The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

๒๕๐ ปี ตามรอยกองเรือยกพลขึ้นบกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจากจันทบุรีสู่อยุธยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นาวิกศาสตร์, 2022-06-23 04:40:42

๒๕๐ ปี ตามรอยกองเรือยกพลขึ้นบกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจากจันทบุรีสู่อยุธยา

๒๕๐ ปี ตามรอยกองเรือยกพลขึ้นบกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจากจันทบุรีสู่อยุธยา

พระธรรมปาโมกข์ เจ้าอาวาสวัดราชผาติการาม พลเรือเอก วสินธ์ สาริกะภูติ ประธานมูลนิธิสมเด็จ






พระเจาตากสนมหาราช พลเรอโท นพพร วฒรณฤทธ กรรมการมูลนิธิฯ พันจ่าอากาศเอก สุรศาสตร์ วิเศษลา

ในพิธีบวงสรวงเเละบาเพ็ญพระราชกุศลถวายสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ณ พระบรมราชานุสาวรีย ์

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช หอจดหมายเหตุโรงทานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช วัดบางเดื่อ อ.บางปะหัน
จ.พระนครศรีอยุธยา
99

กิจกรรมตามโครงการ ๒๕๐ ปี ตามรอยกองเรือยกพลขึ้นบก

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จากจันทบุรีสู่อยุธยา

ในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วันที่ ๖ - ๗ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๑
ณ บริเวณค่ายโพธิ์สามต้น อำาเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา











































































100

ขบวนนักแสดงทัพของพระเจ้าตาก ไพร่พล ช้าง ม้า เคลื่อนกำาลังเข้าไปยังค่ายโพธิ์สามต้น


101

102

นายอาคเณย์ วัชรีวงศ์ ณ อยุธยา
ผู้ประพันธ์เพลงเเม่ทัพเรือกู้ชาติ

ในวาระครบ ๒๕๐ ปี ที่ทรงกอบกู้ชาติ
เเละสร้างชาติให้ปวงชนชาวไทย


103

กิจกรรมตามโครงการ ๒๕๐ ปี ตามรอยกองเรือยกพลขึ้นบก

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จากจันทบุรีสู่อยุธยา

ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๑
ณ บริเวณพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

วงเวียนใหญ่ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร




































































104



นายทวีศักด์ เลิศประพันธ์ รองผ้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นประธานในพิธ ี
อัญเชิญพระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ประดิษฐาน ณ พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จ
พระเจ้าตากสินมหาราช วงเวียนใหญ่ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร


































105

นายทวีศักดิ์ เลิศประพันธ์ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ผู้อำานวยการเขตฝั่งธนบุรี และข้าราชการกรุงเทพมหานคร




































พลเรอเอก วสนธ สารกะภต ประธานมลนธสมเดจ พลเรอเอก วสนธ สารกะภต ประธานมลนธสมเดจ





พระเจ้าตากสินมหาราช มอบธงมหาเดช แก่ นายทวีศักดิ์ พระเจ้าตากสินมหาราช พลเรือโท เดชดล ภ่สาระ


เลิศประพันธ์ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เจ้ากรมกิจการพลเรือนทหารเรือ ถวายสักการะ
พระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
106

107

กิจกรรมตามโครงการ ๒๕๐ ปี ตามรอยกองเรือยกพลขึ้นบก

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จากจันทบุรีสู่อยุธยา
ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร วันที่ ๑๐ - ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๑

ณ บริเวณพระราชวังเดิม กรุงเทพมหานคร














































พลเรือเอก ลือชัย รุดดิษฐ์ ผ้บัญชาการทหารเรือ เป็นประธานในพิธีอัญเชิญพระบรมรูป


สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ข้นประดิษฐาน ณ พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
กองบัญชาการกองทัพเรือ พระราชวังเดิม (พระราชวังกรุงธนบุรี) กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน
พ.ศ.๒๕๖๑













108

109

งานแสดงแสง สี เสียง สื่อผสม
“๒๕๐ ปี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช สมุททานุภาพกู้ชาติ”

วันที่ ๑๐ - ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๑

ณ บริเวณพระราชวังเดิม กรุงเทพมหานคร































































110

พลเรือเอก ลือชัย รุดดิษฐ์ ผู้บัญชาการทหารเรือ ให้การต้อนรับ
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี พร้อมภริยา


111

พลเรือเอก ลือชัย รุดดิษฐ์ ผู้บัญชาการทหารเรือ และ พลตำารวจเอก อัศวิน ขวัญเมือง

ให้การต้อนรับ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี พร้อมภริยา






































ดร.วิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี และประธานกรรมการอำานวยการจัดงานรำาลึก ๒๕๐ ปี
แห่งการสถาปนากรุงธนบุรี พลตำารวจเอก อัศวิน ขวัญเมือง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และภริยา

112

พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ผู้บัญชาการกองทัพไทย ผู้บัญชาการเหล่าทัพ
ผู้บัญชาการสำานักงานตำารวจแห่งชาติ และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

113

พลเรือเอก ลือชัย รุดดิษฐ์ ผู้บัญชาการทหารเรือ พลตำารวจเอก อัศวิน ขวัญเมือง

กล่าวรายงานการแสดงแสง สี เสียง สื่อผสม “๒๕๐ ปี ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช สมุททานุภาพกู้ชาติ” กล่าวรายงานที่มาของงาน

114

นายยืนยง โอภากุล กล่าวบทบรรยายการแสดง
แสง สี เสียง ๒๕๐ ปี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

สมุททานุภาพกู้ชาติ































115

116

การแสดงฉายแสงเลเซอร์เป็นพระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

117

พลเรือเอก ประพฤติพร อักษรมัต รองประธานมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พลเรือเอก ลือชัย รุดดิษฐ์ฺ
ผู้บัญชาการทหารเรือ พลเรือเอก โสภณ วัฒนมงคล รองผู้บัญชาการทหารเรือ พลเรือเอก สุกิตติ เสงี่ยมพงษ์
ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารเรือ พลเรือเอก พูลศักดิ์ อุบลเทพชัย ประธานคณะที่ปรึกษากองทัพเรือ พลเรือเอก
ชาติชาย ศรีวรขาน เสนาธิการทหารเรือ





















พลเรือเอก สมชาย ณ บางช้าง
นางฉันทลักษณ์ ณ บางช้าง


















นาวาตรี วรวิทย์ เตชะสุภากูร
นางสุภสิริ เตชะสุภากูร

118

พลเรือเอก วสินธ์ สาริกะภูติ ประธานมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

นายสมเจตน์ วุฒิเลิศเจริญวงศ์ ประธานชมรมนักธุรกิจโชคดี เเละกรรมการชมรมฯ




























นายชาญศักด์ วาจาสิทธิศิลป์ ดร.เลิศสุวัฒน์ จีระประกอบชัย นางอารีย์วรรณ จีระประกอบชัย
นางพิณทิพย์ วุฒิเลิศเจริญวงศ์ นายสมเจตน์ วุฒิเลิศเจริญวงศ์ พลเรือเอก นพดล สุภากร ประธานกรรมการ
จัดโครงการ ๒๕๐ ปี ตามรอยกองเรือยกพลขึ้นบก สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จากจันทบุรีสู่อยุธยา นางวิภา
สกุลเอี่ยมไพบูลย์ นายประเสริฐ สกุลเอี่ยมไพบูลย์ นายสุชาติ อำานาจวิภาวี นายชอง ทอง ชิ นางอำาไพ ชิ


119

นายทวีป ชินะกานนท์ นายสมาน ร่มลำาดวน นายสุชาติ อำานาจวิภาวี พลเรือเอก ประพฤติพร อักษรมัต

รองประธานมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช นายสมเจตน์ วุฒิเลิศเจริญวงศ์ นายชาญศักดิ์ วาจาสิทธิศิลป์
นายชอง ทอง ชิ นายวีระ ตั้งกิจจำาเริญ นายประเสริฐ สกุลเอี่ยมไพบูลย์

120

พลเรือเอก ประพฤติพร อักษรมัต รองประธานมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

นายสมเจตน์ วุฒิเลิศเจริญวงค์ ประธานชมรมนักธุรกิจโชคดี และกรรมการชมรมฯ



121


พลอากาศเอก นิพัทธ์ วุฒิรณฤทธ์ นางพรทิพย์ เเสงอ่อน พลเรือเอก วสินธ์ สาริกะภูติ ประธานมูลนิธิสมเด็จ

กรรมการมูลนิธิฯ นางอรนลิน สีวะรา กรรมการมูลนิธิฯ พระเจ้าตากสินมหาราช นางสิรินดา จูภาวัง เลขานุการ
นางสิรินดา จูภาวัง เลขานุการมูลนิธิฯ นายอิสินธร มูลนิธิฯ และกรรมการมูลนิธิฯ
สอนไว ที่ปรึกษามูลนิธิฯ


122


นางสิรินดา จูภาวัง เลขานุการมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พลเรือโท เดชดล ภ่สาระ

เจ้ากรมกิจการพลเรือนทหารเรือ นางกอบกุล ใจเท่ยง นางอรนลิน สีวะรา กรรมการมูลนิธิฯ นายอิสินธร
สอนไว ที่ปรึกษามูลนิธิฯ





















พลเรือเอก ประพฤติพร อักษรมัต รองประธานมูลนิธิ พลเรือเอก ประพฤติพร อักษรมัต

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช นางพิณทิพย์ วุฒิเลิศเจริญวงศ์ นายพรพฤติกร อักษรมัต
นายสมเจตน์ วุฒิเลิศเจริญวงค์ ประธานชมรมนักธุรกิจโชคดี






















