The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 4 ระบบสุริยะของเรา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by yodrak pukjira, 2021-11-04 05:22:18

หน่วยที่ 4 ระบบสุริยะของเรา

หน่วยที่ 4 ระบบสุริยะของเรา

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 4 ระบบสุรยิ ะของเรา
สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และวิวฒั นาการของเอกภพ กาแลก็ ซี ดาว
ฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ ที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
อวกาศ

เน้ือหา เวลา น้ำหนกั คะแนน
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 ระบบสรุ ิยะของเรา 15
3
1.1 แรงโน้มถ่วงระหวา่ งดวงอาทติ ย์กบั ดาวบริวาร 3
1.2 ฤดูกาล 2
1.3 การเปลี่ยนตำแหนง่ และเส้นทางการเคลอ่ื นท่ีปรากฏ
ของดวงอาทิตยบ์ นท้องฟ้า 1
1.4 การขึ้นและตกของดวงจนั ทร์ 2
1.5 ข้างข้นึ ข้างแรม 2
1.6 นำ้ ข้นึ นำ้ ลง 2
1.7 เทคโนโลยีอวกาศ

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 23

กลุ่มสาระวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1/2564 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 4 ระบบสรุ ิยะของเรา เวลา 15 คาบ

เรื่อง ขนาดของแรงโนม้ ถว่ ง เวลา 3 คาบ

ผู้สอน นางสาวภัคจริ า ยอดรัก โรงเรยี นสาธติ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอตุ รดิตถ์

วนั ท่ี 16 เดอื น กนั ยายน พ.ศ. 2564 ม.3/1

วนั ท่ี 17 เดือน กนั ยายน พ.ศ. 2564 ม.3/2

1. มาตรฐานการเรยี นรู้
สาระท่ี 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองคป์ ระกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด และวิวฒั นาการของเอกภพ กาแลก็ ซี่ ดาว
ฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ ที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
อวกาศ

2. ตัวช้ีวัด
ว 3.1 ม.3/1 อธิบายการโคจรของดาวเคราะห์รอบ ดวงอาทิตย์ด้วยแรงโ น้มถ่วงจากสมการ

F = (Gm1m2)/r2

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้ (K)
1. นกั เรียนอธบิ ายการโคจรของดาวเคราะหร์ อบดวงอาทิตยด์ ว้ ยแรงโน้มถ่วง
จากสมการ F = Gm1 m2 / r2 ได้
ด้านทักษะและกระบวนการ (P)
2. นกั เรยี นใช้ทกั ษะดา้ นการสื่อสาร โดยนำเสนอกราฟปจั จัยทม่ี ีผลตอ่ ขนาด
ของแรงโน้มถว่ งได้
ดา้ นคุณลักษณะ (A)
3. มคี วามสนใจใฝ่เรยี นรู้

4. สาระสำคญั
ขนาดของแรงโนม้ ถว่ งขึน้ อยู่กบั ขนาดของมวลของวตั ถุท้งั สองและกำลงั สองของระยะห่างระหวา่ งจุดศนู ย์กลางของ
วัตถุ เมอื่ เขียนความสัมพนั ธเ์ ปน็ สมการโดยมีค่าคงที่คา่ หนงึ่ เรยี กว่า ค่าคงทโ่ี นม้ ถว่ งสากล (G) ซึง่ เปน็ ค่าที่ได้มาจาก
การทดลอง จะไดส้ มการแรงโน้มถว่ งดงั น้ี

เม่อื F F = Gm1 m2
m1, m2 r2
r
G แทน ขนาดของแรงโน้มถ่วง มหี น่วยเป็นนิวตนั (N)
แทน มวลของวัตถุ มีหน่วยเปน็ กิโลกรัม (kg)
แทน ระยะหา่ งระหว่างจุดศูนยก์ ลางของวตั ถุ มีหนว่ ยเป็นเมตร (m)
แทน ค่าคงทโี่ นม้ ถ่วงสากล ประมาณ 6.67 x 10-11 Nm2/kg2

