน และนาผลมาใช้ในการปรับปรุงการเรียน

การสอน หรือส่งเสริมพัฒนาการเรียนร้ขู องผู้เรยี น
ใหด้ ยี ่ิงขึน้ เพราะครอู ยใู่ กล้ชดิ กับนักเรียนมากที่สุด

ข้อมูลท่ีได้จะเป็นจริง ผลการวิจัยที่ได้รับจะเป็น
ป ร ะ โ ย ช น์ ส า ม า ร ถ น า ไ ป แ ก้ ปั ญ ห า ท่ี เ กิ ด ข้ึ น
ในห้องเรียน ฉะน้ันส่ิงท่ีจะช่วยให้ครูสามารถ

ดาเนนิ การแก้ไขปัญหาในการจัดการเรียนการสอน
ได้อย่างเป็นระบบ ชัดเจน เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ

วารสารการวิจัยการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

เพ่ือนครูได้หลังการนิเทศ ซ่ึงการดาเนินการ 2.3 ความสามารถในการทารายงานวิจัย
ดังกล่าวสอดคล้องกับรูปแบบการพัฒนาครูของ ในช้ันเรียนฉบับสมบูรณ์ของครูผู้สอน หลังการใช้
สานักงานสภาการศึกษา (2553) ได้ฝึกอบรม รูปแบบ การนิเทศ APIDEE Model อยู่ในระดับดี
และพบว่าทุกรายการประเมินอยู่ในระดับดี-ดมี าก
เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร โดยเนน้ การระดมความคิดจากผู้เข้า และพบว่า ผลการประเมินการทาวิจัยในชั้นเรียน
รับการฝึกอบรมและ การเสนอประสบการณ์ ของครผู สู้ อนจาแนกเป็นรายบคุ คลพบวา่ ครผู สู้ อน
ท่ีมีผลการประเมินระดับดีมาก 9 คน คิดเป็น
การเรียนท่ีประสบความสาเร็จในชั้นเรียนต่อกลุ่ม ร้อยละ 22.50 คนระดับดี 24 คน คิดเป็นร้อยละ
ทาให้ครูสามารถเปล่ียนพฤติกรรมการสอนได้ 60.00 และระดับปานกลาง 7 คน คิดเป็นร้อยละ
นอกจากนั้นสาเหตุท่ีทาให้ครูเปล่ียนแปลงบทบาท 17.50 และระดับปรับปรุงไม่มี เป็นเพราะครูที่
ได้รับการนิเทศตามรูปแบบการนิเทศ APIDEE
ก า ร ส อ น ไ ด้ อ า จ สื บ เ น่ื อ ง ม า จ า ก ค รู ไ ด้ มี โ อ ก า ส Model ท่ีมีขั้นตอนการให้ความรู้ก่อนการนิเทศ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนครูในกลุ่มเครือข่าย เก่ียวกับการวิจัยในช้ันเรียนและเทคนิควิธีสอนท่ี
หลากหลาย สาหรับนามาแก้ปัญหาและพัฒนา
เดียวกัน ได้มีโอกาสเรียนรู้วิธีการปฏิบัติงานจาก คุณภาพผู้เรียน ซ่ึงเป็นกระบวนการเรียนการสอน
เพ่ือนครูแล้วนาไปพัฒนางานของตนเอง ซึ่ง ที่เป็นระบบมีผลงานวิจัยสนับสนุน เมื่อครูเข้าใจ
สอดคล้ องกั บงานวิ จั ยของ สมาน สาครจิ ตร ใ น ข้ั น ต อ น แ ล ะ น า ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร พั ฒ น า คุ ณภ าพ
นักเรียนในห้องเรียนท่ีรับผิดชอบ จึงทาให้ครูมี
(2556 : 142) ทาการวิจัยการพัฒนารูปแบบการ ความรู้ ความเข้าใจ และมีศักยภาพในการทาวิจัย
ปฏิรูปการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยใช้ครูเป็นฐานใน ในชั้นเรียนอยู่ในระดับดี สอดคล้องกับ ประวิต
เอราวรรณ์ (2555) กล่าวว่าการทาวิจัยในชั้นเรียน
การจัดการเรียนรู้ผลการวิจัยพบว่า ครูสามารถ จะช่วยให้ครูทางานเป็นระบบเห็นภาพงานตลอดแนว
วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล สามารถกาหนด มี ก า ร ว า ง แ ผ น ใ น ก า ร ท า ง า น แ ล ะ ช่ ว ย ใ ห้ ค รู จั ด
แผนปฏิบัติการสอน การสร้างนวัตกรรมการสอน การเรียนการสอนได้อ ย่าง มีประ สิทธิ ภาพ
โดยใช้กระบวนการที่มีประสิทธิภาพ มีผลงานวิจัย
การประเมินตนเอง นอกจากนี้ครูยังสามารถ รองรับ ครูผู้สอน ท่ีเป็นกลุ่มทดลองใช้รูปแบบ
วางแผนด้านการวิเคราะห์สมรรถภาพของผู้เรียน การนิเทศเป็นครูท่ีอยู่ในกลุ่มสาระการเรียนรู้
เดียวกัน ทาให้เกิดความสนิทสนมคุ้นเคยไว้วางใจ
เป็นรายบุคคล การจัดก ารเรียนรู้เป็นกลุ่ม มีความเป็นกันเอง มีการชี้แนะ ข้อบกพร่อง
ตามสมรรถภาพ และส่งเสริมให้ผเู้ รียนตงั้ เป้าหมาย ในการจัดการเรียนรู้และการวิจัยในชั้นเรียนได้
การพัฒนาตนเองจนผู้เรียนสามารถประเมินตนเองได้ เป็นอย่างดี อีกทั้งผู้วิจัยใช้การโค้ช การเป็นพ่ีเลี้ยง
ให้กับครูผู้สอนอย่างกัลยาณมิตร ช่วยให้ครู
การท่ีครูมีการวางแผนร่วมกันทาให้ครูเกิดความ ปรับเปลี่ยนพฤติกรร ม การจัดการเรียน รู้
ตระหนักและรับผิดชอบร่วมกัน การแสดงความ ใช้นวัตกรรมได้เหมาะสมกับสภาพปัญหาและ
ผู้เรียน เน่ืองจากครูได้รับการช้ีแนะ ช่วยเหลือ
คิ ด เ ห็ น โ ด ย ก า ร ส ะ ท้ อ น ค ว า ม คิ ด จึ ง เ ป็ น ก า ร
แลกเปล่ียนเรียนรู้ท่ีครูมองเ ห็น ประ โ ยชน์ 54
โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมการเรียนรู้

ร่วมกัน ส่งผลให้การทางานประสบผลสาเร็จได้
อย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น ดังนั้นการใช้รูปแบบ

การนิเทศ เอพีไอดีดับเบ้ิลอี (APIDEE Model)
จึง เป็น รูปแบบก าร นิเทศท่ีทาให้ครูผู้ส อ น
สามารถแก้ปัญหาการเรียนการสอนและการวิจัย

ในชน้ั เรยี นได้ดขี น้ึ

วารสารการวิจัยการศึกษาข้ันพื้นฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการทาวิจัย เก่ียวกับการวิจัยในช้ันเรียน มีการฝึกปฏิบัติ
ในชั้นเรียน มีข้ันตอนการให้ความรู้ก่อนการนิเทศ ตามขั้นตอนของการวิจัยและในระหว่างปฏิบัติ
เรื่องวิจัยในช้ันเรียน เทคนิคการจัดการเรียนรู้ มีการดูแล ให้คาแนะนา ช้ีแนะและเป็นพี่เลี้ยง
อย่างใกล้ชิดและ ให้ครูนาเสนอหัวข้อเรื่องวิจัย
ท่ีเหมาะสม หลากหลายวิธี สาหรบั นามาแก้ปัญหา ท่ีสอดคล้องกับสภาพปัญหาในห้องเรียนและ
และพัฒนาผลการเรียนรู้ ซง่ึ เป็นกระบวนการเรียน มี ก า ร ติ ด ต า ม ภ า ค ส น า ม สั ง เ ก ต ก า ร สอ น
ทงั้ รายบุคคลและรายกล่มุ สอดคลอ้ งกับ ยอดหทัย
การสอนท่ีเป็นระบบ มีผลงานวิจัยสนับสนุน เทพธรานนท์ (2552) ท่ีกล่าวว่า พ่ีเล้ียงคือการให้
ช่ว ยให้ครูผู้สอน สามาร ถจัดก าร เรียน รู้ไ ด้ คาปรึกษา แนะนาในเรื่องต่างๆ อย่างใกล้ชิด
อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ พั ฒ น า ผ ล สั ม ฤ ท ธ์ิ ช่วยเหลือให้กาลังใจเป็นพิเศษเป็นส่วนตัวมากกวา่
มุ่งเน้นให้คนอยู่ภายใต้ การดูแลมีความแข็งแกร่ง
ทาง ก าร เรียน ของ นัก เรียน ไ ด้เป็น อย่ า ง ดี เช่ือม่ันในตนเอง สามารถทางานได้เองตามลาพัง
ซ่ึงสอดคล้องกับ นริศรา อุปกรณ์ศิริการ (2552) และประสบความสาเร็จ ดังท่ีตั้งเป้าหมายไว้และ
สอดคล้องกับ วัชรา เล่าเรียนดี (2556) กล่าวว่า
กล่าวว่า เป็นความร่วมมือและประสานงาน การให้คาช้ีแนะในบทบาทผู้เช่ียวชาญด้านการสอน
ของ บุคลาก ร ท าง ก าร ศึก ษาใน ก าร พัฒ น า จะช่วยสนบั สนนุ ครูผู้สอนเก่ยี วกับการจัดการเรียน
เพื่อปรับปรุงคุณภาพการจัดการเรียนการสอน การสอนที่มีประสิทธิภาพ ยุทธวิธีสอนที่เหมาะสม
และหลากหลายสอดคลอ้ งกบั เพลินพิศ ธรรมรัตน์,
ของครู อันจะทาให้ผู้เรียนเกิดก ารเ รียน รู้ ธวัชชัย ไพไหล และรัตติมา โสภาคยัง (2556)
อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ปจั จัยท่สี าคญั ท่ที าให้งานวิจัย ได้ทาการวิจัยการพัฒนาศักยภาพครูด้านการวจิ ยั
ในช้นั เรยี น โรงเรยี นบ้านหว้ ยกอ 1 สงั กดั สานักงาน
ในช้ันเรียนมีประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพ คือ เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร พบว่า
ครูผู้สอนต้องมีความรู้พ้ืนฐานเป็นอย่างดีเก่ียวกับ เมอื่ ดาเนินการพฒั นาครูดา้ นการทาวิจยั ในชัน้ เรียน
นวัตกรรมการเรียนรู้ เทคนิควิธีสอนใหม่ๆ ท่ีมี เสร็จสิ้นลง ผู้ร่วมวิจัย 5 คน มีความรู้ ความเข้าใจ
ข้ั น ต อ น แ ล ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า วิ จั ย ใ น ช้ั น เ รี ย น
ผลงานวิจัยรองรับ ดังที่ พิชิต ฤทธ์ิจารูญ (2552) เพ่ิมมากขึ้น อยู่ในระดับมากท่ีสุด ผู้ร่วมวิจัย เกิด
กล่าวว่าการเลือกนวัตกรรมหรือวิธีการแก้ปัญหา ทกั ษะและมีความม่ันใจ สามารถดาเนินการทาวิจัย
ในช้ันเรียนได้ถูกต้องตามข้ันตอน และเขียน
เม่ือมีก าร วิ เคร าะ ห์ปัญ หาก าร เรียน รู้แล้ว รายงานการวิจัยแบบเป็นทางการได้ ครูมี
ครูนักวิจัยจะต้องเลือกนวัตกรรมหรือวิธีการ ผลงานวจิ ัยในชนั้ เรยี นโดยภาพรวมอยใู่ นระดับมาก
แกป้ ญั หาให้เหมาะสมกับการเรียนรู้และครูนักวิจัย ท่ีสุด เม่ือนาผลการประเมินการทาวิจัยในช้ันเรยี น
ของครผู สู้ อน จาแนกเปน็ รายบคุ คลพบว่าครูผู้สอน
ส า ม า ร ถ ส ร้ า ง ห รื อ จั ด ห า ไ ด้ ด้ ว ย ต น เ อ ง แ ล ะ ที่มีผลการประเมินระดับปานกลาง 7 คน คิดเป็น
การออกแบบและ การสร้างนวัตกรรมหรือวิธีการ ร้อยละ 17.50 ท่ีเป็นเช่นน้ีเพราะว่า ครูผู้สอน
ขาดประสบการณ์ในการทาวิจัย มีภาระงานมาก
แก้ปัญหา เป็นการคิดกาหนดการออกแบบหรือ
โครงร่างของนวัตกรรมหรือวิธีการแก้ปัญหา 55
ตามทเี่ ลอื กไว้ การออกแบบนวัตกรรมจะชว่ ยให้ครู

นักวิจัยมองเห็นภาพโครงสร้างส่วนประกอบ
ของนวัตกรรมท้ังหมดซึ่งสะดวกต่อการสร้างและ

การจดั ทาต่อไป เมอื่ พจิ ารณาประเด็นการประเมิน
รายงานวิจัย ฉบับสมบูรณ์พบว่าอยู่ในระดับ ดี-
ดีมากทุกข้อ ท้ังนี้อาจเน่ืองมากจากครูผู้สอน

ไดร้ ับการนเิ ทศตามรูปแบบ การนเิ ทศทีผ่ วู้ ิจัยสร้าง
และพัฒนาขึ้น และได้รับการอบรมเชิงปฏิบัติการ

วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

ไม่มีเวลาในการสืบคน้ ขอ้ มูลท่ีเกย่ี วข้องกับการวิจัย เชิงปฏิบัติการและพัฒนาครูผู้สอน ผู้วิจัยมุ่งเน้น
และขาดความชานาญและทักษะในการสืบค้น และให้ความสาคัญเป็นพิเศษ เพ่ือให้ครูเป็นผู้ท่ีมี
ข้อมูล สอดคล้องกับ สุรพงษ์ แสงสีมุข, จิติมา ความรู้ความสามารถ มีเจตคติ มีทักษะในเกี่ยวกบั
การวิจัยในชั้นเรียนตามขั้นตอน วิธีการและ
วรรณศรี, วทิ ยา จันทรศ์ ลิ า, สาราญ มแี จ้ง (2557) แนวทางของการวิจัยในคู่มือนิเทศตามรูปแบบ
ไดศ้ ึกษาผลการพฒั นารปู แบบ เพื่อพัฒนาครูผสู้ อน การนิเทศเพ่ือพัฒนาศักยภาพการวิจัยในชั้นเรียน
ของครูผู้สอนเพ่ือการเรียนรู้ของผู้เรียน กลุ่มสาระ
โดยการทาวิจัยในช้ันเรียน ของโรงเรียนบ้านชอนไพร การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป็นคู่มือท่ีจัดทาเป็นขั้นตอน
สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 เป็นระบบเพอื่ ส่อื สารให้ครูเขา้ ใจงา่ ย ไมเ่ นน้ เน้ือหา
ผลการวิจัยพบว่า การทาวิจัยในช้ันเรียนของ ทางวิชาการมากนัก อีกทั้งผู้วิจัยเป็นผู้ที่เป็นที่
ยอมรบั ศรทั ธา เชอ่ื ถือของสถานศึกษา สามารถทา
ครูผู้สอนหลังการพัฒนาด้วยกิจกรรมตามรูปแบบ หน้าที่นิเทศได้อย่างมีคุณภาพโดยมีการวางแผน
4 ขั้น พบว่า ด้านผลงานวิจัยในช้ันเรียนของครู เตรยี มการ กาหนดหลกั สูตรและแนวทางการอบรม
จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการนิเทศติดตามครูผู้สอน
มีคุณภาพระดับพอใช้และสอดคล้องกับ ระย้า คงขาว, ซงึ่ สอดคล้องกับ กติ ติมา ปรีดีดลิ ก (2551) ท่ีกลา่ ว
มนสิช สิทธิสมบูรณ์ และเอ้ือมพร หลินเจริญ (2559) ว่า การนิเทศการศึกษามีจุดมุ่งหมายอยู่ที่การ
ทาวิจัยเร่ืองการพัฒนารูปแบบการนิเทศเพื่อ ส่งเสริมการเรียนการสอนให้ดีขึ้น การนิเทศ
การศึกษาไม่ใช่การบังคับหรือการจับผิด เป็นการ
เสริมสร้างสมรรถภาพการวิจัย เพ่ือการพัฒนา ช่วยให้ครูค้นหาและรู้วิธีการทางานด้วยตนเอง
การเรียนรู้สาหรับครูระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน รู้สึก มั่น คง ใน อ าชีพ และ มีคว าม เชื่ อ ม่ั น ใ น
ความสามารถของตนเอง รู้จักแยกแยะ วิเคราะห์
ผลการวิจัยพบว่า ครูมีความสามารถทาวิจัย ปัญหารู้ว่าอะไรคือปัญหาท่ีกาลังเผชิญอยู่และจะ
ในชน้ั เรียนมคี วามเหมาะสมอยู่ในระดบั มากทส่ี ดุ แ ก้ ปั ญ ห า เ ห ล่ า น้ี ไ ด้ อ ย่ า ง ไ ร อี ก ทั้ ง ใ ห้ คุ้ น เ ค ยกั บ
แหล่งวิทยาการ สามารถนาไปใช้ในการจัด
2. 4 คว ามพึง พ อใจของ ครู ผู้ ส อ น ที่ มี การเรียนการสอนได้และเข้าใจถึงปรัชญาและ
ความต้องการ ทางการศึกษา สอดคล้องกับ
ต่อรูปแบบการนิเทศท่ีส่งเสริมการวิจัยในชั้นเรียน อรอุมา รุ่งเรืองวาณิช (2556) ได้ทาการวิจัยเรื่อง
ของครูผูส้ อน เพื่อการเรยี นร้ขู องผเู้ รยี น กลุม่ สาระ การพัฒนารูปแบบการสร้างสมรรถนะครูนักวิจัย
ด้วยบูรณาการการเรียนรู้สาหรับข้าราชการครู
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ย สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา
อยู่ในระดับมากที่สุด และพบว่าด้านองค์ประกอบ เขต 2 พบว่า ข้าราชการครูมีความพึงพอใจ
ของรูปแบบ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ต่อรูปแบบการเสริมสรา้ งครูนักวิจัยด้วยการบรู ณา
การกระบวนการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก อีกทั้ง
ด้านกระบวนการนารูปแบบไปใช้ โดยภาพรวม สอดคลอ้ งกบั เยาวภา รตั นบลั ลงั ค์ (2548) รายงาน
อยู่ในระดับมากที่สุด และด้านผลของรูปแบบ วิจัยเรื่องการพัฒนารูปแบบการนิเทศภายในด้วย

ที่นาไปใช้ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด 56
ที่เป็นเช่นนี้น่าจะเป็นเพราะว่า รูปแบบการนิเทศ
APIDEE Model มีองค์ประกอบทีม่ คี วามเหมาะสม

สอดคล้องซ่ึงกันและกนั และมีความเป็นไปได้และ
มีประโยชน์มากในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

อีกท้งั ในการพัฒนามีเง่ือนไขคอื ผทู้ ่เี ข้ารว่ โครงการ
จะต้องมีความสนใจ สมัครใจและมีความมุ่งม่ัน
เตม็ ใจมีความรับผิดชอบและผู้บริหารเหน็ ชอบและ

ให้การสนับสนุน เพราะการนารปู แบบไปใชน้ ้นั เป็น
สง่ิ ที่มีความจาเป็นอย่างมาก ในส่วนของการอบรม

วารสารการวิจยั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

ระบบเครือข่าย สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา การพัฒนาเต็มตามศักยภาพของแต่ละคน เม่ือครู
สิ ง ห์ บุ รี พ บ ว่ า ค รู ผู้ รั บ ก า ร นิ เ ท ศ ไ ด้ รั บ ก า ร นิ เ ท ศ โ ด ย ก า ร ใ ช้ ก ร ะ บ ว น ก า ร วิ จั ย
มีความพึงพอใจต่อ การนิเทศของเครือข่าย ในการจัดการเรียนรู้ ส่งผลให้ครูใช้ความพยายาม
ตลอดเวลากบั การคน้ หาวธิ ีการเรยี นรู้ เพ่อื นักเรยี น
การนิเทศอยู่ในระดับมาก สอดคล้องกับ ยุพิน ยืนยง สามารถเรียนรู้ได้ดีที่สุด ด้วยวิธีการท่ีเหมาะสม
(2553) ไ ด้ทาวิ จัยเรื่อง ก าร พัฒ น ารูป แ บ บ กับความสามารถของตนเอง ครูได้นาหลักการ
สาคัญของการวิจัยมาใช้ในการค้นหาวิธีการวิจัย
การนิเทศแบบหลากหลายเพ่ือส่งเสริมสมรรถภาพ มาใช้ในการค้นหาวิธีการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสม
การวิจัยในชั้นเรียนของครู เขตการศึกษา 5 กับนักเรียนจะช่วยหาคาตอบหรือตอบคาถาม
อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ผลการวิจัยพบว่า ครูมี ที่ต้องการ สอดคล้องกับ สุรพงษ์ แสงสีมุข, จิติมา
วรรณศร,ี วทิ ยา จนั ทร์ศลิ า, สาราญ มแี จง้ (2557)
ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ รู ป แ บ บ ก า ร นิ เ ท ศ แ บ บ ได้ศึกษาผลการพัฒนารปู แบบเพื่อพัฒนาครผู ู้สอน
หลากหลายวิธีการ อยู่ในระดับมากท่ีสุด และ โดยการทาวิจัยในช้ันเรียน ของโรงเรียนบ้านชอนไพร
สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเพชรบูรณ์ เขต
สอดคล้องกับ สุรพงษ์ แสงสีมุข, จิติมา วรรณศรี, 1 ผลการวิจัยพบว่า ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิทยา จันทร์ศิลา, สาราญ มีแจ้ง (2557) ได้ศึกษา ข อ ง นั ก เ รี ย น มี พั ฒ น า ก า ร ด้ า น ทั ก ษ ะ ก า ร เ รี ย น
ผลการพัฒนารูปแบบเพ่ือพัฒนาครูผู้สอนโดยการ เพิ่มข้ึน สอดคล้องกับ เกรียงศักด์ิ สังข์ชัย (2552)
ได้ทาวิจัยเร่ือง การพัฒนารูปแบบการนิเทศ
ทาวจิ ัยในชัน้ เรยี นของโรงเรยี นบ้านชอนไพร สังกดั การสอนของครูเพ่ือพัฒนาศักยภาพนักเรียนท่ีมี
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 แววความสามารถพิเศษทางวิทยาศ า สตร์
ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่มีแววความสามารถพิเศษ
ผลการวิจัยพบว่า ด้านความพึงพอใจของครูผู้สอน ทางวิทยาศาสตร์เห็นด้วยกับการจดั การเรียนรู้เพอื่
ที่มีตอ่ รูปแบบการพัฒนาโดยการทาวิจยั ในชัน้ เรียน พฒั นาศกั ยภาพนักเรยี นของครูวิทยาศาสตร์ อยู่ใน
อยู่ในระดบั มาก ระดบั มาก สอดคล้องกบั ยุพิน ยนื ยง (2553) ไดท้ า
วิ จั ย เ ร่ื อ ง ก า ร พั ฒ น า รู ป แ บ บ ก า ร นิ เ ท ศ แ บ บ
2.5 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน หลากหลาย เพื่อส่งเสริมสมรรถภาพการวิจัย
ที่เกิดขึ้นจากการทาวิจัยของครูผู้สอนที่ได้รับ ในช้ันเรียนของครู เขตการศึกษา 5 อัครสังฆมณฑล
กรุงเทพฯ ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมีผลการเรียนรู้
การนิเทศ โดยใช้รูปแบบการนิเทศเพื่อพัฒนา สูงกว่าก่อนการใช้รูปแบบการนิเทศ สอดคล้องกับ
ศั ก ย ภ า พ ก า ร วิ จั ย ใ น ชั้ น เ รี ย น ข อ ง ค รู ผู้ ส อ น สมาน สาครจติ ร (2546) ได้ทาการวิจัยและพัฒนา
เพ่ือการเรียนรู้ของผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ รูปแบบการปฏิรูปการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยใช้
ครูเป็นฐานในการบริหารจัดการ กรณีโรงเรียน
วิทยาศาสตร์ พบว่านักเรียนมีผลสัมฤทธิ์หลัง สหกรณ์นิคมอ่าวลึก ผลการวิจัยพบว่า ด้าน
การใช้รูปแบบการนิเทศทุกช้ัน ทุกห้องเรียน ผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้เรียนที่ได้รับการใช้
รูปแบบการปฏิรูปการเรียนรู้โดยใช้ครูเป็นฐาน
มีคะแนนสูงกว่าก่อนใช้รูปแบบการนิเทศและ
มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 57
.01 และระดับ.05 ท่ีเป็นเช่นนี้น่าจะเป็นเพราะว่า

