The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฏาคม-ธันวาคม 2564)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by avelinox101, 2021-12-19 20:49:46

วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฏาคม-ธันวาคม 2564)

วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฏาคม-ธันวาคม 2564)

Keywords: วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน

วารสารการวิจยั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

ประสบการณ์คณิตศาสตร์โดยใช้สมองเป็นฐาน 1.2 ครูปฐมวัยควรศึกษาคู่มือการจัด
เพ่ือส่งเสริมทักษะพ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์ของ ประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเตม็ ศึกษา แผนการจัด
เด็กปฐมวัย พบว่า เด็กปฐมวัย ที่ได้รับการจัด
ประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็น ฐาน ประสบการณ์แบบสะเต็มศึกษาและกิจกรรม
มีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์หลังเรียนสูงกว่า ประเมินทักษะการคิดวิเคราะห์สาหรับเด็กปฐมวยั
ก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
นอกจากน้ี ยังสอดคล้องกับ สิรินทร์ ลัดดากลม ให้เข้าใจก่อนนาไปใช้จัดเตรียมสื่ออุปก รณ์
บุญเชิดชู (2557 : บทคัดย่อ) ได้วิจัยการสร้าง ให้พร้อม ทั้งน้ีครูสามารถปรับเปล่ียนให้เหมาะสม
รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ SSAPA เพื่อ กับชั้นเรียนและบริบทของท้องถ่ินและชุมชนของ
พัฒนาการกากับตนเองของเด็กปฐมวัย พบว่า
ผลการเปรยี บเทยี บพฤตกิ รรมการกากับตนเองของ ตนเองได้
เด็กปฐมวัยก่อนการทดลอง และหลังการทดลอง 1.3 กิจกรรมและสื่ออุปกรณ์ในการเรียนรู้
เด็กปฐมวัยมีระดับพฤติกรรมการกากับตนเอง
สูงข้นึ ทกุ ด้าน ตามแผนการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็ม
ศึกษาได้รับการออกแบบและพัฒนาเพื่อใช้กับ
ห ลั ง ก า ร ท ด ล อ ง โ ด ย แ ต ก ต่ า ง กั น อ ย่ า ง เด็กปฐมวัยท่ีมีอายุ 5 – 6 ปี ดังน้ัน หากครูต้องการ
มีนยั สาคัญทางสถิติทีร่ ะดับ.01 และผลการทดลอง
ใช้รูปแบบ SSAPA เพื่อพัฒนาการกากับตนเอง นาไปใช้กับเด็กปฐมวัยในระดับช้ันอ่ืนครูต้อ ง
เด็กปฐมวัย มีคะแนนเฉล่ียของระดับพฤติกรรม ปรับเปลี่ยนกิจกรรมและส่ืออุปกรณ์ รวมท้ัง
การกากับตนเองสูงขน้ึ ทกุ ดา้ นอยา่ งตอ่ เน่อื ง
ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับ
ขอ้ เสนอแนะ พฒั นาการเด็กแต่ละชว่ งวัย

1. ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้ 2. ข้อเสนอแนะเพอ่ื การวจิ ัยครงั้ ต่อไป
1. 1 ค รู ป ฐ ม วั ย ค ว ร ป รั บ ป รุ ง
2.1 ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบทักษะ
แ ผ น ก า ร จั ด ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ เ กี่ ย ว กั บ ทัก ษะ การคิดวิเคราะห์สาหรับเด็กปฐมวัย โดยการจัด
ก าร คิดวิ เคร าะ ห์คว ามแตกต่าง ให้ดียิ่งขึ้น
ประสบการณ์เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา ให้กับเด็ก
ปฐมวยั ในทุกระดบั ชัน้

2.2 ควรนารูปแบบการจัดประสบการณ์

เรยี นร้แู บบสะเต็มศึกษา ไปใช้ในการพัฒนาตัวแปรอื่นๆ
เช่น ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ ทักษะการคิด

สร้างสรรค์ ทักษะการคิดแก้ปัญหา พัฒนาการ
ทางภาษา พัฒนาการทางสังคม และส่งเสริม
ความเช่ือมั่นในตนเอง เป็นต้น

94

วารสารการวิจยั การศึกษาข้นั พื้นฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

เอกสารอ้างอิง

กติ ตศิ ักดิ์ เกตุนตุ ิ. (2557). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรยี นรู้แบบ B-R-A-I-N เพอื่ สง่ เสริมความสามารถ
ทางการคดิ วิจารณญาณของเด็กปฐมวยั . ปรญิ ญานพิ นธ์ กศ.ด. (การศกึ ษาปฐมวัย)
กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ.

เกตมุ ณี เหมรา. (2558). การจดั กิจกรรมสะเต็มศึกษาเรือ่ งของดเี มอื งร้อยเอ็ดเพอื่ พัฒนาความสามารถ
ในการแกป้ ญั หาของเด็กปฐมวัย. วทิ ยานพิ นธ์ ศษ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

คณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาติ, สานกั งาน. (2545). แผนการศกึ ษาแห่งชาติ (พ.ศ.2545 – 2559).
กรุงเทพมหานคร : สกศ.

จิตรา พลสธุ รรม. (2559). การจัดประสบการณ์การเรียนรตู้ ามแนวสะเต็มศกึ ษา เพื่อสง่ เสรมิ ทักษะ
การสอ่ื ความหมายของเดก็ ปฐมวัย. ปรญิ ญาศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต (ปฐมวัยศกึ ษา)
กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์.

เบญจกาญจน์ ใส่ละมา้ ย. (2558). การพฒั นาความคดิ สร้างสรรคส์ าหรบั เดก็ ปฐมวยั
โดยผา่ นการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้แบบสะเต็มศึกษา เรอ่ื งอาชีพในท้องถิ่น จงั หวัดสงขลา.
วทิ ยานพิ นธ์ ศษ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์.

เยาวพา เดชะคุปต์. (2548). วารสารการศกึ ษาปฐมวัย. 9(4) : 36 – 38.
วิจิตตรา จนั ทร์ศิร.ิ (2559). การพฒั นารปู แบบการจัดประสบการณก์ ารเรียนรโู้ ดยใชส้ มองเปน็ ฐาน

เพือ่ ส่งเสริมทกั ษะพืน้ ฐานทางคณติ ศาสตร์ของเด็กปฐมวยั .
ปริญญานิพนธ์ กศ.ด. ชลบรุ ี : มหาวทิ ยาลยั บรู พา.
สริ ินทร์ ลดั ดากลม บุญเชดิ ชู. (2557). การสร้างรูปแบบการจดั การเรยี นร้แู บบ SSAPA เพื่อพฒั นาการ
กากับตนเองของเด็กปฐมวัย. ปรญิ ญานิพนธ์ กศ.ด. กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ.
สธุ ิษณา โตธนายานนท์. (2558). การพัฒนารปู แบบการจัดการเรียนรู้แบบ PRISA เพอื่ สง่ เสริมความซือ่ สตั ย์
ของเด็กปฐมวยั . ปรญิ ญานิพนธ์ กศ.ด. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ.
หอมสนิ อปุ แสน. (2560). การพฒั นารูปแบบการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ HOMSIN Model เพอ่ื
สง่ เสรมิ พฒั นาการดา้ นอารมณ์ สาหรบั เดก็ ปฐมวยั .
ปรญิ ญานิพนธ์ กศ.ด. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
อรสา สาคร. (2557). การพฒั นารูปแบบการจดั ประสบการณ์เพ่อื พัฒนาความคิดสรา้ งสรรค์ของเด็ก
ปฐมวัย. วิทยานพิ นธ์ คม. (วจิ ัยและประเมินผลการศึกษา). นครสวรรค์ : บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลยั ราชภัฎนครสวรรค.์

95

วารสารการวิจยั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

ปจั จยั ท่ีสง่ ผลต่อความเปน็ พลโลกของนักเรยี นโรงเรยี นโพนทองพัฒนาวทิ ยา
สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษาร้อยเอ็ด

Factors Affecting Global Citizenship of Student in Phontongpattanawittaya School
The Secondary Education Service Area Office Roi Et

วไิ ลภรณ์ เตชะ*
Wilaiporn Techa

บทคดั ยอ่

การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์ เพ่ือ 1. ศึกษาระดับปัจจัยและระดับความเป็นพลโลกของนักเรียน
โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาร้อยเอ็ด และ 2. ศึกษาความสัมพันธ์
ระหว่างปัจจัยกับความเป็นพลโลกของนักเรียนโรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
มัธยมศึกษาร้อยเอ็ด และ 3. สรา้ งสมการพยากรณ์ความเป็นพลเมืองโลกของนักเรียนโรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด ประชากรที่ศึกษา ได้แก่ นักเรียนโรงเรียนโพนทองพัฒนา
วิทยา สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด จานวน 2,744 คน กล่มุ ตวั อย่าง จานวน 396 คน โดย
การกาหนดกลุ่มตัวอย่างและเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้หลักการทางสถิติ (Statistical Sampling Methods)
ใช้วิธีการสุ่มแบบหลายข้ันตอน (Multi-Stage Random Sampling) จากนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1-6
เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 3 ตอน ประกอบด้วย ตอนท่ี 1 แบบสอบถามข้อมลู
ทั่วไป มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) ตอนที่ 2 แบบสอบถามวัดระดับความเป็นพลโลก
เป็นแบบมาตรวัดประเมินค่า (Rating Scale) 5 ระดับ และ ตอนที่ 3 แบบสอบถามวัดปัจจัยท่ีส่งผลต่อความเป็น
พลโลกตามการรับรู้ของตนเอง ลักษณะเครื่องมือเป็นแบบมาตรวัดประเมินค่า (Rating Scale) 5 ระดับ
คา่ ความเช่ือมน่ั โดยการหาคา่ สมั ประสทิ ธข์ิ องคอนบาร์ค มคี ่าเทา่ กับ 0.97 และคา่ ความเทีย่ งตรงเชงิ เน้อื หาโดย
หาค่า IOC มีค่าเท่ากับ 1.00 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป ในการวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย และ
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างของปัจจัยท่ีส่งผลต่อความเป็นพลโลกของ
นักเรียนโรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษารอ้ ยเอ็ด โดยใช้วิธี Multiple
Regression

ผลการวจิ ัย พบว่า

1. ระดับความเป็นพลโลกของโรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
มัธยมศกึ ษารอ้ ยเอด็ อยูใ่ นระดบั ปานกลาง (x̄ เทา่ กับ 2.88) และ ระดบั ปจั จัยทส่ี ่งผลต่อความเปน็ พลโลกของ
นักเรียนโรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด ได้แก่ ความรู้เชิงลึก
อยู่ในระดับมาก (x̄ เทา่ กบั 3.62) ประชาธิปไตย อยู่ในระดับมาก (x̄ เทา่ กับ 3.52) สง่ิ แวดล้อมอยู่ในระดับมาก

*รองผูอ้ านวยการโรงเรียน ดร. โรงเรยี นโพนทองพฒั นาวิทยา, สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษารอ้ ยเอ็ด
School Deputy Director Dr. Phonthongpattanawittaya school, The Secondary Educational Service Area Office Roi Et,

96

วารสารการวิจัยการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

(x̄ เท่ากบั 3.51) ความยุติธรรม อยใู่ นระดบั ปานกลาง (x̄ เทา่ กบั 3.13) ความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม อยใู่ นระดับมาก
(x̄ เทา่ กบั 3.61)

2. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างของปัจจัยที่ส่งผลต่อความเป็นพลโลกของนักเรียนโรงเรียน
โพนทองพัฒนาวิทยา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด พบว่าตัวแปรทุกตัวมีความสัมพันธ์
ทางบวก โดยมีค่าอยู่ระหวา่ ง .608 ถงึ .717 คทู่ ี่มีคา่ ความสัมพันธส์ งู สุด ไดแ้ ก่ ความรู้เชงิ ลกึ กับส่ิงแวดล้อม มคี ่า
เท่ากบั .717 รองลงมาคือ ความรู้เชิงลกึ กับประชาธิปไตย ส่วนค่ทู ี่มีค่าความสัมพันธ์ต่าสุด ไดแ้ ก่ ความรเู้ ชิงลึกกับ
ความเป็นพลโลก มีค่าเท่ากับ .608 โดยพบปัจจัยท่ีส่งผลต่อความเป็นพลเมืองโลก อย่างมีนัยสาคัญทางสถติ ิ
ท่ีระดับ .00 ได้แก่ ส่ิงแวดล้อม (beta เท่ากับ .289) ประชาธิปไตย (beta เท่ากับ .284) และความรู้เชงิ ลกึ
(beta เท่ากับ .203) โดยท่ีคา่ ประสทิ ธิภาพของการทานาย R2 เท่ากับ .479

3. ปัจจัยท่ีพยากรณ์เชิงบวกความเป็นพลเมืองโลกของนักเรียนโรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด คือ สิ่งแวดล้อม ประชาธิปไตย และความรู้เชิงลึก และ
สามารถเขียนสมการพยากรณ์ในรปู คะแนนดบิ ไดด้ ังนี้

สมการพยากรณไ์ ด้ในรูปแบบคะแนนดิบ
Y=.594 + .238 (X1)+ .256 (x2) +.172 (x3)
สมการพยากรณ์ในรปู แบบคะแนนมาตรฐาน
Z=.289 (Z1) + .284 (Z2) + .203 (Z3)

คาสาคญั : ปจั จัย / ความเปน็ พลโลก/ นกั เรียน

ABSTRACT
The objectives of this study were to 1. study the level of Global Citizenship of the

students at Phontongpattanawittaya School’s. 2. study relationship between causal factors
and global citizenship of the students at Phontongpattanawittaya School’s and 3. generate
the prediction equation to predict global citizenship of the students at Phontongpattana
wittaya School’s. The data collecting is analyzed with computer programming.

The research sample consisted of 396 students of Phontongpattanawittaya School
including the students in secondary school and populations were selected from 2,744
students of Phontongpattanawittaya Schoool. The sampling method was the multi- stage
random sampling. The research tool was divided into 3 parts; part1: the general background
using the checklist form, part 2: the questionnaire measures the level of Global Citizenship
behavior using a rating scale (5 scale) , and part 3 questionnaires measure factors that influence
Global Citizenship perceived by themselves using a rating scale ( 5 scale) . The data analysis
program are analyzed by the mean analysis and standard deviation (S.D) and the relationship
between factors affecting the global citizenship of students) confidence value from Cronbach's
Alpha Coefficient is 0.97 and validity from Index of Item – Objective Congruence ; IOC is 1.00.
The computer programs were used to analyze mean (x̄) and standard deviation (S.D.) and to
analyze relationship between causal factors and global citizenship of students of

97

วารสารการวิจัยการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

Phontongpattanawittaya School’ s from Secondary Education Service Area Office Roi Et, by
using Multiple Regression Method.

The research findings were as follows:
1. The level of Sustainable global citizenship of students at Phonthongpattanawitthaya
School, Secondary Educational Service Area Office Roi Et is at moderate level (x̄ = 2.88) and
level of casual factors that affected global citizenship of students of Phontongpattanawittaya
School, Secondary Education Service Area Office Roi Et are; in- depth knowledge is at high
level (x̄ = 3.62), democracy is at high level (x̄ = 3.52), environment is at high level (x̄ = 3.51),
justice is at moderate level (x̄ = 3.13) and social responsibility is at high level (x̄ = 3.61).
2. The relationship between causal factors and global citizenship of students
Of Phontongpattanawittaya School, Secondary Educational Service Area Office Roi Et. It was
found that all variables were positively correlated with the correlation coefficient (r) between
0.608 and 0.717, the highest correlation value was in-depth knowledge of the environmental
the value was .717, followed by in-depth knowledge and democracy. On the other hand, the
lowest correlation value was in- depth knowledge and global citizenship the value was . 608,
the factors that affected global citizenship which had statistically significant at . 00 were
environmental (beta = .289), democracy (beta = .284) and in-depth knowledge (beta = .203),
which the efficiency of R2 prediction was .479.
3. The factors that positively predict and global citizenship of students of
Phontongpattanawittaya School, Secondary Educational Service Area Office Roi Et were
environmental, democracy and in- depth knowledge, which could generate prediction
equation as followed; Prediction equation in raw score form
Y=.594 + .238 (X1)+ .256 (x2) +.172 (x3)
Prediction equation in standard score form
Z=.289 (Z1) + .284 (Z2) + .203 (Z3)

Keywords : Global Citizenship / Factors / Student

บทนา ให้ประเทศสมาชิก องค์การสหประชาชาติ
ได้ร่วมกันบูรณาการแนวคิดการพัฒนาอย่างย่งั ยนื
การพัฒนาการศึกษาเป็นกลไกสาคัญของ
การพัฒนาเพื่อให้เกิดความย่ังยืน ดังที่ประชุม เข้ากับระบอบการศึกษาของชาติ ตลอดจนจัดทา
สหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ค ประเทศ แผนปฏิบัติการทศวรรษแห่งการศึกษาเพื่อการ
สหรฐั อเมริกา มมี ตปิ ระกาศให้ ปี 2548-2558 เป็น พัฒนาท่ีย่ังยืนในระดับนานาชาติ โดยมีเป้าหมาย
ทศวรรษแห่งการศึกษาเพ่ือการพัฒนาที่ยั่งยืน
( United Nations Decade of Education for หลักคือ เพ่ือสร้างเครือข่ายการศึกษาและ
Sustainable Development-DESD) และได้เชิญชวน ก า ร เ รี ย น รู้ ที่ ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร พั ฒ น า อ ย่ า ง ย่ั ง ยื น

98

เปดิ โอกาสใหป้ ระเทศต่างๆมีสว่ นรว่ มในการปฏิรูป วารสารการวิจยั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน

หรือจัดระบบการศึกษาให้สอดคล้องกับบรบิ ทของ ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)
การพฒั นาอยา่ งยั่งยนื โดยใช้การเรียนรู้ทุกรูปแบบ
เลขาธิการสหประชาชาติกาหนดเป็นข้อตกลงท่ีมี
และสร้างจิตสานึกสาธารณชนตลอดจนส่งเสริม จุดมุ่งหมายเพื่อการสนับสนุนท่ัวโลกให้ดาเนิน
ค่านิยมที่เหมาะสม (สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย, ธุรกิจแบบยั่งยืน และ ได้เริ่มต้นต้ังแต่ปีค.ศ.2000
2550) เป็นต้นมา ได้มีการร่วมมือในการทาข้อตกลงจาก
บรรษัทพลเมือง และองค์กรต่างๆ โดยมีประเด็น
องค์กรยูเนสโก ยังระบุว่า การศึกษาเพื่อ หลัก 4 ประเด็น ใหญ่ ได้แก่ เร่ืองสิทธิมนุษยชน
ความเป็นพลโลก (Global Citizenship Education (Human Rights) เร่ือง มาตรฐานแรงงานสากล
(Labor Force) เรือ่ งสิ่งแวดลอ้ ม (Environment)
หรอื GCED) เป็นหนง่ึ ในแผนยุทธศาสตร์โครงการ และเรื่องการต่อต้านการทุจริต (Anticorruption)
ด้านการศึกษาประจาปี 2557-2560 ของยูเนสโก (United Nations, 2012) จะเห็นได้ว่าแนวคิด
ซ่ึ ง มี เ ป้ า ห ม า ย ต้ อง ก า ร ใ ห้ ผู้ เ รี ยน รู้ใ น ทุ ก ช่ว ง วั ย การพัฒนาที่ย่ังยืน หรือ Triple bottom line :
TBL เป็นการสร้างสมดุลให้เกิดข้ึนระหว่าง
มีความรู้และทักษะซึ่งมีรากฐานและการซึมซับ ส่ิงแวดล้อมกับการพัฒนาในศตวรรษท่ี 21 โดย
เอาการเคารพในสิทธิมนุษยชน ความเป็นธรรม ครอบคลุมการพัฒนาท้ัง 3 ด้าน ด้วยเศรษฐกิจ
สังคม และ สิ่งแวดล้อม ซึ่งแนวคิดการพัฒนา
ในสังคม ความหลากหลาย ความเสมอภาคทาง อยา่ งยั่งยืน หรือ 3BL จะทาใหเ้ กดิ ความเท่าเทียม
เพศ และความย่ังยืนด้านส่ิงแวดล้อมเข้าไปด้วย กนั ในแง่ของการแบ่งสรรทรัพยากรระหว่างสมาชิก
เพื่อเป็นการเสริมพลังให้ผู้เรียนรู้เป็นพลเมืองของ ในสังคม การพัฒนาสังคมควบคู่กับส่ิงแวดล้อม
ก่อให้เกิดการพ่ึงพาซ่ึงกันและกัน ผู้คนรักษา
โลกท่ีมีความรับผิดชอบ นอกจากนี้ยังมีกลุ่ม ปกป้องส่ิงแวดล้อมได้ดีก็จะใช้ประโยชน์จาก
ประชาสังคมตา่ งๆ ใหก้ ารสนับสนุน อาทิ สมาพนั ธ์ ส่ิงแวดล้อมได้นาน การพัฒนาเศรษฐกิจควบคู่
ไปกับส่ิงแวดล้อมจะทาให้เกิดความสมดุล ดังนั้น
เอ็นจีโอ 2,600 องค์กร ในยุโรปซึ่งรวมตัวกัน การพัฒนาที่ย่ังยืนประกอบด้วย 3 สาขา คือ
ในนามสมาพันธ์คองคอร์ด (CONCORD) สมาคม เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม จะทาให้เรา
โซคาสากล (SGI) และสานักข่าวอินเตอร์เพรส สามารถมีเศรษฐกิจท่ีเจริญเติบโต สังคมท่ีเป็นสุข
และส่งิ แวดล้อมท่ีดี (พพิ ัฒน์ นนทนาธรณ,์ 2553)
เซอร์วิส ซ่ึงเป็นการประชุมหารือเพ่ือสร้างแบบแผน
และองค์ประกอบสาคัญสาหรับการศึกษาเพื่อ การพัฒนาประเทศมุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนา
ทั้งระบบของสังคมและให้ความสาคัญกับการ
ความเป็นพลโลก ซ่ึงในความหมายของยูเนสโก พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สถานศึกษาซึ่งถือว่าเป็น
หมายถึง "ความรู้สึกร่วมเป็นส่วนหน่ึงของชุมชน ระบบหน่ึงของสังคมในฐานะที่เป็นหน่วยงานที่มี
ในระดับใหญแ่ ละร่วมเปน็ สว่ นหน่ึงของมนุษยชาติ" หน้าท่ีจัดการศึกษาแก่ประชาชนโดยตรงและเป็น
หน่วยงานหลักของระบบการศึกษาเพราะความ
อาทิ ความเข้าใจทางวฒั นธรรม สานักพลโลกแบบ ต้องการจาเป็นของสังคม จึงมีผลทาให้เกิดระบบ
ศตวรรษที่ 21 ที่มีเรือ่ งของสทิ ธมิ นุษยชน สนั ติภาพ โรงเรียนโดยอาศัยความร่วมมือจากหลายฝ่ายซ่ึงมี
ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ แ ล ะ มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ร่ ว ม กั น
และความเสมอภาคร่วมด้วย ท้ังนี้แนวคิด มี ค ว า ม ต้ั ง ใ จ ท่ี จ ะ ป ฏิ บั ติ ง า น ใ ห้ ส า เ ร็ จ
ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ยู เ อ็ น ยั ง มี โ อ ก า ส ข ย า ย ผ ล
ไปถึงการศึกษาของประเทศต่างๆ ซึ่งถือเป็นหน่ึง

ใ น ป รั ช ญ า ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ ค ว า ม เ ป็ น พ ล โ ล ก ที่
ต้องการทาให้คนได้มีส่วนร่วมมากข้ึน (UNESCO,

2015) อีกทั้งข้อตกลงของโลกแห่งองค์การ
สหประชาชาติ เริ่มต้นคร้ังแรก ในปีค.ศ. 1999
โดยนายโคฟีอันนัน ในขณะที่ดารงตาแหน่ง

99

ตามวัตถุประสงค์โรงเรียนต้องเปลี่ยนแปลงคล้อย วารสารการวิจยั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน

ตามสังคม โรงเรียน จึงต้องทาหน้าที่เป็นผู้นา ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)
ทางสังคม และคงสภาพทางสังคมตลอดจนพัฒนา
แนวทางให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองไปสู่การ
สังคมให้เจริญงอกงาม (สมคิด สกุลสถาปัตย์, เป็นพลโลกในศตวรรษท่ี 21 ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษา
2552) การจัดการศึกษาโดยกระทรวงศึกษาธกิ าร ปัจจัยท่ีส่งผลต่อการเป็นพลโลกของนักเรียน
ได้วางแนวทางปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ โรงเรยี นโพนทองพัฒนาวิทยา สานกั งานเขตพื้นท่ี
การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด เพ่ือเป็นแนวทาง
อย่างเป็นระบบ ศึกษาประเด็นปัญหาหลักใน ในการกาหนดทิศทางการบรหิ ารจัดการศึกษาของ
การศึกษาและการเรียนรู้ท่ีเช่ือมโยงกนั ในประเด็น โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา ให้สอดคล้องกับ
แนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนและการพัฒนา
หลัก 3 ประการ คือ 1) คุณภาพและมาตรฐาน ผ้เู รียนส่คู วามเป็นพลโลกอย่างยั่งยืน
การศึกษาและเรียนรู้ของคนไทย โอกาสทางการ
ศึกษาและเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษา วัตถุประสงค์ของการวิจยั
1. เพอ่ื ศกึ ษาระดับปัจจัยและระดับความเปน็
แหล่งเรียนรู้ สภาพแวดล้อม หลักสูตรและเน้ือหา
พัฒนาวิชาชีพครูให้เป็นวิชาชีพที่มีคุณค่า สามารถ พลโลกของนกั เรยี นโรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา
สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาร้อยเอด็
ดึงดูดคนเก่ง ดี และมีใจรัก มาเป็นครูอาจารย์ได้
อย่างย่ังยืน ภายใต้ระบบบริหารจัดการที่มี 2. เพ่ือศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยกับ
ประสิทธิภาพ 2) เพ่ิมโอกาสการศึกษาและเรียนรู้ ความเป็นพลโลกของนักเรียนโรงเรียนโพนทอง
พัฒนาวิทยา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพเพื่อให้ประชาชนทุกคน มธั ยมศึกษาร้อยเอด็
ทุกเพศ ทุกวยั มีโอกาสเขา้ ถึงการศึกษาและเรยี นรู้
3. เพือ่ สรา้ งสมการพยากรณป์ ัจจยั ท่ีส่งผลต่อ
อย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ 3) ส่งเสริมการมีส่วนร่วม ความเป็นพลโลกของนักเรียนโรงเรียนโพนทอง
ของทุกภาคส่วนของสังคม ในการบริหารและจัด พัฒนาวิทยา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
การศึกษา โดยเพิ่มบทบาทของผู้ท่ีอยู่ภายนอก มัธยมศกึ ษาร้อยเอ็ด

