The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

๒๕๐ ปี ตามรอยกองเรือยกพลขึ้นบกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจากจันทบุรีสู่อยุธยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นาวิกศาสตร์, 2022-06-23 04:40:42

๒๕๐ ปี ตามรอยกองเรือยกพลขึ้นบกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจากจันทบุรีสู่อยุธยา

๒๕๐ ปี ตามรอยกองเรือยกพลขึ้นบกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจากจันทบุรีสู่อยุธยา



พิธีกร : ท่านรองเสนาธิการทางทหารเรือได้สรุปอย่างน้แล้วท่านคิดว่าเม่อเอาหลักวิชาทหารเรือปัจจุบันเข้าไป
พอที่จะกล่าวได้ว่าพระองค์อัจฉริยะในด้านการเรือหรือการทัพเรืออย่างไร














รองเสนาธิการทหารเรือ : อยางวานแหละครบพระองคทรงเป็นพระอจฉรยะเพราะพระองคเปนผมองเหน




คุณลักษณะท่สาคัญคือความคล่องตัวของทางเรือ พระองค์ก็ใช้ความสาคัญน้มาช่วยเหลือมาสนับสนุนเก้อกูลเพ่อ




จะก้อิสรภาพพระองค์ก็ได้ทรงวางแผนใช้คุณลักษณะอันน้มาใช้เก้อกูลกับยุทธศาสตร์ทางเรือของพระองค์ท่าน







พระองค์ทรงวางกาหนดยุทธศาสตร์ทางเรือย่งกว่าน้นพระองค์ยังเป็นผ้สร้างกาลังทางเรือของพระองค์เองเพ่อ


ให้บรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ทางเรือท่พระองค์ได้ทรงวางแผนไว้ และนอกจากน้นพระองค์ยังเป็นคนกากับ





และอานวยการใช้กาลังทางเรือเพ่อให้เป็นไปตามข้นตอนจนบรรลุถึงจุดประสงค์แห่งเป้าหมายซ่งเป็นรากฐาน




แห่งยุทธศาสตร์อันน้นก็หมายความว่าพระองค์ทรงเร่มต้นดาเนินการครบหมดทุกอย่างคือไม่มีแม่ทัพหรือ




จอมทัพเรือคนไหนท่จะกาหนดยุทธศาสตร์สร้างกาลังทางเรืออานวยการรบและควบคุมกาลังปฏิบัติดาเนินตาม




ข้นตอนจนบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์น้นอันน้แหละท่ทหารเรือยอมรับนับถือว่าพระองค์ทรงเป็นจอมทัพเรือ


ที่ทรงพระปรีชาสามารถอย่างนี้กระผมคิดว่าตามที่ได้กราบเรียนหรือได้ตอบท่านอย่างนี้คงเป็นที่เข้าใจ

รองเสนาธิการทหารบก : ขอสักนิดนะครับ คือพอพูดถึงการปฏิบัติการยุทธทางลานำ้าพระองค์ได้ใช้ยุทธศาสตร ์
หรือยุทธวิธีอันนี้มา ๒๑๘ ปี เมื่อ ๑๐ กว่าปีที่ผ่านมานี้ ทั่วโลกมีความตื่นเต้นในยุทธวิธีอันใหม่ ที่ภาษาอังกฤษ

เรียกว่า RIVERINE OPERATIONS เราใช้ในศัพท์ของเราว่าการปฏิบัติการยุทธตามแนวลำาน้านี้ก็เหมาะสำาหรับ
ในพื้นที่ลุ่ม พื้นที่บึง มีคลอง มีแม่น้า ปากอ่าว หรือที่ราบลุ่มเจ้าพระยา ที่ราบลุ่มพื้นที่สามเหลี่ยมในแม่น้าโขง



กำาลังศึกษากันใหญ่ว่ายุทธศาสตร์หรือยุทธวิธีตามแนวลำาน้า เอาทหารบกที่ฝึกปรือมาอย่างดีลงไปในเรือ แล้วใช้
เรือเป็นยานพาหนะที่จะปกปิด และใช้การจู่โจม ใช้เส้นหลักที่สั้นแนวทางเคลื่อนที่ที่สั้นพอพ้นถึงพื้นที่รวมพล
อันสุดท้าย ทหารบกขึ้นจากนำ้าแล้วทำาการรบ ขณะนี้ใช้ได้ผลเหลือเกิน เป็นวิชาหลักวิชาหนึ่งที่เราเรียนกันมาใน
โรงเรียนเสนาธิการทหารบก
พิธีกร : เห็นจะต้องบอกฝรั่งว่าเราใช้มาเมื่อ ๒๑๘ ปีแล้ว แล้วการปฏิบัติการอย่างนี้เคยมีการนำาไปปฏิบัติจริง
ในประเทศได้ในระยะใกล้ๆ บ้าง มีหรือไม่
รองเสนาธิการทหารบก : เมื่อประมาณ ๑๕ ถึง ๒๐ ปี ที่ผ่านมาได้ใช้กลยุทธวิธีอันนี้เข้าทำาการรบในพื้นที่

สามเหลี่ยมปากแม่น้าโขงในเวียดนามตอนใต้ อันนี้ใช้อย่างได้ผลมากในยุทธวิธีอันนี้
พิธีกร : ขอบพระคุณมากครับ ที่ท่านเสริมขึ้นมานับว่ามีประโยชน์ทีเดียว อยากจะกราบเรียนถามท่านอาจารย์
ทองต่อว่า จากการที่เราว่ากันมาทางทหารบกบ้าง ทหารเรือบ้าง คราวนี้มองในเรื่องทั่วๆ ไป กิจการพลเรือน
ท่านอาจารย์เป็นนักประวัติศาสตร์ที่มองเห็นภาพนั้นหมดแล้ว ท่านอาจารย์คิดว่าพอที่จะสรุปลงได้ว่า สมเด็จ
พระเจ้ากรุงธนบุรีน้นทรงอัจฉริยะ ทรงพระปรีชาสามารถอะไรท่เป็นพิเศษแตกต่างออกมาจากท่ท่านรองเสนาธิการ



ทหารบก รองเสนาธิการทหารเรือ ได้ว่ามาแล้วนั้น




อาจารยทองหล่อ : พระราชอัจฉริยะแรกท่อยากจะเน้นสาหรับให้เยาวชนของไทยได้ระลึกถึงอย่างย่งก็คือ
เมื่อตอนที่ทรงกอบกู้เอกราชของชาตินั้น ทรงมีพระชนมพรรษาเพียง ๓๓ ปี ย่าง ๓๔ คนที่อายุเพียง ๓๓ ปี






ท่กอบก้เอกราชของชาติได้ผมว่าอัจฉริยะ เป็นอัจฉริยะอย่างย่ง ท่เป็นผ้นาของคนท้งประเทศในการกอบก้เอกราช


และในการกอบกู้เอกราชนั้นนอกจากในทางทำาลายกองกำาลังของข้าศึกที่ยังตั้งอยู่ ก็เริ่มด้วยการสร้างความเป็น
ปึกแผ่นของบ้านเมือง ขณะนั้นคนไทยบางกลุ่มก็รักษาตัว ซึ่งเป็นกลุ่ม เป็นก้อน เป็นก๊ก ๕ ก๊ก ทรงเสียเปรียบ
149

ก๊กอื่นๆ มาก เพราะว่าก๊กอื่นๆ นั้นเขาเป็นเจ้าเมือง เป็นเจ้าของพื้นที่ มีบริษัท มีบริวาร มีบารมีสะสมอยู่นานแล้ว













สวนพระองคนนเร่มตนดวยตนทุนจากมอเปลาจากเลขศนย์เลยเพราะฉะนนทรงพยายามทจะรวมผนกความ



เป็นเอกภาพของชาติ และในการรวมความเป็นเอกภาพของชาตินี้มีประเด็นจะเรียนเป็นข้อสังเกตว่า ไม่ได้ทรง
ถือว่าบุคคลเหล่านั้นเป็นศัตรูกับพระองค์ เช่นว่า ทรงไปปราบเจ้าเมืองนครศรีธรรมราช เมื่อจับตัวได้บรรดา
ลูกขุนบรรดาทหารท้งหลายเห็นควรท่จะสาเร็จโทษเจ้านครฯ เสีย ท่านก็บอกว่าเขาไม่ได้มาเป็นศัตรูอะไรกับเรา




เพียงแต่ว่าเขาไม่ยอมอ่อนน้อมเพราะไม่แน่ใจว่าใครจะมีกาลังเหนือกว่ากัน ถ้าหากเราปราบเขาได้ก็ยอมลงเรา


เพราะฉะน้นก็ไม่มีการโกรธเคืองอาฆาตอะไร ถือว่าเป็นคนไทยด้วยกัน ทรงชุบเล้ยงเจ้านครฯ นาเข้ามารับราชการ

ใกล้ชิดอย่ในกรุงธนบุร ประเด็นท่สาคัญการสร้างเมืองหลวงขณะน้นประชามติของประชาชนไทยยังผูกพัน





กับพระนครศรีอยุธยาเป็นอย่างมาก พระนครศรีอยุธยานั้นเป็นเมืองหลวงของไทยถึง ๔๑๗ ปี ติดต่อกัน
เรามีความฝังใจ ภูมิใจ มีความรักในเมืองหลวงอันนี้มาก แต่เป็นไปไม่ได้ที่จะรักษาพระนครศรีอยุธยาไว้ เพราะมี
















บรเวณทกวางขวางใหญเหลือเกนกาลงพลของพระองค์ไม่มพอทจะรกษา เพราะฉะน้นกตองถอยมาท่กรงธนบุร ี
















แตการถอยมาธนบรนน แนนอนเปนการฝนประชามต เพราะฉะนนกตองทรงมกลวธซงในพงศาวดารบอกวาทรง




พระสุบิน คือวันที่เสด็จไปกรุงศรีอยุธยาทรงช้างไปทอดพระเนตรบริเวณรอบๆ เห็นความปรักหักพัง เศร้าสลด
เสียใจมาก กลางคืนนั้นก็ทรงพระสุบินว่า เจ้านายเก่าๆ มาขับไล่ไม่ให้อยู่ เพราฉะนั้นเราถอยมาตั้งหลักที่เมือง
ธนบุรีศรีมหาสมุทร์ ซึ่งเป็นเมืองเล็กๆ ที่พอกับกำาลังของพระองค์อย่างหนึ่ง และที่สำาคัญคือเป็นเมืองหน้าด่าน



ท่จะสกัดไม่ให้กองกาลังจากทางฝ่ายเหนือออกทะเลได้ และสกัดกองกาลังฝ่ายทะเลท่จะข้นเหนือได้ และมีความ


คล่องตัวในการที่จะถอยไปทางหัวเมืองชายทะเลต่างๆ ถ้ามีความจำาเป็น แต่อย่างไรก็ตามสถาปนากรุงธนบุรี
นั้นก็เป็นเรื่องชั่วคราว เพราะไม่มีการตั้งหลักเมือง ธนบุรีนี่ไม่มีหลักเมือง เพราะการสร้างหลักเมืองนั้นย่อม






หมายความว่าปักหลักปักฐานกันว่าจะอย่กันท่น่เป็นหลักฐาน ทีน้เม่อทรงข้นครองราชย์เป็นพระเจ้าแผ่นดินแล้ว
พระราชภารกิจสำาคัญ คือต้องทรงเอื้ออาทรต่อประชาชน เรื่องที่ยิ่งใหญ่ที่สุดก็คือเรื่องข้าวยากหมากแพง เพราะ
ในสมัยนั้นเรารบติดต่อกันนานไม่สามารถที่จะทำานา ไม่สามารถที่จะหาเสบียงอาหารอะไรได้ มีพระราชทรัพย์
เท่าไรขนไปซื้อข้าวเปลือกข้าวสารมาแจกประชาชน เป็นเรื่องใหญ่เรื่องสำาคัญเหลือเกิน กรุงธนบุรีนั้นเป็นเมืองสวน
มาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา แต่ว่าข้าวสำาคัญกว่าผลไม้ จึงให้โค่นต้นไม้ โค่นสวน แปลงสวนเป็นนา แล้วใช้
กองกำาลังทหารระดมทำานา เพื่อที่จะมีเสบียงเลี้ยงประชาชน และเพื่อในการต่อสู้ เพราะฉะนั้นนอกจากได้ทรง









ต่อส้ทางด้านการสงครามแล้ว ยังทรงต่อส้เร่องท่ย่งใหญ่ท่สุดคือด้านเศรษฐกิจ ทรงต่อส้ย่งใหญ่มาก ได้เร่มมีการค้า

ติดต่อกับทางเมืองจีน เมืองทางฝ่งตะวันตกบ้าง ก็เร่มท่จะมีฐานะฟ้นฟูข้นมาตามลาดับ ในแง่ของการศึกสงคราม





นั้นเมื่อเสวยราชย์แล้วก็ยังทรงเป็นแม่ทัพ ทรงเป็นแม่ทัพนำาทหารทั้งหลายออกรบด้วยพระองค์เองถึง ๑๐ ครั้ง




และทรงมอบหมายให้นายทหารช้นผ้ใหญ่ออกไปปฏิบัติการอีก ๗ คร้ง เพราะฉะน้นในพระชนม์ชีพของพระองค์น้น

เรียกว่านอนกลางดินกินกลางทราย พบกับเหตุการณ์ต่างๆ อุบัติเหตุบ้าง และการต่อสู้ต่างๆ แม้กระทั่งในการ
สู้ศึกทางเชียงใหม่ถอยกลับมาทางเมืองตาก เพื่อรับกำาลังพม่าที่จะมาสกัดเข้าเมืองตาก เสด็จโดยเรือก็มีการรบ