พลอากาศเอก นิพัทธ์ วุฒิรณฤทธิ์ พลเรือเอก ประพฤติพร
อักษรมัต พลเรือตรี ชาติชาย ทองสะอาด นางวัชรีวรรณ ทองสะอาด

123

พลเรือเอก นพดล สุภากร ประธานกรรมการจัดโครงการ ๒๕๐ ปี ตามรอยกองเรือยกพลข้นบก

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จากจันทบุรีสู่อยุธยา พลเรือเอก ประพฤติพร อักษรมัต รองประธานมูลนิธิ

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และคณะ เข้าเรียนพบ ดร.วิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี และประธาน



กรรมการอานวยการจัดงานราลึก ๒๕๐ ปี แห่งการสถาปนากรุงธนบุรี เพ่อนาเรียนรายละเอียดโครงการฯ

เมื่อกันยายน ๒๕๖๑
124

พลเรือเอก ประพฤติพร อักษรมัต รองประธานมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช นางสิรินดา จูภาวัง
เลขานุการมูลนิธิฯ พร้อมด้วย พลเรือตรี ชาติชาย ทองสะอาด และคณะ เข้าเรียนพบ นายประยูร รัตนเสนีย์



รองปลัดกระทรวงมหาดไทย ผ้แทนปลัดกระทรวงมหาดไทย ในเร่องการขอความร่วมมือกับจังหวัดต่าง ๆ

ให้การสนับสนุนโครงการ ๒๕๐ ปี ตามรอยกองเรือยกพลข้นบกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จากจันทบุร ี
สู่อยุธยา


125

พลเรือโท ยงยุทธ พร้อมพรหมราช รองเสนาธิการทหารเรือ และคณะ เข้าหารือกับ นายทวีศักด์ ิ
เลิศประพันธ์ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ณ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร

























































126

พลเรือเอก วสินธ์ สาริกะภูติ ประธานมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และคณะ เข้าหารือกับ

พลตำารวจเอก อัศวิน ขวัญเมือง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร































127

128








พลเรอเอก ประพฤติพร อกษรมต รองประธานมลนิธสมเดจพระเจาตากสนมหาราช พรอมดวย




พลเรือตรี วโรดม สุวารี ผ้อานวยสานักปฏิบัติการจิตวิทยา กรมกิจการพลเรือนทหารเรือ เข้าพบ



ดร.พชน โพธารามิก กรรมการบอร์ด MONO GROUP เพ่อหารอการจัดทาสารคดี ๒๕๐ ปี ตามรอย




กองเรือยกพลขึ้นบกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จากจันทบุรีสู่อยุธยา




















ดร.วิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการอำานวยการจัดงานรำาลึก ๒๕๐ ปี แห่งการ
สถาปนากรุงธนบุรี ให้สัมภาษณ์รายการทันข่าวเช้า MONO 29

129

ดร.วิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการอำานวยการจัดงานรำาลึก ๒๕๐ ปี แห่งการ

สถาปนากรุงธนบุรี ให้สัมภาษณ์ TNN 24






































พลเรือเอก วสินธ์ สาริกะภูติ ประธานมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ให้สัมภาษณ์ TNN 24




130


กองทัพเรือจัดงานแถลงข่าว “๒๕๐ ปี ตามรอยกองเรือยกพลข้นบกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
จากจันทบุรีสู่อยุธยา” ณ อาคารราชนาวิกสภา เมื่อวันที่ ๑๖ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๑


















































พลเรือโท เดชดล ภ่สาระ เจ้ากรมกิจการพลเรือนทหารเรือ พร้อมด้วย นายอภิศักด์ ธนเศรษฐกร
Top Executive-TNN News Agency และที่ปรึกษาประธานกรรมการบริหาร บริษัท ทรู วิชั่นส์ กรุ๊ป จำากัด









เขาถวายสกการะพระบรมราชานสาวรยสมเดจพระเจาตากสนมหาราช ณ กองบญชาการกองทพเรอ พระราชวงเดม




เพื่อขอพระบรมราชานุญาตจัดทำาสารคดี ๒๕๐ ปี ตามรอยกองเรือยกพลขึ้นบก สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
จากจันทบุรีสู่อยุธยา
131

132




เจ้าอาวาสวัดลุ่มมหาชัยชุมพล จังหวัดระยอง พลเรือตรี บารุงรัก สรัคคานนท์ รองผ้บัญชาการ
ให้สัมภาษณ์ MONO 29 หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน ให้สัมภาษณ์ MONO 29






















































นายคณิต คุณาวุฒิ ท่ปรึกษาฝ่ายผลิตรายการ บริษัททรูวิช่นส์ จากัดมหาชน พร้อมด้วยเจ้าหน้าท ่ ี

และ นายพีรวัศ กี่ศิริ ได้ให้คำาแนะนำาแก่ นางสิรินดา จูภาวัง เลขานุการมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เกี่ยวกับการจัดงาน๒๕๐ ปี ตามรอยกองเรือยกพลขึ้นบกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จากจันทบุรีสู่อยุธยา

133

มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เชิญสมาคม ชมรมต่าง ๆ ร่วมหารือการจัดงานโครงการ ๒๕๐ ปี

ตามรอยกองเรือยกพลขึ้นบกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จากจันทบุรีสู่อยุธยา ที่สีลมวิลเลจ ถนนสีลม


134

135

136

137

138


ดร.วิษณุ เครืองาม ทำาหน้าท่พิธีกรสัมภาษณ์ พลโท วันชัย เรืองตระกูล รองเสนาธิการทหารบก
พลเรือโท ศิริ ศิริรังสี รองเสนาธิการทหารเรือ อาจารย์ทองต่อ กล้วยไม้ ณ อยุธยา ในรายการเทิดพระเกียรติ


สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เม่อวันท่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๒๘ ทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง ๗

ในหัวข้อเรื่อง แผนงานกู้ชาติของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

139

แผนงานกู้ชาติของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช


ในรายการเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เมื่อวันที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๒๘ ทางสถานีโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง ๗

จัดโดย มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
พิธีกร ดร.วิษณุ เครืองาม
ผู้ร่วมรายงาน พลโท วันชัย เรืองตระกูล รองเสนาธิการทหารบก

พลเรือโท ศิริ ศิริรังสี รองเสนาธิการทหารเรือ
อาจารย์ทองต่อ กล้วยไม้ ณ อยุธยา


















พิธีกร : ทานอาจารย์ทองต่อครบ กอนอนอยากเรยนใหทราบว่า มความข้องใจกนอยมากในหมประชาชน



นักเรียน นักศึกษา ไม่น้อยทเดียว คอ การออกพระนามสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช ดงท่เป็นช่อของมูลนิธิน ้ ี



น้นควรเรียกกันอย่างไรจึงจะถูกต้อง เพราะบางกระแสก็เรียกสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีบ้าง บางคนก็เรียกสมเด็จ

พระเจ้าตากสินกรุงธนบุรี บางคนก็เรียกเป็นอย่างอื่นไปเลย ขอความรู้จากท่านอาจารย์ในเรื่องนี้เป็นเรื่องแรกก่อน

อาจารย์ทองต่อ : ขอบพระคุณครับ วันน้กระผมภูมิใจเหลือเกินท่ได้มีโอกาสมาพูดถึงพระราชกรณียกิจ

ของพระมหาราชเจ้าของไทย ในแผ่นดินไทยนั้นพระบรมราชานุสาวรีย์ของกษัตริย์ที่มีมากมายหลายสิบจังหวัด
ผมว่ามีแค่ ๓ พระองค์เท่านั้นเอง คือ องค์แรกได้แก่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่หน้าศาลากลาง



จงหวดตางๆ เกอบทวประเทศมหมด องคทสองคือ สมเดจพระนเรศวรมหาราช กมอยมากมายหลายองค ์















ประดิษฐานอย่หลายภาคของประเทศ องค์ท่สามคือ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุร ซ่งมีพระบรมราชานุสาวรีย ์




อย่มากมายแต่ในประเด็นท่ถามมาก็ยากจะยืนยันว่าอย่างไรผิด อย่างไรถูก คือเป็นเร่องท่แล้วแต่ความนิยม

ถ้าจะว่าในทางเอกสารจริงๆ ตามพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขาท่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า

เจ้าอยู่หัวทรงชำาระ ก็ขานพระนามว่า สมเด็จพระบรมราชาที่ ๔ อันนี้เป็นชื่อแบบเป็นทางราชการจริงๆ และ
เอกสารร่นเก่าๆ ก็เรียกว่า สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีบ้าง สมเด็จพระเจ้าตากสินบ้าง แต่หลังสุดน้อาจจะ





ถือเป็นหลักฐานทางราชการก็ได เพราะได้จารึกไว้ท่ฐานพระบรมราชานุสาวรีย์ท่วงเวียนใหญ ได้ขานพระนามว่า

สมเด็จพระเจ้าตากสินธนบุรีมหาราช คือเรียกคลุมหมดเลย แต่อย่างไรก็ตามไม่ว่าจะเป็นพระนามใด
ถ้าพระองค์ท่านยังมีพระชนม์ชีพอยู่ ถ้าไปกราบบังคมทูลถึงพระนามท่านไม่รู้จักทั้งนั้น เป็นเรื่องของคนรุ่นหลัง
ถวายพระนามให้ เพราะโบราณนั้นในหลวงก็เรียกในหลวง ไม่มีชื่อเฉพาะ


พิธีกร : ขอบคุณมากครับ ท่ถามอย่างนี้เพ่อให้เป็นหลักไว้เพ่อต่อไปใครออกพระนามใดจะได้เข้าใจว่าถูกท้งหมด


