The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

๒๕๐ ปี ตามรอยกองเรือยกพลขึ้นบกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจากจันทบุรีสู่อยุธยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นาวิกศาสตร์, 2022-06-23 04:40:42

๒๕๐ ปี ตามรอยกองเรือยกพลขึ้นบกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจากจันทบุรีสู่อยุธยา

๒๕๐ ปี ตามรอยกองเรือยกพลขึ้นบกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจากจันทบุรีสู่อยุธยา

ภาพเรียงตามลำาดับ
คุณหญิงจวบ จิรโรจน์ อดีตประธานมูลนิธิฯ พลเรือเอก วสินธ์ สาริกะภูติ ประธานมูลนิธิฯ คนปัจจุบัน
พลโท กิตต์พงษกร นพวงศ์ ณ อยุธยา นายวิทูรัช ศรีนาม ผู้ว่าราชการจังหวัดจันทบุรี
นายจักรกริช ชุติมันต์ (คนยืนเสื้อสีฟ้า)













































199

พิธีมังคลาภิเษกเหรียญที่ระลึก



สมเด็จพระเจ้าตากสนมหาราช


“รุ่น ๒๕๐ ป กู้ชาติ”
วันอาทิตย์ที่ ๒๖ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๑

ณ ท้องพระโรง พระราชวังเดิม



























พลเรือเอก สุวัชชัย เกษมศุข อดีตผู้บัญชาการทหารเรือ เป็นประธานในพิธีมังคลาภิเษก




































พระเทพเมธี (สมเกียรติ โกวิโท ป.ธ.๙) เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร
เป็นประธานจุดเทียนชัย

200

201

พระเทพสิทธาคม วัดท่าไม้แดง จ.ตาก เป็นประธานดับเทียนชัย

202

พลตำารวจตรี จิรโรจน์ กี่ศิริ กรรมการ

มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช






















พลเรือตรี ชาติชาย ทองสะอาด
พลเรือเอก คำารณ นุชนารถ ที่ปรึกษา

มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช


















พลเรือเอก วสินธ์ สาริกะภูติ ประธาน

มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
กล่าวถึงความเป็นมาการจัดสร้าง

เหรียญท่ระลึกสมเด็จพระเจ้าตากสิน
มหาราช “รุ่น ๒๕๐ ปี กู้ชาติ”





203

สถานที่สำ คัญและโบราณสถาน


ภายในพระราชวังเดิม








































พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช



































ศาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

204

ท้องพระโรงพระราชวังกรุงธนบุรี



























ท้องพระโรงพระราชวังกรุงธนบุรี




























พระตำาหนักเก๋งคู่

205

งานเสวนาทางวิชาการ


วันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๑ ณ พระราชวังเดิม


มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้รับมอบหมายจากคณะทางานโครงการ “๒๕๐ ปี ตามรอย


กองเรือยกพลข้นบกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จากจันทบุรีส่อยุธยา” ให้ดาเนินการจัดการเสวนา






ทางวิชาการในหัวข้อเร่อง “สมุททานุภาพส่การกู้ชาติ” ในวันอาทิตย ท่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๑

ระหว่างเวลา ๐๙.๓๐ น. – ๑๒.๐๐ น. ณ พื้นที่พระราชวังเดิม (พระราชวังกรุงธนบุรีในสมเด็จพระเจ้าตากสิน
มหาราช) ผู้ที่ร่วมเสวนาในครั้งนี้ ประกอบด้วย
พิธีกร นางสุดารา สุจฉายา
ผู้ดำาเนินรายการ นายธีรนันท์ ช่วงพิชิต นายไกรฤกษ์ นานา
นาวาเอก วชิรพร วงศ์นครสว่าง นายสุเจน กรรพฤทธิ์




















































ภาพจากซ้าย พลเรือเอก ประพฤติพร อักษรมัต นายสุเจน กรรพฤทธิ์ นายไกรฤกษ์ นานา

พลเรือเอก วสินธ์ สาริกะภูติ นาวาเอก วชิรพร วงศ์นครสว่าง นายธีรนันท์ ช่วงพิชิต นางสุดารา สุจฉายา

206

207

พลเรือเอก วสินธ์ สาริกะภูติ ประธานมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
มอบของที่ระลึกให้แก่ นายไกรฤกษ์ นานา นักวิชาการอิสระ

























พลเรือเอก วสินธ์ สาริกะภูติ ประธานมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
มอบของที่ระลึกให้แก่ นายธีรนันท์ ช่วงพิชิต นักวิชาการอิสระ


























พลเรือเอก วสินธ์ สาริกะภูติ ประธานมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

มอบของที่ระลึกให้แก่ นายสุเจน กรรพฤทธิ์ นักวิชาการอิสระ

208

โครงการบรรยายความรู้ทางประวัติศาสตร์ “กรุงธนบุรี”


และการประกวดภาพระบายสี “๒๕๐ ปี ทณบุรีศรีมหาสมุทร”

เมื่อวันศุกร์ ที่ ๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๑

ณ ห้องประชุมเฉลิมพระเกียรติ อาคาร ๒ ชั้น ๘

มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี









ด้วยในปี พ.ศ.๒๕๖๐ กรุงธนบุรีจะมีวาระครบ ๒๕๐ ปี นับเป็นโอกาสพิเศษท่ประชาชนชาวไทย



จะได้ราลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ซ่งพระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ท่ม ี