ล่มในแก่งต้องทรงว่ายน้าข้นมาบนตล่งแล้วเดินด้วยพระบาทกลับมายังค่าย ทรงต่อส้แสนสาหัสสากรรจ์มาก

เพราะฉะนั้นคิดว่าชาติไทยเราเป็นหนี้พระราชกรณียกิจของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีเป็นอย่างยิ่ง
พิธีกร : ครับ ขอบพระคุณมากครับ ผมฟังท่านรองเสนาธิการทหารบก ท่านรองเสนาธิการทหารเรือ และ
ท่านอาจารย์ทองต่อ กล้วยไม้ ณ อยุธยา ว่ามาอย่างนี้แล้วรู้สึกรักพระเจ้ากรุงธนบุรีขึ้นอีกอักโข และที่สำาคัญ


คือรักประเทศชาติข้นอีกมาก เพราะเราได้เห็นบรรพบุรุษของเรา บรรพกษัตริย์ของเราน้นได้สละชีวิตสละ



อะไรมากมายขนาดไหน กว่าจะสร้างบ้านสร้างเมืองกว่าจะกอบก้อิสรภาพมาได จนกระท่งเป็นแผ่นดิน
150









ให้เราอย่อาศัยอย่างมีอิสระทุกวันน น่คือส่งสาคัญท่เราเรียกว่าเป็นพระราชมรดกท่ตกทอดกันมาจากสมเด็จ
พระบูรพกษัตริยาธิราชทุกพระองค์ในอดีตก็ว่า เร่องของการรบ การยุทธ พระปรีชาสามารถในเร่องเหล่าน้นก็คง









เป็นเร่องของทางทหารบก ทางทหารเรือ ท่จะรับเอาไปประยุกต์เอาไปปฏิบัติ แต่ส่งสาคัญท่เราได้เรียนร้ตลอดเวลา
ที่ได้ว่ากันมาในรายการนี้ก็คือว่า ทรงทำาไปทรงรบไปเพื่ออะไร ก็เพื่อให้เกิดประเทศไทย เกิดความเป็นอิสรภาพ




เกิดความไพบูลย์พูนสุขดังท่เคยมีมาก่อนกรุงแตกให้มีสืบต่อมาจนถึงทุกวันน้น้นเอง ท่านผ้ชมครับ พระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ได้มีพระราชนิพนธ์ไว้ในหนังสือปลุกใจเสือป่าเมื่อไม่กี่ปีมานี่เอง มีข้อความ






ท่น่าสนใจในบทพระราชนิพนธ์พระองค์หน่ง และข้อความอันน้มีความสาคัญท่ผมอยากจะอัญเชิญมาให้ท่านผ้ชม
















ทงหลายไดยนไดทราบทวกน เพราะนคอพระราชกระแสทพระมหากษตรยพระองคหนงไดทรงยกยองอดต






พระมหากษัตริย์ไทยพระองค์หนึ่ง คือ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ข้อความในบทพระราชนิพนธ์นั้นมีว่า
“พระเจ้ากรุงธนบุรีได้เป็นผ้รวบรวมคนไทยให้ตั้งตัวเป็นชาติข้นได้อีก นับว่าเป็นผ้ท่ทาคุณประโยชน ์





แก่ชาติบ้านเมืองอย่างประเสริฐ ควรที่เราทั้งหลายจะจดจำากำาหนดไว้ในใจ สมควรที่คนไทยทั้งชาติจะจดจำา
ไว้เป็นตัวอย่างอันดีพระองค์”
การจัดงานขึ้นในวันนี้เป็นส่วนเล็กๆ น้อยๆ ให้พวกเราทั้งหลายได้น้อมรำาลึกได้กำาหนดจดจำาถึง
พระราชวีรกรรมในสมเด็จพระมหาราชเจ้าพระองค์น้น บัดน้เวลาของเราได้หมดลงแล้ว ขอผมกราบขอบพระคุณ


ท่านรองเสนาธิการทหารบก พลโท วันชัย เรืองตระกูล ท่านรองเสนาธิการทหารเรือ พลเรือโท ศิริ ศิริรังสี
และท่านอาจารย์ทองต่อ กล้วยไม้ ณ อยุธยา ที่ได้กรุณามาเล่าเรื่องให้เราฟัง ซึ่งสนุกสนานมีประโยชน์ และ
นำาไปสู่จุดหมายอันหนึ่งโดยอัศจรรย์ คือความรักในมหาราชพระองค์นั้น ความรักแผ่นดิน ความรักประเทศชาติ
ผมและผู้ร่วมรายการทุกท่านขอกราบลาไปก่อนครับ สวัสดีครับ






คัดลอกจาก หนังสือที่ระลึกเนื่องในวโรกาส สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

เสด็จพระราชดำาเนินเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดตึกอำานวยการ โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
อำาเภอเมืองตาก จังหวัดตาก วันพุธที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๐ เวลา ๑๔.๔๕ น.


151

๒๕๐ ปี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชกู้ชาติ




พลเรือเอก วสินธ์ สาริกะภูติ




กรุงศรีอยุธยาแตก ครั้งที่ ๒ เมื่อวันที่ ๗ เมษายน ๒๓๑๐ เวลาประมาณ ๒๐.๐๐ น. โดยทัพพม่าโจมตี
พังกำาแพงเมืองเข้าเอง การเสียกรุงคร้งน้พระเจ้ามังระแห่งพม่า ต้องการทำาลายอาณาจักรอยุธยา (พม่าเรียกโยเดีย)


ให้แตกล่มสลาย ลงเป็นเมืองหรือรัฐเล็ก ๆ เพ่อจะได้ไม่มีศกยภาพในการทาสงครามกระทบไหล่พม่า เพอพม่า






จะได้เป็นมหาอำานาจเป็นใหญ่แต่เพียงประเทศเดียวในสุวรรณภูมิ ดังน้น จึงทำาลายเผาเมือง ยึดทรัพย์สมบัต ิ
จับเชลยคนกรุงศรีอยุธยาไปอยู่พม่า จนสูญส้นแม้แต่วงศ์กษัตริย์ราชวงศ์บ้านพลูหลวง (ท้งตายและถูกจับ


เป็นเชลย) กรุงศรีอยุธยาล่มสลาย ไร้คน ไร้กษัตริย์ ไร้ทรัพย์สมบัติ
สงครามคร้งน้ พม่าส่งทัพใหญ่มาโจมตีอยุธยา ๒ ทัพ ๒ ทิศทาง ทัพหน้าของพม่ากองทัพละ ๕,๐๐๐ คน


จาก ๒ กองทัพใหญ่ เดินทัพเป็นคีมบีบจากเชียงใหม่ (ทางเหนือ) และจากเมืองเมาะตะมะ (ทางตะวันตก)
รุกเข้าสู่อาณาจักรอยุธยา ตั้งแต่เดือน ๗ (มิถุนายน) ปีระกา พ.ศ.๒๓๐๘ แล้วทัพใหญ่ทั้ง ๒ ทัพ กำาลังพลทัพละ

สามหม่นถึงส่หม่นคนก็รุกตามเข้ามาในเดือน ๑๒ (พฤศจิกายน) ปีระกา พ.ศ.๒๓๐๘ พม่ารุกรบอยู่รอบ ๆ


กรุงศรีอยุธยาปีเศษ จนสามารถเข้าเมืองได้เมื่อวันที่ ๗ เมษายน พ.ศ.๒๓๑๐















































152

พม่ารวบรวมยึดทรัพย์สมบัติทั้งของรัฐและประชาชนอยู่ประมาณ ๑๕ วัน อะไรขนไปได้ก็ขนไปพม่า












รวมท้งคนอยธยาไม่ว่าจะเป็นชาตใดแม้แต่ฝรงท่มาค้าขายอย่ในอยุธยา อะไรท่ขนไปไม่ได้กเผาท้ง กาแพงเมอง












ยาว ๑๑ กโลเมตร กรอทาลาย ทงทหารไว้ ๓,๐๐๐ คน ยดครองกรงศรอยธยา และคอยเกบทรพย์จบเชลย


ในพื้นที่ข้างเคียงไม่ให้ตั้งเป็นบ้านเป็นเมือง
ผลคือ อาณาจักรอยุธยาแตกออกเป็น ๖ เสี่ยง ๕ ชุมนุมไทย ๑ กองทัพที่ยึดครอง (ประวัติศาสตร์ไทย
เรียก ๖ ก๊ก)
ชุมนุมที่ ๑ พระจ้าตากสิน จันทบุรี (ภาคตะวันออก)
ชุมนุมที่ ๒ เจ้าเมืองพิษณุโลก (เรือง) (ภาคเหนือ)
ชุมนุมที่ ๓ เจ้าพระฝาง (เรือน) สวางคบุรี (ภาคเหนือ)
ชุมนุมที่ ๔ กรมหมื่นพิพิธ เมืองพิมาย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
ชุมนุมที่ ๕ เจ้าเมืองนครศรีธรรมราช (ภาคใต้)
ชุมนุมที่ ๖ สุกี้แม่ทัพพม่า ยึดครองอยู่ที่อยุธยา (ศูนย์กลางประเทศ)
153


ท้ง ๖ ชุมนุม ต่างคนต่างใหญ่ต่างอยู่โดยเฉพาะ ๕ ชุมนุมไทย นอกจากไม่คิดกู้กรุงศรีอยุธยาแล้ว





ยังทะเลาะกนหรือไม่ก็วางเฉยอยู่แบบน้สบายกว่า เป็นใหญ่ในพ้นทด้วยจะไปเหน่อยไปเส่ยงตายทำาไม มีแต่


พระเจ้าตากสินที่ประกาศว่าจะกลับมากู้กรุงศรีอยุธยา

อาณาจักรอยุธยาแตกสลายลงเป็นรัฐ/แคว้นเล็ก ๆ ตามท่พม่าต้องการ ในศึกสงครามป้องกัน

กรุงศรีอยุธยาระหว่างทัพไทยกับทัพพม่าครั้งนี้ ฝีมือรบของกองทัพอยุธยาต่ามาก รบแพ้ทุกทีประวัติศาสตร์ไทย

หลาย ๆ ฉบับกล่าวไว้เช่นเดียวกันว่า ส่งทหารออกไปรบที่ใดก็แพ้พม่ากลับมาทุกที จนในท่สุดก่อนกรุงแตก
ประมาณ ๙ เดือน ก็ไม่ส่งกองทัพออกไปสู้รบอีกคงอยู่แต่ในเมือง บันทึกของบาทหลวงฝร่งเศสช่อ



ออเมสเสนเยอร์ บริโกต์ ได้รายงานถึงหัวหน้าบาทหลวงฝ่ายต่างประเทศท่กรุงปารีสว่า กองทัพอยุธยาเหมือน
รบไม่เป็นออกไปรบที่ใดก็เหมือนเอาอาวุธไปให้พม่า (ฟังแล้วแสบดีไหม)
ความจริงลูกแถว นายหมู่ นายกอง ฝีมือรบ เพลงดาบ เพลงมวยไทย ไม่ด้อย ไม่แพ้พม่า แต่ระดับ
แม่ทัพใหญ่ และผู้บัญชาการป้องกันพระนคร ไม่มีความรู้ในการรบทัพจับศึกไม่มีวิญญาณนักรบ หลาย ๆ ศึก

พอปะทะกับพม่าเห็นว่าพม่ามากกว่าก็ถอยทัพ หรือแม่ทัพหนีออกจากกองทัพขณะลูกน้องกำาลังรบกับข้าศึก



เม่อนายหนีลูกน้องก็หนีด้วยใครจะอยู่ น่คือสภาพกองทัพอยุธยาในยุคน้น ท้งประวัติศาสตร์ไทยและต่างชาต ิ


ท่อยู่ในเหตุการณ์บันทึกไว้ แม้แต่เจ้าพระยาเสือ (เจ้าพระยาสุรสีห์หรือกรมพระราชวังบวรมหาสุรสีหนาท
(บุญมา)) ก็กล่าวไว้

ทัพพม่ามิใช่เก่งเลอเลิศ แต่ทัพไทยตำ่ากว่ามาตรฐานท่บรรพบุรุษเคยมี ท้งน้ เพราะการบรรจุคน


ไม่เหมาะสมกับงาน
154

ถอยกลับไปตั้งหลักเพื่อกลับมากู้ชาติ



หลักการรบของทหารข้อหน่งสำาหรับนักสู้ผู้ไม่ยอมแพ้ คือ “ถ้าสู้ตรงน้สู้ไม่ได้ ก็ถอยไปต้งหลักแล้ว

กลับมาสู้ใหม่”

เม่อนำาเหนือมาท่วมทุ่งรอบ ๆ กรุงศรีอยุธยา แต่ทัพพม่ายังคงล้อมรอบกรุงอยู่ไม่ถอยกลับตามท ่ ี

อยุธยาหวัง เสบียงอาหารเริ่มขาดแคลนจนประชาชนบางส่วนหนีออกไปให้พม่าจับเพื่อให้มีข้าวกิน พม่าเคลื่อน
ย้ายไปมาได้โดยเสรี แต่คนไทยต้องอยู่ภายในกำาแพงเมืองทุกคน ท้งนายและไพร่ต่างรู้ว่าแล้งหน้ากรุงต้องแตก


แน่ ๆ จึงมีการหลบหนีออกจากตัวเมืองอยุธยา ท้งเป็นบุคคล เป็นกลุ่ม เป็นกองทัพ ก่อนท่พระเจ้าตากสิน

