The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คำไม่เล็กของคุณครูไม่ใหญ่ กับ DMC Cartoon เล่ม 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ICT Banjongrat, 2021-06-17 00:08:03

คำไม่เล็กของคุณครูไม่ใหญ่ กับ DMC Cartoon เล่ม 1

คำไม่เล็กของคุณครูไม่ใหญ่ กับ DMC Cartoon เล่ม 1

เราอยา่ ไปดึงผังกังวล
ผังกลุม้ มาขังไวใ้ นใจ
ยิ้มแลว้ เอาความใสมาใสไ่ ว้ดกี วา่

๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๘

251

www.kalyanamitra.org
251

ผู้ท่มี กี ำ� ลังใจสูงสง่

ย่อมมองไมเ่ หน็
ส่งิ ใดเปน็ อปุ สรรค

๒๘ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๔๘

252
www.kalyanamitra.org

252

ไฟไหมท้ ห่ี วั ไมข้ ดี

ก็ต้องดับท่หี วั ไมข้ ีด
ทุกข์เกดิ ขนึ้ ท่ใี จ ก็ตอ้ งดับทใ่ี จ

๓๐ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๔๙

253

www.kalyanamitra.org
253

ชีวิตท่ผี ิดพลาด
มีทางแกไ้ ข

๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

254
www.kalyanamitra.org

254

ถ้าเราไมเ่ หน่ือยยากลำ� บาก
ไม่อดทน

เราจะได้บารมมี าจากไหน

๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐

255

www.kalyanamitra.org
255

ถ้าชาตินี.้ ..

เราอดทนสรา้ งบารมี
จนกระท่ังถึงวาระสุดท้าย
เราจะยม้ิ อย่างผู้มชี ยั ชนะ
เปน็ ยมิ้ สุดท้ายที่สงา่ งาม

๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๓

256
www.kalyanamitra.org

256

สภาพใจทจ่ี ะไปทสี่ ุดแห่งธรรม

จะตอ้ งเปน็ สภาพใจท่ีไรก้ ังวล
ไม่ตดิ ในคน สตั ว์ สิ่งของ
เยอื กเยน็ เปน็ นจิ

๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๙

257

www.kalyanamitra.org
257

ท่านั่งขดั สมาธทิ �ำสมาธิ

อาจเหมอื นคนไมไ่ ด้ท�ำการงานอะไร
แต่จริงๆ แลว้ กำ� ลงั ท�ำงานทแี่ ทจ้ ริง

คือ งานขจัดกิเลสอาสวะ
ขจัดศัตรทู แ่ี ท้จรงิ ทอี่ ยภู่ ายในตวั เรา

๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๖

258
www.kalyanamitra.org

258

กวา่ ญาตโิ ยมเขาจะน�ำอาหาร
นำ� ปัจจยั มาถวาย

เขาล�ำบาก ตอ้ งอาบเหงอ่ื ตา่ งน�ำ้

ตอ้ งเอาชีวิตเปน็ เดมิ พัน
จะจับจ่ายใช้สอยอะไร กต็ ้องใชก้ ันใหด้ ี

ให้มคี วามเคารพในทานของเขา

๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๐

259

www.kalyanamitra.org
259

สิง่ ทชี่ าวโลกตอ้ งการ
คือ ความรทู้ ชี่ าวโลกยงั ไมร่ ู้

น่ันคือความรูท้ ่ีอยูใ่ นพระไตรปิฎก
ท้งั ภายในพระคัมภีรท์ ี่อย่ใู นตู้

และความรภู้ ายในตวั

๒๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๕

260
www.kalyanamitra.org

260

วัตถุประสงค์ของการบวช
มีเพียงประการเดียว

คอื ทำ� พระนิพพานใหแ้ จง้

ไมว่ ่าจะบวชส้ัน บวชยาว
หรือบวชแม้เพยี งวันเดียวก็ตาม
การบวชกเ็ พือ่ ทำ� พระนพิ พานให้แจง้ เทา่ นนั้