ครูได้จัดการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการวจิ ยั
มีการพัฒนาส่ือ สร้างนวัตกรรมเพ่ือแก้ปัญหา

ที่เกิดข้ึนในห้องเรียน หัวใจสาคัญของการปฏิรูป
การศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2542 คือการปฏิรูปการเรียนรู้และผู้ท่ีมี

บทบาทสาคัญที่สุดคือครูผู้สอน หน้าทโ่ี ดยตรงของ
ครูคือการจัดการเรียนรู้เพ่ือให้นักเรียนได้รับ

วารสารการวิจยั การศึกษาข้นั พื้นฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

ในการบริหารจัดการการเรียนการสอนส่งผลให้ การศึกษา ก็ย่อมจะประสบความสาเร็จได้ยาก
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนมีผลการเรียนและระดับ และผู้วิจัยเองก็ได้ดาเนินการนิเทศอย่างเป็นขั้น
ผลการเรยี นสงู ขน้ึ ทกุ กลมุ่ สาระอีกดว้ ย เป็นตอนโดยเร่ิมจากการวางแผนการนิเทศ การให้
ความรู้ ความเขา้ ใจ ในการทางาน การลงมือปฏบิ ตั ิ
ผลสาเร็จของการใช้รูปแบบการนิเทศเพื่อ การเสริมกาลังใจ และการประเมินผลการนิเทศ
พัฒนาศักยภาพการวิจัยในช้ันเรียนของครูผู้สอน เปน็ กระบวนการท่ีเหมาะสมกับลกั ษณะการทางาน
ของโรงเรียน จึงบรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์
เพ่ือการเรียนรู้ของผู้เรียน กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ ท่ีกาหนดไว้ทุกประการ
ส่งผลให้ครผู ้สู อนมีการปรับเปล่ียนพฤตกิ รรมมีการ
ปฏิบัติงานปกติสู่วิจัย ในชั้นเรียนและความก้าวหน้า ข้อเสนอแนะ
1. ควรมีการนารูปแบบการนิเทศ APIDEE
ทางวิชาการซึ่งเกิดจากการดาเนิน งานการนิเทศ
ที่ใช้การนิเทศและวิธีการนิเทศท่ีให้ครูผู้สอน Model ไปพัฒนาครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้
อื่น ๆ เช่น กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มีส่วนร่วมในการดาเนินงานซึ่งสอดคล้องและ ภาษาไทย สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
เป็นไปตามหลักการแนวคิดในการนเิ ทศการศกึ ษา เป็นต้น
ประการที่ 1 มุ่ง “พัฒนาคน” ก็คือการนิเทศ
2. ผลการวิจัยท่ีพบว่ารูปแบบการนิเทศ
การศึกษาเป็นการทางานร่วมกับครูและบุคลากร APIDEE Model เป็นรูปแบบที่สามารถพัฒนา
ทางการศึกษา เพ่ือให้ครูและบุคลากรเหล่าน้ันได้ ศักยภาพครู ด้านการวิจัยในชั้นเรียน และ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงข้ึน
เปล่ียนแปลงพฤติกรรมในทางท่ีดีขึ้น ประการท่ี 2 ดังนั้นควรนารูปแบบการนิเทศ APIDEE Model
“พัฒนางาน” เนื่องจากการนิเทศการศึกษา ไปใช้ในการพัฒนาทักษะด้านต่าง ๆ ของครูผู้สอน
มีเป้าหมายสูงสุดอยู่ที่นักเรียน ซึ่งเป็นผลผลิตจาก เช่น การจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล
การประกนั คณุ ภาพผู้เรียนเปน็ ต้น
การสอนให้ดีขึ้นนั่นเอง สาหรับประการท่ี 3
“สร้างประสานสัมพันธ์” นั้น จะเป็นผลท่ีเกิดข้ึน 3. ค ว ร มี ก า ร วิ จั ย เ ชิ ง ท ด ล อ ง เ พื่ อ
เปรียบเทียบรูปแบบการนิเทศ APIDEE Model
จากการทางานร่วมกัน รับผิดชอบร่วมกัน กบั รูปแบบการนเิ ทศอืน่ เพือ่ พัฒนาผลสัมฤทธ์ิ
ผลัดเปลี่ยนกัน เป็นผู้นาผู้ตาม ซึ่งไม่ใช่เป็นการ
ทางานภายใต้การถูกบังคับและคอยตรวจตราหรือ

คอยจับผิด และประการสุดท้ายคือ “สร้างขวัญ
และกาลังใจ” นั้นถือว่าเป็นสิ่งที่สาคัญท่ีจะทาให้

บุคคลมีความต้ังใจทางาน หากการนิเทศไม่ได้สร้าง
ขวัญและกาลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงานแล้ว การนิเทศ

58

วารสารการวิจยั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

เอกสารอา้ งองิ

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2560). แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560-
2564). กรุงเทพฯ: สานกั นโยบายและยุทธศาสตร์ สานกั ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2545
พรอ้ มกฎกระทรวง ท่เี กยี่ วขอ้ งและพระราชบัญญตั กิ ารศึกษาภาคบงั คับ พ.ศ. 2545. กรงุ เทพฯ
: โรงพิมพ์ ร.ส.พ.

กติ ิมา ปรีดดี ิลก. (2551). การบรหิ ารและการนิเทศเบอ้ื งตน้ . กรงุ เทพฯ : อักษรพิพัฒน์ จากัด.
เกษม เป้าศรวี งษ์. (2557). การพัฒนารูปแบบการนเิ ทศแบบเสรมิ พลงั ครนู กั วจิ ัยเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารในชน้ั เรยี น.

วิทยานพิ นธป์ ริญญาครุศาสตรด์ ษุ ฎีบัณฑติ สาขาการวิจยั และพฒั นาทางการศึกษาคณะครศุ าสตร์
มหาวิทยาลยั ราชภฎั พิบลู สงคราม
เกรียงศกั ด์ิ สงั ข์ชัย. (2552). การพฒั นารูปแบบการนิเทศการสอนครูวิทยาศาสตรเ์ พื่อพัฒนาศักยภาพ
ของนักเรียนทมี่ แี ววความสามมารถพเิ ศษทางวิทยาศาสตร์. วิทยานิพนธ์ ปรชั ญาดษุ ฎบี ัณฑติ
(หลกั สตู รและการสอน). กรงุ เทพฯ : บัณฑติ มหาวิทยาลยั มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร.
ธนชพร ตง้ั ธรรมกุล. (2559). รายงานวิจัยความตอ้ งการเสริมสรา้ งสมรรถนะด้านการวจิ ยั ในช้ันเรยี น.
สงขลา: สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 16.
นรศิ รา อุปกรณศ์ ิรกิ าร. (2552). สภาพและปัญหาการนเิ ทศภายในโรงเรียนของผบู้ ริหารโรงเรียน
ประถมศึกษา สังกดั สานักงานการประถมศึกษาจังหวดั ราชบุรี. ปริญญานพิ นธ์ ศกึ ษาศาสตร์
มหาบัณฑติ . กรงุ เทพฯ: บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.์
นติ ยา ทองไทย. (2552). การดาเนนิ การนเิ ทศภายในโรงเรยี นของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา
สงั กดั สานักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุพรรณบุร.ี ปริญญานิพนธ์ ศึกษาศาสตร์มหาบณั ฑิต.
(การบริหารการศกึ ษา). กรงุ เทพฯ : บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั ศิลปากร.
ประทินทพิ ย์ พรไชยา. (2561, มกราคม-มถิ ุนายน). การพฒั นารูปแบบการเสรมิ สร้างสมรรถนะการวิจัย
ในชั้นเรยี นของครู ในสังกัดสานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 23. สถาบนั วทิ ยา
การจดั การแหง่ แปซฟิ ิก. 4 (1) : 11-14.
ประวติ เอราวรรณ.์ (2555). การวิจัยในชนั้ เรียน. กรุงเทพฯ : ดอกหญ้าวชิ าการ จากัด.
ปรยี าพร วงศอ์ นุตรโรจน์. (2553). การบรหิ ารงานวชิ าการ. กรุงเทพฯ : ศนู ย์ส่อื เสริมกรุงเทพ.
พิชิต ฤทธิ์จารูญ. (2552). หลกั การวัดและประเมนิ ผลการศกึ ษา. (พิมพ์คร้ังที่ 5). กรงุ เทพมหนคร : เฮาร์ออฟ เดอร์
มสิ ท์.
ยอดหทยั เทพธรานนท์. (2552). Memtor-mentee-mentoring. สืบค้นวนั ท่ี 20 พฤษภาคม 2558,
จาก http//meeting.trf.or.th/seminar/Documents/Mentor Mentee.pdf
ยพุ นิ ยืนยง. (2553). การพฒั นารูปแบบการนิเทศแบบหลากหลายวธิ กี ารเพอ่ื สง่ เสริมสมรรถภาพการวิจยั
ในชนั้ เรียนของครู เขตการศึกษา 5 อคั รสงั ฆมณฑล กรงุ เทพฯ. ปรญิ ญานิพนธ์ปรัชญาดษุ ฎี
บณั ฑติ . กรงุ เทพฯ : บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
เยาวภา รตั นบัลลงั ค.์ (2548). การพัฒนารปู แบบการนเิ ทศภายในดว้ ยระบบเครือข่าย สานักงานเขตพน้ื ท่ี
การศกึ ษาการศึกษาสงิ ห์บรุ ี. นครสรรค์ : โรงพมิ พร์ มิ บึง.

59

วารสารการวิจัยการศึกษาขนั้ พื้นฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

รัตตมิ า โสภาคะยงั . (2556). การพัฒนาศักยภาพครูด้านการทาวจิ ัยในชน้ั เรียน โรงเรยี นบา้ นหว้ ยกอก 1
สังกัดสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษามุกดาหาร. มุกดาหาร : สานักงานเขตพน้ื ท่ี
การศึกษาประถมศึกษามกุ ดาหาร.

ระยา้ คงขาว, มนสิช สิทธสิ มบรู ณ์ และ เอือ้ มพร หลนิ เจริญ. (2559, มกราคม - มนี าคม). “การพฒั นา
รปู แบบการนเิ ทศเพอื่ เสริมสรา้ งสมรรถภาพการวิจัยเพอื่ พฒั นาการเรียนรสู้ าหรับครรู ะดบั
การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน”. ศึกษาศาสตรม์ หาวิทยาลัยนเรศวร. 18 (78) : 7-9.

วชริ า เครอื คาอา้ ย. (2552). การพฒั นารูปแบบการนเิ ทศนกั ศึกษาระสบการณว์ ชิ าชพี ครูเพ่อื พฒั นา
สมรรถภาพการจดั การเรียนรทู้ ่ีส่งเสรมิ การคดิ ของนักเรียน. ปริญญานิพนธ์ ศึกษาศาสตร์ดษุ ฎีบัณฑิต.
(หลกั สตู รและการสอน). นครปฐม : บัณฑติ มหาวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร.

วชั รา เลา่ เรยี นดี . (2553). ศาสตรก์ ารนิเทศการสอนและการโค้ชการพัฒนาวชิ าชพี : ทฤษฎี กลยุทธสู่
การปฏิบัติ.พมิ พค์ ร้งั ที่ 12. นครปฐม : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สงดั อทุ รานันท์. (2530). การนเิ ทศการศึกษา หลักการ ทฤษฎีและปฏิบัติ. (พิมพค์ ร้งั ท่ี 2).กรุงเทพมหานคร
: โรงพิมพ์มิตรสอน.

สมาน สาครจิตร. (2556). การพฒั นารปู แบบการปฏิรูปการเรยี นรูข้ องผู้เรียนโดยใชค้ รูเปน็ ฐานในการจดั
การเรยี นรู้. กรุงเทพฯ : สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สานกั งานสภาการศึกษา, กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). สมรรถนะการศกึ ษาไทยในเวทีสากล พ.ศ. 2552.
กรุงเทพฯ : พรกิ หวานกราฟฟคิ จากดั .

สรุ พงษ์ แสงสมี ุข, จิตมิ า วรรณศรี, วิทยา จนั ทร์ศิลา และสาราญ มีแจง้ . (2557). รูปแบบการพัฒนา
สมรรถนะของครูในสถานศึกษา สงั กดั สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร. ศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร. 16 (2): 119-12.

สุวมิ ล วอ่ งวาณิช. (2557). การวิจัยปฏิบัตกิ ารในชัน้ เรียน. (พมิ พ์ครั้งท่ี 15). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
อรอุมา รุ่งเรืองวาณชิ . (2556). การพัฒนารูปแบบการสรา้ งสมรรถนะครูนักวิจัยดว้ ยบรู ณาการการเรียนรู้

สาหรบั ข้าราชการครู สังกดั สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 2.

60

วารสารการวิจัยการศึกษาข้ันพื้นฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

การพัฒนาสมรรถนะครคู อมพวิ เตอร์ดา้ นการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร
ในการจดั การเรยี นรู้ตามแนวคอนสตรัคติวสิ ต์ ด้วยกระบวนการนเิ ทศแบบ AIPDDONE

The development of computer teacher competency in the use of
information technology and communication in constructivist learning management

with AIPDDONE supervision process

ปาริชาติ เภสัชชา*
Parichat Pasetcha

บทคดั ย่อ

การวจิ ยั ครงั้ น้มี ีวตั ถุประสงค์ เพอื่ พัฒนาสมรรถนะครูคอมพิวเตอรด์ ้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การส่อื สาร ในการจดั การเรยี นร้ตู ามแนวคอนสตรคั ติวสิ ต์ ด้วยกระบวนการนิเทศแบบ AIPDDONE กลุม่ ตวั อย่าง
ท่ีใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้มาโดยเลือกแบบเจาะจง จากของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 2 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2558 จานวน 20 คน ใช้รปู แบบการวิจัยและพัฒนา
(Research and Development) แบ่งการวิจัยออกเป็น 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 สร้างและพัฒนา
กระบวนการนิเทศ ข้ันตอนที่ 2 พัฒนาสมรรถนะครูคอมพิวเตอร์ และข้ันตอนที่ 3 เพื่อศึกษาผลกระทบจาก
การพัฒนาสมรรถนะครูคอมพิวเตอร์ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ในการจัดการเรียนรู้
ตามแนวคอนสตรคั ติวิสต์ ด้วยกระบวนการนิเทศแบบ AIPDDONE มุ่งเน้นการพัฒนาสมรรถนะครูคอมพวิ เตอร์
ด้ า น ก า ร ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ แ ล ะ ก า ร สื่ อ ส า ร ใ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ต า ม แ น ว ค อ น ส ต รั ค ติ วิ ส ต์
(ICT Competency) 3 ด้าน ได้แก่ ด้านสารสนเทศ (Information) ด้านไอซีที (ICT) และด้านเทคโนโลยี
(Technology) เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ในครั้งนี้ มี 2 ประเภท ได้แก่
1) เครื่องมือท่ีเป็นนวัตกรรม ได้แก่ แนวทางการพัฒนาสมรรถนะ ชุดฝึกอบรมและชุดนเิ ทศ 2) เครื่องมือที่ใช้
ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมินสมรรถนะ แบบสังเกตการสอน แนวทางการสนทนากลุ่มครู
แบบสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติพ้ืนฐานในการวิเคราะห์ ได้แก่
ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เชิงคุณภาพใช้วิธีการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content
analysis) ผลการวจิ ยั พบว่า

1. กระบวนการนิเทศท่ีส่งเสริมสมรรถนะครูคอมพิวเตอร์ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การส่ือสาร ในการจดั การเรียนรตู้ ามแนวคอนสตรคั ติวิสต์ คือกระบวนการนิเทศแบบ AIPDDONE ประกอบด้วย
5 ข้ันตอน ได้แก่ ข้ันท่ี 1 การประเมินสมรรถนะ (Assessing : A) ขั้นท่ี 2 การให้ความรู้ (Information : I)
ข้นั ที่ 3 การวางแผนการนิเทศการสอน (Planning : P) ขนั้ ท่ี 4 การปฏบิ ตั กิ ารนิเทศการสอน (Doing : D)

*ศกึ ษานเิ ทศกเ์ ชีย่ วชาญ ดร. สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 2
Expert Level Supervisor Dr., ChiangMai Primary Educational Service Area Office 2

61

วารสารการวิจยั การศึกษาขั้นพื้นฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

แบ่งวิธีการนิเทศออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มท่ี 1 วิธีการนิเทศแบบช้ีนาให้คาปรึกษา (Directive consulting
approach : D) ใช้สาหรับครูคอมพิวเตอร์ท่ีมีผลการประเมินสมรรถนะในระดับน้อยและน้อยที่สุด กลุ่มท่ี 2
วิธีการนิเทศแบบร่วมมือ (Operation collaborative approach : O) ใช้สาหรับครูคอมพิวเตอร์ที่มีผล
การประเมินสมรรถนะในระดับปานกลาง กลุ่มท่ี 3 วิธีการนิเทศแบบช้ีนาตนเอง (Non-directive and self-
directed approach : N) ใช้สาหรับครูคอมพิวเตอร์ ที่มีผลการประเมินสมรรถนะในระดับมากและมากท่ีสดุ
และข้ันท่ี 5 การประเมนิ ผล (Evaluation : E)

2. ครคู อมพวิ เตอรท์ ่ีได้รับการพัฒนาสมรรถนะมีคา่ เฉลย่ี เพิม่ ขนึ้ 0.61 เม่อื พจิ ารณาแตกตา่ งของคา่ เฉลี่ย
ก่อนและหลังการพัฒนาตามวิธีการนิเทศ เรียงลาดับจากมากไปหาน้อย พบว่า วิธีการนิเทศแบบชี้นา
ให้คาปรึกษา ความแตกต่างของค่าเฉล่ียก่อนและหลังการฝึกอบรมเท่ากับ 0.95 วิธีการนิเทศแบบร่วมมือ
ความแตกต่างของค่าเฉล่ียก่อนและหลังการฝึกอบรมเท่ากับ 0.61 และวิธีการนิเทศแบบช้ีนาตนเอง
ความแตกต่างของค่าเฉล่ียก่อนและหลังการฝึกอบรมเท่ากับ 0.27 และผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
พบว่า ครูทุกคนสามารถนาความรู้ไปผลิตส่ือ แผนการจัดการเรียนรู้ สร้างชุมชนการเรียนรู้ร่วมกัน และ
มีสมรรถนะด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ในการจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ทงั้ 3 ด้าน

3. ผลกระทบทางบวกที่เกิดติดตามมาจากครูคอมพิวเตอร์ ได้แก่ การพัฒนาพฤติกรรมการเรียนรขู้ อง
นักเรียน ความพึงพอใจในงาน การเป็นตัวแบบนวัตกรรม และการยอมรับจากภายนอก โดยมีเง่ือนไข
ความสาเรจ็ จากครู และจากผ้บู รหิ ารสถานศึกษา

4. ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา และครูคอมพิวเตอร์ ที่มีต่อการพัฒนาสมรรถนะจากการ
เผยแพร่นวัตกรรมการนิเทศ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ผู้บริหารสถานศึกษาได้ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.54
ครูคอมพวิ เตอร์ ไดค้ า่ เฉลีย่ เท่ากบั 4.69

คาสาคัญ : สมรรถนะครู/ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร/ การจดั การเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์/
กระบวนการนเิ ทศ

Abstract

The objective of this research was to develop the competency of computer teachers in
using information technology and communication beyond constructivist learning management
with AIPDDONE Supervision. The sample group was 20 teachers by purposive selected from
schools in Chiangmai primary educational service area office 2, during 2nd semester of
academic year 2015.

This type of research was “ research and development” . The three steps of doing the
research were 1) to create and develop the supervision, 2) to develop the computer teachers’
competency, and 3) to study the effect of developing the competency of computer teachers

62

วารสารการวิจยั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

in using information technology and communication beyond constructivist learning
management with AIPDDONE Supervision in three terms which were included information
aspect, ICT and technology aspect. The information was collected as quantitative and
qualitative data. The instruments used in this research were 1) innovative tools such as
competency improvement, training and supervision package, and 2) collective data tools
which referred to competency evaluation, teaching observation, group interview, and school
administrators interview. The quantitative data was analyzed by percentage, mean and
standard deviation. The qualitative data was considered by using content analysis. The results
were found that;

1. The supportive method for developing the competency of computer teachers in using
information technology and communication beyond constructivist learning management was
AIPDDONE supervision. It was divided to 5 processes which were 1) Assess the competency (Assessing: A),
2) Give an information (Information: I), 3) Plan the supervision (Planning: P), 4) Do teaching
supervision ( Doing : D) that was separated into 3 groups which are as follows; Group 1 :
Directive consulting approach (D) for computer teachers who had low and lowest competency
level, Group 2 : Operation collaborative approach (O) for those who had moderate competency
level, and, Group 3 : Non-directive and self-directed approach (N) for those who had more and
most competency level. In addition, the last step and, 5) Evaluation method (Evaluation: E).

2. The computer teachers who were developed the competency, had added the average up to
0. 61. When comparing the number of the average before and after the supervision, it was
founded that the average 0. 95 was shown in directive consulting approach. The average of
operation collaborative approach was 0.61 and the non-directive and self-directed approach was
0.27. The qualitative data was shown that every computer teacher was able to create media,
lesson plans, build learning community and had the competency in using information
technology and communication beyond constructivist learning management all 3 aspects.

3. The positive side effect was learning behavior of learners’ development, work
satisfaction, being an innovative model and guarantee from outside organization by teachers
and administrators’ success.

4. The administrators and computer teachers’ opinion for the competency development was in the
highest level. The administrators’ average point was 4.54 and computer teachers was at 4.69.