5. สาระการเรียนรู้
การโคจรของดาวเคราะหร์ อบดวงอาทิตย์ด้วยแรงโน้มถ่วง

6. กจิ กรรมการเรยี นรู้
ใชร้ ปู แบบการจัดการเรยี นการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Cycles: 5Es) (2 ช่วั โมง; 120นาที)

ขั้นที่ 1 กระตุน้ ความสนใจ (Engagement) (20 นาท)ี
1) กระตุ้นความสนใจนกั เรียน เพ่ือนำเขา้ สู่หน่วยที่ 4 ระบบสรุ ยิ ะของเรา โดยใช้คำถามกระตุ้นให้

นกั เรียนเกดิ ความสงสยั และอยากรอู้ ยากเหน็ ดงั น้ี (A1 1.1)
- นักเรยี นรจู้ กั คำวา่ ตะวนั อ้อมข้าวหรือไม่ เปน็ อย่างไร (นักเรียนตอบตามความคิดของตนเอง)

- นักเรียนคดิ ว่าในรอบ 1 ปี ดวงอาทิตยข์ ึน้ และตกทเี่ ดิมในเวลาเดิมทุกวันหรือไม่ อย่างไร (นักเรยี นตอบ
ตามความเขา้ ใจ เชน่ ข้นึ และตกทีเ่ ดิมและเวลาเดิมทุกวันไม่เปลย่ี นแปลง หรือขึ้นและตกท่ตี ำแหน่งและเวลาท่ี
เปลีย่ นแปลงไปในแต่ละวนั )

- ถา้ ดวงอาทิตยห์ ายไปทันทีทนั ใด นกั เรียนคดิ ว่าจะเกิดอะไรขึน้ กับโลกของเรา (นกั เรียนตอบตาม
ความคิดของตนเอง)

2) ให้นกั เรียนสงั เกตภาพนำหนว่ ย อา่ นเนื้อหานำหน่วย ในหนงั สือเรียนชั้นม.3 เลม่ 1
(ฉบับปรับปรุงพ.ศ.2560) สสวท. หนา้ 181 และรว่ มอภปิ ราย โดยใช้คำถามดังตอ่ ไปนี้

- จากเนื้อหาท่ไี ดอ้ ่าน นกั ดาราศาสตรค์ น้ พบอะไร สิง่ ท่คี น้ พบมีลักษณะอยา่ งไร (นักดาราศาสตร์
คน้ พบระบบดาวท่มี ลี กั ษณะคลา้ ยระบบสุรยิ ะของเราชื่อวา่ แทรพพิสตว์ นั )

- นักดาราศาสตร์ค้นพบระบบดาวนไ้ี ดอ้ ย่างไร (ค้นพบโดยการสำรวจด้วยกล้องโทรทรรศน์แบบสะทอ้ น
แสง)

- เพราะเหตุใดจึงมีความเป็นไปได้ว่าดาวเคราะห์ในระบบดาวนจ้ี ะมสี ง่ิ มีชีวิต (เพราะดาวเคราะห์
อยู่ในพน้ื ทที่ ่เี ออ้ื ตอ่ การอยอู่ าศัยของสงิ่ มีชวี ติ และอาจมีน้ำเปน็ องคป์ ระกอบ)

3) ครเู ช่ือมโยงเข้าสู่บทท่ี 1 ปฏสิ มั พันธ์ในระบบสุรยิ ะ โดยให้นักเรียนสงั เกตภาพนำเรื่อง หนังสือ
เรียนชนั้ ม.3 เลม่ 1 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) สสวท. หน้า 182 แลว้ ใช้คำถามต่อไปน้ี

- ภาพที่นกั เรียนสงั เกตเป็นภาพนาฬกิ าดาราศาสตรแ์ ละปฏทิ ิน ณ กรงุ ปราก สาธารณรัฐเชก็ คน
สมัยก่อนสรา้ งปฏทิ นิ จากการสงั เกตส่งิ ใด (จากการสังเกตดวงอาทิตย์และดวงจนั ทร)์