คุณูปการสาคัญอย่างย่งต่อผืนแผ่นดินไทย โดยกว่า ๒๕๐ ปี มาแล้ว พระองค์ได้ท่มเทท้งพระวรกายและ
สติปัญญาในการต่อสู้กอบกู้บ้านเมืองจากอริราชศัตรู จนกระทั่งได้มีกรุงธนบุรีเป็นราชธานีที่สำาคัญในเวลาต่อมา
และกลายเป็นรากฐานที่มั่นคงให้แก่กรุงรัตนโกสินทร์จวบจนกระทั่งปัจจุบัน
ในปี พ.ศ.๒๕๖๑ สำานักศิลปะและวัฒนธรรม และหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต คณะมนุษยศาสตร์
และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี และมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้ดำาเนินงาน

ร่วมกันมาในลักษณะเครือข่ายทางด้านประวัติศาสตร์ และศิลปวัฒนธรรม ต้งแต่งาน “รฤกธนบุร ๒๕๐ ปี”



ตลอดปี พ.ศ.๒๕๖๐ ท่ผ่านมา จึงเห็นควรว่าน่าจะมีการบรรยายความร้ทางประวัติศาสตร์กรุงธนบุรี ให้กับ

เยาวชนได้แสดงออกถึงความรับรู้ความเข้าใจที่ตนมีต่อวาระสำาคัญครบ ๒๕๐ ปี กรุงธนบุรี ด้วยการสร้างสรรค์
และถ่ายทอดจินตนาการในการประกวดวาดภาพระบายสีในหัวข้อ “๒๕๐ ป ทณบุรีศรีมหาสมุทร” เพ่อเป็นการ


อนุรักษ์และเผยแพร่พระเกียรติคุณของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ให้ขจรขจายต่อไป


เน่องในโอกาสท่รัฐบาลประกาศให้ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๖๐ – ธันวาคม ๒๕๖๑ เป็นวาระแห่งการ
ครบ ๒๕๐ ปี แห่งการสถาปนากรุงธนบุรีของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และได้มีมติให้ท้งภาครัฐและเอกชน


จัดงานเทิดพระเกียรติพระองค์ท่าน มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้เล็งเห็นถึงความสาคัญในการให ้

ความร้ด้านประวัติศาสตร์แก่เยาวชนและประชาชนท่วไป จึงให้การสนับสนุนงบประมาณเพ่อจัดโครงการบรรยาย


ความรู้ทางประวัติศาสตร์กรุงธนบุรี และการประกวดวาดภาพระบายสี “๒๕๐ ปี ทณบุรีศรีมหาสมุทร” โดยที่
โครงการน้ม่งเน้นถ่ายทอดความร้ด้านประวัติศาสตร์ในลักษณะท่ไม่ปรากฏในแบบเรียนท่วไป โดยแสดงให้เห็น






ถึงประวัติศาสตร์แบบภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ การสงคราม และมานุษยวิทยา โดยเน้นย้าให้เห็นถึงพระอัจฉริยภาพ

ทางการปกครองของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชควบค่กันไป ส่งผลให้เยาวชนได้รับทราบข้อมูลด้านต่าง ๆ

ของเมืองธนบุรี ท่มีอายุครบ ๒๕๐ ปี และสามารถนาไปเป็นแรงบันดาลใจในการถ่ายทอดออกมาเป็นผลงาน

ศิลปะเพื่อประกวดแข่งขัน
กิจกรรมเริ่มขึ้นในวันศุกร์ ที่ ๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๑ โดย พลเรือเอก วสินธ์ สาริกะภูติ ประธาน
มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช กล่าวเปิดงาน ต่อจากนั้นเป็นการบรรยายความร้ทางประวัติศาสตร์

ในหัวข้อ “๒๕๐ ปี กรุงธนบุรี” โดยมีวิทยากร ๓ ท่าน คือ


209

๑. คุณธีรนันท์ ช่วงพิชิต ผู้เชี่ยวชาญด้านประวัติศาสตร์และมานุษยวิทยา
๒. ผศ.ดร.ทองเจือ เขียดทอง อาจารย์ประจำาหลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราขภัฏธนบุรี

๓. คุณมงคล พรสิริภักดี นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์ศิลปะ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

ในวันอาทิตย์ ที่ ๑๑ พศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๑ ได้นำาภาพวาดที่ได้รับรางวัลของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา

ตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และ ปวช. มาจัดแสดงท่พระราชวังเดิม กองทัพเรือ และผ้ชนะการประกวด

เข้ารับรางวัลและเกียรติบัตรจาก พลเรือเอก วสินธ์ สาริกะภูติ ประธานมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช


รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการประกวดวาดภาพ


ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
๑. เด็กหญิงพิมพ์พิศุทธิ์ สังข์แก้ว รางวัลชนะเลิศ
๒. เด็กหญิงณรัญญา รัตนมณี รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ ๑

๓. เด็กหญิงรินรดา ยอดไม้ รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ ๒
๔. เด็กหญิงลลิตา สีประโคน รางวัลชมเชย
๕. เด็กหญิงอริสา พลนาค รางวัลชมเชย