Keyword : Teachers’ competency/ information technology and communication constructivist
learning management/ supervision

63

วารสารการวิจยั การศึกษาข้ันพื้นฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

บทนา ของครูคอมพิวเตอร์ ด้านการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พบว่า
ในยุคปจั จุบนั ทว่ั โลกให้ความสาคัญในการ ร้อยละ 89 ของครูคอมพิวเตอร์มีความต้องการ
น า เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ ม า ใ ช้ ใ น ก า ร พั ฒ น า พัฒนาสมรรถนะด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเทศ การศึกษาซึ่งเป็นรากฐานของการพัฒนา ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ
ประเทศได้ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศ การเรียนรู้ของผู้เรียนในยุคปัจจุบัน (สานักงาน
สาหรบั ประเทศไทยมีการตนื่ ตัวและให้ความสาคัญ เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2,
ในการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2555 : 105) จากสภาพปัญหาและความต้องการ
มาพัฒนาคุณภาพการศึกษา ดังพระราชบัญญัติ ดังกล่าว ในปีการศึกษา 2556 ผู้วิจัยได้จัดทา
การศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ได้กาหนด โครงการพัฒนาครูคอมพิวเตอร์ด้านการ ใช้
ให้มีการนาเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาเข้ามามี เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือการ
ส่ ว น ช่ ว ย ใ น ก า ร พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร ใ ห้ มี ค ว า ม รู้ จัดการเรียนรู้ โดยมีวัตถุประสงค์สาคัญคือ ให้ครู
ความสามารถท่ีจะใช้เทคโนโลยีได้อย่างมีคุณภาพ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ มี ส ม ร ร ถ น ะ ใ น ก า ร น า เ ท ค โ น โ ล ยี
และบังเกิดประสิทธิผล และจากมาตรการในการ สารสนเทศและการสื่อสารไปใช้เป็นเครื่องมือ
ปฏิรูปการศึกษา จะเห็นได้ว่าเปน็ หนา้ ท่ีสาคญั ของ ในการจัดเรียนรู้ให้กับผู้เรียน แต่จากการนิเทศ
รัฐบาลและสถาบันการศึกษารวมท้ังผู้ที่เกี่ยวข้อง ติดตาม และประเมินผลหลังเสร็จส้ินโครงการ
ต้องร่วมกันพัฒนาการศึกษาของประเทศชาติให้ พบว่า ผู้เรียนส่วนใหญม่ ีปัญหาดา้ นการไมส่ ามารถ
สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาดังกล่าว สร้างองค์ความรู้ด้วยตัวผู้เรียนเอง ทั้งน้ี เน่ืองจาก
โดยการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ประโยชน์ ครูผู้สอนใช้วิธีการจัดการเรียนรู้โดยให้ผู้เรียน
ในการพัฒนาการศึกษาให้มีประสิทธิภาพมากท่สี ุด เลียนแบบหรือทาตาม ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อผู้เรียน
เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้และใช้ ทาใหข้ าดความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครอ่ื งมือสร้างการเรียนรู้ ไม่สามารถคิด และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
ให้กว้างขวาง และกระจายโอกาสทางการศึกษา ข า ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ส ร้ า ง
ในทุกระดับ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษา แรงจูงใจท่จี ะเรยี นรตู้ อ่ ไป และเมื่อวเิ คราะห์ข้อมูล
แห่งชาติ, 2547 : 32-34) จากข้อกาหนดตาม ในเชิงลึก โดยการสัมภาษณ์ครูคอมพิวเตอร์และ
ระเบียบกฎหมายและแนวคิดของนักวิชาการ ผู้บริหารสถานศึกษา พบว่า จากการที่ผู้เรียน
ดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า การใช้เทคโนโลยี ขาดความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้
สารสนเทศมีความสาคัญอย่างย่ิงสาหรับครูที่เป็น ไม่สามารถคิด และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
ครูมืออาชีพ อย่างไรก็ตามแม้ว่าเทคโนโลยี สง่ ผลใหเ้ กดิ ปัญหาที่สาคัญคอื ผู้เรียนยังขาดทักษะ
สารสนเทศจะมีความสาคัญจาเป็นต่อการพัฒนา การคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์อย่างเป็นระบบ
วิชาชีพครู และการพัฒนาคุณภาพการเรียน ผู้เรียนไม่มีวิสัยทัศน์ ไม่สามารถนาความรู้ไป
การสอน แต่จากการนิเทศติดตามในปีการศึกษา 2555
ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการ 64

วารสารการวิจัยการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ (สานักงาน การศึกษาแนวคิดของนักวิชาการ รวมทั้งงานวิจัย
เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2, ท่ีเกี่ยวข้อง พบว่า กระบวนการที่จะใช้แก้ปัญหาน้ี
ได้ คือ การนิเทศการสอน ท้ังน้ีวิธีการในการนิเทศ
2556 : 35 – 36) การสอนที่คานึงถึงความเหมาะสมกับคุณลักษณะ
ดังนั้น ในปีการศึกษา 2557 ผู้วิจัยจึง ของครูแต่ละลักษณะ ระดับความสามารถใน
การคิดและการพัฒนาตนเอง มีความรู้สึกผูกพันต่อ
จัดทาโครงการพัฒนาสมรรถนะครูคอมพิวเตอร์ ภาระหน้าที่ก็คือ การนิเทศแบบพัฒนาการ
ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Developmental supervision) ซ่ึงเป็นการนิเทศท่ี
เ พ่ื อ น า ม า เ ป็ น เ ค ร่ื อ ง มื อ ใ น ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม คานึงถึงธรรมชาติของมนุษย์ ศักยภาพของมนุษย์
ตลอดจนความแตกต่างในด้านต่าง ๆ ของมนุษย์
การเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางให้ผู้เรียน โดยต้ังอยู่บนความเชื่อพ้ืนฐานว่ามนุษย์สามารถ
มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือให้ผู้เรียน พัฒนาตนเองได้ นอกจากน้ี วิธีการนิเทศดังกล่าว
ยังสอดคล้องกับสภาพปัจจุบันมากท่ีสุด ท้ังนี้
มี ก า ร พั ฒ น า ท่ี ค ร อบ ค ลุ ม ท้ั ง ค ว า ม ส า ม า ร ถ ทาง เพราะมีจุดมุ่งหมายสาคัญเพื่อช่วยครูให้สามารถ
สติปัญญา การใช้กระบวนการคิดขั้นสูงและการใช้ ป รั บ ป รุ ง พั ฒ น า ต น เ อ ง แ ล ะ ง า น ใ น วิ ช า ชี พ ข อ ง
เหตุผล ท้ังน้ีหลักสูตรของการอบรมเชิงปฏิบัติการ ตนเองได้อย่างต่อเนื่องและเกิดประสิทธิผลสูงสุด
ตอ่ ผเู้ รียน
ตามโครงการดังกล่าวทาให้ครูคอมพิวเตอร์ได้
เรียนรู้การใช้เคร่ืองมือเทคโนโลยีสารสนเทศและ ด้วยความตระหนักนี้ ในปีการศึกษา 2558
โดยผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าแนวคิด ทฤษฎีของ
การสื่อสาร ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สมัยใหม่ นักการศกึ ษาอย่างหลากหลาย และงานวจิ ัย ทั้งใน
ท่ีอยู่บนพื้นฐานของหลักการและทฤษฎีการเรยี นรู้ และต่างประเทศที่เก่ียว ข้องกั บสมรร ถน ะ
ตามหลกั แนวคิดของนกั คอนสตรคั ตวิ ิสต์ ครูคอมพิวเตอร์ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร ในการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21
อย่างไรก็ตามจากการนิเทศ ติดตาม และนาสมรรถนะดังกล่าวมาเป็นเป้าหมายในการพัฒนา
หลังจากสิ้นสุดโครงการ พบว่า ครูคอมพิวเตอร์ โ ด ย บู ร ณ า ก า ร ร่ ว ม กั บ ท ฤ ษ ฎี ก า ร นิ เ ท ศ แ บ บ
พฒั นาการตามแนวคิดของกล๊ิกแมน กอรด์ อน และ
ร้อยละ 95 มีความรู้ความเข้าใจเร่ืองการจัด รอสกอร์ดอน (Glickman, Gordon and Ross –
กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Gordon, 2004 : 464) เพ่ือนามาสังเคราะห์พัฒนา
ตามแนวคอนสตรัคติวสิ ต์อยูใ่ นระดับมาก กระบวนการนิเทศการสอน ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพเหมาะแก่
การนามาพัฒนาสมรรถนะครูคอมพิวเตอร์ด้าน
แต่เมือ่ ลงมือปฏิบัติในสถานที่ปฏบิ ัติงานจริง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ในการ
กลับไม่ถูกต้อง ซึง่ มีสาเหตุมาจากหลังส้ินสุดการอบรม จัดการเรียนรู้ ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ โดยกาหนด
ชื่อเรื่องคือ “การพัฒนาสมรรถนะครูคอมพิวเตอร์
เชิงปฏิบัติการดังกล่าวยังขาดวิธีการนิเทศ ติดตาม ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ใน
ช่วยเหลือครูคอมพิวเตอร์ที่สอดคล้อง และเหมาะสม
ตามความแตกต่างของสมรรถนะครูคอมพิวเตอร์ 65

แต่ละบุคคล ผู้บริหารสถานศึกษาและครูมีความเห็น
สอดคล้องกันว่า น่าจะมีการพัฒนา และนิเทศ

ติดตามครูให้สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศได้อย่างถูกตอ้ งมีคณุ ภาพเพื่อ
ส่งผลต่อการพัฒนาการเรียนการสอนและพัฒนา

ตนเองได้อย่างแท้จริง (สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 2, 2557 : 35 – 36) ซึ่งจาก

วารสารการวิจัยการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

การจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ด้วย ข้ันตอนท่ี 1 การพัฒนากระบวนการนิเทศ
กระบวนการนิ เทศแบบ AIPDDONE” เพื่ อให้ ที่ส่งเสริมสมรรถนะครูคอมพิวเตอร์ด้านการใช้
ครูคอมพิวเตอร์สามารถจัดกจิ กรรมให้นกั เรยี นรู้จกั เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการ
คิดวิเคราะห์ในสิ่งท่ีเรียนรู้และสามารถนาความรู้ จดั การเรยี นรูต้ ามแนวคอนสตรัคติวสิ ต์
ท่ีได้เรียนรู้มาไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริง และ
เพื่อให้ครูผู้สอนมีทักษะกระบวนการทางานท่ีชัดเจน ในขั้นตอนนี้ การสร้างและการพัฒนา
ข้ึน เป็นการบูรณาการความรู้ เทคนิควิธีการ และ ก ร ะ บ ว น ก า ร นิ เ ท ศ ท่ี ส่ ง เ ส ริ ม ส ม ร ร ถ น ะ
เทคโนโลยีท่ีทันสมัยเข้าด้วยกัน นามาประยุกต์ใช้ ครูคอมพิวเตอร์ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ได้อย่างเหมาะสม เป็นการจัดการเรียนรู้ให้บรรลุ แ ล ะ ก า ร ส่ื อ ส า ร ใ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ต า ม แ น ว
ตามเป้าประสงค์ของหลักสูตรและตอบสนอง คอนสตรัคติวิสต์ โดยนากรอบแนวคิดการวิจัยมา
ความต้องการการเรียนรู้ขั้นพื้นฐานของผู้เรียน ประยกุ ตใ์ นการสร้างและพัฒนากระบวนการนิเทศ
และพัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้ใฝ่รู้ตลอดชีวิต ช่วยให้ บูรณาการร่วมกับทฤษฎีการนิเทศแบบพัฒนาการ
ผู้เรียนได้เรียนรู้กว้างขวาง และเรียนรู้ได้รวดเร็ว ตามแนวคิดของกล๊ิกแมน กอร์ดอน และรอสกอร์ดอน
ยิ่งขึ้น (Glickman, Gordon and Ross–Gordon, 2004
: 464) ที่ส่งเสริมสมรรถนะของครูคอมพิวเตอร์
วัตถุประสงคข์ องการวิจัย ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
1. เพื่อพัฒนากระบวนการนิเทศท่ีส่งเสริม ในการจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
แบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การสร้างกระบวนการ
สมรรถนะครูคอมพิวเตอร์ด้านการใช้เทคโนโลยี นิเทศและ น วั ตก ร ร มก าร นิเทศ ร ะ ยะ ที่ 2
สารสนเทศและการสื่อสาร ในการจัดการเรียนรู้ การตรวจสอบประสทิ ธภิ าพของกระบวนการนิเทศ
ตามแนวคอนสตรัคตวิ สิ ต์
1.1 ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้เช่ียวชาญด้าน
2. เพ่ือพัฒนาสมรรถนะครูคอมพิวเตอร์ การประเมินการพัฒนาสมรรถนะครูคอมพิวเตอร์
ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ดา้ นการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารใน
ในการจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ด้วย การจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ด้วย
กระบวนการนิเทศแบบ AIPDDONE กระบวนการนิเทศแบบ AIPDDONE จานวน 11 คน
ซ่ึ ง ผู้ วิ จั ย ด า เ นิ น ก า ร คั ด เ ลื อ ก ผู้ ทร ง คุ ณวุ ฒิ แ บ บ
3. เพ่ือศึกษาผลกระทบจากการพัฒ นา เฉพาะเจาะจงตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย โดยเลือก
ส ม ร ร ถ น ะ ค รู ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ด้ า น ก า ร ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ผู้ทรงคณุ วุฒิท่ีมีคุณวฒุ ิและประสบการณ์ท่ีเกี่ยวข้อง
สารสนเทศและการส่ือสาร ในการจัดการเรียนรู้ กับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารหรือผู้ท่ีมี
ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ด้วยกระบวนการนิเทศ ความเชี่ยวชาญในด้านการพัฒนาสมรรถนะครู
แบบ AIPDDONE ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร

วิธดี าเนินการวจิ ยั 1.2 เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวม
การวิจัยคร้ังนี้ใช้รูปแบบการวิจัยและพัฒนา ข้อมูล ได้แก่ แบบตรวจสอบประสิทธิภาพของ
กระบวนการนิเทศ ซึ่งเป็นแบบตรวจสอ บ
(Research and Development : R & D) มีวิธีการ ความสมเหตุสมผลเชิงทฤษฎี ความเปน็ ไปได้ และ
เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
ผู้วจิ ัยดาเนนิ การแบง่ เปน็ 3 ขั้นตอน ดงั น้ี 66

วารสารการวิจัยการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

ค ว า ม ส อ ด ค ล้ อ ง ข อ ง ก ร ะ บ ว น ก า ร นิ เ ท ศ มี วิ จั ย ขั้นท่ี 4 การปฏบิ ัติการนเิ ทศการสอน
การสร้างและหาประสทิ ธภิ าพดงั นี้ (Doing : D) โดยแบ่งวิธีการนิเทศครูคอมพิวเตอร์

1.2.1 กาหนดวัตถุประสงค์และ จาก ก าร ปร ะเมินผล สมร รถนะด้านการใช้
แ น ว คิ ด ใ น ก า ร ใ ช้ เ ค รื่ อ ง มื อ เ พ่ื อ ใ ห้ ค ร อ บ ค ลุ ม เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และในการ

ประเด็นต่างๆ จากน้ัน พัฒนาเคร่ืองมือฉบับร่าง จัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรคั ตวิ ิสต์ ดงั น้ี
และตรวจสอบเครอื่ งมอื ในข้นั ต้นด้วยผูว้ ิจยั เอง ก ลุ่ ม ท่ี 1 วิ ธี ก า ร นิ เ ท ศ แ บ บ ช้ี น า

1.2.2 ขั้นนาเครื่องมือตรวจสอบ ใหค้ าปรกึ ษา (Directive consulting approach :

ประสิทธิภาพของกระบวนการนิเทศที่สร้างข้ึนไปให้ D) ใช้สาหรับครูคอมพิวเตอร์ที่มีผลการประเมิน
ผู้เช่ียวชาญ 5 ท่าน ตรวจแก้ไขความตรงของเน้ือหา สมรรถนะในระดับน้อยและน้อยท่ีสุด เป็นกลุ่มครู

(Content validity) โดยหาค่าดัชนีความสอดคล้อง มี ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ก า ร ใ ห้ ข้ อ มู ล แ ล ะ วิ ธี ก าร
ของความคิดเห็นของผู้เช่ียวชาญ ได้ค่า IOC หลากหลายวิธี เพื่อให้ครูได้เลือกวิธีท่ีเหมาะสม
เท่ากับ 1.00 ท่ีสุด

1.3 การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติท่ีใช้ ก ลุ่ ม ที่ 2 วิ ธี ก าร นิเทศแบบร่วมมือ
ได้แก่ การหาค่าดัชนีคว ามสอดคล้อง ขอ ง (Operation collaborative approach : O) ใช้

เน้ือหากับวัตถุประสงค์ (IOC : Index of item สาหรับครูคอมพิวเตอร์ท่ีมีผลการประเมินสมรรถนะ
objective congruence) ในระดับปานกลาง เป็นกลุ่มครูท่ีมีความต้องการ
ทางานร่วมกัน ตัดสินใจร่วมกันในการเลือกวิธีการที่
ข้ันตอนท่ี 2 การพัฒนาสมรรถน ะ
เหมาะสม
ครูคอมพิวเตอร์ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มที่ 3 วิธีการนิเทศแบบช้ีนาตนเอง
และการส่ือสารในการจัดการเรียนรู้ตามแนว
(Non-directive and self-directed approach :
คอนสตรัคติวิสต์ ด้วยกระบวนการนิเทศแบบ N) ใช้สาหรับครูคอมพิวเตอร์ที่มีผลการประเมิน
AIPDDONE ข้ั น ต อ น นี้ เ ป็ น ก า ร พั ฒ น า ค รู สมรรถนะในระดับมากและมากท่ีสุด เป็นกลุ่มครู
คอมพิวเตอร์ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ
ทไ่ี มต่ ้องการการชีน้ า หรือชแี้ นะและตอ้ งการเรยี นรู้
การสื่อสาร ในการจัดการเรียนรู้ตามแนวคอน ด้วยตนเอง แต่ถ้าหากมีความต้องการ การช้ีนา
สตรัคติวิสต์ ดว้ ยกระบวนการนิเทศแบบ AIPDDONE
หรือชี้แนะ จะร้องขอด้วยตวั เอง เน่ืองจากครูกลุ่มนี้
ท่ีผู้วิจัยสร้างและพัฒนาขึ้นในข้ันตอน ที่ 1 มี 5 นั้นเป็นผู้ท่ีมีความสามารถในการรับรู้ และเรียนรู้
ขั้นตอน ดังน้ี ได้ดี

ขน้ั ท่ี 1 การประเมนิ สมรรถนะ ข้นั ท่ี 5 การประเมนิ ผล (Evaluation : E)
สรุปกระบวนการพัฒนาสมรรถนะครู
(Assessing : A)
ขั้นที่ 2 การใหค้ วามรู้ (Information : I) คอมพวิ เตอร์ ได้ดงั ภาพที่ 1

ข้นั ที่ 3 การวางแผนการนเิ ทศการสอน
(Planning : P)

67

วารสารการวิจัยการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

2.1 ประชากร กลุ่มตวั อยา่ งและผู้ใหข้ อ้ มูล ไดแ้ ก่ ปีการศึกษา 2558 จานวน 20 คน ซ่ึงผู้วิจัยได้ใช้
2.1.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งน้ี เกณฑ์ในการคดั เลือก ดงั นี้

ได้แก่ ครูผู้สอนจากโรงเรียนในสังกัดสานักงาน 1) เปน็ ครคู อมพิวเตอรท์ มี่ คี วาม
สมัครใจเข้ารับการพัฒนา และมีความสนใจในการ
เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการ
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 จานวน 155 คน จดั การเรียนรตู้ ามแนวคอนสตรัคติวสิ ต์

2.1.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ 2) เป็นครูคอมพิวเตอร์ท่ีมีเวลา
ไดม้ าโดยการเลือกแบบเจาะจง จากครคู อมพิวเตอร์ เพียงพอในการเขา้ รบั การพฒั นา
ของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
68
ประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 ภาคเรียนที่ 2

วารสารการวิจยั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

3) เป็นครูคอมพิวเตอร์ที่ต้องการ ตัวตน ชุดที่ 2 สืบค้นจุดประกาย ชุดที่ 3 สู่เป้าหมาย
เห็นการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงของวิธีการจัดการ ความคดิ และชุดที่ 4 พชิ ติ การเปลี่ยนแปลง

เรียนรู้ เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการ 3) ชุดนิเทศ เป็นชุดนิเทศ
ของนกั เรียนได้กว้างขวางขนึ้ ก าร สอน ครู คอมพิ ว เตอร์ ใน ร ะ หว่ าง ปฏิ บั ติ ง า น
จานวน 3 ชุด ได้แก่ ชุดท่ี 1 ชุดนิเทศการสอนแบบ
2.1.3 ผูใ้ ห้ข้อมูลในขนั้ ตอนที่ 2 ได้แก่ ชี้นาให้คาปรึกษา ใช้สาหรับครูคอมพิวเตอร์ที่มี
1) ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ได้แก่ ผลการประเมินในระดับน้อยและนอ้ ยท่ีสุด ชุดที่ 2
ชุดนิเทศก าร สอ น แบบร่ว มมื อ ใช้สาห รั บ
ผู้บริหารสถานศึกษาของโรงเรียนที่กลุ่มตัวอย่าง ครูคอมพิวเตอร์ท่ีมีผลการประเมินในระดับปานกลาง
ชดุ ที่ 3 ชุดนิเทศการสอนแบบช้ีนาตนเองใชส้ าหรับ
ปฏิบัติหน้าท่ีสอนโรงเรียนในสังกัดสานักงาน ครูคอมพิวเตอร์ท่ีมีผลการประเมินในระดับมาก
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 และมากที่สุด มีรายละเอียดของการดาเนินการ
สร้างและหาประสทิ ธิภาพ ดงั ตอ่ ไปน้ี
ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2558 จานวน 20 คน
2) นักเรยี น ไดแ้ ก่ นกั เรียนท่เี รียน 1) ผู้วิจัยนาองค์ความรู้ที่ได้จาก
ขั้นตอนท่ี 1 มากาหนดโครงสร้างหลักสูตรการพัฒนา
กั บ ค รู ที่ เ ป็ น ก ลุ่ ม ตั ว อ ย่ า ง ท่ี ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ สอ น ทั้งน้ี เพื่อให้การพัฒนาเป็นไปตามจุดมุ่งหมายของ
การพัฒนาสมรรถนะครูคอมพิวเตอร์
โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 ภาคเรียนที่ 2 2) ผู้วิจัยนากรอบแนวคิดที่สรุปได้
จากการสังเคราะห์ในข้ันตอนท่ี 1 มากาหนด
ปกี ารศกึ ษา 2558 จานวน 297 คน เนื้อหาและจัดทานวัตกรรม ได้แก่ แนวทาง
2.2 เครือ่ งมอื ที่ใช้ในการเกบ็ รวบรวม การพัฒนาครูคอมพิวเตอร์ ชุดฝึกอบรมและ
ชดุ นเิ ทศ ดงั นี้
ขอ้ มูล
3) ก า ร ห า ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง
เ ค ร่ื อ ง มื อ ท่ี ใ ช้ วิ จั ย ใ น ข้ั น ต อ น นี้ เ ค ร่ื อ ง มื อ น วั ต ก ร ร ม ก า ร พัฒนาสมรรถนะ
ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ เครื่องมือท่ีเป็นนวัตกรรม ครคู อมพวิ เตอร์ ดงั น้ี

และเครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลมีรายละเอียด 3.1) ผู้วิจัยนาแนวทางการพัฒนา
ดงั ต่อไปน้ี ชุดฝึกอบรม และชดุ นิเทศท่ีสร้างข้ึนไปให้ผเู้ ช่ยี วชาญ
5 ท่าน ตรวจแก้ไขความตรงของเนื้อหา (Content
2.2.1 เครื่องมือท่ีเป็นนวัตกรรม Validity) โดยหาค่าดัชนีความสอดคล้องขอ ง
ความคิดเห็นของผู้เช่ียวชาญได้ค่า IOC เท่ากับ
ได้แก่ ชุดพัฒนาสมรรถนะครูคอมพิวเตอร์ด้านการใช้ 0.96 และผู้เช่ียวชาญได้เสนอแนะว่าการตั้งช่ือชุด
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการจัด ฝึกอบรมและชุดนิเทศควรให้น่าสนใจ จัดแยกเป็น
ชุดโดยแบ่งเป็นชุดฝึกอบรมและชุดนิเทศ ทั้งนี้
การเรียนรู้ตามแนวคอน สตรัคติวิ สต์ ด้วย ผู้วจิ ยั ไดป้ รบั ปรงุ แกไ้ ขตามขอ้ เสนอแนะดงั กลา่ ว
กระบวนการนิเทศแบบ AIPDDONE ประกอบดว้ ย
69
1 ) แ น ว ท า ง ก า ร พั ฒ น า