๒๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๗

261

www.kalyanamitra.org
261

262
www.kalyanamitra.org

262

วธิ ีฝกึ สมาธเิ บือ้ งตน้

สมาธิ คือ ความสงบ สบาย และความร้สู กึ เปน็ สขุ อยา่ งยิ่งท่ีมนุษยส์ ามารถ
สรา้ งขนึ้ ไดด้ ว้ ยตนเอง เปน็ สง่ิ ทพ่ี ระพทุ ธศาสนากำ� หนดเอาไวเ้ ปน็ ขอ้ ควรปฏบิ ตั ิ เพอื่
การด�ำรงชีวิตประจ�ำวันอย่างเป็นสุข ไม่ประมาท เต็มไปด้วยสติสัมปชัญญะและ
ปัญญา อันเป็นเรื่องไม่เหลือวิสัย ทุกคนสามารถปฏิบัติได้ง่ายๆ ดังวิธีปฏิบัติที่
พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนทฺ สโร) หลวงปู่วดั ปากน�้ำ ภาษเี จริญ ได้
เมตตาสัง่ สอนไว้ ดงั น้ี

๑. กราบบูชาพระรัตนตรัย เป็นการเตรียมตัวเตรียมใจให้นุ่มนวลไว้เป็น
เบอื้ งตน้ แลว้ สมาทานศลี ๕ หรือศลี ๘ เพอื่ ย�้ำความมนั่ คงในคุณธรรมของตนเอง

๒. คุกเข่าหรือนั่งพับเพียบสบายๆ ระลึกถึงความดีท่ีได้กระท�ำแล้วในวันนี้
ในอดีต และท่ตี ้งั ใจจะท�ำต่อไปในอนาคต จนราวกบั วา่ ร่างกายทัง้ หมดประกอบข้นึ
ดว้ ยธาตุแห่งคณุ งามความดีลว้ นๆ

๓. นัง่ ขัดสมาธิ ขาขวาทบั ขาซา้ ย มือขวาทับมือซา้ ย นวิ้ ชข้ี องมือข้างขวาจรด
นวิ้ หวั แมม่ อื ขา้ งซา้ ย นงั่ ใหอ้ ยใู่ นทา่ ทพ่ี อดี ไมฝ่ นื รา่ งกายมากจนเกนิ ไป ไมถ่ งึ กบั เกรง็
แตอ่ ย่าให้หลังโค้งงอ หลบั ตาพอสบาย คลา้ ยกบั ก�ำลงั พกั ผ่อน ไม่บบี กลา้ มเนอ้ื ตา
หรือขมวดควิ้ แลว้ ต้ังใจม่ัน วางอารมณส์ บาย สรา้ งความร้สู กึ ใหพ้ ร้อมทัง้ กายและ
ใจวา่ กำ� ลังจะเข้าไปสู่ภาวะแหง่ ความสงบสบายอยา่ งยิง่

263

www.kalyanamitra.org
263

๔. นึกก�ำหนดนิมิตเป็น “ดวงแก้วกลมใส” ขนาดเท่าแก้วตาด�ำ ใสบริสุทธิ์
ปราศจากรอยตำ� หนใิ ดๆ ขาวใส เยน็ ตาเยน็ ใจ ดังประกายของดวงดาว ดวงแก้ว
กลมใสน้ี เรยี กวา่ “บรกิ รรมนมิ ติ ” นกึ สบายๆ นกึ เหมอื นดวงแกว้ นนั้ มานงิ่ สนทิ อยู่
ณ ศนู ยก์ ลางกายฐานท่ี ๗ นึกไปภาวนาไปอย่างนมุ่ นวล เป็นพทุ ธานสุ ตวิ า่ “สมั มา
อะระหงั ” หรอื คอ่ ยๆ น้อมนกึ ดวงแกว้ กลมใสให้ค่อยๆ เคล่ือนเขา้ ส่ศู นู ย์กลางกาย
ตามแนวฐาน โดยเร่มิ ตน้ ตั้งแตฐ่ านท่ี ๑ เป็นตน้ ไป นอ้ มนึกอยา่ งสบายๆ ใจเย็นๆ
ไปพรอ้ มๆ กบั คำ� ภาวนา