มีที่น่าสงสัยต่อไปคือในวันที่ ๒๘ ธันวาคม ซึ่งเราเรียกว่า “วันตากสินมหาราช” หรือ “วันสมเด็จพระเจ้า
กรุงธนบุรี” มีความสำาคัญอย่างไรในทางประวัติศาสตร์หรือแสดงอะไรในส่วนที่เกี่ยวกับพระองค์ท่านบ้าง
อาจารย์ทองต่อ : อันนี้เคยสอบถามกระทั่งเด็กนักเรียนในมหาวิทยาลัยว่า วันที่ ๒๘ ธันวาคม เป็นวันอะไร

๑.วันเถลิงราชสมบัติ ๒.วันพระบรมราชสมภพ ๓.วันสวรรคต ร้สึกว่าตอบไม่ค่อยจะถูกเป็นส่วนใหญ่ ความจริง
วันที่ ๒๘ ธันวาคม เป็นวันคล้ายวันทำาพิธีพระบรมราชาภิเษก ซึ่งหลักฐานนี้ต้องโยนไปให้กองวรรณคดีและ




ประวัติศาสตร์กรมศิลปกรเป็นผ้รับผิดชอบ ซ่งท่านได้ตรวจสอบปูมโหรยืนยันว่าอย่างน้ บางท่านซ่งเป็นนักคานวณ

เหมือนกันบอกวันที่ ๒๙ บางท่านบอกวันที่ ๒๘ แต่ผมขอถือฉบับกรมศิลปากรเป็นหลักว่า วันที่ ๒๘ ธันวาคม
เป็นวันคล้ายวันพระบรมราชาภิเษก ถือว่ายุติอย่างนั้น
140

พิธีกร : เราก็เข้าสู่ประเด็นของรายการ เพราะคงจะไม่มีเวลาพูดถึงพระราชประวัติตั้งแต่ทรงพระเยาว์ จะขอ
จับจุดใหญ่ที่ส่งให้พระองค์ท่านเป็นวีระบุรุษของชาติ คือการกอบกู้อิสรภาพหรือกู้ชาติ ก่อนจะถึงจุดนั้น ก็ต้อง

เริ่มต้นถึงกรุงศรีอยุธยาซึ่งเป็นราชธานีของไทย เมื่อ ๒๐๐ ปีเศษมาแล้ว ขอเรียนถามท่านอาจารย์เพื่อเป็นการ





















ปพนตอนนวา สภาพกรงศรอยธยาในเวลานนประมาณปี ๒๓๑๐ มเหตการณ์อยางไรกอนทจะนาไปสวกฤตการณ ์
ครั้งใหญ่ของชาติคือกรุงแตก ครั้งที่ ๒
อาจารย์ทองต่อ : กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีของไทยถึง ๔๑๗ ปี และเป็นเมืองที่อุดมสมบูรณ์เหลือเกิน



เป็นเมืองท่าท่สาคัญ มีความเจริญม่งค่ง ถึงขนาดเอาทองคา, เงิน มาทาเป็นพานให้ช้างหลวงกินหญ้า




พระพุทธรูปองค์ใหญ่ๆ โตๆ ก็เอามาหุ้มทองคำาทั้งองค์ เช่น พระศรีสรรเพชร ซึ่งสูงถึง ๘ ศอก ก็นำามาหม



ทองคาท้งองค สาเหตุท่ต้องเสียกรุงเพราะผลัดแผ่นดิน เปล่ยนราชวงศ์กันบ่อยคร้งในระยะช่วงปลายของ





กรุงศรีอยุธยา ต้งแต่แผ่นดินของ สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเป็นต้นมา เม่อมีการผลัดแผ่นดินก็มีการ


เปล่ยนตัวข้าราชการด้วยวิธีการให้ออกไปพ้นราชการ กาจัดไปเสียบ้าง ตายไปเสียบ้าง ถึงขนาดอัตคัดมาก

ต้องเอาคนต่างชาติ เช่น แขก, จีน, ฝรั่ง มาเป็นขุนนางผู้ใหญ่ในตอนปลายกรุง เพราะฉะนั้นก็เป็นความ
อ่อนแอของกรุงเป็นอย่างยิ่ง คิดว่าสาเหตุใหญ่เพราะการเสียความสามัคคีของบุคคลระดับผู้นำาของบ้านเมือง


พิธีกร : อันน้อาจเป็นสาเหตุท่นาไปส่กรุงแตก และขอเรียนถามท่านรองเสนาธิการทหารบกและรองเสนาธิการ


ทหารเรือซึ่งมานั่งอยู่ที่นี่ ซึ่งท่านผู้ชมคงคิดว่ามาผิดงานหรืออย่างไรขอเรียนว่ามาไม่ผิดเพราะพระราชวีรกรรม













ของสมเดจพระมหาราชเจาพระองคน้น คอ พระราชวรกรรมในฐานะททรงเปนทหารทียงใหญของชาต ในฐานะ


ท่ท่านรองเสนาธิการทหารบกเป็นทหารบก ได้พิจารณาพระราชประวัติและพระราชกรณียกิจในสมเด็จพระเจ้า



ตากสินฯ มีความเห็นว่าทรงกระทาอะไรจึงได้มีการยกย่องเคารพเทิดทูนพระองค์ท่านว่าทรงเป็นทหารบกท่ย่งใหญ ่
พระองค์หนึ่งของชาติ



รองเสนาธิการทหารบก : ท่านผ้บัญชาการทหารบกได้มอบหมายให้กระผมมากราบเรียนเร่องท่เก่ยวข้องกับ

การยุทธทางบกท่พระองค์ท่านได้ใช้พระปรีชาสามารถจนกระทั่งกอบก้ประเทศชาติและขยายอาณานิคม


แผ่ไพศาลออกไปอย่างกว้างขวาง กระผมอยากกราบเรียนในช้นต้นก่อนนะครับว่าเรากาลังจะเจาะเข้าไปส่ใน





ประวัติศาสตร์เม่อ ๒๑๘ ปีมาแล้ว ซ่งการพูดถึงประวัติไทยรบพม่า พม่ารบไทย ก็คงมีการกระทบกันบ้าง ต้องเข้าใจ

ว่าส่งท่เกิดข้นเป็นส่งท่จารึกไว้ในประวัติศาสตร์ ซ่งประวัติศาสตร์น้นก็เป็นเคร่องตรวจสอบให้อนุชนร่นหลังมีความ








รักชาติ ถนอมชาติ ผูกพันกันระหว่างคนในชาติให้เกิดความสามัคคีกลมเกลียวกันในชาติ เพราะฉะน้นประวัติศาสตร ์

เราจะเป็นต้องนำามาสั่งสอน ศึกษา เพื่อช่วยให้เกิดความรักชาติ ดังที่กราบเรียนมาแล้ว ในปัจจุบันไทย - พม่า
มีความสัมพันธ์อันดี ทั้งในระดับรัฐบาลผู้นำา, ทางทหาร และประชากรทั้งสองประเทศ ปัจจุบันเรารักกันมีความ
สัมพันธ์กัน แต่กระผมอยากจะกราบเรียนถึงประวัติศาสตร์เมื่อ ๒๐๐ ถึง ๓๐๐ ปี ที่ผ่านมา ก่อนที่จะพูดถึง



พระราชกรณียกิจและพระปรีชาสามารถท่พระองค์ได้ก้บ้านเมืองน้น กระผมขออนุญาตอาจารย์ ท่านผ้ชมได้ติดตาม


ในเรื่องไทยรบพม่า พม่ารบไทย เสียนิดหน่อยว่า ในทางทหารเราได้ร่าเรียนในประวัติศาสตร์ว่าในช่วงเวลาถึง


๓๑๖ ปี ต้งแต่ปี ๒๐๘๑ ในรัชสมัยพระไชยราชาในสมัยกรุงศรีอยุธยา เราได้เร่มมีรบกับพม่าจนถึงสมัยรัชกาลท่ ๔

ในกรุงรัตนโกสินทร์ ปี ๒๓๙๗ เป็นเวลานานมาก ระหว่างชนสองชาติท่มีพรมแดนติดต่อกันถึง ๑๗๘๐ กิโลเมตร

ทางภาคพื้นดินและมีอาณาเขตติดต่อกันทางทะเลอีก เราต้องใช้กำาลังประหัตประหารกันมาถึง ๔๔ ครั้งใหญ่ๆ
ที่เราได้กรีธาทัพไปตีพม่า พม่ายกมาตีไทย ซึ่งประวัติศาสตร์ที่พวกเราได้เรียนและจารึกว่ามีการยุทธครั้งใหญ่ๆ


สมควรนามาร่าเรียนเพ่อเป็นบทเรียนในโรงเรียนเสนาธิการทหารบกและโรงเรียนเหล่าต่างๆ ของกองทัพบก

141

เราได้จารึกไว้ในประวัติศาสตร์ครั้งสำาคัญๆ ของการรบ ๔ หรือ ๕ ครั้ง แน่นอนที่สุดคือการบใหญ่ในปี ๒๑๑๒






เป็นการเสียกรุงคร้งแรก ซ่งเราจดจาประวัติศาสตร์ในตอนน้นได้อย่างแม่นยาท่สุดและหลังจากน้น ๑๕ ป ี

สมเด็จพระนเรศวรมหาราชได้กอบกู้อิสรภาพกลับคืนมาได้ และครั้งต่อมาเป็นครั้งที่ยิ่งใหญ่ที่สุดอีกครั้งหนึ่งที่


พวกเราคงจะระลึกถึงและจดจาภาพการรบวันน้นได้ในปี ๒๑๓๓ สงครามยุทธหัตถีระหว่างพระนเรศวรมหาราช



กับพระมหาอุปราชา โดยท่พม่าได้ยกทัพเข้ามาเพ่อจะตีกรุงศรีอยุธยาอีกคร้ง หลังจากสมเด็จพระนเรศวรฯ