ระบบการศึกษา จากสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง คาถามการวิจยั
และปัจจัยเสี่ยงในอนาคตท่ีคาดว่าจะเป็นอุปสรรค 1. ระดับปัจจัยและระดับความเป็นพลโลก

สาคัญในการพัฒนาคน การยึดหลักปรัชญาของ ข อ ง นั ก เ รี ย น โ ร ง เ รี ย น โ พ น ท อ ง พั ฒ น า วิ ท ย า
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางในการดาเนินชีวิต สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด
จะสามารถดาเนินชีวิตอย่างสมดุลทุกด้าน จึง อยู่ในระดบั ใด

จาเป็นต้องสร้างภูมิคุ้มกันให้คนไทยและสังคมไทย 2. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยกับความเป็น
ในประเด็นสาคัญ คือ คนไทยมีการเรียนรู้ตลอด พลโลกของนักเรียนโรงเรียนโพนทองพฒั นาวิทยา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด
ชีวิต ให้มีการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองท้ังในเร่ือง เป็นอยา่ งไร
การศึกษา ทักษะการทางาน และการดาเนินชีวิต
เ พ่ื อ เ ป็ น ภู มิ คุ้ ม กั น ส า คั ญ ใ น ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต แ ล ะ 3. สมการพยากรณ์ปัจจัยท่ีส่งผลต่อความ
เป็นพลโลก ของนักเรียนโรงเรียนโพนทองพัฒนา
ปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของโลกในยุค วิทยา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา
ศตวรรษที่ 21 (สานักงานคณะกรรมการพัฒนา รอ้ ยเอด็ เป็นอยา่ งไร

เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ, 2555)
จากความสาคัญของการพัฒนาผู้เรียนให้

สอดคล้องกับความเปล่ียนแปลง อันจะเป็น

100

สมมติฐานของการวจิ ัย วารสารการวิจยั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
จากผลการศกึ ษา และสังเคราะห์เอกสาร
ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)
และงานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง ผวู้ จิ ัยจงึ กาหนดสมมตฐิ าน
ของการวจิ ัย ดังน้ี 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง นักเรียน
โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา สังกัดสานักงาน
1. ระดับปัจจัยและระดับความเป็นพลโลก เขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด จังหวัด
ข อ ง นั ก เ รี ย น โ ร ง เ รี ย น โ พ น ท อ ง พั ฒ น า วิ ท ย า ร้อยเอ็ด ปีการศึกษา 2561 จานวน 2,744 คน
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด น า ม า เ ป็ น ห น่ว ย วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล ( Unit of
อยู่ในระดับมาก Analysis) การวิจัยคร้ังนี้ที่ต้องวิเคราะห์ข้อมูล
ด้วยสถิติข้ันสูง ทีม่ คี วามสัมพันธร์ ะหว่างตัวแปร จงึ
2. ความสัมพันธ์ระหวา่ งปัจจยั กับความเป็น ต้ อ ง พิ จ า ร ณ า ข น า ด ก ลุ่ ม ตั ว อ ย่ า ง แ ล ะ จ า น ว น
พลโลกของนักเรียนโรงเรยี นโพนทองพัฒนาวิทยา พารามิเตอร์ อิสระที่ต้องประมาณค่าโดยใช้
สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาร้อยเอ็ด อัตราส่วนระหว่างหน่วยตัวอย่างและจานวน
มคี วามสมั พันธ์ในทางบวก พารามิเตอร์หรือตัวแปร ควรจะเป็น 20:1
(นงลักษณ์ วิรัชชัย. 2542) ซ่ึงการวิจัยคร้ังน้ีมี
3. สมการพยากรณ์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความ พารามิเตอร์จานวน 10 พารามิเตอร์ ผู้วิจัยจึงได้
เป็นพลโลก ของนักเรียนโรงเรียนโพนทองพัฒนา กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์ดังกล่าว
วิทยา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จากน้ันจึงสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน ได้
ร้อยเอ็ด มีองค์ประกอบเก่ียวกับ ความรู้เชิงลึก กล่มุ ตวั อยา่ ง จานวน 396 คน
สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ สั ง ค ม
ประชาธิปไตย และความยุตธิ รรมทางสังคม 2. การศึกษาตัวแปรท่ีใช้ในการวิจัยครั้งน้ี
ผู้วิจัย ได้วิเคราะห์และสังเคราะห์เอกสารและ
ขอบเขตของการวิจยั งานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง โดยจัดกลุ่มตัวแปรท่ีใช้ใน
ประชากร การศกึ ษาดงั น้ี
ประชากรท่ีใช้ศึกษาเป็นนักเรียนโรงเรียน
ตวั แปรต้น ไดแ้ ก่ ความรูเ้ ชิงลกึ (Depth
โพนทองพัฒนาวิทยา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี Knowledge) ความรับผิดชอบต่อสังคม (Social
การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด ปีการศึกษา 2561 Responsibility) ประชาธิปไตย (Democracy )
จานวน 2,744 คน ค ว า ม ยุ ติ ธ ร ร ม ท า ง สั ง ค ม ( Justice) แ ล ะ
สิ่งแวดล้อม (Environment)
การวิจัยครงั้ น้ี ผวู้ ิจัยได้กาหนดขอบเขต
ของการวจิ ัยไว้ดงั น้ี ตวั แปรตาม ได้แก่ ความเป็นพลโลก (Global
Citizenship)

101

วารสารการวิจัยการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

กรอบแนวคดิ การวจิ ยั
การศึกษาปัจจยั ท่สี ่งผลต่อความเปน็ พลโลกของนักเรยี นโรงเรียนโพนทองพฒั นาวทิ ยา สานกั งานเขต

พ้นื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษารอ้ ยเอด็ มกี รอบแนวคดิ การวจิ ยั ท่ีได้จากการศกึ ษาแนวคดิ ทฤษฎี และทบทวน
วรรณกรรม แสดงในภาพ 1

ระเบยี บวิธวี ิจยั สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด
ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ข้ั น พ้ื น ฐาน
การวิจัยคร้ังน้ี ผู้วิจัยได้ดาเนินการ ปีการศึกษา 2561 จานวน 396 คน โดยทาการ
ออกแบบวธิ ีดาเนนิ การวจิ ัย โดยมีวธิ กี ารดาเนินการ
วิจัยหลัก 2 ช่วงคือ 1) การศึกษาทฤษฎีและ สุ่ ม ตั ว อ ย่ า ง โ ด ย วิ ธี ก า ร สุ่ ม แ บ บ ห ล า ย ขั้ น ต อ น
งานวจิ ยั ที่เกี่ยวข้องเพื่อศึกษาความเป็นพลโลกและ (Multi-Stage Random Sampling) ดงั นี้
ปั จ จั ย ท่ี ส่ ง ผ ล ต่ อ ค ว า ม เ ป็ น พ ล โ ล ก แ ล ะ
2) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรและ 1. เลือกตามระดับชั้น จาก ระดับช้ันมัธยม ศึกษา
ระหว่างปัจจัยกับความเป็นพลโลก ซ่ึงในการวิจัย ปีที่ 1- ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6
ครัง้ นีใ้ ชโ้ ปรแกรมสาเร็จรูป
2. แ บ่ ง ชั้ น แ ต่ ล ะ ร ะ ดั บ ใ ห้ ไ ด้ จ า น ว น
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียน กลุ่มตัวอย่างระดับชั้นละเท่าๆกัน โดยแบ่งเป็น
โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา ปีการศึกษา 2561 ระดบั ชน้ั ละ 66 คน จานวน 6 ระดบั ช้นั ได้จานวน
จานวน 2,744 คน (แผนปฏิบัติการประจาปี
โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา, 2561) โดยสามารถ 396 คน
จาแนกตามระดับช้ัน ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 – การกาหนดขนาดกลุม่ ตัวอย่างด้วยเหตุผล
ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6
กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังนี้ คือ ดังกล่าวนั้น การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ที่วิเคราะห์
นักเรียนโรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา ในสังกัด
ข้อมูลด้วยสถิติข้ันสูง จะได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง
จานวน 396 คน

102

1.2.2 จ า ก ก า ร ป ร ะ ม า ณ ข น า ด วารสารการวิจยั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

กลุ่มตัวอย่างที่ได้ 396 คน ผู้วิจัยจึงได้ทาการกาหนด ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)
ขนาดกลุ่มตัวอย่างและทาการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
( Multi- Stage Random Sampling) ซ่ึ ง มี ก า ร
โดยใช้หลักการทางสถิติ (Statistical Sampling สุ่มตัวอย่าง โดยการสุ่มมอย่างง่ายแบบไม่ใส่คืน
Methods) โดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Without Replacement) ดว้ ยวิธีจับสลากเพื่อให้
ได้นักเรียนแต่ละระดับช้ัน ตามจานวนท่ีกาหนดไว้
ดังแสดงในตาราง 1

ตาราง 1 จานวนกลุ่มตัวอย่างโดยการสมุ่ เลอื กระดับช้นั และแต่ละระดบั ชัน้

ท่ี ระดับชัน้ จานวนห้องเรียน จานวนนกั เรียน จานวนกลุ่มตัวอย่าง

1 มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 12 549 66
66
2 มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 12 533 66
66
3 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 12 498 66
66
4 มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 10 389
396
5 มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 10 387

6 มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 10 388

รวม 66 2,744

เคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวิจัย เครื่องมือเป็นแบบมาตรวัดประเมินค่า (Rating
เครอ่ื งมอื ท่ีใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ เปน็ แบบสอบถาม Scale) 5 ระดับ โดยใช้เกณฑ์การพิจารณาจาก
ระดับพฤติกรรมของนักเรียนโรงเรียนโพนทอง
แบ่งออกเปน็ 3 ตอน ดงั นี้ พัฒนาวิทยา โดยพิจารณาจากเกณฑต์ อ่ ไปนี้
ตอนที่ 1 แบบสอบถามข้อมลู ทวั่ ไป มลี ักษณะ
5 หมายถึง พฤตกิ รรมทีแ่ สดงออกทุกคร้งั
เป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) ได้แก่ 4 หมายถึง พฤตกิ รรมที่แสดงออกบอ่ ยครัง้
3 หมายถึง พฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกบางครง้ั
เพศ และระดับชัน้ 2 หมายถงึ พฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกนานๆครง้ั
ตอนที่ 2 แบบสอบถามวัดระดับพฤติกรรม 1 หมายถงึ พฤตกิ รรมทไ่ี ม่เคยแสดงออกเลย

ความเป็นพลโลก เป็นแบบมาตรวัดประเมินค่า ปัจจัยท่ีมีส่งผลต่อความเป็นพลโลกมีทั้งหมด
(Rating Scale) 5 ระดับคือ ทุกครั้ง บ่อยครั้ง 5 ปัจจัย โดยจัดเรียงเนื้อหา ข้อคาถาม ตามลาดับ
บางครง้ั นานๆที และไม่เคยเลย ใหผ้ ู้ตอบเลอื กตอบ ของปัจจัยที่นามาศึกษา ดังนี้ ความรู้เชิงลึก
(Depth Knowledge) ความรับผิดชอบต่อสังคม
เพียงระดับเดียว โดยครอบคลุมความเป็นพลโลก (Social Responsibility) การส่งเสริมประชาธิปไตย
ผู้วิจัยสังเคราะห์ขึ้น โดยจัดเรียงเน้ือหาข้อคาถาม (Democracy ) ความยตุ ิธรรมทางสงั คม (Justice)
การใหค้ วามสาคัญกับสงิ่ แวดลอ้ ม (Environment)
ตามลาดับขององ ค์ประก อบท่ีน ามา ศึก ษา
มีท้ังหมด 5 องค์ประกอบ โดยจัดเรียงเนื้อหา
ข้อคาถาม ตามลาดับของปจั จยั ที่นามาศกึ ษา ไดแ้ ก่

เ ป็ น เ ลิ ศ ท า ง วิ ช า ก า ร สื่ อ ส า ร อ ย่ า ง น้ อ ย
สองภาษา ล้าหน้าทางความคิด ผลิตงานอย่าง

สร้างสรรค์ รว่ มกนั รับผิดชอบต่อสังคมโลก
ตอนท่ี 3 แบบสอบถามวัดปัจจัยที่ส่งผลต่อ

ความเปน็ พลโลก ตามการรับรู้ของตนเอง ลักษณะ

103

การสรา้ งและตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ วารสารการวิจยั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน

ร า ย ล ะ เ อี ย ด ก า ร ส ร้ า ง แ ล ะ ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)
คณุ ภาพของเครอ่ื งมือวิจัย มดี งั น้ี
sampling) จานวน 3 คน โดยให้ผู้เชี่ยวชาญ
1)ศึกษาเอกสาร รายงานการวิจัย เอกสารที่ พิจารณาความตรงเชิงเนื้อหา โดยการคานวณหา
เก่ียวข้องกับการวัดตัวแปรในการวิจัย กาหนด ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามรายข้อ
นิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปร และกรอบการวัด กั บ นิ ย า ม เ ชิ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร ( Index of item-
objective congruence: IOC) ซึ่งแบบสอบถาม
ตวั แปร ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้มีค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.67-
2) สรา้ งตารางวิเคราะห์เน้ือหาและพฤตกิ รรม 1.00 ค่า IOC มีค่าต้ังแต่ 0.05 ขึ้นไปทุกข้อคาถาม
ดังนั้นสามารถตัดสินใจได้ว่า ข้อคาถามมีความ
(Specification Table) โดยนานิยามเชิงปฏิบัติการที่ สอดคล้องเหมาะสม หรือมีความตรงเชิงเน้ือหา
กาหนดขึ้นมากาหนดรายละเอยี ดเกย่ี วกับประเด็น (สุวิมล ตริ กานันท์. 2542)
พฤติกรรมที่ต้องการวัด จานวนข้อคาถาม เขียน
นาแบบสอบถามท่ีสร้างข้ึนไปทดลองใช้ (Try-
ข้อคาถามที่จะพัฒนาเป็นแบบสอบถาม out) กับนักเรียนในโรงเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง
3) นาตารางวิเคราะห์เนื้อหาและพฤติกรรม จานวน 30 คน แล้วนาข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ไป
หาคุณภาพของเครื่องมือ โดย วิเคราะห์ความ
แ ล ะ ข้ อ ค า ถ า ม ไ ป ต ร ว จ ส อ บ ค ว า ม ส อ ด ค ล้ อ ง เชือ่ ม่นั (Reliability) ของแบบสอบถามโดยการหา
ระหว่างข้อคาถามกับพฤติกรรมท่ีต้องการวัดและ ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha coefficient) โดย
ให้คาแนะนาเพ่ือปรับปรุงข้อคาถามให้ถูกต้อง ใช้วิธีของครอนบาค (Cronbach) โดยการหา

เหมาะสมย่ิงขน้ึ ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (α = Coefficient) ของ
4) ตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือโดยดาเนินการ แบบสอบถามทัง้ ฉบบั และจากการรวบรวมข้อมูล
จากกลุ่มตัวอย่าง (บุญชม ศรีสะอาด. 2554) โดย
ดงั น้ี นาแบบสอบถามให้ผู้เชี่ยวชาญ เพอ่ื ตรวจสอบ ใช้เกณฑก์ ารพจิ ารณาความเชอ่ื มนั่ เปน็ ดังน้ี
คุ ณ ภ า พ ข อ ง ข้ อ ค า ถ า ม ด้ า น ค ว า ม ต ร ง
เชิงเนอ้ื หา (Content Validity) โดยใหผ้ ู้เช่ียวชาญ ถา้ มคี ่าตง้ั แต่ .00- .20 แสดงว่ามคี วามเชอื่ มั่น
ต่ามาก
พิจารณาความสอดคล้อง และความเหมาะสม ของ
ข้ อ ค า ถ า ม ร า ย ข้ อ กั บ นิ ย า ม เ ชิ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร ว่ า ถ้ามีค่าตั้งแต่ .21- .40 แสดงว่ามีความเชื่อม่ัน
ต่า
เหมาะสมหรือไม่เหมาะสม รวมทั้งข้อเสนอแนะ
เพ่ือการปรับปรุงข้อคาถาม โดยที่ผู้เชี่ยวชาญ ถ้ามคี า่ ตั้งแต่ .41- .70 แสดงว่ามคี วามเชอ่ื มัน่
จากนั้นดาเนินการคานวณหาค่าดัชนีคว าม ปานกลาง

ส อ ด ค ล้ อ ง ร ะ ห ว่ า ง ข้ อ ค า ถ า ม ร า ย ข้ อ กั บ นิ ย า ม ถา้ มีค่าต้งั แต่ .71-1.00 แสดงว่ามี
เ ชิ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร ( Index of Item- Objective ความเชอ่ื มนั่ สงู

Congruence: IOC) ถ้าขอ้ คาถามมีค่าต้ังแต่ 0.50 จากการหาคณุ ภาพของแบบสอบถามเพ่ือ
ข้ึนไป จะสามารถตัดสินได้ว่าข้อคาถามมีความ หาความเชื่อม่ันแบบสอบถามความเป็นพลโลกซึ่ง
สอดคล้องเหมาะสมกับนิยามเชิงปฏิบัติการ การ ประกอบด้วย เป็นเลิศทางวิชาการ สื่อสารอย่างน้อย
สองภาษา ล้าหน้าทางความคิด ผลิตงาน
ตรวจสอบความแม่นตรงเชิงเน้ือหา (Content อย่างสร้างสรรค์ ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก
Validity) โดยน าแบบสอบถามท่ีไ ด้รับก าร พบวา่ มีคา่ ความเช่อื มน่ั เท่ากับ 0.97

ตรวจสอบ และให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพ
ของข้อคาถามด้านความแม่นตรงเชิงเน้ือหา จาก
การคัดเลือกผู้เช่ียวชาญแบบเจาะจง (Purposive

104

ก า ร ห า ค่ า ค ว า ม ต ร ง เ ชิ ง เ น้ื อ ห า วารสารการวิจยั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
แบบสอบถามปจั จยั ทมี่ อี ิทธิพลตอ่ ความเป็นพลโลก
ซ่ึ ง ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ค ว า ม รู้ เ ชิ ง ลึ ก ( Depth ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)
Knowledge) ความรับผิดชอบต่อสังคม (Social
Responsibility) ประชาธิปไตย (Democracy ) ตัวแปร ตรวจสอบข้อตกลงเบ้ืองต้นของสถิติท่ีจะ
ความยุติธรรมทางสังคม (Justice) และส่งิ แวดลอ้ ม ใช้วิเคราะห์เพ่ือตอบคาถามการวิจัย และการ
(Environment) โดยการคานวณหาค่าดัชนีความ วิเคราะห์โดยใช้สถิติเพื่อตรวจสอบอิทธิพลของ
สอดคล้องระหว่างข้อคาถามรายข้อกับนิยามเชิง ตัวแปรที่สนใจ ซ่ึงแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่
ปฏบิ ัติการ (Index of item-objective congruence: การวิเคราะห์ข้อมูลเบ้ืองต้นของกลุ่มตัวอยา่ ง และ
IOC) ซ่งึ มีค่า IOC อยรู่ ะหว่าง0.67-1.00 คา่ IOC มี การวิเคราะห์สถิติพื้นฐานของตัวแปร โดยใช้
ค่าต้งั แต่ 0.05 ขน้ึ ไปทุกข้อคาถาม โปรแกรมสาเร็จรูป รายละเอยี ดแตล่ ะส่วนมีดังนี้

การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล การวเิ คราะหข์ อ้ มลู เบ้ืองต้นของกลุม่ ตัวอย่าง
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ผูว้ ิจัยจะ การวิเคราะหใ์ นข้ันนเี้ ปน็ การวิเคราะหเ์ พื่อใหท้ ราบ
ลกั ษณะภูมิหลังของกลุม่ ตัวอย่าง
ดาเนนิ การตามขนั้ ตอน ดังนี้
1) ผู้ วิ จั ย ท า ก า ร เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล การวิเคราะหข์ อ้ มูลเพอ่ื ตอบวัตถุประสงค์
การวจิ ัย
เชิงประจักษ์ โดยขอหนังสือความร่วมมือในการ
เก็บข้อมูลถึงผู้อานวยการโรงเรียนโพนทองพัฒนา การวิเคราะห์ในขั้นนี้เป็นการวิเคราะห์เพื่อ
วิทยา เพ่ือขออนุญาตและขอความอนุเคราะห์ ตอบวัตถุประสงค์การวจิ ัย 3 ข้อ ดงั น้ี
ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู
1) การวิเคราะห์ระดับความเป็นพลโลก และ
2) ดาเนินการติดตามเก็บแบบสอบถามคืน ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเป็นพลโลกของนักเรียน
และนาแบบสอบถามที่ได้รับกลับคืนมาตรวจสอบ โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา การวิเคราะห์ใน
จานวนแบบสอบถาม และความถูกต้องสมบูรณ์ ข้ันน้ีเป็นการวิเคราะห์เพ่ือหาค่าเฉล่ีย และ
ของคาตอบ สาหรับนักเรียนที่ผู้วิจัยยังไม่ได้รับคืน คา่ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน
ผวู้ จิ ยั จะประสาน เพือ่ ขอเกบ็ ขอ้ มลู เพม่ิ เติม
2) วิเคราะห์ระดับปัจจัยที่ส่งผลต่อความเป็น
3) ตรวจสอบแบบสอบถามที่สมบูรณ์เพื่อนา พลโลกของนักเรียนโรงเรียนโพนทองพฒั นาวิทยา
แบบสอบถามไปวิเคราะห์ข้อมูลในขั้นตอนต่อไป สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาร้อยเอ็ด
และได้รับแบบสอบถามคืนทัง้ สน้ิ จานวน 396 ฉบับ
3) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย
การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ที่ส่งผลต่อความเป็นพลโลก ของนักเรียนโรงเรยี น
ผู้วิจัยจะดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลตาม โพนทองพัฒนาวทิ ยา สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา
มธั ยมศึกษารอ้ ยเอ็ด
ขั้นตอน 2 ขั้นตอน ได้แก่ การวิเคราะห์ข้อมูล
เบื้องต้น และการวิเคราะห์เพ่ือตอบวัตถุประสงค์ 4) สร้างสมการพยากรณ์ความเป็นพลเมือง
การวิจัย ดงั น้ี โลกของนักเรียนโรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา
สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด
การวิเคราะหข์ อ้ มูลเบอื้ งต้น
ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล เ บื้ อ ง ต้ น เ ป็ น ก า ร สถติ ทิ ่ีใชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมูล
วิ เ ค ร า ะ ห์ เ พื่ อ ศึ ก ษ า ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ข้ อ มู ล แ ต่ ล ะ 1. สถิติบรรยาย
1)การแจกแจงความถี่ และค่าร้อยละใช้

สาหรับการวิเคราะห์ข้อมูลพ้ืนฐานของโรงเรียน
และข้อมูลเก่ียวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
ท่ีเปน็ กลมุ่ ตัวอยา่ ง

105

2) การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบน วารสารการวิจัยการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
มาตรฐาน ใช้สาหรับวิเคราะห์ระดับการแสดงออก
ของความเป็นพลโลก และระดับของปัจจัยท่ีนามา ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)
ศกึ ษา
1.51– 2.50 หมายถึงพฤติกรรมการปฏิบัติ
2. สถติ ิอา้ งอิง ของนกั เรียนทีม่ ีความเปน็ พลโลก อยูใ่ นระดับน้อย
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างของ
1.00 – 1.50 หมายถึงพฤติกรรมการปฏิบัติ
ปัจจัยท่ีส่งผลต่อความเป็นพลโลกของนักเรียน ของนักเรียนที่มีความเป็นพลโลก อยู่ในระดับ
โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา สานักงานเขตพื้นที่ น้อยท่สี ดุ
การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด โดยใช้วิธี Multiple
Regression วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปร 2) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างของ
5 ตัวแปร ได้แก่ ความรู้เชิงลึก ประชาธิปไตย
ส่ิงแวดล้อม ความยุติธรรม และ ความรับผิดชอบ ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเป็นพลโลกของนักเรียน
ตอ่ สังคม
โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา สานักงานเขตพ้ืนท่ี
การแปลผลขอ้ มูล
1) การวิเคราะห์ค่าเฉล่ียระดับความเป็น การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด โดยใช้วิธีการ

พลโลก และระดับปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อความเป็น วเิ คราะหถ์ ดถอยพหุคูณ (Multiple Regression)
พลโลกของนักเรียนโรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด ผลการวิเคราะหค์ า่ สถิตพิ ื้นฐาน
น้นั ผวู้ จิ ัยกาหนดเกณฑ์การแปลความ ดังนี้ (ศริ ิชัย จากแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ที่ได้รับ
กาญจนวาสี และคณะ, 2547)
กลับคืนมา จานวน 396 ฉบับ คิดเป็น ร้อยละ
4.51– 5.00 หมายถงึ พฤตกิ รรมการปฏบิ ัติ 100 ของแบบสอบถามท่ีส่งไปทั้งหมด ผู้วิจัยได้นา
ของนกั เรยี นท่ีมีความเปน็ พลโลก อยู่ในระดบั มาก ข้อมูลมาวิเคราะห์ แสดงสถานภาพของนักเรียน
ทีส่ ดุ โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง
ที่ตอบแบบสอบถามเป็นความถ่ีและค่าร้อยละ
3.51–4.50 หมายถึงพฤติกรรมการปฏิบตั ิ ปรากฏผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า นักเรียน
ของนกั เรียนท่ีมีความเปน็ พลโลก อยใู่ นระดับมาก โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา ท่ีเป็นกลุ่มตัวอย่าง
จานวน 396 คน พบว่า ส่วนใหญ่เป็นหญงิ 237 คน
2.51– 3.50 หมายถึงพฤติกรรมการปฏิบัติ คิดเป็นร้อยละ 59.80 และเป็นชาย จานวน 159 คน
ของนักเรียนที่มีความเป็นพลโลก อยู่ในระดับ คิดเป็นร้อยละ 40.20 เม่ือจาแนกตามอายุและ
ปานกลาง ระดับชั้นของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า กลุ่มตัวอย่าง
มีอายุ 12- 18 ปี และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1- 6
ระดับชั้นละเท่ากัน คือ 66 คน คิดเป็น ร้อยละ
16.7 ทุกระดบั ช้นั