อนึ่ง เมือ่ นมิ ิตดวงแกว้ กลมใสปรากฏแล้ว ณ กลางกาย ให้วางอารมณ์สบายๆ
กับนิมิตนั้น จนเหมือนกับว่า ดวงนิมิตเป็นส่วนหน่ึงของอารมณ์ หากดวงนิมิตน้ัน
อนั ตรธานหายไป กไ็ ม่ต้องนกึ เสยี ดาย ใหว้ างอารมณ์สบาย แล้วนึกนิมติ นั้นข้นึ มา
ใหม่แทนดวงเก่า หรือเมื่อนิมติ น้นั ไปปรากฏทอี่ น่ื ที่มิใช่ศนู ย์กลางกาย ใหค้ ่อยๆ
น้อมนิมติ เขา้ มาอย่างคอ่ ยเป็นค่อยไป ไมม่ ีการบงั คบั และเมอ่ื นิมติ มาหยุดสนทิ ณ
ศนู ยก์ ลางกาย ใหว้ างสติลงไปยงั จดุ ศูนยก์ ลางของดวงนิมติ ด้วยความร้สู ึกคล้ายมี
ดวงดาวดวงเล็กๆ อกี ดวงหนง่ึ ซอ้ นอย่ตู รงกลางดวงนมิ ติ ดวงเดิม แล้วสนใจเอาใจ
ใสแ่ ตด่ วงเลก็ ๆ ตรงกลางนนั้ ไปเรอ่ื ยๆ ใจจะปรบั จนหยดุ ไดถ้ กู สว่ น เกดิ การตกศนู ย์
และเกดิ ดวงสวา่ งขนึ้ มาแทนท่ี ดวงนเ้ี รยี กวา่ “ดวงธรรม” หรอื “ดวงปฐมมรรค” อนั
เปน็ ประตเู บื้องต้นที่จะเปิดไปสู่หนทางแห่งมรรคผลนพิ พาน

การระลกึ นึกถึงนมิ ติ สามารถทำ� ได้ในทกุ แห่ง ทกุ ที่ ทกุ อิรยิ าบถ ไม่วา่ จะน่งั
นอน ยนื เดิน หรอื ขณะทำ� ภารกิจใดๆ

ข้อแนะน�ำ คือ ต้องท�ำให้สม�่ำเสมอเป็นประจ�ำ ท�ำเร่ือยๆ ท�ำอย่างสบายๆ
ไม่เร่ง ไมบ่ ังคับ ทำ� ไดแ้ ค่ไหน ใหพ้ อใจแค่นัน้ ซึ่งจะเป็นการปอ้ งกันมใิ หเ้ กิดความ
อยากจนเกนิ ไป จนถงึ กบั ทำ� ใหใ้ จตอ้ งสญู เสยี ความเปน็ กลาง และเมอื่ การฝกึ สมาธิ
264

www.kalyanamitra.org
264

บังเกิดผลจนได้ “ดวงปฐมมรรค” ที่ใสเกินใส สวยเกินสวย ติดสนิทมั่นคงอยู่ท่ี
ศูนยก์ ลางกายแล้ว ให้หมัน่ ตรกึ ระลกึ นกึ ถึงอยูเ่ สมอ

อยา่ งนี้แล้ว ผลแห่งสมาธจิ ะท�ำให้ชีวติ ด�ำรงอย่บู นเส้นทางแห่งความสุข ความ
สำ� เรจ็ และความไมป่ ระมาทไดต้ ลอดไป ทง้ั ยงั จะทำ� ใหส้ มาธลิ ะเอยี ดลมุ่ ลกึ ไปตาม
ลำ� ดบั อกี ดว้ ย

ขอ้ ควรระวัง

๑. อย่าใชก้ ำ� ลงั คอื ไมใ่ ชก้ �ำลงั ใดๆ ทัง้ สิ้น เชน่ ไม่บบี กลา้ มเนือ้ ตา เพอื่
จะใหเ้ หน็ นมิ ติ เรว็ ๆ ไมเ่ กรง็ แขน ไมเ่ กรง็ กลา้ มเนอ้ื หนา้ ทอ้ ง ไมเ่ กรง็ ตวั ฯลฯ เพราะ
การใช้กำ� ลังตรงส่วนใดของร่างกายก็ตาม จะท�ำให้จิตเคลื่อนจากศูนย์กลางกายไป
สู่จุดน้นั