ได้ครองราชย์แล้ว และได้กระทายุทธหัตถ จนกระท่งสมเด็จพระนเรศวรมหาราชได้สังหารพระมหาอุปราชา

ขาดบนคอช้าง และวีรกรรมอันนั้นยังจารึกจนทุกวันนี้ ในครั้งที่ ๓ เป็นครั้งที่เราบ้านแตกสาแหรกขาดจน

ประเทศชาติเกือบล่มจมในปี ๒๓๑๐ ซ่งเรากาลังจะพูดถึงท่สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ ได้ทรงกอบก้เอกราชของชาต ิ






ท่กระผมจะกราบเรียนในโอกาสต่อไป และในคร้งสุดท้ายท่พวกเรานักการทหารได้ศึกษาและได้นาเอาหลัก

การสงครามที่พระองค์ท่านได้ใช้ในสมรภูมิต่างๆ นำามาศึกษากัน ที่พวกเราจำากันได้ว่าศึก ๙ ทัพในปี ๒๓๒๘

รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ท้งหมดเป็นการยุทธระหว่างไทยรบพม่า พม่ารบไทย
เรานำามาสั่งสอนเป็นบทเรียนจากการรบและเอาหลักการสงครามต่างๆ มาถ่ายทอดสู่กันในโรงเรียนเสนาธิการ



ทหารบกและโรงเรียนเหล่าต่างๆ ของกองทัพบก กระผมจะนาส่ในแผนการก้ชาติตลอดจนพระปรีชาสามารถของ
สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ ที่เราจะพูดกันในวันเทิดพระเกียรติของพระองค์ท่านในวันนี้ จากที่อาจารย์ทองต่อ
ได้พูดถึงกรุงศรีอยุธยาและพูดถึงความเจริญไพบูลย์ มาสู่ความเสื่อมกระทั่งกรุงแตก จะเห็นว่าในประวัติศาสตร์







ได้จารึกไวว่าในวันกรุงแตกนน วันท่ ๗ เมษายน ๒๓๑๐ เป็นวันท่มแต่ความโศกสลด มีแต่ความเศร้า มแต่แสงเพลิง
มีแต่ความสูญเสีย ปราสาท ราชวัง อาคารต่างๆ วัดวาอาราม สูญสิ้นทั้งหมด และทัพพม่าที่เข้ามาครั้งนี้ผิดกับ
ทัพพม่าเมื่อปี ๒๑๑๒ ซี่งในปี ๒๑๑๒ เป็นทัพกษัตริย์ที่เข้ามาเพื่อแผ่อาณาเขต เมื่อตีกรุงศรีอยุธยาแตกครั้งที่ ๑
ก็กลับไปอย่างกษัตริย์และมิได้ทำาลายให้ล่มจมเหมือนปี ๒๓๑๐ นี้ ในประวัติศาสตร์ได้จารึกถึงการสูญเสีย
ประชากรอย่างยิ่งใหญ่ เพราะพม่าในครั้งนี้พระเจ้ากรุงอังวะได้ตีเรื่อยมาตลอดหัวเมืองเล็กหัวเมืองน้อย ได้เผา
ได้ทำาลาย พงศาวดารพม่าได้เขียนไว้ตอนหลังว่าคงจะเป็นที่เข้าใจในระหว่างพม่าว่าในปี ๒๑๑๒ หลังจาก
เสียกรุงศรีอยุธยาคร้งท่ ๑ และพม่าได้กลับไปอย่างกษัตริย์ และต่อจากน้นเพียง ๑๕ ปี สมเด็จพระนเรศวรมหาราช





ได้ทรงกอบก้เอกราชและนาไปส่สงครามยุทธหัตถีจนพม่าต้องสูญเสียคร้งใหญ่ ในคร้งน้พม่าได้ออกคาส่งอย่างแน่ชัดว่า













ใหทาลายใหหมดสนไปเลย ใหกรงศรอยุธยาปนปแหลกลาญไปใหหมด เพราะฉะนนการทสมเดจพระเจาตากสนฯ















ได้ทรงวางแผนก้ชาติซ่งเป็นท่น่าจะต้องศึกษาเป็นอย่างย่ง เพราะพระองค์ได้ทรงวางแผนต้งแต่กรุงศรีอยุธยา


ยังไม่แตก ๓ เดือนก่อนหน้ากรุงแตกนั้น ในวันที่ ๓ มกราคม ๒๓๐๙ พระองค์ท่านได้รวบรวมสมัครพรรคพวก
ทหารกล้าเพียง ๕๐๐ คน ตีฝ่าออกมาจากค่ายวัดพิชัยมุ่งหน้าไปทางตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อที่จะไปรวบรวม
ประชาชนที่จะนำามากู้ชาติบ้านเมือง เพราะพระองค์ได้วางแผนยุทธศาสตร์ของชาติไว้หมดว่าหมดโอกาสอย่าง




แน่นอนท่จะป้องกันกรุงศรีอยุธยา เพราะฉะน้นพระองค์จะต้องออกไปกอบก้เอกราช โดยท่ตีฝ่าออกไปและทาให ้

เกิดวีรกรรมครั้งที่ ๑ ของสมเด็จพระเจ้าตากสินฯ หลังจากพระองค์ตีฝ่าวงล้อมออกมาด้วยทัพพม่าและไพร่พล

เพียง ๕๐๐ ในวันร่งข้นพม่าได้ตามพระองค์ไปจนทันกันท่บ้านพรานนกเกือบถึงแถวๆ นครนายก เพราะพระองค ์


ม่งหน้าไปทางตะวันออกเฉียงใต้ของกรุงศรีอยุธยา ได้เกิดวีรกรรมคร้งใหญ่พระองค์ได้รบบนม้าและได้กาหนด



เอาวันที่ ๔ มกราคมของทุกปี เป็นวันทหารม้าของกองทัพไทยเรา หลังจากนั้นพระองค์ท่านได้เดินทัพไปสู่

ตะวันออกเฉียงใต้เพ่อไปวางแผนท่จะกอบก้ชาติและไปรวบรวมไพร่พลได้เรียบร้อยในเดือนมิถุนายนน้นเอง



พระองค์ได้ใช้แผนการดำาเนินกลยุทธและได้ใช้ความชาญฉลาดปรีชาสามารถเป็นอย่างยิ่ง ในทางทหารเราถือว่า
การรู้ข้าศึกนั้นเป็นสิ่งสำาคัญที่สุด เมื่อพระองค์ได้รวบรวมไพร่พลกับรวมพลขั้นสุดท้ายที่เมืองจันท์ ตีเมืองจันท์


ได้รวบรวมสมัครพรรคพวกได้ตอนน้นก็ตกในราวเดือนมิถุนา พระองค์ท่านร้ดินฟ้าอากาศว่าคล่นลมกาลังแรง


142












เหลอเกน เป็นหนามรสมถาจะเดนทพในตอนนั้นคงจะตดขดหลายประการ พระองคไดใช้หวงเวลาใหเกดประโยชน ์



ใน ๓ เดือนนั้น โดยฝึกปรือไพร่พล เตรียมต่อเรือเตรียมทำาทุกอย่างที่จะเปิดฉากการรบในห้วงฤดูลมมรสุมสงบ
นี่คือสิ่งที่พระองค์หยั่งรู้ในเรื่องลมฟ้าอากาศ และประการสอง พระองค์หยั่งรู้ในเรืองภูมิประเทศ ถ้าใครรบและ













รภมประเทศกเป็นอนว่ามโอกาสชนะ พระองครวาพระองค์เดนทพมาทางบกแลวจะเปนอนตรายและตองเดน





ทางไกลเหลือเกิน และต้องรับข้าศึกมาเป็นระยะๆ พระองค์จึงตัดสินพระทัยเดินทัพทางเรือ ซึ่งทำาให้เกิดการ
ศึกษาเป็นบทเรียนที่ทั่วโลกกำาลังร่าเรียนกันในโรงเรียนเสนาธิการทหารบก ในเรื่องของการยุทธตามแนวลำาน้า


พระองค์ท่านรู้ภูมิประเทศว่าถ้าเราใช้การจู่โจม ได้ใช้การเดินทัพทางเรือ เมื่อขึ้นบกก็เอาทหารบกออกรบบนฝั่ง
และเข้าทำาลายล้างข้าศึก ประการที่สาม พระองค์รู้ข้าศึกที่เข้ามาล้อมกรุงเป็นทหารบก ขีดความสามารถการ



ส้รบทางน้าไม่มีและรวมท้งข้าศึกไม่ได้มีเรือแพนาวาอะไร พระองค์ก็ได้ใช้การต่อเรือใช้ไพร่พลท่ฝึกปรือไว ้

ใช้คนเมืองจันท์ คนฝั่งทะเลด้านตะวันออกที่มีความเข้มแข็ง บึกบึน พระองค์ได้ตัดสินพระทัยวางแผนการยุทธ
เผด็จศึก ใช้เดือนตุลาคมซ่งเป็นเดือนหมดหน้าลมมรสุม และในห้วงเวลาน้นมรสุมรอบกรุงศรีอยุธยาเจ่งนองด้วยนำ้า







พม่าท่อย่รายล้อมกรุงศรีอยุธยาวางกาลังเป็นจุดๆ ไม่สามารถกระจายกาลังออกไปไหนได้ ต้องอย่ท่ดอน พระองค ์


ใช้ประโยชน์จากรู้ลมฟ้าอากาศ รู้ภูมิประเทศ รู้ข้าศึก ใช้หลักการสงครามเดินทัพเส้นใน ถ้าพระองค์เดินทัพ




ทางบกจะต้องต่อส้กับข้าศึกเป็นระยะๆ พระองค์เดินทัพเส้นในใช้เส้นท่ใกล้ท่สุด จ่โจม ปกปิดรักษาความลับ