จะยกทัพตีฝ่าวงล้อมพม่า เช่น ทัพพิษณุโลกก็ถอยกลับไปแล้ว ทัพนครราชสีมารบแพ้ก็หนีกลับเมืองตน ทัพกรุง
โดยพระเจ้าศรีสังข์ออกไปรบก็แพ้หนีไปอยู่เมืองเขมร



เม่อเห็นว่ากรุงศรีอยุธยาจะต้องแตกแน่ ๆ พระเจ้าตากสินพร้อมทหารในสังกัดท่ตามมาจากเมืองตาก
จึงตัดสินใจตีฝ่าวงล้อมพม่าจากค่ายวัดพิชัย (ปัจจุบันคือวัดพิชัยสงคราม) ทางด้านตะวันออกนอกกำาแพงเมือง

ท่ตนรักษาอยู่ ตีฝ่าทัพพม่าออกไปทางตะวันออกเพ่อไปหาท่ต้งรวมพลสร้างกองทัพกลับมากู้กรุงศรีอยุธยา








(กชาติ) ผ่านไปทางเขตเมองนครนายก ปราจีนบุร ฉะเชิงเทรา ชลบุร ระยอง หยุดตงหลักช่วคราวอยท่เมืองระยอง

ู้
ู่

รอจนกรุงศรีอยุธยาแตกแล้วจึงขยับไปยึดเมืองจันทบุรีเป็นฐานทัพสร้างกองทัพเพื่อไปกู้ชาติ




พระเจ้าตากสินตีฝ่าออกจากอยุธยาเมอวนท่ ๓ มกราคม พ.ศ.๒๓๐๙ เวลาประมาณ ๒๐.๐๐ น.
ระหว่างทางถูกพม่ายกทัพตามตี ๔ ครั้ง
ครั้งที่ ๑ รบกับพม่าที่บ้านหันตรา (หารตรา) คืนวันที่ ๓ มกราคม พ.ศ.๒๓๐๙ หลังจากออกมาเพียง



๒-๓ ช่วโมง ชนะพม่าและเดินทางต่อไปพักแรมคืนท่บ้านสามบัณฑิตย์ เวลาเท่ยงคืน มองกลับไปทางตัวเมือง
อยุธยาเห็นไฟไหม้พื้นที่กว้างใหญ่ด้วยฤทธิ์ปืนใหญ่พม่า
ครั้งที่ ๒ รบกับพม่าที่บ้านโพสาวหาญ (เดิมชื่อโพธิ์สังหาร) ในช่วงเช้าวันที่ ๔ มกราคม พ.ศ.๒๓๐๙



ทัพพม่าตามมาทันด้วยกำาลังพลท่มากกว่าได้รบกันถึงข้นตะลุมบอน ณ ท่บ้านโพสาวหาญน้เกิดวีรชนชาวบ้าน



ท่มาช่วยพระเจ้าตากรบพม่าชาวบ้านท้งชายหญิงนำาโดยนางโพได้นำาชาวบ้านมาช่วยพระเจ้าตากรบกับพม่า
จนชนะศึก แต่นางโพและชาวบ้านหลายคนรวมท้งน้องสาวนางโพด้วยต้องตายในสนามรบ พระเจ้าตากสิน

ท่านจึงเปลี่ยนชื่อบ้าน “บ้านโพธิ์สังหาร” เป็น “โพสาวหาญ” เป็นวีรกรรมที่น่ายกย่องนับถือชาวบ้านชายหญิง




ไม่มีหน้าท่รบแต่มาช่วยพระเจ้าตากรบกับพม่าจนตัวตายในขณะท่นายทหารใหญ่ ๆ ท่มีหน้าท่เป็นแม่ทัพมีหน้าท ่ ี
รบป้องกันชาติกลับหนีข้าศึก ถ้าได้ผู้นำาดี ผู้บริหารที่ดี กรุงศรีอยุธยาจะไม่แตก ปัจจุบันมีศาลเจ้าแม่โพสาวหาญ


อยู่ท่วัดโพสาวหาญ แต่ผมคิดว่าไม่พอสำาหรับวีรกรรมท่ท่านเหล่าน้นกระทำาไว้แก่แผ่นดิน มันต้องเป็น “อนุสาวรีย์

ชาวบ้านโพสาวหาญ” ถึงจะเหมาะสม ผมเชื่อว่าชาวอยุธยาทำาได้





ครังท ๓ รบกบพม่าทบ้านพรานนก ภาคบ่ายของวันท่ ๔ มกราคม พ.ศ.๒๓๐๙ ขณะท่พักทัพ




เตรียมพักแรมคืน ทัพพม่าจากปราจีนบุรีจะกลับไปอยุธยายกทัพไปกวาดต้อนจับยึดคนและทรัพย์สินท่บริเวณ






เมองปราจนบรมาพบจงรบกนแบบกะทนหน พม่าไล่จบทหารพระเจ้าตากสนทส่งออกไปหาเสบยงหนกลบมา









จึงเกิดการรบแบบจู่โจม ๕ ม้าไทย นำาโดยพระเจ้าตากจู่โจม ๓๐ ม้าพม่า ด้วยความเร็วและรุนแรง ๕ ม้าไทยชนะ
๓๐ ม้าพม่า ทหารเดินเท้าพม่าแตกกระเจิงสูญเสียมากเพราะทหารเดินเท้า ไทยตีโอบทั้ง ๒ ด้าน วีรกรรมครั้งนี้

วันท่ ๔ มกราคม จึงเป็น “วันทหารม้าของกองทัพบกไทย” และความว่า “รวดเร็ว รุนแรง” จึงเป็นคำาพูดสำาคัญ
ของทหารม้า
155

ครั้งที่ ๔ รบพม่าที่บ้านคู้ลำาพัน แขวงเมืองปราจีนบุรี เมื่อวันที่ ๑๓ มกราคม พ.ศ.๒๓๐๙ เวลาบ่าย



ทัพพม่ายกมาจากเมืองฉะเชิงเทรา (บริเวณอำาเภอบางคล้าปัจจุบัน) เข้ามาจากปากนาเจ้าโล้ (โจ้โล้) ขึ้นมาตาม
ลำานา (ปัจจุบันคือท่าลาด) แล้วยกข้นบกไปรบกันทัพพระเจ้าตากท่ทุ่งคู้ลำาพัน ถูกพระเจ้าตากรบล่อเข้าไปสู่พ้นท ่ ี





ซุ่มยิงด้วยปืนตับ คือ ปืนใหญ่ ปืนเล็ก ยิงพร้อมกันทุกกระบอกแล้วถูกทหารพระเจ้าตากตามตี พม่าสูญเสียมาก

ท้งคนและอาวุธหลังจากน้นพม่าจึงไม่ส่งกองทัพมาตามตีทัพพระเจ้าตากอีกเลย เพราะส่งมาก็แพ้และสูญเสีย

ทุกครั้ง
หมดจากรบกับพม่าที่ยกทัพตามมาตีแล้วยังต้องรบกับคนไทยด้วยกันอีก ๒ ครั้ง
ครั้งที่ ๑ ที่เมืองระยอง ถูกเจ้าเมืองระยองเชิญชวนไปที่เมืองระยองแต่ลูกน้องเจ้าเมืองระยองกลับคิด


จะลอบโจมตีค่ายพระเจ้าตากสินซ่งต้งอยู่บริเวณวัดลุ่มมหาชัยชุมพลด้านตะวันตกวันออกของเมืองระยอง
หวังทำาลายกองทัพพระเจ้าตากสินด้วยเห็นว่ากรุงศรีอยุธยายังไม่แตก (ประมาณปลายเดือนมกราคม ๒๓๐๙)

กล่าวหาว่าพระเจ้าตากสินเป็นกบฏท้งท่ตลอดเส้นทางเดินทัพจากอยุธยาผ่านมาตามเมืองต่าง ๆ พระเจ้าตากสิน

ประกาศตลอดมาว่า ท่านจะกลับไปกู้กรุงศรีอยุธยาจึงมีคนไทยเข้ามาร่วมทัพของพระองค์ตลอดเวลา เม่อ

เจ้าของบ้านจะทำาร้ายจึงเกิดการซ้อนกลแล้วสามารถยึดเมืองระยองได้เมื่อปลายเดือนมกราคม ๒๓๐๙ ขณะนั้น
กรุงศรีอยุธยายังไม่แตกจึงต้องเฝ้ารอดูสถานการณ์











ครงท ๒ ทบหม้อข้าวเข้าตเมองจนทน์ เม่อกรุงศรีอยุธยาแตกแล้วในวันท่ ๗ เมษายน พ.ศ.๒๓๑๐



(เปล่ยน พ.ศ.เดือนเมษายน) สมเด็จพระเจ้าตากสินจึงได้เร่มกิจกรรมกู้ชาติกู้กรุงศรีอยุธยาตามท่คณะของ
พระองค์ต้งปณิธานไว้ประกาศแก่ประชาชนตามท่เดินทัพผ่านจากอยุธยาถึงระยองแม้แต่เมืองจันทบุรีก็ชวนไป


กู้กรุงศรีอยุธยาด้วยกัน


ข้นต้นปราบคณะขุนรามหม่นซ่องของเมืองระยองท่หนีไปต้งหลักท่เมืองแกลง ขุนรามหม่นซ่องหนีไป





อยู่กับเจ้าเมืองจันทบุรี แล้ววกกลับไปปราบนายทองอยู่ นกเล็ก ท่เมืองชลบุรี (เมืองบางปลายสร้อย)
นายทองอยู่ นกเล็ก เดิมอยู่ท่เมืองระยอง รบกับพระเจ้าตากท่เมืองระยองร่วมกับขุนรามหม่นซ่อง แพ้พระเจ้าตาก





จึงกลับไปซ่องสุมกำาลังเมืองชลบุรีถ่นเดิมของตน เม่อพระเจ้าตากยกทัพจากเมืองระยองมาปราบนายทองอย่ ู
นกเล็ก ยอมอ่อนน้อม พระเจ้าตากจึงแต่งตั้งให้เป็นเจ้าเมืองชลบุรีตำาแหน่งพระยาอนุราฐบุรีศรีมหาสมุทร

เม่อจัดระเบียบเมืองแกลง เมืองชลบุรี เรียบร้อยแล้วจึงเคล่อนทัพจากระยองไปเมืองจันทบุรีในต้นเดือน

มิถุนายน ๒๓๑๐ เพราะมั่นใจว่าแนวหลังปลอดภัย ขณะไปเมืองจันทบุรีนั้นไปอย่างเป็นมิตรเพราะเมืองจันทบุรี

ส่งพระสงฆ์มาอัญเชิญเพ่อจะไปวางแผนกู้กรุงศรีอยุธยา แต่พอไปถึงเมืองจันทบุรีกลับหักหลังวางแผนจะล่อ



กองทัพไปเข้าท่ดักทัพทางด้านใต้ตัวเมือง (ข้ามแม่นำา) แล้วโจมตีทำาลาย พระเจ้าตากสินจึงเปล่ยนเส้นทาง




เดินทัพไปหยุดต้งค่ายท่อยู่ท่ด้านทิศเหนือของตัวเมืองตรงบริเวณประตูท่าช้าง ซ่งเส้นทางเดินทัพจาก
กะจะหัวแหวน (เขาพลอยแหวน) ไปด้านทิศเหนือของเมืองจันทบุรีไม่ต้องข้ามแม่นำาจันทบุรีและไม่ต้องผ่าน



ป่าซุ่มนาทางด้านตะวันตกของตัวเมือง

เม่อเจรจากับเจ้าเมืองจันทบุรีไม่เป็นท่ตกลงกันจึงเกิด “ยุทธการทุบหม้อข้าวตีเมือง” เป็นการแสดง

ภาวะผู้นำาทางทหารสูงสุด ซึ่งยังไม่เคยมีแม่ทัพผู้ใดในโลกนี้เคยกระทำาและกล้ากระทำามาก่อน และก็ไม่มีแม่ทัพ
ผู้ใดชาติใดกระทำาตาม แม้จนปัจจุบันเรื่องจริงไม่ใช่ทุบหม้อข้าวเป็นคำาสั่งว่า “เย็นวันนี้ เมื่อกินอาหารเย็นแล้ว
ให้เทอาหารท่เหลือท้งให้หมดทำาลายภาชนะเสียด้วย ทุกคนมุ่งไปกินข้าวเช้าในเมืองจันทบุร ถ้าตีเมืองจันทบุร ี



ไม่ได้ก็ให้อดตายทั้งนายทั้งพล” คำาสั่งนี้ สั่งในบ่ายวันที่ ๑๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๓๑๐ ยุคนั้นไม่มีการพกหม้อข้าว
156




ไปในสนามรบ หม้อข้าวสนามของทหารเพ่งจะมีในสงครามโลกคร้งท่ ๒ นายอาจกินข้าวหุงด้วยกระทะเหล็ก

ลูกน้องคงต้องหลามข้าวกินเองคือเอาข้าวสารกรอกใส่กระบอกไม้ไผ่ใส่นำาแล้วเผาเหมือนทำาข้าวหลามดังน้น

สำานวน “ทุบหม้อข้าวตีเมือง” จึงพูดให้สั้น กะทัดรัด ชัดเจน เข้าใจง่ายกันทุกคน
ทำาไมพระเจ้าตากสินต้องทุบหม้อข้าวตีเมืองเสี่ยงเป็นเสี่ยงตายของกองทัพแสดงภาวะผู้นำาสูงสุดเช่นนี้