- การบอกเวลา 1 วนั 1 เดือน 1 ปี คนสมัยก่อนบอกไดอ้ ย่างไร (ระยะเวลา 1 วนั บอกจากการขนึ้
และตกของดวงอาทติ ย์ ระยะเวลา 1 เดอื น บอกจากรูปร่างของดวงจันทรท์ ีป่ รากฏ ระยะเวลา 1 ปี บอกจากการ
เปลยี่ นตำแหน่งการข้ึนและตกของดวงอาทิตย์)
ขน้ั ที่ 2 ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) (20 นาท)ี

4) นกั เรยี นทำกจิ กรรมทบทวนความรกู้ ่อนเรียน โดยเขียนเครอื่ งหมาย √ หนา้ ขอ้ ความที่ถกู ตอ้ ง
และเขยี นเครอื่ งหมาย X หนา้ ขอ้ ความทีไ่ มถ่ ูกต้อง จากน้นั นำเสนอผลการทำกจิ กรรม หากครูพบวา่ นักเรียนยงั ทำ
กจิ กรรมทบทวนความร้กู ่อนเรยี นไม่ถกู ต้อง ครูควรทบทวนหรือแกไ้ ขความเขา้ ใจผิดของนักเรยี น เพื่อให้นกั เรยี นมี
ความรพู้ ืน้ ฐานท่ีถกู ตอ้ งและเพยี งพอทจ่ี ะเรยี นเร่อื งแรงโน้มถว่ งระหวา่ งดวงอาทติ ยก์ บั ดาวบรวิ ารตอ่ ไป (B2 2.2)

- แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุทไ่ี มเ่ ท่ากับศนู ยท์ ำใหว้ ัตถเุ ปลี่ยนแปลงสภาพการเคลื่อนที่ (ถูกตอ้ ง)
- แรงโน้มถว่ งสามารถกระทำต่อวตั ถไุ ด้โดยไมต่ อ้ งสัมผสั วัตถุ (ถกู ตอ้ ง)
- แรงกิริยา-ปฏิกริ ยิ าระหว่างวัตถุคหู่ น่งึ มีขนาดเท่ากนั แต่ทิศทางตรงกนั ข้ามและเกิดข้ึนบนวัตถุ
เดยี วกัน (ไม่ถูกต้อง)
- สนามโน้มถ่วงจะมขี นาดลดลงเมอื่ อยู่หา่ งจากต้นกำเนิดสนามมากข้นึ (ถกู ตอ้ ง)
- สนามโน้มถว่ งมีทศิ ทางพุ่งออกรอบ ๆ ต้นกำเนิดสนามโน้มถว่ ง (ไมถ่ ูกต้อง)
5) ครเู ชือ่ มโยงเข้าสูก่ ิจกรรมที่ 4.1 ขนาดของแรงโน้มถ่วงขนึ้ อย่กู บั อะไร โดยอา่ นชือ่ กิจกรรม
จุดประสงค์ และวธิ ีดำเนินกจิ กรรม ตามหนงั สอื เรยี นรายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี
3 เลม่ 1 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) สสวท.
กระทรวงศกึ ษาธิการ หนา้ 186 และครูตรวจสอบความเข้าใจการอา่ น โดยใชค้ ำถามดังต่อไปนี้ (A4 1.4, C2 3.2)
- กจิ กรรมนี้เก่ียวกบั เรื่องอะไร (ขนาดของแรงโนม้ ถ่วง)
- กิจกรรมน้ีมีจุดประสงคอ์ ย่างไร (วเิ คราะหข์ ้อมลู เขยี นกราฟ และอธบิ ายปจั จยั ที่มีผลตอ่ ขนาด
ของแรงโนม้ ถ่วง)
- วิธีดำเนินกจิ กรรมมีข้ันตอนโดยสรปุ อย่างไร (วิเคราะห์กราฟเพ่อื อธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหวา่ งแรง
โน้มถ่วงซง่ึ ในท่นี ค้ี ือน้ำหนกั ของคนกับระยะห่างจากคนถึงจุดศูนยก์ ลางของโลก จากนั้นวเิ คราะหข์ ้อมลู จากตาราง
และเขียนกราฟเพ่ือวิเคราะห์ความสัมพันธข์ องแรงโนม้ ถ่วงระหว่างน้ำหนกั ของคนกับมวลของดาวเคราะหว์ ่ามี
ความสมั พนั ธ์กนั หรือไม่ อย่างไร)
- นกั เรียนตอ้ งสังเกตและรวบรวมข้อมูลอะไรบา้ ง (นักเรียนตอ้ งสงั เกตค่าของนำ้ หนกั ของคนวา่ เปลย่ี นแปลง
ไปอย่างไร)

6) ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะคนทำกิจกรรมโดยครูสงั เกตการทำกจิ กรรมของนกั เรยี น พร้อมทง้ั ใหค้ ำแนะนำ
หากนักเรียนมีขอ้ สงสัยเก่ียวกบั การแปลความหมายขอ้ มลู และการเขยี นกราฟ
ขน้ั ท่ี 3 ขนั้ อธบิ ายและลงข้อสรุป (Explanation) (20 นาที)

7) นกั เรียนบนั ทกึ ผลการทำกจิ กรรมลงในแบบบนั ทึกการค้นควา้ กจิ กรรมที่ 4.1 ขนาดของแรงโนม้
ถว่ งขน้ึ อยูก่ ับอะไร โดยการตอบคำถามทา้ ยกิจกรรม และร่วมกนั สรปุ ผลของกิจกรรม เพ่อื ให้ได้ข้อสรุปจากกจิ กรรม
วา่ ขนาดของแรงโนม้ ถ่วงจะลดลงเม่อื ระยะห่างจากคนถึงจุดศนู ย์กลางของโลกมากขึ้น และขนาดของแรงโนม้ ถว่ ง
จะมากขนึ้ เมอ่ื มวลของดาวเคราะหม์ ากขนึ้ ท่ีระยะห่างเท่ากัน
ข้ันที่ 4 ขนั้ ขยายความรู้ (Elaboration) (50 นาท)ี

8) ใหน้ กั เรยี นเรยี นร้เู พ่ิมเติมโดยอ่านเนอ้ื หาในหนังสอื เรียนหนา้ 187 และร่วมกันอภปิ รายเกี่ยวกับ
ปัจจยั ท่ีมีผลต่อขนาดของแรงโนม้ ถ่วง โดยใชค้ ำถามระหวา่ งเรยี นเพื่อตรวจสอบความเข้าใจ (C3 3.3)

- เพราะเหตุใดเม่ือเราช่งั นำ้ หนกั บนดวงจันทร์ เราจะมนี ำ้ หนกั ไมเ่ ทา่ กับนำ้ หนกั ท่ชี งั่ บนโลก
(แนวคำตอบ เนือ่ งจากขนาดของแรงโน้มถ่วงมีความสัมพนั ธก์ บั ขนาดของมวลของผู้ชงั่ และมวลของดาว ดังนนั้
ดวงจนั ทร์ซ่ึงมีมวลน้อยกวา่ โลกจึงมีแรงโน้มถว่ งทก่ี ระทำตอ่ คนน้อยกวา่ ดังน้ันเมอ่ื ชงั่ นำ้ หนักบนดวงจนั ทรจ์ ึงมี
ขนาดน้อยกว่าเมื่อชัง่ บนโลก)

9) ใหน้ กั เรยี นเรียนรเู้ พิ่มเติมเก่ียวกับปจั จยั ทม่ี ีผลตอ่ ขนาดของแรงโน้มถ่วง โดยอ่านเน้ือหาใน
หนงั สือเรยี นหน้า 188-190 เพือ่ ใหท้ ราบความสมั พันธข์ องตัวแปรตา่ ง ๆ ได้แก่ แรงโน้มถว่ ง มวลของวตั ถุ และ
ระยะห่างระหวา่ งวัตถุ จากนน้ั ตรวจสอบความเข้าใจโดยใชค้ ำถามดงั น้ี (C1 3.1)