สมรรถนะครูคอมพิวเตอร์ เป็นเอกสารแสดง
รายละเอียดและแผนการจัดกิจกรรมชุดฝึกอบรม

และชุดนิเทศ
2) ชุดฝึกอบรมเป็นชุดฝึก

อบรมท่ีผู้วิจัยใช้ในขั้นที่ 2 ของกระบวนการนิเทศ

เ พ่ื อ ใ ช้ ใ น ก า ร อ บ ร ม เ ชิ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร ใ ห้ ค ว า ม รู้
กลุ่มตัวอย่าง จานวน 4 ชุด ได้แก่ ชุดท่ี 1 ค้นหา

วารสารการวิจัยการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

3. 2) ผู้ วิ จั ย ไ ด้ น า แ น ว ท า ง 1.2) หาประสิทธิภาพ
การพัฒนาครูคอมพิวเตอร์ ชุดฝึกอบรมและ เคร่ืองมือ โดยนาแบบทดสอบไปให้ผู้เช่ียวชาญ
จานวน 5 ท่าน เพื่อตรวจสอบความตรงของเนื้อหา
ชุดนิเทศ ไปทดลองนาร่อง (Pilot Study) กับครู ว่าครอบคลุมแนวคิดและวัตถุประสงค์หรือไม่
ที่มีลักษณะคล้ายกับกลุ่มเป้าหมาย ใช้วิธีการเลอื ก จากน้ันคานวณหาค่าดัชนี ความสอดคล้องของ
ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ได้ค่า IOC เท่ากับ
แบบเจาะจง ดังนี้ 0.98
3.2.1) ทดลองแบบหนึ่ง
1.2.1) ดาเนินการ
ต่อหนึ่งกับครู จานวน 3 คน ช่วงเดือนมกราคม นาแบบทดสอบวัดความรู้ ความเข้าใจที่ปรับปรุง
แก้ไขแล้วไปทดลองกับครูคอมพิวเตอร์ ท่ีไม่ใช่
ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2558 เพ่ือทดสอบ กลุ่มตัวอย่าง จานวน 60 คน จากน้ันคัดเอาข้อสอบ
คุณภาพเบื้องต้น โดยการสังเกตการสอนและ ท่ีมีค่าความยากง่ายระหว่าง 0.25 – 0.75 และ
ค่าอานาจจาแนกระหว่าง 0.25 – 0.75 ไว้ จานวน
การสัมภาษณ์ พบว่ารายละเอียดแต่ละข้ันของ 30 ข้อ
กิจกรรมไม่ชัดเจน เน้ือหาและตัวอกั ษรมากเกนิ ไป
ภาพประกอบมีน้อย ผู้วิจัยได้ปรับปรุงแก้ไข 1. 2. 2) วิ เ ค ร า ะ ห์
แบบทดสอบจากการคัดเลือก จานวน 30 ข้อ
ตามขอ้ เสนอแนะดงั กล่าว ไ ด้ ค่ า ค ว า ม เ ช่ื อ มั่ น ข อ ง แ บ บ ท ด ส อ บ ท้ั ง ฉ บั บ
3.2.2) ทดลองกลุ่มเล็กกับ KR-20 เท่ากับ .89

ครู จานวน 9 คน ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2558 1.2. 3) ดา เนินก า ร
ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2558 ถึงเดือน จัดพิมพ์แบบทดสอบท่ีผ่านการตรวจสอบคุณภาพ
กันยายน พ.ศ. 2558 พบว่า ชุดฝึกอบรมและ แล้วเพ่อื นาไปใช้ในการทดลองกบั กลุม่ ตัวอยา่ งตอ่ ไป

ชุดนิเทศโดยรวมมีความเหมาะสมและเป็นไปได้ที่ 2) แบบสังเกตพฤติกรรม
จะนามาใช้ในการพัฒนา ผู้วิจัยได้นาผลการศึกษา แบบมีโครงสร้าง สรา้ งและหาประสทิ ธิภาพดงั น้ี

นาร่องไปขอคาปรึกษาผู้เช่ียวชาญ และแก้ไข 2.1) ศึกษากรอบแนวคิด
ปรับปรุงแผนการจัดกิจกรรมให้เหมาะ สม การพัฒนาสมรรถนะด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
กอ่ นนาไปทดลองใชจ้ รงิ และการสื่อสาร ในการจัดการเรียนรู้ตามแนว
คอนสตรัคติวิสต์ของกลุ่มตัวอย่าง โดยมีประเด็น
2.2.2 เคร่ืองมือท่ีใช้เก็บรวบรวม ดงั น้ี การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ การเปน็ ผู้ได้รับ
ข้อมูล ได้แก่ การยอมรับ การมีวิสัยทัศน์ร่วม และการทางาน
เปน็ ทมี
1) แบบทดสอบก่อนและหลัง
การอบรม สรา้ งและหาคุณภาพแบบทดสอบ ดงั นี้ 2. 2 ) พิ จ า ร ณ า แ ต่ ละ
ประเด็นทีต่ อ้ งการสังเกตว่าครอบคลมุ ประเดน็ หลัก
1. 1) ผู้ วิ จั ย ไ ด้ ส ร้ า ง ของการพัฒนาสมรรถนะด้านการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร
แบบทดสอบข้ึนเพ่ือวัดความรู้ และทักษะในเร่ือง
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ 70

เทคโน โลยี ใน ก าร จั ดก าร เรี ยน รู้ ตา ม แ น ว
คอนสตรัคติวิสต์ การเรียนรู้อย่างมีความหมายโดยใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ การออกแบบการเรียนรู้ตาม

แนวคอนสตรัคติวิสต์ การประเมินประสิทธิภาพ
สงิ่ แวดลอ้ มทางการเรียนรู้ จานวน 50 ข้อ

วารสารการวิจยั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

2.3) หาประสิทธิภาพของ 3. การประเมินความพึงพอใจ
แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างการอบรม ท้ังน้ีเพื่อ ของกลุ่มตวั อย่าง โดยใช้แบบสอบถามประเมนิ คา่

ตรวจสอบข้อความแต่ละข้อว่าวัดได้ตรงประเด็นท่ี 4. ศึกษาความคิดเห็นของผู้บริหาร
ต้องการศึกษา และครอบคลุมส่ิงท่ีต้องการศึกษา สถานศึกษาและครูคอมพิวเตอร์จากการเผยแพร่
นวัตกรรม
ท้ังหมดหรือไม่ โดยผู้วิจัยได้นาไปปรึกษากับ
ผู้เช่ียวชาญ จานวน 5 ท่าน ตรวจสอบหาดัชนีความ 3.1 กลมุ่ ตัวอยา่ งและผใู้ ห้ขอ้ มูล ไดแ้ ก่
สอดคล้องของเน้ือหาในข้อคาถามกับวัตถุประสงค์ 3.1.1 กล่มุ ตัวอยา่ งที่ใชใ้ นข้ันตอนน้ี

อีกครั้ง ได้ค่า IOC เท่ากับ 1.00 และได้ปรับปรุง ได้แก่ ครูคอมพิวเตอร์ที่ผ่านการพัฒนาสมรรถนะ
ข้อความข้อคาถามตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ ครูคอมพิวเตอร์ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร ในการจัดการเรียนรู้ตามแนว
พร้อมทั้งจัดทาแบบสังเก ตพฤติกรร มแ บบ คอนสตรัคติวิสต์ ด้วยกระบวนการนิเทศแบบ
มโี ครงสร้างฉบบั สมบูรณ์ AIPDDONE จากขั้นตอนท่ี 2 จานวน 20 คน ซึ่ง
ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาผลกระทบจากการพัฒนา
2.3 การวเิ คราะห์ข้อมลู และสถิติที่ใช้ ในภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2559

2.3.1 ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้สถิติ 3. 1. 2 ก ลุ่ ม ผู้ ใ ห้ ข้ อ มู ล ไ ด้ แ ก่
พื้นฐานในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าเฉล่ีย และ ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา จานวน
1 คน รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นท่ี
ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบค่าที (t-test) การศึกษา จานวน 1 คน ผู้บริหารสถานศึกษา
แบบ Dependent วิ เคร าะ ห์ข้อมูลท่ีได้จาก จานวน 2 คน ศึกษานิเทศก์ จานวน 3 คน และ
การทดสอบความรู้ ความเข้าใจ ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 4 คน ทั้งน้ี ผู้วิจัยดาเนินการ
คัดเลือ ก ผู้ทร ง คุณวุ ฒิแ บบ เฉพ าะ เ จ า ะ จ ง
2.3.2 ข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการ ตามวั ตถุปร ะ สง ค์ขอ ง ก าร วิ จัย โ ดยเลือ ก
วิเคราะห์เชิงเน้ือหา โดยผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีคุณวุฒิและประสบการ ณ์ที่
เกี่ยวขอ้ ง กบั เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร
จากการสังเกตการสอน ห รื อ ผู้ ท่ี มี ค ว า ม เ ชี่ ย ว ช า ญ ใ น ด้ า น ก า ร พั ฒ น า
ขั้นตอนท่ี 3 การศึกษาผลกระทบจาก ส ม ร ร ถ น ะ ค รู ด้ า น เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ แ ล ะ
การสอื่ สาร ดงั น้ี
การพัฒนาสมรรถนะครูคอมพิวเตอร์ด้านการใช้
1) กลุ่มนักวิชาการ ได้แก่ ผู้ที่มี
เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ในการ บ ท บ า ท ห รื อ ผ ล ง า น วิ ช า ก า ร ด้ า น เ ท ค โ น โ ล ยี
จัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ด้วย สารสนเทศและการส่ือสาร หรือสาขาท่ีเกี่ยวข้อง
เช่น ผู้ทีม่ ผี ลงานวจิ ัย ตารา การเสนอผลงานในการ
กระบวนการนิเทศแบบ AIPDDONE ข้ันตอนนี้ ประชุมสัมมนาทางวิชาการในระดับชาติหรือ
ผวู้ จิ ัยดาเนนิ การดังนี้ นานาชาติ หรอื ผู้ทจ่ี บการศกึ ษาระดับปรญิ ญาเอก
สาขาท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษาและมีประสบการณ์
1. จัดเวทีเชิงวิชาการนาเสนอ
71
ผลงานต่อสาธารณชนของกลุ่มตัวอย่าง เพ่ือเป็น
การแสดงความสามารถ ในการจัดกิจกรรม

การเรียนรู้ ซึ่งเป็นผลมาจากการพัฒนาสมรรถนะ
ครูคอมพวิ เตอรค์ รงั้ นี้

2. เ ชิ ญ ผู้ ท ร ง คุ ณ วุ ฒิ วิ พ า ก ษ์

การนาเสนอผลงานของกลุ่มตวั อย่าง หลังจากผ่าน
การพัฒนา

วารสารการวิจยั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

ในการสอนระดบั อุดมศกึ ษาหรือผู้ท่มี ีประสบการณ์ 4) ผู้ วิ จั ย ด า เ นิ น ก า ร
ในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และ ปรบั ปรงุ ขอ้ คาถามตามคาแนะนาของผูเ้ ชีย่ วชาญ

การพัฒนาสมรรถนะครูด้านการใช้เทคโนโลยี 5) จั ด พิ ม พ์ แ น ว ท า ง
สารสนเทศและการสอื่ สาร การสนทนากลุม่

2) กลุ่มครูผู้สอน ได้แก่ ครูผู้สอน 3.2.2 แบบสอบถามความพึงพอใจ
ท่ีมีสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ เป็นแบบสอบถามที่สอบถามความพึงพอใจของ
การส่ือสารที่ได้รับการยอมรับจากสังคมท่ัวไปว่า ก ลุ่ ม ตั ว อ ย่ า ง ท่ี มีต่ อ ก า ร พั ฒ น า ส มร ร ถน ะ
เปน็ แบบสอบถามแบบประเมนิ ค่า (Rating Scale)
เป็นผู้ที่มีความเช่ียวชาญในการใช้เทคโนโลยี มี 5 ระดับ
สารสนเทศและการส่ือสาร หรือครูผู้สอนท่ีได้รับ
3.2.3 แบบสอบถามความคิดเห็น
รางวัลดีเด่นในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นแบบสอบถามท่ีสอบถามความคิดเห็นของ
และการส่ือสาร ระดบั ประเทศหรือระดบั นานาชาติ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูคอมพิวเตอร์ท่ีมีต่อ
การพัฒนาสมรรถนะ เป็นแบบสอบถามแบบ
3) ผู้บริหารสถานศึกษาและครู ประเมนิ คา่ มี 5 ระดบั

คอมพิวเตอร์ท่ีได้รับการเผยแพร่นวัตกรรม ของ 3.3 การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติท่ีใช้
โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ในการวจิ ัย

ประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 ภาคเรียนท่ี 2 3.3.1 ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้สถิติ
ปีการศึกษา 2559 ผู้บริหารสถานศึกษา จานวน พ้ืนฐานในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าเฉล่ีย และ
110 คน ครคู อมพิวเตอร์ จานวน 120 คน ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบค่าที (t-test)
แบบ Dependent วิ เคร าะ ห์ข้อ มูลท่ีได้จาก
3.2 เคร่อื งมอื ท่ีใชเ้ กบ็ รวบรวมข้อมูล 1) การประเมินความพึงพอใจของครูคอมพิวเตอร์
3.2.1 แนวทางการสนทนากลุ่ม แ ล ะ 2) ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง
ผู้บริหารสถานศึกษาและครูคอมพิวเตอร์ จากการ
มีการสร้างและเก็บรวบรวมขอ้ มลู ดังนี้ เผยแพรน่ วัตกรรม
1) ผู้ วิ จั ย สั ง เ ค ร า ะ ห์
3.3.2 ข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการ
ป ร ะ เ ด็ น ท่ี เ ป็ น ข้ อ ค้ น พ บ ท่ี ไ ด้ จ า ก ก า ร พั ฒ น า วิเคราะห์เชิงเนื้อหา โดยผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลท่ีได้
จากการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion)
สมรรถนะครคู อมพวิ เตอร์ สรปุ ผลการวิจยั มีดงั นี้
2) ร ว บ ร ว ม ค า ถ า ม ที่
1. ผลการพัฒนากระบวนการนิเทศที่
ต้องการใช้เป็นแนวสนทนาตามประเด็นท่ีกาหนด ส่ ง เ ส ริ ม ส ม ร ร ถ น ะ ค รู ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ด้ า น ก า ร ใ ช้
ไว้ และพิจารณาแต่ละข้อคาถามว่ามีความเป็น เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการ
ปรนัยหรือความชัดเจนทางภาษาท่ีจะใช้กับผู้ให้ จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ต า ม แ น ว ค อ น ส ต รั ค ติ วิ ส ต์
มี อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ที่ ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ห ลั ก ก า ร
ข้อมูล
3) นาข้อคาถามไ ป ขอ 72

คาแนะนาจากผู้เชี่ยวชาญ เพื่อตรวจสอบว่า
ข้อคาถามแต่ละข้อวัดได้ตรงประเด็นที่ต้องการ
ศึกษา และข้อคาถามทั้งหมดวัดได้ครอบคลุม

สง่ิ ทตี่ ้องการศึกษา

วารสารการวิจัยการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

วัตถุประสงค์ กระบวนการนิเทศการสอน และ ตามแน ว คอ น สตรัคติวิ สต์ที่ พัฒ น าข้ึน คือ
เง่ือนไขการนากระบวนการนิเทศการสอนไปใช้ “กระบวนการนิเทศแบบ AIPDDONE”ประกอบด้วย
5 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นท่ี 1 การประเมินสมรรถนะ
ดังน้ี ( Assessing : A) ข้ั น ท่ี 2 ก า ร ใ ห้ ค ว า ม รู้
1.1 หลักการของกระบวนการ (Information : I) ข้ันที่ 3 การวางแผนการนิเทศ
การสอน (Planning : P) ข้ันที่ 4 การปฏิบัติการ
นิเทศท่ีพัฒนาขึ้นคือ ครูคอมพิวเตอร์ มีสมรรถนะ นิเทศการสอน (Doing : D) โดยแบ่งวิธีการนิเทศ
ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ครูคอมพิวเตอร์จากการประเมินผลสมรรถนะด้าน
ในการจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการ
จดั การเรยี นรตู้ ามแนวคอนสตรัคตวิ ิสต์ ดงั น้ี กลมุ่ ท่ี
แตกต่างกัน ต้องใช้วิธีการนิเทศให้เหมาะสมกับ 1 วิธีการนิเทศแบบช้ีนาให้คาปรึกษา (Directive
แต่ละบุคคล โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนา consulting approach : D) ใ ช้ ส า ห รั บ
ครู คอ ม พิ ว เ ต อ ร์ ที่ มี ผ ลก า ร ป ร ะ เ มิ น สม ร ร ถ น ะ
สมรรถนะการนิเทศการสอนของครูคอมพิวเตอร์ ในระดับน้อยและน้อยที่สุด เป็นกลุ่มครูมีความ
ผู้ทาหน้าที่นิเทศด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ต้องการการให้ข้อมูลและวิธีการหลากหลายวิธี
และการส่ือสาร ในการจัดการเรียนรู้ตามแนว เพ่ือให้ครูได้เลือกวิธีท่ีเหมาะสมที่สุด กลุ่มท่ี 2
วิธีการนิเทศแบบร่วมมือ(Operation collaborative
คอนสตรัคติวิสต์ 2) พัฒนาสมรรถนะครูผู้รับ approach : O) ใช้สาหรับครูคอมพิวเตอร์ท่ีมี
การนิเทศด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ ผลการประเมินสมรรถนะ ในระดับปานกลาง เป็น
กลุ่มครูท่ีมีความต้องการทางานร่วมกัน ตัดสินใจ
การสื่อสาร ในการจัดการเรียนรู้ตามแน ว ร่วมกันในการเลือกวิธีการที่เหมาะสม กลุ่มท่ี 3
คอนสตรัคติวิสต์ ประกอบด้วย 1) สมรรถนะด้าน วิธีการนิเทศแบบชน้ี าตนเอง (Non-directive and
สารสนเทศ(Information) ไดแ้ ก่ (1) ความสามารถ self- directed approach : N) ใ ช้ ส า ห รั บ ค รู
คอมพิวเตอร์ที่มีผลการประเมินสมรรถนะในระดับ
ในการเข้าถึงและใช้สารสนเทศ ( 2) การมี มากและมากท่ีสุด เป็นกลุ่มครู ที่ไม่ต้องการ
วิจารณญาณและรู้เท่าทันสารสนเทศ (3) การมี การชน้ี า หรือชแี้ นะ และต้องการเรยี นรู้ด้วยตนเอง
แต่หากมีความต้องการการช้ีนาหรือชี้แนะจะ
คุ ณ ธ ร ร ม แ ล ะ จ ริ ย ธ ร ร ม ใ น ก า ร เ ข้ า ถึ ง แ ล ะ ใ ช้ ร้อ ง ขอ ด้ว ยตัวเอ ง และ ขั้น สุดท้ายขั้น ท่ี 5
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร 2) สมรรถนะ การประเมนิ ผล (Evaluation : E)
ด้านไอซีที (ICT) ประกอบด้วย (1) การใช้ภาษา
1.3 เง่ือนไขการนากระบวนการ
ที่ใช้กับคอมพิวเตอร์/เทคโนโลยี (2) การใช้งาน นิเทศการสอนไปใช้มี 2 ส่วนดงั น้ี ส่วนท่ี 1 เงอ่ื นไข
ระบบคอมพิวเตอร์ (3) การใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ และข้อตกลงเบื้องต้นเกี่ยวกับผู้นาไปใช้ ผู้บริหาร
สถานศึกษาต้องมีวิสัยทัศน์และความต้องการ
(4) การใช้งานเครือข่ายและ อินเทอร์ เน็ต ใน ก าร พัฒ น าครูคอ มพิว เ ตอ ร์ ด้ว ยวิ ธี ก า ร
(5) การใชง้ านอุปกรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์ 3) สมรรถนะ
ด้านเทคโนโลยี (Technology) ประกอบด้วย 73

(1) ความสามารถในการออกแบบสภาพแวดล้อม
ทาง ก าร เรียน รู้ต ามแน ว คอน สตรัค ติ วิ ส ต์

(2) ความสามารถในการประเมินความก้าวหน้า
ทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรคั ตวิ ิสต์

1.2 กระบวนการนิเทศที่ส่งเสริม

สมรรถนะครูคอมพิวเตอร์ด้านการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารในการจัดการเรียนรู้

วารสารการวิจยั การศึกษาข้ันพื้นฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

ท่ีหลากหลาย เห็นความสาคัญและเชื่อม่ันว่าการ 2. 2 ผ ล ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล
นิเทศการสอน เป็นวิธีการพัฒนาครูคอมพิวเตอร์ เชิงคุณภาพ พบว่า ครูทุกคนสามารถนาความรู้
ไปผลิตสื่อแผนการจัดการเรียนรู้ สร้างชุมชน
ที่เหมาะสมอีกวิธีการหนึ่ง ให้การสนับสนุนและ การเรียนรู้ร่วมกัน และมีสมรรถนะด้านการใช้
อานวยความสะดวกในการนากระบวนการนิเทศ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารในการจัดการ
เรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ทั้ง 3 ด้าน ได้แก่
แบบ AIPDDONE ไปใช้ตามข้ันตอนอย่างเป็นระบบ ด้านสารสนเทศ (Information) ด้านไอซีที (ICT)
มีการนิเทศภายในอย่างต่อเนื่องในการจัดกิจกรรม และดา้ นเทคโนโลยี (Technology)
การเรียนรู้ของครู สนับสนุนส่งเสริมให้กาลังใจ
2. 3 ผ ล ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล
และต้องจริงจังต่อกระบวนการปรับเปลี่ยนวิธีการ เ ชิ ง คุ ณ ภ า พ พ บ ว่ า ผู้ เ รี ย น ที่ เ รี ย น จ า ก
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู และวิธีการเรียนรู้ ครูคอมพิวเตอร์ที่ผ่านการพัฒนาสมรรถนะด้าน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการ
นักเรียน จัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ด้วย
2. ผลการพัฒนาสมรรถนะครูคอมพิวเตอร์ กระบวนการนิเทศแบบ AIPDDONE ส่งผลต่อการ
พัฒนาสมรรถนะสาคัญ ของ ผู้เรียน 5 ด้าน
ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ประกอบด้วย ความสามารถในการส่ือ สาร
ความสามารถในการคิด ความสามารถในการ
ในการจัดการเรียนรตู้ ามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ดว้ ย แก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
กระบวนการนเิ ทศแบบ AIPDDONE สรปุ ผลการวจิ ัย ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