106

วารสารการวิจยั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

ผลการวิเคราะหร์ ะดบั ความเป็นพลโลกของนกั เรยี นโรงเรยี นโพนทองพฒั นาวทิ ยา
ผลการวเิ คราะห์ระดบั ความเป็นพลโลกของนักเรยี นโรงเรียนโพนทองพัฒนาวทิ ยา แสดงดงั ตาราง 2

ตาราง 2 สถติ พิ นื้ ฐานของปจั จยั ทม่ี ีอิทธิพลต่อความเปน็ พลโลกของนักเรียนโรงเรียนโพนทองพฒั นาวทิ ยา

คา่ เฉลี่ย สว่ นเบยี่ งเบน แปล

ตวั แปร ( X ) มาตรฐาน(S.D.) ความหมาย

ตัวแปรแฝง ความเปน็ พลโลก 2.88 0.83 ปานกลาง

ตวั แปรสังเกต เป็นเลศิ ทางวิชาการ 2.52 0.89 ปานกลาง

สื่อสารอยา่ งนอ้ ยสองภาษา 2.93 0.77 ปานกลาง

ลา้ หนา้ ทางความคดิ 2.92 0.82 ปานกลาง

ผลติ งานอยา่ งสรา้ งสรรค์ 3.02 0.90 ปานกลาง

รว่ มกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก 3.02 0.79 ปานกลาง

ตัวแปรแฝง ความรเู้ ชงิ ลึก 3.62 0.84 มาก

ตัวแปรสังเกต ประสบการณ์ 3.72 0.83 มาก

ความเชยี่ วชาญ 3.56 0.88 มาก

ทักษะ 3.60 0.79 มาก

การสรา้ งองค์ความรู้ 3.63 0.79 มาก

ตวั แปรแฝง ประชาธิปไตย 3.52 0.79 มาก

ตวั แปรสงั เกต การมสี ว่ นร่วม 3.54 0.82 มาก

สิทธิ เสรภี าพ 3.00 0.90 ปานกลาง

ตัวแปรแฝง สิง่ แวดลอ้ ม 3.51 0.86 มาก

ตัวแปรสงั เกต การปฏบิ ตั เิ กีย่ วกบั สง่ิ แวดลอ้ ม 3.35 0.90 ปานกลาง

การมีสว่ นร่วมดาเนนิ งานด้าน 3.53 0.95 มาก
ส่งิ แวดลอ้ ม

การเรียนรเู้ กยี่ วกับส่ิงแวดลอ้ ม 3.63 0.74 มาก

ตวั แปรแฝง ความยุติธรรม 3.13 0.77 ปานกลาง

กระบวนการ 3.43 0.97 ปานกลาง
ตวั แปรสังเกต การปฏิบัติต่อบุคคล 2.96 0.92 ปานกลาง

ผลลัพธ์ 3.18 0.92 ปานกลาง

ตัวแปรแฝง ความรับผิดชอบต่อสงั คม 3.61 0.84 มาก

ตัวแปรสังเกต สนองประเด็นความยัง่ ยืน 3.53 0.84 มาก

สร้างผลกระทบเชงิ บวก 3.72 0.95 มาก

107

จากตาราง 2 พบว่านักเรียนโรงเรียน วารสารการวิจัยการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
โพนทองพัฒนาวิทยา มีระดับการแสดงออกของ
ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)
ความเป็นพลโลก อยใู่ นระดับปานกลาง ( X =2.88 )
เมื่อพิจารณาตามตัวแปรสังเกต พบว่า ความเป็น พิจารณาตัวแปรสังเกต พบว่า กระบวนการอยู่ใน
ระดับปานกลาง ( X = 3.43) การปฏิบัติต่อบุคคล
เลิศทางวิชาการ อยู่ในระดับปานกลาง ( X 2.52) อยู่ในระดับปานกลาง ( X = 2.96) ด้านผลลัพธ์
สื่อสารอย่างน้อยสองภาษา อยู่ในระดับปานกลาง อยใู่ นระดบั ปานกลาง ( X = 3.18)
( X =2.93) ล้าหน้าทางความคิด อยู่ในระดับ
เมื่อพิจารณาตัวแปรแฝง ความรับผิดชอบต่อ
ปานกลาง( X =2.92) ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ สังคม พบว่าอยู่ในระดับมาก ( X = 3.61) เมื่อ
อยู่ในระดับปานกลาง ( X =3.02) และ ร่วมกัน พจิ ารณาตวั แปรสงั เกต พบวา่ สนองประเด็นความ
ย่ังยืน อยใู่ นระดบั มาก ( X =3.53) สร้างผลกระทบ
รับผิดชอบต่อสังคมโลก อยู่ในระดับปานกลาง เชงิ บวก อยใู่ นระดบั มาก ( X =3.72)
( X =3.02 )
ผลการวิเคราะหค์ วามสัมพันธ์ระหวา่ งของปัจจัย
เมื่อพิจารณาตัวแปรแฝงด้านความรู้เชิงลึก ทส่ี ่งผลต่อความเป็นพลโลกของนักเรียนโรงเรียน
โพนทองพัฒนาวิทยา สานักงานเขตพื้นท่ี
พบว่า ด้านความรู้เชิงลึก อยู่ในระดับมาก การศึกษามธั ยมศึกษาร้อยเอด็
( X =3.62) เมื่อพิจารณาตัวแปรสังเกต พบว่า
ผลการวิเคราะห์ส่วนนี้เพื่อตอบวัตถุประสงค์
ปร ะ สบก าร ณ์ อ ยู่ ใน ร ะ ดั บ ม าก ( X = 3. 72) ข้อ (2) ศึกษาความสัมพันธร์ ะหวา่ งปัจจัยกับความ
รองลงมาคือ การสรา้ งองคค์ วามรู้ อยใู่ นระดบั มาก เป็นพลเมืองโลกของนักเรียนโรงเรียนโพนทอง
( X =3.63) ทักษะ อยู่ในระดับมาก ( X =3.60) พัฒนาวิทยา สานักงานเขตพ้ืนที่การ ศึกษา
มัธยมศึกษาร้อยเอ็ด โดยใช้วิธี Multiple
และความเชี่ยวชาญ อยู่ในระดับมาก ( X =3.56) Regression วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปร
ตามลาดับ 5 ตัวแปร ได้แก่ ความรู้เชิงลึก ประชาธิปไตย
ส่ิงแวดล้อม ความยุติธรรม และ ความรับผิดชอบ
เม่ือพิจารณาตัวแปรแฝง ประชาธิปไตย ตอ่ สงั คม โดยในการวิเคราะหข์ ้อมูลเบือ้ งต้นพบว่า
พบว่า ประชาธิปไตย อยใู่ นระดับ มาก ( X =3.52) ตัวแปรความยุติธรรม และความรับผิดชอบต่อ
เมื่อพิจารณาตัวแปรสังเกต พบว่า การมีส่วนร่วม สังคม ไม่เป็นไปตามเง่ือนไขของการวิเคราะห์
ผู้วิจัยจึงตัดตัวแปรดังกล่าวออก แล้วทาการ
อยู่ในระดับมาก ( X =3.54) สิทธิเสรีภาพ อยู่ใน วิเคราะห์ตัวแปรท่ีเหลือ ได้แก่ ความรู้เชิงลึก
ระดับปานกลาง ( X =3.00) ประชาธปิ ไตย ส่งิ แวดลอ้ ม ซึง่ เป็นตัวแปรที่ส่งผล
ต่อ ความเปน็ พลโลกของนักเรียนโรงเรียนโพนทอง
เมื่อพิจารณาตัวแปรแฝง สิ่งแวดล้อม พัฒนาวิทยา สานักงานเขตพ้ืนที่การ ศึกษา
พบว่า อยู่ในระดับมาก ( X = 3.51) เม่ือพิจารณา มัธยมศึกษา ร้อยเอ็ด ผลการวิเคราะห์ดังแสดงใน
ตัวแปรสังเกต พบว่า การเรียนรู้เกี่ยวกับ ตาราง 3 และ ตาราง 4

สิ่งแวดล้อม อยู่ในระดับ มาก ( X = 3.63) การมี 108
ส่วนร่วมดาเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม อยู่ในระดับ

มาก ( X = 3.53) และการปฏิบัติเกี่ยวกับ
สงิ่ แวดล้อมอย่ใู นระดับ ปานกลาง ( X = 3.35)

เม่ือพิจารณาตัวแปรแฝง ความยุติธรรม

พบว่า อยู่ในระดับปานกลาง ( X = 3.13) เม่ือ

วารสารการวิจยั การศึกษาข้ันพื้นฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

ตาราง 3 แสดงการวเิ คราะห์ความสมั พันธ์ระหว่างของปจั จยั ทส่ี ่งผลตอ่ ความเป็นพลโลกของนกั เรยี น
โรงเรยี นโพนทองพฒั นาวทิ ยา สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา ร้อยเอ็ด โดยใช้ Pearson Correlation

ตวั แปร ความเป็นพลโลก ความรูเ้ ชิงลึก ประชาธิปไตย สิ่งแวดล้อม

ความเป็นพลโลก 1 .608 .618** .624**

ความรเู้ ชงิ ลกึ .608** 1 .698** .717**

ประชาธปิ ไตย .618** .698** 1 .667**

ส่ิงแวดลอ้ ม .624** .717** .667** 1

** Correlation is significant at the 0.01

จากตาราง 3 พบว่าตัวแปรทุก ตัว ความรู้เชิงลึกกับส่ิงแวดล้อม มีค่าเท่ากับ.717
มีความสัมพันธ์ทางบวกโดยมีค่าอยู่ระหว่าง .608 รองลงมาคือ ความรู้เชิงลึกกับประชาธิปไตย
ถึง .717เม่ือพิจารณาค่าความสัมพันธ์ระหว่าง ส่วนคู่ที่มีค่าความสัมพันธ์ต่าสุด ได้แก่ ความรู้เชิงลึก

ตัวแปร พบว่าคู่ที่มีค่าความสัมพันธ์สูงสุด ได้แก่ กบั ความเป็นพลโลก มีคา่ เทา่ กบั .608

ตาราง 4 ผลการวเิ คราะห์ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งของปัจจยั ที่สง่ ผลต่อความเปน็ พลโลกของนกั เรียน
โรงเรยี นโพนทองพฒั นาวิทยา สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษาร้อยเอด็

Unstandardized Standardized

ตวั แปร Coefficients Coefficients

B Std. Error Beta t
4.781**
(Constant) .594 .124 5.200**
5.251**
ส่ิงแวดลอ้ ม(X1) .238 .046 .289 3.526**
**P<.01
ประชาธปิ ไตย(X2) .256 .049 .284

ความร้เู ชิงลกึ (X3) .172 .049 .203

R2= .479 , Adj.R2= .475 , SE= .51806, F=120.209, Sig.of F= .000, *P<.05

จากตาราง 4 การวิเคราะห์การถดถอย เกิดจากอิทธิพลของตัวแปรอ่ืน โดยพบปัจจัยท่ี
พหุคณู โดยใส่ตัวแปรเรียงลาดับ ตามกรอบแนวคดิ สง่ ผลตอ่ ความเป็นพลเมืองโลก ได้แก่ สิง่ แวดลอ้ ม

การวิจัย ซ่ึงการวิเคราะห์พบว่า ความสัมพันธ์ (beta= .289) ส่งผลต่อความเป็นพลเมืองโลก
ระหว่างปัจจัยท่ีส่งผลต่อความเป็นพลเมืองโลก ได้ อ ย่ า ง มี นั ย ส า คั ญ ท า ง ส ถิ ติ ที่ ร ะ ดั บ . 0 0
คา่ ประสิทธิภาพของการทานาย R2 เทา่ กบั .479
กล่าวได้ว่า ความเป็นได้ของการต้ังสมมติฐานว่า ประชาธิปไตย (beta เท่ากับ .284) ส่งผลต่อ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเป็นพลเมืองโลกอย่างย่งั ยนื ความเป็นพลเมืองโลก อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ท่ีระดับ .00 และความรู้เชิงลึก (beta เท่ากับ
ทั้ง 5 ด้าน มีความสัมพันธ์กับความเป็นพลเมืองโลก
ได้ร้อยละ 47.90 ส่วนอีกท่ีเหลอื รอ้ ยละ 94.60 .203) ส่งผลต่อความเป็นพลเมืองโลก อย่างมี
นยั สาคัญทางสถติ ิ ทรี่ ะดับ .00

109

เมอื่ กาหนด X1 แทนดว้ ยตัวแปรส่งิ แวดล้อม วารสารการวิจยั การศึกษาขั้นพื้นฐาน
X2 แทนด้วยตวั แปรประชาธิปไตย และ X3
แทนดว้ ยตวั แปรความรู้เชิงลกึ นามาสรา้ งสมการ ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)
พยากรณ์ ดงั นี้
การเมืองในระบอบประชาธิปไตย คือมีเหตุผล
สมการพยากรณไ์ ดใ้ นรปู แบบคะแนนดิบ มคี วามรบั ผิดชอบ มีสว่ นร่วม มีความสานึกเป็นต้น
Y=.594 + .238 (X1)+ .256 (x2) +.172 (x3) และควรมีความรู้เกี่ยวกับคุณลักษณะความเป็น
พลเมืองในระบอบประชาธิปไตย ประกอบด้วย
สมการพยากรณใ์ นรูปแบบคะแนนมาตรฐาน มีอิสรภาพ พ่ึงตนเองได้ เคารพตน เคารพผู้อ่ืน
Z=.289 (Z1) + .284 (Z2) + .203 (Z3) เคารพความแตกต่าง เคารพกฎหมาย เคารพความ
เสมอภาค รับผิดชอบต่อตนเอง และสังคม
อภปิ รายผล ซ่ึงเปรียบได้ กับศาสตร์ และศิลป์ หรือการเรียนรู้
จากการศึกษาระดับความเป็นพลโลกของ ของสมอง 2 ซกี ของมนุษย์ คือ ซีกซา้ ยมกี ารเรียนรู้
เกี่ยวกับศาสตร์ ว่าด้วยเหตุและผล ส่วนซีกขวา
นักเรียนโรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา สานักงาน เรียนรู้เก่ียวกับศิลปะ ความละเอียดอ่อน จินตนาการ
เขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาร้อยเอ็ด ผลการวิจัย ความคิด สร้างสรรค์ เป็นต้น ซึ่งท้าให้ผู้เรียน
พบว่านักเรียนโรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา มี นักเรียนมีความรอบรู้ทั้งศาสตร์และศิลปะในการ
ระดับการแสดงออกของความเป็นพลโลก อยู่ใน ดาเนินชีวิตใน สังคมประชาธิปไตย (2) “ทักษะ”
ระดับปานกลาง เม่ือพิจารณาตามตัวแปรสังเกต คือความรู้ท่ีเกิดจากการปฏิบัติซ้าๆจากข้อเท็จจริง
พบว่า ด้านความเป็นเลิศทางวิชาการ อยู่ในระดับ สถานการณ์จริง เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักการปรับตัว
ปานกลาง ดา้ นสอ่ื สารอยา่ งน้อยสองภาษา อยูใ่ น ระดับ เรียนรู้ประเด็นปัญหาที่เกิดข้ึนจริงอย่างรอบด้าน
ปานกลาง ด้านลา้ หน้าทางความคิด อยใู่ น ระดับ ร้ถู งึ วธิ กี ารแก้ไขปัญหา ตา่ งๆอย่างสันติ สมานฉันท์
ปานกลาง ด้านผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ อยู่ใน และอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมอย่างปกติสุข ซ่ึงเป็น
ระดับปานกลาง และด้านร่วมกันรับผิดชอบต่อ การเรยี นรูท้ ่เี กดิ จากการ ปฏบิ ตั ิหลงั จากที่ได้เรยี นรู้
สังคมโลก อยู่ในระดับปานกลาง ท่ีเป็นเช่นนี้อาจ ทางทฤษฎมี าแล้ว เพ่ือให้น้าความรูด้ ังกลา่ วมาปรับ
เนื่องมาจากการจัดการศึกษาในยุคโลกาภวิ ฒั นน์ ัน้ ใช้อย่างเป็นประโยชน์ต่อ ตนเอง ครอบครัว และ
ต้องมีการพัฒนาศักยภาพ ของผู้เรียนในทุกด้าน ชุมชน (3) “ทัศนคติ เจตคติ”ซึ่งเป็นผลลัพธ์ท่ีเกิด
และพัฒนาผู้เรียนให้สามารถอยู่ร่วมกันในฐานะ จากการเรียนรู้ทางเน้ือหาสาระ และมีการฝึกปฏิบัติ
เป็นพลโลก ซึ่งต้องสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงใน จากเหตุการณจ์ รงิ ร่วมกบั ผู้อ่นื อย่างมีระบบ ท้าให้
ทุกมิติทั้งเศรษฐกิจสังคม วัฒนธรรม และ ผู้เรียนรับรู้ เข้าใจถึง ความเป็นจริงของประเด็น
ส่ิงแวดล้อม ซึ่งสอดคล้องกับ จินตนา ศรีนุกุล ต่างๆของสังคม การเมือง เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อม
(2557) ที่กล่าว่า การที่ผู้เรียน นักเรียนจะมี วัฒนธรรมเป็นต้นท้าให้ เป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบ
ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ถึ ง ค ว า ม เ ป็ น พ ล เ มื อ ง ใ น ร ะ บ อ บ ช่วยเหลือผู้อื่น ช่วยเหลือสังคม และประเทศชาติ
ประชาธิปไตย การเรียนรู้ต้องประกอบด้วย ตอ่ ไป และสอดคลอ้ งกับ จตุภูมิ เขตจัตรุ ัส (2560)
คุณลักษณะ 3 ประการ คือ (1) “ความรู้” ต้อง ที่กล่าว่า ความเป็นพลเมืองโลกของนักเรียน
ประกอบด้วยความรู้เก่ียวกับการปกครอง ระบอบ ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ คือ ด้านสัมพันธ์
ประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญ กฎหมาย องค์กรทาง ทางสังคม ได้แก่ การวิเคราะห์ข่าวสารข้อมูล
การเมือง สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ เสมอภาค ภราดรภาพ เหตุการณโลก การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การ
เป็นต้น พร้อมกับการเรียนรู้วัฒนธรรม ทาง เคารพสิทธิ เสรีภาพและความเสมอภาค การใช้
ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ท่ี ยั่ ง ยื น

110

การทางานร่วมกับผู้อ่ืน การเข้าร่วมกิจกรรมทาง วารสารการวิจยั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน
การเมืองในระดับต่างๆ และการมีจิตสาธารณะ
ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)
และ ด้านคุณลักษณะภายในบุคคล ได้แก่ การมี
ความรับผิดชอบต่อตนเอง ความซื่อสัตย์ การยอมรับ นอกจากนั้นตัวแปรเหลา่ น้ียังสอดคลอ้ งกับงานวิจัย
ของ ปาจรีย์ รัตนานุสนธ์ิ (2556) ไดศกึ ษาวจิ ยั เร่ือง
คุณค่าในความหลากหลาย และการมองเห็นและ การพัฒนาตัวบ่งช้ีคุณลักษณะความเป็นพลโลกของ
เข้าถึงปัญหาในฐานะของสมาชิกโลก และ นักเรียนมัธยมศึกษา นอกจากน้ี โมเดลการวัด
สอดคล้องกับแนวทางการศึกษาเพื่อให้เกิดการ ความเป็นพลโลกดังกล่าว แสดงให้เ ห็นว่า
ประกอบการวัดความเป็นพลโลกมีความครอบคลมุ ทกั ษะ
พัฒนาท่ียั่งยืนในอนาคตที่เน้นผลลัพธ์ด้านผู้เรียน เ พื่ อ ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต ใ น ศ ต ว ร ร ษ ท่ี 2 1
และความรู้ที่จาเป็น ทักษะและค่านิยม สอดคล้อง (21st Century Skills) (วิจารณ์ พานิช, 2555)
ทักษะในการดารงชีวิตในศตวรรษท่ี 21 ที่ทุกคน
กับ Hargreaves and Goodson (2004) ท่ีกล่าวว่า ต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต ประกอบด้วยการเรียนรู้
หลักสูตรความย่ังยืนมีความเป็นไปได้สาหรับ 3R x 7C 3R คือ Reading (อ่านออก), (W)Riting
ความร่วมมือระหว่างผู้เรียนและความพยายามใน (เขียนได้) และ (A) Rithemetics (คิดเลขเป็น)
และ 7C ไดแก ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
โลกของความเป็นจริง ซึ่งการบริการด้วยเป้าประสงค์ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking
เชิงคุณธรรม การมุ่งมั่นที่จะเปลี่ยนแปลงบริบท and Problem Solving) ทั ก ษ ะ ด้ า น ก า ร
สร้างสรรค์ และ นวัตกรรม (Creativity and
ในทุกระดับผ่านเครือข่าย การสามารถตรวจสอบได้ Innovation) ทักษะด้านความเข้าใจความต่าง
เชงิ ปัญญา และความสัมพนั ธ์ในแนวตั้งครอบคลุม ทางวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural
การสร้างความสามารถและความรับผิดชอบ การ Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ การ
ทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา (Collaboration,
เรียนรู้แบบเชิงลึก การมีพันธะผูกพนั แบบทวภิ าคี Teamwork and Leadership) ทั ก ษ ะ ด้ า น
กับผลระยะส้ันและระยะยาว การสร้างพลังครบ ก าร สื่อ สาร สาร สน เทศ และ รู เท่าทัน สื่อ
( Communications, Information, and Media
วงจร อีกท้ังโรงเรียนมกี ารดาเนินงานตามนโยบาย Literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี
ของกระทรวง ศึกษาธิการและพัฒนา ความเป็น สารสนเทศและการสอ่ื สาร (Computing and ICT
พลเมืองโลก ส่งเสริมกิจการนักเรียน มีการจัด Literacy) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู
(Career and Learning Skills) และองค์ประกอบ
ห ลั ก สู ต ร ท่ี ส่ ง เ ส ริ ม กั บ ค ว า ม เ ป็ น พ ล โ ล ก ใ ห้ กั บ ด้านพฤติกรรมของการเป็นพลเมืองน้ัน มีตัวบ่งช้ี
ผู้เรียน สอดคล้องกับสานักงานเลขาธิการสภา ได้แก่ การมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาสังคม การใช้สิทธิ
และปฏิบัติตามหน้าที่ของตนเองท่ีมีต่อสังคม และ
การศึกษา (2559) ไดม้ ขี ้อเสนอเชงิ นโยบายในการ ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ซึ่งตัวบ่งช้ี
สร้างพลเมือง ระดับมัธยมศึกษาเน้นความรู้ทักษะ การมสี ่วนร่วมเพื่อพัฒนาสังคม และ ตวั บง่ ชี้การใช้
และเจตคติเพื่อเป็นฐานของการประกอบอาชีพ สทิ ธแิ ละปฏิบตั ติ ามหน้าท่ีของตนเองท่ีมตี อ่ สังคม

หรือการศึกษาต่อแ ละก าร ดารงชีวิ ต ใน วิ ถี
ประชาธิปไตยสาระวิชาที่ควรเรียนรู้ได้แก่ สิทธิ

หน้าท่ีและ ความรับผิดชอบของความเป็นพลเมอื ง
ที่บูร ณาก าร กั บคุณธ ร ร มจริยธ ร ร ม ภาษา
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรม

เพศศึกษา การงานและอาชีพ โดยเน้นทักษะการ
คิดวิเคราะห์นวัตกรรมและการเรียนรู้ ทักษะชีวิต