ใช้แผนการดาเนินกลยุทธอย่างแยบยลนากาลังทัพเข้าถึงธนบุร ตีค่ายนายทองอินทร์ท่เป็นคนไทยซ่งทรยศไป








เข้าพม่าวางกาลังรักษาช่องทางลาน้าเจ้าพระยาไว้ภายในวันเดียว แต่ท่น่าแปลกใจคือจากค่ายอันน้ตีเข้าไปถึง



ค่ายโพธ์สามต้นใช้เวลาคร่งวันเท่าน้นเป็นการกอบก้เอกราชได้ภายใน ๗ เดือน หลังจากสูญเสียเอกราช น่แหละ



เป็นพระปรีชาสามารถด้วยการเดินทัพเส้นใน ด้วยใช้หลักการสงคราม ใช้กลยุทธ ใช้ความเด็ดขาด ด้วยรู้ข้าศึก

ร้ภูมิประเทศ ร้ลมฟ้าอากาศ และได้ร้ว่ากาลังของพระองค์มีอะไรบ้าง ร้ไพร่พล ร้ขีดความสามารถ จนกอบก้เอกราช






ได้เป็นผลสำาเร็จ
พิธีกร : หลับตานึกภาพถ้าใครชำานาญภูมิประเทศของไทย คงจะมองเห็นภาพดังท่านรองเสนาธิการทหารบก
ได้กรุณาลำาดับให้ฟังว่า ตีฝ่ากรุงศรีอยุธยาไปทางไหน กลับทางไหน อยากกราบเรียนถามอีกนิดในฐานะที่เป็น
ทหารม้าอยู่ และเป็นครูอาจารย์ในโรงเรียนเสนาธิการทหารบก ปัจจุบันเป็นรองเสนาธิการทหารบก ที่ต้อง
เท้าความเพราะในคาถามของผมมีว่าในหลักวิชาการรบหมายถึงหลักวิชาปัจจุบัน เม่อเอาหลักวิชาปัจจุบันไป


ปรับกับการยุทธของพระองค์เมื่อ ๒๐๐ ปีมาแล้ว การยุทธของพระองค์ การวางแผนก็ดี การรบจริงก็ดี ทันสมัย
หรือเข้ากับหลักวิชาสมัยนี้ขนาดไหน เพียงใด
รองเสนาธิการทหารบก : อยากกราบเรียนว่า ในทางทหารเรามีภารกิจหรือพันธะกิจทางทหารอยู่ ๕ ประการ
ประการที่ ๑.ด้านกำาลังพล ๒.ด้านการข่าว ๓.ด้านยุทธการ ๔.ด้านส่งกำาลัง ๕.ด้านกิจการพลเรือน




พระองค์ท่านได้รอบร้ภารกิจท้ง ๕ ประการ ซ่งเป็นงานหลักของกองทัพ ทางด้านกาลังพลพระองค์ได้ทรง















ตระเตรยมกาลงพล ดานการขาวรทงภมประเทศ รดนฟาอากาศ รกาลงขาศก ในดานยทธการไดนาเอาหลกการ











ดำาเนินกลยุทธทั้งหลายเข้ามาผสมผสาน ในด้านการส่งกำาลังได้ทรงตระเตรียมอะไรๆ ในด้านกิจการพลเรือน
ที่เป็นหลักทั่วๆ ไป แต่เวลาการที่จะเข้าทำาการรบในช่วงที่วางแผนการยุทธนั้น เราได้นำาเอาการรบของวีรบุรุษ
ของจอมทัพในสมัยเก่าๆ ถ้าเราดูในจอมทัพของโลก ท่ฝร่งมังค่าเขาออกทาการรบและนาเอาหลักวิชามาส่งสอนกัน





เราคงจาได้ว่าเราได้เรียนเร่องของการยุทธของฮัลนิบัล ของอเล็กซานเดอร์มหาราช เร่องการยุทธของเจงกิสข่าน



เรื่องการยุทธของนโปเลียน อย่างนี้เป็นต้น สำาหรับไทยเรา ผมได้เคยดำารงตำาแหน่งอาจารย์โรงเรียนเสนาธิการ
ทหารบกมาถึง ๖ ปี เราได้ศึกษาว่าในประวัติศาสตร์ชาติไทยได้มีจอมทัพจอมกษัตริย์ทีมีพระปรีชาสามารถ
143

ในการรบแต่ละครั้งแต่ละคราว ที่จะนำามาเป็นบทเรียนให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษา เพื่อที่จะนำาเอาไปเพื่อความรู้
มีประสบการณ์ทำางานเพื่อประเทศชาติเราได้หันไปศึกษาประวัติศาสตร์จากรุงศรีอยุธยา เราได้ศึกษาประวัติ



การรบของสมเด็จพระนเรศวร ฯ หลายคร้งหลายคราว การเดินทัพเส้นในท่สมเด็จพระนเรศวร ฯ ได้เข้าตีเมืองรุม




เมืองคัง ยังติดอย่ในความทรงจา ยังคงเป็นหลักการท่เราส่งสอนกันในโรงเรียนเสนาธิการทหารตลอด เม่อมาดูถึง



สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ ในหลักการสงครามท่พระองค์ได้นำามาใช้ในการก้ประเทศ ในการเข้าทาการรบอีก

๑๐ ครั้ง ในรัชสมัยของพระองค์กับพม่า ตลอดจนออกไปตียึดประเทศเพื่อนบ้านอีกหลายประเทศ ประการที่ ๑
ท่เราศึกษาในโรงเรียนเสนาธิการทหารบก ว่าท่านได้นาหลักการสงครามอันสาคัญท่สุด คือ หลักความม่งหมาย





ในประการต่อไปไม่ว่าจะทำาการรบ ไม่ว่าจะทำากิจกรรมอะไรในทุกโอกาส ความมุ่งหมายเป็นสิ่งสำาคัญที่สุด จะ







เป็นปัจจัยท่เก้อกูล เป็นปัจจัยท่มีความสาคัญต่อความสาเร็จในภารกิจท้งหมด เพราะฉะน้นจะเห็นว่าพระองค์ได ้







ดารงความม่งหมายว่าจะต้องตีฝ่าวงล้อมเพ่อกอบก้เอกราช และเม่อกอบก้ได้แล้วขณะน้นประเทศชาติกาลังแตก











เปนเสยงๆ หลายกกจะตองรวมชาติ รวมแผนดน พระองคเหนวาการจะรวมชาต รวมแผนดนนน จะตองตพมากอน













ถ้าพม่ายังรายล้อมกรุงศรีอยุธยา รายล้อมประเทศไทยแล้ว การท่จะยกไปตีก๊กน้น ก๊กน้ เพ่อรวมประเทศชาติคง
ไม่สำาเร็จ ครั้งพระองค์เดินไปสู่หลักความมุ่งหมายในประการที่หนึ่ง พระองค์ได้ใช้การออมกำาลังอย่างได้ผลดี
เหลือเกิน เพราะพระองค์มีกำาลังพลเพียง ๕๐๐ คน มีม้าศึกอยู่ไม่เท่าไหร่ กว่าจะรวบรวมพลได้จากจันทบุรี
เป็น ๕,๐๐๐ คน เรือร้อยกว่าลำา ทำาการยุทธจนตีพม่าแตกพ่ายไปหมด ต้องใช้หลักการออมกำาลังอย่างได้ผล
และการรวมกำาลัง ณ พื้นที่ที่ต้องการรบแตกหักอย่างดีที่สุด นอกจากนั้นพระองค์ยังได้ใช้หลักการจู่โจมในทุกครั้ง
ที่ทำาการรบ และใช้หลักการดำาเนินกลยุทธ ใช้พระปรีชาสามารถ ผสมผสานหลักการสงครามต่าง ๆ เหล่านี้



จนกระท่งนาไปส่ชัยชนะอย่างเด็ดขาดในทุกโอกาส ท่เรานาเอาบทเรียนของพระองค์มาศึกษาว่ากลยุทธแต่ละคร้ง



ของพระองค์ใช้หลักการสงครามใดได้ผลในเรื่องใดบ้าง พระองค์ทรงใช้ยุทธการ การเดินทัพเส้นใน ในยุทธการ
ใดบ้างนี่แหละที่เรานำามาสั่งสอนเป็นบทเรียนในโรงเรียนเสนาธิการทหารบก จนปัจจุบันนี้ ๒๐๐ ปีเศษแล้วยัง
ทันสมัยอยู่จนทุกวันนี้
พิธีกร : ฟังอย่างน้ก็เห็นภาพตามท่านไปว่าพระเจ้ากรุงธนบุรีเป็นนายทหารบกผ้ย่งใหญ แต่ท่น้ก็เป็นท่ทราบ








กันอย่ว่าในวงการทหารเรือก็ยกย่องพระองค์เป็นอย่างมากว่า พระองค์ทรงเป็นจอมยุทธทางเรือผ้ย่งใหญ่อีก





พระองค์หน่งเช่นกัน เม่อสักคร่ท่านรองเสนาธิการทหารบกได้พูดถึงการยุทธท่มีทางนำ้าเข้ามาเก่ยวด้วยน้น



ว่าอย่างไรครับ


รองเสนาธิการทหารบก : เราเรียกว่าการปฏิบัติการยุทธตามแนวลาน้า ก็เห็นจะเก่ยวข้องกับการทหารเรือ

อยู่บ้าง
พิธีกร : ขอเรียนถามท่านรองเสนาธิการทหารเรือว่า สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ ทรงประกอบพระราชกรณียกิจใด
วีรกรรมใด หรือทรงพระปรีชาสามารถอย่างไร ทางทหารเรือจึงยกย่องพระองค์เป็นอย่างมาก
รองเสนาธิการทหารเรือ : ท่านผ้ชมท่เคารพในนามของทหารเรือท้งหลายรวมท้งตัวกระผมร้สึกเป็นเกียรติและ