๒. อย่าอยากเหน็ คอื ท�ำใจใหเ้ ปน็ กลาง ประคองสติ มใิ ห้เผลอจากบริกรรม
ภาวนาและบริกรรมนิมติ ส่วนจะเหน็ นิมติ เมอ่ื ใดน้ัน อย่ากงั วล ถา้ ถึงเวลาแล้วยอ่ ม
เห็นเอง การบังเกิดของดวงนิมิตน้ัน อุปมาเสมือนการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์
เราไม่อาจจะเร่งเวลาได้

๓. อยา่ กงั วลถงึ การก�ำหนดลมหายใจเข้าออก เพราะการฝกึ สมาธิเพือ่ ให้เข้า
ถึงพระธรรมกายภายใน อาศยั การนกึ ถงึ “อาโลกกสิณ” คือ กสณิ ความสวา่ งเป็นบท
เบื้องต้น เมื่อฝกึ สมาธจิ นเขา้ ถงึ ดวงปฐมมรรคแล้ว ฝกึ สมาธติ ่อไป ผ่านกายมนุษย์
ละเอยี ด กายทิพย์ กายรูปพรหม กายอรูปพรหม จนกระทัง่ เข้าถึงพระธรรมกายแลว้

265

www.kalyanamitra.org
265

จงึ เจรญิ วิปสั สนาในภายหลงั ดังนัน้ จึงไม่มคี วามจำ� เป็นตอ้ งก�ำหนดลมหายใจเข้า
ออกแต่ประการใด

๔. เมอื่ เลกิ จากนัง่ สมาธิแล้ว ให้ต้งั ใจไว้ท่ีศนู ย์กลางกายทีเ่ ดยี ว ไม่วา่ จะอยใู่ น
อิรยิ าบถใดกต็ าม เชน่ ยืน เดิน นอน หรือน่งั อยา่ ย้ายฐานที่ตัง้ จิตไปไวท้ ีอ่ ่นื
เป็นอันขาด ให้ตั้งใจบริกรรมภาวนา พร้อมกับนึกถึงบริกรรมนิมิตเป็นดวงแก้วใส
ควบคกู่ ันตลอดไป

๕. นมิ ติ ตา่ งๆ ทเ่ี กดิ ขนึ้ จะตอ้ งนอ้ มไปตง้ั ไวท้ ศี่ นู ยก์ ลางกายทง้ั หมด ถา้ นมิ ติ
เกิดข้ึนแลว้ หายไป ก็ไมต่ ้องตามหา ให้ภาวนาประคองใจต่อไปตามปกติ ในที่สดุ
เมื่อจิตสงบ นมิ ิตยอ่ มปรากฏขน้ึ ใหม่อีก

การฝึกสมาธเิ บื้องต้นเท่าทก่ี ล่าวมาทั้งหมดนี้ ยอ่ มเป็นปจั จยั ให้เกิดความสุขได้
เมื่อซักซ้อมปฏบิ ตั ิอย่เู สมอๆ ไมท่ อดทิง้ จนไดด้ วงปฐมมรรคแล้ว ก็ให้หมน่ั ประคอง
รกั ษาดวงปฐมมรรคนน้ั ไวต้ ลอดชวี ติ ดำ� รงตนอยใู่ นศลี ธรรมอนั ดี ยอ่ มเปน็ หลกั ประกนั
ได้ว่า ได้ท่ีพึ่งของชีวิตที่ถูกต้องดีงาม ที่จะส่งผลให้เป็นผู้มีความสุข ความเจริญ
ทงั้ ในภพชาตนิ แี้ ละภพชาตหิ นา้ เดก็ เคารพผใู้ หญ่ ผใู้ หญเ่ มตตาเดก็ ทกุ คนมคี วาม
รกั ใคร่สามคั คเี ปน็ น�้ำหนง่ึ ใจเดยี วกนั หากสามารถแนะน�ำตอ่ ๆ กันไป ขยายไปยัง
เหล่ามนุษยชาติอย่างไม่จ�ำกัดเชื้อชาติ ศาสนา และเผ่าพันธุ์ สันติสุขอันไพบูลย์ท่ี
ทกุ คนใฝ่ฝนั ก็ยอ่ มบังเกิดข้นึ อยา่ งแน่นอน