และอาชีพ สารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี

111

การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหวา่ งปัจจยั ท่ีส่งผล วารสารการวิจยั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
ต่อความเป็นพลโลกของนักเรียนโรงเรียนโพน
ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)
ทองพัฒนาวิทยา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา ร้อยเอ็ด โดยใช้วิธี Multiple สอดคล้องกับ ทิพย์พาพร ตันติสุนทร (2554)
ที่กล่าวว่า คุณลักษณะของพลเมืองไทยในระบอบ
Regression ประชาธิปไตยน้ัน ประกอบด้วย 1) การเป็นผู้มี
พบว่าตัวแปรทุกตัวมีความสัมพันธ์ทางบวก ความรู้ มีการศึกษา สามารถมองเห็นและเข้าใจ
สงั คมของตนเองและสังคมโลก เฉกเชน่ เป็นสมาชิก
โดยมีค่าอยู่ระหว่าง .608 ถึง .717 เมื่อพิจารณา ของสังคม 2) ยึดถือประโยชน์ส่วนรวมและสังคม
เป็นหลัก 3) มคี วามรกั ในเสรีภาพและความรับผิดชอบ
ค่าความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร พบว่าคู่ที่มีค่า 4 ) เคาร พ ค ว ามเสมอ ภาค คว ามยุติธรรม
ความสัมพันธ์สูงสุด ได้แก่ ความรู้เชิงลึกกับ 5) มีความสามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นเหตุเป็นผล
6) มีความเข้าใจเร่ืองสิทธิมนุษยชน และยอมรับ
สิง่ แวดลอ้ มมคี ่าเท่ากับ.717 รองลงมาคือ ความรู้ ความแตกต่างในความเป็นพหุสังคม 7) เคารพ
เชงิ ลกึ กบั ประชาธปิ ไตย ส่วนค่ทู ่มี ีคา่ ความสมั พันธ์ กฎหมายและยึดหลักนิติรัฐ 8) มีความรู้ความ
ต่าสุด ได้แก่ ความรู้เชิงลึก กับ ความเป็นพลโลก เ ข้ า ใ จ ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ท า ง สั ง ค มแ ล ะ การเมือง
(Political Literacy) และเข้าไปมีส่วนร่วมทางการ
มีคา่ เทา่ กบั .608 เมือง (Political Participation) ทุกระดับ ตั้งแต่
การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ โดยใส่ ระดับชุมชน ท้องถิ่น ระดับชาติและนานาชาติ 9)
ยึดม่ันในหลักสันติวิธี ไม่ใช้ความรุนแรงในการ
ตัวแปรเรียงลาดับตามกรอบแนวคิดการวิจัย ซึ่ง แกป้ ัญหาความขัดแย้ง และสอดคลอ้ งกับ ปริญญา
การวิเคราะห์พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยท่ี เทวานฤมิตรกุล (2560) ท่ีกล่าวว่าพลเมือง
สง่ ผลตอ่ ความเปน็ พลเมอื งโลก ไดค้ า่ ประสิทธิภาพ ในระบอบประชาธิปไตย ประกอบด้วยลักษณะ
ของการทานาย R2 เท่ากับ .479 กล่าวได้ว่า 6 ประการ คือ 1. มีอิสรภาพและพึ่งตนเองได้
ความเป็นได้ของการตั้งสมมติฐานว่าปัจจัยท่ีส่งผล 2.เห็นคนเท่าเทียมกัน 3. ยอมรับความแตกต่าง
4. เคารพสิทธิผู้อื่น 5. รับผิดชอบต่อสังคม อีกทั้ง
ต่อความเป็นพลเมืองโลกอย่างย่ังยืน ท้ัง 3 ด้าน ก า ร ด า ร ง ต น ใ น สั ง ค ม โ ล ก มี ก า ร รั บ รู้ ถึ ง
ความสัมพันธ์กับความเป็นพลเมืองโลก ได้ร้อยละ ความเช่ือมโยงระหว่างกัน ทั่วโลกและความเข้าใจ
47.9 ส่วนอีกที่เหลือ ร้อยละ 50.3 เกิดจาก เก่ียวกับประเด็นปัญหา ท่ีส่งผลกระทบต่อบุคคล
และชีวิต และสอดคล้องกับสอดคล้องกับงานวิจยั
อิทธิพลของตัวแปรอ่ืน โดยพบปัจจัยท่ีส่งผลต่อ ของ อัญชลิกา ผิวเพชร (2555) ได้ทาวิจัยเร่ือง
ความเปน็ พลเมอื งโลก ไดแ้ ก่ ส่งิ แวดล้อม (beta= ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อจิตสาธารณะของ
นกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 ในเขตภาคตะวันออก
.289) ส่งผลต่อความเป็นพลเมืองโลก อย่างมี ปัจจัยที่มีอิทธิพลทางตรงต่อจิตสาธารณะของ
นัยสาคัญทางสถิติ ท่ีระดับ .00 ประชาธิปไตย นักเรียน คือ พฤติกรรมการสอนของครูและการ
(beta เท่ากับ .284 ) ส่งผลต่อความเป็นพลเมืองโลก อบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย และปัจจัยท่ีมี
อิทธิพลทางอ้อมต่อจิตสาธารณะของนักเรียน
อยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถิติ ทีร่ ะดบั .00 และความรู้ ได้แก่ คุณธรรม ความฉลาดทางอารมณ์ การเลย้ี งดู
เชิงลึก (beta เท่ากับ .203) ส่งผลต่อความเป็น แบบประชาธปิ ไตยและพฤตกิ รรมการสอนของครู

พ ล เ มื อ ง โ ล ก อ ย่ า ง มี นั ย ส า คั ญ ท า ง ส ถิ ติ 112
ที่ระดับ .00 ทเ่ี ปน็ เช่นนอ้ี าจเนอื่ งมาจากความเป็น
พลเมืองโลกมีความหลากหลายและแตกตา่ ง ดังน้ัน

การพัฒนานักเรียนให้มีความรับผิดขอบต่อสังคม
และสร้างผลกระทบเชิงบวกให้กับสังคมโลกนั้น

เกิดจากการยอมรบั ความแตกต่างหลากหลายและ
มสี ว่ นรว่ มในสังคม ซึง่ เป็นหลักการของประชาธิปไตย

ขอ้ เสนอแนะ วารสารการวิจัยการศึกษาขัน้ พื้นฐาน

1. ข้อเสนอแนะเก่ียวกับการนาผลการวิจัย ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)
ไปใชป้ ระโยชน์
การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด และให้ความสาคญั
จากผลการวิเคราะห์ตัวแปรที่ส่งผลความเป็น ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีความใส่ใจส่ิงแวดล้อม
พลโลกของนักเรยี นโรงเรยี นโพนทองพฒั นาวทิ ยา ส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตย และการเรียนรู้ที่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด พฒั นาผเู้ รียนใหม้ คี วามร้เู ชงิ ลกึ ให้มากขึ้น
ทาให้ไ ด้ตัว แปร จาน ว น 3 ตัว แปร ไ ด้แก่
สิ่งแวดล้อม ประชาธิปไตย และความรู้เชิงลึก 2. ขอ้ เสนอแนะเก่ียวกบั ประเด็นปญั หาท่ีควร
จึงมีความเหมาะสมสาหรับผู้ท่ีเก่ียวข้องกับการจดั ศึกษาวิจัย
การศึกษา ตลอดจนผู้ท่ีสนใจ สามารถนาไปใช้เพือ่
พัฒนาและส่งเสริมความเป็นพลโลกของนักเรียน เน่ืองจากการศึกษาคร้ังน้ี ทาการศึกษาใน
โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา สานักงานเขตพื้นท่ี บริบทของโรงเรยี นโพนทองพฒั นาวทิ ยา สานักงาน
เขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา ร้อยเอ็ด หากมี
การนาไปใช้ศึกษากับโรงเรียนอ่ืน หรือนาไปใช้
ในบริบทท่ีต่างกัน ควรมีการศึกษาเพ่ิมเติมเพือ่ ให้
ทราบปัจจัยท่ีเหมาะสมกับนักเรียนในโรงเรียนอื่น
ท่มี ีบรบิ ทแตกตา่ งกัน

เอกสารอา้ งอิง

จตภุ ูมิ เขตจัตรุ สั . (2560). การพัฒนาตวั บง่ ช้ีทักษะการเรียนร้แู ละนวัตกรรมของนักเรยี นในศตวรรษที่ 21.
ขอนแก่น : มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ .

จนิ ตนา ศรนี ุกลุ . (2557). ศูนย์เรียนรู้การเมืองและการเลอื กต้งั อาเซยี น: แนวทางการใหก้ ารศกึ ษา
เพอื่ สร้างพลเมอื งในระบอบประชาธปิ ไตย. รายงานการศึกษาส่วนบุคคล (Individual Study)
หลักสตู รนกั บริหารการทูต รนุ่ ท่ี 6 ปี 2557 สถาบันการตา่ งประเทศเทวะวงศว์ โรปการ
กระทรวงการตา่ งประเทศ.

ทิพยพ์ าพร ตนั ตสิ ุนทร. (2554). การศึกษาเพอื่ สร้างพลเมอื ง. กรงุ เทพฯ : สถาบันนโยบายศกึ ษา.
นงลกั ษณ์ วิรัชชัย. (2542). โมเดลลสิ เรล สถิติวเิ คราะห์สาหรบั การวจิ ยั . กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณ์

มหาวิทยาลยั .
บญุ ชม ศรีสะอาด. (2554). หลักการวิจัยเบือ้ งต้น. พิมพค์ รงั้ ที่ 9. กรุงเทพฯ : สุวิริยาสาส์น.
ปาจรีย์ รตั นานสุ นธ.ิ์ (2556). การพฒั นาตวั บง่ ช้ีคณุ ลักษณะความเปน็ พลโลกของนักเรยี นมัธยมศึกษา.

วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบณั ฑิต (วิธวี ิทยาการวิจัยการศกึ ษา). จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.
พิพฒั น์ นนทนาธรณ.์ (2553). การจัดการความรับผดิ ชอบ ตอ่ สังคมขององค์กร การสร้างขอ้ ได้เปรียบ

ในการแขง่ ขนั อยา่ งยงั่ ยืน. นนทบุรี : ธิงค์ บียอนด์ บ๊กุ ส์.
วิจารณ์ พานชิ . (2555). วิถสี ร้างการเรียนร้เู พอื่ ศษิ ยใ์ นศตวรรษที่ 21. กรงุ เทพฯ: มูลนธิ สิ ดศรี สฤษดวิ งศ์.
ศริ ิชัย กาญจนวาสี และคณะ. (2547). การเลือกใชส้ ถิตทิ ี่เหมาะสมสาหรับการวิจัย (พมิ พค์ รงั้ ที่ 4).

กรุงเทพฯ : บุญศิริการพมิ พ.์
สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย. (2550). รายงานประจาปี 2550. กรงุ เทพฯ: สถาบนั สิ่งแวดล้อมไทย.
สมคดิ สกุลสถาปัตย.์ (2552). รูปแบบภาวะผนู้ าการเปล่ียนแปลงที่มีประสิทธผิ ลตอ่ การปฏิรูปการศึกษา

อยา่ งย่ังยนื . วิทยานิพนธ์ ปร.ด (การบริหารการศกึ ษา). มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร.

113

วารสารการวิจยั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

สิริวรรณ ศรพี หล. (2551). โครงการการพัฒนาชุดฝกึ อบรมทางไกล เรื่องการจดั การเรยี น การสอน
เพ่ือพัฒนาลักษณะความเป็นพลโลกของนกั เรียนสาหรบั ครสู งั คมศึกษา. นนทบรุ ี : หาวิทยาลัย
สุโขทยั ธรรมาธริ าช.

สุวมิ ล ติรกานันท.์ (2542). ระเบียบวธิ วี ิจัยทางสังคมศาสตร:์ แนวทางสกู่ ารปฏบิ ตั .ิ กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.

สานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ . (2555). แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คม
แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 11. สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต.ิ กรงุ เทพฯ.

สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา (2559 : 187) สภาวการณก์ ารศกึ ษาไทย กรุงเทพฯ:
จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อัญชลิกา ผวิ เพชร. (2555). ปจั จยั เชงิ สาเหตทุ ี่มีอทิ ธพิ ลตอ่ จิตสาธารณะของนกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4
ในเขตภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ตอนบน. วทิ ยานิพนธ์ กศ.ม.(การวจิ ยั การศกึ ษา) . มหาสารคาม :
บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม

Cogan, J. J. and Derricott, R. (2000). Citizenship for the 21th Century: an international
perspective on education. London : Kogan page.

Hargreaves, A. (2004). Sustainable Leadership. San Francisco: Jersey–Bass.
UNESCO (2015). Global citizenship education: topics and learning objectives. Available

at : http://unesdoc.unesco.org/images/0023/002329/232993e.pdf

114

วารสารการวิจยั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

แนวทางการดาเนนิ งานการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา
สังกดั สานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสิงห์บุรี

The Guidelines for the implementation of quality assurance with in
educational institutions under Singburi Primary Educational Service Area Office

สยาม สมุ่ งาม*
Siam Sumngam

บทคัดยอ่

การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการดาเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
2) เพื่อสร้างแนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และ 3) เพื่อตรวจสอบแนวทางทางการประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสิงหบ์ ุรี วิธีดาเนินการวิจัย ผู้วิจัย
ใช้ระเบยี บวิธีวจิ ัยและพฒั นา (Research and Development : R & D) มีขน้ั ตอนการวจิ ยั จานวน 3 ขน้ั ตอน
ดงั นี้

ขั้นตอนท่ี 1 การศึกษาดาเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี โดยใช้แหล่งข้อมูลบุคคลสาหรับตอบแบบสอบถาม คือ ผู้บริหารสถานศึกษา
ครูวิชาการ ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน และผู้แทนผู้ปกครองนักเรียน กลุ่มละ 97 คน
รวมท้งั สนิ้ จานวน 338 คน

ขนั้ ตอนที่ 2 สรา้ งแนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดสานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา
ประถมศึกษาสิงห์บุรี โดยข้อมูลประกอบด้วย 1) เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษา 2) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามการดาเนินการประกันคุณภาพภายใน
สถานศกึ ษาสังกดั สานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาสิงหบ์ ุรี จากตอนที่ 1

ข้ันตอนท่ี 3 การตรวจสอบแนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพน้ื ที่
การศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี โดยใช้วิธีการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) ผู้ร่วมสนทนากลุ่ม
ประกอบด้วย 1) ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จานวน 1 คน 2) รองผู้อานวยการ
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา จานวน 3 คน 3) ศึกษานิเทศก์ จานวน 3 คน
4) ผอู้ านวยการโรงเรียน จานวน 3 คน และ 5) ครวู ชิ าการ จานวน 2 คน รวม 12 คน

ผลการวิจยั พบว่า

ตอนท่ี 1 ผลการดาเนนิ งานการประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา สงั กดั สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา
ประถมศกึ ษาสิงหบ์ รุ ี ประกอบด้วย 4 ประเด็นย่อย

1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา พบว่าด้านระดับปฐมวัย เมื่อพิจารณา
โดยภาพรวม การดาเนนิ งานประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา อยู่ในระดบั มากท่ีสดุ มคี ่าเฉล่ยี (µ) เท่ากบั 4.57

*รองผู้อานวยการสานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา ดร. สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสิงหบ์ รุ ี
The deputy director of Service Area Office Dr., Singburi Primary Educational Service Area Office

115

วารสารการวิจยั การศึกษาข้นั พื้นฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

และด้านระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เม่ือพิจารณาโดยภาพรวม การดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
อยูใ่ นระดับมากทสี่ ุด มคี ่าเฉลย่ี (µ) เทา่ กบั 4.59

2. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามความคิดเห็นของครูวิชาการ พบว่า ด้านระดับปฐมวัย เม่ือพิจารณาโดย
ภาพรวม การดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา อยู่ในระดับ มากที่สุดมีค่าเฉล่ีย (µ) เท่ากับ 4.57 และ
ดา้ นระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เม่อื พิจารณาโดยภาพรวม การดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา อยู่ใน
ระดบั มากทส่ี ุด มคี ่าเฉลยี่ (µ) เท่ากับ 4.59

3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามความคิดเห็นของประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พบว่าด้าน
ระดับปฐมวัย เมื่อพิจารณาโดยภาพรวม การดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา อยู่ในระดับมากที่สุด
มีค่าเฉล่ีย (µ) เท่ากับ 4.59 และด้านระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อพิจารณาโดยภาพรวม การดาเนินงานประกัน
คณุ ภาพภายในสถานศึกษาอยใู่ นระดับมากทสี่ ุด มีคา่ เฉลย่ี (µ) เท่ากบั 4.60

4. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามความคิดเห็นของผู้แทนผู้ปกครองนักเรียน พบว่า ด้านระดับการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน เมื่อพิจารณาโดยภาพรวม การดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา อยู่ในระดับมากท่ีสุด
มีค่าเฉลย่ี (µ) เท่ากับ 4.62

ตอนท่ี 2 ผลการสร้างแนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศกึ ษาสงิ หบ์ รุ ี ประกอบด้วย 5 ด้าน ดังน้ี

1. โครงสร้างการบริหารงาน การดาเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
แนวทางการดาเนินงานควรประกอบด้วย 2 ระดับ คือ ระดับอานวยการ และระดับดาเนินงาน แต่ละ

ระดบั มดี ังน้ี
1.1 ระดับอานวยการ ประกอบด้วย ผู้อานวยการสถานศึกษา เป็นประธาน รองผู้อานวยการ

สถานศึกษาฝ่ายวิชาการ เป็นรองประธาน หัวหน้าฝ่ายบุคคล เป็นกรรมการ หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไปเป็นกรรมการ
และหัวหน้าฝา่ ยวัดและประเมินผล เปน็ กรรมการและเลขานุการ

1.2 ระดับดาเนินงาน ประกอบด้วย รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ เป็นรองประธาน ครูหัวหน้าฝ่าย/
หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้ เปน็ กรรมการ หวั หน้าฝ่ายวัดและประเมินผล เปน็ กรรมการและเลขานุการ

2. บุคลากรทด่ี าเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ประกอบดว้ ย
2.1 ผู้บริหารสถานศึกษา
2.2 ครผู ูส้ อน/บุคลากรทางการศึกษา

3. ภารกจิ การดาเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ประกอบดว้ ย 3.1 การวางแผนการดาเนินงาน
3.2 การดาเนินงานตามแผน 3.3 การตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล 3.4 การปรับปรุง พฒั นาอย่างต่อเนื่อง

4. การเตรยี มความพรอ้ มดา้ นอ่ืนๆ เพอื่ ดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาด้านเทคโนโลยีข้อมูล
สารสนเทศ อาคารสถานที่ ส่ือวัสดุ อปุ กรณ์ งบประมาณ และทรพั ยากรตา่ งๆ

5. การรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ตอ่ หนว่ ยงานต้นสังกัดและหน่วยงานท่ีเกีย่ วข้อง
ตอนท่ี 3 ผลการตรวจสอบแนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี ผลการวิเคราะห์ข้อมูลภาพรวมท้ัง 4 ด้าน คือ ความถูกต้อง ความเหมาะสม
ความเป็นไปได้ และความเปน็ ประโยชน์ พบว่า อย่ใู นระดบั มากที่สุด มคี ่าเฉลย่ี (µ) เท่ากับ 4.60

116

วารสารการวิจยั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

คาสาคัญ : การประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา

Abstract
The objectives of this research are 1) to study quality assurance operations within

educational institutions 2) to establish guidelines for quality assurance within educational
institutions and 3) to examine guidelines for quality assurance within educational institutions under
the Singburi Primary Educational Service Area Office.

Researchers used research and development methodology (R & D) which had 3 steps as
follows; step 1 is to study and implementation of quality assurance within educational institutions
under the Singburi Primary Educational Service Area Office. The questionnaires were use with the
school administrators, academic teachers, the basic education institution committee chairmen and
representatives of parents of each group of 97 students, totaling 338 people.

Step 2 is to establish guidelines for quality assurance within educational institutions under
the Singburi Primary Educational Service Area Office. The data consisted of 1) documents and
research related to the quality assurance within the schools 2) the results of the analysis of the
data from the questionnaires on the quality assurance procedure in schools under the Singburi
Primary Educational Service Area Office.

Step 3 is to inspect the quality assurance guidelines within educational institutions under
the Singburi Primary Educational Service Area Office by using focus group discussion, participants
consisted of 1) Director of the Primary Education Service Area Office, totaling 1 person,
2) Deputy Director of the Primary Education Service Area Office, totaling 3 persons 3) Supervisors
totaling 3 persons 4) School director 3 persons and 5) Academic teachers 2 persons, totaling
12 persons.

The results of the research were as the following parts:
Part 1 The Performance of Quality Assurance in Educational Institutions under Singburi
Primary Educational Service Area Office are divided into 4 parts.
1. The data analysis results based on opinions of the school administrators found that the
primary level Overall considering the quality assurance in educational institutions was at the highest
level, with mean of 4.57 and basic education level. Overall considering Quality assurance in
educational institutions was at the highest level with mean (µ) of 4.59.
2. The results of data analysis based on opinions of academic teachers found that the
primary Overall considering the quality assurance in educational institutions was at the highest
level, with mean (µ) of 4.57 and basic education level. Overall considering quality assurance
in educational institutions was at the highest level with mean (µ) of 4.59.
3. The results of data analysis based on opinions of the chairman of the basic education
institution committee found that the primary level Overall considering the quality assurance

117

วารสารการวิจยั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

in educational institutions was at the highest level, with mean (µ) of 4.59 and basic education level.
Overall considering Quality assurance in educational institutions was at the highest level with
mean (µ) of 4.60.

4. The analysis of the data based on the opinions of the student's parents showed that
the basic education level. Overall considering Quality assurance in education institutions was at
the highest level with mean (µ) of 4.62.

Part 2 The results of establishing an approach to quality assurance in schools under Singburi
Primary Educational Service Area Office consists of 5 areas are as follows;

1. Management Structure Conducting quality assurance within educational institutions.
Operational guidelines should consist of two levels: the managerial and operational level which
each level is;

1.1 The Directorate Level consists of the School Director as the President and the
Deputy Director of the Educational Institution. As vice president the head of HR is a director,
the head of general administration is a director and the Head of Measurement and Evaluation
Department being a director and secretary

1. 2 Operational level consists of Deputy Academic Director As vice president
The teacher, the head of the department / the head of the learning material group is the director,
the head of measurement and evaluation Being a director and secretary

2. Personnel conducting quality assurance within educational institutions consists of
2.1 School administrators and
2.2 Teachers / Educational Personnel

3. The mission of conducting quality assurance within educational institutes consists of
3.1 planning operations.
3.2 Implementation of the plan
3.3 Audit, monitoring and evaluation and
3.4 Improvement Continuous improvements.

4. Other preparations carry out quality assurance work within educational institutions
Information technology, buildings, media, materials, equipment, budgets and resources.

5. Self-Assessment Reporting (SAR) to the Affiliate and Related Agencies
Part 3 Results of the internal quality assurance guidelines audit under Singburi Primary
Educational Service Area Office. The results of the analysis of the visual data included 4 aspects;
accuracy, suitability, feasibility and usefulness were found to be at the highest level with mean
(µ) of 4.60.

Keyword : quality assurance operations within educational institutions

118

บทนา วารสารการวิจยั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

“ ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ต้ อ ง เ ป็ น ไ ป เ พ่ื อ พั ฒ น า ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)
คนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ
สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและ มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะ และมีคณุ ลักษณะที่
วัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน พึงประสงค์ตามท่ีหลกั สูตรสถานศกึ ษากาหนด ดงั น้ัน
ได้อย่างมีความสุข โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มุ่ง ผู้เรียนจึงเป็นบุคคลสาคัญท่ีสุดที่สถานศึกษาที่ต้อง
ปลูกฝังจติ สานกึ ท่ีถูกต้อง มคี วามภาคภูมใิ จในความเป็น คานึงถึงตลอดเวลา ไม่ว่าจะคิดทากิจกรรมใดหรือ
ไทย รู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวม และของ โครงการใดก็ตาม ผู้เรียนจะต้องได้รับผลหรือ
ประเทศชาติ รวมท้ังส่งเสริมศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ปร ะ โ ยชน์ท่ีเกิดขึ้นท้ังโ ดยตรง และ โดยอ้อม
ของชาติ การกีฬา ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย นอกจากนใ้ี นการจัดการศึกษาจาเป็นต้องอาศยั การมี
และ คว ามรู้อัน เป็น สาก ล ตลอดจน อ นุรัก ษ์ ส่วนร่วมของบุคคลทุกฝ่ายที่เก่ียวข้อง เพ่ือให้ผู้เรียน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความสามารถใน เกิดการเรยี นรอู้ ย่างมคี ุณภาพตามที่คาดหวัง ดังนั้น
การประกอบอาชีพ รู้จักพ่ึงตนเอง มีความคิดริเร่ิม กระบวนการประกันคุณภาพการศึกษาจึงเป็นเคร่ืองมือ
สร้างสรรค์ ใฝ่รู้และเรียนรูด้ ้วยตนเองอย่างต่อเนอ่ื ง” ท่ีมีความสาคัญอย่างย่ิงในการจัดการศึกษาในปัจจุบัน
เป็นความมุ่งหมายของการจัดการศึกษา ตาม และต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง (ธีระวัฒน์
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และ วรรณนุช, 2561 : 3)
ทแ่ี กไ้ ขเพ่มิ เตมิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และได้กาหนด
หลกั การสาคัญขอ้ หนง่ึ คือ ให้มีการกาหนดมาตรฐาน ทั้งนี้ กฎกระทรวง การประกันคุณภาพ
การศึกษาและจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษา การศึกษา พ.ศ. 2561 ได้ให้ความหมายของ “การ
ทุกระดับและประเภทการศึกษา โดยที่กาหนดให้ ประกันคุณภาพการศึกษา” วา่ เป็นการประเมินและ
“มาตรฐานและการประกนั คณุ ภาพการศึกษา” เปน็ การติดตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานศึกษา
ภารกิจสาคัญหมวดหน่งึ ท่ีสถานศึกษาและหนว่ ยงาน แต่ละระดับและประเภทการศึกษา โดยมีกลไก
ท่ีเก่ียวข้องต้องดาเนินการ อีกท้ังต้องเป็นไปตาม ในการควบคุมตรวจสอบระบบการบริหารคุณภาพ
ระบบ หลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารทีก่ ระทรวงศึกษาธิการ การศึกษาที่สถานศึกษาจัดขึ้น เพื่อให้เกิดการพัฒนา
เปน็ ผูก้ าหนด (สพุ ิชญา กลนั นุรกั ษ์, 2559 : 1) และสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้มีส่วนเก่ียวข้องและ
สาธารณชนว่าสถานศึกษาน้ันสามารถจัดการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นกลไก ได้อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และ
สาคัญประการหน่ึงท่ีสามารถขับเคลื่อนการพัฒนา ตามกฎกระทรวงน้ี ข้อ 3 กาหนดให้สถานศึกษา
คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ใ ห้ ด า เ นิ น ไ ป อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง แต่ละแห่งจัดให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษา
ปฏิบัติงานได้อย่างเป็นระบบ มีคุณภาพตาม ภายในสถานศึกษา โดยการกาหนดมาตรฐาน
มาตรฐาน ผู้ที่จบการศึกษามีคุณภาพตามที่มุ่งหวัง การศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐาน
ผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กร/สถานประกอบการ ก า ร ศึ ก ษ า แ ต่ ล ะ ร ะ ดั บ แ ล ะ ป ร ะ เ ภ ท ก า ร ศึ ก ษ า ที่
ที่รับช่วงผู้จบการศึกษาแต่ละแห่งมีคุณภาพได้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศ
มาตรฐาน แม้จะไมเ่ ท่ากนั แต่ก็แตกต่างกันไม่มากนัก กาหนด พร้อมทั้งจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
นักเรียนท่ีจบการศึกษาจากสถานศึกษาทุกแห่ง ของสถานศึกษาท่มี ุง่ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
และดาเนินการตามแผนท่ีกาหนดไว้ จัดให้มีการ
ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายใน
สถานศึกษา ติดตามผลการดาเนินการเพ่ือพัฒนา