เมืองจันทบุรีมีกำาลังพลมากกว่าต้งอยู่ในเมืองมีกำาแพงแข็งป้องกันฝ่ายเข้าตีมีคนน้อยกว่าอยู่ในท่เปิด
เสบียงอาหารก็น้อยกว่าขืนล่าช้านานก็อดตายทัพแตกสลายจึงเกิดคำาส่งทุบหม้อข้าวตีเมืองด้วยประการฉะน้และ








กประสบความสาเร็จตเข้าเมองจันทบุรได้ในตอนสายของวันท่ ๑๕ มถุนายน พ.ศ.๒๓๑๐ (เร่มโจมตีประมาณ



๐๓.๐๐ น. คืนวันท่ ๑๔ ต่อเช้าวันที่ ๑๕ มิถุนายน พ.ศ.๒๓๑๐) ทุกคนได้กินข้าวเช้าในเมืองจันทบุรียกเว้น
ผู้เสียชีวิตในสนามรบ พระเจ้าตากสินไม่ฆ่าคนไทยด้วยกัน ท่านไม่ฆ่าทหารเมืองจันทบุรีกลับเอามาเป็นพวก
เม่อได้เมืองจันทบุรีแล้วจึงไปจัดระเบียบเอาเมืองตราด (เมืองทุ่งใหญ่) เข้ามาอยู่ในอำานาจโดยไม่ต้องรบเพราะ


เมืองตราดยอมแต่โดยดี แต่ต้องไปตีกองเรือสินค้าจีนท่ปากแม่นาตราด รบกันคร่งวันกองเรือสินค้าจีนยอมแพ้



ได้เรือจีน เรือสินค้า และสินค้ามาเป็นพวกเป็นกำาลัง เป็นแบบต่อเรือ แถมยังได้ลูกสาวหัวหน้าพ่อค้าชาวจีน
เป็นสนม จึงได้พ่อตาเป็นกำาลังสำาคัญในการค้าทางเรือกับประเทศจีนในตอนต่อมา



















































157

เตรียมกองทัพเรือกู้ชาติ

เม่อหัวเมืองชายทะเลด้านตะวันออก ต้งแต่ชลบุรี ระยอง จันทบุรีและตราด อยู่ในสังกัดหมดแล้ว


















จงเรมสร้างกองทพเรอเพอยกทพทางเรอไปก้กรงศรอยธยาทถกพม่ายดครองอยู่ ประวตศาสตร์ไทยทกฉบบ






กล่าวว่ากองทัพกู้ชาติของพระเจ้าตากสินมีกาลังพล ๕,๐๐๐ คน มีเรือรบ เรือเดินทะเล ๑๐๐ ลำา (ประมาณ)
เอาเรือ ๑๐๐ ลา มาจากไหน มีเวลาประมาณ ๓ เดือน (๙๐ วัน) จากกรกฎาคม - ต้นตุลาคม จะต่อเรือใหม่


ได้สักกี่ลา แต่ละลาต้องมีขนาดบรรทุกคน อย่างน้อย ๕๐ คน รวมทั้งอาวุธ ปืนใหญ่ กระสุน ดินดา เสบียงอาหาร



และยุทโธปกรณ์ต่าง ๆ ฯลฯ เรือทุกลาจะต้องเป็นเรือเดินทะเล นึกไม่ออกก็ดูเรือตังเกใช้ใบจับปลาในยุค
๒๕ พุทธศตวรรษ แถวภาคตะวันออกก็ได้
เมืองจันทบุรี เป็นเมืองต่อเรือเดินทะเลมาต้งแต่ยุคสุโขทัยของพ่อขุนรามคำาแหง ปี พ.ศ.๒๕๐๔ - ๒๕๐๕



ผู้เขียนยังได้เห็นการต่อเรือตังเกไม้ใช้ใบ ของชาวบ้านริมทะเลแถวตาบลประแสร์ อาเภอแกลง จังหวัดระยอง และ
เขตจันทบุรี เรือใหญ่ขนาดบรรทุกคน ๕๐ คนได้






มเวลาประมาณ ๓ เดอน เมอเรมตุลาคมมรสุมจะเปล่ยนทาง จากมรสมตะวันตกเฉยงใต้เป็นมรสุม




ตะวันออกเฉียงเหนือ ลมใช้เวลาส่งหน้าท่กันประมาณ ๑ เดือน ต้นเดือนมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ยังมี แรงลม
ส่งจากใต้ขึ้นเหนือ ได้เวลารีบไปกู้ชาติ การรวบรวมเรือรบจึงรีบกระทา

- ต่อขึ้นใหม่ ต่อได้เท่าใดก็เอาเท่านั้น
- เกณฑ์เรือเดินทะเลในพื้นที่เอามาทั้งหมด
- ดัดแปลงเรือบางลาให้บรรทุกได้มากขึ้น



ดังน้น เรือรบ ๑๐๐ ลา ของกองทัพพระเจ้าตากสิน จึงร้อยพ่อพันแม่มากแบบ แตกต่างกัน แทบจะกล่าว




ได้ว่าอะไรทลอยนำา บรรทกคน และสงของไปในทะเลได้กเอามาหมด อย่าไปคดว่า ท่านต่อเรอรบ ๑๐๐ ลำา





ในเวลา ๓ เดือนได้อย่างไร
ได้เรือพาหนะยังไม่พอ คนท่จะรบกู้ชาติ อาวุธ ยุทโธปกรณ์รบ เสบียงท่คนกิน หญ้าม้า - ช้างก็ต้อง




เตรียมแล้วขนเอาไปด้วย โดยเฉพาะเสบียงอาหารเม่อชนะศึกต้งเมืองใหม่ต้องมีกิน นาบ่อหน้าไม่มีพม่าเอาไป


หมดแล้ว คนต้องฝึกเตรียม ๓ เดือน ให้อาสาสมัครกู้ชาติจากชาวบ้านให้รู้เพลงดาบ เพลงทวนรบ เอาชนะพม่า
ให้ได้ และต้องให้คนน้อยสู้เอาชนะคนมากกว่าให้ได้ด้วย และคงรบกันชั่วชีวิตนี้นั้นแหละ กู้ได้แล้วก็ต้องป้องกัน
รักษาไว้ให้ได้ด้วย
เตรียมทุกอย่างเท่าท่ทหารจะรบต้องกระทำาแล้ว ยังมีการเตรียมด้านขวัญและกำาลังใจให้กำาลังพลกู้ชาต ิ





อีกด้วย พระเจ้าตากสนได้สร้างพระยอดธงเน้อตะก่ว ท่วัดพลับบางกะจะ อำาเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุร ี
แจกจ่ายทหารทุกคน มีเหลือบรรจุกรุอยู่ที่วัดพลับบางกะจะบ้าง ปี พ.ศ.๒๕๑๐ - ๒๕๑๑ ยังพอเห็นพระยอดธง
วัดพลับบางกะจะ รุ่นสมเด็จพระเจ้าตากสินสร้าง ถือเป็นพระยอดธงชั้นแนวหน้า
158

สมัยพระนางจามเทวีแห่งหริภุญไชย (ลาพูน) สร้างพระรอด พระคง แจกทหารไปรบ สมัยสมเด็จ

พระนเรศวรมหาราช สร้างพระผงสุพรรณแจกทหารไปรบ พระรอด พระผงสุพรรณ อยู่ในชุดเบญจภาค ี

ก่อนสงครามอินโดจีนและสงครามโลก คร้งท่ ๒ ในภาคพ้นเอเชียแฟชฟิก พระเถระเกจิดังต่าง ๆ ของไทย








สร้างพระเครองวตถมงคลก่อนเหตการณ์ ๒ - ๓ ปี ทนแจกทหารไปรบ เช่น เหรยญหลวงป่อ วดสตหบ









รุ่น พ.ศ.๒๔๘๓ เป็นต้น จะเห็นได้ว่ายามมีศึกสงคราม พระสงฆ์องค์เจ้าท่านไม่มีหน้าท่รบ แต่ท่านก็ช่วยให้
ขวัญกาลังใจทหารของชาติ เพราะถ้าประเทศชาติล่มจมแพ้ศึกศาสนาก็ทรุดหรือสูญส้น น่คือพุทธแบบไทย



จึงรักษาประเทศชาติไว้ได้


ปัจจัยนามธรรมด้านขวัญกาลังใจน้ มีค่าไม่ย่งหย่อนไปกว่าปัจจัยรปธรรม ท้งสองปัจจัยต้องเป็นของ



คู่กัน จึงเป็นกองทัพที่เก่งกล้าสามารถ ตัวเล็กกว่าจานวนน้อยกว่า แต่ข้าจะสู้เสียอย่างเอ็งจะทาอะไรข้าได้
















































159

กู้ชาติ กู้กรุงศรีอยุธยา

เคลื่อนกองเรือยกพลขึ้นบก จากจันทบุรีสู่อยุธยา

ต้นตุลาคม ๒๓๑๐ (๔ ตุลาคม หรือ ๑๔ ตุลาคม ยังไม่แน่ชัด) กองทัพเรือกู้ชาติของสมเด็จพระเจ้าตากสิน






กาลังพล ๕,๐๐๐ คน (ออกจากอยุธยามี ๕๐๐ คน) เรือรบประมาณ ๑๐๐ ลา ยาตรากาลังออกจากแม่นาจันทบุรี
สู่ทะเลอ่าวไทยฝั่งตะวันออกมุ่งขึ้นเหนือ เรือรบ ๑๐๐ ลา ชนิดร้อยพ่อพันแม่แล่นเร็วไม่เท่ากัน คงจะแล่นเลาะ

ชายฝั่งระยะห่างฝั่งคนในเรือเห็นฝั่ง แต่คนบนฝั่งไม่เห็นเรือ
จุดแรกแวะกาจัดนักปกครองเลว พระยาอนุราฐบุรีศรีมหาสมุทร (นายทองอยู่ นกเล็ก) ที่ทรงตั้งให้เป็น



เจ้าเมืองชลบุรีปกครองเมืองแต่กลับทาตัวเป็นโจรสลัดปล้นประชาชนเสียเอง จึงจับประหารแล้วต้งเจ้าเมืองชลบุร ี


คนใหม่ แล้วยกทัพเรือไปเข้าปากแม่นาเจ้าพระยา หยุดรวมพลอยู่บริเวณเมืองสมุทรปราการ ๑ คืน จากหนังสือ
ผู้ชนะที่ลาดหญ้ากล่าวว่า นายแจ้ว เพื่อนสนิทของนายบุญมา (พระมหามนตรี, เจ้าพระยาสุรสีห์พิษณุวาธิราช)






เป็นคนแถวสมทรปราการ ได้ไปรวบรวมพรรคพวกมาช่วยก้ชาต สงกดพระมหามนตร โดยมาร่วมทพท ่ ี

สมุทรปราการ มีกาลังพลประมาณ ๕๐๐ คน

โจมตียึดเมืองธนบุรี

เมืองธนบุรีเป็นเมืองหน้าด่านทางทะเลของพม่าท่ยึดครองอยุธยา ประมาณเช้ามืดของวันท่ ๕




พฤศจกายน ๒๓๑๐ กองทพเรอพระเจ้าตากสินจ่โจมตเมืองธนบร ได้เมืองธนบรภายในภาคเช้าของวันนนเอง









กาลังป้องกันเมืองธนบุรี มีทั้งพม่า มอญ และคนไทย (ส่วนใหญ่เป็นคนไทย) มีนายทองอินทร์ คนไทยขายชาติ
เป็นหัวหน้าถูกฆ่า
ตีค่ายพม่าโพธิ์สามต้น “เมื่อรบต้องชนะ”


ได้เมืองธนบุรีจัดระเบียบแล้ว ทัพเรือรีบยกข้นไปอยุธยาภายในวันเดียวกันน้น ได้ค่ายโพธ์สามต้น

ด้านตะวันออกโดยง่ายในภาคบ่ายแก่ ๆ วันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๓๑๐ นั้นเอง
เช้ามืดวันที่ ๖ พฤศจิกายน เริ่มตั้งแต่เวลา ๐๙.๐๐ น. โจมตีค่ายโพธิ์สามต้นตะวันตก ค่ายหลวงของทัพพม่า
โจมตีอยู่ครึ่งวันตีค่ายโพธิ์สามต้นแตกในเวลาประมาณเที่ยงวัน วันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๓๑๐ ทหารพม่า มอญ
ทรอดตายหนีกลับพม่า แต่มีทหารพม่าส่วนหน่งนาโดย มองญ่า รองแม่ทพ พาลูกน้องหนีไปอย่รวมกับ







ก๊กกรมหมื่นเทพพิพิธที่พิมาย น่าสงสัยทาไมไม่กลับบ้านเมืองของตน ส่วนสุกี้แม่ทัพ (ชาวมอญ) ตายในสนามรบ
๖ พฤศจิกายน ๒๓๑๐ จึงเป็นวันที่กองทัพเรือของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชกู้กรุงศรีอยุธยา คือ
“กู้ชาติ” เพราะได้ปลดปล่อยกรุงศรีอยุธยา ศูนย์กลางการปกครองของอาณาจักรจาการถูกพม่ายึดครอง
ปัจจุบัน มีงานสดุดีวีรกรรมสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชกู้ชาติ วันที่ ๖ พฤศจิกายนของทุกปี ที่หน้า
พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ในค่ายตากสิน จันทบุรี เร่มมาต้งแต่ พ.ศ.๒๕๔๘ โดย