- จากภาพ 4.4 นกั เรยี นเข้าใจวา่ อย่างไร (ท่ีระยะห่างระหว่างวตั ถุเทา่ กัน เมื่อมวลของวัตถุเพ่มิ ขึ้น
โดยอาจเปน็ วตั ถุใดวตั ถหุ นึ่งหรือท้งั สอง กจ็ ะทำให้ขนาดของแรงโน้มถว่ งเพมิ่ มากข้ึน)

- จากภาพ 4.5 นกั เรียนเขา้ ใจว่าอย่างไร (วตั ถทุ ่ีมีมวลเทา่ กัน เม่ือระยะห่างระหว่างวตั ถุเพิ่มข้ึน
ขนาดของแรงโน้มถว่ งจะลดลง)

- ขนาดของแรงโน้มถ่วงมคี วามสัมพนั ธก์ บั อะไรบ้าง และสมั พนั ธอ์ ย่างไร (ขนาดของแรงโน้มถ่วงมี
ความสัมพันธก์ ับมวลของวัตถทุ ้ังสอง โดยเมอื่ มวลของวตั ถุเพิม่ ขึ้น ขนาดของแรงโนม้ ถว่ งจะเพ่ิมมากข้ึน และสมั พนั ธ์
กบั ระยะห่างระหว่างวตั ถุ โดยเม่อื ระยะห่างระหวา่ งวตั ถุมากขึ้น ขนาดของแรงโนม้ ถว่ งจะลดลง)

10) ครูให้นักเรียนเรียนรจู้ ากสอ่ื สถานการณ์จำลอง เรอ่ื ง gravity and orbits เพอ่ื เสริมความ
เข้าใจ https://phet.colorado.edu/sims/html/gravity-and-orbits/latest/gravity-and-orbits_th.html
เพอื่ ให้ไดข้ ้อสรปุ วา่ สมการของแรงโนม้ ถ่วงคอื F = Gm1 m2 / r2 โดยขนาดของแรงโนม้ ถ่วงขึน้ อยูก่ บั ผลคณู ของ
มวลของวัตถทุ ้งั สอง และหารดว้ ยกำลงั สองของระยะห่างระหวา่ งวัตถุ (C2 3.2)

ข้นั ที่ 5 ขน้ั ประเมิน (Evaluation) (10 นาท)ี
11) นักเรยี นตรวจสอบการทำแบบบันทกึ การคน้ ควา้ และส่งตามกำหนดที่วางไว้
12) ครตู รวจสอบการส่งแบบบันทึกการคน้ ควา้ ของนักเรยี นและใหค้ ะแนนประเมินตามเกณฑ์การ

ประเมนิ (Rubrics Score)

7. สือ่ และแหล่งเรียนรู้
1. หนงั สือแบบเรยี นรายวชิ าวิทยาศาสตร์ 6 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 สสวท.
2. โปรแกรมออนไลน:์ สถานการณจ์ ำลอง เร่ือง ความโน้มถว่ งและวงโคจร เข้าถึงได้จาก

https://phet.colorado.edu/sims/html/gravity-and-orbits/latest/gravity-and-orbits_th.html
3. ใบกิจกรรมที่ 4.1 ขนาดของแรงโนม้ ถว่ งขนึ้ อยกู่ บั อะไร
4. แบบบนั ทึกการคน้ ควา้ กิจกรรมท่ี 4.1 ขนาดของแรงโน้มถว่ งขึน้ อยกู่ ับอะไร

แหลง่ การเรยี นรู้
1. ห้องเรยี น
2. หอ้ งสมุด
3. อนิ เทอรเ์ น็ต

8. การวดั ผลและประเมินผล

1. กรอบการวัดและประเมินผล แต่ละจุดประสงคก์ ารเรียนรู้นำเสนอประเด็นที่ทำการวัด และประเมินผล