119

สถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และ วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

จัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงาน ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)
ต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กากับดูแลสถานศึกษาเป็น
ประจาทุกปี ดังนั้นจะเห็นได้ว่าระบบการประกัน จ า ก ร า ย ง า น ผ ล ก า ร วิ จั ย ข อ ง ส า นั ก ง า น
รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
คุณภาพภายในสถานศึกษาเป็นเหมือนแผนท่ีในการ (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. ในการประเมินรอบท่ี
เ ดิ น ท า ง พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ผ่านมา พบว่าโดยภาพรวมของประเทศ สถานศึกษา
ยังไม่เห็นความสาคัญต่อการประกันคุณภาพภายใน
ส ถ า น ศึ ก ษ า ท่ี ผู้ บ ริ ห า ร ส ถ า น ศึ ก ษ า จ ะ ต้ อ ง ใ ห้ สถานศึกษา ผู้บริหาร ครูและผู้เก่ียวข้องยังขาด
ความสาคัญ และใช้เป็นแนวทางการพัฒนา ความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ียวกับระบบการประกนั คุณภาพ
สถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ภายใน การปฏิบัติงานการประกันคุณภาพภายใน
จึงขาดประสิทธิภาพส่งผลให้การพัฒนาคุณภาพ
(ปียานันต์ บญุ ธมิ า, 2561 : 2) สถานศึกษาไม่บรรลุเป้าหมายท่ีกาหนด นับเป็นอีก
ในการพัฒนาการประกันคุณภาพภายใน ปัญหาสาคัญที่ส่งผลให้คุณภาพการศึกษาต่ากว่า
มาตรฐานการศึกษาท่ีกระทรวงศึกษาธิการกาหนด
สถานศึกษาให้เข้มแข็ง มีประสิทธิภาพและ (เทวนั เงาะเศษ,2560:280-281)
ดาเนิน ก าร อย่าง ย่ัง ยืน ผู้เกี่ ยว ข้อง ทุ ก ฝ่ า ย
ในสถานศึกษาต้องมีการทางานที่มุ่งประโยชน์ที่จะ สภาพการดาเนินการการประกันคุณภาพ
ระดับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
เกิดแก่ผู้เรียนเป็นสาคัญโดยมีความตระหนัก รับรู้ พบว่าจากผลการประเมินภายนอกรอบสาม (พ.ศ.
และเห็นคุณค่าของการทางานเป็นระบบ ผู้เรียนมี 2554-2558) ของสถานศึกษาในสังกัดสานักงาน
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ข้ั น พื้ น ฐ า น
คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ปี 2554 พบวา่ ผลการประเมนิ ของสถานศึกษาระดับ
มีการกาหนดเป้าหมาย และดาเนินกิจกรรม/ การศึกษาข้ันพื้นฐาน จานวนทั้งหมด 7,042 แห่ง
โครงการท่ีใช้ผลการประเมินตนเอง ผลการประเมิน มีผลการประเมนิ ที่ได้รับการรบั รองมาตรฐาน จานวน
4,923 แห่ง (ร้อยละ 69.91) ไม่ได้รับการรับรอง
คุณภาพจากองค์กรภายนอก หรือผลการวิจัยที่ จานวน 2,119 แห่ง (ร้อยละ 30.09) ส่วนใหญ่มี
สถานศึกษาจัดทาขึ้น เพ่ือแก้ปัญหาหรือพัฒนา ผลการประเมิน ตัวบ่งช้ที ี่ 5 ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน
ของผู้เรียนอยู่ในระดับพอใช้ และผลการประเมินใน
ผู้เรียนของสถานศึกษาเองตลอดจนใช้ผลการวิจัย ระดับท่ีต้องปรับปรุงเร่งด่วน คือ ตัวบ่งชี้ที่ 6
อ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นฐานในการกาหนดเป้าหมาย ประสิทธิผลการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน
คุณภาพผู้เรียน การติดตามตรวจสอบ และปรับปรุง เป็นสาคัญ และตัวบ่งช้ีที่ 12 ผลการส่งเสริมพัฒนา
สถานศึกษาเพ่ือยกระดับมาตรฐานและพัฒนาสู่
งานเป็นระยะจะช่วยให้งานบรรลุผลได้อย่างดีและ ค ว า ม เ ป็ น เ ลิ ศ ที่ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ แ น ว ท า ง ป ฏิ รู ป
มีประสิทธิภาพ ผลท่ีเกิดกับผู้เรียนจะเป็นท่ีพึงพอใจ การศึกษา (สภุ ัค พวงขจร,2561:116)

กั บ ผู้ ป ก ค ร อ ง ชุ ม ช น แ ล ะ อ ง ค์ ก ร ห รื อ ในปี พ.ศ.2561 กระทรวงศึกษาธิการ มี
สถานประกอบการที่รับช่วงต่อจากสถานศึกษา ด้วย น โ ย บ า ย ป ฏิ รู ป ร ะ บ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น แ ล ะ ป ร ะ กั น
การดาเนินงานที่ทุกคนมีจิตสานึก ความรับผิดชอบ คุณภาพการศึกษา ส่งเสริมสถานศึกษาให้มีการ
พั ฒ น า ร ะ บ บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น แ ล ะ ก า ร ป ร ะ กั น
ร่วมกันเช่นน้ี การประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา
จะเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารจัดการสถานศึกษา 120

ท่ีแท้จริง และมีการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองจนเป็น
วิถีชีวิต ในการทางานของทุกคนเป็นวัฒนธรรมของ
องค์กรท่ียึดคุณภาพผู้เรียนเป็นสาคัญ (ปียานันต์

บุญธิมา, 2561 : 2)

คณุ ภาพภายในของ สถานศกึ ษาแนวใหม่ โดยม่งุ หวัง วารสารการวิจยั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน

ให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และระบบการ ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)
ประกันคุณภาพภายในท่เี ขม้ แขง็ ในการจดั การศึกษา
ของสถานศึกษาท่ีมีประสิทธภิ าพ ดูได้จากผลการจดั อย่างเป็นระบบ ชัดเจน และเพ่ือคุณภาพผู้เรียน
อย่างแท้จริง แต่การดาเนินการดังกล่าวยังคงมี
การศึกษา ด้านคุณภาพของ ผู้เรียน ด้านกระบวน โรงเรียนในสังกัดบางส่วน การปรับเปลี่ยนโยกย้าย
การบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหาร ครูและบุคลากรจึงส่งผลให้การดาเนินงาน
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ยังไม่บรรลุ
ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน ตามเปา้ หมายที่กาหนด
เป็นสาคัญ และด้านระบบประกนั คุณภาพภายในที่มี
ความเข้มแข็งและมีประสิทธิผล และสานักงาน จากความเป็นมาและความสาคัญดังกล่าว
จะเห็นได้ว่าการประกันคุณภาพการศึกษาของ
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานจึงได้กาหนดให้ สถานศึกษา น่ันคอื จัดให้มีระบบการประกนั คณุ ภาพ
สถานศึกษาในสังกัด ดาเนินงานการประเมิน ภายในให้สอดคล้องกับกฎกระทรวงท่ีกาหนด และ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการ ศึกษ า
คุณภาพภายในของสถานศึกษาเป็นประจาทุกปีโดย ในแต่ละระดับการศึกษา สานักงานเขตพ้ืนท่ี
ให้จัดทาเป็นการรายงานผลการประเมินตนเอง การศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี ได้เห็นความสาคัญ
(Self-Assessment Report) (สานักงานเขตพ้ืนที่ และจาเป็นดังกล่าวจึงได้ศึกษาการดาเนินงาน
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียน
การศกึ ษาประถมศกึ ษาสงิ ห์บุรี,2561:6) สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ในส่วนของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สงิ หบ์ รุ ี ซึง่ เปน็ โรงเรยี นท่ีประสบความสาเร็จ มีระบบ
การประกนั คุณภาพภายในท่ีชัดเจน ครแู ละบคุ ลากร
ประถมศึกษาสิงห์บุรี จากการนิเทศ กากับติดตาม มีส่วนร่วม และผ่านการประเมินภายนอกรอบสี่
และจากรายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) ผู้วิจัยจึงได้ศึกษาการดาเนินงานการประกันคุณภาพ
ปกี ารศกึ ษา 2563 ที่ผ่านมาพบว่า สถานศึกษาสังกัด ภายในสถานศึกษาและสร้างแนวทางการดาเนนิ งาน
การประกันคุณภาพภายในข้ึน อันจะก่อให้เกิด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี ประโยชนใ์ นการกาหนดแนวทาง มาตรการ แนวทาง
จานวน 97 แห่ง บางส่วนยังมิได้ให้ความสาคัญกับ ก าร ดาเนิน ง าน ก าร ปร ะ กั น คุณภาพ ภ า ย ใ น
สถานศึกษาที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ สาหรับ
การประกันคุณภาพภายใน ขาดความรู้ความเข้าใจ โรงเรียนต่างๆ ได้นาไปประยุกต์ใช้ ให้เหมาะสมกับ
อย่างแท้จริง และมิได้นาระบบการประกันคุณภาพ บริบทของแต่ละโรงเรียนตอ่ ไป
ภายในมาเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารจัดการศึกษา
วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย
ครูและบุคลากรยังมิได้มีส่วนร่วมอย่างแท้จริง แม้ว่า 1.เพ่ือศึกษาการดาเนินงานการประกัน
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี
คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัด สานักงาน
จะไดด้ าเนนิ งานสง่ เสรมิ สนับสนนุ จดั ประชมุ อบรม เขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสิงห์บรุ ี
สัมมนา นิเทศ กากับติดตาม สถานศึกษาทุกแห่ง
ในสังกัดให้มีการเตรียมความพร้อมเพ่ือดาเนินการ 2.เพ่ือสร้างแนวทางการประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษา สังกัด สานักงานเขตพื้นที่
ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ การศกึ ษาประถมศึกษาสิงห์บุรี
โดยศกึ ษากฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศึกษา
121
ม า ต ร ฐ า น ก า ร ศึ ก ษ า เ พ่ื อ ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ
การศึกษาให้ชัดเจนแล้วนาไปสู่กระบวนการประกัน
คุณภาพตามกรอบ เง่ือนไข และแนวทางท่ีกาหนด

เ พ่ื อ จ ะ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า

3.เพ่ือตรวจสอบแนวทางทางการประกัน วารสารการวิจยั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัด สานักงาน
เขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาสิงหบ์ ุรี ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

วิธีดาเนินการวิจยั 5.การวิเคราะหข์ อ้ มลู และสถติ ิท่ใี ช้ นาข้อมลู จาก
ผู้วิ จัยใช้ร ะ เบียบวิ ธี วิ จัยเชิง ป ริ ม า ณ แบบสอบถามมาหาค่าเฉลี่ย (µ) และส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน ตรวจใหค้ ะแนนตามเกณฑ์ทกี่ าหนด
( Quantitative Research) แ ล ะ เ ชิ ง คุ ณ ภ า พ
(Qualitative Research) มีขั้นตอนการวิจัย จานวน ข้ันตอนที่ 2 สร้างแนวทางการประกัน
3 ข้ันตอน ดงั นี้ คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัด สานักงาน
เขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสงิ ห์บรุ ี
ขั้ น ต อ น ท่ี 1 ก า ร ศึ ก ษ า ด า เ นิ น ง า น
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัด 1.แหล่งขอ้ มูล ประกอบด้วย 1) เอกสารและ
สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสงิ ห์บรุ ี งานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพภายใน
สถาน ศึก ษา 2) ผลก าร วิ เคร าะห์ข้อมูลจาก
1.แหล่งข้อมูล ประกอบด้วย เอกสาร แบบสอบถามการดาเนินการประกันคุณภาพภายใน
รายงานการประเมินตนเอง (SAR) เอกสารท่ี สถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
เก่ียวข้องกับการดาเนินงานการประกันคุณภาพ ประถมศึกษาสงิ ห์บุรี จากตอนที่ 1
การศึกษาของโรงเรียน และแหล่งข้อมูลบุคคล คือ
ผู้บริหาร สถาน ศึก ษา ครูวิ ชาก าร ปร ะ ธ าน 2.ตัวแปรที่ศึกษา คือ แนวทางการประกัน
คณะ กรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และผู้แทน คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา สังกัดสานกั งานเขตพื้นที่
ผู้ปกครองนักเรียน กลุ่มละ 97 คน รวม จานวน การศกึ ษาประถมศึกษาสิงห์บุรี
338 คน
3.เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย คือ แบบบันทึก
2.ตัวแปรทศ่ี กึ ษา คือ การดาเนนิ การประกนั การวิเคราะห์เน้ือหา (Content Analysis) แนวทาง
คุณภาพภายในสถานศกึ ษา สงั กดั สานกั งานเขตพ้ืนที่ ก าร ดาเนิ น ง าน ร ะ บบก าร ปร ะ กั น คุ ณภ าพ ภ า ย ใ น
การศกึ ษาประถมศึกษาสิงหบ์ ุรี สถานศึกษา สังกัด สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศกึ ษาสิงห์บุรี
3.เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม
ก าร ดาเนิน ง าน ก าร ปร ะ กั น คุณภาพ ภ า ย ใ น 4.การเก็บรวบรวมข้อมูล จากประเด็นท่ี
สถานศึกษา สังกัด สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา กาหนดจากแหล่งข้อมูล ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
ปร ะ ถมศึก ษาสิง ห์บุรี มีค่า IOC อยู่ร ะ หว่ าง 1) เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการประกัน
0.80-1.00 คุณภาพภายในสถานศึกษา 2) ผลการวิเคราะห์
ข้อมูลจากแบบสอบถามการดาเนินการประกัน
4.การเก็บรวบรวมข้อมูล นาแบบสอบถาม คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัด สานักงาน
มอบให้ผู้อานวยการโรงเรียน สังกัด สานักงาน เขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสงิ หบ์ รุ ี
เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี คราว
ประชุมผู้บริหารสถานศึกษาประจาเดือน มีนาคม 5.การวิเคราะห์ข้อมูล ในขั้นตอนท่ี 2
พ.ศ. 2563 ใช้วิธีการวิเคราะห์เนอื้ หา (Content Analysis) เพ่ือ
นาผลการวิเคราะห์ข้อมูล มายกร่างแนวทางการ
ด า เ นิ น ง า น ร ะ บ บ ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น
สถานศึกษา สังกัด สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาสิงห์บรุ ี

122

ข้ันตอนท่ี 3 การตรวจสอบแนวทางการ วารสารการวิจยั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน

ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดสานักงาน ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)
เขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสงิ ห์บรุ ี
สรุปผลการวิจยั
1.แหล่งข้อมูล ผู้เข้าร่วมสนทนากลุ่ม รายงานวจิ ยั เรื่อง การดาเนินงานการประกัน

( Focus Group Discussion) จ า น ว น 12 ค น คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัด สานักงานเขต
ประกอบด้วย1) ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา พ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี มีผลการ
วิเคราะห์ขอ้ มลู แบง่ ออกเปน็ 3 ตอนดงั น้ี
ประถมศึกษา จานวน 1 คน 2) รองผู้อานวยการ
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา จานวน ตอนท่ี 1 ผลการดาเนินงานการประกัน
3คน 3) ศึกษานิเทศก์ จานวน 3คน 4) ผู้อานวยการ คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัด สานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี ประกอบ
โรงเรียน จานวน 3 คน และ 5) ครูวิชาการ จานวน ดว้ ย 4 ประเดน็ ยอ่ ย ดงั น้ี
2 คน
1.ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล การดาเนินงานการ
2.ตัวแปรท่ีศึกษา คือ ความถูกต้อง ความ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัด สานักงาน
เหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี ตามความ
แนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา คิดเห็นของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา พบว่า

สังกัด สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา ด้านระดับปฐมวัย เม่ือพิจารณาโดย
สงิ ห์บรุ ี ภาพรวม การดาเนินงานประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา อยู่ในระดับ มากท่ีสุด มีค่าเฉล่ีย (µ)
3.เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวจิ ัย คอื แบบประเมิน เท่ากับ 4.57 และด้านระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนวทางการดาเนินงานการประกันคุณภาพภายใน เมื่อพิจารณาโดยภาพรวม การดาเนินงานประกัน
สถานศึกษา สังกัด สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา คุณภาพภายในสถานศึกษา อยู่ในระดับ มากท่ีสุด
มีคา่ เฉลีย่ (µ) เทา่ กับ 4.59
ประถมศึกษาสิงห์บุรี สาหรับผู้เข้าร่วมสนทนากลุ่ม
(Focus Group Discussion) 2.ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การดาเนินงาน
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัด
4.การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยดาเนินการ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี
จั ด ส น ท น า ก ลุ่ ม ( Focus Group Discussion) ตามความคิดเหน็ ของครูวชิ าการ พบวา่
ผู้เช่ียวชาญ จานวน 12 คน เพ่ือร่วมตรวจสอบ
ด้านระดับปฐมวัย เมื่อพิจารณาโดย
แนวทางการประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา วนั ที่ ภาพรวม การดาเนินงานประกันคุณภาพภายใน
15 เดือนมกราคม พ.ศ.2564 ณ ห้องประชุมชั้น 3 สถานศึกษา อยู่ในระดับ มากท่ีสุด มีค่าเฉลี่ย (µ)
เท่ากับ 4.57 และด้านระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน
สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสิงห์บรุ ี เมื่อพิจารณาโดยภาพรวม การดาเนินงานประกัน
5.การวิเคราะห์ข้อมลู และสถิติทใี่ ช้ นาขอ้ มูล คุณภาพภายในสถานศึกษา อยู่ในระดับ มากท่ีสุด
มีค่าเฉลยี่ (µ) เท่ากับ 4.59
จาก 1) แบบประเมินมาหาค่าเฉล่ีย (µ) และส่วน

เบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) ตรวจใหค้ ะแนนตามเกณฑ์
ที่กาหนด 2) ข้อเสนอแนะเพมิ่ เติมจากผู้ร่วมสนทนา

กลุม่ นามาสรา้ งขอ้ สรุปแบบอปุ นัย

123

3.ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู การดาเนินงานการ วารสารการวิจยั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัด สานักงาน ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)
เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี ตามความ
คิดเห็นของประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น หัวหน้าฝ่ายบริหารท่ัวไปเป็นกรรมการ และหัวหน้า
ฝ่ายวดั และประเมนิ ผล เป็นกรรมการและเลขานุการ
พื้นฐาน พบว่า
ด้านระดับปฐมวัย เม่ือพิจารณาโดย แนวทางการดาเนินงาน ดังนี้
1.1.1 แต่งต้ังคณะกรรมการผู้รับ
ภาพรวม การดาเนินงานประกันคุณภาพภายใน ผิด ชอบการดาเนินงานการประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา อยู่ในระดับ มากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (µ) สถานศกึ ษา
เท่ากับ 4.59 และด้านระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน 1.1.2 กากับ ควบคมุ ดแู ล และอานวย
ความสะดวกการดาเนินงานการประกันคุณภาพ
เมื่อพิจารณาโดยภาพรวม การดาเนินงานประกัน ภายในสถานศกึ ษา
คุณภาพภายในสถานศึกษา อยู่ในระดับ มากที่สุด 1. 1. 3 ปร ะ สาน ง าน ภายใ น แ ล ะ
ภายนอกสถานศึกษาเพื่อประสิทธิภาพของการ
มคี ่าเฉล่ีย (µ) เทา่ กบั 4.60 ดาเนนิ งาน
4.ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การดาเนินงาน 1.1.4 ดาเนินงานอื่นท่ีเกี่ยวข้อง
เชื่อมโยงกับการประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัด 1.2ระดับดาเนินงาน ประกอบด้วย
รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ เป็นรองประธาน
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี ค รู หั ว ห น้ า ฝ่ า ย / หั ว ห น้ า ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้
ตามความคิดเหน็ ของผู้แทนผ้ปู กครองนักเรยี น พบว่า เป็นกรรมการ หัวหน้าฝ่ายวัดและประเมินผล เป็น
กรรมการและเลขานกุ าร
ด้านระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน เม่ือ มีแนวทางการดาเนนิ งาน ดังนี้
พิจารณาโดยภาพรวม การดาเนินงานประกัน 1.2.1 ร่วมกันศึกษาและวิเคราะห์
คุณภาพภายในสถานศึกษา อยู่ในระดับ มากท่ีสุด มี ดัชนีช้ีวัด และกาหนดเกณฑ์มาตรฐานในแต่ละ
มาตรฐานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้
คา่ เฉล่ยี (µ) เท่ากบั 4.62 สอดคล้องกับแผนงาน โครงการและกิจกรรมต่างๆ
ตอนท่ี 2 ผลการสร้างแนวทางการประกัน ตามแผนปฏิบัติการของโรงเรียนให้ครอบคลุม
ทุกตวั ชวี้ ดั และมาตรฐาน
คุณภาพภายในสถานศึกษา สานักงานเขตพ้ืนท่ี 1.2.2 กาหนดแผนงาน โครงการ และ
การศกึ ษาประถมศึกษาสิงหบ์ รุ ี กิจกรรมของภารงานการประกันคุณภาพภายใน
ส ถ า น ศึ ก ษ า ท่ี แ ต่ บุ ค ค ล จ ะ ต้ อ ง ร า ย ง า น ผ ล ก า ร
ร่างแนวทางการดาเนินงานการประกัน ดาเนินงาน ต่อฝ่ายอานวยการของโรงเรียน และ
รายงาน SAR ต่อหนว่ ยงานตน้ สงั กดั
คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัด สานักงานเขต 2. บุ ค ล า ก ร ท่ี ด า เ นิ น ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ
พืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสิงหบ์ รุ ี ดังนี้ ภายในสถานศึกษา
มแี นวทางการดาเนินงาน ดงั น้ี
1.โครงสร้างการบรหิ ารงาน การดาเนินการ
ประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา 124

แนวทางการดาเนินงานควรประกอบดว้ ย

2 ระดับ คือ ระดับอานวยการ และระดับดาเนนิ งาน
แตล่ ะระดบั มแี นวทางการดาเนนิ งานดงั น้ี

1.1ระดับอานวยการ ประกอบด้วย
ผู้ อ า น ว ย ก า ร ส ถ า น ศึ ก ษ า เ ป็ น ป ร ะ ธ า น
รองผู้อานวยการสถานศึกษาฝ่ายวิชาการ เป็น

รองประธาน หัวหน้าฝ่ายบุคคล เป็นกรรมการ

2.1 ผู้บรหิ ารสถานศึกษา วารสารการวิจยั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
2.1.1 ผู้บริหารสถานศึกษามภี าวะผู้นา
ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)
ทางวิชาการ ภาวะผู้นาเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน และสานักงาน
2.1.2 ผบู้ รหิ ารสถานศึกษามีทักษะการ เขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา
ส่อื สาร การสัง่ การ การมอบหมายงาน
3.1.2 วางแผนงาน โครงการ กลยุทธ์
2.1.3 ผู้บริหารสถานศึกษามีความ จุดเน้น และกิจกรรมในแผนปฏิบัติการประจาปีให้
สามารถเชิงกลยุทธ์ การประสานงาน การสร้าง ครอบคลุมมาตรฐาน และตวั ช้วี ดั การประกนั คณุ ภาพ
เครอื ข่าย เนน้ การมสี ว่ นร่วม ภายในสถานศกึ ษา

2.1.4 ผู้บริหารสถานศึกษามีคุณธรรม 3.1.3 มอบหมายงาน/คาส่ังปฏิบัติ
จริยธรรม มีความอดทน ม่งุ มั่น เสยี สละเพ่ือองคก์ ร หน้าท่ีตามภารหน้าที่ ความรับผิดชอบ ตามกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ แผนงาน โครงการและกิจกรรมท่ี
2.1.5 ผู้บริหารสถานศึกษายึดหลัก เน้นการมีส่วนร่วมของครูให้สอดคล้องกับมาตรฐาน
ธรรมาภิบาล และระเบียบ กฎหมาย โปร่งใส และตวั ชว้ี ัด การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ตรวจสอบได้
3.2 การดาเนินงานตามแผน
2.2 ครูผูส้ อน/บุคลากรทางการศึกษา 3. 2. 1 ด า เ นิ น ง า น ต าม แ ผน ง าน
2.2.1 ครู มีความรู้ ความเข้าใจ ความ
โครงการ และกิจกรรมท่ีกาหนดตามปฏิทิ น
ตระหนกั ของการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ป ฏิ บั ติ ง า น ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ม า ต ร ฐ า น แ ล ะ ตั ว ชี้ วั ด
2.2.2 ครูทุกคนมีส่วนร่วม รับผิดชอบ การประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา

ตัวชี้วัด มาตรฐานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 3.2.2 การปฏิบัติงานตามโครงการ
กิจกรรม และวัตถุประสงค์ของโครงการโดยวิธีการ
ครอบคลุมทุกภารงาน โครงการ และกจิ กรรม ดาเนินงานเน้นการมีสว่ นร่วมจากครูและบุคลากรทุก
2.2.3 ครูมีจิตวิญญาณของความเป็น คน

ครู เป็นครูมอื อาชพี อย่างแทจ้ รงิ 3.2.3 การปฏิบัติงานตามโครงการ
2.2.4 ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอน กิจกรรม เน้นการสรา้ งเครอื ขา่ ย เชื่อมโยงกบั องคก์ ร
ทงั้ ภาครัฐ เอกชน และสาธารณกศุ ล เพื่อแลกเปลี่ยน
ด้วยวธิ ีการทีห่ ลากหลาย เชน่ Active Learning เรียนรู้ ความรู้ ประสบการณ์ ทรัพยากรทางการ
ศึกษา
2.2.5 ครูแสวงหาความรู้ พัฒนาตนเอง
และวชิ าชีพอยู่เสมอ เท่าทนั การเปล่ยี นแปลง 3. 2. 4 ก าร ดาเนิน ง าน โ คร ง ก า ร
กิจกรรม เน้นความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม
3.ภารกิจการดาเนินการประกันคุณภาพ เทคโนโลยีสารสนเทศ มีแนวปฏิบัติ กลยุทธ์ รูปแบบ
ภายในสถานศึกษา การดาเนินงานท่ีเป็นระบบ ชัดเจนตามมาตรฐาน
และตัวช้ีวดั
มแี นวทางการดาเนนิ งาน ดงั น้ี
3.3 การตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล
3.1การวางแผนการดาเนนิ งาน 3.3.1 มีการตรวจสอบ ติดตาม และ
3. 1. 1 ก าหน ดแผน ก ลยุทธ์ หรือ
ประเมินผล แผนงาน โครงการ กิจกรรม ทั้งต้นน้า
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบัติการ กลางน้า ปลายน้า เพื่อนาผลการประเมินโครงการ
ประจาปี ให้ครอบคลุมภารงานทั้ง 4 งาน คือ งาน
วชิ าการ งานงบประมาณ งานบคุ คล และงานบรหิ าร 125