ทหารนาวิกโยธิน หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน กองทัพเรือ และชมรมนาวิกโยธิน (นายทหารเรือพรรคนาวิกโยธิน
ชั้นสัญญาบัตรที่เกษียณราชการแล้ว) ร่วมกันเป็นเจ้าภาพ
กรุงศรีอยุธยาแตก ครั้งที่ ๑ พ.ศ.๒๑๑๒ คนไทยต้องรอคอย ๑๕ ปี จึงมีวีรบุรุษกู้ได้ รุ่นพ่อเสียเมือง
ต้องรอรุ่นลูกกู้นำาโดยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (พ่) และสมเด็จพระเอกาทศรถ (น้อง) พร้อมกับทหารกล้า


นักรบหนุ่ม ๆ รุ่นเดียวกับพระองค์ท่าน ช่วยกันรบกู้ชาติได้สาเร็จ แล้วก็ต้องรบ รบ รบ และรบอีก ๒๒ ปี


160

เสียกรุงคร้งท่ ๒ วันท่ ๗ เมษายน ๒๓๑๐ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และนักรบกล้าของ



พระองค์ท่านช่วยกันรบกู้ชาติได้ ในวันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๓๑๐ ใช้เวลาเพียง ๗ เดือน หย่อน ๑ วัน เอาคน
ที่เคยแพ้พม่านั่นแหละมารบกับพม่าจนชนะ แต่ก็รบ รบ รบ และรบต่อมาอีก ๑๕ ปี ตลอดชีวิตของพระองค์ท่าน
แล้วยังต้องรบต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชอีกหลายปี


การเสียกรุงท้ง ๒ คร้ง มิใช่พม่าเก่งเลอเลิศแต่เป็นเพราะคนไทยทะเลาะกันเอง แตกความสามัคค ี

จนมีคนอ่อนแอ คนเลวบริหารปกครองประเทศ มีแม่ทัพขุนศึกที่ไม่ใช่นักรบ จึงแพ้ศึกเสียเมือง




































































161

162

พระปรีชาสามารถและพระอัจฉริยภาพด้านการทหาร


ของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช





พลเรือเอก วสินธ์ สาริกะภูติ



ในสมัยโบราณ ยังไม่มีโรงเรียนสอนความรู้ด้านการทหาร หรือการทำาสงครามเหมือนในปัจจุบัน


แต่มีสอนอบรมอยู่ในวงศ์ตระกูลนักรบ (พระมหากษัตริย์ แม่ทัพ ขุนศึก) ไม่มีใครรบเก่งมาต้งแต่เกิดเหมือน



เทพเทวดาของ จีน แขก กรีก โรมัน แม่ทัพ ขุนศึก ผู้มีช่อเสียงโด่งดังท่เป็นมนุษย์ท้งในอดีตและในปัจจุบัน
ต้องได้รับการฝึกอบรมอย่างดีทุกคน
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระราชประวัติตอนต้นช่วงประสูติ และตอนท้ายช่วงสวรรคตไม่แน่นอน

มีเอกสารหลายเล่มหลายนักประวัติศาสตร์กล่าวไว้แต่ต่างกันหลายแนว ในช่วงประสูติพระบิดามีกล่าวไว้
ทั้งเป็นคนจีนและคนไทย แต่ทั้งสองแนวมีจุดร่วมกันอยู่ที่ “เจ้าพระยาจักรี” เป็นบิดาบุญธรรม เจ้าพระยาจักรี

ท่านนี้ เป็นนักรบระดับแม่ทัพฝีมือดีท่านหนึ่งของอยุธยาตอนปลาย

ดังน้น จึงพออนุมานได้ว่าพระองค์ท่านได้วิชาความรู้ทางด้านการทหาร และการปกครองจากเจ้าพระยา


จักรีท่านน้ (สมัยพระบรมโกศ) เรียนตำาราเล่มเดียวกัน จบสถาบันการทหารเดียวกัน แต่รบเก่งไม่เหมือนกัน
เพราะการทำาศึกสงคราม เป็นทั้ง “ศาสตร์” และ “ศิลป์”















สมเดจพระเจ้าตากสนมหาราช ทรงเป็นพระมหากษัตรย์นักรบทครบเครองมพระอจฉรยภาพทดเยยม

ที่สุดพระองค์หนึ่งของชนเผ่าไทย ผมจะขอยกตัวอย่างมาประกอบเป็นข้อยืนยันพอหอมปากหอมคอ
ด้านยุทธศาสตร์
๑. ถอยไปตั้งหลักและกลับมากู้ชาติ
ปลายปี พ.ศ.๒๓๐๙ ขณะแม่ทัพพม่าล้อมกระชับกรุงศรีอยุธยาไว้ทุกด้าน พระมหากษัตริย์อ่อนแอ
(พระเจ้าเอกทัศน์) แม่ทัพใหญ่ป้องกันกรุงไร้ความสามารถส่งกองทัพออกไปรบพม่าทีไรแพ้ทุกที บางคร้งไม่ทันได้รบ


พอรู้ว่าพม่ามีกำาลังมากกว่าก็ถอยหนีกลับเข้ากรุง หรือหนีไปอยู่ท่อ่นเลย ทุกคนต้งแต่พระมหากษัตริย์ลงมาจนถึง


ประชาชนธรรมดา ต่างรู้ว่าฤดูแล้งปี พ.ศ.๒๓๐๙ – ๒๓๑๐ กรุงศรีอยุธยาแตกแน่ ๆ พระเจ้าเอกทัศน์ส่งทูตไปขอ

ยอมแพ้เป็นเมืองขนของพม่าแต่แม่ทพพม่าไม่รับ พม่าต้องการโจมตีเข้าเมองเองเพ่อจะได้รบทรัพย์จบเชลยไป






เมืองพม่าได้เต็มที่ พม่าต้องการทำาลายอาณาจักรอยุธยา (โยเดีย) เพื่อมิให้กระทบไหล่พม่า
สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ ขณะเป็นพระยาตาก (สิน) มีกำาลังในกำามือแค่ ๕๐๐ คน (ระดับผู้บังคับกองพัน
หย่อนกำาลัง) เป็นขุนศึกระดับเล็กๆ แต่มีสติปัญญา มีความรักชาติสูง พิจารณาแล้วเห็นว่ากรุงศรีอยุธยาแตกแน่ ๆ

ถ้าอยู่ต่อไปไม่ตายก็อาจเป็นเชลย จึงตีฝ่าวงล้อมพม่าออกไปทางด้านตะวันออก ไปหาพ้นทสร้างกองทัพ


กลับมากู้ชาติ กู้อาณาจักร ได้เมืองจันทบุรีเป็นฐานทัพกู้ชาติ
163


น้คืองานของวีรบุรุษกู้ชาติ ผู้มีอัจฉริยะ มิฉะน้นคงตีฝ่าหลบไปแค่เอาตัวรอดเฉพาะตัว เฉพาะกลุ่ม

ไม่ต้องเหนื่อยตลอดพระชนม์ชีพ งานเช่นนี้วีรบุรุษ ผู้มีอัจฉริยภาพสูง ทั้งด้านการทหารและการปกครอง เท่านั้น
จึงจะกล้าทำาและทำาได้

๒. ยุทธศาสตร์ ทิ้งเมือง แต่รักษาประชาชน

เมื่ออะแซหวุ่นกี้ แม่ทัพพม่ายกทัพใหญ่จำานวนมากกว่ากองทัพไทย ๒ – ๓ เท่า โจมตีเข้ามาทางด้าน
แม่ละเมา เพื่อตียึดหัวเมืองต่างๆ ในแคว้นสุโขทัยเดิม ที่มีพิษณุโลกเป็นเมืองสำาคัญศูนย์กลาง ฝ่ายไทยยอมทิ้ง

เมืองหลายเมืองให้พม่า โดยอพยพประชาชนส่วนใหญ่ออกไปก่อน เพราะประชาชนคือทรัพยากรท่สำาคัญท่สุด

ของประเทศชาติ เมืองสร้างง่ายคนสร้างยาก เมืองท่อพยพประชาชนแล้วท้งให้พม่าคือ เมืองตากและสุโขทัย


แม้แต่เมืองพิษณุโลก ก็ให้อพยพประชาชนส่วนใหญ่ออกไปอยู่ทางด้านตะวันออกแถบเมืองนครไทย คงเหลือ
ไว้แต่ทหารป้องกันเมืองและประชาชนที่ช่วยงานทหารเพียงเล็กน้อย
ยุทธศาสตร์นี้ เหมา เจ๋อ ตุง (เมาเซตุง) ได้ใช้อพยพประชาชนหนีคู่ศึก หลบภัยสงครามรักษาประชาชนไว้

จนต่อมาเป็นประเทศจีนใหญ่โตเช่นปัจจุบัน

๓. ยุทธศาสตร์รัฐกันชน

๓.๑ รัฐกันชนด้านเหนือ

แย่งแคว้นล้านนา เชียงใหม่ ลำาปาง ลำาพูน ออกมาจากพม่าให้พ้นอิทธิพลพม่า เป็นรัฐกันชน
อยู่ทางด้านเหนือรวมเป็นอาณาจักรไทย เช่นในปัจจุบัน อาณาจักรล้านนาตกเป็นเมืองข้นอาณาจักรพม่า

ตั้งแต่สมัยพระเจ้าบุเรงนอง เมื่อปี พ.ศ.๒๑๐๘ (ก่อนกรุงศรีอยุธยาแตก ครั้งที่ ๑) แล้วก็เป็น ๆ หลุด ๆ ต่อมา

๒๐๐ ปีเศษ มาหลุดจากอำานาจพม่าก็เพราะสมเด็จพระเจ้าตากสินฯ แย่งเอามาเมื่อปี พ.ศ.๒๓๑๘ นี้เอง

การตีแย่งเชียงใหม่ออกมาจากอ้อมกอดพม่าคร้งน้ เป็นการชิงเวลาก่อนท่กองทัพพม่า




ท่รวมพลอยู่ท่เชียงใหม่จะยกมาตีไทย กรุงธนบุรี ชนิดก่อนเวลาเคล่อนทัพพม่าออกจากเชียงใหม่ไม่ถึงเดือน


เป็นการทำาลายกองทัพทางด้านเหนือ ที่จะยกมาตีกรุงธนบุรีจนทำาให้แผนคีมบีบของพม่าล้มเหลว
๓.๒ รัฐกันชนด้านตะวันออก
๓.๒.๑ ตีเขมรให้เจ้าเขมรครอง

ประเทศกัมพูชา เช้อพระวงศ์ครองเมืองทะเลาะแย่งอำานาจกัน ฝ่ายหน่งพ่งญวน







อีกฝ่ายหน่งพ่งไทย เม่อใดท่กษัตริย์กัมพูชาตกอยู่ในอิทธิพลญวน มักจะยกทัพมาตีเขตแดนไทย โดยเฉพาะ

เม่อยามมีศึกจากพม่ามาทางด้านตะวันตก ก็มักจะมีศึกจากเขมรมาทางด้านตะวันออก มาตีกระหนาบ
เสมอไทยไม่ว่าจะยุคสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี รัตนโกสินทร์ จึงพยายามเอาประเทศกัมพูชามาอยู่ในอิทธิพล

ให้ปลอดภัยจากอิทธิพลญวน หรือมิฉะนั้นก็อยู่ในอิทธิพลไทย, ญวน กากึ่งกันไม่เป็นภัยต่อทั้ง ๒ ฝ่าย


สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ จึงจัดกองทัพไปตีกัมพูชาเม่อปี พ.ศ.๒๓๑๔ สาเหตุเพราะ


เม่อกองทัพไทยยกไปตีเชียงใหม่ในปี พ.ศ.๒๓๑๓ – ๒๓๑๔ น้น พระนารายณ์ ราชากษัตริย์ กัมพูชาได้ส่ง
















กองทพมาตไทยด้านตะวนออก จงหวดตราด จงหวดจนทบร แต่ถกกองทพจนทบรตแตกถอยกลบไป สมเดจ



พระเจ้าตากสินฯ จึงต้องยกทัพไปตีกัมพูชาเอามาอยู่ในอำานาจไทยกรุงธนบุรี โดยให้เจ้าเขมรท่ฝักใฝ่ฝ่ายไทย

พระรามราชา (นักองค์นนท์) ปกครองกัมพูชาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๓๑๔ เป็นต้นมา ทำาให้หมดศึกกระหนาบทางด้าน
เขมร และเป็นรัฐกันชนด้านญวน
164

๓.๒.๒ ตีอาณาจักรล้านช้าง เวียงจันทน์

ขณะที่ไทยกำาลังรวบรวมตั้งประเทศขึ้นใหม่นั้น (ช่วงที่สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ โจมตี
รวบรวมก๊ก อื่น ๆ เอาเข้ามารวมเป็นประเทศ) กษัตริย์ล้านช้างที่เมืองเวียงจันทน์ จะเป็นผู้รายงานสถานการณ์

ต่าง ๆ ในดินแดนประเทศไทย ให้พระเจ้ามังระกษัตริย์พม่าทราบเป็นระยะ ๆ ทำาให้พระเจ้ามังระส่งกองทัพ
มาโจมตีไทยหลายศึกหลายครั้ง

ดังน้น เม่อเสร็จศึกพม่า (ศึกอะแซหวุ่นก้) เม่อปีพ.ศ.๒๓๒๐ แล้ว พระองศ์จึงให้จัดกองทัพ




ไปตีเวียงจันทน์ มีสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกเป็นแม่ทัพใหญ่ และเจ้าพระยาสุรสีห์เป็นแม่ทัพหน้า

เม่อปี พ.ศ.๒๓๒๑–๒๓๒๒ ไทยชนะได้แคว้นเวียงจันทน์มาอยู่ในอำานาจ แล้วเป็นรัฐกันชนทางด้านตะวันออก
ด้านญวน
๔. ยุทธศาสตร์ รักษาคนดี คนเก่ง

สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ ไม่ฆ่าคนไทยด้วยกันแต่กลับเอามาช่วยกันทำางานเพ่อประเทศ เช่น เม่อชนะ


ชุมนุม (ก๊ก) เมืองนครศรีธรรมราช ไม่ฆ่าตามที่คณะกรมการเสนอแต่กลับเอามาช่วยกันทำางาน จึงทำาให้มีคนดี

คนเก่งมาช่วยกันทำางานมากข้น และเป็นผลให้คนไทยและประชาชนในพ้นท่เข้ามาร่วมช่วยกู้ชาติ ได้คนดี คนเก่ง


คนรักประเทศชาติมาช่วยกันทำางานมากมาย จนสามารถรวบรวมประเทศเป็นอาณาจักรของคนไทย อันยิ่งใหญ่
กว้างขวาง ในเวลาเพียง ๑๔ ปีเศษ

ด้านยุทธวิธี การใช้กองทัพ การเดินทัพ





การเดินทัพไปรบทุกครั้ง ถ้าในพื้นที่นั้นมีทะเลหรือลำานา (แม่นาลำาคลอง) ให้ใช้เรือได้สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ
จะยกกองทัพเรือไปด้วยเสมอ เป็นการเดินทัพ ๒ มิติ คือ ทั้งทางบก (กองทัพบก) และทางเรือ (กองทัพเรือ) และ

เม่อมียกทัพเรือ พระองค์จะทรงเป็นแม่ทัพเรือด้วยพระองค์เองเป็นส่วนใหญ่ การใช้กองทัพบกและทัพเรือ
ร่วมรบด้วยกัน เป็นการใช้จุดแข็งของทัพเรือในด้านความคล่องแคล่วในการเคล่อนท่ การใช้กองเรือปืน กองทัพไทย













สมัยกรุงธนบุรมีกองทัพเรอทเข็มแข็ง สามารถโยกย้ายกำาลังรบทมีน้อยกว่าข้าศก เอาไปรบในพนทต่าง ๆ
ได้ทันเหตุการณ์ ทันเวลา ช่วยชดเชยกำาลังทางบกที่มีน้อยกว่าพม่าหลายเท่าให้รบต้านทานพม่าได้และชนะพม่า
ในที่สุด
สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ ใช้กองทัพเรือคู่กับกองทัพบกท้งในศึกรวมประเทศ เช่น ตีเมืองนครศรีธรรมราช

ตีเมืองพิษณุโลก และป้องกันประเทศ เช่น ศึกพม่าตีเมืองพิษณุโลก ตลอดจนย้ายอาณาเขต เช่นตีเมืองเขมร
ตีล้านนา เชียงใหม่ เป็นต้น
การเดินทัพทางเรือท่เด่นท่สุดคร้งหน่งคือ กองทัพเรือกู้ชาติจากจันทบุรี ผ่านทะเลอ่าวไทย




ฝั่งตะวันออก เข้าแม่นาเจ้าพระยา ตีเมืองธนบุรี ตีค่ายพม่า ที่โพธิ์สามต้น ซึ่งเป็นกองทัพยึดครองอยุธยา เมื่อ


๖ พฤศจิกายน ๒๓๑๐ ชนะ กู้เอกราชให้คนไทยจนสร้างอาณาจักรไทยกลับคืนมาจนถึงพวกเราทุกวันนี้ ถ้าไม่มี
กองเรือกู้ชาตินี้ จะมีประเทศไทยในแผนที่โลกหรือไม่ คนเผ่าไทยจะต้องอยู่ในแผ่นดินที่มีชื่อว่าอะไร ?
พระอัจฉริยภาพด้านยุทธวิธี (บางส่วน) ของ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
๑. ตีฝ่าวงล้อมพม่าในเวลากลางคืน
โดยตีฝ่าออกจากค่ายไทย (นอกกำาแพงกรุงศรีอยุธยา) ด้านตะวันออก ณ ค่ายวัดพิชัย (วัดพิชัย





สงครามในปัจจุบัน) เม่อคืนวันท่ ๓ มกราคม พ.ศ.๒๓๐๙ ใช้ความมืด ให้หลบฝ่าผ่านค่ายพม่าท่ต้งล้อมกรุง
165

ออกไปได้ กว่าพม่าจะรู้ตัวก็ต้องเสียเวลาปลุกกำาลังพลจัดทัพตามตี แล้วก็รบกับพม่าท่ยกทัพติดตามมาตีถึง

๔ ครั้ง ชนะทุกครั้ง คือที่ทุ่งหันตรา (บ้านหันตรา-หารตรา) บ้านโพธิ์สังหาร (บ้านโพสาวหาญ) บ้านพรานนก

และบ้านคู้รำาพัน

๒. ใช้การจู่โจม รวดเร็ว รุนแรง กล้าหาญ


“ห้าม้าไทย ชนะ สามสิบม้าพม่า” เหตุเกิดท่บริเวณบ้านพรานนก อยุธยา เม่อวันท่ ๔ มกราคม



พ.ศ.๒๓๐๙ เวลาภาคบ่ายแก่ ๆ ขณะท่กำาลังส่วนใหญ่พักผ่อนเตรียมพักค้างแรมคืนท่บ้านพรานนก ส่งกำาลัง


















สวนหนงออกไปหาเสบยงอาหาร กาลงส่วนนไปพบทพพมาทมาจากปราจนบรีจะกลบไปอยธยา จงถกพมาไล่จบ



ไล่ฆ่า จึงถอยหนีกลับมาหาพวก สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ ต้องรีบแก้ไข้ปัญหาเฉพาะหน้าแบบเร่งด่วนชวนลูกน้อง
อีก ๔ คน รวมทั้งพระองค์ท่านนับได้ ๕ คน โดดขึ้นม้าวิ่งตะลุยสวนเข้าไปในกลุ่มทหารพม่า ๓๐ ม้า ที่กำาลังไล่ฆ่า
ทหารไทย ติดตามมาด้วยทหารเดินเท้าอีกหลายร้อยคน (บางเอกสารว่ามีนับพัน) กำาลังวิ่งไล่ตามมาด้วย ๕ ม้าไทย
จู่โจม อย่างรวดเร็ว รุนแรง กล้าหาญ ทำาให้พม่า ๓๐ ม้า แตกถอยหนีกลับไปชนกับทหารราบของตนพอด ี
ทหารราบของพระเจ้าตากที่กำาลังพักผ่อนต่างก็คว้าดาบลุยตีกระหนาบทหารพม่าเข้าไปทั้ง ๒ ด้านซ้ายด้านขวา











เป็นผลให้พม่ากองนแตกพ่ายอย่างยบเยนหนกลบไปอยธยา วรกรรมการรบอนห้าวหาญ ดดน จ่โจม รวดเรว


ครั้งนี้ทหารม้าของกองทัพบกไทยจึงถือเอา “วันที่ ๔ มกราคม ของทุกปีเป็นวันทหารม้า”
๓. กลยุทธ์ยิงปืนตับ




















การยิงปนตบ คอ การยงปนทกกระบอกทมอยทงปนเลก ปนใหญ โดยเรมตนยงพรอมกนทกกระบอก




ซ่งได้ท้งการจู่โจมและการทำาลายข้าศึกกลุ่มก้อน ทำาลายท้งกำาลังพลและทำาลายขวัญฝ่ายข้าศึกพร้อมกันด้วย



เหตุเกิดที่สนามรบที่บ้านคู้รำาพัน เขตปราจีนบุรี ชายทุ่งศรีมหาโพธิ เมื่อประมาณวันที่ ๑๓ มกราคม พ.ศ.๒๓๐๙

กับทหารพม่าท่พยายามติดตามกองทัพไทยของพระยาตาก (สิน) ผลกระทบของทหารพม่าถูกทำาลายยับเยิน












พม่าสญเสยมากทงกาลงพลและอาวุธยทโธปกณ์ ด้วยฤทธเดชปืนตบ หลังจากพม่าส่งทพตามตกองทพ

พระยาตาก (สิน) มา ๔ ครั้ง ตั้งแต่คืนวันที่ ๓ มกราคม พ.ศ.๒๓๐๙ จนถึง ๑๓ มกราคม พ.ศ.๒๓๐๙ แพ้สูญเสีย
กลับทุกครั้ง จึงไม่ส่งกองทัพตามตีกองทัพพระยาตากอีกต่อไป ในประวัติศาสตร์ไทยยังไม่เคยมีการกล่าวถึง


การยิงปืนตับมาก่อนเลย เร่มมีการกล่าวถึงคร้งแรกท่ศึกบ้านคู้รำาพัน แล้วก็มีการกล่าวถึงทุกศึกสงครามต่าง ๆ

ของสมเด็จเจ้าตากสินฯ ตลอดมา
๔. กลยุทธ์ล่อให้ตามแล้วทำาลาย

คือ ถอยออกจากเมืองพิษณุโลก เมื่อวันขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๖ วันวิสาขบูชา หลังเที่ยงคืนถอยทัพและ

ประชาชนหนีออกมาจากเมืองพิษณุโลกไปทางทิศตะวันออก ล่อให้ทัพพม่าตามไป พม่าต้งใจจะตามไปทำาลาย
กองทัพเมืองพิษณุโลก เพื่อมิให้มีกำาลัง มีศักยภาพจะยกไปตีตลบหลัง เมื่อกองทัพพม่ายกจากพิษณุโลกไปโจมตี
กรุงธนบุรี

แต่กองทัพพม่ากองน้กลับถูกกองทัพเมืองพิษณุโลกซุ่มโจมตีล้อมทำาลายโดยอาศัยภูมิประเทศ
ช่วยในการดำาเนินกลยุทธ์ จนในที่สุดกองทัพพม่ากองนี้ซึ่งมีกำาลังพล ๑๐,๐๐๐ คน มี มัง แย ยา งู เป็นแม่ทัพ

(น้องชายอะแซหวุ่นก้) ถูกทำาลายหมดสภาพไม่เป็นกองทัพ แตกหนีเป็นกลุ่มย่อย ๆ หนีไปทางเมืองหลวงพระบาง
กลับไปพม่าหลุดออกจากสนามรบเสียเอง นับว่าเป็นกลยุทธ์ที่ยอดเยี่ยมมาก ๆ


ยุทธศาสตร์ท้งเมืองแล้วล่อให้ข้าศึกไล่ติดตามตีน้ ต่อมาอีก ๔๖ ปี กองทัพรัสเซียได้ใช้กับกองทัพ


ฝร่งเศสของพระเจ้านโปเลียน ท่สนามรบเมืองมอสโคว์ รัสเซียท้งเมืองมอสโคว์ล่อให้ฝร่งเศสตาม กองทัพฝร่งเศส



166


ยกทัพตามจึงถูกกองทัพรัสเซียล้อมทำาลายทีละกอง ๆ จนฝร่งเศสต้องถอยทัพกลับเมืองตน เหลือกองทัพกลับมา
นิดเดียวจึงเป็นผลให้พระเจ้านโปเลียนและประเทศฝรั่งเศสหมดอำานาจไปในที่สุด

เซอร์อาร์เธอร์แฟร์ ชาวอังกฤษท่เป็นข้าหลวงปกครองพม่า ได้เขียนประวัติศาสตร์เก่ยวกับเอเชีย

ตะวันออกเฉียงใต้ ได้กล่าวไว้ว่า การถอนตัวออกจากเมืองพิษณุโลกของไทย เป็นการถอยตามคำาสั่งกษัตริย์ไทย
ตามแผนของฝ่ายไทย มิใช่ถอยทิ้งเมืองเพราะอดอาหาร

การใช้ลักษณะผู้น�าทหารสูงสุด “ทุบหม้อข้าวตีเมืองจันทบุรี”


เม่อเจ้าเมืองจันทบุรีเชิญไปอยู่ท่เมืองจันทบุรีเพ่อเตรียมกองทัพกู้ชาติ แต่พอไปถึงกลับถูกหักหลัง


จึงต้องตียึดเมืองจันทบุรี คนน้อยกว่าเป็นฝ่ายเข้าตีคนมากกว่าอยู่ในกำาแพงเมือง จึงต้องใช้ลักษณะผู้นำาสูงสุด
ต้องตียึดเมืองจันทบุรีให้ได้ ถ้าไม่ได้การกู้ชาติก็ล้มเหลว เมื่อต้องตีเมืองยึดเมืองให้ได้จึงเกิดคำาสั่งยุทธการทหาร





ท่มีเพียงคร้งเดียวและแห่งเดียวในโลกน้ เม่อเย็นวันท่ ๑๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๓๑๐ คือ “เม่อกินอาหารม้อเย็น


วันน้แล้ว ให้เอาอาหารท่เหลือเทท้งให้หมด ทุบทำาลายภาชนะหุงต้มให้หมดด้วย เราจะไปกนอาหารเช้า




วันพรุ่งนี้ในเมืองจันทบุรี ถ้าตีเมืองไม่ได้ก็ให้ตายด้วยกันหมด ทั้งพลและนาย”


คำาส่งแบบน้มีแห่งเดียวและคร้งเดียวในโลกใบน้ ไม่มีแม่ทัพคนใดกล้าทำาตามแสดงถึงพระอัจฉริยภาพ


ด้านความเป็นผู้นำาอันยอดเยี่ยม
ภาคเช้าวันท่ ๑๕ มิถุนายน พ.ศ.๒๓๑๐ เจ้าตากตีได้เมืองจันทบุรี จึงมีฐานทัพกู้ชาติและมีประเทศไทย