266
www.kalyanamitra.org

266

ประโยชน์ของการฝึกสมาธิ

๑. ผลต่อตนเอง
๑.๑. ดา้ นสขุ ภาพจติ
ส่งเสริมให้คุณภาพของใจดีข้ึน คือ ท�ำให้จิตใจผ่องใส สะอาด บริสุทธ์ิ สงบ

เยือกเยน็ ปลอดโปร่ง โล่ง เบา สบาย มีความจำ� และสติปัญญาดีขน้ึ
สง่ เสรมิ สมรรถภาพทางใจ ทำ� ใหค้ ดิ อะไรไดร้ วดเรว็ ถกู ตอ้ ง และเลอื กคดิ แตใ่ น

สิง่ ที่ดเี ทา่ น้นั
๑.๒. ด้านพฒั นาบุคลกิ ภาพ
ท�ำให้เป็นผู้มีบุคลิกภาพดี กระฉับกระเฉง กระปรี้กระเปร่า มีความองอาจ

สง่าผ่าเผย มผี ิวพรรณผ่องใส
มคี วามมงั่ คงทางอารมณ์ หนกั แนน่ เยือกเยน็ และเชือ่ มน่ั ในตนเอง
มีมนุษยสัมพันธด์ ี วางตวั ไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะ เปน็ ผมู้ เี สน่ห์ เพราะไม่มกั

โกรธ มคี วามเมตตากรุณาต่อบุคคลทั่วไป
๑.๓. ด้านชวี ิตประจ�ำวนั
ชว่ ยใหค้ ลายเครยี ด เปน็ เครอ่ื งเสรมิ ประสทิ ธภิ าพในการทำ� งาน และการศกึ ษา

เลา่ เรียน
ช่วยเสริมให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง เพราะร่างกายกับจิตใจย่อมมีอิทธิพล

ตอ่ กนั ถ้าจติ ใจเข้มแขง็ ยอ่ มเป็นภูมิต้านทานโรคไปในตัว

267

www.kalyanamitra.org
267

๑.๔. ด้านศลี ธรรมจรรยา
ทำ� ใหเ้ ปน็ ผมู้ สี มั มาทฏิ ฐิ เชอ่ื กฎแหง่ กรรม สามารถคมุ้ ครองตนใหพ้ น้ จากความ
ชวั่ ทง้ั หลายได้ และเนอื่ งจากจิตใจดี จงึ ทำ� ใหค้ วามประพฤติทางกาย และวาจา
ดีตามไปด้วย
ทำ� ใหเ้ ปน็ ผมู้ ีความมกั นอ้ ย สันโดษ รกั สงบ และมขี นั ติเป็นเลศิ
ท�ำให้เป็นผู้มีความเอ้ือเฟื้อเผ่ือแผ่ เห็นประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์
สว่ นตัว เปน็ ผูม้ ีสัมมาคารวะ และมีความอ่อนนอ้ มถ่อมตน

๒. ผลต่อครอบครวั
๒.๑. ทำ� ใหค้ รอบครวั มคี วามสงบสขุ เพราะสมาชกิ ในครอบครวั เหน็ ประโยชน์

ของการประพฤตธิ รรม ทกุ คนตง้ั มนั่ อยใู่ นศลี ปกครองกนั ดว้ ยธรรม เดก็ เคารพผใู้ หญ่
ผู้ใหญ่เมตตาเดก็ ทกุ คนมคี วามรกั ใครส่ ามัคคเี ป็นน�้ำหนงึ่ ใจเดียวกัน

๒.๒. ท�ำให้ครอบครัวมีความเจริญก้าวหน้า เพราะสมาชิกต่างก็ท�ำหน้าที่ของ
ตนโดยไม่บกพร่อง เป็นผู้มีใจคอหนักแน่น เม่ือมีปัญหาครอบครัว หรือมีอุปสรรค
อันใด ยอ่ มร่วมใจกันแกไ้ ขปัญหาน้นั ใหล้ ลุ ว่ งไปได้