ทั่ ว ไ ป ที่ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ น โ ย บ า ย ส า นั ก ง า น

นาเสนอต่อฝ่ายบริหาร ประกอบการตัดสินใจ วารสารการวิจยั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน

การดาเนนิ งานโครงการ ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)
3.3.2 มวี ธิ ีการตรวจสอบ ติดตาม และ
4.3 เอกสารสาคัญ เช่น ผลการประเมิน
ประเมินผลด้วยวิธีการท่ีหลากหลายท้ัง เชิงปริมาณ ภายนอกรอบที่ผ่านมา เอกสาร SAR แผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของโรงเรียน แผนปฏิบัติการ
และคณุ ภาพ เพอ่ื ใหค้ รอบคลมุ มาตรฐานและตัวช้ีวัด ประจาปี รายงานประเมินโครงการ/กิจกรรม
การประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเร่ือง ให้ใช้มาตรฐาน
3.3.3 การตรวจสอบ ติดตาม และ การศึกษาฯ คู่มือ ประกาศต่างๆท่ีเกี่ยวข้องกับการ
ประเมนิ ผล ด้วยความเป็นกัลยาณมติ ร เนน้ ทกุ ฝา่ ยท่ี ประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา
เกี่ยวข้องจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
4.4 อาคารเรียน อาคารปฏิบัติก าร
นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน มีส่วนร่วมในการ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องสมุด สนามกีฬา
ประเมินตนเอง หรือร่วมแสดงความคิดเห็น แปลงเกษตร สนามเด็กเล่น ท่ีพักผปู้ กครอง ห้องสว้ ม
ที่แปรงฟัน แหล่งน้าด่ืม แหล่งเรียนรู้ทั้งภายใน และ
ใหข้ อ้ เสนอแนะ แหล่งเรียนรู้ภายนอกสถานศกึ ษา เปน็ ตน้
3.4 การปรับปรุง พฒั นา อย่างตอ่ เน่อื ง
3.4.1 ผู้รับผิดชอบมาตรฐานและ 4.5 สอ่ื นวัตกรรม เทคโนโลยี คอมพวิ เตอร์
วัสดุอุปกรณ์การบริหารจัดการ การจัดกิจกรรม
ตัวชี้วัด การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา นา การเรียนการสอน ระบบอินเทอร์เน็ต เครือข่าย
ผลการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลโครงการ คอมพวิ เตอร์ โปรแกรมสาเรจ็ รปู ต่างๆ

กิจกรรม นาเสนอต่อฝ่ายบริหารเพ่ือประกอบการ 5. ก า ร ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เมิ น ตน เอ ง
ตัดสนิ ใจ มีแนวทางการดาเนนิ งานดงั น้ี

3. 4. 2 ฝ่ า ย บ ริ ห า ร ส ถ า น ศึ ก ษ า 5.1 แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงาน
จัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR)
ประเมินความเป็นไปได้ของโครงการ กิจกรรม ใน
การดาเนินงานต่อ พัฒนา ปรับปรุง หรือ ยุบ รวม 5.2 ประชุมชี้แจง แนวทาง ขั้นตอน
องคป์ ระกอบ การจัดทารายงานการประเมินตนเอง
เลิกโครงการตามความจาเป็นโดยคานึงถึงความ
คุ้มคา่ ความเหมาะสม ความเปน็ ไปได้ และประโยชน์ 5.3 มอบหมาย หน้าท่ี ผู้รับผิดชอบ เน้น
ของโครงการ การมีส่วนร่วม ตามองค์ประกอบ ตัวช้ีวัด และ
ความรบั ผดิ ชอบ งาน โครงการ และกจิ กรรม
4. การเตรียมความพร้อมด้านอื่นๆ เพ่ือ
ดาเนนิ งานประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา 5.4 กาหนด ปฏิทิน การดาเนินงานการ
จัดทารายงานการประเมินตนเอง
มแี นวทางการดาเนนิ งานดังนี้
4.1 ขอความร่วมมือจาก คณะกรรมการ 5.5 ดาเนินการการจัดทารายงานการ
สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ปราชญ์ ประเมินตนเอง (SAR) เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด/
ห น่ ว ย ง า น ท่ี เ กี่ ย ว ข้ อ ง พ ร้ อ ม ท้ั ง เ ผ ย แ พ ร่ /
ชาวบ้าน ผู้ปกครอง เพื่อสร้างเครือข่ายการดาเนินงาน ประชาสัมพันธ์ด้วยรูปแบบที่หลากหลาย เช่น
โครงการ กิจกรรม ตามความรู้ ความสามารถ ระบบออนไลน์ เปน็ ตน้

4.2 ข้อมลู สารสนเทศ เชน่ รายชอื่ นักเรียน 126
งบประมาณของสถานศึกษา รายได้ อาชีพ ความรู้
ความสามารถของผู้ปกครอง องค์กรภาครัฐ เอกชน

วัด เศรษฐกิจ สังคม และชุมชนที่เก่ียวข้อง

ตอน ท่ี 3 ผลก าร ตร ว จ ส อบ แน ว ท า ง วารสารการวิจัยการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัด ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)
สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสงิ หบ์ ุรี
อภิปรายผลการวจิ ยั
ด้านความถูกต้อง ผลการวิเคราะห์ข้อมูล รายงานวิจัยเร่ือง แนวทางการดาเนินงาน

ผลการตรวจสอบแนวทางการดาเนินการประกัน การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัด
คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัด สานักงาน สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี
มีประเดน็ ที่สมควรหยบิ ยกมาอภิปรายดงั นี้
เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี โดย
ภาพรวมทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย ระดับปฐมวัย ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูล
(µ) เท่ากับ 4.61 พบว่า โดยภาพรวม การดาเนินงานการประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษา กรณีศึกษา สานักงาน
ด้านความเหมาะสม ผลการวิเคราะห์ข้อมูล เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี อยู่ในระดบั
ผลการตรวจสอบแนวทางการดาเนินการประกัน มากท่ีสุด นั่นแสดงให้เห็นว่า ท้ัง ครู คณะกรรมการ
สถาน ศึก ษาขั้น พ้ืน ฐาน ผู้ปก คร อ ง นัก เรียน
คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัด สานักงาน มีความเห็นไปในแนวทางเดียวกันว่า กระบวนการ
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี โดยภาพรวม ดาเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (µ) ของโรงเรยี น มีการดาเนินงานที่เปน็ ระบบ มีขั้นตอน
ท่ชี ัดเจน ครแู ละบคุ ลากรทุกภาคสว่ นมีสว่ นเก่ียวข้อง
เทา่ กับ 4.61 และเป็นไปตามขัน้ ตอนตามกฎกระทรวงกาหนด
ด้านความเป็นไปได้ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
เมอื่ พจิ ารณาตามรายมาตรฐาน ทง้ั มาตรฐานที่ 1
ผลการตรวจสอบแนวทางการดาเนินการประกัน ด้านคุณภาพของเด็ก มาตรฐานที่ 2 กระบวนการ
คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัด สานักงาน บริหารและการจัดการ และมาตรฐานท่ี 3 การจัด
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี โดย ประสบการณท์ เ่ี น้นเดก็ เปน็ สาคัญ ผลการวจิ ยั พบว่า
มีค่าเฉล่ียผลการดาเนินงานอยู่ในระดับมากท่ีสุด
ภาพรวมทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉลี่ย ทุกมาตรฐาน แสดงให้เห็นว่า เม่ือ กระบวนการและ
(µ) เท่ากบั 4.60 บริหารจัดการ มีประสิทธิภาพ ผู้บริหารมีความเป็น
ผู้นาทางวิชาการแล้ว ครูจัดประสบการณ์ที่เน้น
ด้านความเป็นประโยชน์ ผลการวิเคราะห์ เด็กเป็นสาคัญ ครูสอนตรงสาขาวิชาเอก มีส่ือ
ข้อมูล ผลการตรวจสอบแนวทางการดาเนินการ นวตั กรรม เทคโนโลยที ่ีทนั สมัย เอาใจใสด่ แู ลเด็กเป็น
ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดสานักงาน อย่างดีแล้วย่อมส่งผลให้คุณภาพของเด็กปฐมวัย
มีมาตรฐานตามตัวช้ีวัดท่ีกาหนด นั่นแสดงให้เห็นว่า
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี โดย กระบวนการบริหารจัดการเพ่ือการประกันคุณภาพ
ภาพรวมท้ัง 5 ด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย ภายในสถานศึกษา โดยใช้วงจรคุณภาพ PDCA เม่ือ
นามาใช้เพื่อเป็นแนวทางในกระบวนการประกัน
(µ) เทา่ กับ 4.60 คุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างจริงจังแล้วย่อม
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ภาพรวม ทั้ง 4 ด้าน ส่งผลคุณภาพของโรงเรียน ดังเช่น รายงานการวิจัย

ผลการตรวจสอบแนวทางการดาเนินการประกัน

คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัด สานักงาน
เขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสงิ หบ์ รุ ี พบว่า อย่ใู น

ระดบั มากที่สุด มีคา่ เฉลีย่ (µ) เท่ากบั 4.60

127

ของ ไมตรี บุญทศ (2554, น.149-153) ที่ได้ศึกษา วารสารการวิจยั การศึกษาข้นั พื้นฐาน

ก า ร พั ฒ น า รู ป แ บ บ ก า ร บ ริ ห า ร เ พ่ื อ ก า ร ป ร ะ กั น ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)
คุณภาพภายในท่ีส่งผลต่อคุณภาพโรงเรียน สังกัด
ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ข้ั น พื้ น ฐ า น อ า น ว ย มี ศ รี ( 2555, น . 211- 214) ไ ด้ ศึ ก ษา
องค์ประกอบที่สัมพันธ์กับประสิทธิผลการประกัน
ผลการวิจยั พบว่า รูปแบบการบริหารเพ่อื การประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด
คุณภาพ ท่ีได้กล่าวถึง วงจร PDCA ว่า รูปแบบการ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ
ผลการศึกษาพบว่า องค์ประกอบด้านนโยบายการ
บริหารเพื่อการประกันคุณภาพ ภายในมีองค์ประกอบ บริหารและการปฏิบัติด้านลักษณะของบุคคลใน
ดังนี้ 1) วัตถุประสงคข์ องรปู แบบ 2) เง่ือนไขการนา องค์กร ด้านลักษณะของสภาพแวดล้อมภายใน
รูปแบบ ไปใช้ 3) กลไกการดาเนินงานของรูปแบบ องค์การ และดา้ นลักษณะองค์การมีความสมั พนั ธ์เชิง
เส้นตรงกับประสิทธิผลการประกันคุณภาพภายใน
4) สรุปสาระสาคัญของรูปแบบ เรียกย่อว่า PDR สถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่
Model มาจากสาระสาคัญ 3 ขั้นตอน ข้ันตอนที่ 1 ระดับ .01

ขั้น P หมายถึง เตรียม คือ 1) เตรียมการประชุม เม่ือพิจารณาตามรายมาตร ฐาน ทั้ง
2) เตรียมตัวแต่งตั้ง 3) เตรียมใจกาหนดเป้าหมาย มาตรฐานท่ี 1 ดา้ นคณุ ภาพของผู้เรยี น มาตรฐานที่ 2
ข้ันตอน ท่ี 2 ขั้น D หมายถึง ดาเนินการ คือ กระบวนการบริหารและการจัดการ และมาตรฐาน
ท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน
1) หลักการ 2) หลักเกณฑ์ 3) หลกั ฐาน ซึง่ ต้องใชใ้ น เป็นสาคัญ ผลการ วิจัยพบว่า มีค่าเฉลี่ยผลการ
การดาเนินงานตามวงจร PDCA ท้ัง 4 ตอน คือ ดาเนินงานอยู่ในระดับมากที่สุด ทุกมาตรฐาน แสดง
ให้เห็นว่า เมื่อ ดาเนินการประกันคุณภาพภายใน
P (วางแผน) D (ปฏิบัติตามแผน) C (ตรวจสอบ) สถานศึกษาอย่างเป็นระบบแล้ว ผู้บริหารควรมี
A (ปรับปรุง) ขั้นตอนที่ 3 ขั้น R หมายถึง รายงาน รูปแบบวิธีบริหารจัดการที่ชัดเจน หรือมีวิธีปฏิบัติท่ี
คือ 1) รวบรวมข้อมูล 2) ร้อยรัดสังเคราะห์ข้อมูล เ ป็ น เ ลิ ศ อ ย่ า ง เ ด่ น ชั ด เ พ่ื อ เ ป็ น แ น ว ท า ง ใ น ก า ร
ดาเนินงานอย่างมีกลยุทธ์หรือยุทธศาสตร์ มีวิธีการ
ให้ทนั กาหนด 3) เขยี นรายงานให้ถูกต้องเรยี บรอ้ ย บริหารจัดการ มีวิสัยทัศน์การบริหารจัดการที่มี
ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผลจากการ รูปแบบ เป็นระบบชัดเจนอย่างครอบคลุมและ
สามารถนาไปสู่การปฏิบัติได้จริง มีงานวิจัย
วิเคราะห์ข้อมูล พบว่า โดยภาพรวม การดาเนินงาน หลายเร่ืองที่ได้นาเสนอถึงรปู แบบการบริหารจัดการ
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา กรณีศึกษา เพ่ือการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษาใหป้ ระสบ
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี ความสาเร็จ เช่น รายงานการวิจัยของ ละมุด
รอดขวัญ (2555, น.183) ได้ศึกษาการพฒั นารูปแบบ
อยู่ในระดับมากที่สุด นั่นแสดงให้เห็นว่า ทั้ง ครู การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ผู้ปกครอง สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาภาคใต้ตอนบน
และได้นาเสนอไว้ว่าสถานศึกษากาหนดมาตรฐาน
นักเรียน มีความเห็นไปในแนวทางเดียวกันว่า และตัวชี้วัด จัดทาแผนยุทธศาสตร์ และแผนพัฒนา
กระบวนการดาเนินงานการประกันคุณภาพภายใน คุณภาพการศึกษาไม่สอดคล้องกับมาตร ฐาน
สถานศึกษาของโรงเรียน มีการดาเนินงานที่เป็น การศึกษา และไม่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการ

ร ะ บบ มีขั้น ตอน ท่ีชัดเจน ครูและ บุค ล า ก ร 128
ทุกภาคส่วนมีส่วนเก่ียวข้อง และเป็นไปตามขั้นตอน

ตามกฎกระทรวงกาหนด ทั้งน้ี การกาหนดนโยบาย
การบริหารตอ้ งชดั เจน บคุ คลในองค์กรตอ้ งมีคุณภาพ
และเชื่อมโยงกับความสัมพันธ์ที่ดีในองค์กรหรือ

โรงเรียน สอดคล้องกับรายงานการวิจัยของ

ประจาปี โครงการและกิจกรรมไม่ชัดเจน ครูและ วารสารการวิจยั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

บุคลากรทางการศึกษาไม่เห็นความสาคัญของข้อมูล ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)
สารสนเทศ การจัดระบบข้อมูล การนาสารสนเทศ
ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาไม่ต่อเน่อื งและ องคป์ ระกอบดา้ นหลกั การ 37 กิจกรรม วตั ถปุ ระสงค์
4 กิจกรรม ระบบงานกลไก 31 กจิ กรรม และเง่อื นไข
นาไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา การนารูปแบบไปใช้ 11 กิจกรรม และนาเสนอ
ยังไม่ครอบคลุมภาพ เครื่องมือการประเมินคุณภาพ รู ป แ บ บ ก า ร บ ริ ห า ร ใ น รู ป Model มี ชื่ อ ว่ า
ANDAMAN’S “POST” MODEL หรือ “รูปแบบ
ไม่ชัดเจน ขาดการระดมความคิด การหาแนวทาง โพสต์แห่งอันดามัน น่ันคือ รูปแบบท่ีประกอบด้วย
พัฒนาและการวางแผน การดาเนินงานประกัน หลักการ (Principles) วัตถุประสงค์ (Objectives)
คณุ ภาพ ระบบ (System)และงานตามเงื่อนไข (Tasks) และ
วิธีการนารูปแบบดังกล่าวไปใช้ซึ่งประกอบด้วย “คา
นอกจากน้ี ยังมีรายงานการวิจัยของ ช้ีแจง” และ“รายละเอยี ด” ของรปู แบบท่ีคน้ พบ
วัชรศักดิ์ สงค์ปาน (2558, น.142-143) ศึกษาการ
ในส่วนของ แนวทางการการดาเนินงาน
พัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียน เพ่ือบรรลุผล การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัด
การประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนมัธยมศึกษา สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาสงิ หบ์ ุรี
ภาคใต้ฝ่ังอันดามัน พบว่าโรงเรียนควรมีการยืดหยุ่น
ร่างแนวทางการดาเนินงานการประกัน
ในการบริหารโรงเรยี นให้สอดคล้องและเหมาะสมกับ คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัด สานักงาน
ระบบ CIPOO คือ บริบทของโรงเรียน ปัจจัยนาเข้า เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี ซ่ึง
ประกอบด้วย 5 ประเด็นหลัก ประกอบด้วย
กระบวนการบริหาร ผลผลิต และผลลัพธ์ โดยการ
เกลี่ยกระจายความพร้อมในการดาเนนิ งาน เฉลี่ยไป 1. โครงสรา้ งการบรหิ ารงาน การดาเนินการ
ให้ตร ง ตามร ะ ดับของ ปัญ ห า - อุป สร ร ค แ ล ะ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกอบด้วย
แนวทางการดาเนินงานควรประกอบด้วย 2 ระดับ
ความต้องการ โดยเฉพาะอย่างย่ิงต้องคานึงถึง คือ ระดบั อานวยการ และระดบั ดาเนนิ งาน
นโยบายการจัดการศึกษาของโรงเรียน การมี
2. บุคลากรที่ดาเนินการประกันคุณภาพ
ส่วนร่วมของชุมชนและการใช้กลยุทธ์ในการจัด ภายในสถานศึกษา แนวทางการดาเนินงานการ
การศึกษา คือ ต้องรีบพัฒนาคุณภาพภายในของ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกอบด้วย
โรงเรียนท่ีไม่ใช่ยอดนิยมเป็นพิเศษ ส่วนที่เป็น ผบู้ ริหารสถานศึกษา และครูผู้สอน/บุคลากรทางการ
ศกึ ษา
ยอดนิยมอยู่แล้วก็ต้องรักษาไว้ให้เป็นยอดนิยมเป็น
พิเศษ ส่วนท่ีเป็นยอดนิยมอยู่แล้วก็ต้องรักษาไว้ให้ 3. ภารกิจการดาเนินการประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษา แนวทางการดาเนินงานการ
เป็นยอดนิยมย่ิงข้ึนอย่างต่อเนื่อง และรูปแบบการ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกอบด้วย
บริหารโรงเรียนเพื่อบรรลุผลการประกันคุณภาพ การวางแผนการดาเนนิ งาน การดาเนินงานตามแผน
ภายในโรงเรียนมัธยมศึกษาภาคใต้ฝ่ังอันดามัน มี การตรวจสอบ ติดตาม ประเมนิ ผล และการปรับปรุง
พฒั นาอย่างต่อเนอ่ื ง
องค์ประกอบ 4 องค์ประกอบ ได้แก่ ด้านหลักการ
ด้านวัตถุประสงค์ ด้านระบบงานและกลไก ด้าน 4. การเตรียมความพร้อมด้านอื่นๆ เพื่อ
ด า เ นิ น ง า น ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า
เงื่อนไขการนารูปแบบไปใช้ ซึ่งเป็นรูปแบบท่ี ประกอบด้วยด้านเทคโนโลยีข้อมูลสารสนเทศ
ประกอบด้วยองค์ประกอบ ด้านการบริหารโรงเรยี น
เ พ่ื อ บ ร ร ลุ ผ ล ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น 129

ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ 83 กิจกรรม คือ

บุคลาก ร อาคาร สถาน ท่ี สื่อ วั สดุ อุปกรณ์ วารสารการวิจัยการศึกษาขนั้ พื้นฐาน

งบประมาณ และทรัพยากรเพ่ือการดาเนินงานการ ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)
ประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
สถานศึกษา สังกัด สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
5. ก า ร ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ตน เอ ง ประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2 พบว่า ทุกรายการ
แตกตา่ งกันอย่างมนี ยั สาคญั ทางสถิติ 3) แนวทางการ
ประกอบด้วย การจัดทา SAR และการรายงานต่อ ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัด สานักงาน
หน่วยงานต้นสังกดั และหรอื หน่วยงานท่ีเก่ยี วข้อง เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2
ประกอบด้วย 1) โครงสร้างการดาเนินงานการ
จากผลการสร้างแนวทางการประกัน ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกอบด้วย
คุณภาพภายในสถานศึกษา ซ่ึงประกอบด้วย 5 ส่วน ระดบั อานวยการและระดบั ดาเนินงาน 2) บุคลากรที่
นั้นเป็นไปตามกรอบแนวคิดของ Harold Leavitt, ดาเนินงาน 3) ภารกิจการดาเนินงาน 4)ควรมี
เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ และเครื่องมืออื่นๆ รวมทั้ง
1973, p.34 อ้างถึงใน สมหมาย สร้อยนาคพงษ์ ขอ้ มลู พืน้ ฐานทจ่ี าเป็นของโรงเรียน
(2555:2 ) มาเป็นกรอบในการนาเสนอ 5 ประเด็น
นอกจากนี้ ยังมีรายงานการวิจัยท่ีของ
ซึ่ ง ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า นั้ น ณิรดา เวชญาลักษณ์ (2559) ได้ศึกษาสภาพและ
ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา แ น ว ท า ง ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น
ควรมีความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักที่ชัดเจนถงึ สถานศึกษา สังกัด สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 งานน้ีมีวัตถุประสงค์
กระบวนการดาเนินงาน เป็นการบริหารจัดการท้ัง เพ่ือศึกษาสภาพและแนวทางการดาเนินงานประกนั
ระบบ เป็นการสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ปกครอง คุณภาพภายในสถานศึกษา สานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ตาม
และชุมชนถึงศักยภาพในการพัฒนาโรงเรียนให้ได้ กระบวนการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ตามมาตรฐานการศึกษาท่ีกาหนด ท้ังนี้ ผู้บริหาร ประกอบด้วย 1) ด้านการเตรียมการ คือ ผู้บริหาร
สถานศกึ ษาจงึ ควรมีแนวทางการดาเนนิ งานที่ชัดเจน กาหนดนโยบายและแนวทางการดาเนินการประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างชัดเจน 2) ด้านการ
เป็นระบบและสามารถนาไปสู่การปฏิบัติได้อย่าง ดาเนินการ คือ ผู้บริหารจัดทาแผนปฏิบัติการ
แท้จริง โดยมีงานวิจัยหลายเร่ือง ท่ีก ล่า ว ถึง ประจาปี เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการดาเนินการ
3)ด้านการรายงาน คือ สถานศึกษามีการจัดทา
แนวทางการประกันคุณภาพภายใน เช่น กรวัฒน์ รายงานการพฒั นาคุณภาพการศึกษาประจาปี ส่งให้
ตนั เจรญิ (2555) ได้วิจัยเรอื่ ง แนวทางการดาเนนิ การ สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัด สานักงาน การศึกษา (สมศ.) ส่วนแนวทางการดาเนินการ
ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดสานักงาน
เขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาฉะเชงิ เทรา เขต 2 มีวตั ถุประสงค์ เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1
เ พื่ อ ศึ ก ษ า เ ป รี ย บ เ ที ย บ แ ล ะ พั ฒ น า แ น ว ท า ง ก า ร พบว่า ควรวางแผนกลยุทธ์กาหนดแนวทาง
การปฏิบัติ ตดิ ตามตรวจสอบ ประเมินผลชน้ิ งานจาก
ด า เ นิ น ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า แฟ้มเอกสารการประกันคุณภาพ ควรจัดทาปฏิทิน
ขั้นพ้ืนฐาน สังกัด สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา การดาเนินงานประกันคุณภาพ ควรมีการนา
ประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2 ผลการวิจัย พบว่า
130
1) การดาเนนิ การประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา
สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา

ฉะเชิงเทราเขต 2 โดยภาพรวมและรายด้าน อยู่ใน
ระดับมาก เรียงตามลาดับคือ ด้านการดาเนินงาน
ด้านการเตรียมการ และด้านรายงาน 2) ผลการ

เปรียบเทียบการดาเนินการประกันคุณภาพภายใน

กระบวนการ PDCA เข้ามาในการดาเนินงาน โดยให้ วารสารการวิจยั การศึกษาข้นั พื้นฐาน

ก าร จัดทาปฏิทิน ใน ก าร ตร ว จ สอบว า ง แ ผ น ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)
การดาเนินงาน จากรายงานการวิจัยเก่ี ยวกับ
แนวทางการดาเนินงานการประกันคุณภาพภายใน ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์นั้น
มีความถกู ต้องและเปน็ ไปไดใ้ นทางปฏบิ ตั ิ ซ่ึงสามารถ
สถานศึกษา ท้ัง 2 เร่ือง แสดงให้เห็นว่า การประกัน นาไปเปน็ แนวทางใหก้ ับผ้บู ริหารสถานศึกษา ครูและ
คุณภาพภายในสถานศึกษา ควรมีแนวทางการ บุคลากรทางการศึกษาได้ปรับ ประยุกต์ใช้ให้
เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม ชุมชน สังคมและบริบท
ดาเนินงานที่ชัดเจน เป็นระบบ สามารถนาไปสู่การ ของโรงเรียนได้ตามความเหมาะสม อันจะก่อให้เกิด
ดาเนนิ งานไดอ้ ย่างแท้จรงิ ทงั้ น้ี ควรประกอบไปด้วย ประโยชน์ต่อกระบวนการประกันคุณภาพภายใน
1) โครงสร้างการดาเนินงาน ระดับอานวยการและ ส ถ า น ศึ ก ษ า อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ แ ล ะ เ กิ ด คุ ณ ภ า พ
ประสิทธิภาพต่อการประกันคุณภาพการศกึ ษาตอ่ ไป
ระดับปฏิบัติการ 2) ครูและบุคลากรการดาเนินงาน
ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า ข้อเสนอแนะ