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

๑. นางสาวศศิวรรณ สว่างสุรีย์ รางวัลชนะเลิศ
๒. นางสาวนภัสวรรณ กาเผือกงาม รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ ๑
๓. นางสาวพรรณพัชร คีรีเดช รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ ๒

๔. นางสาวพรธิชา พงษ์อุดมปัญญา รางวัลชมเชย
๕. นายเทพทัต โตศิริ รางวัลชมเชย






































210

พลเรือเอก วสินธ์ สาริกะภูติ ประธานมูลนิธิ
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช มอบของที่ระลึกให้แก่
ผศ.ดร.ทองเจือ เขียดทอง




















































บรรยากาศของการประกวดภาพระบายสี “๒๕๐ ปี ทณบุรีศรีมหาสมุทร” ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

211

งาน “รฦกธนบุรี ๒๕๐ ปี”



















































































212

213

214

215

กิจกรรมครบรอบ ๑ ปี ของมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ในสมัย พลเรือเอก สงัด ชลออยู่ ดำารงตำาแหน่งประธานมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ผู้ก่อตั้ง








































พลเรือเอก สงัด ชลออยู่ ประธานมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ผู้ก่อตั้ง
กล่าวสรุปรายงานการดำาเนินการของมูลนิธิฯ ในรอบปี





































216

งานเลี้ยงครบรอบ ๑ ปี ของมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ณ สโมสรกองทัพบก (เทเวศน์)
ภาพด้านซ้าย นายวิกรม เมาลานนท์ นายสุธี อากาศฤกษ์ นายสุพัฒน์ พัฒนวงศ์
ภาพด้านขวา พลเอก เสริม ณ นคร พลเรือเอก สงัด ชลออยู่ คุณหญิงแสงเดือน ณ นคร









































พลเรือเอก สงัด ชลออยู่ ประธานมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (ผู้ก่อตั้ง)
พลเอก เสริม ณ นคร รองประธานมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช


217

พลตรี ชวลิต กี่ศิริ พลเรือเอก สงัด ชลออยู่ และ พลเรือเอก สงัด ชลออยู่ มอบของที่ระลึกให้
พลตำารวจตรี สุวรรณ รัตนชื่น นายสุธี อากาศฤกษ์ เลขาธิการ ปปป.





























พลตารวจเอก ชุมพล โลหะชาละ และกรรมการ

มูลนิธิฯ รับมอบเงินบริจาคที่บ้าน พลเอก กฤษณ์ สีวะรา
โดยคุณหญิงสุหร่าย สีวะรา เหรัญญิก เป็นผู้รับมอบ


















พลเรอเอก สงด ชลออย ได้ประชมรวมกบคณะ


แพทย์โดยมี นายแพทย์จงรักษ์ กุลเศรษฐ ผู้อำานวยการ
โรงพยาบาลตากในขณะนั้น เพื่อดำาเนินการก่อสร้างตึก
อานวยการโรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

ตามวัตถุประสงค์ของมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พลเรือเอก สงัด ชลออยู่ เดินตรวจดูอาคารผู้ป่วยเดิม

218

โครงการและกิจกรรมในสมัย พลเอก สิทธิ จิรโรจน์

ดำารงตำาแหน่งประธานมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ท่านที่ ๒




































พลเอก สิทธิ จิรโรจน์ วางศิลาฤกษ์ตึกอำานวยการโรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เมื่อวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๒๗
































คณะกรรมการมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชที่มาร่วมงานมี นายเฉลียว วัชรพุกก์
นายเทอดพงษ์ ไชยนันท์ นายพิศาล มูลศาสตรสาทร ปลัดกระทรวงมหาดไทย
พลตำารวจเอก ณรงค์ มหานนท์ นายฉลอง กัลยาณมิตร อธิบดีกรมการปกครอง

นายดนัย ศรียาภัย คุณหญิงจวบ จิรโรจน์

219

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

เสด็จพระราชดาเนินมาทรงเปิดตึกอานวยการ โรงพยาบาล



สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จังหวัดตาก เม่อวันพุธท่ ๑๑
กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๐




































สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำาเนินมาทรงเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และเปิดอาคารรวมน้าใจ ณ โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จังหวัด

ตาก เมื่อวันที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๕

220



อาคารผ้ป่วยนอกหลังใหม่ วางศิลาฤกษ์ วันท่ ๒๖

กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๒๗ สร้างเสร็จเม่อ วันท่ ๓๑

พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๒๘
















































งานทาบุญเปิดท่ทาการมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสิน

มหาราช วัดอินทาราม โดยมี พลเอก สิทธิ จิรโรจน์
ประธานมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ท่านท่ ๒

คุณหญิงจวบ จิรโรจน์ คุณหญิงสุหร่าย สีวะรา เหรัญญิก
พลตำารวจเอก ชุมพล โลหะชาละ รองประธานมูลนิธิฯ
และกรรมการมูลนิธิฯ เมื่อ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๒๔