๓. ผลตอ่ สงั คมและประเทศชาติ
๓.๑. ทำ� ใหส้ งั คมสงบสขุ ปราศจากปญั หาอาชญากรรม และปญั หาสงั คมอนื่ ๆ

เพราะปญั หาทง้ั หลายทเี่ กดิ ข้นึ ในสงั คม ไมว่ ่าจะเปน็ ปญั หาการฆ่า การข่มขืน โจร
ผรู้ า้ ย การทจุ รติ คอรปั ชน่ั ลว้ นเกดิ ขน้ึ มาจากคนทขี่ าดคณุ ธรรม เปน็ ผทู้ ม่ี จี ติ ใจออ่ นแอ
268

www.kalyanamitra.org
268

หว่ันไหวต่ออ�ำนาจสิ่งย่ัวยวนหรือกิเลสได้ง่าย ผู้ที่ฝึกสมาธิย่อมมีจิตใจเข็มแข็ง มี
คณุ ธรรมในใจสงู ถา้ แตล่ ะคนในสงั คมตา่ งฝกึ ฝนอบรมใจของตนใหห้ นกั แนน่ มนั่ คง
ปญั หาเหลา่ นก้ี จ็ ะไมเ่ กิดขน้ึ สง่ ผลใหส้ งั คมสงบสขุ ได้

๓.๒. ทำ� ใหเ้ กิดความมรี ะเบียบวินัย และเกิดความประหยัด ผทู้ ีฝ่ กึ ใจใหด้ ีงาม
ดว้ ยการทำ� สมาธอิ ยเู่ สมอ ยอ่ มเปน็ ผรู้ กั ความมรี ะเบยี บวนิ ยั รกั ความสะอาด มคี วาม
เคารพกฎหมายของบา้ นเมือง ทำ� ใหบ้ า้ นเมืองของเราสะอาดนา่ อยู่ ไมม่ คี นมักง่าย
ทง้ิ ขยะลงบนพนื้ ถนน จะขา้ มถนนกเ็ ฉพาะตรงทางขา้ ม เปน็ ตน้ เปน็ เหตใุ หป้ ระเทศ
ชาติไม่ตอ้ งสน้ิ เปลอื งงบประมาณ เวลา และกำ� ลังเจา้ หน้าท่ี ทจ่ี ะไปใช้สำ� หรับแก้
ปญั หาที่เกดิ ขึน้ จากความไม่มีระเบียบวนิ ัยของประชาชน

๓.๓. ทำ� ใหส้ ังคมเจรญิ กา้ วหนา้ เมอ่ื สมาชกิ ในสังคมมีสขุ ภาพจิตดี รักความ
เจรญิ กา้ วหนา้ มปี ระสทิ ธภิ าพในการทำ� งานสงู ยอ่ มสง่ ผลใหส้ งั คมเจรญิ กา้ วหนา้ ตาม
ไปดว้ ย และเม่อื มีกิจกรรมของสว่ นรวม สมาชกิ ในสงั คมกย็ อ่ มพรอ้ มทจี่ ะสละความ
สุขส่วนตน ให้ความร่วมมือกับส่วนรวมอย่างเต็มที่ แม้มีผู้ไม่ประสงค์ดีต่อสังคม
จะมายแุ หยใ่ หเ้ กดิ ความแตกแยก กจ็ ะไมเ่ ปน็ ผลสำ� เรจ็ เพราะสมาชกิ ในสงั คม เปน็
ผมู้ ีจิตใจหนกั แน่น มเี หตุผล และเปน็ ผูร้ ักสงบ

๔. ผลต่อศาสนา
๔.๑. ท�ำให้เข้าใจพระพุทธศาสนาได้อย่างถูกต้อง และรู้ซ้ึงถึงคุณค่าของ

พระพทุ ธศาสนา รวมทั้งรเู้ หน็ ดว้ ยตัวเองว่า การฝกึ สมาธไิ มใ่ ช่เร่ืองเหลวไหล หาก
แตเ่ ปน็ วิธเี ดยี วทจ่ี ะท�ำใหพ้ น้ ทุกข์เขา้ สู่นิพพานได้