3) ก า ร ด า เ นิ น ง า น ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น 1.ข้อเสนอแนะการนาผลการวจิ ยั ไปใช้
สถานศึกษา 4) การเตรียมความพร้อมส่ือ วัสดุ 1.1 ก่อนนาผลการวิจัยไปสู่การปฏิบัติ
อุปกรณ์ อาคารสถานที่ เทคโนโลยีสารสนเทศ ควรศึกษากฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา
พ.ศ.2561 และมาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพ
5) การจัดทารายงาน SAR และการรายงานต่อ การศึกษาให้มีความเข้าใจท่ีชัดเจนก่อนและจึงนาไป
หน่วยงานตน้ สงั กดั ปรับประยกุ ตใ์ ช้ให้เหมาะสมกับรบิ ท
1.2 การดาเนนิ งานประกันคณุ ภาพภายใน
นอกจากน้ี ผลการตรวจสอบแนวทาง สถานศกึ ษา ผบู้ ริหารควรมีรปู แบบการบริหารจัดการ
ก าร ดาเนิน ง าน ก าร ปร ะ กั น คุณภาพ ภ า ย ใ น ของตนเองทีช่ ัดเจน เป็นระบบ นา่ เชอ่ื ถือ นาไปสู่การ
สถานศึกษา สังกัด สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ปฏบิ ัติอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

ประถมศกึ ษาสงิ ห์บรุ ี ท่ีพบวา่ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 2.ข้อเสนอแนะการวจิ ัยในครง้ั ตอ่ ไป
ภาพรวม ท้ัง 4 ด้าน คือ ความถูกต้อง ความ 2.1 ควรมีการวิจัยเพื่อสร้างรูปแบบ

เหมาะสม ความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาที่สามารถ
อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.60 แสดง นาไปส่กู ารปฏบิ ตั ิ มีคู่มอื การดาเนนิ งานท่ีชดั เจน
ให้เห็นว่า แนวทางการดาเนินงานการประกัน
2.2 ควรมีการวิจัยเพื่อยกระดับคุณภาพ
คุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัด สานักงาน มาตรฐานการศึกษาให้มีการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง
เขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสิงห์บรุ ี ท่ผี วู้ จิ ัยสรา้ ง หรือคงสภาพความสาเรจ็ ดว้ ยรูปแบบ กลยทุ ธ์ วธิ ีการ
ท่หี ลากหลาย
ขึ้น จากแนวคิด ทฤษฎี การวิเคราะห์เอกสารและ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การสอบถามสภาพปัจจุบันการ
ดาเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

และรวมทั้งการจัดสนทนากลุ่มเพ่ือรวมตรวจสอบ
แนวทางการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาทั้งใน

ด้ า น ค ว า ม ถู ก ต้ อ ง ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม

131

วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

เอกสารอ้างอิง

กรวัฒน์ ตันเจริญ. 2555. แนวทางการดาเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขต
พ้ืนท่ีการศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ราชนครินทร.์

ธรี ะวฒั น์ วรรณนชุ . 2561. การประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษาในโรงเรยี นมธั ยมศึกษา. ผอู้ านวยการ
สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 3 หน้า 1.

ปียานนั ต์ บญุ ธมิ า. 2561. การพัฒนารูปแบบการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา โรงเรียนวัดหว้ ยม้าโก้ง
ดว้ ยแนวคดิ แบบไคเซน็ . โรงเรยี นวดั ห้วยมา้ โกง้ สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาลาพูน เขต 1.

เทวนั เงาะเศษ. 2560. ปจั จัยทส่ี ง่ ผลต่อการดาเนนิ งานการประกันคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรียน

มัธยมศึกษาในจังหวดั กระบี่ สังกัดสานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต13.
วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภฏั ภเู กต็ ปีที่ 13 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม – ธนั วาคม 2560.

ละมุด รอดขวัญ. 2559. การพัฒนารูปแบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สังกัด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาภาคใต้ตอนบน. วารสาร 2559 บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ
เชียงราย ปที ่ี 9 ฉบบั ท่ี 20 พฤษภาคม - สิงหาคม 2559.

สมหมาย สรอ้ ยนาคพงษ์. 2555. การจดั ระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรียนที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนระดับ
ประถมศกึ ษา ของโรงเรียนเอกชนสังกดั สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาชลบุรี. บทความวารสาร

ศรนี ครนิ ทรวิโรฒวิจัยและพฒั นา (สาขามนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร)์ ฉบับที่ 6 ลาดับท่ี 11.
สพุ ชิ ญา กลันนุรักษ์. 2559. การดาเนนิ งานประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาของโรงเรียนขนาดกลาง

ในกลมุ่ เกาะแก้ว สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาระยอง เขต 1 .การศกึ ษา

มหาบณั ฑติ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา.
สุภัค พวงขจร. 2561. การพฒั นารูปแบบการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานด้วยวธิ ีการ

บรหิ ารแบบมุ่งผลสมั ฤทธ์ิ. Journal of Community Development Research (Humanities
and Social Sciences) 2018 : 11 (3).
สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษากาฬสินธุ์ เขต 1. 2561. ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของ

สถานศึกษาสงั กดั สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษากาฬสนิ ธ์ุ เขต 1 ปกี ารศกึ ษา 2561.
ณริ ดา เวชญาลกั ษณ์. 2559. สภาพและแนวทางการดาเนนิ การประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา

สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาพิษณุโลก เขต 1. บทความวิจัยวารสารมหาวิทยาลัย
ราชภฏั ยะลา ปีท่ี 16 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2559.
อานวย มีศรี. 2555. องค์ประกอบท่ีสัมพันธ์กับประสิทธิผลการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาข้ัน

พื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎี
บณั ฑติ สาขาวิชาบริหารการศกึ ษา. บัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อบุ ลราชธานี, อุบลราชธาน.ี

132

วารสารการวิจยั การศึกษาข้นั พื้นฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

รูปแบบการพฒั นาคณุ ภาพครูใหเ้ ปน็ ครมู อื อาชพี เพอ่ื ผ้เู รยี นในศตวรรษที่ 21
โดยใช้สถานศกึ ษาเป็นฐาน

Model of Teacher Professional Development for the 21st Century’s Learners
Using School based

อรนุช มั่งมีสขุ ศริ ิ*
Oranuch Mungmesuksiri

บทคดั ยอ่

การวิจัยนี้เป็นวิจัยพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาครมู ีวตั ถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบการพฒั นาคุณภาพ
ครใู หเ้ ป็นมอื อาชีพเพื่อผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21 โดยใชส้ ถานศึกษาเปน็ ฐาน ศึกษาผลการใช้รูปแบบประเมินและ
ปรับปรุงรูปแบบ กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาผลการใช้รูปแบบเป็นนักเรียน 94 คน ครู 102 คน และผู้บริหาร
3 คน จากโรงเรียนประถมศึกษา มัธยมศึกษา และโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา รวม 3 โรงเรียน
เก็บรวบรวมขอ้ มลู จากแบบสอบถามความคิดเห็นครู แบบประเมนิ ทกั ษะนักเรยี นในศตวรรษที่ 21 แบบบันทึก
การสนทนากลุ่มผู้บริหาร ครู วิเคราะห์ค่าเฉล่ีย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสังเคราะห์เนื้อหาจากการ
สนทนากลมุ่ ประเมินและปรับปรุงรูปแบบโดยการสัมมนาผูร้ ู้ จานวน 9 คน สังเคราะห์เนอื้ หาจากแบบบันทึก
การสัมมนาผู้รู้และนาเสนอเป็นรูปแบบการพัฒนาคุณภาพครูให้เป็นมอื อาชีพเพอ่ื ผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 โดย
ใชโ้ รงเรยี นเป็นฐาน ผลการวจิ ยั พบว่ารูปแบบการพฒั นาคณุ ภาพครูให้เป็นมอื อาชพี เพ่อื ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
โดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน เป็นรูปแบบ Semantic Model ท่ีใช้ภาษาในการอธิบาย ตามแนวคิดหลักการ
พัฒนารูปแบบของจอยซ์และเวลล์ (Joyce and weil, 2000) หลักการพัฒนาการทางานอย่างเป็นระบบ
มีข้ันตอนต่อเน่อื ง ครูพัฒนางานปกติที่โรงเรียนให้มีคุณภาพ และร่วมกับเพอ่ื นครทู างานเป็นทีม โดยผู้บริหาร
เป็นผู้ส่งเสริมให้ครูประสบความสาเร็จ มีระบบปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพครู 2 ระบบ ระบบใหญ่ คือระบบ
การควบคุมคุณภาพการปฏิบัติงานของผู้บริหารด้วยวงจรเดมม่ิง (Deming Cycle : PDCA) และระบบย่อย
ระบบปฏิบัติการพัฒนาครูด้วยชุมชนการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาวิชาชีพ (Professional Learning Community :
PLC ) การนารูปแบบไปใช้มี 6 ข้ันตอน คือ (1) ปลุกอุดมการณ์ความเป็นครู (2) สารวจความรู้ ทักษะ และ
คุณสมบัติของครูมืออาชีพเพื่อผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 (3) วางแผน : แผนปฏิบัติการประจาปีของโรงเรียน
(Annual Plan) และแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (Individual Development Plan : ID Plan (4) ปฏิบัติ
ตามแผน (Do : D) ผู้ปฏิบัติการประกอบด้วย ครู ชุมชนการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาวิชาชีพ (PLC) และผู้บริหาร
โรงเรียนกากับคุณภาพ (5) ตรวจสอบ (Check : C) ประสิทธิภาพของกระบวนการ และประสิทธิผลของการ
พัฒนาตามแผนงาน (6) พัฒนาอย่างต่อเน่ือง (Act : A) เงื่อนไขความสาเรจ็ คอื ผู้บรหิ าร มภี าวะผู้นา และแสดง
ความเชื่อในคณุ ค่าของการพฒั นาคณุ ภาพครู ครูต้องยึดมน่ั ในอุดมการณ์ ครทู กุ คนเรียนรแู้ ละพัฒนาวิชาชพี

*ผูเ้ ช่ียวชาญดา้ นพัฒนานวตั กรรมการเรียนรู้ ดร. สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน

Senior Expert in Learning Innovation Development Dr., Office of the Basic Education Commission

133

วารสารการวิจยั การศึกษาขั้นพื้นฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

และการประเมินความสาเร็จตามแผนและการปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพครู ผลการประเมินและปรับปรุง
รูปแบบจากการสนทนากลุ่มสรุปว่ารูปแบบมีความเหมาะสมเป็นไปได้และเป็นประโยชน์ และผลจากการ
ประชมุ ผู้รู้ จานวน 9 คน สรุปยืนยันความถูกตอ้ งสมบูรณข์ องรปู แบบ

คาสาคัญ รูปแบบพฒั นาคณุ ภาพคร/ู ครูมอื อาชีพในศตวรรษที่ 21/ สถานศกึ ษาเปน็ ฐาน

Abstract

The objectives of the research are to develop the model of the professional teachers
for students in 21st Century based on the schools. The study of the model evaluates and improves
to be the best model which 3 schools were selected by the purposive sampling, i.e. 1 primary
school, 1 secondary school and 1 opportunity expansion school. The tools are the questionnaire
done by 102 teachers and 3 school administrators, the skill- evaluating paper answered by
94 students and the summary of the focus group done by administrators and teachers from selected
schools. The analysis of both the means and the standard deviation from the questionnaire and the
contents of the summary of the focus group was carefully examined. In order to proof the accuracy
and the perfection of the model, the examination and modification of the model were taken to
9 experts and the educational research gathered in the Connoisseur’s Seminar. The results of the
research shows that the model of Teacher Professional Development Based on School for
Learners in 21st Century is a Semantic Model in which language is utilized to explain and point
out the interrelation among all components of the model. The basic principle consists of the
systematic and continuous enhancement of teachers’ routine work at schools to the high
quality. All teachers can work as a team and the school administrator can support all of the
teachers whom need to be successful on their career. The systematic structure consists of
the 2 major operating systems for teachers’ quality development, i.e. (a) the administrators’
quality controlling system by Deming Cycle (PDCA) and (b) the teachers’ quality developing
system by the Professional Learning Community (PLC) which is the sub-system in D of PDCA
in Deming Cycle. There are 6 steps for applying to the model: ( 1) inspiring teachers’
professional ideology, ( 2) surveying the teachers’ skills and characteristics needed for the
learners in 21st century in accordance with the PLC, ( 3) planning for school- based teachers’
quality development by The School Annual Plan and the Individual Development Plan
(ID plan), (4) doing the plans, (5) checking the processes and the efficiency of the plans and
(6) acting for persistent development. The conditions for success are the school administrators
who take the leadership role and believe in the value of teacher development. Teachers must
adhere to the ideology, learn and develop their profession, assess the success of the teacher
quality development plan and practice. The result of the model evaluation and improvement

134

วารสารการวิจยั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

shows the Feasibility, the Propriety and the Utility. The critical assessment of the model from
the Connoisseur’s Seminar is that the 9 experts approved the perfection of the model.

Keywords : Model of Professional Teacher Development / Professional teacher in 21st century

บทนา ปัญญาสร้างอาชีพ มีความรู้ด้านเทคโนโลยี และ
ความคดิ สร้างสรรค์ ดังน้นั ครูเป็นบุคลากรสาคัญยิง่
อุดมการณ์ของการพัฒนารูปแบบการ
พัฒนาคุณภาพครูให้เป็นครูมืออาชีพเพื่อผู้เรียนใน ท่ีจะเอื้ออานวยให้อนุชนมีความรู้ดีให้ประเทศ
ศตวรรษท่ี 21 คอื การพัฒนาครใู หเ้ ปน็ ครูมอื อาชพี ก้าวเข้าสู่ประเทศไทย 4.0 ตามแผนแม่บทของ
เพื่อผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งพัฒนาครูให้ รฐั บาลได้
ตระหนักถึงหน้าท่ีท่ีสาคัญท่ีสุดคือการส่ังสอน
ผ้เู รยี นทั้งในดา้ นวชิ าการ ดา้ นจติ ใจ และด้านความ การพัฒนาคุณภาพครูของประเทศต่างๆ
ประพฤติ ซ่ึงสอดคล้องกับพระบรมราโชวาทของ เช่น ฟินแลนด์ นิวซีแลนด์ สหรัฐอเมริกา สิงคโปร์
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล
อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ที่เคยพระราชทาน เนเธอร์แลนด์ โปรตุเกส สาธารณรฐั เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น
แก่คณะครูอาวุโส ณ พระตาหนักจิตรดารโหฐาน จีน (เซ่ียงไฮ้) แต่ละประเทศต่างมุ่งเน้นการจัด
วันเสาร์ท่ี 21 ตุลาคม พ.ศ. 2521 ความว่า “ผู้ที่ การศึกษาสอดคล้องกับทิศทางนโยบายการปฏิรูป
เป็นครูจะต้องถือเป็นหน้าท่ีอันดับแรกที่จะต้องให้
การศึกษาคือส่ังสอนอบรมอนุชนให้ได้ผลแท้จริง ประเทศ โดยมีกฎหมาย หรือนโยบายให้ครูทุกคน
ท้ังในด้านวิชาความรู้ ท้ังในด้านจิตใจ และความ ต้องได้รับการพัฒนาจากหน่วยงานและพัฒนา
ประพฤติ ท้ังต้องคิดว่า งานที่แต่ละคนกาลังทา
อยู่น้ี คือความเปน็ ความตายของประเทศ เพราะ ตน เอ ง ทุก ปีอ ย่าง ต่อ เนื่อ ง ( Linda Darling-
อนุชนที่มีความรู้มีความดีเท่าน้ันท่ีจะรักษาชาติ Hammond, Ruth Chung Wei, and Alethea
บา้ นเมืองไว้ได้....” Andree, 2 0 1 0 ) สาหรับ ปร ะ เ ท ศไ ทย ให้

หน้าท่ีการสั่งสอนผู้เรียนท่ีครอบคลุม ความสาคัญต่อการจัดการศึกษาและการพัฒนาครู
ทุกด้านของครูมืออาชีพเพื่อผู้เรียนในศตวรรษท่ี ได้ปฏิรูปการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้มีการปรับปรุง
21 จะช่วยส่งเสริมให้การจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
เป็นรากฐานในการพัฒนาคุณภาพคนสู่สังคมที่ดี ท่ีมี เปล่ียนแปลงระบบและกระบวนการจัดการศึกษา
ความม่ันคง โดยมีครูเป็นบุคคลสาคัญในการสร้าง ขั้นพ้ืนฐานทั้งระบบให้มีประสิทธิภาพให้สาเร็จ
เยาวชนท่ีดีและสร้างอนาคตของประเทศ การ อย่างเป็นรูปธรรมโดยมีการกาหนดยุทธศาสตร์และ
จัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 รัฐบาลได้มี
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561- แผนการพัฒนาครูไว้ในการปฏิรูปการศึกษา สาระ
2580) ท่ีจะปรับโครงสร้างประเทศให้ก้าวสู่ สาคัญของการปฏิรูปครู คือ พัฒนาคุณภาพครู
ประเทศไทย 4.0 (Thailand 4.0) ยุคปัญญา
ประดิษฐ์ กระบวนการพัฒนาการศึกษา จะต้อง ยุ ค ใ ห ม่ ท่ี เ ป็ น ผู้ เ อ้ื อ อ า น ว ย ใ ห้ ผู้ เ รี ย น เ กิ ด ก า ร
ขบั เคลอื่ นพัฒนาทรัพยากรบคุ คลของประเทศให้ใช้ เรียนรู้ เป็นวิชาชีพที่มีคุณค่าให้เป็นคนเก่ง คนดี
มีใจรักในวิชาชีพครูมาเป็นครู การจัดการศึกษาให้

ผู้เรียนยุคศตวรรษที่ 21 ควรมีรูปแบบการพัฒนา
ก า ร ศึ ก ษ า แ บ บ ใ ห ม่ ท่ี แ ต ก ต่ า ง จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า

ในศตวรรษท่ีผ่านมา การพัฒนาครูมีความจาเป็น
ต้องมองเชิงระบบ องคป์ ระกอบในระบบการศกึ ษา
มี ค ว า ม สั ม พั น ธ์ แ ล ะ พึ่ ง พ า ซ่ึ ง กั น แ ล ะ กั น

135

ให้ความสาคัญกับการสร้างทักษะในการเรียนรู้ วารสารการวิจัยการศึกษาขัน้ พื้นฐาน

มากกว่าเน้ือหาสาระท่ีอาจเปลี่ยนแปลงได้ในอีก ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)
ไม่ก่ีปีข้างหน้า การปฏิรูปการพัฒนาครูให้
ครูประจาการในโรงเรียนเปล่ียนครูในยุคศตวรรษ
สอดคล้องกับผู้เรียนในศตวรรษ ที่ 21 ขับเคล่ือน ที่ 20 สู่ศตวรรษที่ 21 ให้มีคุณภาพสามารถจัด
ประเทศไปสู่ยุคเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อน ด้ว ย การศึกษาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้มีทักษะที่จะพัฒนา
นวัตกรรม นักการศึกษา (สานักงานส่งเสริมสังคม ตนเองและอาชีพในยุคประเทศไทย 4.0 เศรษฐกิจ
ขับเคล่ือนด้วยนวัตกรรมได้ และรูปแบบการ
แห่งการเรียนรู้ และคุณภาพเยาวชน:2557) ได้ พัฒนาครูต้องให้ความสาคัญกับข้ันตอนการนา
เสนอให้ ลดและยกเลิกวิธีการพัฒนาที่เน้น ความรู้ไปสู่การปฏิบัติจริง การฝึกปฏิบัติ และการ
ทบทวนและแลกเปลี่ยน เพ่ือแก้ไขปัญหาจากการ
การอบรมเป็นการพัฒนาครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ปฏิบัติ รวมถึงการสรา้ งรูปแบบพัฒนาครูใหม่ และ
ให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ของครูท่ีโรงเรียน การ การสนับสนนุ ให้เกดิ ระบบชมุ ชนเรียนรทู้ างวิชาการ
จั ด ตั้ ง ชุ ม ช น แ ห่ ง ก า ร เ รี ย น รู้ เ พื่ อ พั ฒ น า วิ ช า ชี พ ร่วมกันหรือชุมชนการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาวิชาชีพ
(Professional Learning Community)
(Professional Learning Community : PLC) จัดตั้ง
คลินิกครูเพื่อการเรียนรู้ จัดระบบครูพ่ีเลี้ยง เพื่อน ดังน้ันการวิจัยนี้จึงศึกษาพัฒนารูปแบบ
การพัฒนาคุณภาพครูให้เป็นมืออาชีพ เพราะงาน
ช่วยเพ่ือน การนิเทศภายใน นาเทคโนโลยี ของครู “คือความเป็นความตายของประเทศ” ครู
มาใช้เพ่ือการพัฒนา ส่งเสริมการพัฒนาตนเอง
ของครูอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะการเรียนรู้จาก จาเปน็ ต้องเรยี นร้พู ฒั นางานตนเองอยา่ งเป็นระบบ
ต่อเน่ือง เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะที่จาเป็นใน
การปฏบิ ตั ิงานจนเกิดความชานาญ ศตวรรษที่ 21 เพราะ “อนุชนที่มีความรู้มีความดี
จากการวิเคราะห์ระบบการพัฒนาครูใน เท่าน้ันที่จะรักษาชาติบ้านเมืองไว้ได้” รูปแบบการ
พัฒนาครูนี้จะเป็นการพัฒนาท่ีตรงตามความ
สองมิติ ได้แก่ ระบบการฝึกอบรมครู และระบบ ต้องการของครูแต่ละคน รวมท้ังการนานวัตกรรม
ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ม ร ร ถ น ะ แ ล ะ ผ ล ง า น ค รู เ พื่ อ ใ ห้ “ ชุ ม ช น ก า ร เ รี ย น รู้ เ พื่ อ พั ฒ น า วิ ช า ชี พ
ผลตอบแทน ชี้ให้เห็นว่า สภาพปัญหาสาคัญของ ( Professional Learning Community: PLC) ”
นวัตกรรมจากการปฏริ ูปการศึกษาที่นานาประเทศ
การพัฒนาครูในปัจจบุ ัน คือ รูปแบบการพฒั นาครู ใช้เป็นเครื่องมือในการสร้างการรวมตัวกันของครู
ไม่สอดคล้องกับปัญหาท่ีครูและโรงเรียนเผชิญ เพ่ือทางานสร้างสรรค์ เพ่ือการพัฒนาครูจาก

การพัฒนาครสู ว่ นใหญ่เปน็ การฟังบรรยายมากกว่า มุมมองการพัฒนาจากระดับปฏิบัติในโรงเรียนสู่
การฝึกปฏิบัติ ทาให้ครูทิ้งห้องเรียน รวมท้ังยังขาด ระดับนโยบายโดยใชโ้ รงเรียนเปน็ ฐานในการพัฒนา
การติดตามและสนับสนุนให้มีการนาความรู้ไปใช้ และจดั ทาเปน็ นวตั กรรมตน้ แบบพร้อมขอ้ เสนอเชิง
นโยบายเพือ่ การพฒั นาคุณภาพครูไทย ทีจ่ ะเป็นผู้
จึงทาให้การพัฒนาส้ินสุดเพียงขั้นตอนการสร้าง เอื้ออานวยใหอ้ นุชนมคี วามรดู้ ีให้ประเทศก้าวเข้าสู่
และถ่ายทอดความรู้ แต่ไปไม่ถึงข้ันตอนการนา
ประเทศไทย 4.0 ตามแผนแมบ่ ทของรัฐบาลได้
ความรู้ไปปฏิบัติ การฝึกปฏิบัติ และการทบทวน
และแลกเปล่ียนเรียนรู้เพ่ือแก้ไขปัญหาจากการ
ปฏิบัติ อีกทั้งผลการประเมินคุณภาพครูและ

โรงเรียนไม่ได้ถูกนามาใช้ในการประเมินคุณภาพ
ไม่สามารถจัดพัฒนาครูได้ท่ัวถึงทุกโรงเรียน ยังมี

จานวนครูระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน อีกเป็น
จ า น ว น ม า ก ท่ี ต้ อ ง ก า ร รูป แ บ บ ก าร พัฒ น า

136

วัตถปุ ระสงค์ วารสารการวิจัยการศึกษาขัน้ พื้นฐาน

วัตถุประสงค์ของการวิจัย รูปแบบ ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