มาจนบัดนี้
พระอัจฉริยภาพด้านการสร้างปืนใหญ่
สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ โปรดให้หล่อปืนใหญ่ทำาด้วยทองเหลืองกระบอกสั้น ปากลำากล้องโตประมาณ
๖ นิ้วฟุต ใช้กระสุนทำาด้วยไม้ ก็ได้ชื่อปืนเศวตรัตน์ พระองค์ออกแบบและตรวจแบบการหล่อด้วยพระองค์เอง
ปืนน้มีบทบาทมากในสงครามเก้าทัพท่ลาดหญ้า เม่อทัพไทยของกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท (เจ้าพระยา




สุรสีห์) เป็นแม่ทัพ ให้ใช้ลูกกระสุนไม้ยิงทำาลายค่ายพม่า ซ่งต้งอยู่บนพ้นท่สูงกว่าปืนใหญ่กระสุนเหล็กยิงไม่ถึง




(วิถีกระสุนโค้งไม่พอ) กองทัพไทยจึงชนะศึกลาดหญ้าเพราะฤทธ์เดชปืนใหญ่ลูกกระสุนไม้ของสมเด็จพระเจ้า
ตากสินฯ โปรดสร้างไว้




























167

กิจกรรมมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช





ในวาระครบ ๒๕๐ ปี แห่งการกอบกู้ชาติของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมื่อ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๐



ที่พระองค์ทรงนากาลังทางเรือจากจังหวัดจันทบุรี มาตามชายฝั่งทะเลเข้าสู่แม่นํ้าเจ้าพระยา เข้าโจมตีจนมีชัยชนะ
แก่ข้าศึก ณ สมรภูมิค่ายโพธิ์สามต้น จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอันยิ่งใหญ่ที่ทําให้
ชาติไทยดํารงความเป็นไท และมีอิสรภาพมาได้ถึงทุกวันนี้


เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติและเผยแพร่พระปรีชาสามารถ ตลอดจนบทบาทการนาทัพทางเรือ


ในการกอบกู้วิกฤติการณ์ของชาติของพระองค์ท่าน มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จึงจัดทาโครงการต่าง ๆ










ระหวางพฤศจกายน พ.ศ.๒๕๖๐ ถงพฤศจกายน พ.ศ.๒๕๖๑ เพอนอมราลกถงพระมหากรณาธคณททรงม ี









ตอชาตบานเมองอย่างหาที่สุดมิได้
กิจกรรมดังกล่าวมีตามลําดับ ดังนี้

๑. คณะกรรมการมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้ร่วมกับประชาชน จัดพิธีทาบุญอุทิศถวาย
พระราชกุศลแด่พระองค์ท่าน ในวันเสาร์ที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๐ ณ ศาลากลาง วัดอินทาราม (ใต้)
ตลาดพลู เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นที่ตั้งสํานักงานมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชด้วย
๒. มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้ขอความร่วมมือไปยัง บริษัทไปรษณีย์ไทย จากัด ในการ

จัดสร้างตราไปรษณียากรที่ระลึก ๒๕๐ ปี แห่งการกอบกู้เอกราชของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เพื่อถวาย
พระเกียรติ ในวันที่ ๖ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๐ โดยได้เริ่มดําเนินการตั้งแต่เดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๐ โดย


บริษัท ไปรษณีย์ไทย ได้จัดสร้างจานวน ๕๐,๐๐๐ ดวง ออกจาหน่ายในวันที่ ๖ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๐
ซึ่งตรงกับวันครบรอบ ๒๕๐ ปี แห่งการกอบกู้อิสรภาพ ที่เรียกกันว่าวันชนะศึก


๓. มลนธสมเดจพระเจาตากสนมหาราชทราบจาก โรงพยาบาลสมเดจพระปนเกลา กรมแพทยทหารเรอ











ว่าจะดาเนินการปรับปรุงศูนย์โรคหัวใจ ซึ่งจะใช้งบประมาณในการปรับปรุงประมาณ ๑๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท
(สิบสองล้านบาท) คณะกรรมการมูลนิธิฯ จึงมีมติเห็นสมควรสนับสนุนโครงการนี้เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และได้ช่วยเหลือผู้ป่วยโรคหัวใจอีกมาก โดยมูลนิธิฯ ได้ขอให้ทางโรงพยาบาล

สมเด็จพระปิ่นเกล้า กรมแพทย์ทหารเรือ จัดทาป้ายจารึกข้อความ “วาระ ๒๕๐ ปี แห่งการกอบกู้เอกราช
ของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๐” จารึกรายนามผู้บริจาคไว้ที่ศูนย์โรคหัวใจ มียอด
การบริจาคทั้งสิ้นเป็นเงิน ๒๔,๔๒๒,๑๐๐ บาท ซึ่งได้มีพิธีเปิดศูนย์โรคหัวใจ ในวันที่ ๑๗ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๑
โดย พลเรือเอก นริส ประทุมสุวรรณ ผู้บัญชาการทหารเรือ และในเวลาเช้าของวันเดียวกัน มูลนิธิสมเด็จ
พระเจ้าตากสินมหาราช ร่วมกับสมาคมและประชาชน จัดพิธีบวงสรวงและทําบุญถวายภัตตาหารเพลเพื่ออุทิศ
พระราชกุศลแด่พระองค์ท่าน ณ โบสถ์น้อย วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร
๔. มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช มีโครงการการแปลและปริวรรต เอกสารโบราณอัน
เกี่ยวเนื่องกับสมัยกรุงธนบุรีและจัดพิมพ์เผยแพร่เนื่องในโครงการนี้ คือ การจัดพิมพ์บทละครเรื่องรามเกียรติ์


ตอนศึกท้าวสัทธาสูร และวิรุณจาบัง พระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ซึ่งต้นฉบับเป็นสมุดไทยดา
168

อยู่ที่ห้องสมุดกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมันนี ปริวรรตโดย รองศาสตราจารย์ เรไร ไพรวรรณ์ จากมหาวิทยาลัย












ราชภัฎธนบุรี โดยการประสานของผชวยศาสตราจารย ดร.ทองเจอ เขยดทอง กรรมการทปรกษามลนธสมเดจ




พระเจาตากสนมหาราช
นอกจากนี้ มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้จัดพิมพ์หนังสืออีก ๒ เรื่อง ได้แก่ “แม่ทัพเรือกู้ชาติ”
และ “หักคีมพม่าและเสือพบสิงห์” โดย พลเรือเอก วสินธ์ สาริกะภูติ เป็นผู้เขียน เพื่อเผยแพร่วีรกรรมและ
ความเสียสละกล้าหาญของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ที่มีต่อประชาชนชาติไทยอย่างใหญ่หลวง
๕. มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้สร้างเหรียญที่ระลึกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
“รุ่น ๒๕๐ ปี กู้ชาติ” ประกอบพิธีมังคลาภิเษก ณ ท้องพระโรง พระราชวังเดิม (พระราชวังกรุงธนบุรีในสมเด็จ
พระเจ้าตากสินมหาราช) ในวันอาทิตย์ที่ ๒๖ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๑ โดยพระเกจิอาจารย์ทุกองค์ที่มาร่วม
ในพิธีปลุกเสกล้วนมาจากวัดที่มีความเกี่ยวข้องกับพระองค์ท่าน เพื่อเป็นที่ระลึกและเตือนความทรงจาของ

ลูกหลานไทย ถึงความยากลําบากเพียงใดในการรวมชาติเป็นหนึ่งเดียว
๖. เนื่องในโอกาส ๒๕๐ ปี กรุงธนบุรี มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้ร่วมกับ กองทัพเรือ
จัดทาโครงการตามรอยกองเรือยกพลขึ้นบกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จากจันทบุรีสู่อยุธยา และมีการ

จัดเสวนาในเรื่องการใช้ประโยชน์จากสมุททานุภาพของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชในการกู้ชาติ

๗. มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้ร่วมกับสานักศิลปะและวัฒนธรรม ร่วมกับหลักสูตรศิลปกรรม

ศาสตร์บัณฑิต คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี จัดโครงการบรรยายความรู้
ทางประวัติศาสตร์กรุงธนบุรี และการประกวดวาดภาพระบายสี “๒๕๐ ปี ฑณบุรี ศรีมหาสมุทร”













































169

พิธีบำาเพ็ญกุศลอุทิศถวายเป็นพระราชกุศล แด่

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๐ ณ ศาลาประชาอุทิศ วัดอินทาราม
ถนนเทอดไทย แขวงบางยี่เรือ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร

ที่ตั้งสำานักงานมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช






























































พระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ปั้นโดย นายจักรกริช ชุติมันต์
ได้จัดพิธีบวงสรวงในงาน “วันตากสินมหาราชรำาลึก” ณ บริเวณท้องสนามหลวง
ระหว่างวันที่ ๒๔ - ๒๙ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๒๓ ปัจจุบันประดิษฐาน ณ มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

วัดอินทาราม ถนนเทอดไทย แขวงบางยี่เรือ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร

170

พลเรือเอก วสินธ์ สาริกะภูติ ประธานมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ถวายผ้าไตรแด่

พระครูสุวิมล ธรรมโสภิต เจ้่าอาวาสวัดอินทาราม





























171




นายจักรกริช ชุติมันต์ กรรมการมูลนิธิสมเด็จ พลเรือเอก ประพฤติพร อกษรมัต เลาประวติความเป็นมาของ

พระเจ้าตากสินมหาราช ชุดก่อต้งผ้ป้นพระบรม มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รวมท้งการจัดสร้างพระบรมรูปสมเด็จ



รูปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระเจ้าตากสินมหาราช
172

การจัดสร้างไปรษณียากรที่ระลึก ๒๕๐ ปี

แห่งการกอบกู้เอกราชของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช


เผยแพร่ เมื่อวันที่ ๖ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๐




































































173

174

พิธีบวงสรวงและพิธีบำาเพ็ญกุศลอุทิศถวายเป็นพระราชกุศล แด่

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

วันที่ ๑๗ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๑
ณ โบสถ์น้อย วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร


































































ภาพจากซ้าย : พันเอก นพนันท์ มุตตามระ กรรมการมูลนิธิฯ นางสิรินดา จูภาวัง เลขานุการมูลนิธิฯ
พลเรือเอก บุญปลอด มะม่วงแก้ว พลเรือเอก วสินธ์ สาริกะภูติ ประธานมูลนิธิฯ





พลเรือเอก นริส ประทุมสุวรรณ ผบญชาการทหารเรอในขณะนน


175

ภาพจากซาย : พระเทพเมธี เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร พลเรือเอก วสินธ์ สาริกะภูติ ประธาน

มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พลเรือเอก ประพฤติพร อักษรมัต รองประธานมูลนิธิฯ
พลเรือเอก นริส ประทุมสุวรรณ ผู้บัญชาการทหารเรือในขณะนั้น


















































พระศรีสุทธิเวที ผู้ช่วยเจ้าอาวาส
วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร
176

ภาพจากซ้าย :

พันเอกหญิง นันทนา ปัญญบูรณ์ กรรมการที่ปรึกษามูลนิธิฯ พลตำารวจตรี จิรโรจน์ กี่ศิริ กรรมการมูลนิธิฯ
นางกอบกุล ใจเที่ยง นางสิรินดา จูภาวัง เลขานุการมูลนิธิฯ พลเรือเอก วสินธ์ สาริกะภูติ ประธานมูลนิธิฯ
พลเรือเอก ประพฤติพร อักษรมัต รองประธานมูลนิธิฯ














































177

พิธีเปิดศูนย์โรคหัวใจ โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า


กรมแพทย์ทหารเรือ

วันอังคารที่ ๑๗ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๑











































































178

พลเรือเอก นริส ประทุมสุวรรณ ผู้บัญชาการทหารเรือในขณะนั้น เป็นประธานพิธีเปิดศูนย์หัวใจ
โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า กรมแพทย์ทหารเรือ เมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๑

179

พลเรือตรี วิชัย มนัสศิริวิทยา ผู้อำานวยการโรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า กรมแพทย์ทหารเรือ กล่าวรายงาน


180

ผู้บริจาคเงินสร้างศูนย์หัวใจ






















































































181

182

ผู้บริจาคเงินรับของที่ระลึกจากผู้บัญชาการทหารเรือ



















































































183

184

185

พลเรือเอก ประพฤติพร อักษรมัต รองประธาน
มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช แสดงความยินด ี


พลเรือตรี วิชัย มนัสศิริวิทยา คุณศรีไสล สุชาติวุฒิ กับนาวาเอก นายเเพทย์พิทักษ์ พงศ์นนทชัย รองผ้อานวย
พลเรือเอก ประพฤติพร อักษรมัต การศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า


186

นาวาเอก นายแพทย์สหรัฐ หวังเจริญ หัวหน้าศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า

กรมแพทย์ทหารเรือ (คนที่ ๓ จากขวา พร้อมนายเเพทย์เเละเเพทย์หญิงประจำาศูนย์หัวใจฯ)















































สโมสรไลออนส์จอมทอง กรุงเทพฯ มอบกระเช้าดอกไม้เเสดงความยินดีกับ

พลเรือตรี นายเเพทย์ วิชัย มนัสศริวิทยา ผู้อำานวยการโรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า
พลเรือเอก ปรีชาญ จามเจริญ นาวาเอก นายเเพทย์สหรัฐ หวังเจริญ