มีความปิติปลาบปลื้มอย่างยิ่ง ที่มีโอกาสมาแสดงทัศนะเทิดพระเกียรติที่เกี่ยวกับทางทหารเรือ ในวีรกรรมของ
วีรบุรุษพระองค์หนึ่งของปวงชนชาวไทย ที่ได้ทรงกอบกู้เอกราชของชาติ จนทำาให้ประชาชนชาวไทยมีความ
ผาสุกมาได้จนทุกวันนี้ ต่อคำาถามที่พิธีกรได้ถามมา ตามที่ท่านรองเสนาธิการทหารบกได้เรียนชี้แจงให้ทราบว่า
สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ เป็นทหารบก พระองค์ท่านมีภูมิหลังเป็นทหารบกตลอดมา เริ่มตั้งแต่รับราชการใน
กรุงศรีอยุธยาเรื่อยมาจนเป็นเจ้าเมืองตาก ตลอดเวลาพระองค์ไม่เคยรับราชการจังหวัดชายทะเลเลย ฉะนั้น
144

อาจกล่าวได้ว่าสมเด็จพระเจ้าตากสิน ฯ เป็นชาวดอนไม่ได้เป็นชาวเรือจึงเป็นที่น่าคิดว่าเหตุใดพระองค์จึงทรง

พระปรีชาสามารถนำาทัพไปในทะเลเป็นจำานวนมาก ซึ่งจะเรียนให้ทราบต่อไป


พิธีกร : ถ้าท่านจะกรุณาขยายความว่า มีเหตุการณ์อะไรที่แสดงให้เห็นถึงพระปรีชาสามารถในการรบทางน้า
แม้ว่าจะเป็นชาวดอนอย่างที่ว่า




รองเสนาธิการทหารเรือ : จุดอย่ท่ว่าพระองค์เป็นชาวดอน แต่พระองค์ทรงพระปรีชาสามารถเล็งเห็นความสำาคัญ





และจุดเด่นของคุณลักษณะของทหารเรือ ในการท่จะทาศึกในลักษณะท่ได้เปรียบ และได้นาเอาคุณลักษณะท่ได ้






เปรียบน้นมาทรงใช้ในการกอบก้เอกราชคร้งน้ ย่งกว่าน้นพระองค์ได้ปราบดาภิเษกข้นเป็นกษัตริย์แล้ว พระองค ์

ยังต้องทำาการรบอีกมากมายหลายครั้ง ในการรบดังกล่าวนั้นเพื่อรวบรวมคนไทยเข้าเป็นประเทศที่เป็นปึกแผ่น

และเพ่อท่จะขยายอาณาจักรไทยให้กว้างใหญ่ไพศาล พระองค์ต้องทาการรบไม่น้อยกว่า ๓๐ คร้ง และในจานวน




การรบที่พระองค์กระทำานี้มีอยู่ ๑๙ ครั้งที่เป็นการรบทางบก ส่วนอีก ๑๑ ครั้งเป็นการรบทางเรือ และในการ

รบทางเรือแต่ละครั้งนั้นไม่ใช่พระองค์จะทำาการรบแต่ในแม่น้า ท่านได้ทำาการรบในทะเลและได้นำากำาลังทัพเรือ
ต่อสู้กับข้าศึกทางทะเล จะเห็นได้จากเหตุการณ์ในปี พ.ศ.๒๓๑๔ พระองค์ได้กรีฑาทัพเรือซึ่งมีเรือรบ ๒๐๐ ลำา


เรือเดินทะเลจานวน ๑๐๐ ลา กาลังพลถึง ๑๕,๐๐๐ คน จากธนบุรีไปรบกับเขมร พระองค์ได้ไปตีเมืองกัมปงโสม



เมืองฮาเตียน (พุทไธมาศ) พุทไธเพชร จนถึงกรุงพนมเปญ และได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาดกลับมา ซ่งเป็นส่วนหน่ง
ที่แสดงให้เห็นว่าพระองค์ทรงพระปรีชาสามารถในการเป็นทหารเรือ





พิธีกร : สงสัยว่าท่ว่าพระองค์เป็นชาวดอน แต่ร้พลกาลังของพระองค์ท่เพ่มจาก ๕๐๐ เป็น ๕,๐๐๐, ๕๐,๐๐๐




ก็ดี ท่เพ่มจานวนข้นอาจจะเป็นชาวดอนด้วย และในการท่จะนาคนเป็นจานวนมากมาปฏิบัติการยุทธทางลาน้า








อย่างท่ท่านรองเสนาธิการทหารบกได้ว่ามา จะทาอย่างไรถึงจะสามารถควบคุม และบังคับบัญชาคนจานวนมาก
ให้ไปสู่ความมุ่งหมายเดียวกันได้ คือสามารถปฏิบัติการรบทางน้าได้ คงจะไม่มีเวลาฝึกหรือมีโรงเรียนเสนาธิการ

ในเวลานั้น










รองเสนาธิการทหารเรือ : นเปนเรองทนาสงสยอย่ อย่างไรก็ตามสาหรับหลักฐานน้นมีอย่อย่างชัดเจนในพงศาวดาร





และมีหลักฐานยืนยันท่แสดงให้เห็นว่าพระองค์มีพระปรีชาสามารถในกิจการทหารเรือ ท้งในด้านการเดินเรือและ
ด้านการยุทธวิธีรบ จะขอยกตัวอย่างที่มีไว้อย่างชัดเจนว่าพระปรีชาสามารถของพระองค์ในด้านการเดินเรือนั้น
จะเห็นได้จากพระองค์ท่านได้ออกหมายแจ้งทหารทั้งปวงในตอนที่พระองค์ยาตราทัพกับจากศึกเขมร
“ว่าให้นายทัพนายกองเรือกาชับว่ากล่าวให้เป็นหมวดเป็นกอง อย่าให้พลัดหมวดพลัดกอง มีราชการ

จะได้หากันได้สะดวก และในฤดูนี้เป็นเทศกาลลมว่าวพัดต้านข้างเรือ ลมตะวันออกพัดข้างเรือ ห้ามอย่า
ให้ออกไปไกลฝั่ง ถ้าจะข้ามปากอ่าวลมพัดข้างเรือนัก คลื่นใหญ่จะไปไม่ได้ ให้หยุดอยู่จนกว่าคลื่นลมจะ





สงบราบกอนจงไปใหไดอาวอาศยถาเหนวาลมเปลาโปรงดกใหไปทงกลางวนและเวลากลางคน อยาให ้















หยดนงอย่ท่ใดท่หนง และใหทัพนายกองกาชบว่ากลาวกนอยาใหเป็นเหตุการณ์อย่างหน่งอย่างใดได ข้อหนง

















ลูกเรือนั้นให้ดูโคมนายเรือเป็นสำาคัญ ให้ไปเป็นหมวดเป็นกองตามที่รับสั่ง”


น่แหละจากหมายรับส่งอันน้จะเห็นได้ชัดเจนว่าพระองค์มีความชัดเจนในเร่องของลมฟ้าอากาศ ลักษณะ


คลื่นลมของทะเลในฤดูกาลต่างๆ รู้เรื่องเกี่ยวกับการจัดการรักษารูปขบวนของเรือให้เป็นหมวดเป็นกอง เพื่อ






ใหเกดการรวมกาลงและสามารถทจะส่งการอะไรได้สะดวกและใช้ได้ทนทวงท นอกจากนนพระองคยังทรงม ี







พระปรีชาสามารถร้ในเร่องสัญญาณของเรือในเวลาค่าคืน ให้สังเกตโคมของนายหมวดนายกองเหล่าน้เป็นต้น อัน




145

นี้ก็เป็นในด้านของการเดินเรือ ส่วนในด้านยุทธวิธีนั้น พลเรือตรีแชน ปฏิสานนท์ อดีตเสนาธิการทหารผู้หนึ่งของ
กองทัพเรือ ได้ถอดความไว้ในหนังสือประวัติการณ์ของทหารเรือไทย มีความดังนี้ “พระองค์ทรงระบุจุดอ่อนใน





การใช้ปืนใหญ่ของฝ่ายญวน ท่ไม่สามารถหันปืนใหญ่มายิงเรือไทยได้สะดวก จึงกาหนดให้เข้าทาการรบ รวมกาลัง
กันเข้าตีเรือญวนเป็นหมู่ ๆ ในทิศที่ปืนใหญ่ญวนยิงไม่ถนัด ให้รีบแจวเรือเข้าไปในระยะกระชั้นชิดโดยไม่รั้งรอ ซึ่ง




คนแจวจะต้องแจวเรืออย่างเต็มกาลัง เช่นน้ก็เป็นทานองเดียวกันกับยุทธวิธีของฝร่งในสมัยยุคเรือกรรเชียงได ้
ทาการเข้าตีตามแบบขบวนเรียงข้าง หัวเรือม่งไปส่เรือข้าศึก และใช้อาวุธปืนใหญ่หน้าเรือหรือปืนใหญ่หัวเรือระดม





ยิงเรือข้าศึกโดยจะต้องหลบหนีทางปืนของข้าศึกด้วย เม่อถึงระยะกระช้นชิดแล้วพลรบก็ข้นตะลุมบอนกันบนเรือ

ข้าศึกด้วยความห้าวหาญ ก็จะได้ชัยชนะโดยง่าย” จากที่ได้กราบเรียนมาดังกล่าวแล้วนี้ก็น่าจะเป็นเรื่องพอที่จะ

ยืนยันได้ว่า พระองค์น้นมีพระปรีชาสามารถท้งในด้านการเดินเรือทางด้ายยุทธวิธีการรบ ก็น่าจะกล่าวได้ว่า