ไดด้ งั น้ี 3. ผลการศึกษาผลกระทบจากการพัฒนา
2.1 ผลการประเมินสมรรถนะ สมรรถนะครูคอมพิวเตอร์ด้านการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการส่ือสาร ในการจัดการเรียนรู้
ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ด้วยกระบวนการนิเทศ
แบบ AIPDDONE สรปุ ผลการวจิ ยั ได้ดงั น้ี
ในการจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ด้วยกระบวนการนิเทศแบบ AIPDDONE ก่อนการ 3.1 ผลกระทบทางบวกที่ เกิด
ติดตามมาจากครูคอมพิวเตอร์ ได้แก่ การพัฒนา
ฝกึ อบรม โดยภาพรวม มีคะแนนเฉล่ยี เท่ากบั 2.94 พฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน ความพึงพอใจ
สมรรถนะอยู่ในระดับปานกลาง หลังจาก การ ในงาน การเปน็ ตัวแบบนวตั กรรม และการยอมรับ
ฝึกอบรม มีคะแนนเฉล่ียเท่ากับ3.56 สมรรถนะอยู่ จากภายนอก โดยมีเง่ือนไขความสาเร็จจากครู
และจากผู้บริหารสถานศึกษา นอกจากนี้ยังพบว่า
ในระดับมาก ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ก่อนและ ครูคอมพิวเตอร์ที่ได้รับการพัฒนามีความพึงพอใจ
หลังการฝึกอบรม พบว่า มีค่าเฉล่ียเพิ่มข้ึน 0.61 ต่อกิจกรรมของการพัฒนา และสามารถการนา
ความรู้ท่ีได้รับจากการพัฒนาไปใช้ประโยชน์
เมื่อพิจารณาแตกต่างของค่าเฉลี่ยก่อนและหลัง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด และยังพบว่า
การพัฒนาตามวิธีการนิเทศ เรียงลาดับจากมาก
ไปหาน้อย พบว่า วิธีการนิเทศแบบช้ีนา ให้ 74

คาปรึกษา ความแตกต่างของคา่ เฉลยี่ ก่อนและหลัง
การฝกึ อบรมเท่ากับ 0.95 วิธีการนิเทศแบบร่วมมอื

ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ข อง ค่ า เ ฉ ล่ี ยก่ อ น แ ละ หลัง
การฝึกอบรมเท่ากับ 0.61 และวิธีการนิเทศ
แบบชี้นาตนเอง ความแตกต่างของค่าเฉล่ียก่อน

และหลงั การฝกึ อบรมเท่ากบั 0.27

วารสารการวิจัยการศึกษาขนั้ พื้นฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

ครูคอมพิวเตอร์สามารถนาความรู้ที่ได้รับไปขยายผล การสอน พบว่า กระบวนการนิเทศการสอนมีความ
สรา้ งครูเครือขา่ ยไดท้ ง้ั ในและนอกโรงเรยี น สอดคล้องกับทฤษฎีและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง มีความ
สอดคล้องกับหลักวิชาการของการนิเทศการสอน
3.2 ความคิดเห็นของผู้บริหาร มีความสัมพันธ์และต่อเนื่องกันของแต่ละขั้นตอน
สถานศึกษา และครคู อมพิวเตอร์ ท่ีมตี ่อการพัฒนา มี ค ว า ม ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ เ ป้ า ห ม า ย ท่ี ต้ อ ง ก า ร ข อ ง
ผู้บริหารสถานศกึ ษาและครู ทงั้ น้ี อาจเน่ืองมาจาก
สมรรถนะด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ กระบวนการนเิ ทศท่พี ัฒนาขนึ้ ผูว้ ิจัยพฒั นามาจาก
การส่ือสาร ในการจัดการเรียนรู้ตามแน ว แนวคิดการวิจัยและพัฒนา ( Research and
คอนสตรัคติวิสต์ ด้วยกระบวนการนิเทศแบบ Development) ผสมผสานกับกระบวนการนิเทศ
ท่ีผู้วิจัยสังเคราะห์จากนักวิชาการ ท้ังในและ
AIPDDONE จากการเผยแพร่นวัตกรรมการนิเทศ ต่างประเทศ ร่วมกับแนวคิดทฤษฎีการนิเทศ
โดยภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด ผู้บริหาร การสอนแบบพัฒนาการของกลิ๊กแมน กอร์ดอน
และรอสกอร์ดอน (Glickman, Gordon and
สถานศึกษาได้ค่าเฉล่ียความคิดเห็นเท่ากับ 4.54 Ross–Gordon, 2004 : 464) ซึ่งการดาเนินการ
ครคู อมพวิ เตอร์ ไดค้ ่าเฉลี่ยเทา่ กบั 4.69 ดงั กล่าว สอดคลอ้ งกับวัชรา เล่าเรียนดี (2550 : 5)
ที่ว่า การกาหนดจุดหมายได้ชัดเจนเท่าใดย่ิงทาให้
อภิปรายผล จากการวิจัยพบประเด็น มองเห็นแนวทางปฏิบัติและเป้าหมายที่ชัดเจนขึ้น
เท่านั้น โดยเฉพาะงานการนิเทศการสอนซ่ึงเป็น
ท่ีน่าสนใจ ดงั น้ี งานท่ีปฏิบัติร่วมกับครูเพื่อให้ส่งผลถึงผู้เรียน
1. จากผลการวจิ ัยตามวตั ถปุ ระสงค์ โดยตรง

ข้อท่ี 1 กระบวนการนิเทศท่ีส่งเสริมสมรรถนะครู 2. จากวัตถุประสงค์ของการวิจัย
คอมพิวเตอร์ ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ข้อท่ี 2 เพ่ือพัฒนาสมรรถนะครูคอมพิวเตอร์
และการสื่อสาร ในการจัดการเรียนรูต้ ามแนวคอน ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
ใ น ก า ร จั ด ก า ร เ รีย น รู้ต า ม แ น ว ค อ น ส ต รั คติวิ สต์
สตรัคติวิสต์ ที่พัฒนาขึ้น คือ “กระบวนการนิเทศ ด้วยกระบวนการนิเทศแบบ AIPDDONE พบว่า
แบบ AIPDDONE” ประกอบด้วย 5 ข้ันตอน ดังน้ี ครูคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาสมรรถนะด้านการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร 3 องค์ประกอบ
ขั้นที่ 1 การประเมินสมรรถนะ (Assessing : A) ได้แก่ ด้านสารสนเทศ (Information) ด้านไอซีที
ข้ันท่ี 2 การให้ความรู้ (Information : I) ข้ันท่ี 3 (ICT) และด้านเทคโนโลยี (Technology) และ
การวางแผนการนิเทศการสอน (Planning : P) ขั้น พบว่าสมรรถนะท้งั 3 องคป์ ระกอบเพมิ่ สงู ข้นึ ทั้งนี้
พิจารณาได้จากผลการประเมินสมรรถนะตนเอง
ท่ี 4 การปฏิบัติการนิเทศการสอน (Doing : D) ตามการรับรู้ของครู ผลงานของครูท่ีสร้างข้ึน และ
แบ่งวิธีการนิเทศเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มท่ี 1 ความสามารถในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยเี พื่อการ
จัดการเรียนรู้ ซ่ึงเป็นความสามารถนาเทคโนโลยี
วิธีการนิเทศการสอนแบบช้ีนาให้คาปรึกษาใช้
ส า ห รั บ ค รู ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ท่ี มี 75
ผลการประเมินสมรรถนะในระดับน้อยและน้อยท่ีสุด

กลุ่มที่ 2 วิธีการนิเทศการสอนแบบร่วมมือ
ใช้สาหรับครูคอมพิวเตอร์ที่มีผลการประเมิน

สมรรถนะในระดับปานกลาง และกลุ่มที่ 3 วิธีการ
นิเทศการสอนแบบชี้นาตนเอง และขั้นตอนท่ี 5
การประเมินผล (Evaluation : E) ซ่ึงจากผลการ

ตรวจสอบ โดยผู้เชี่ยวชาญและผลการตรวจสอบ
ยืนยันจากผู้ปฏิบัติหลังการใช้กระบวนการนิเทศ

วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

มาประยุกต์ใช้ สร้าง พัฒนา และเลือกนวัตกรรม (Glickman, Gordon and Ross–Gordon, 2004
ในการจัดการเรียนรู้ รวมท้ังกากับ ติดตาม ) ว่าเป็นการนิเทศที่คานึงถึงธรรมชาติ ศักยภาพ
ตลอดจนความแตกต่างกันในทุกด้านของมนุษย์
ประเมินผล เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้เรียนเกิด อาทิ ด้านความสามารถ โดยต้ังอยู่บนความเชื่อ
การเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธผิ ล พื้นฐานว่า มนุษย์สามารถพัฒนาตนเองได้
และผลการวจิ ยั ยงั พบว่า การรวมตวั กันของครูเป็น
และมีข้อน่าสังเกตว่า สมรรถนะเพิ่มสูงขึ้นมาก การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการทาหน้าที่ของ
หลังการเรียนรู้ระหว่างปฏิบัติงานเม่ือเทียบกับ ครูแต่ละคนน่ันเอง และเป็นครูที่เรียนรู้ และ
สมรรถนะหลังการฝึกอบรม ทั้งน้ี อาจเกิดจาก ปรับปรุงรูปแบบการเรียนรู้ท่ีตนจัดให้แก่ศิษย์ด้วย
เปล่ียนบทบาทขอ งตนเองจาก “ครูสอน”
การเรียนรู้การได้นาความรู้จากการฝึกอบรมไปใช้ (Teacher) ไปเป็น “ครูฝึก” (Coach) หรือ
ในการปฏิบัติงานจริงระหว่างการเรียนรู้ ซึ่งเป็น “ผู้อานวยความสะดวกในการเรียนรู้” (Learning
Facilitator) และตอ้ งเรียนรู้ ทกั ษะในการทาหน้าท่ี
การถ่ายทอดความรู้จากการฝึกอบรมไ ปสู่ นี้ โดยรวมตัวกันเป็นกลุ่มเพ่ือเรียนรู้ร่วมกันอย่าง
การปฏบิ ตั ิ โดยการเรียนรู้น้ีมีทัง้ เกิดจากการเรียนรู้ เป็นระบบและต่อเน่ืองที่รู้จักและเรียกว่า PLC
เพ่ิมเติมด้วยตนเอง และเกิดจากการเรียนรู้จาก ( Professional Learning Community) ห รื อ ท่ี
เรียกว่า ชุมชนแห่งการเรียนรู้ของครู ทั้งนี้
ครูด้วยกัน รวมทั้งเกิดจากการเรียนรู้จากการสร้าง การเรียนรู้ยุคใหม่ต้องเรียนให้เกิดทักษะเพ่ือ
เครือข่ายโดยผ่านกระบวนการกลุ่ม สอดคล้องกับ การดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 หน้าท่ีของครูต้อง
เปล่ียนจากเน้น “สอน” หรือสั่งสอนไปทาหน้าท่ี
หลักการของสานักงานคณะกรรมการการศึกษา จุดประกาย ความสนใจใฝ่รู้แก่ผู้เรียนได้เรียนจาก
ขนั้ พ้นื ฐาน (2547 : 35) ทว่ี ่า “ครคู อื นักปฏิบัติที่มี การลงมือปฏิบัติ เป็นครูผู้แนะนาสร้างบรรยากาศ
การทบทวนไตร่ตรอง (Reflective practitioner) และจัดสถานการณ์ที่กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้ด้วยตนเอง ในยุคปัจจุบัน กระบวนการ
เรียนรจู้ ากการกระทาของตนเองและเพ่อื นร่วมงาน เรียนรู้ใหม่ ๆ สาหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ที่ส่งผลต่อการจัดก าร เรียน รู้และ ส่ง ผล ต่อ ที่เชื่อว่า “การเรียนรู้ที่ดีกวา่ ไม่ได้เกิดมาจากการที่
ครูค้นพบวิธีการสอนท่ีดีกว่า แต่เกิดมาจากการที่
การเรียนรู้ของนักเรียนในศตวรรษที่ 21” และ ครูได้ให้โอกาสท่ีดีกว่าแก่ผู้เรียนรู้ให้สามารถสร้าง
สอดคล้อง กั บ บทคว ามเรื่อง “ Testing for องค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง” สอดคล้องกับแนวคิด
competence rather than for Intelligence” สอนน้อย เรียนมาก (Teach Less, Learn More
:TLLM) ที่มุ่งเน้นประสิทธิภาพในการจัดการเรียน
ของ เดวิค แมคเคลเลน (McClelland) ที่ได้สะทอ้ น การสอนท่ีดีขึ้นและเป็นการเตรียมความพร้อมใน
ความคิดซ่ึงเป็นผลจากการศึกษาวิ จัยให้เห็ น การใช้ชีวิตของผู้เรียน ผู้สอนต้องสอนให้น้อยลง

อย่างชัดเจนว่า ผู้ท่ีประสบผลสาเร็จในการทางาน 76
ต้องเป็นผู้ที่มีความสามารถในการประยุกต์ใช้
หลักการ หรือวิชาการท่ีมอี ยใู่ นตัวเองนน้ั ก่อใหเ้ กิด

ประโยชน์ในงานทีต่ นทา จึงจะกล่าวได้วา่ บคุ คลน้ัน
มสี มรรถนะ (สุกญั ญา รัศมีธรรมโชติ, 2549 : 34)

อีกทั้งในการพัฒนาครูครั้งนี้เลือกใช้วิธี
การนเิ ทศท่ีเหมาะสมกับสมรรถนะของแตล่ ะบุคคล
ซึ่งสอดคล้องกับหลักการนิเทศแบบพัฒนาการ

ของกล๊ิกแมน กอร์ดอน และรอสกอร์ดอน

วารสารการวิจัยการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

หรือ Teach Less แต่ส่ง เสริมให้ผู้เรียนเกิด ความพึงพอใจในงาน การได้รับการยอมรับจาก
การเรียนรู้มากขึ้นหรือ Learn More (เวชฤทธ์ิ ภายนอก และทาให้โรงเรียนมีชื่อเสียง อย่างไร
ก็ตามการวจิ ยั ครง้ั น้ีพบว่า เงื่อนไขของความสาเร็จ
องั กนะภัทรขจร, 2555) ท่ีจะทาให้การพัฒนาสมรรถนะมีความยั่งยืน
นอกจากน้ียังพบว่า ผู้เรียนที่เรียนกับ มีประเด็นท่ีสาคัญ 2 ประเด็นได้แก่ เงื่อนไขท่ีเกิด
จากครแู ละผ้บู ริหารสถานศึกษา ดังน้ี ประเด็นแรก
ครูคอมพิวเตอร์ที่ผ่านก ารพัฒน าส่ง ผ ล ต่อ เง่ือนไขจากครู พบว่า จากการพัฒนาสมรรถนะ
การพัฒนาสมรรถนะสาคัญของผู้เรียนท้ัง 5 ทาให้ครูมีภาระงานเพิ่มข้ึนนอกเหนือจากงาน
ผลท่ีพบดังกล่าวข้างต้น ทาให้ได้ข้อสรุปว่า การสอนหรอื การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ สภาพท่ีครู
ต้องทางานตามนโยบายและจัดทาเอกสารสง่ ไปยงั
การพัฒนาด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ หน่วยงานระดับสูงอยู่ตลอดเวลา ทาให้การทา
การส่ือสาร ในการจัดการเรียนรู้ตามแน ว หน้าท่ีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ไม่สมบูรณ์ และ
ประเดน็ ท่ีสอง เงอื่ นไขจากผู้บริหารโรงเรียน พบวา่
คอนสตรัคติวิสต์ด้วยกระบวนการนิเทศแบบ แม้ว่าเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็น
AIPDDONE สามารถพัฒนาสมรรถนะสาคัญทั้ง สิ่งที่โรงเรียนให้การตอบรับท่ีดี แต่ก็ยังมีความ
5 ด้าน ของผู้เรียน ไม่ว่าจะเป็นความสามารถ จาเป็นอย่างมาก ในการสร้างแนวทางในการใช้
ป ร ะ โ ย ช น์ จ า ก เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ แ ล ะ ก า ร
ใ น ก า ร ส่ื อ ส า ร ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร คิ ด ส่ือสารไม่ให้ติดอยู่กับระบบการสอนเดิมที่เป็นอยู่
ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถใน ต้ อ ง อ า ศั ย ค ว า ม ร่ ว ม มื อ จ า ก ผู้ บ ริ ห า ร โ ร ง เ รี ย น
ผู้บริหารจะต้องรู้หลักการของนวัตกรรม ท่ีจะทา
การใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้ นั้นเป็นอย่างไร และทาหน้าท่ีเป็นผู้กาหนดทิศทาง
เทคโนโลยี สอดคล้องกับความคาดหวังเกี่ยวกับ ใหก้ ับโรงเรียน
ลักษณะของคนไทยยุคใหม่ท่ีมีลักษณะเป็นคนท่ีมี
นอกจากนี้ ยังพบว่าความคิดเห็นของ
นสิ ัยใฝ่เรยี นรู้ เรยี นร้ไู ด้ดว้ ยตนเอง แสวงหาความรู้ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูคอมพิวเตอร์ จาก
อย่าง ต่ อเน่ือง ตลอดชีวิ ต สา มาร ถส่ือ สาร การเผยแพร่นวัตกรรมการนิเทศ โดยภาพรวมอยู่
ใ น ร ะ ดั บ ม า ก ท่ี สุ ด ทั้ ง น้ี อ า จ เ น่ื อ ง ม า จ า ก
คิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา คิดริเริ่มสร้างสรรค์ กระบวนการนิเทศแบบ AIPDDONE และสื่อ
มีจิตสาธารณะ มีระเบียบวินัย คานึงถึงประโยชน์ ประกอบกระบวนการนิเทศท่ีสร้างข้ึนยึดแนวคิด
ส่วนรวม ทางานเป็นกลุ่มได้อย่างเป็นกัลยาณมิตร หลกั การและทฤษฎีทส่ี าคญั ในการสรา้ งและพัฒนา
มีการนาเสนอสาระความรู้เป็นขั้นตอนเป็นระบบ
มีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จิตสานึก สะดวกต่อการนาไปใช้ ครูคอมพิวเตอร์ได้ใช้
และความภูมิใจในความเป็นไทย (สานักงาน ส่ือดังกล่าว ทาให้ได้รับการนิเทศการสอนครู
ในระหว่างปฏิบัติงาน เป็นการพฒั นาครใู นลกั ษณะ
เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา, 2552) ของการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริงบนพื้นฐานของ
3. จากวัตถุประสงค์ของการวิจัยข้อท่ี 3
77
ที่ พ บ ว่ า ผ ล ก า ร ผ ล ก ร ะ ท บ จ า ก ก า ร พั ฒ น า ค รู

คอมพวิ เตอรด์ า้ นการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ และ
การส่ือสาร ในการจัดการเรียนรู้ตามแน ว

คอนสตรัคติวิสท์ ด้วยกระบวนการนิเทศแบบ
AIPDDONE มีประเด็นที่เป็นข้อค้นพบ ได้แก่
ผลกระทบทางบวกท่ีเกิดจากการเป็นครู คือทาให้

เกิดการพัฒนาพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน
การเป็นตัวแบบนวัตกรรม สมาชิกของทีมมี

วารสารการวิจยั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

ความร่วมมืออาศัยทรัพยากรที่มีอยู่ในสถานท่ี 2. ด้านผ้บู รหิ ารสถานศึกษา
ป ฏิ บั ติ ง า น จ ริ ง ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ส า นั ก ง า น 2 . 1 ก า ร เ อื้ อ ต่ อ ก า ร ใ ช้ ง า น
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (2547 : 53)
ที่ว่า ครูคือนักปฏิบัติท่ีมีการทบทวนไตร่ตรอง เคร่ืองคอมพิวเตอร์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ี
เรยี นรูจ้ ากการกระทาของตนเองและเพอื่ นร่วมงาน ไม่ใชเ่ ฉพาะในหอ้ งปฏบิ ตั ิการคอมพิวเตอร์
ส่งผลต่อการจัดการเรียนรู้และส่งผลต่อการเรียนรู้
ของนกั เรยี นในศตวรรษที่ 21 2.2 เครือ่ งมอื และอปุ กรณ์คอมพิวเตอร์
ร ว ม ทั้ ง อุ ป ก ร ณ์ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ อื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย ว ข้อง
ข้อเสนอแนะ จากการวิจยั มขี อ้ เสนอแนะ กั บ ก า ร น า ม า ใ ช้ ใ น ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้
ในการนาผลการวจิ ยั ไปใช้ ดังน้ี
ควรปรับปรุงให้มีความทันยุคสมัย และพร้อมใช้
1. ดา้ นครู งานต่อการสร้างสื่อนวัตกรรม หรือช้ินงาน และ
1.1 ครคู วรศึกษาการใช้ซอฟต์แวร์หรือ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู และให้
เ ค รื่ อ ง มื อ ส ร้ า ง ชิ้ น ง า น ที่ เ ป็ น แ บ บ ฟ รีแว ร์ ความสาคัญกับการปรับปรุงเครือข่าย และ
(Freeware) ที่ใช้งานไม่ยาก ท้ังแบบใช้งาน ความเร็วของอินเทอร์เน็ต รวมท้ังการ จัด
ผ่านเว็บ และใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
ท่ีเหมาะสมต่อการนาไปใช้ในการจัดกิจกรรม สภาพแวดล้อมของห้องเรียนให้เอื้อต่อ การ
การเรียนร้แู ตล่ ะกล่มุ สาระการเรียนรู้ สรา้ งเสริมปฏสิ ัมพันธใ์ นหอ้ งเรยี น

1.2 โดยปกติครูจะมีภาระงานอ่ืน 2.3 การนิเทศภายในควรนิเทศอย่าง
ค่อนข้างมาก ทาให้ไม่มีเวลาเพียงพอสาหรับ ต่อเนื่องของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู
การจัดทาส่ือนวัตกรรม/ช้ินงาน เพื่อลดภาระ สนับสนุนส่งเสริมให้กาลังใจ และต้องจริงจัง
ในการสร้างชิ้นงานของครูท่ีสอนในระดับชั้นหรือ
กลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน ควรทางานในการ ต่อกระบวนการปรับเปล่ียนวิธีการจัดกิจกรรม
ว า ง แ ผ น ก า ร ส ร้ า ง ส่ื อ น วั ต ก ร ร ม ห รื อ ช้ิ น ง า น การเรียนรู้ของครู และวิธีการเรียนรู้ของนักเรียน
ในเน้ือหาสาระเดียวกัน หรือคาบเกี่ยวกัน
ในลักษณะท่เี ป็นหลกั สตู รบูรณาการ เ พื่ อ น า ไ ป สู่ ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น แ ล ะ ก า ร ส ร้ า ง
สภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ ที่มีการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอ่ื สารเป็นเครือ่ งมือ

78

วารสารการวิจัยการศึกษาข้ันพื้นฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

เอกสารอ้างอิง

วัชรา เล่าเรยี นด.ี (2550). การนเิ ทศการสอน สาขาวชิ าหลกั สตู รและการนิเทศ.
นครปฐม : โรงพิมพม์ หาวิทยาลัยศลิ ปากร.

เวชฤทธ์ิ อังกนะภทั รขจร. (2555). การประยุกตใ์ ชแ้ นวคิด Teach Less, Learn More (TLLM)
สูก่ ารจัดการเรียนรู้ในช้นั เรยี นคณติ ศาสตร์. วารสารศึกษาศาสตร์ 23(1). 1-11.

สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 2. (2555). รายงานผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม
และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา. สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2.
. (2556). รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศกึ ษา. สานกั งานเขตพื้นที่
การศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2.
. (2557). รายงานผลการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา. สานักงานเขตพนื้ ที่
การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2.

สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน. (2547). การเรยี นรบู้ รู ณาการ : ยทุ ธศาสตร์ครูปฏิรูป.
กรุงเทพฯ : อษุ าการพมิ พ.์

สานกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา. (2552). ข้อเสนอการปฏิรปู การศกึ ษาในทศวรรษท่ีสอง 2552 – 2561.
กรุงเทพฯ : สานกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ.