221

ประวัติมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช






มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๒๓ โดยมี
พลเรือเอก สงัด ชลออยู่ เป็นประธานกรรมการมูลนิธิฯ จุดประสงค์ในการตั้งมูลนิธิฯ นี้ เนื่องจากคณะกรรมการ
สร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ซึ่งประกอบด้วย ทหาร ตำารวจ พ่อค้า ประชาชน ได้พิจารณา



เห็นว่าสถานการณ์รอบบ้านเราในขณะน้นเป็นท่น่าวิตก ประเทศไทยเราต้องการความสามัคคีกลมเกลียว

เป็นน้าหนึ่งใจเดียว ต้องการความเสียสละต่อส่วนรวม เพื่อความอยู่รอดของประเทศชาติ สมเด็จพระเจ้าตากสิน
มหาราช เป็นวีรกษัตริย์ไทยซึ่งมีความองอาจ กล้าหาญ เสียสละพระชนมชีพ ต่อสู้เพื่อประเทศชาติตลอดสมัย

ของพระองค ซึ่งควรที่ประชาชนชาวไทยในปัจจุบันจะเอาเยี่ยงอย่าง การที่เอาพระนามของพระองค์มาตั้งเป็น
ชื่อ “มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช” นั้น ก็เพื่อให้พวกเราคนไทยทุกคนที่อาศัยอยู่บนผืนแผ่นดินไทย
ได้ตระหนักและระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าฯ ของพระองค์ที่ทรงช่วยกู้ชาติไทยไว้ ให้เราได้มีแผ่นดิน
อาศัยอยู่ทำามาหากิน และมีความภูมิใจในความเป็นคนไทยโดยไม่ต้องอายใคร เพื่อให้เรามีความรู้สึก
หวงแหนผืนแผ่นดินไทย ซึ่งพระองค์ได้พยายามรวบรวมเข้าไว้ด้วยกันมาด้วยความยากลำาบาก และอย่างน้อย

ก็ควรได้ร่วมกันเสียสละกำาลังกาย กำาลังใจและกำาลังทรัพย์ กันคนละเล็กละน้อย เพื่อสร้างสิ่งที่เป็นพระบรม
ราชานุสรณ์แด่พระองค์ท่านบ้าง

มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช มีวัตถุประสงค์ ดังนี้

๑. สร้างและอุปถัมภ์ โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ที่จังหวัดตาก
๒. ช่วยเหลือทหาร ที่ได้รับบาดเจ็บ พิการ จากการสู้รบเพื่อปกป้องประเทศชาติ
๓. เพื่อสาธารณประโยชน์และการกุศลต่าง ๆ ตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร
๔. เพื่อทำานุบำารุงพระศาสนาตามที่กรรมการเห็นสมควร





















222

223

224

ใบสำาคัญแสดงการจดทะเบียนแต่งตั้งคณะกรรมการของมูลนิธิใหม่ทั้งชุด/
การเปลี่ยนแปลงกรรมการของมูลนิธิ/การแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับของมูลนิธิ





ใบสำาคัญฉบับน้ออกให้เพ่อแสดงว่า มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ซ่งมีสำานักงานใหญ่
ตั้งอยู่ที่ วัดอินทาราม (ใต้) ถนนเทอดไท แขวงตลาดพลู เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ได้มีการจดทะเบียนแต่งตั้ง
กรรมการของมูลนิธิขึ้นใหม่ทั้งชุด โดยถูกต้องตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แล้ว ดังต่อไปนี้
๑. พลเรือเอก วสินธ์ สาริกะภูติ ประธานกรรมการ
๒. พลตรี สุนันท์ โรจนวิภาต รองประธานกรรมการ
๓. นายนิยม นิยมานุสร รองประธานกรรมการ
๔. พลเอก สุเทพ สีวะรา กรรมการ
๕. นายจักรกริช ชุติมันต์ กรรมการ
๖. นายพงษ์เทพ เทพสมาน กรรมการ
๗. นายจรัล พิสิฐพิทย์ กรรมการ
๘. พลตำารวจตรี จิรโรจน์ กี่ศิริ กรรมการ
๙. นายวิเชียร กลิ่นสุคนธ์ กรรมการ
๑๐. พลเรือเอก ประพฤติพร อักษรมัต กรรมการ
๑๑. พลเรือโท นพพร วุฒิรณฤทธิ์ กรรมการ

๑๒. นาวาเอก ทรงฤทธิ์ โพธิ์จินดา กรรมการ
๑๓. พลโท กฤษฎา เต็มบุญเกียรติ กรรมการ
๑๔. พลโทหญิง สุภัททา เต็มบุญเกียรติ กรรมการ
๑๕. พลโทหญิง สลิลลา วีระรัตน์ กรรมการ
๑๖. นายอัครวัฒน์ มั่นปิยะพงศ์ กรรมการ
๑๗. นางอรนลิน สีวะรา กรรมการ
๑๘. พันเอก นพนันท์ มุตตามระ กรรมการและเหรัญญิก
๑๙. นายวุฒินันท์ ใจเที่ยง กรรมการและรองเหรัญญิก
๒๐. นางสิรินดา จูภาวัง กรรมการและเลขานุการ
๒๑. นางสาวอุบลวรรณ กี่ศิริ กรรมการและรองเลขานุการ
๒๒. นางพรทิพย์ แสงอ่อน กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ


ให้ไว้ ณ วันที่ ๓ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๙

(ลงชื่อ) นายชำานาญวิทย์ เตรัตน์
รองอธิบดี รักษาราชการแทนอธิบดีกรมการปกครอง
ปฏิบัติราชการแทนปลัดกระทรวงมหาดไทย
นายทะเบียนมูลนิธิกรุงเทพมหานคร




225

226

ความเป็นมาของภาพวาด


สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช






ที่มาของภาพวาดนี้
จากการประชุมสามัญประจาปี ๒๕๖๑ ของคณะกรรมการมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

ณ โรงแรมเซ็นทรัลแกรนพลาซ่า เมื่อวันที่ ๗ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๑ กรรมการมูลนิธิฯ ได้ขอให้ คุณจักรกริช ชุติมันต์
อธิบายท่มาของแรงบันดาลใจในการวาดรูปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ตามท่ทุกคนได้เห็นภาพถ่ายมา


ในที่ประชุม คุณจักรกริช ชุติมันต์ ท่านเป็นกรรมการมูลนิธิฯ มาตั้งแต่เริ่มก่อตั้งมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสิน



มหาราช ปี ๒๕๒๓ ได้เล่าให้ท่ประชุมฟังว่า ในวันท่ ๒๖ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๑ ซ่งเป็นวันท่มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสิน

มหาราช ได้จัดพิธีมังคลาภิเษกเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ท่กรรมการมูลนิธิฯ ร่วมกันจัดสร้าง

เนื่องในวาระครบ ๒๕๐ ปี แห่งการกอบกู้ชาติของพระองค์ท่าน ที่ท้องพระโรง พระราชวังเดิม ซึ่งเป็นที่ประทับของ
227

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ปัจจุบันอยู่ในการดูแลของกองทัพเรือ และมูลนิธิอนุรักษ์โบราณสถานพระราชวังเดิม



ก่อนท่จะทาพิธีมังคลาภิเษกเหรียญในเวลาเย็น ช่วงเช้าได้มีการเล้ยงพระเพลถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระองค์ท่าน
และทหารหาญทุกคน เมื่อถึงเวลาที่พระว่าคาถา ยะถาสัพพี และ พลเรือเอก วสินธ์ สาริกะภูติ ประธานมูลนิธิฯ



เตรียมกรวดน้าอุทิศส่วนกุศลถวายแด่พระองค์ท่าน ตนได้มองไปทางออกของท่ประทับซ่งยกช้นข้นไปมีบันไดข้าง












๒ ทาง ก็เหนทหารแตงชดสีแดงเดนออกมากอนหลายคนมากและหมอบลง แลวก็เหนทานผหน่งเดินตาม


ออกมาแต่งชุดต่างจากคนอ่น ดูมีสง่างามมาก ในใจยังนึกว่าโอ้โฮ ทหารเรือจัดใหญ่ขนาดน้เลยหรือ เพราะ

ข้างล่างหน้าบันได มีคนแต่งเป็นทหารโบราณชุดสีเขียวยืน ๒ นาย และข้างนอกแต่งชุดสีแดง ไม่เกิน ๑๕ คน





แต่ท่เห็นข้างบนเยอะมาก เม่อพิจารณาดูอีกทีก็คดว่านาจะเป็นสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เพราะชุดทแต่ง

เป็นเคร่องทรงแบบพระมหากษัตริย์ โดยเฉพาะพระมาลาท่มีขนนก ขณะน้นพระสงฆ์กาลังสวดแผ่ถวาย






พระราชกุศลแด่พระองค์ท่านและทหารหาญอย่ ได้สอบถามคนอ่นท่น่งอย่ในงานพิธีว่ามีใครจัดคนข้นไปแสดง








บนท่ท้องพระโรงช้นบนหรือไม่ ปรากฏว่าไม่มี และก็ไม่มีคนเห็นว่ามีทหารอย่ช้นบนน้นเลย จึงคิดว่าพระองค์ท่าน

คงมาปรากฏให้เห็นเพื่อเป็นผู้ถ่ายทอดพระพักตร์ของพระองค์ให้พวกเราได้เห็นกัน เมื่อเสร็จพิธีก็รีบลงมือวาด
ทันที ใช้เวลาประมาณ ๒ เดือนเศษ ขนาดเท่าพระองค์จริง


















ภาพจำาลองสถานที่ในท้องพระโรงพระราชวังเดิม กรุงธนบุรี ที่เกิดเหตุมหัศจรรย์บนระเบียงด้านขวา
ตามที่บรรยายความเป็นมาของภาพวาดพระบรมสาทิสลักษณ์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช







228

คำ�อธิบ�ยร�ยละเอียดรูปภ�พ



ทรงพระมาลาเส้าขนนก มีสายรัดมาท่คาง ยอดเป็นทองคา รอบพระมาลาประดับด้วยพระยอดธง

ทองคา ด้านหลังมีแผ่นหนังไว้กันแดดและอาวุธ ปกติต้องมีด้านข้างด้วย แต่เพ่อให้เห็นพระพักตร์ได้ชัดเจนจึง