พระองค์เป็นจอมทัพเรือที่สามารถพระองค์หนึ่ง






พธีกร : เม่อสักคร่เราได้ความร้จาก พล.ท.วันชัย เรืองตระกูล ว่าตอนท่กรุงศรีอยุธยาจะแตกน้น พระเจ้ากรุงธนบุร ี
หรือพระเจ้าตากสินมหาราชได้นำาเอาทหารประมาณ ๕๐๐ คน ตีฝ่าออกไปจากกรุงศรีอยุธยาทางด้าน





ทิศตะวันออกละไปเร่อยจนในท่สุดถึงเมืองจันทบุรี น่นก็คงไปทางบกล้วนๆ แล้วเราก็ได้ความร้เวลาขาท่จะวกกลับ
เข้ามากู้อิสรภาพ มาตีกรุงธนบุรี ตีค่ายโพธิ์สามต้น ตีกรุงศรีอยุธยา กลับคืนมานั้น มาโดยใช้กำาลังทางเรือเป็น
ส่วนใหญ่ ตอนนี้ขออนุญาตเรียนถามท่านรองเสนาธิการทหารเรือว่า ท่านจะต้องใช้วิธีวิเคราะห์เอาหรือจะโดย

หลักการใดก็ตามว่า เหตุใดพระเจ้ากรุงธนบุรีจึงทรงตีฝ่าวงล้อมไปทางทิศตะวันออก คือ หลายทางน้นอย่ท่ระยอง


อยู่ที่จันทบุรี ทำาไมท่านไม่ขึ้นเหนือหรือทำาไม่ท่านไม่ไปอีสาน อย่างน้อยที่สุดเมืองตาก เมืองกำาแพงเพชรก็เป็น
เมืองเก่าของท่าน ท่านเคยเป็นเจ้าเมืองอยู่ เหตุใดถึงเสด็จออกไปทางทิศตะวันออกอย่างนั้น





รองเสนาธิการทหารเรือ : อันน้เป็นคาถามท่มีคุณค่ามากในอันท่จะนาไปส่ความเป็นอัจฉริยะทางเรือของสมเด็จ

พระเจ้าตากสินมหาราช ตามที่ท่านรองเสนาธิการทหารบกได้กล่าวไว้เมื่อสักครู่นี้ว่า พระองค์เมื่อเห็นเหตุการณ์
ท่กรุงศรีอยุธยาว่าจะไปไม่รอดแน่ล่วงหน้าถึง ๓ เดือน ก็ตัดสินพระทัยนาทหารใต้บังคับบัญชาของพระองค์เพียง


๕๐๐ คน ตีฝ่าออกมาจากค่ายพิชัย และม่งลงมาทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ น่นก็คือ ม่งมาทางนครนายก ปราจีนบุรี



ดังกล่าว แล้วก็ผ่านชลบุรีมาระยองไปจันทบุรี นี่แหละครับคือเหตุผลที่น่าคิดว่าพระองค์เป็นทหารบก เหตุใด
จึงเดินทางไปทางริมฝั่งทะเล อันนี้เป็นปัญหาน่าคิดและก็เหตุใดทำาไมท่านถึงไม่ขึ้นเหนือ อันนี้น่าจะวิเคราะห์ได้
ว่า ทางเหนือนั้นก็มีกำาลังพม่าอยู่ กำาลังของพระองค์ก็มีแค่ ๕๐๐ คน พม่ายกกำาลังเข้ามาทางเชียงใหม่ และมี
การวางกำาลังไว้ สำาหรับทางด้านทิศตะวันตกนั้นก็เป็นที่เชื่อแน่ว่ารอบๆ กรุงศรีอยุธยานั้นไม่ปลอดภัยเลย แล้วก็
เป็นอันตรายมีกำาลังของพม่าอยู่กันไม่น้อย สำาหรับทางใต้นั้นก็เป็นระยะทางไกลมาก แล้วก็โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่
กรุงธนบุรีสมัยนั้นก็มีกำาลังพม่าตั้งอยู่ที่ธนบุรีคือกำาลังของนายอินทร์ ที่น่าคิดพระองค์น่าจะไปทางอีสาน เพราะ


อีสานน้นดูท่าว่าจะว่างจากพม่า และมีเมืองใหญ่ๆ อย่หลายเมือง เหมาะท่จะใช้เป็นฐานในการรวบรวมผ้คน กาลัง



ทางบก แล้วก็เสริมกำาลังที่นั่น หาเสบียงอาหารให้พร้อม แต่พระองค์ก็ไม่ได้เสด็จไป อันนี้ผมก็เป็นทหารเรือแต่
ก็อยากคะเนหรืออนุมานเอาว่า พระองค์คงเห็นว่าการที่จะขึ้นไปภาคอีสานนั้นเป็นการเดินทัพทางบกด้วยกำาลัง
เพียง ๕๐๐ คน แล้วเมื่อพระองค์ท่านใช้เวลานานในการที่ไปรวบรวมกำาลัง และต้องกลับมาทางบกจะต้องฝ่า
อันตราย จะต้องมีการถูกลิดรอน เพราะฉะน้นการรวบรวมกาลังของพระองค์ท่านจะต้องย่งใหญ่ใช้เวลานาน แล้ว







ก็เป็นการกระทาท่เส่ยงมาก ด้วยเหตุน้กระผมจึงคิดว่าพระองค์มีพระปรีชาญาณท่เห็นว่าการเดินทางทางเรือหรือ

การนำาทัพเรือ จะเป็นหนทางลัด จะเป็นประโยชน์ และพระองค์ทรงทราบถึงจุดเด่นจุดสำาคัญของกำาลังทางเรือ


เป็นอย่างดี พระองค์จึงตัดสินใจลงมาทางตะวันออกเฉียงใต้ และเร่อยลงมาทางริมฝั่งทะเล แล้วก็มารวบรวมกาลัง
146









คร้งสุดท้ายท่จันทบุรี ซ่งท่น่นพระองค์ได้เรือสาเภาของพวกจีนเป็นจานวนมาก และพระองค์ทรงให้ต่อเรือข้นด้วย
ใช้เวลาในการต่อเรือ ๓ เดือน พระองค์ทรงรวบรวมได้เรือรบถึง ๑๐๐ ลำา ชาวเมืองจันทบุรีก็เป็นชาวทะเลคงจะ
หาลูกเรือได้ไม่ยากนัก ก็เป็นเหตุผลอีกอันหนึ่งที่พระองค์ท่านเลือกเดินทางมาทางทิศตะวันออกเฉียงใต้
พิธีกร : ชาวดอนก็กลายเป็นชาวทะเลด้วยประการฉะน้ พม่าท่เห็นจะไม่มีทหารเรือหรือกองทัพเรือมาด้วยกระมัง



รองเสนาธิการทหารเรือ : กระผมคิดว่าถ้าพม่าจะมีเรือใช้ คงจะหาเรือในพ้นท่ คงไม่ได้แล่นเรือมาจากประเทศ

พม่า จะใช้เรือก็ต่อเมื่อฤดูน้าหลาก อย่างที่ท่านรองเสนาธิการทหารบกว่าไว้ ก็คงมีเรือเล็กๆ จำานวนไม่มากนัก






ในการท่จะเดินทางไปเพ่อติดต่อประสานกันหรือว่าขนเสบียงอาหารเท่าน้น เป็นท่แน่นอนว่าพม่าไม่มีกาลังทางเรือ
ทีนี้ที่อยากเรียนให้ทราบต่อไปถึงจุดเด่นของกำาลังทางเรือที่พระองค์ท่านซึ่งเป็นทหารบกในสมัย ๒๐๐ ปีแล้ว





มองเห็นความสาคัญจุดเด่นของกาลังทางเรือ คือความคล่องตัวของกาลังทางเรือ ซ่งเราเรียกว่า โมบิลลิต้ (Mobility)
ในภาษาฝรั่ง คำาว่า โมบิลลิตี้พระองค์ได้เห็นตั้งแต่สมัย ๒๐๐ ปีแล้ว และเดี๋ยวนี้ก็ยังมีความสำาคัญอยู่ในการรบ
ทางเรือในปัจจุบัน นี่เป็นเหตุผลอีกประการหนึ่งที่ทหารเรือได้ยกย่องท่านว่าพระองค์ทรงพระปรีชาสามารถ
ในการที่จะเป็นจอมทัพเรือ
พิธีกร : อีกสักครู่จะกลับมากราบเรียนถามถึงความคล่องตัวทางเรืออย่างที่ว่า อันนี้เป็นการวิเคราะห์ของทหารเรือ
ว่าเหตุใดจึงเสด็จออกไปทิศตะวันออก ไม่ทราบว่านักประวัติศาสตร์อย่างท่านอาจารย์ทองต่อ มีความเห็นว่า
อย่างไรกรณีที่เสด็จออกไปทางทิศตะวันออกแทนที่จะขึ้นเหนือล่องใต้ไปอีสาน



อาจารย์ทองต่อ : ความเห็นก็คงไม่ใช่ของผม แต่เห็นท่านท่ศึกษากันมาหลายๆ ท่าน ก็มีแนวโน้มว่าการท่ออกไป

ทางปากอ่าวหรือทางตะวันออกนั้นเป็นการคล่องตัว และสามารถที่จะปรับตัวได้ในระยะทางใกล้ไกล คือถ้าหาก
สามารถรวบรวมกำาลังผู้คนได้ในระยะใกล้ เช่นเมืองชล ก็สามารถจะกลับเข้ามาตีกองกำาลังทางกรุงศรีอยุธยาได้
ถ้าหากว่ากำาลังไม่พอก็ขยับออกไปทางเมืองจันท์ เมืองตราด เหล่านี้ก็มีความคล่องตัวในการที่จะปรับตัว ในการ
ที่จะสู้รบ เข้าใจว่าสาเหตุใหญ่เป็นอย่างนี้