สกุ ญั ญา รัศมธี รรมโชติ. (2549). แนวทางการพัฒนาศักยภาพมนุษย์ด้วย Competency Based
Learning. กรงุ เทพฯ : ศริ ิวฒั นา อินเตอร์พรน้ิ .

Glickman, C. D.; Gordon, S.P. & Ross-Gordon, J.M. (2004). Supervision and Instructional
Leadership A Developmental Approach. The United States of America.
Allyn and Bacon.

79

วารสารการวิจัยการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

การวจิ ยั และพฒั นาการจัดประสบการณเ์ รยี นรูแ้ บบสะเตม็ ศึกษา เพื่อพัฒนาทกั ษะการคิดวิเคราะห์
สาหรบั เดก็ ปฐมวัยในโรงเรยี นสังกดั สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2

Research and development of learning experience management using STEM education Model
to develop critical thinking skills for Pre-school children in Schools
under Nongbualamphu Primary Educational Service Area Office 2

ปาริชาติ ปิติพฒั น์*
Parichat Pitiphat

บทคดั ย่อ

การวิจยั ครั้งนี้มคี วามมงุ่ หมายเพือ่ 1) เพื่อสรา้ งและพฒั นาการจดั ประสบการณ์เรียนรูแ้ บบสะเต็มศึกษา
2) เพ่ือศึกษาประสิทธิภาพของการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา 3) เพ่ือเปรียบเทียบทักษะ
การคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา 4) เพ่ือศึกษาผล
การใช้การจดั ประสบการณเ์ รียนรู้แบบสะเต็มศกึ ษา กลุม่ ตวั อยา่ ง ไดแ้ ก่ ผ้ทู รงคุณวุฒิทางด้านการศกึ ษาปฐมวัย
จานวน 10 คน ครปู ฐมวัย จานวน 80 คน และเดก็ ปฐมวัย ของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา
ประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 จานวน 1,400 คน เคร่ืองมือวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แผนการจัด
ประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา แบบวัดเจตคติของครู แบบประเมินทักษะการคิดวิเคราะห์ วิเคราะห์
ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า ผู้ทรงคุณวุฒิและ
ครูปฐมวัยมีความต้องการการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก
ความเหมาะสมของการจัดประสบการณ์เรียนรู้ แบบสะเต็มศึกษา ซ่ึงประเมนิ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ มีค่าเฉลี่ยรวม
ความเหมาะสมของการจัดประสบการณ์เรียนรู้ แบบสะเต็มศึกษา 3.87 ซึ่งมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก
และเด็กปฐมวัยท่ีได้รับการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา มีคะแนนเฉล่ียหลังการทดลองสูงกว่า
คะแนนเฉลีย่ ของเด็กก่อนการทดลองทง้ั 5 ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์สาหรับเดก็ ปฐมวัยอย่างมนี ัยสาคญั ทางสถิติ
ทร่ี ะดับ .01

คาสาคัญ : การจดั ประสบการณเ์ รียนร/ู้ สะเตม็ ศึกษา/ ทกั ษะการคิดวิเคราะห์

*ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ, สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาหนองบวั ลาภู เขต 2
Senior Professional Level Supervisor. Nongbaulamphu Primary Educational Service Area Office 2

80

วารสารการวิจัยการศึกษาข้ันพื้นฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

Abstract

This research aims 1) to create and develop a learning experience for STEM education,
2) to investigate the effectiveness of the STEM learning experience, 3) to compare the critical
thinking skills of early childhood children and after organizing the STEM learning experience,
and 4 ) to investigate the results of using the STEM learning experience. The sample group
consisted of 1 0 experts in the early childhood education, 8 0 early childhood teachers and
early childhood children under the Office of Nongbualamphu Primary Education Area, District 2,
totally 1,400 people. The research tool was a questionnaire, a learning experience plan, STEM
education, a teacher attitude measurement form, a critique analysis, data analysis using
statistics, mean, and standard deviation. T- test The results showed that experts and early
childhood teachers had a high level of need for the overall STEM education learning
experience. The luminaries had a mean plus the appropriateness of the STEM learning
experience of 3.87 which was appropriate in the level. The average score after the experiment
was significantly higher than the average score of the pre- trial children of 5 critical thinking
skills for early childhood children which was statistically significant at the .01.

Keywords : Organizing learning experiences/ STEM Education/ Critical thinking skills

บทนา แก้ไขปัญหา ท่ีพบเห็นในชีวิตจริง และจัดการเรียนรู้

การพัฒนาคนให้มีปัญญา คิดเป็น ทาเป็น แบบบู ร ณาการ โดย ใช้ คว ามรู้ ทาง วิ ทยา ศ า ส ต ร์
ต้องสร้างพื้นฐานด้วยการพัฒนาคุณภาพการศึกษา คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และวิศวกรรมเป็นแกน เน้น
จัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีมีความยืดหยุ่น ให้เด็กได้มี
โอกาสเลือกเรียนในสิ่งท่ีสอดคล้องกับความสนใจ การคิดวิเคราะห์ ฝึกให้เด็กรู้จักวิธีคิด การต้ังคาถาม
ความถนัด สามารถแสวงหาความรู้ และการฝึกปฏิบัติ การแก้ปัญหาและการสร้างทักษะ การหาข้อมูล และ
ในสภาพท่ีเป็นจริง รู้จักวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วย การค้นพบข้อวิเคราะห์ใหม่ ๆ ทาให้เด็กได้รู้จัก
ตนเองได้ เกิดการใฝ่รู้ อย่างต่อเน่ือง และสามารถนา
ความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้จริงในชีวิต ประจาวัน นาองค์ความรู้จากวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
(เยาวพา เดชะคุปต์. 2548) การจัดประสบการณ์ สาขาต่าง ๆ มาบูรณาการกัน และการเรียนรู้ท่ีเดก็ ได้
การเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เป็นกระบวนการหน่ึง
ที่ เด็ ก ไ ด้ เรี ยน รู้ ผ่ าน กิ จก ร ร มหรื อโคร ง ง าน ท่ี มุ่ ง คิดวิเคราะห์ ลงมือปฏิบัติ ได้มีการนาความรู้ และ
ทักษะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี
มาออกแบบและสร้างชิ้นงานภายใต้สถานการณ์

81

วารสารการวิจัยการศึกษาขัน้ พื้นฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

ท่ีกาหนดได้เรียนรู้จากการทาผิดพลาด ได้มีการ จากการประเมนิ พัฒนาการของนักเรียน
อภิปราย ซักถาม โต้แย้งกันระหว่างสมาชิกในกลุ่ม ทีจ่ บหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช 2546

เป็นการส่งเสริมให้เด็กเกิดความเข้าใจหลักการทาง ประจาปีการศึกษา 2560 ของสานักงานเขตพื้นที่
วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ได้อย่างลึกซ้ึงยิ่งขึ้น การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2

ได้ฝึกการนาความรู้ท่ีค่อนข้างเป็นนามธรรมมาใช้ โดยผลการประเมินพัฒนาการนักเรียนชั้นอนุบาล
แก้ปัญหา ฝึกการให้เกียรติแนวคิดผู้อ่ืนท่ีแตกต่าง ปที ่ี 3 จานวน 1,813 คน ผลเป็นดงั น้ี มนี กั เรียนทผี่ า่ น
จากของตนเอง ฝึกทักษะการส่อื สารและทักษะการคิด เกณฑ์การประเมินคุณภาพระดับ 3 ด้านร่างกาย

ขั้นสูง ซึ่งการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบ จานวน 1,706 คน คิดเปน็ ร้อยละ 94.10 ดา้ นอารมณ์
สะเต็มศึกษานั้น ครูอาจจะต้องจัดหาส่ือท่ีมีความ - จิตใจ จานวน 1,724 คน คิดเป็นร้อยละ 95.09

น่าสนใจ มาช่วยดึงดูดให้เด็กเข้าสู่กระบวนการของ ด้านสังคม จานวน 1,689 คน คิดเป็นร้อยละ 93.16
กิจกรรมก่อน จากน้ันเด็กจะค่อยๆ ซึมทราบ ด้านสติปัญญา จานวน 1,405 คน คิดเป็นร้อยละ
ความรู้และทักษะจากการทากิจกรรมอย่างไม่รู้ตัว 77.49 ซ่ึงจากผลการประเมินดังกล่าวจะเห็นได้ว่า

ตัวอยา่ ง เชน่ ของเล่น เกม วดี ทิ ศั น์ ทาใหเ้ ดก็ ไดร้ ับ พัฒนาการท้ัง 4 ด้านน้ัน ด้านที่มีนักเรียนผ่านเกณฑ์
ทั้งความรู้ ทักษะ และความสนุกสนานไปพร้อม ๆ การประเมินคุณภาพระดับ 3 มากที่สุด ได้แก่

กนั โดยมงุ่ ให้เด็กนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตและ ด้านอารมณ์ จิตใจ รองลงมา ได้แก่ ด้านร่างกาย
ประกอบอาชีพในอนาคต โดยรูปแบบการจัด ด้านสงั คม ตามลาดับ และด้านที่มนี ักเรียนผ่านเกณฑ์
ประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาส่งผลให้ การประเมินคุณภาพระดับ 3 น้อยที่สุด ได้แก่

ก ร ะ บ ว น ทั ศ น์ ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ป ด้านสติปัญญา เมื่อผลการประเมินพัฒนาการ
ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ทุ ก ร ะ ดั บ เ น้ น ใ ห้ เ ด็ ก เ กิ ด ก า ร เป็นดังกล่าวมาแล้วน้ัน ผู้วิจัยในฐานะท่ีเป็น

พัฒนาทักษะการคิดข้ันสูง รวมทั้งการพัฒนา ศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบการจัดการศึกษาปฐมวัย
ทักษะการสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีเป็นเคร่ืองมือ ของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา
แสวงหาความรู้ และการมีทักษะทางสังคม หนองบวั ลาภู เขต 2 จงึ ได้สร้างนวตั กรรมเพือ่ สง่ เสริม

แนวโน้มการจัดการศึกษาจึงจาเป็นต้องบูรณาการ พัฒนาการด้านสติปัญญา ทักษะการคิดวิเคราะห์
ทั้งด้านศาสตร์ต่าง ๆ และบูรณาการการเรียนใน โดยได้สร้างและพัฒนาการจัดประสบการณ์แบบ

ห้องเรียนและชีวิตจริง ทาให้การเรียนนั้น สะเต็มศึกษา ข้ึนมาโดยเช่ือว่าการจัดประสบการณ์
มีความหมายต่อเด็ก ซ่ึงเด็กจะเห็นประโยชน์ เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึนน้ัน จะเป็น
คุณค่าของการเรียนรู้ และสามารถนาไปใช้ วิธีการที่ส่งเสริมให้เด็กเรียนรู้วิธีการคิด การแสวงหา

ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ ซึ่งเป็นการเตรียม ความรู้ และการแก้ปัญหา ได้รับการส่งเสริมทักษะ
เด็กเพื่อให้มีประสบการณ์การเรียนรู้ในชั้นสูงขึ้น การคิดวิเคราะห์ และส่งผลพัฒนาการด้านสตปิ ัญญา

เกดิ การเพ่ิมโอกาสการทางานในอนาคต การเพม่ิ มูลค่า ซึง่ เป็นรากฐานการเรยี นรู้ท่ีจะพัฒนาตนตอ่ ไป
และการสร้ างความแข็ งแกร่ ง ใ ห้ กั บ ประเทศด้ าน
เศรษฐกิจได(เบญจกาญจน์ ใส่ละม้าย. 2558 : 3 – 4)

82

วารสารการวิจยั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ัย แบบสะเต็มศึกษา โดยการเลือกแบบเจาะจง
1. เพ่ือสร้างและพฒั นาการจัดประสบการณ์ (Purposive Sampling)

เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพ่ือพัฒนาทักษะ 2. ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ ทางดา้ นการจดั การศึกษา
การคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย ปฐมวยั จานวน 10 คน โดยการเลอื กแบบเจาะจง
(Purposive Sampling)
2. เพ่ือศึกษาประสิทธิภาพของการจัด
ประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพื่อพัฒนา 3. เด็กปฐมวัย อายุ 5 – 6 ปี กาลังเรียน
ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ของเดก็ ปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561
ของโรงเรยี นในสังกัดสานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา
3. เพ่ือเปรียบเทียบทักษะการคิดวิเคราะห์ ประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 จานวนท้ังหมด
ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดประสบการณ์ 1,400 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive
เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพ่ือพัฒนาทักษะ Sampling)
การคิดวเิ คราะห์ของเด็กปฐมวยั
เครอ่ื งมอื ทใ่ี ช้ในงานวจิ ยั
4. เพ่ือศึกษาผลการใช้การจัดประสบการณ์ เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี คือ ระยะ
เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะ
การคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยท่ีได้ผ่านการหา ที่ 1 การศึกษาความต้องการจัดประสบการณ์
ประสทิ ธิภาพแล้วไปใช้ในสภาพจริง เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพ่ือพัฒนาทักษะ
การคิดวิเคราะหข์ องเด็กปฐมวยั คือ
วิธีดาเนินการวจิ ัย
การวิจัยคร้ังนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา แ บ บ ส อ บ ถ า ม ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ก า ร จั ด
ประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพ่ือพัฒนา
(Research and Development) ผู้วิจัยดาเนินการ ทักษะการคิดวเิ คราะห์ของเด็กปฐมวยั โดยผู้ทรงคุณวฒุ ิ
วิจัยแบง่ ออกเปน็ 3 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การศึกษา ซ่ึงมีค่าความเช่ือมั่นท่ี 0.84 ระยะที่ 2 การสร้าง
ความต้องการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบ และพัฒนาการจัดประสบการณ์เรียนรูแ้ บบสะเต็ม
สะเต็มศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ ศึกษา เพ่ือพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของ
ของเด็กปฐมวัย ระยะท่ี 2 การสร้างและพัฒนา เด็กปฐมวยั คอื
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา
เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย 1. แผนการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบ
ระยะที่ 3 การศกึ ษาผลการใช้การจดั ประสบการณ์ สะเต็มศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์
การเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะ ของเด็กปฐมวัย ซ่ึงได้แผนการจัดประสบการณ์
การคดิ วิเคราะหข์ องเดก็ ปฐมวัยไปใช้ในสภาพจริง เรยี นรู้ จานวน 40 แผน

กลุ่มตัวอย่างทีใ่ ช้ในงานวิจยั 2. แบบประเมินความสอดคล้องของ
1 . ค รู ป ฐ ม วั ย ผู้ ป ฏิ บั ติ ก า ร ส อ น ก า ร จั ด ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ เ รี ย น รู้ แ บ บ ส ะ เ ต็ ม ศึ ก ษ า
เพื่อ พัฒ น าทักษะก ารคิดวิ เคราะ ห์สาหรับ
ช้ันอนุบาลปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2561 ของโรงเรียน เดก็ ปฐมวยั โดยผู้เชี่ยวชาญ ซงึ่ มีค่าความสอดคล้อง
ในสงั กัดสานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษา ทัง้ ฉบับท่ี 0.83
หนองบัวลาภู เขต 2 จานวน ท้ังหมด 80 คน
ท่ีได้รับการอบรมการจัดประสบการณ์เรียนรู้ 3. แบบประเมินความเหมาะสมของ
ก า ร จั ด ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ เ รี ย น รู้ แ บ บ ส ะ เ ต็ ม ศึ ก ษ า

83

วารสารการวิจยั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

เพ่ื อพัฒ น าทักษะก ารคิ ดวิ เคราะ ห์สาหรับ แบบสอบถามครูปฐมวัยท่ีสอนในโรงเรียนสังกัด
เด็กปฐมวยั ซึง่ มคี ่าความเช่อื มนั่ ที่ 0.92 สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึก ษา

4. แบบประเมินทักษะการคิดวิเคราะห์ หนองบัวลาภู เขต 2 และผู้ทรงคุณวุฒิทางด้าน
สาหรับเด็กปฐมวัยซ่ึงมีค่าความยากง่าย (p) การศึกษาปฐมวัย ซ่ึงสร้างจากเอกสาร ตารา

0.53 -0.67 และค่าอานาจจาแนก (r) 0.45 – 0.92 และงานวิจัยที่เก่ียวข้องกับทักษะการคิดวิเคราะห์
ซึ่งมีค่าความเชือ่ มัน่ ของแบบประเมินทั้งฉบับ 0.95 ของเด็กปฐมวัย โดยการกาหนดค่าเฉล่ียของ
คะแนนความต้องการ คือ ถ้าค่าเฉล่ียความคิดเห็น
5. แบบประเมินความสอดคล้องของ
ของผู้ทรงคุณวุฒิมีค่าตั้งแต่ 3.50 ข้ึนไป ถือว่า
แบบประเมินทักษะการคิดวิเคราะห์สาหรั บ มีความสาคัญจาเป็นที่ครูปฐมวัยต้องพัฒนาทักษะ
เดก็ ปฐมวยั โดยผเู้ ช่ยี วชาญ ซงึ่ มีค่าความสอดคล้อง
การคิดวเิ คราะหใ์ ห้กับเดก็ ปฐมวัย
ท้งั ฉบบั ที่ 0.98 ระยะที่ 2 ศึกษาการสร้างและพัฒนา
6. แบบวัดเจตคติของครูต่อการจัด
ก า ร จั ด ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ เ รี ย น รู้ แ บ บ ส ะ เ ต็ ม ศึ ก ษ า
ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก า ร เ รี ย น รู้ แ บ บ ส ะ เ ต็ ม ศึ ก ษ า
เพ่ือพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย
เพ่ือพัฒ น าทักษะก ารคิดวิ เคราะ ห์สาหรับ คอื
เดก็ ปฐมวัย
1. สร้างแผนการจัดประสบการณ์เรียนรู้
ร ะ ยะ ที่ 3 ศึก ษาผลก าร ใช้ก า ร จั ด แ บ บ ส ะ เ ต็ ม ศึ ก ษ า เ พ่ื อ พั ฒ น า ทั ก ษ ะ
ประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพื่อพัฒนา การคิดวิเคราะห์สาหรับเด็กปฐมวัย เพ่ือทดลองใช้
ทั ก ษ ะ ก า ร คิ ด วิ เ ค ร า ะ ห์ ข อ ง เ ด็ ก ป ฐ ม วั ย ไ ป ใ ช้
การจัดประสบการณ์แบบสะเต็มศึกษาสาหรับ
ในสภาพจริง เด็กปฐมวัย ที่ผู้วิจัยสร้างและพัฒนาข้ึน ที่มี
1. แผนการจัดประสบการณ์เรียนรู้
ลาดับข้ัน ดังนี้ 1) ขั้นสร้างความสนใจใฝ่รู้
แ บ บ ส ะ เ ต็ ม ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า ทั ก ษ ะ 2) ขั้นนักสารวจและคน้ หา 3) ขน้ั กจิ กรรมบนั ไดไต่รู้
การคดิ วเิ คราะหส์ าหรบั เดก็ ปฐมวัย 4) ข้ันขยายความรู้ 5) ขน้ั นาเสนอและประเมินผล

2. คู่มือการนิเทศ ติดตาม การจัด 2. สร้างแบบประเมินความเหมาะสมของ
การจัดประสบการณ์แบบสะเตม็ ศึกษา เพ่ือพัฒนา
ประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพื่อพัฒนา
ทกั ษะการคดิ วิเคราะหส์ าหรบั เด็กปฐมวยั ทักษะการคิดวิเคราะห์ โดยผู้ทรงคุณวุฒิผู้วิจัย
จ ะ เ ส น อ ใ น รู ป ข อ ง ค่ า เ ฉ ลี่ ย ( Mean) แ ล ะ
3. แบบประเมินทักษะการคิดวิเคราะห์ ค่ า ค ว า ม เ บ่ี ย ง เ บ น ม า ต ร ฐ า น ( Standard
สาหรับเดก็ ปฐมวยั
Deviation) โดยกาหนดค่าเฉล่ียของคะแนนความ
4. แบบวัดเจตคติของครูต่อการจัด เหมาะสม คือ ถ้าค่าเฉลี่ยความเหมาะสมของ

ประสบการณ์การเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาเพ่ือ ผู้ทรงคุณวุฒิมีค่าตั้งแต่ 3.50 ข้ึนไป ถือว่ามีความ
พฒั นาทกั ษะการคิดวเิ คราะห์สาหรับเดก็ ปฐมวยั เหมาะสมในการจัดประสบการณ์เพ่อื พัฒนาทกั ษะ
การคิดวเิ คราะห์ใหก้ บั เดก็ ปฐมวยั
การเก็บรวบรวมข้อมูล มีการดาเนินการ
เปน็ 3 ระยะ ดงั น้ี 3 . ส ร้ า ง แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ทั ก ษ ะ
การคิดวิเคราะห์สาหรับเด็กปฐมวัย และนาไป
ร ะ ยะ ท่ี 1 ศึก ษาคว ามต้อง ก าร จัด

ประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพ่ือพัฒนา
ทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย โดยใช้

84

วารสารการวิจยั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

ตรวจสอบเพ่ือหาประสิทธิภาพของเครื่องมือ โดย แล้วสร้างแบบประเมินเจตคติของครูนาเสนอต่อ
ห า ค่ า ค ว า ม ส อ ด ค ล้ อ ง ( IOC) ข อ ง ก า ร จัด ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อตรวจสอบพิจารณาความถูกต้อง

ประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา โดยนา ความเหมาะสม และความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหา
แบบประเมินทักษะการคิดวิเคราะห์ที่ผู้วิจัยสร้าง แล้วนามาแก้ไขปรับปรุงข้อบกพร่อง นามาแก้ไข

ขึ้น เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบความ แ ล้ ว ไ ป ใ ช้ กั บ ค รู ป ฐ ม วั ย ที่ ไ ด้ รั บ ก า ร จั ด อ บ ร ม
เท่ียงตรงของข้อคาถาม และความสอดคล้องกับ พั ฒ น า ก า ร จั ด ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ แ บ บ ส ะ เ ต็ ม ศึ ก ษ า
พฤติกรรมหาค่าความสอดคล้อง (IOC) ของแบบ หลังจากเสร็จสิ้นการนาแผนการจัดประสบการณ์

ป ร ะ เ มิ น โ ด ย น า แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ทั ก ษ ะ ก า ร คิ ด แบบสะเต็มศกึ ษาไปใช้จดั ประสบการณ์
วิเคราะห์ไปให้ผู้เชี่ยวชาญลงความเห็น ซึ่งในการ ระยะที่ 3 การศึกษาผลการใช้การจัด

วิจัยคร้ังน้ีได้ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก า ร เ รี ย น รู้ แ บ บ ส ะ เ ต็ ม ศึ ก ษ า
จุดประสงค์กับพฤติกรรมเท่ากับ 0.67 – 1.00 เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย
ปรับปรุงแบบประเมินทักษะการคิดวิเคราะห์ตาม ไปใชใ้ นสภาพจริง ดงั น้ี

คาแนะนาของผู้เช่ียวชาญและนาไปทดลองใช้ 1. จัดอบรมขยายผลรูปแบบการจัด
(Try out) กบั นกั เรยี นช้นั อนบุ าลปีท่ี 3 ในโรงเรยี น ประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพ่ือพัฒนา

สั ง กั ด ส า นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยให้กับครู
ประถมศึกษาหนองบัวลาภู เขต 2 ท่ีไม่ใช่ ท่สี อนช้นั อนบุ าลปีที่ 3 ในโรงเรียนสงั กดั สานักงาน
ก ลุ่มตัว อย่าง จาน ว น 23 คน เพื่อศึก ษ า เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภู

ความเหมาะสมและความชัดเจนของข้นั ตอน เขต 2 เป็นเวลา 2 วัน จานวน 80 คน เพื่อพัฒนา
ก า ร ใ ช้ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ทั ก ษ ะ ครูปฐมวัยให้สามารถนารูปแบบการจัดประสบการณ์

การคิดวิเคราะห์ แล้วนาคะแนนที่ได้จากการทา เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพื่อพั ฒนาทักษะ
แบบประเมินทักษะการคิดวิเคราะห์ มาวิเคราะห์ ก า ร คิ ด วิ เ ค ร า ะ ห์ ส า ห รั บ เ ด็ ก ป ฐ ม วั ย ไ ป ใ ช้ จั ด
ร า ย ข้ อ จ า ก ค ะ แ น น ร ว ม ท้ั ง ฉ บั บ เ พ่ื อ ห า ประสบการณไ์ ด้

ค่าความยากง่าย (P) โดยข้อคาถามของแบบ 2. ครูปฐมวัยท่ีผ่านการอบรมพัฒนา
ประเมินทักษะการคิดวิเคราะห์มีค่าความยากง่าย นาแผนการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็ม

อยรู่ ะหว่าง 0.53 – 0.67 และหาอานาจจาแนก (r) ศกึ ษา เพือ่ พฒั นาทักษะการคิดวเิ คราะหไ์ ปทดลอง
โ ด ย ข้ อ ค า ถ า ม ข อ ง แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ทั ก ษ ะ ในห้องเรยี น ประมาณ 10 สปั ดาห์
การคิดวเิ คราะห์มคี า่ อานาจจาแนกอยู่ระหวา่ 0.45
3. นิเทศ ติดตาม ตรวจเย่ียมและให้
– 0.92 และ หาค่าความเช่ือม่ันของแบบประเมิน
ไดค้ ่าความเช่อื ม่นั ทง้ั ฉบบั 0.95 ครูปฐมวัยประเมินรูปแบบการจัดประสบการณ์
เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะ
4. สร้างแบบประเมินเจตคติของครู
ต่อการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา การคิดวิเคราะห์สาหรับเด็กปฐมวัย หลังทดลอง
เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ และนาไป สอนในหอ้ งเรยี น

ตรวจสอบเพื่อหาประสิทธิภาพของเครื่องมือ 4. วิเคราะห์ข้อมูลประเมินรปู แบบการจัด
โดยการศึกษาหลักการสร้างแบบประเมินเจตคติ
ประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพ่ือพัฒนา

85

วารสารการวิจัยการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

ทักษะการคิดวิเคราะห์สาหรับเด็กปฐมวัย สรุปผล กระบวนการในการทางานอย่างเป็นลาดับข้ันตอน
การทดลองและอภปิ รายผล ( X = 4.60, S.D. = 0.52) รองลงมาคือ ท่านต้องการ
ให้ทักษะการคิดวิเคราะห์สาหรับเด็กปฐมวัยเป็น
ผลการวจิ ยั เ ค ร่ื อ ง มื อ ใ น ก า ร เ รี ย น รู้ ส า ห รั บ เ ด็ ก ป ฐ ม วั ย
1. ผ ล ก า ร ศึ ก ษ า ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร จัด
( X = 4.50, S.D. = 0.85) ข้อท่ีเป็นความต้องการ
ประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพื่อพัฒนา น้อยที่สุด คือ ต้องการให้ทักษะการคิดวิเคราะห์
ทักษะการคดิ วิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย รายละเอยี ด
เปน็ ดังนี้ สาหรับเด็ก ปฐมวั ยเป็นทัก ษะพ้ืน ฐานของ
ทักษะการคดิ ( X = 3.80, S.D. = 0.79) ตอ้ งการ
1.1 ครปู ฐมวยั มีความต้องการการจัด พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์สาหรับเด็กปฐมวัย
ประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพื่อพัฒนา
ทั ก ษ ะ ก า ร คิ ด วิ เ ค ร า ะ ห์ ข อ ง เ ด็ ก ป ฐ ม วั ย มาก น้อ ยเพียง ใดใน ด้าน ก าร คิดวิ เคร าะ ห์
โดยภาพรวมนั้นอยู่ในระดับมาก ( X = 4.04, ความสัมพันธ์เชิงเหตุผลแบบอุปนัย ( X = 3.80,
S.D. = 1.02) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ ข้อที่เป็น S.D. = 0.92) และต้องการการจัดประสบการณ์
คว ามต้อง ก ารมาก ท่ี สุด คือ ท่าน ต้อง การ เรยี นรทู้ ชี่ ว่ ยใหเ้ ดก็ ไดน้ าเสนอความคิด ดว้ ยการพดู
การจัดประสบการณ์เรียนรู้ท่ีช่วยให้เด็กได้ทา อย่างมีเหตุผล การบันทึกข้อมูล บันทึกผล
กิจกรรมที่ให้เด็กได้สะท้อนความคิดต่อสิ่งท่ีได้
ล ง มื อ ป ฏิ บั ติ ด้ ว ย ก า ร อ ธิ บ า ย แ ล ะ น า เ ส น อ ถึ ง ที่ได้สารวจและค้นหา ด้วยการนาความสัมพันธ์
กระบวนการในการทางานอยา่ งเป็นลาดับขนั้ ตอน ต่าง ๆ มาให้เป็นองค์ความรู้ใหม่ ( X = 3.80,
( X = 4.46, S.D. = 0.81) รองลงมาคือ ท่าน S.D. = 1.23)
ต้องการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์สาหรับ
เ ด็ ก ป ฐ ม วั ย ม า ก น้ อ ย เ พี ย ง ใ ด ใ น ด้ า น 2 . ผลก าร สร้าง และ พัฒ น าก าร จัด
การคิดวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงเหตุผลแบบ ประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพื่อพัฒนา
อุปนัยอยู่ในระดับมาก( X = 4.36, S.D. = 0.88)
ข้อท่ีครูปฐมวัยมีความต้องการน้อยที่สุด คือ ทักษะการคดิ วิเคราะห์ของเดก็ ปฐมวยั
ต้องการให้ทักษะการ คิดวิ เคราะ ห์ส า หรับ 2.1 ความเหมาะสมของการจัด
เด็กปฐมวัยเป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้สาหรับ
เด็กปฐมวยั ( X = 3.68,S.D. = 1.22) ประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพื่อพัฒนา
ทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวยั ซ่ึงประเมิน
1.2 ผู้ทรงคุณวุฒิมีความต้องการ โดยผทู้ รงคุณวุฒิ มีค่าเฉล่ยี รวมซงึ่ มีความเหมาะสม
ก า ร จั ด ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ เ รี ย น รู้ แ บ บ ส ะ เ ต็ ม ศึ ก ษ า
เพ่ือพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย ของสะเต็มศึกษา ภาพรวมอยู่ในระดับมาก
โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 4.15, ( X = 3.87, S.D. = 1.30) เมื่อพิจารณาเป็น
S.D. = 0.89) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ข้อที่เป็น รายข้อ ทุกข้ออยู่ในระดับมาก ข้อที่ผู้ทรงคุณวุฒิ
ความต้องการมากที่สุด คือ ต้องให้เด็กได้ทา เห็นว่ามีความเหมาะสมมากท่ีสุด ได้แก่ การนา
กิจกรรมท่ีให้เด็กได้สะท้อนความคิดต่อส่ิงที่ได้ การจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาไปใช้
ล ง มื อ ป ฏิ บั ติ ด้ ว ย ก า ร อ ธิ บ า ย แ ล ะ น า เ ส น อ ถึ ง
เพื่อ พัฒ น าทักษะก ารคิดวิ เคราะ ห์สาหรับ
เด็กปฐมวัย ( X = 4.50, S.D. = 0.71) รองลงมา
คือ การจัดประสบการณ์แบบสะเต็มศึกษาแบบ
กจิ กรรมการเรียนร้จู ากการบูรณาการศาสตรต์ า่ ง ๆ
ทั้ง 4 ศาสตร์ ข้ันท่ี 2 นักสารวจและค้น หา

86

วารสารการวิจยั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

ด้วยกิจกรรมท้ังในและนอกห้องเรียนให้เด็กเกิด 3.1 ความต้องการของครูปฐมวัย
ข้อสงสยั มกี ารคาดเดาคาตอบ และสบื คน้ ทดลอง ต่อการพัฒนาการจัดประสบการณ์เรียนรู้ เพ่ือ

โดยมุ่งเน้นให้เด็กใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการสังเกต พฒั นาทักษะการคิดวเิ คราะหข์ องเดก็ ปฐมวยั
การดมกลิ่น การชิมรส การฟัง การสัมผัส 3.1.1 ครปู ฐมวยั มีความต้องการ

รวมท้ังการวัดและบันทึกผลการสารวจใช้อุปกรณ์ พั ฒ น า ก า ร จั ด ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ เ รี ย น รู้ แ บ บ
และเครื่องมือสาหรับการวัด ( X = 4.40, สะเต็มศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์
S.D.= 0.52) และการนิยามความหมายของทักษะ ของเด็กปฐมวยั โดยภาพรวมอยใู่ นระดับมาก ขอ้ ท่ี

ก า ร คิ ด วิ เ ค ร า ะ ห์ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ห ม า ย ถึ ง เปน็ ความตอ้ งการมากที่สดุ คือท่านตอ้ งการการจัด
ความสามารถในการจาแนกสิ่งใดสิ่งหน่ึงออกมา ประสบการณเ์ รียนรทู้ ่ีชว่ ยให้เดก็ ได้ทากิจกรรมที่ให้

ให้เห็น ว่ ามีอง ค์ปร ะ ก อบอะ ไ ร บ้าง แต่ละ เด็กได้สะท้อนความคิดต่อส่ิงที่ได้ลงมือปฏิบัติ
องค์ประกอบมีความสัมพันธ์กันอย่างไร เพื่อท่ี ด้วยการอธิบายและนาเสนอถึงกระบวนการ
จ ะ ไ ด้ พิ จ า ร ณ า แ ต่ ล ะ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ดู ว่ า เ ป็ น ไ ป ในการทางานอย่างเป็นลาดับขน้ั ตอน รองลงมาคือ

อย่างท่ีควรจะเป็นหรือไม่ ซ่ึงจะนาไปสู่การ ท่านต้องการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์สาหรบั
แก้ปัญหาได้ในท่ีสุด ( X = 4.40, S.D. = 0.57) เด็กปฐมวัยมากน้อยเพียงใด ในด้านการคิดวิเคราะห์
และข้อที่ผู้ทรงคุณวุฒิเห็นว่ามีความเหมาะสม
น้อยที่สุด ได้แก่ ความเป็นมาและความสาคัญ ความสมั พนั ธ์เชงิ เหตผุ ลแบบอปุ นยั อยใู่ นระดับมาก
ของการจัดประสบการณ์แบบสะเต็มศึก ษา ข้อท่ีครูปฐมวัยมีความต้องการน้อยที่สุด คือ
ต้องการให้ทักษะการ คิดวิ เคราะ ห์ส า หรับ
( X = 3.60, S.D. = 1.17) ความหมายของการจัด
ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ เ รี ย น รู้ แ บ บ ส ะ เ ต็ ม ศึ ก ษ า เด็กปฐมวัยเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้สาหรับ
เดก็ ปฐมวยั
เป็นกิจกรรมการเรียนรู้จากการบูรณาการศาสตร์
ต่างๆ ท้ัง 4 ศาสตร์ คือ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ 3.1.2 ผ้ทู รงคณุ วุฒิมีความตอ้ งการ
เทคโนโลยี และวศิ วกรรมท่มี ุ่งเน้นให้เด็กได้ค้นคว้า ก า ร จัด ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์เ ร ีย น รู้แ บ บ ส ะ เ ต็ม ศ ึก ษ า
เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย
ทดลอง หรือสารวจตรวจสอบองค์ความรู้ใหม่ๆ
( X = 3.60, S.D. = 1.51) โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็น
รายข้อ ข้อท่ีเป็นความต้องการมากท่ีสุด คือ
2.2 ความสอดคล้องของการจัด
ประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพื่อพัฒนา ต้ อ ง ใ ห้ เ ด็ ก ไ ด้ ท า กิ จ ก ร ร ม ท่ี ใ ห้ เ ด็ ก ไ ด้ ส ะ ท้ อ น
ทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวยั ซึ่งประเมนิ ความคิดต่อสิง่ ท่ีได้ลงมือปฏบิ ตั ิด้วยการอธบิ ายและ
น า เ ส น อ ถึ ง ก ร ะ บ ว น ก า ร ใ น ก า ร ท า ง า น อ ย่ า ง
โดยผู้เช่ียวชาญ มีค่าเฉล่ีย IOC 0.83 ท่ีแสดงว่า
มีความสอดคล้องของการจัดประสบการณ์เรียนรู้ เป็นลาดับขั้นตอน รองลงมาคือ ท่านต้องการให้
ทักษะการคิดวิเคราะห์สาหรับเด็กปฐมวั ย
แบบสะเต็มศึกษา กับการพัฒนาทักษะการคิด
วเิ คราะห์ของเดก็ ปฐมวัย เป็นเครอ่ื งมอื ในการเรียนร้สู าหรับเดก็ ปฐมวัย ขอ้ ที่
เป็นความต้องการน้อยท่ีสุด คือ ต้องการให้ทักษะ
3. ผลการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบ การคิดวิเคราะห์สาหรับเด็กปฐมวัยเป็นทักษะ

สะเต็มศึกษา เพ่ือพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ พ้ืนฐานของทักษะการคิด ต้องการพัฒนาทักษะ
ของเดก็ ปฐมวัย การคิดวิเคราะห์สาหรับเด็กปฐมวัยมากน้อย

87

วารสารการวิจยั การศึกษาข้ันพื้นฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

เพียงใดในด้านการคิดวิเคราะห์ความสัมพันธ์ สะเต็มศึกษา ความหมายของการจัดประสบการณ์
เชิงเหตุผลแบบอุปนัย และต้องการก าร จัด เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เป็นกิจกรรมการเรียนรู้

ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ เ รี ย น รู้ ที่ ช่ ว ย ใ ห้ เ ด็ ก ไ ด้ น า เ ส น อ จากการบูรณาการศาสตร์ต่างๆ ทั้ง 4 ศาสตร์ คือ
ความคิดด้วยการพูดอย่างมีเหตุผล การบันทึก วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และวิศวกรรม

ข้อมูล บันทึกผลท่ีได้สารวจและค้นหา ด้วยการนา ท่ีมุ่งเน้นให้เด็กได้ค้นคว้า ทดลอง หรือสารวจ
ความสมั พนั ธ์ตา่ ง ๆ มาให้เป็นองคค์ วามรู้ใหม่ ตรวจสอบองคค์ วามรู้ใหม่ ๆ

3.2 ความเหมาะสมของการจดั ประสบการณ์ 3.3 ครูปฐมวัยท่ีเข้ารับการอบรมการจัด

เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพ่ือพัฒนาทักษะ ประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพื่อพัฒนา
การคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย ซึ่งประเมินโดย ทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย ประเมิน

ผู้ทรงคุณวุฒิ มีค่าเฉล่ียรวมซ่ึงมีความเหมาะสม ก า ร จั ด ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ เ รี ย น รู้ แ บ บ ส ะ เ ต็ ม ศึ ก ษ า
ของสะเต็มศึกษา ภาพรวมอยู่ในระดับมาก เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย
เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อทุกข้ออยู่ในระดับมาก ประเด็นของคมู่ ือการใชก้ ารจัดประสบการณเ์ รียนรู้

ข้อท่ีผู้ทรงคุณวุฒิเห็นว่ามีความเหมาะสมมากท่ีสุด แบบสะเต็มศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์
ได้แก่ การนาการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบ ของเด็กปฐมวัย มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก

สะเต็มศึกษา ไปใช้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ ที่สุด ได้แก่ บทบาทของผู้เรียน รองลงมาอยู่ใน
สาหรับเด็กปฐมวัยน้ัน รองลงมาคือการจัด ระดับมาก ได้แก่ การนาไปใช้และความมุ่งหมาย
ประสบการณ์แบบสะเต็มศึกษาแบบกิจกรรม ประเดน็ แผนการจัดประสบการณ์มีความเหมาะสม

การเรียนรู้จากการบูรณาการศาสตร์ต่าง ๆ ท้ัง อยู่ในระดับมาก สาระสาคัญ ประสบการณ์สาคัญ
4 ศาสตร์ ขั้นท่ี 2 นักสารวจและคน้ หาดว้ ยกจิ กรรม สื่อและวัสดุอุปกรณ์ ประเด็นการนากระบวนการ

ทั้ ง ใ น แ ล ะ น อ ก ห้ อ ง เ รี ย น ใ ห้ เ ด็ ก เ กิ ด จัดประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาในแต่ละขั้น
ข้อสงสัยมีการคาดเดาคาตอบ และสืบค้น ทดลอง ไปใช้ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ได้แก่
โดยมุ่ง เน้น ให้เด็ก ใช้ ปร ะ ส าท สัม ผั ส ทั้ง 5 กิจกรรมเด็กได้สะท้อนความคิดต่อส่ิงที่ได้ลงมือ

ในการสังเกต การดมกลิ่น การชิมรส การฟัง การสัมผสั ปฏิบัตดิ ว้ ยการอธิบายและนาเสนอถึงกระบวนการ
รวมท้ังการวัดและบันทึกผลการสารวจ ใช้อุปกรณ์ ในการทางานอย่างเปน็ ลาดบั ขัน้ ตอน และกจิ กรรม

แ ล ะ เ ค ร่ื อ ง มื อ ส า ห รั บ ก า ร วั ด แ ล ะ ก า ร นิ ย า ม ให้เด็กได้นาเสนอความคิด ด้วยการพูดอย่าง
ความหมายของทักษะทักษะการคิดวิเคราะห์ มีเหตุผล การบันทึกข้อมูล บันทึกผลท่ีได้สารวจ
องค์ประกอบ หมายถงึ ความสามารถในการจาแนก และค้นหาด้วยการนาความสัมพันธ์ต่างๆ มาให้

ส่ิงใดสิ่งหน่ึงออกมาให้เห็นว่ามีองค์ประกอบ เป็นองค์ความรู้ใหม่ ประเด็นบทบาทของครูมี
อะไรบ้าง แต่ละองค์ประกอบมีความสัมพันธ์กัน ความเหมาะสมระดับมาก ได้แก่ ผู้สะท้อนความคิด

อย่างไร เพ่ือท่ีจะได้พิจารณาแต่ละองค์ประกอบ ของผู้เรียน ผู้อานวยความสะดวก และจัดเตรียม
ดูว่าเป็นไปอย่างท่ีควรจะเป็นหรือไม่ ซ่ึงจะนาไปสู่ สือ่ วัสดุ และอุปกรณ์ ประเดน็ บทบาทของผู้เรียน
การแก้ปัญหาได้ในที่สุด และข้อที่ผู้ทรงคุณวุฒิ มีความเหมาะสมระดับมาก ได้แก่ ระบุปัญหา

เห็นว่ามีความเหมาะสมน้อยท่ีสุด ได้แก่ ความเป็นมา ค้นหาคาตอบ ด้วยตนเองในการลงมือกระทา
และความสาคัญของการจัดประสบการณ์แบบ ก า ร จั ด ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ เ รี ย น รู้ แ บ บ ส ะ เ ต็ ม ศึ ก ษ า

88

วารสารการวิจยั การศึกษาข้นั พื้นฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

เหมาะสมกับการส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ เด็กปฐมวัยเป็นทักษะพ้ืนฐานของทักษะการคิด
อยู่ในระดับมาก และมีความสอดคล้องกับ และ ผู้ทร ง คุณวุ ฒิมีคว ามต้อ ง ก าร ก าร จัด
ความต้องการของครูในการนาไปใช้มาก ซ่ึงมี
คะแนนเฉลี่ยรวม 3.98 แสดงให้เห็นว่า การจัด ประสบการณ์แบบสะเต็มศึกษา เพื่อส่งเสริมการ
ประสบการณ์เรยี นรู้แบบสะเต็ม มคี วามเหมาะสมมาก คิดวิเคราะห์สาหรับเด็กปฐมวัย ท่ีผลเป็นเช่นน้ี
ท่ีจะใช้ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ สาหรับ
เดก็ ปฐมวัย แสดงว่าการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา
มีความเหมาะสมใ น ก า ร น า ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร จัด
3.3 ครูปฐมวัยที่ผ่านการอบรมการเรียนรู้ ประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพ่ือพัฒนา
แบบสะเต็มศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์
ข อ ง เ ด็ ก ป ฐ ม วั ย มี เ จ ต ค ติ ต่ อ เ รี ย น รู้ แ บ บ ทั ก ษ ะ ก า ร คิ ด วิ เ ค ร า ะ ห์ ส า ห รั บ เ ด็ ก ป ฐ ม วั ย เป็น
สะเต็มศึกษา เพ่ือพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะพ้ืนฐานเป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้สาหรับ
ของเด็กปฐมวัย อยู่ในระดับมากเม่ือพิจารณาเป็น
รายข้อ พบว่า ครูมีเจตคติต่อแผนเรียนรู้แบบ เด็กปฐมวัย และต้องให้เด็กได้ทากิจกรรมหรือ
สะเต็มศึกษา ดา้ นสาระสาคัญอยู่ในระดับมากที่สุด สถานการณ์ท่ีเชื่อมโยงข้อมูลเดิมกับข้อมูลใหม่ท่ี
รองลงมาคือเจตคติต่อแผนเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา สอดคลอ้ งกบั ชวี ิตประจาวนั ของเดก็ ในลักษณะการ
ด้ านกิ จกรรมการเรี ยนรู้ แ ล ะ เ รี ย น รู้ แ บ บ
สะเต็มศกึ ษาพัฒนาเด็กให้ได้รับประสบการณ์ต่างๆ พูดคุย
ระยะที่ 2 สร้างและพฒั นาการจัดประสบการณ์
สรปุ ผลการวิจัย
ระยะที่ 1 ศึกษาความต้องการในการ เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพ่ือพัฒนาทักษะการคิด
วิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย ความเหมาะสมของ
จั ด ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก า ร เ รี ย น รู้ แ บ บ ส ะ เ ต็ ม ศึ ก ษ า ก า ร จั ด ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ เ รี ย น รู้ แ บ บ ส ะ เ ต็ ม ศึ ก ษ า
เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย
ครูปฐมวัยมีความต้องการการจัดประสบการณ์เรียนรู้ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย
แบบสะเต็มศึกษา เพ่ือพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ ซ่ึงประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิ มีค่าเฉลี่ยรวม
ของเด็กปฐมวัย โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก
เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ข้อท่ีเป็นความต้องการมาก ความเหมาะสมของการจัดประสบการณ์เรียนรู้
คือ ต้องให้เด็กได้ทากิจกรรมท่ีให้เด็กได้สะท้อน แบบสะเต็มศึกษา 3.87 ซ่ึงมีความเหมาะสมอยู่ใน
ความคิดตอ่ สง่ิ ที่ไดล้ งมอื ปฏบิ ตั ดิ ว้ ยการอธิบายและ ร ะ ดั บ ม า ก แ ล ะ ค ว า ม ส อ ด ค ล้ อ ง ข อ ง ก า ร จั ด
นาเสนอถึงกระบวนการในการทางานอย่างเป็น
ลาดับขั้นตอน และมีความต้องการพัฒนาทักษะ ประสบการณเ์ รยี นรู้แบบสะเต็มศึกษา เพือ่ ส่งเสริม
การคิดวิเคราะห์สาหรับเด็กปฐมวัย ด้านการคิด ทักษะการคิดวิเคราะห์สาหรับเด็กปฐมวั ย
วิเคราะห์ ความแตกต่างอยู่ในระดับมาก และ
ต้องการให้ทักษะการ คิดวิ เคราะ ห์ส า หรับ ซ่ึงประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ มีค่าเฉล่ียรวม IOC
0.83 แสดงว่ามีความสอดคล้องของก าร จัด
ประสบการณ์เรยี นรู้แบบสะเต็มศกึ ษา เพ่ือส่งเสริม

ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์สาหรับเด็กปฐมวัย ท่ีผลเป็น
เช่นน้ี แสดงว่าการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบ

สะเต็มศึกษามีความเหมาะสมในการนาไปใช้ใน
การจัดประสบการณ์เรียนรูแ้ บบสะเต็มศึกษา เพ่ือ
พัฒนาทกั ษะการคดิ วเิ คราะหส์ าหรับเด็กปฐมวยั

ระยะที่ 3 ผลการใช้การจดั ประสบการณ์
เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพ่ือส่งเสริมทักษะ

89

วารสารการวิจัยการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

การคิดวิเคราะห์สาหรับเด็กปฐมวัย ครูปฐมวัยท่ี เ ห ม า ะ ส ม ม า ก ท่ี จ ะ ใ ช้ ส่ ง เ ส ริ ม ทั ก ษ ะ
เข้ารับการอบรมการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบ การคิดวิเคราะห์ สาหรบั เด็กปฐมวัยและครูปฐมวัย
ท่ีผ่านการอบรมการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบ
สะเต็มศึกษา เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ สะเต็มศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์
สาหรับเด็กปฐมวัย ประเมินการจัดประสบการณ์ ส า ห รั บ เ ด็ ก ป ฐ ม วั ย มี เ จ ต ค ติ ต่ อ ก า ร จั ด
ประสบการณ์เรียนร้แู บบสะเต็มศึกษา เพื่อส่งเสริม
เ รี ย น รู้ แบบสะเต็มศึ กษา เพ่ือส่งเสริมทักษะ ทักษะการคิดวิเคราะห์สาหรับเด็กปฐมวัย อยู่ใน
การคิดวิเคราะห์สาหรับเด็กปฐมวัย ประเด็นของ ระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ครูมี
คู่ มื อ ก า ร ใ ช้ ก า ร จั ด ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ เ รี ย น รู้ แ บ บ เจตคติต่อแผนการจัดประสบการณ์ตามการจัด
ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ เ รี ย น รู้ แ บ บ ส ะ เ ต็ ม ศึ ก ษ า
สะเต็มศึกษา เพ่ือส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ ด้านสาระสาคัญอยู่ในระดบั มากที่สุด รองลงมาคอื
สาหรับเด็กปฐมวัย มีความเหมาะสมอยู่ในระดับ เจตคติต่อแผนการจัดประสบการณ์ตามการจัด
ประสบการณ์เรยี นรู้แบบสะเตม็ ศึกษาด้านกจิ กรรม
มากที่สุด ได้แก่ บทบาทของผู้เรียน รองลงมาอยู่ใน การเรียนรู้ และการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบ
ระดับมากได้แก่ การนาไปใช้และความมุ่งหมาย สะเต็มศึกษา พัฒนาเด็กให้ได้รับประสบการณ์
ประเด็นแผนการจัดประสบการณ์ มีความ ต่างๆ และเดก็ ปฐมวยั ทไ่ี ดร้ ับการจัดประสบการณ์
เ รี ย น รู้ แ บ บ ส ะ เ ต็ ม เ พ่ื อ ส่ ง เ ส ริ ม ทั ก ษ ะ
เ ห ม า ะ ส ม อ ยู่ ใ น ร ะ ดั บ ม า ก ส า ร ะ ส า คั ญ การคิดวิเคราะห์มีคะแนนเฉลี่ยหลังการทดลอง
ประสบการณ์สาคัญ ส่ือและวัสดุอุปกรณ์ ประเดน็ สู ง ก ว่ า ค ะ แ น น เ ฉ ล่ี ย ของเด็ กก่ อนการทดลองท้ัง
5 ทักษะการคิดวิเคราะห์สาหรับเด็กปฐมวัยอย่างมี
การนากระบวนการจดั ประสบการณเ์ รียนรแู้ บบสะ นยั สาคัญทางสถติ ทิ ีร่ ะดับ .01
เต็มศึกษาในแตล่ ะขั้นไปใช้ มีความเหมาะสมอยู่ใน
ระดับมาก ได้แก่ กิจกรรมเด็กได้สะท้อนความคิด อภิปรายผลการวิจยั
ระยะที่ 1 การศึกษาความต้องการจัด
ต่อสง่ิ ท่ีได้ลงมอื ปฏิบัตดิ ้วยการอธบิ ายและนาเสนอ
ถึ ง ก ร ะ บ ว น ก า ร ใ น ก า ร ท า ง า น อ ย่ า ง เ ป็ น ล า ดั บ ประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพื่อพัฒนา
ทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวยั ครูปฐมวยั
ขั้นตอน และกิจกรรมให้เด็กได้นาเสนอความคิด มีคว ามต้อ ง การก ารจัดปร ะสบการณ์แบบ
ด้วยการพูดอย่างมีเหตุผล การบันทึกข้อมูล สะเต็มศึกษา เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์
บันทึกผล ที่ได้สารวจและค้นหา ด้วยการนา สาหรับเด็กปฐมวัย โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เม่ือ
พิจารณาเป็นรายข้อ ข้อท่ีเป็นความต้องการมาก
ความสัมพันธ์ต่างๆ มาให้เป็นองค์ความรู้ใหม่ คือ ต้องให้เด็กได้ทากิจกรรมที่ให้เด็กได้สะท้อน
ประเดน็ บทบาทของครูมีความเหมาะสมระดับมาก ความคดิ ต่อสิ่งทไ่ี ดล้ งมือปฏิบตั ิดว้ ยการอธิบายและ
นาเสนอถึงกระบวนการในการทางานอย่างเป็น
ได้แก่ ผู้สะท้อนความคิดของผู้เรียน ผู้อานวย ลาดั บขั้น ตอ น และ มี คว าม ต้อ ง ก าร พั ฒ น า
ความสะดวก และจัดเตรียมส่ือ วัสดุ และอุปกรณ์
ประเด็นบทบาทของผู้เรียน มีความเหมาะสม

ระดับมาก ได้แก่ ระบุปัญหา ค้นหาคาตอบ ด้วย
ตนเองในการลงมือกระทา การจัดประสบการณ์

เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เหมาะสมกับการส่งเสรมิ
ทักษะการคดิ วเิ คราะหอ์ ย่ใู นระดบั มาก และมคี วาม
สอดคล้องกับความต้องการของครูในการนา

ไปใช้มาก ซ่ึงมีคะแนนเฉลี่ยรวม 3.98 แสดงว่า
ในการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็ม มีความ

90

วารสารการวิจัยการศึกษาข้ันพื้นฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

ทัก ษะ ก าร คิดวิ เ คร าะ ห์ สาหรับเด็กปฐมวั ย บทคัดย่อ ) ไ ด้ศึก ษาเรื่อ ง ก าร จัดกิ จก ร ร ม
ดา้ นการคดิ วิเคราะห์ความแตกต่างอย่ใู นระดับมาก และ สะเต็มศึกษา เร่ือง ของดีเมืองร้อยเอ็ด เพื่อ

ต้องการให้ทักษะการคิดวิเคราะห์สาหรับเด็กปฐมวัย พัฒ น า ค ว า ม ส า ม า ร ถ ในการแก้ปัญหาของ
เป็น ทัก ษะ พื้นฐานของ ทักษะการ คิด และ เด็กปฐมวัย พบว่า เด็กปฐมวัยท่ีได้รับการจัด

ผู้ทรงคุณวุฒิมีความต้องการการจัดประสบการณ์ กิจกรรมสะเต็มศึกษา เร่ืองของดี เมืองร้อยเอ็ด ที่
แ บ บ ส ะ เ ต็ ม ศึ ก ษ า เ พ่ื อ ส่ ง เ ส ริ ม ทั ก ษ ะ สูงข้ึน โดยเด็กสามารถระบุได้ว่าปัญหาคืออะไร
การคิดวิเคราะห์สาหรับเด็กปฐมวัย โดยภาพรวม และบอกวิธีการขั้นตอน ในการแก้ปัญหาได้

อยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาเป็นร าย ข้อ นอกจากน้ัน ยังสอดคล้องกับ จิตรา พลสุธรรม
ข้อที่เป็นความต้องการมาก คือ ต้องให้เด็กได้ทา (2559 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษา เร่ืองการจัด

กิจกรรมท่ีให้เด็กได้สะท้อนความคิดต่อส่ิงท่ีได้ ประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษาเพ่อื
ล ง มื อ ป ฏิ บั ติ ด้ ว ย ก า ร อ ธิ บ า ย แ ล ะ น า เ ส น อ ถึ ง ส่งเสริมทักษะการส่ือความหมายของเด็กปฐมวัย
กระบวนการในการทางานอย่างเป็นลาดับขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า เด็กปฐมวัยท่ีได้รับการจัด

และต้องการให้ทักษะการคิดวิเคราะห์สาหรับ ประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา
เด็กปฐมวัยเป็นทักษะพื้นฐานเป็นเครื่องมือในการ มีทักษะการสื่อความหมาย ซึ่งประกอบด้วย

เรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัย และต้องให้เด็กได้ทา ความสามารถในการพูดบอกช่ือ สิ่งของ การพูด
กิจกรรมหรือสถานการณ์ท่ีเชื่อมโยงข้อมูลเดิม เล่าเร่ืองตามลาดับเหตุการณ์และการวาดภาพ
กับข้อมลู ใหม่ท่สี อดคลอ้ งกบั ชีวติ ประจาวันของเด็ก ใหผ้ อู้ ื่นรู้ได้อยา่ งถกู ต้องและชดั เจน

ในลักษณะการพูดคุย ท่ีเป็นเช่นนเี้ พราะเมือ่ เด็กได้ ระยะท่ี 2 การสร้างและพัฒนาการจัด
ทากิจกรรมที่ให้เด็กได้สะท้อนความคิดต่อส่ิงท่ีได้ ประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพ่ือพัฒนา

ล ง มื อ ป ฏิ บั ติ ด้ ว ย ก า ร อ ธิ บ า ย แ ล ะ น า เ ส น อ ถึ ง ทักษะการคดิ วิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย
กระบวนการในการทางานอย่างเป็นลาดับขั้นตอน ความเหมาะสมของการจัดประสบการณ์
ได้ทากิจกรรมหรือสถานการณ์ท่ีเช่ือมโยงข้อมูลเดิม
แ บ บ ส ะ เ ต็ ม ศึ ก ษ า เ พื่ อ ส่ ง เ ส ริ ม ทั ก ษ ะ
กบั ขอ้ มลู ใหม่ท่สี อดคลอ้ งกับชีวิตประจาวันของเด็ก
ทาให้เด็กเกิดทักษะการคิดวิเคราะห์ท่ีเป็นทักษะ การคดิ วิเคราะหส์ าหรบั เดก็ ปฐมวยั ซึ่งประเมนิ โดย
ผู้ทรงคุณวุฒิ มีค่าเฉลี่ยรวมความเหมาะสมของ
พื้นฐานของทักษะการคิด ซึ่งสอดคล้องกับ
เบญจกาญจน์ ใส่ละม้าย (2558 : บทคัดย่อ) สะเต็มศึกษา 3.87 ซึ่งมีความเหมาะสมอยู่ในระดับ
ได้ศึกษาเรื่อง การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ มาก ความสอดคล้องของการจดั ประสบการณ์แบบ
สะเต็มศึกษา เพ่ือส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์
สาหรับเด็กปฐมวัยโดยผ่านการจัดประสบการณ์
การเรยี นรู้แบบสะเต็มศกึ ษา เร่อื ง อาชีพในทอ้ งถ่ิน สาหรับเด็กปฐมวัย ซ่ึงประเมินโดยผู้เช่ียวชาญ
มีค่าเฉล่ียรวม IOC 0.83 แสดงว่า มีความสอดคล้อง
จังหวัดสงขลา ผลการวิจัยพบว่า เด็กปฐมวัยที่
ไ ด้ รั บ ก า ร จั ด ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก า ร เ รี ย น รู้ แ บ บ ของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา
สะเต็มศึกษา เรื่องอาชีพในท้องถิ่น จังหวัด เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์เด็กปฐมวัย ที่
เป็นเช่นนี้เพราะว่าการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้
สงขลา มีการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ท่ีสูงขึ้น
และสอดคล้องกับเกตุมณี เหมรา (2558 : แ บ บ ส ะ เ ต็ ม ศึ ก ษ า เ พื่ อ พั ฒ น า ทั ก ษ ะ
การคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย ท่ีมีลาดับข้ันตอน

91

วารสารการวิจยั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

ได้แก่ 1) ขั้นสร้างความสนใจใฝ่รู้ 2) ขั้นนักสารวจและ ซึง่ สอดคล้องกับ วิจิตตรา จันทรศ์ ิริ (2559 : บทคัดย่อ)
คน้ หา 3) ขนั้ กิจกรรมบันได ไต่รู้ 4) ข้ันขยายความรู้ ได้ทาการศึกษาเรื่องการพัฒนารูปแบบการจัด

และ 5) ขั้นนาเสนอและประเมินผล ซ่ึงเป็น ประสบการณ์คณิตศาสตร์โดยใช้สมองเป็นฐาน
แผนการจัดประสบการณ์ กระบวนการจัด เ พ่ื อ ส่ ง เ ส ริ ม ทั ก ษ ะ พื้ น ฐ า น ท า ง ค ณิ ต ศ า ส ต ร์

ประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาในแต่ละขั้น ของเด็กปฐมวัย ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการจัด
ระบุบทบาทของครู บทบาทของผูเ้ รยี น มรี ูปแบบท่ี ประสบการณ์การเรียนรู้ โดยใช้สมองเป็นฐาน
เหมาะสมกับการส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ เพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของ

กิจกรรมการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาสามารถ เด็ก ปฐมวั ย ปร ะ ก อ บด้ว ย 6 ข้ัน ตอ น คือ
พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์กับเด็กปฐมวัย ส่ือ 1) ขน้ั สร้างความสนใจ 2) ข้นั วางแผน 3) ขน้ั ปฏิบตั ิ

วัสดุ และอุปกรณ์เหมาะสมกับกิจกรรมการจัด กิ จ ก ร ร ม 4) ข้ั น ท บ ท ว น 5) ข้ั น น า เ ส น อ
ประสบการณเ์ รยี นรแู้ บบสะเต็มศกึ ษา เพื่อสง่ เสริม 6) ข้ันประเมินผลการเรียนรู้มีความเหมาะสมมาก
ทักษะการคิดวิเคราะห์สาหรับเด็กปฐมวัย ซ่ึง ทุกด้าน โดยทุกประเด็นมีค่าเฉลี่ยความเหมาะสม

สอดคล้องกับ อรสา สาคร (2556 : บทคัดย่อ)ได้ ระหว่าง 3.75 – 4.25 และสอดคล้องกับ สุธิษณา
วจิ ยั พัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนา โตธนายานนท์ (2558 : บทคัดย่อ) ได้วิจัยการ

ความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย ผลการวิจัย พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ PRISA เพ่ือ
พบว่า รูปแบบการจัดประสบการณ์เพ่ือพัฒนา ส่งเสริมความซื่อสัตย์ของเด็กปฐมวัย พบว่า
ความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย ประกอบด้วย หลังการทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ

องค์ประกอบสาคัญ 6 องค์ประกอบได้แก่ ด้าน PRISA กลุ่มทดลองมีความซื่อสัตย์สูงกว่าก่อนการ
หลักการ วัตถุประสงค์ เนื้อหา กิจกรรมการเรยี นรู้ ทดลอง อย่างมีนัยสาคญั ทางสถติ ิทีร่ ะดับ .01 และ

ส่ือการเรียนรู้ และการวัดผลและประเมินผล ครูปฐมวัย มีความคิดเห็นเก่ียวกับรูปแบบ
คุณภาพรูปแบบการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนา การจัดการเรียนรู้แบบ PRISAเพ่ือส่งเสริมความ
ความคิดสร้างสรรค์ ของเด็กปฐมวัย ด้านหลักการ ซื่อสัตย์ของเด็กปฐมวัย อยู่ในระดับมากท่ีสุด โดยมี

โดยภาพรวมมคี วามเหมาะสมและมคี วามเปน็ ไปได้ ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.83 – 5.00 แสดงว่า รูปแบบ
อยู่ในระดับมากท่ีสุด ด้านวัตถุประสงค์ โดย การจัดการเรียนรู้มีความเหมาะสมสามารถนาไปใช้

ภาพรวมมีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้ ส่งเสรมิ ความซอื่ สตั ย์ได้
อยู่ในระดับมาก ด้านเนื้อหาโดยภาพรวมมี ระยะที่ 3 ศกึ ษาผลการใชก้ ารจัดประสบการณ์
ความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับ
เรียนรู้แบบสะเต็ มศึกษา เพื่อส่งเสริมทั กษะ
มากท่ีสุด ด้านกิจกรรมการเรียนรู้โดยภาพรวม
มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากท่ีสุด และมี การคดิ วิเคราะห์ สาหรบั เดก็ ปฐมวัย ครูปฐมวัยท่ีเข้า
รับการอบรมการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบ
ความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก ด้านส่ือและ
อุปกรณ์การเรียนรู้ โดยภาพรวม มีความเหมาะสม สะเต็มศึกษา เพ่ือส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์
และมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก ด้านการวัดผล สาหรับเด็กปฐมวัย โดยประเมินความเหมาะสมใน
การจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพ่ือ
และประเมินผล โดยภาพรวม มีความเหมาะสม
แ ล ะ มี ค ว า ม เ ป็ น ไ ป ไ ด้ อ ยู่ ใ น ร ะ ดั บ ม า ก ท่ี สุ ด ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์สาหรับเด็กปฐมวัย
ประเด็นของคมู่ ือการใชก้ ารจดั ประสบการณเ์ รียนรู้

92

วารสารการวิจัยการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

แ บ บ ส ะ เ ต็ ม ศึ ก ษ า เ พ่ื อ ส่ ง เ ส ริ ม ทั ก ษ ะ เด็กปฐมวัย อยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาเป็น
การคิดวิเคราะห์สาหรับเด็กปฐมวัย มีความ ร า ย ข้ อ พ บ ว่ า ค รู มีเ จ ต ค ติต่ อ แผ น ก าร จัด

เหมาะสมอยู่ในระดับมากท่ีสุด ได้แก่ บทบาทของ ประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาด้านสาระสาคัญ
ผ้เู รียน รองลงมาอยูใ่ นระดับมาก ไดแ้ ก่การนาไปใช้ อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ เจตคติต่อ

และความมุ่งหมาย แผนการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา
ประเด็นแผนการจัดประสบการณ์มีความ ด้านกิจกรรมการเรียนรู้และการจัดประสบการณ์
เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา พัฒนาเด็กให้ได้รับ
เหมาะสมอยู่ในระดับมาก สาระสาคัญประสบการณ์
ประสบการณ์ต่างๆ ท่ีเป็นเช่นนี้ เพราะการจัด
สาคัญ ส่ือและวัสดุอุปกรณ์ ประเด็นการนา ประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา ทั้ง 5 ขั้นตอน
กระบวนการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็ม
ได้แก่ 1) ข้ันสร้างความสนใจใฝ่รู้ 2) ข้ันนักสารวจ
ศึกษาในแต่ละข้ันไปใช้ มีความเหมาะสมอยู่ใน และค้นหา 3) ขั้นกิจกรรมบันไดไต่รู้ 4) ขั้นขยาย
ระดับมาก ได้แก่ กิจกรรมเด็กได้สะท้อนความคิด ความรู้ และ 5) ข้ันนาเสนอและประเมินผล
ตอ่ สิง่ ท่ไี ดล้ งมอื ปฏิบัตดิ ว้ ยการอธิบายและนาเสนอ
มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับการส่งเสริม
ถึ ง ก ร ะ บ ว น ก า ร ใ น ก า ร ท า ง า น อ ย่ า ง เ ป็ น ล า ดั บ ทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย สามารถ
ข้ันตอน และกิจกรรมให้เด็กได้นาเสนอความคิด
น า ไ ป ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ แ ล ะ เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น์ กั บ
ด้วยการพูดอย่างมีเหตุผล การบันทึกข้อมูล ครูปฐมวัย และสามารถนาไปพัฒนาเด็กให้ได้รับ
บันทึกผลท่ีได้สารวจและค้นหา ด้วยการนา ประสบการณ์ต่างๆ ซึ่งสอดคล้องกับ หอมสิน
ความสัมพันธ์ต่างๆ มาให้เป็นองค์ความรู้ใหม่
อุปแสน (2560 : บทคัดย่อ) การพัฒนารูปแบบ
ประเดน็ บทบาทของครูมีความเหมาะสมระดับมาก การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ HOMSIN Model
ไ ด้ แ ก่ ผู้ ส ะ ท้ อ น ค ว า ม คิ ด ข อ ง ผู้ เ รี ย น
เพ่ือส่งเสริมพัฒนาการด้ าน อ าร มณ์ ส า ห รั บ
ผู้อานวยความสะดวก และจัดเตรียมส่ือ วัสดุ และ เด็กปฐมวัย พบว่า ครูมีความพึงพอใจต่อการจัด
อุปกรณ์ ประเด็นบทบาทของผู้เรียน มีความเหมาะสม ประสบการณ์การเรียนรู้HOMSIN Model เพื่อ
ระดับมาก ได้แก่ ระบุปัญหา ค้นหาคาตอบด้วยตนเอง
ส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ สาหรับเด็กปฐมวัย
ในการลงมือกระทา การจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบ อยู่ในระดับมากและสอดคล้องกับ กิตติศักดิ์ เกตุนุติ
สะเต็มศึกษา เหมาะสมกับการส่งเสริมทักษะการ
(2557 : บทคัดย่อ) ได้ทาการวิจัยพัฒนารูปแบบ
คิดวเิ คราะหอ์ ยู่ในระดับมาก และมคี วามสอดคล้อง การจัดการเรียนรู้แบบ B-R-A-I-N เพื่อส่งเสริม
กับความต้องการของครูในการนาไปใช้มาก ซ่ึงมี ความสามารถทางความคิดวิ จารณญาณข อ ง
คะ แน น เฉล่ียร ว ม 3.98 แสดง ว่ า ก าร จัด
เด็กปฐมวัย พบว่า ครูปฐมวัยที่ใช้รูปแ บบ
ประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็ม มีความเหมาะสมมาก การจัดการเรียนรู้แบบ B-R-A-I-N ประเมิน
ที่จะใช้ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์สาหรับ
ความเหมาะสมของรูปแบบท่ีพัฒนาข้ึน พบว่า
เด็กปฐมวัย และครูปฐมวัยท่ีผ่านการอบรมการจัด มีความเหมาะสมในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยรวม
ประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพ่ือส่งเสริม เท่ากับ 4.26 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ
ทักษะการคิดวเิ คราะห์สาหรับเด็กปฐมวัย มีเจตคติ
0.16 และสอดคล้องกับ วิจิตตรา จันทร์ศิริ (2559
ต่อการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา : บทคัดย่อ) ศึกษาเรื่องการพัฒนารูปแบบการจัด
เ พื่ อ ส่ ง เ ส ริ ม ทั ก ษ ะ ก า ร คิ ด วิ เ ค ร า ะ ห์ ส า ห รั บ

93


Click to View FlipBook Version