ตัดออก ทรงสวมลูกประคำาทองคำา พู่ของลูกประคำาทำาจากขนจามรี
ลักษณะฉลองพระองค์


ด้านบนของพระภูษาเป็นเกราะหนังวัวหรือหนังกระเบน รอบ ๆ เกราะ เป็นป่มกลม ๆ โลหะท่ลงคาถาอาคม

ลายพระภูษาเป็นไหมสีทองอมสีตอง ที่คอสีแดง เหลือง เป็นลายแม่กนก
ลายสีแดงที่แขนเสื้อเป็นหยัก เรียกว่า ฟันยักษ์ เป็นยันต์อย่างหนึ่ง
ลายเสื้อตรงพระอุระเป็นลายกนก
ปลายตรงแขนเสื้อเป็นลายเชิงชาย

สายสีแดงที่กลัดตรานพรัตน์ ทำาด้วยกำามะหยี่ขลิบดิ้นทอง
ทรงรัดพระองค์ทองคำาคาดทับรัตพัสตร์ (ผ้าคาดเอว)


ทรงพระธามรงค์นพรัตน์ สมัยน้หัวตรงกลางเป็นเพชร แต่ของโบราณโดยเฉพาะกษัตริย์จะเป็นแก้วไพฑูรย์
(หรือเพชรตาแมว) เพราะเป็นของหายาก และถือเป็นเครื่องรางชนิดหนึ่งด้วย
พระแสงดาบ ด้ามเป็นทองคำาประดับพลอย

พระพักตร์ ที่เห็นออกแดงก่า โดยเฉพาะตรงสันพระนาสิกและพระปราง เพราะทรงกรำาศึกทั้งทางบก
และทางทะเล จึงทำาให้พระพักตร์เป็นสีนี้ สายพระเนตรที่ทรงมองมาเปี่ยมไปด้วยพระเมตตา

ตอนจบการบรรยาย คุณจักรกริช ฯ ได้กล่าวว่า ที่จริงรูปนี้จะเขียนเก็บไว้ดูเองเป็นที่ระลึก แต่เมื่อกรรมการ
มูลนิธิฯ บางท่านได้เห็นรูปนี้และต้องการให้เผยแพร่ก็ยินดี ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับความเชื่อของแต่ละบุคคล


ผู้บันทึก : คุณสิรินดา จูภาวัง เลขานุการมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ข้อมูลผู้วาดภาพ : คุณจักรกริช ชุติมันต์ จบจากคณะจิตรกรรมปฏิมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร
เป็นศิษย์ ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี

































229

ความหมายของตรามหาเดช



๑. เพชร : เพชรมีความหมายท่ชัดเจนอันส่อถึงความเข้มแข็งและความแข็งแกร่ง อันเป็นหัวใจของมหาราช
ผู้เป็นกษัตริย์นักรบกู้แผ่นดิน

๒. เลขยันต์ : เลขยันต์ คือ มงคลสูงสุดอันมีรัศมีโชติช่วงและสว่างไสว เป็นความศักดิ์สิทธิ์คุ้มบ้านคุ้มเมือง

๓. จักร : จักร หมายถึง ศาสตราวุธแห่งพระนารายณ์ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชนั้น เปรียบดั่งองค์
พระนารายณ์อวตาร จึงถือเป็นผู้มีศักดิ์และสิทธิ์โดยสมบูรณ์แห่งศาสตราวุธนี้

๔. พญาครุฑ : พญาครุฑ ผู้ถือตรีศูล ซึ่งเป็นศาสตราวุธที่เปรียบประดุจสายฟ้าและชี้นิ้วไปเบื้องหน้า อันหมายถึง
ความเด็ดเดี่ยว มุ่งไปข้างหน้าอย่างไม่ย่อท้อ จึงทำาให้มีประเทศไทยอยู่จนถึงทุกวันนี้











230

231

232

233

234

235

236

237

พลเรือเอก ประพฤติพร อักษรมัต
รองประธานมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช











ท้ายเล่ม




ในโอกาสที่รัฐบาลได้จัดให้มี โครงการจัดงานราลึก ๒๕๐ ปี แห่งการสถาปนากรุงธนบุรี โดยมี
ดร.วิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานกรรมการ ในการนี้ กองทัพเรือได้ร่วมกับมูลนิธิสมเด็จ

พระเจ้าตากสินมหาราช จัดงานโครงการ ๒๕๐ ปี ตามรอยกองเรือยกพลขึ้นบกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
จากจันทบุรีสู่อยุธยา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่าน

ในกิจกรรมครั้งนี้ กองทัพเรือได้แต่งตั้ง พลเรือเอก นพดล สุภากร ผู้บัญชาการกองเรือยุทธการ
















เปนประธานโครงการฯ มกจกรรมประกอบดวย กจกรรมทางเรอ ซงมการจดกาลงทางเรอเปนกองเรอ ยาตราเรอ
ตามเส้นทางยกทัพจากจันทบุรีสู่อยุธยา กิจกรรมทางบก ซึ่งมีหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนดําเนินกิจกรรม
ทางบกในพื้นที่จังหวัดชายทะเลและในแม่นํ้าตามเส้นทางยาตราทัพ ให้สอดคล้องกับการจัดกิจกรรมทางนํ้า
และกิจกรรมของแต่ละจังหวัดที่จัดเข้าร่วม
หนังสือเล่มนี้ เป็นส่วนหนึ่งของการดาเนินการของมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เพื่อ

ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมดังกล่าว ซึ่งได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการจัดพิมพ์ โดยความร่วมมือของ
ภาคเอกชน สมาคมและชมรมต่าง ๆ เนื้อหาในหนังสือได้นาคาให้สัมภาษณ์ของ พลเรือเอก ลือชัย รุดดิษฐ์















ผบญชาการทหารเรอ และ พลเรอเอก วสนธ สารกะภต ประธานมลนธสมเดจพระเจาตากสนมหาราช ในรายการ



เดินหน้าประเทศไทย โดยผู้บัญชาการทหารเรือท่านได้เน้นยํ้าในเรื่องของความสามัคคีของคนในชาติและ
















พระปรชาสามารถของพระองคทานในดานสมททานภาพ สาหรบประธานมลนธไดเนนยาใหคนในชาตมความรก




ความหวงแหนแผ่นดิน การเคารพและเทิดทูนต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ที่นาพาประเทศไทยให้รอดพ้นภัย





















อนตรายทงปวง สานกถงบญคณของบรรพบรษ ทยอมสละเลอดเนอและชวตในการรกษาแผนดนไวใหลกหลาน


ได้สุขสบายมาจนถึงทุกวันนี้

ดังนั้น คณะผู้จัดทาจึงได้รวบรวมบทความต่าง ๆ เพื่อสื่อให้เห็นถึงแนวนโยบายข้างต้น รวมทั้ง
สื่อให้เห็นถึงความกล้าหาญ พระปรีชาสามารถ พระอัจฉริยภาพผ่านบทความ เช่น แผนงานกู้ชาติของสมเด็จ
พระเจ้าตากสินมหาราช ในรายการเทิดพระเกียรติเมื่อวันที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๒๘ ทางสถานีโทรทัศน์
238

กองทัพบกช่อง ๗ จัดโดย มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ผ่านการสัมภาษณ์ พลโท วันชัย เรืองตระกูล

รองเสนาธิการทหารบก พลเรือโท ศิริ ศิริรังสี รองเสนาธิการทหารเรือ อาจารย์ทองต่อ กล้วยไม้ ณ อยุธยา
โดยมีพิธีกร คือ ดร.วิษณุ เครืองาม เป็นผู้สัมภาษณ์ บทความ ๒๕๐ ปี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชกู้ชาติ,
บทความ พระปร่ีชาสามารถและพระอัจฉริยภาพด้านการทหาร ของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รวบรวมโดย

พลเรือเอก วสินธ์ สาริกะภูติ

ทั้งนี้ ยังได้ประมวลภาพกิจกรรม ตั้งแต่คณะกรรมการฯ เข้าพบหารือกับผู้ว่าราชการจังหวัดต่าง ๆ
พลเรือเอก ประพฤติพร อักษรมัต การประชุมคณะกรรมการ การแถลงข่าวเปิดโครงการ รายละเอียดการจัดกิจกรรมพร้อมรูปภาพในโครงการ
รองประธานมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช “๒๕๐ ปี ตามรอยกองเรือยกพลขึ้นบกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จากจันทบุรีสู่อยุธยา” ซึ่งกองทัพเรือได้

ร่วมกับมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชและจังหวัดต่าง ๆ อัญเชิญพระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

จากเรือขึ้นฝั่ง และจัดขบวนแห่อัญเชิญพระบรมรูปไปประดิษฐานยังมณฑลพิธี ให้ประชาชนได้เข้าถวายสักการะ
มีการจัดพิธีบวงสรวงและบําเพ็ญพระราชกุศลถวาย รวมทั้ง จัดงานมหรสพ มีการแสดงและรื่นเริง ซึ่งทุกจังหวัด















ไดจดงานถวายอยางสมพระเกยรต มประชาชนเขารวมงานเปนจานวนมาก การจดกจกรรม ณ พระราชวงกรงธนบร ี
กรุงเทพมหานคร การอัญเชิญพระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ประกอบพิธี ณ พระราชวังกรุงธนบุรี
ตลอดจนภาพกิจกรรมแสงสีเสียงและสื่อผสม “๒๕๐ ปี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช สมุททานุภาพกู้ชาติ”
นอกจากนี้ ได้รวบรวมโครงการและกิจกรรมมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เนื่องในโอกาส
วาระ ๒๕๐ ปี ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ (พ.ศ.๒๓๑๐ - พ.ศ.๒๕๖๐) ที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระผู้ทรงกู้
และสร้างชาติพระราชทานแก่ชาวไทยตราบเท่าทุกวันนี้ สาหรับในส่วนท้ายได้รวบรวมประวัติมูลนิธิสมเด็จ

พระเจ้าตากสินมหาราช ที่ได้ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๒๓ โดยมี พลเรือเอก สงัด ชลออยู่
เป็นประธานกรรมการมูลนิธิฯ เป็นท่านแรก ซึ่งได้นาภาพในอดีตมารวบรวมไว้ รวมทั้ง ได้นาข้อบังคับมูลนิธิฯ


ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.๒๕๖๒ ซึ่งได้ปรับปรุงให้ทันสมัยตามกาลเวลา ซึ่งคณะกรรมการมูลนิธิฯ ภายใต้การนํา
ของ พลเรือเอก วสินธ์ สาริกะภูติ ประธานมูลนิธิฯ (ท่านที่ ๔) และคณะกรรมการมูลนิธิฯ ยังคงมุ่งมั่นที่จะสืบสาน










เจตนารมยของคณะกรรมการผกอตง ในการเทดพระเกยรตสมเดจพระเจาตากสนมหาราช พระผพระราชทาน




ชาติไทยต่อไป
ผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่าในวาระครบ ๓๐๐ ปี ที่ทรงกอบกู้ชาติ และสร้างชาติพระราชทานชาติไทย
ซึ่งตรงกับปี พ.ศ.๒๖๑๐ มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช กองทัพเรือ และจังหวัดทั้ง ๑๐ จังหวัด จะได้
ร่วมกันจัดงาน ๓๐๐ ปี ตามรอยกองเรือยกพลขึ้นบกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จากจันทบุรีสู่อยุธยา
ให้ยิ่งใหญ่สมพระเกียรติเช่นเดียวกับ โครงการ ๒๕๐ ปี ตามรอยกองเรือยกพลขึ้นบกสมเด็จพระเจ้าตากสิน
มหาราช จากจันทบุรีสู่อยุธยาที่ผ่านมา

พลเรือเอก
(ประพฤติพร อักษรมัต)
รองประธานมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
หัวหน้าคณะผู้จัดทําหนังสือฯ





239

ที่ปรึกษา

พลเรือเอก วสินธ์ สาริกะภูติ
พลเรือเอก สุริยา ณ นคร

พลตำารวจเอก ไกรศุข สินศุข
พลเรือเอก นพดล สุภากร
พลเรือโท เดชดล ภู่สาระ

พลโท กิตต์พงษกร นพวงศ์ ณ อยุธยา
พลเรือตรี ชาติชาย ทองสะอาด

พลตำารวจตรี จิรโรจน์ กี่ศิริ
ผศ. ดร.ทองเจือ เขียดทอง
นางสิรินดา จูภาวัง

นางสมใจ ณ นคร
นายตนุชธ์ โกมารกุล ณ นคร

นายจักรกริช ชุติมันต์
นายอิสินธร สอนไว
นางอรนลิน สีวะรา

นางพรทิพย์ แสงอ่อน



หัวหน้าคณะผู้จัดท�า

พลเรือเอก ประพฤติพร อักษรมัต



คณะผู้จัดท�า

นาวาเอก ปณิธาน สิทธิโยธาคาน
นาวาเอก ทรงฤทธิ์ โพธิ์จินดา

นาวาเอก สมริทธ์ งามสวย
นาวาเอก ณัฐวินัย พงษ์พิกุลทอง
เรือโท พยุงศักดิ์ คีตาจีวะ



ภาพปก

พันจ่าเอก กิตอัมพล ไชยบท



พิมพ์ที่

กองโรงพิมพ์ กรมสารบรรณทหารเรือ

พฤศจิกายน ๒๕๖๓


240

ขอขอบคุณผู้ให้การสนับสนุน

โครงการ ๒๕๐ ปี ตามรอยกองเรือยกพลขึ้นบก

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จากจันทบุรีสู่อยุธยา






ศาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จังหวัดจันทบุรี
นางสมใจ ณ นคร

นายตนุชธ์ โกมารกุล ณ นคร

นายสุขพงศ์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา
นายแพทย์บุญ วนาสิน

ดร.สมศักดิ์ ลีสวัสดิ์ตระกูล

นางอรนลิน สีวะรา

ดร.พิชนี โพธารามิก
นายพยนต์ ศรีโน๊ต

ดร.แสงชัย โสตถีวรกุล

นายกิตติพงษ์ เตรัตนชัย
นายจิ้ง พิพัฒน์เวช

นายสมเจตน์ วุฒิเลิศเจริญวงศ์

นายรังสฤษดิ์ รักษิตานนท์

นายอภิศักดิ์ ธนเศรษฐกร
นายประวิทย์ กาญจนาปิ่นโชติ

นายเจริญชัย เติมรัตนะกุล

เรือหลวงตากสิน



เรือหลวงตากสิน เป็นเรือรบล�าที่สอง ในเรือชุดเรือหลวงนเรศวร
ได้รับพระราชทานชื่อจาก

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ว่า “เรือหลวงตากสิน” ตามพระนามของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ผู้ทรงริเริ่มใช้กองทัพเรือในการท�าสงคราม

และเป็นผู้ที่ทรงกอบกู้อิสรภาพและสร้างชาติพระราชทานแก่ปวงชนชาวไทย



สแกน QR Code
เพื่ออ่าน e-book


สำานักงานมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
วัดอินทาราม เลขที่ ๒๕๖ ถนนเทอดไทย แขวงบางยี่เรือ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ๑๐๖๐๐
สรุปการดำเนินงาน ๒๕๐ ปี ตามรอยกองเรือยกพลขึ้นบกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จากจันทบุรีสูอยุธยา
โทร. ๐ ๒๔๖๕ ๒๘๔๔, ๐ ๒๘๙๑ ๓๒๙๙
มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช


Click to View FlipBook Version