พิธีกร : ทรงมุ่งหมายตั้งแต่เสด็จออกจากกรุงศรีอยุธยาแล้วหรือเปล่าว่า ปลายทางอยู่ที่เมืองจันท์ หรือว่าตีไป
รวบรวมไปว่าจะได้ไพร่พลกันที่ไหน อย่างไร


อาจารย์ทองต่อ : เท่าที่หลักฐานที่ปรากฏ ขั้นต้นนั้นทรงไปปักหลักที่ระยองเป็นจุดสำาคัญ จุดใหญ่ที่ระยองใน
ขณะนั้นก็ไปก่อนกรุงศรีอยุธยาแตกประมาณ ๓ เดือนเศษ และยังคงวางตัวเหมือนเป็นเจ้าเมืองเอก คือไม่ได้







สถาปนาตัวเองเป็นพระเจ้าแผ่นดินหรือเป็นอิสระอะไรเพ่อเป็นการรักษาตัวเท่าน้น ไปต้งม่นอย่ท่เมืองระยอง
แต่ว่าตอนนั้นพวกบริวารทหารของท่านก็เริ่มเรียก เจ้าตาก เรียกเจ้าตากตั้งแต่ครั้งนั้นมา
พิธีกร : ครั้นแล้วก็ค่อยๆ ขยับไปๆ จนถึงเมืองจันท์ ระยะนั้นที่เรารู้จักกันว่าให้ทุบหม้อข้าวให้แตกแล้วก็ไป
กินข้าวกันที่เมืองจันท์ ก็เกิดขึ้นตอนนั้นเอง

อาจารย์ทองต่อ : นี่ก็เป็นการแสดงถึงพระราชอัธยาศัยเด็ดเดี่ยวอย่างยิ่งว่า ในการที่จะตีเมืองจันทบุรีนั้นให้


ทหารกินอย่อย่างเต็มท่ แล้วก็ทุบหม้อข้าว ทุบอุปกรณ์การครัวท้งหมด แล้วร่งข้นม่งตีเมืองจันท์ให้แตก ถ้าหากว่า




ตีไม่ได้ก็แปลว่าทุกคนหมดเสบียง ทุกคนพร้อมที่จะตาย เป็นการแสดงถึงความเข้มแข็งของท่านอย่างยิ่ง
พิธีกร : ท่านรองเสนาธิการทหารบกครับ แผนทุบหม้อข้าวแล้วไปกินข้าวเมืองจันท์เด๋ยวน้ใช้กันอย่ได้หรือไม่ครับ



147

รองเสนาธิการทหารบก : เรานำามาเป็นตัวอย่างในประวัติศาสตร์ของการยุทธ โดยเวลาพูดถึงการวางแผนการ
ยุทธที่ใช้ความเป็นผู้นำาอย่างเด็ดขาด รวมทั้งเราพูดถึงในหลักการส่งกำาลังว่าเป็นหลักการส่งกำาลังที่แปลกที่สุด

ที่พระองค์บอกให้กินเสียให้อิ่มในวันนี้แล้วทุบให้หมด ทิ้งให้หมด แล้วเข้าไปกินกันในเมือง ถ้าเข้าเมืองวันนี้
ไม่ได้พรุ่งนี้ถ้าจะตายก็ขอตายพร้อมกันให้หมด นี่แหละครับเป็นสิ่งที่มหัศจรรย์อย่างที่สุด เราก็ได้มาศึกษาว่า

ในเอกลักษณ์อันเป็นมหาบุรุษของพระองค์ในหลาย ๆ เอกลักษณ์ ไม่ว่าจะทรงช้าง ไม่ว่าจะอยู่บนหลังม้า ไม่ว่า
จะอยู่ในเรือ ไม่ว่าในตอนเดินดิน กรำาศึกถือพระแสงดาบเข้าฟาดฟันตลอดกระทั่ง ปีนค่ายและในทุกโอกาส









ท่เราศึกษาแล้วพระปรีชาสามารถความเป็นผ้นาอันย่งใหญ่อันน้เป็นความสาคัญมาก ความเป็นผ้นาอันย่งใหญ ่


ประกอบการใช้หลักการสงครามอันเหมาะสมท่สุดทาให้ประสบชัยชนะเด็ดขาดในแต่ละคร้งแต่ละคราว อันน ้ ี

เป็นบทเรียนจากการศึกษาประวัติการยุทธแต่ละครั้ง


พิธีกร : ขอบพระคณมากครบผมยังตดใจทท่านรองเสนาธการทหารเรอท่านไดกลาววาการท่ตอเรอข้นมาและ












ใช้วิธีการรบทางน้าค่อยๆ รุกเข้ามาในกรุงธนบุรีจนถึงกรุงศรีอยุธยามีความคล่องตัวท่านกล่าวถึงโมบิลลิตี้หรือ

ความคล่องตัวกรุณาขยายความได้ไหมว่าคืออะไรมีความสำาคัญอย่างไร




รองเสนาธการทหารเรอ : เม่อสักคร่ท่านอาจารย์ทองต่อได้พูดถึงความคล่องตัวน้อย่ว่าความคล่องตัวของกาลัง







ทางเรืออีกอันท่ท่านพูดถูกต้องว่าในยามท่เราเสียเปรียบเราก็สามารถท่จะถอนตัวและปรับกาลังได้ง่ายอันน้ท่าน








พดในลักษณะคลายๆ มีความรทางทหารอยไมนอยทเดยวทน้ก็อยากใหคาจากดความหรอนยามว่าความคลองตว




































ของกาลงทางเรอนนหมายถงความมเสรในการทจะเคลอนทไปมา ณ ทใดกไดทเราตองการตลอดเวลานเปน







ความคล่องตัวของกาลังทางเรออันน้กอยากขออภยท่านรองเสนาธการทหารบกทจะกล่าวว่าความคลองตัวของ





กาลังทางเรือน้นค่อนข้างมีความคล่องตัวมากกว่ากาลังทางบกไม่ใช่ว่ากาลังทางบกจะไม่มีมีเหมือนกันแต่อยากจะ


กล่าวว่ามีน้อยกว่าสักเล็กน้อยอันนี้ผมอยากจะเปรียบเทียบให้เห็นว่าถ้าหากว่าสมเด็จพระเจ้าตากสินฯ จะเดิน
ทัพทางบกกับทางเรือแล้วทางไหนจะมีความคล่องตัวหรือความสะดวกแตกต่างกันทางไหน สมมุติว่าพระองค์
ตกลงจะเดินทัพด้วยกำาลังทหาร ๕,๐๐๐ คน เคลื่อนจากจันทบุรีเพื่อไปตีกรุงศรีอยุธยาโดยทางบกท่านก็จะ
ต้องผ่านทางระยองไปชลบุรี ฉะเชิงเทรา บางประกอกก็คือกรุงเทพ แล้วก็ต้องข้ามแม่น้าเจ้าพระยาไปรบกับ



นายทองอินทร์ท่ป้อมวิชัยประสิทธ อันน้เปรียบเสมือนหอกข้างแคร่ถ้าพระองค์ไม่ทาอะไรกับกาลังน้นเข้าต ี







กรุงศรีอยุธยาพระองค์ท่านอาจถูกตลบหลังหรือเม่อพระองค์ท่านเสียเปรียบทรงถอยทัพกลับกาลังข้าศึกอันน ี ้




ก็จะเป็นกาลังกระหนาบ ฉะน้นน่คือความเป็นอัจฉริยะอีกข้อหน่งพระองค์ท่านก็ทรงตีป้อมวิชัยประสิทธิ ์



เสียก่อนการเดินทางอันยาวนานอย่างน้นบนบกในภูมิประเทศท่เป็นป่าเขาเพราะในสมัยน้นไม่มีถนนเหมือน
ในสมัยน้แล้วก็ในสภาพภูมิประเทศต่างๆ เหล่าน้จาเป็นต้องใช้เวลานานท่พม่าจะทราบข่าวแล้วก็ซ่มโจมตีลิดรอน





กาลังของพระองค์ไปเร่อยๆ ก็หมายความว่าถ้าพระองค์เดินทัพทางบกก็ต้องเดินทางไปรบไปและไพร่พลก็ต้อง




ร่อยหรออย่างน้อยก็เกิดความอิดโรย ท่น้ในทางตรงกันข้ามถ้าหากว่าพระองค์มองเห็นความคล่องตัวของการเดิน




ทัพทางเรือซ่งมีเหนือกว่านับจากพระองค์ออกจากจันทบุรีเมอกองเรือออกทะเลไปแล้วยากท่ผ้ใดจะร้ว่ากองทัพเรือ








น้นไปไหนและขณะหน่งๆ ในทะเลน้นพระองค์อย่ท่ไหนจะไปถึงท่ไหนเม่อไหร่โดยเฉพาะอย่างย่งในทางทะเลน้น



พม่าไม่มีขีดความสามารถไม่มีเรือที่จะออกมาทางทะเลได้ เพราะฉะนั้นการเดินทางของพระองค์ท่านทางทะเล
ก็เป็นการเดินทางที่ปลอดภัยอย่างยิ่ง ไม่ต้องเสียเวลาโดยไม่จำาเป็นอะไรไปเลยไม่มีใครมาสกัดขัดขวางลิดรอน
นี่เป็นเหตุผลที่อยากจะเรียนให้ทราบว่าพระองค์ทรงพระปรีชาสามารถในการที่จะคิดใช้คุณลักษณะอันนี้ให้เป็น
ประโยชน์ในการกู้เอกราชของประเทศไทยในครั้งนั้นนี่แหละครับเป็นความคล่องตัวจริงๆ
148


Click to View FlipBook Version