269

www.kalyanamitra.org
269

๔.๒. ทำ� ใหเ้ กดิ ศรทั ธาตง้ั มนั่ ในพระรตั นตรยั พรอ้ มทจี่ ะเปน็ ทนายแกต้ า่ งใหก้ บั
พระพทุ ธศาสนา อนั จะเปน็ กำ� ลงั สำ� คญั ในการเผยแผก่ ารปฏบิ ตั ธิ รรมทถี่ กู ตอ้ งใหแ้ พร่
หลายไปอย่างกว้างขวาง

๔.๓. เปน็ การสบื อายพุ ระพทุ ธศาสนาใหเ้ จรญิ รงุ่ เรอื งตลอดไป เพราะตราบใดที่
พทุ ธศาสนกิ ชนยงั ตงั้ ใจปฏบิ ตั ธิ รรมเจรญิ ภาวนาอยู่ พระพทุ ธศาสนากจ็ ะเจรญิ รงุ่ เรอื ง
อย่ตู ราบนั้น

๔.๔. จะเปน็ กำ� ลงั สง่ เสรมิ ทำ� นบุ ำ� รงุ พระพทุ ธศาสนา เพราะเมอื่ เขา้ ใจซาบซง้ึ ถงึ
ประโยชนข์ องการปฏบิ ตั ธิ รรมดว้ ยตนเองแลว้ ยอ่ มจะชกั ชวนผอู้ น่ื ใหท้ ำ� ทาน รกั ษาศลี
และเจริญภาวนาตามไปด้วย

เมือ่ ใดท่ที ุกคนในสงั คมตงั้ ใจปฏบิ ัติธรรม ท�ำทาน รักษาศลี และเจริญภาวนา
เมอ่ื นั้นย่อมเป็นท่ีหวังได้วา่ สันตสิ ุขท่แี ท้จรงิ กจ็ ะบังเกดิ ขึ้นอยา่ งแน่นอน

270
www.kalyanamitra.org

270

271

www.kalyanamitra.org
271

กราบขอบพระคณุ และอนโุ มทนาทกุ ทา่ น

ผูม้ ีสว่ นส�ำคญั ยิ่งทที่ �ำใหห้ นงั สือเลม่ น้สี ำ� เรจ็ บริบูรณ์

• พระวีรวุฒน์ มนวโี ร • พระสนทิ วงศ์ วุฑฒฺ วิ ํโส • พระนรนิ ทร์ สุปภาโส

• พระสกล นนทฺ รตโน • พระอานินทร์ วุฑฒฺ ิโชโต

• หวั หนา้ ช้ันวนิ ชิ พนั ธว์ุ ิรยิ รตั น์ • คุณสุปานันท์ ป่ินสรู ย์ • คุณจีรนันท์ วรี ชัยพเิ ชษฐ์กลุ

• คณุ สรยิ า ลอื ฤทธกิ ุล • คุณสุภชา ศรโี สภิต • คุณวรกันยา สากระแสร์

• คุณมกุ ดา สริ ิวรจรรยาดี • คุณกมลศิริ ทองมี • คุณนงลกั ษณ์ สุขหนองบงึ

• คณุ กนิษฐ์ พรพัฒนะแฉง่ • คณุ นิตยา ประจักษ์จิตร์ • คณุ พรสดุ า บุญจันทร์

• คุณจนั ทร์จริ า มีเดช • คณุ ภัทนวรรณ บญุ เกตุ • คณุ นิตยา แกว้ เอ

• คุณจิราพร บุญเกตุ • คณุ กลุ ฑรี า วรโชตริ ัตน์ • คุณนวพรรณ งามตา

• สำ� นักกัลยาณมิตรสากล • ทีมงานพธิ ีกร • เจา้ หนา้ ทกี่ องรบั บริจาค

• นกั เรยี นอนุบาลฝนั ในฝันวิทยาทั่วโลกและกัลยาณมติ รทุกทา่ น

สง่ จุบ๊ !

272
www.kalyanamitra.org

272


Click to View FlipBook Version