การพัฒนาคุณภาพครูให้เป็นมืออาชีพเพื่อผู้เรียน โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงใช้เวลาศึกษา
1 ภาคเรียน ประกอบด้วยผู้บริหาร ครู และ
ในศตวรรษท่ี 21 โดยใชส้ ถานศึกษาเป็นฐาน ดงั นี้ นักเรียน รวม 185 คนจากโรงเรียนวัดใหญ่
(โรงเรียนประถมศึกษา) สานักงานเขตพ้ืนที่
1. เพื่อพัฒนารูปแบบ การพัฒนา การศึกษาประถมศึกษา สมุทรปราการเขต 1
โรงเรียนพะตงประธานคีรีวัฒน์ (โรงเรียน
คุณภาพครูให้เป็นมืออาชีพเพื่อผู้เรียนในศตวรรษ มัธยมศึกษา) สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
มัธยมศึกษาเขต 16 โรงเรียนวัดบางวัว (โรงเรียน
ที่ 21 โดยใชส้ ถานศึกษาเป็นฐาน ขยายโอกาสทางการศึกษา) สานักงานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษาประถมศกึ ษา ฉะเชิงเทรา เขต 1 ตัวแปร
2. เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบพัฒนา ที่ศกึ ษา ได้แก่ (1) ผลการนารูปแบบพัฒนาคณุ ภาพ
ครูให้เป็นมืออาชีพเพื่อผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
คุณภาพครูให้เป็นมืออาชีพเพ่ือผู้เรียนในศตวรรษ ไปใช้ในโรงเรยี นประถมศกึ ษา โรงเรยี นมัธยมศึกษา
และ โ ร ง เรียน ขยา ยโ อ ก า ส ท าง ก าร ศึ ก ษ า
ที่ 21 โดยใช้สถานศึกษาเปน็ ฐาน (2) ความคิดเห็นครูและผู้บริหารเก่ียวกับความ
เ ป็ น ไ ป ไ ด้ ( Feasibility) ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม
3. เพื่อประเมินและปรับปรุงรูปแบบ (Propriety) และความเปน็ ประโยชน์ (Utility) ของ
รูปแบบ และ (3) ปัญหาและอุปสรรค และ
พัฒนาคุณภาพครูให้เป็นมืออาชีพเพ่ือผู้เรียน ข้อเสนอแนะในการใช้รูปแบบ เคร่ืองมือที่ใช้
แบบสอบถามความคดิ เห็นเกีย่ วกับความเหมาะสม
ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้สถานศกึ ษาเป็นฐาน ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ แบบ
ประเมินการพัฒนาสมรรถนะสาคัญของผู้เรียนใน
วธิ ีดาเนินการวิจยั แบ่งเปน็ 3 ระยะ ศตวรรษท่ี 21 ตามการรับรู้ของผู้เรียน และแบบ
สนทนากลุ่ม เกี่ยวกับการนารูปแบบพัฒนาคุณภาพ
ระยะที่ 1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ี ครูให้เป็นมืออาชีพเพื่อผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ไป
เกี่ยวข้องเพื่อยกร่างรูปแบบ โดยประชุมระดม ใชใ้ นโรงเรียน วเิ คราะห์ขอ้ มูล เชงิ คณุ ภาพโดยการ
ค ว า ม คิ ด ย ก ร่ า ง รู ป แ บ บ จ า ก ค ณ ะ ผู้ วิ จั ย แ ล ะ วิเคราะห์เน้ือหา วิเคราะห์แบบสอบถามและการ
นักวิชาการรวม 6 คน ศึกษาเอกสารหลักการ พัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนโดยคานวณค่าเฉล่ีย
ทฤษฏี และงานวิจัยเกี่ยวกับกฎหมายและ (Mean: X̅) และส่วนเบีย่ งเบน มาตรฐาน
มาตรฐานวชิ าชพี ครู การพฒั นาครใู ห้เปน็ มืออาชีพ
แนวคิดการพัฒนาวิชาชีพครูจากงานวิจัย ใน
ประเทศ และต่างประเทศ และการตรวจสอบ
กรอบแนวคิด เชิงทฤษฎีของรูปแบบ โดย
ผู้เช่ียวชาญด้านการวิจัย การบริหารและการจัด
การเรียนการสอน รวม 5 คน เคร่ืองมือท่ีใช้แบบ
บันทึกผลการสังเคราะห์เนื้อหา และแบบตรวจสอบ
กรอบแนวคิด เชิงทฤษฎีของรูปแบบ การวิเคราะห์
ผลโดยการวิเคราะห์เนอื้ หา และคานวณหาค่าดัชนี
ความสอดคลอ้ ง IOC

ระยะที่ 2 ศึกษาผลการใช้ของรูปแบบ

โดยทดลองรูปแบบในโรงเรียนในสังกัดสานักงาน

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 3 โรงเรียน

137

ระยะท่ี 3 การประเมินและการปรับปรุง วารสารการวิจยั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน
รูปแบบการพัฒนาคุณภาพครูให้เป็นมืออาชีพเพ่ือ
ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)
เพื่อนาเสนอเป็นรูปแบบการพัฒนาคุณภาพครูให้
เป็นมืออาชีพเพ่ือผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 โดยใช้ 2) การพัฒนาคุณภาพครูดาเนนิ งาน
โรงเรียนเป็นฐานจากการประชุมผู้รู้ (Connoisseur’s
Seminar) เพอ่ื ประเมนิ เชงิ วิพากษ์ กลมุ่ เปา้ หมาย อย่างเป็นขั้นตอนใช้วงจรเดมมิ่ง (Deming Cycle :
เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 9 คน ที่ได้มาจาก
การพจิ ารณาเลือกแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive PDCA ) เพื่อควบคุมคุณภาพและประสิทธิภาพ
Sampling) โ ด ย เ ป็ น ผู้ มี ค ว า ม ร อ บ รู้ แ ล ะ
ประสบการณ์ด้านวิจัยพัฒนาการทางการศึกษา ในการปฏบิ ตั ิการพฒั นาคณุ ภาพครู
เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจยั คือเป็นคาถามการประชมุ
ผู้รู้ และแบบสรุปผลการประชุม วิเคราะห์ข้อมูล 3) ครูทางานเป็นทีมรวมตัวกันอยา่ ง
จากการประชมุ นามาวิเคราะห์เนื้อหา กัลยาณมิตรทางวิชาการเป็นชุมชนการเรียนรู้เพ่ือ
พั ฒ น า วิ ช า ชี พ ( Professional Learning
ผลการวิจัย Community : PLC) คือใจมีศรัทธาต่อวิชาชีพ
ร่วมใจทางานเป็นทีม ระหว่างครูผู้ต้องการพัฒนา
1. ผลการพัฒนารูปแบบการพัฒนา ตนเองและทีมครูชุมชนการเรียนรู้เพ่ือพัฒนา
คุ ณ ภ า พ ค รู ใ ห้ เ ป็ น มื อ อ า ชี พ เ พ่ื อ ผู้ เ รี ย น ใ น วิชาชีพ
ศตวรรษท่ี 21 โดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน เป็น
แบบรูปแบบ Semantic Model คือรูปแบบที่ใช้ 4) เน้ือหาการพัฒนาตามความ
ภาษาในการอธบิ ายและแสดงให้เห็นความสมั พนั ธ์ ต้องการของครูในการพัฒนาตนเอง ตรงกับงาน
ขององค์ประกอบต่างๆ ของรูปแบบ ประกอบดว้ ย ท่ีปฏิบัติจริงในห้องเรียนและท่ีรับมอบหมาย สู่
6 องค์ประกอบได้แก่ 1) หลักการของรูปแบบ ความเป็นมืออาชพี เพื่อผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21
2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 3) โครงสร้างเชิงระบบ
4) แผนการพัฒนาคุณภาพครู 5) กระบวนการ 5) ใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนา
ปฏิบัติการเพื่อพัฒนาคุณภาพครู 6) เง่ือนไข คณุ ภาพครู
ความสาเร็จ ดงั นี้
6) การพัฒนาคุณภาพครูเพื่อผู้เรียน
หลกั การของรูปแบบ ในศตวรรษท่ี 21 บรรจุอยู่ในแผนงานประจาปี
1) รูปแบบพัฒนาคุณภาพครูเป็น ของโรงเรียน และในแผนพัฒนาครูรายบุคคล
(ID Plan)
แนวคิดการพัฒนาเชิงระบบท่ีเชื่อมโยงทุกฝ่ายของ
โรงเรียนใหท้ างานรว่ มกนั อยา่ งมขี ัน้ ตอน 7) การประเมินผลมี 3 ระยะคือ
ก่อน ระหว่าง และหลังการพฒั นาคุณภาพครู

วตั ถุประสงคข์ องรูปแบบ
1) เพื่อครูพัฒนาตนเองให้มีความรู้

ทักษะ และคุณสมบตั ขิ องครูมอื อาชีพ
2) เพื่อครูเปลี่ยนแปลงจัดการเรยี นรู้

เ ป็ น แ บ บ ร่ ว ม มื อ ( Cooperative Learning)
การช่วยเหลือกนั (Collaborative Learning) และ
การลงมอื ปฏิบตั (ิ Active Learning) พฒั นาผเู้ รยี น
ให้มที ักษะในการดารงชวี ิต ในศตวรรษท่ี 21

3) เพ่ือผู้บริหารจัดการและสนับสนุน

การพัฒนาคุณภาพครูให้เป็นมืออาชีพโดยใช้

โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาตามความต้องการ

ของครเู พ่ือผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21

138

โครงสร้างเชิงระบบ วารสารการวิจยั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

รู ป แ บ บ ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ค รู ใ ห้ เ ป็ น ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)
มืออาชีพเพื่อผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 โดยใช้
โครงสร้างเชิงระบบ คือระบบการทางานร่วมกันของ
โรงเรียนเป็นฐาน มีโครงสร้างการพัฒนาคุณภาพ ครูและผู้บริหาร กระบวนการท่ีผู้บริหารใช้ในการ
อย่างเป็นระบบได้แก่ ระบบหลักและระบบย่อย ควบคุมคุณภาพการพัฒนาครูได้แก่ วงจรคุณภาพ
ระบบหลักได้แก่ ระบบการควบคุมคุณภาพ เดมมิ่ง (Deming Cycle: PDCA) จะเริ่มจากการ
เ ต รี ย ม ก า ร ก่ อ น ก า ร ว า ง แ ผ น ( Pre- Plan)
การปฏิบัติงานของโรงเรียนด้วยวงจรคุณภาพเดมมิ่ง มี 2 ขั้นตอนได้แก่ (1) ปลุกอุดมการณ์ (Awaken
(Deming Cycle: PDCA) และระบบย่อย ได้แก่ Ideology : AI) (2) สารวจศักยภาพ (Explore
Potential : EP ) และการใช้วงจรเดมมง่ิ (Deming
การเตรียมการ และกระบวนการของวงจรพัฒนา Cycle) PDCA เพ่ือควบคุมคุณภาพการพัฒนาครู
คุณภาพครูด้วยชุมชนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาวิชาชีพ (3) วางแผน (Plan :P) วางแผนปฏิบัติการประจาปี
(Professional Learning Community Cycle : PLC แ ล ะ ค รู แ ต่ ล ะ ค น จั ด ท า แ ผ น พั ฒ น า ต น เ อ ง ข อ ง ค รู
รายบุคคล (ID Plan) (4) ปฏิบัติการตามแผน
Cycle) และ มี เว็ บไ ซ ต์ http:/ / gg. gg/ plcweb (Do : D) ครูปฏิบัติการตามแผนพัฒนาตนเอง
“พัฒนาการเรียนรู้สู่ความเป็นครูมืออาชีพ” เป็น รายบุคคล โดยมีวงจรพฒั นาแบบชุมชนการเรยี นรู้
เพื่อพัฒนาวิชาชีพ (Professional Learning
แหล่งข้อมูลเก่ียวกับการพัฒนาคุณภาพครูให้เป็น Community Cycle : PLC Cycle) เป็นกระบวนการ
มื อ อ า ชี พ ต า ม แ น ว คิ ด ข อ ง รู ป แ บ บ ก า ร พั ฒ น า ในการพัฒนาคุณภาพครอู ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
คุณภาพครู

แผนภาพ โครงสร้างของรปู แบบการพฒั นาคณุ ภาพครใู หเ้ ป็นมอื อาชีพเพอื่ ผูเ้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 โดยใชส้ ถานศึกษาเปน็ ฐาน

139

วารสารการวิจยั การศึกษาขั้นพื้นฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

แผนภาพ 2 วงจรพฒั นาคณุ ภาพครแู บบชมุ ชนการเรยี นรู้เพอ่ื พฒั นาวิชาชีพ (PLC Cycle)
(1.focus 2. See 3.reflex 4.redesign)

วงจรพัฒนาคุณภาพครูแบบชุมชนการ (ID Plan) โดยระบุเป้าหมาย วิธี การพัฒนา
การตรวจสอบและปรบั ปรุงงานประจา (การจดั การ
เรียนรู้เพ่ือพัฒนาวิชาชีพ (PLC Cycle) เป็นวงจร
เรียนรู้ให้นักเรียน) และงานที่ได้รับมอบหมาย
ปฏิบัติการต่อเนื่อง โดยกาหนดเป้าหมาย (focus) เพิ่มเติมให้ครู แต่ละคนวางแผนพัฒนาตนเอง (ID
Plan)
 นาไปใช้และสังเกต (see)  สะท้อนคิด
กระบวนการปฏิบัติการเพ่ือพัฒนา
(reflex)  พัฒนาต่อเน่ือง (redesign) (5) ข้ัน คุณ ภาพ ค รู ก ร ะ บว น ก า ร น า รู ปแบบ ไ ป ใ ช้

ตรวจสอบ (Check : C) (6) ข้นั พัฒนา (Act : A) ประกอบด้วย ผู้ปฏิบัติการ 3 ฝ่าย คือ ครูผู้พัฒนา
ตน เอ ง สมาชิก เพื่อ น ครูท่ีร ว มเป็นชุมชน
แผนการพัฒนาคุณภาพครู ผู้บริหาร กัลยาณมิตรเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาวิชาชีพครู
อานวยการและนาคณะครูและส่วนที่เก่ียวข้อง
ร่วมกันวางแผนพัฒนาคุณภาพครู ประกอบด้วย อย่างต่อเน่ืองและผู้บริหาร รูปแบบมีกระบวนการ
(1) แผนพัฒนาคุณภาพประจาปีของโรงเรียน นาไปใช้ที่ง่าย และสร้างแรงจูงใจในการพัฒนา
(Annual Plan) จากการปรับปรุงแผนปฏิบัติการ
ประจาปี วสิ ัยทศั น์ พันธกิจ อตั ลักษณ์ หลักสูตร คุณภาพครู จากภายในสู่ภายนอก 6 ขั้นตอน
สถานศกึ ษาฯลฯ เพอื่ ขับเคลอ่ื นโรงเรียน สศู่ ตวรรษ (AI EP-PDCA)
ท่ี 21 และ (2) แผนพัฒนาตนเองของครูรายบุคคล

140

วารสารการวิจัยการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

ฉบับปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธนั วาคม 2564)

กระบวนการพัฒนาครูให้เป็นครูมืออาชีพ 6 ข้ันตอน (6 Steps to Professional teachers :
(AI EP-PDCA)

ขน้ั ตอน ครผู พู้ ฒั นาตนเอง เพอ่ื นครู ผบู้ ริหาร
teachers กลมุ่ ชมุ ชนการเรียนรู้ administrator
กระบวนการ เพอื่ พัฒนาวชิ าชพี
พฒั นาครู
colleagues

1) กาหนดหลักการยึดมัน่ สงู สดุ ปลุกอดุ มการณค์ วามเปน็ ครู ปลกุ อุดมการณค์ วามเป็นครู
ของความเป็นครใู ห้ เปน็ พร้อมกับสนับสนนุ ใหค้ รูยึด
ปลุกอุดมการณ์ อดุ มการณข์ องครแู ตล่ ะคน และร่วมมอื กนั อย่าง หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
(Awaken และปฏิบัตงิ านตามหลักการ กัลยาณมติ รให้อดุ มการณน์ ั้น พอเพียงควบคู่ไปกับการยดึ ม่ัน
Ideology : AI) นน้ั ใหส้ าเร็จ ให้สาเร็จ ในอดุ มการณ์ ความเป็นครู

2) สารวจศักยภาพเพอ่ื รู้ ให้ความรว่ มมือและสนับสนุน กระตนุ้ ให้ครูคน้ พบศกั ยภาพ
สารวจศกั ยภาพ เดน่ ในตน และใชจ้ ดุ เด่น
(Explore ความตอ้ งการในการพฒั นา ใหเ้ พ่ือนครสู ารวจและพฒั นา ในการพฒั นาตนเอง และ
Potential: EP ) ร่วมแลกเปลี่ยนเรยี นรู้กับ
ตนเอง โดยประเมนิ ตนเอง คณุ ภาพตนเอง เพื่อนครกู ลมุ่ ชุมชนการเรียนรู้
3) เพ่อื พัฒนาวชิ าชพี
ขน้ั วางแผน ตามแบบประเมินมาตรฐาน
( Plan : P) อานวยการใหร้ ว่ มกนั วางแผน
วชิ าชพี การปฏิบตั ิตามหลกั ปฏบิ ตั ิการพัฒนาคณุ ภาพ
ประจาปขี องโรงเรยี น
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ (Annual Plan) และให้ครู
แต่ละคนวางแผนพฒั นาตนเอง
พอเพียง และลักษณะความ (ID Plan)

เปน็ ครูคณุ ภาพในศตวรรษ

ที่ 21 ดา้ นบุคลิกภาพ,

ความร้คู วามสามารถดา้ น

ภาษาและเทคโนโลยี, การใฝ่

ควา้ หาความรูอ้ ย่างตอ่ เนือ่ ง

จากข้อมลู การสารวจ รว่ มมือกนั วางแผนปฏบิ ตั ิการ

ศักยภาพมาวางแผนพัฒนา พฒั นาคุณภาพการศึกษา

ตนเองรายบุคคลของครูสู่ ประจาปขี องโรงเรยี น

ความเป็นเลศิ โดยมขี ้อควร ทบทวนวสิ ัยทัศน์ พนั ธกจิ

พฒั นา 2 ดา้ น ดังน้ี ของโรงเรียนใหส้ อดคลอ้ งกับ

1) พัฒนากระบวนการ การพฒั นาผเู้ รียนยคุ ศตวรรษ

จัดการเรียนการสอนเพื่อ ที่ 21 และสง่ เสริมให้เพ่ือนครู

นักเรยี นในศตวรรษท่ี 21 วางแผนพฒั นาตนเอง

2) พฒั นาศักยภาพตนเอง รายบคุ คล

ตามมาตรฐานวิชาชพี และ

คณุ ลกั ษณะครใู นศตวรรษที่

21

141

วารสารการวิจยั การศึกษาขั้นพื้นฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

ขนั้ ตอน ครผู พู้ ฒั นาตนเอง เพอ่ื นครู ผบู้ ริหาร
กระบวนการ teachers กล่มุ ชมุ ชนการเรียนรู้ administrator
พฒั นาครู เพอ่ื พัฒนาวชิ าชพี
4)
ขนั้ ปฏบิ ตั ิ colleagues
ตามแผน
(Do : D) ปฏิบัติตามแผนพัฒนาครู รวมกลมุ่ กนั เปน็ ชมุ ชน ปฏิบตั ติ ามแผน เพื่อการบรรลุ
รายบุคคล ครพู ฒั นาตนเอง การเรียนรู้เพือ่ พฒั นาวิชาชีพ ตามวสิ ัยทศั น์ พันธกิจของ
5) และการจัดการเรยี นร้ใู ห้ เปน็ ชุมชนกลั ยาณมติ รเพือ่ โรงเรยี น อานวยการและ
ขั้นตรวจสอบ ผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21 โดย พัฒนาครูใหเ้ ปน็ มืออาชพี ใช้ สง่ เสริมให้ครูพัฒนาตนเอง เพอื่
(Check : C) มชี มุ ชนกลั ยาณมติ ร (Caring วงจรชมุ ชนการเรยี นรู้เพ่ือ ผ้เู รยี นมีทกั ษะในศตวรรษท่ี 21
พฒั นาวชิ าชพี (PLC Cycle)
6) Community) ทีป่ ระกอบ 1.กาหนดเป้าหมาย
ขั้นพฒั นา ไปดว้ ย เพื่อนครรู ว่ มพฒั นา 2.นาไปใชแ้ ละสงั เกต
(Act : A) โดยใช้รูปแบบวงจรชมุ ชน 3. สะท้อนคดิ และ
การเรียนรเู้ พ่ือพัฒนาวิชาชีพ 4.พัฒนาตอ่ เน่ือง
(PLC Cycle) เป็นวงจร (focusseereflex
ปฏบิ ัตกิ ารต่อเนื่อง ดังน้ี redesign)
1.กาหนดเป้าหมาย

2.นาไปใช้และสังเกต
3.สะท้อนคิด และ 4.พฒั นา
ต่อเน่อื ง
(focusseereflex
redesign)

ตรวจสอบการเปล่ียนแปลง รว่ มมอื ตรวจสอบการ ประเมิน ตรวจสอบผล
ตนเองสู่มอื อาชีพ และการ เปล่ยี นแปลงของครสู มู่ อื การดาเนินงานตามวตั ถุประสงค์
พฒั นาทกั ษะในศตวรรษท่ี อาชีพ การพฒั นาทกั ษะใน ของแผนปฏบิ ตั กิ ารพัฒนา
21 ของนักเรยี น ศตวรรษที่ 21 ของนกั เรียน คุณภาพประจาปขี องโรงเรยี น
ระยะก่อน ระหวา่ ง และ
หลังการดาเนินงาน

นาผลจากการตรวจสอบมา ร่วมกนั นาผลจากการ นาสารสนเทศท่ีไดจ้ าก
พัฒนาอยา่ งสม่าเสมอและ
ตอ่ เนอ่ื ง ตรวจสอบมาพฒั นาคณุ ภาพ ขั้นประเมินผลตามแผนปฏิบตั กิ าร

ครเู พื่อผ้เู รยี นในศตวรรษอยา่ ง พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาประจาปี

สม่าเสมอและต่อเนื่อง และแผนพัฒนารายบุคลคลของครู

มาใช้เป็นข้อมลู ประกอบการ

พฒั นาการวางแผน (Plan :P) ต่อไป

142

วารสารการวิจยั การศึกษาข้นั พื้นฐาน

ฉบบั ปฐมฤกษ์ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564)

เงอ่ื นไขความสาเร็จ 1) มาตรฐานวิชาชีพตาม พ.ร.บ. สภาครูและ
1) ผบู้ รหิ าร มภี าวะผูน้ าแสดงความเชื่อ
บุคลากรทางการศึกษาได้แก่ มาตรฐานความรู้และ
ในคุณค่าของการพัฒนาคุณภาพครู กาหนด ประสบการณว์ ิชาชีพมาตรฐานการปฏิบัติงาน มาตรฐาน
นโยบายจัดโครงสร้างสนับสนุนชุมชนการเรียนรู้ การปฏบิ ัติตน
เพ่ือพัฒนาวิชาชีพ (Supportive structure) และ
ปัจจัยให้เอ้ือต่อการรวมกลุ่มของครูเป็นชุมชน 2) มีและยึดม่ันอุดมการณ์ความเป็นครู
การเรียนรู้ และปฏิบตั ิตามแนวคิดของหลกั เศรษฐกิจพอเพียง

2) ครูต้อง ยึดมั่น ใน อุดมก ารณ์ 3) มีคุณลักษณะตามแนวคิดครูคุณภาพ
ต้ั ง ป ณิ ธ า น ท่ี จ ะ พั ฒ น า นั ก เ รี ย น ใ ห้ ส า เ ร็ จ ต า ม
เปา้ หมายในทกั ษะศตวรรษท่ี 21 ในศตวรรษที่ 21 ได้แก่
3.1) บุคลิกภาพดี ประกอบด้วยการ
3) ครทู ุกคนเรยี นรแู้ ละพฒั นาวิชาชีพ
( Professional Learning and Development) ดูแลรักษา ด้านสุขภาพ ด้านอารมณ์ เพิ่มพูน
ของตนเองโดยมจี ุดเนน้ สาคญั 2 ดา้ น ด้านเชาว์ปัญญา สามารถเผชิญฟันฝ่าอุปสรรค์
มีคุณธรรม และการมีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดีในการเข้าร่วม
3.1) การเรียนรเู้ พอ่ื พัฒนาวิชาชีพ
3.2) การเรียนรู้เพ่ือพัฒนาการจัด สงั คม
การเรียนรู้ 3.2) มีความรู้ความสามารถด้านภาษา
4) การให้ความสาคัญกับเทคโนโลยี
และกระบวนการใช้เทคโนโลยีเพอื่ การส่ือสารและ และเทคโนโลยีเพื่อใช้ในการค้นหาความรู้เพือ่ การพัฒนา
การปฏิบัติภารกิจอย่างเหมาะสม และกระบวนการ ตนเองและจดั การเรียนรู้ให้ผู้เรียน
พฒั นาคุณภาพ PDCA อยา่ งจรงิ จงั และตอ่ เนื่อง
5) การวัดและประเมินผลนามาใช้ 3.3) เป็นผู้ใฝ่คว้าหาความรู้อย่าง
เ ป็ น เ ค รื่ อ ง มื อ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ท้ั ง ตอ่ เน่ือง
รายบุคคลและภาพรวมของสถานศึกษา ประเมิน
ทั้งความก้าวหน้า (Formative Evaluation) และ 4) เป็นผู้นาการเปล่ียนแปลงการจัด
สรุปผล (Summative Evaluation) การเรี ยนรู้ ในการเป็ นผู้ เอ้ื ออ านวยให้ ผู้ เรี ยนเกิ ด
การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต
ข้อค้นพบท่ีสาคัญ ครูมืออาชีพเพ่ือ
ผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21 2. ผลการใช้รูปแบบพัฒนาคุณภาพครู
ให้เป็นมอื อาชีพเพื่อผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21 โดย
ผู้วิจัยค้นพบว่า ครูมืออาชีพเพื่อผู้เรียน
ในศตวรรษท่ี 21 คือครูท่ีพัฒนาตนเองอย่าง ใช้สถานศึกษาเป็นฐาน ในโรงเรียนประถมศึกษา
ต่อเน่อื งเพอื่ ใหม้ ีความรู้ ทกั ษะ และคุณสมบตั ิ ดงั น้ี มธั ยมศึกษาและขยายโอกาสทางการศึกษา ทดลอง
ใ ช้ รู ป แ บ บ พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ค รู 6 ข้ั น ต อ น
(AI EP-PDCA) ในระยะเวลา 1 ภาคเรียน ประเมิน
คุณภาพของรูปแบบในด้านความเหมาะสม ความ
เป็นไปได้ และเป็นประโยชน์จากครู ผลปรากฏว่า

รูปแบบการพัฒนาคุณภาพครูมีความเหมาะสม
เป็น ไ ปไ ด้และเป็น ปร ะโ ยชน์ในระ ดับมาก

143


Click to View FlipBook Version