นาวาเอก นายเเพทย์พิทักษ์ พงศ์นนทชัย นาวาเอกหญิง ยุวดี สุวรรณประดิษฐ

187

ภาพจากซ้าย : นาวาเอก นายแพทย์พิทักษ์ พงศ์นนทชัย พลเรือเอก ประพฤติพร อักษรมัต
พลตำารวจตรี จิรโรจน์ กี่ศิริ คุณอุบลวรรณ กี่ศิริ คุณอรนลิน สีวะรา คุณสิรินดา จูภาวัง
คุณจักรกริช ชุุติมันต์ คุณกอบกุล ใจเที่ยง พันเอก อภิชาต จูภาวัง





































ภาพจากซ้าย : นาวาเอก ทรงฤทธิ์ โพธิ์จินดา นาวาโทหญิง พรรณราย โพธิ์จินดา
พลเรือตรี นายแพทย์วิชัย มนัสศิริวิทยา พลเรือเอก ประพฤติพร อักษรมัต

นาวาเอกหญิง แพทย์หญิงพิมพ์สิริ ชมะนันทน์ นาวาเอกหญิง มาริน อนุศักดิ์

188

ป้ายหินอ่อนจารึกรายนามผู้บริจาค หน้าศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า กรมแพทย์ทหารเรือ






















































































189

พลเรือเอก นริส ประทุมสุวรรณ ผู้บัญชาการทหารเรือ รับมอบเงินจากผู้มีจิตศรัทธา

ร่วมสนับสนุนศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า กรมแพทย์ทหารเรือ



















































































190

ผู้บริจาคเงินถ่ายภาพร่วมกับผู้บัญชาการทหารเรือ






















































































191

192

พิธีมังคลาภิเษก

เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

ครั้งยิ่งใหญ่ในประวัติศาสตร์

ณ ท้องพระโรง พระราชวังเดิม






























เหรียญแบบที่ ๑





























เหรียญแบบที่ ๒



เหรียญที่ระลึกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

วาระ ๒๕๐ ปี ที่ทรงกอบกู้เอกราชพระราชทานชาติไทย


193

วัตถุประสงค์


เน่องในวาระครบ ๒๕๐ ปี (พ.ศ.๒๓๑๐ – ๒๕๖๐) แห่งการกอบก้เอกราชพระราชทานชาติไทย

ให้กลับคืนคงดำารงอิสรภาพสืบมาจนทุกวันนี้ คณะกรรมการมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จึงได้





จัดสร้างเหรียญท่ระลึก สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช วีรกษัตริย์มหาราชผ้ย่งใหญ่ “ร่น ๒๕๐ ป ก้ชาติ”

เพื่อเทิดพระเกียรติ และสำานึกในพระมหากรุณาธิคุณ ที่ทรงมีต่อคนไทยอย่างใหญ่หลวงมาตราบเท่าทุกวันนี้
เหรียญที่ระลึก “๒๕๐ ปี กู้ชาติ” นี้ ส่วนหนึ่งมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้มอบให้กองทัพเรือ


















เพอสนบสนนการจดกจกรรม “ตามรอยกองเรอยกพลขนบก สมเดจพระเจาตากสนมหาราช” ซงนาจะถอไดวา


เป็นคร้งแรกในประวัติศาสตร์ ๒๕๐ ปี ท่ผ่านมา ท่มีการจัดกิจกรรมเทิดพระเกียรติพระวีรกรรมการก้ชาติ



โดยตามรอยเส้นทางตามรอยกองเรือยกพลข้นบกของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช นับว่าเป็นกิจกรรมท ี ่
กองทัพเรือร่วมกับจังหวัดต่าง ๆ มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช หน่วยงานราชการ และประชาชน


ทุกหม่เหล่า ได้ร่วมใจเป็นหน่งเดียว เพ่อให้งานน้ได้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี และสมพระเกียรติแด่องค์สมเด็จ




พระเจ้าตากสินมหาราช ผ้ทรงเป็นวีรกษัตริย์ของชาติไทย และเหรียญอีกจานวนหน่ง มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสิน


มหาราช จะมอบสมนาคุณให้แก่ผู้ที่ให้การสนับสนุนการดำาเนินงานตามวัตถุประสงค์ของมูลนิธิฯ ต่อไป
พิธีมังคลาภิเษก กระทำา ๒ ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ ๑ พิธีมังคลาภิเษกเดี่ยว ๙ วัด ๙ องค์ ๙ วัน
รายชื่อพระเกจิอาจารย์
๑. หลวงพ่อหวล ภูริทัตโต (พระพุทไธศวรรย์วรคุณ) อายุ ๘๙ ปี วัดพุทไธศวรรย์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๒. หลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินธโร (หลวงพ่อเสือดำา) อายุ ๙๔ ปี สถานปฏิบัติธรรมหลวงพ่อทวีศักดิ์ อำาเภอบางปะหัน
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (วัดศรีนวลธรรมวิมล) เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร
๓. หลวงปู่แขก ปภาโส (พระมงคลสุธี) อายุ ๙๔ ปี วัดสุนทรประดิษฐ์ อำาเภอบางระกำา จังหวัดพิษณุโลก
๔. หลวงพ่อฟู อติภัทโท (พระมงคลสุทธิคุณ) อายุ ๙๖ ปี วัดบางสมัคร อำาเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
๕. หลวงปู่ฮก รตินธโร อายุ ๙๑ ปี วัดราษฎร์เรืองสุข อำาเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี
๖. หลวงพ่อสิน ภัททาจาโร อายุ ๙๐ ปี วัดละหารใหญ่ อำาเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง
๗. หลวงพ่ออ่อง ถาวโร อายุ ๘๐ ปี วัดเขาวงกต อำาเภอแก่งหางแมว จังหวัดจันทบุรี
๘. ท่านก๋งเตื่อง เตชปัญโญ (พระเกจิ ๒ แผ่นดิน ไทย – กัมพูชา) อายุ ๙๔ ปี วัดคลองจาก อำาเภอคลองใหญ่

จังหวัดตราด
๙. หลวงพ่อสุพจน์ ฐิตัพพโล อายุ ๗๓ ปี วัดห้วงพัฒนา อำาเภอเขาสมิง จังหวัดตราด














194

หลวงพ่อหวล วัดพุทไธศวรรย์ หลวงพ่อทวีศักดิ์ (หลวงพ่อเสือดำา) หลวงปู่แขก วัดสุนทรประดิษฐ์





















หลวงพ่อฟู วัดบางสมัคร หลวงปู่ฮก วัดราษฎร์เรืองสุข หลวงพ่อสิน วัดละหารใหญ่
















หลวงพ่ออ่อง วัดเขาวงกต ท่านก๋งเตื่อง วัดคลองจาก หลวงพ่อสุพจน์ วัดห้วงพัฒนา



ขั้นตอนที่ ๒ พิธีมังคลาภิเษก ณ ท้องพระโรง พระราชวังเดิม (พระราชวังสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือ
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช) วันอาทิตย์ ที่ ๒๖ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๑ โดยพระเกจิอาจารย์จากวัดและจังหวัด

ที่เกี่ยวพันกับสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

พระเกจิอาจารย์จากวัดและจังหวัดที่เกี่ยวพันกับสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช


๑. พระครูส่งเสริม สาโม วัดเชิงท่า จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๒. พระครูวิบูลย์อาจารย์พิพัฒน์ วัดสามวิหาร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๓. พระครูใบฎีกาสมเดช กตปุญโญ วัดพิชัยสงคราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๔. พระเทพเมธี (หลวงพ่อสมเกียรติ โกวิโท) วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร กรุงเทพมหานคร (ธนบุรี)

195

๕. พระเทพปริยัติมุนี (หลวงพ่อมีชัย วีรปัญโญ) วัดหงส์รัตนาราม กรุงเทพมหานคร (ธนบุรี)

๖. พระเทพปริยัติโมลี วัดโมลีโลกยาราม กรุงเทพมหานคร (ธนบุรี)
๗. พระราชประสิทธิ์วิมล (หลวงพ่อประจวบ) วัดระฆังโฆสิตาราม กรุงเทพมหานคร (ธนบุรี)
๘. พระครูสุวิมลธรรมโสภิต วัดอินทาราม กรุงเทพมหานคร (ธนบุรี)
๙. พระครูใบฎีกาบรรจบ นาควโร วัดหญ้า จังหวัดนครศรีธรรมราช


จังหวัดที่ทรงตีฝ่าวงล้อมพม่าออกไปสร้างกองทัพกู้ชาติ
๑๐. พระครูสิทธิพิมล (หลวงพ่อจักษ์ จตุตมโล) วัดชุ้ง จังหวัดสระบุรี

๑๑. พระครูธรรมสุตาภรณ์ (หลวงพ่อบุญมี คุณสาโร) วัดธรรมาราม จังหวัดนครนายก

๑๒. พระครูสุนทรบุญญาภิวัฒน์ (หลวงพ่อรอด ปุณณโก) สถานปฏิบัติธรรมสวนป่าท่งเศรษฐี จังหวัดปราจีนบุร ี
๑๓. พระครูโสภิตมงคลการ (หลวงปู่ขันธ์) วัดมงคลโสภิต จังหวัดฉะเชิงเทรา

๑๔. พระอาจารย์ขวัญชัย วัดนามะตูม จังหวัดชลบุรี
๑๕. พระโบราณพิทักษ์ วัดลุ่มมหาชัยชุมพล จังหวัดระยอง
๑๖. หลวงพ่อมนัส มนุตชาโต สำานักกรรมฐานฟื้นฟูจิตเขาแหลม จังหวัดจันทบุรี


จังหวัดที่ยกทัพเรือไปกู้ชาติ จากจันทบุรี – อยุธยา
๑๗. ท่านเจ้าคุณพระราชเสนาบดี (จรัล สิริธัมโม) วัดบางพลีใหญ่ใน จังหวัดสมุทรปราการ
๑๘. พระนันทวิริยาภรณ์ (หลวงพ่ออ่าง สิริจันโท) วัดใหญ่สว่างอารมณ์ จังหวัดนนทบุรี
๑๙. พระครูปทุมวรกิจ (หลวงพ่อชำานาญ) วัดชินวราราม จังหวัดปทุมธานี

๒๐. หลวงพ่อเอื้อน วัดวังแดงใต้ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

จังหวัดที่ทรงไปรบเพื่อรวบรวมอาณาจักร (ปราบก๊กต่าง ๆ)

๒๑. พระภาวนาประชานาถ (หลวงพ่อนุช) วัดบ้านไร่ จังหวัดนครราชสีมา
๒๒. พระครูปลัดเกษม เขมจิตโต วัดชะเมา จังหวัดนครศรีธรรมราช
๒๓. พระอาจารย์ฉลาด ตันติโต วัดชะเมา จังหวัดนครศรีธรรมราช

๒๔. พระรัตนโมลี (พระอาจารย์ไพรินทร์) วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรวิหาร จังหวัดพิษณุโลก
๒๕. พระปัญญากรโมลี วัดท่าไม้เหนือ จังหวัดอุตรดิตถ์

จังหวัดที่ทรงไปรบเพื่อป้องกันประเทศและขยายราชอาณาจักร

๒๖. พระภาวนาวิสุทธิโสภณ (พระมหาสุรศักดิ์ อติสิกโข) วัดประดู่ จังหวัดสมุทรสงคราม
๒๗. พระครูภาวนาอินทวงศ์ (ดร.เฉลียว อินทวังโส) วัดหนองบัวหิ่ง จังหวัดราชบุรี
๒๘. พระครูสิริวชิรธรรม (พระมหาสมยศ ฐิติโก) วัดในกลาง จังหวัดเพชรบุรี
๒๙. พระครูนิวิฐมณีวงศ์ (หลวงพ่อสะอาด) วัดเขาแก้ว จังหวัดนครสวรรค์

๓๐. พระครูวิมลปุญญาภรณ์ (หลวงพ่อพิมพ์) วัดพฤกษะวัน จังหวัดพิจิตร
๓๑. พระราชวชิรเมธี วัดพระบรมธาตุ จังหวัดกำาแพงเพชร

๓๒. พระสุขวโรทัย (หลวงพ่อจง) วัดสังฆาราม จังหวัดสุโขทัย
๓๓. พระเทพสิทธาคม (ครูบาสายทอง) วัดท่าไม้แดง จังหวัดตาก
๓๔. ครูบาคเชนท์ อภิปุญโญ สำานักสงฆ์ดอยเป็ก จังหวัดตาก
๓๕. พระเทพรัตนนายก วัดพระธาตุหริภุญชัย จังหวัดลำาพูน

๓๖. พระครูบัณฑิตธรรมมาภรณ์ (พระครูบาขาว) วัดสัฏฐิวัน จังหวัดเชียงใหม่
196

พิธีบำาเพ็ญกุศลอุทิศถวายเป็นพระราชกุศล แด่ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ก่อนพิธีมังคลาภิเษกเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

วันอาทิตย์ที่ ๒๖ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๑ ณ ท้องพระโรง พระราชวังเดิม









































พลเรือเอก วสินธ์ สาริกะภูติ ประธานกรรมการมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เป็นประธานพิธี

บาเพ็ญกุศลอุทิศถวายเป็นพระราชกุศล แด่ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ก่อนพิธีมังคลาภิเษกเหรียญ
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช































197

พิธีบำาเพ็ญกุศลอุทิศถวายเป็นพระราชกุศล แด่
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ ณ ศาลาประชาอุทิศ วัดอินทาราม
ถนนเทอดไทย แขวงบางยี่เรือ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร
ที่ตั้งสำานักงานมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช


























































คุณหญิงจวบ จิรโรจน์ อดีตประธานมูลนิธิฯ ถวายภัตตาหารแด่พระสงฆ์



























198


Click to View FlipBook Version