วธิ กี ารวดั และเครื่องมือวัด ดงั ตาราง

ตาราง : แสดงกรอบการวัดและประเมนิ ผล

จุดประสงค์การเรยี นรู้ สมรรถนะ วิธกี ารวัดผล เครอ่ื งมือวดั ผล เกณฑ์การประเมินผล
PISA

ด้านความรู้ (K)

1. อธิบายการโคจรของดาว A1 1.1 ตรวจใบกิจกรรม ใบกจิ กรรมท่ี 1 - ผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ 70
ใบกิจกรรมที่ 1 เรอื่ ง ความสว่าง ขน้ึ ไป : 7 คะแนน
เคราะห์รอบ ดวงอาทิตยด์ ้วย A4 1.4 เร่อื ง ความสวา่ ง มผี ลตอ่ ดวงตา จาก 10 คะแนน
มผี ลต่อดวงตา อยา่ งไร
แรงโน้มถ่วงได้ B2 2.2

อย่างไร

จุดประสงค์การเรียนรู้ สมรรถนะ วธิ กี ารวัดผล เคร่ืองมอื วดั ผล เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
PISA
ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) ตรวจใบกิจกรรมที่ ใบกจิ กรรมท่ี 2 - ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 70
2.การใชท้ ักษะดา้ นการ B4 2.4 2 เรื่อง การวัด เร่ือง การวัด ขึน้ ไป : 7 คะแนน
ส่อื สาร โดยนำเสนอกราฟ C2 3.2 ความสว่างของแสง จาก 10 คะแนน
ปัจจัยที่มีผลต่อขนาดของแรง
โน้มถ่วง

ความสวา่ งของ
แสง

ด้านคุณลักษณะ (A) ตรวจใบกิจกรรมที่ ใบกิจกรรมท่ี 2 - ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 70
3. มคี วามสนใจใฝ่เรยี นรู้ 2 เร่ือง การวัด เรอ่ื ง การวดั ขน้ึ ไป : 7 คะแนน
ความสวา่ งของแสง ความสว่างของ จาก 10 คะแนน

แสง

2. เกณฑก์ ารให้คะแนนเกณฑร์ บู ริคส์ (Rubric Score) ใหค้ ะแนนเปน็ รายขอ้ ของเกณฑร์ บู ริคส์ ที่สร้างข้ึน
สำหรับการประเมิน (Analytical Rubric Score )

ตาราง : แสดงเกณฑก์ ารให้คะแนนเกณฑ์รูบริคส์

ระดบั คุณภาพ

ประเดน็ การประเมนิ ระดบั 4 (ดมี าก) ระดบั 3 (ด)ี ระดับ 2 (พอใช)้ ระดับ 1
(ตอ้ งปรับปรุง)

ด้านความรู้ (K)

1.อธิบายการโคจรของดาว ใหใ้ บกิจกรรมที่ 4.1 เรอ่ื ง แขนาดของแรงโน้มถว่ งขนึ้ อยู่กับอะไร

เคราะหร์ อบ ดวงอาทติ ย์ดว้ ย มคี ะแนนผา่ นการประเมนิ 70 % ขน้ึ ไป

แรงโนม้ ถว่ งได้

ด้านทักษะกระบวนการ (P) - มีคุณสมบตั ิ 4 - มีคุณสมบัติ 3 - มคี ุณสมบัติ 2 - มคี ุณสมบตั ิ 1

2.การใชท้ กั ษะดา้ นการ ใน 4 ของระดบั ใน 4 ของระดับ ใน 4 ของระดบั ใน 4 ของระดบั

สอื่ สาร โดยนำเสนอกราฟ คุณภาพ คุณภาพ คณุ ภาพ คุณภาพ

ปจั จยั ทมี่ ีผลต่อขนาดของแรง

โนม้ ถว่ ง

คณุ สมบัติ

1. บนั ทึกผลการส่ือสาร

จากการนำเสนอปจั จัยทด่ี าว

เคราะหม์ อี ตั ราเรว็ ในการโคจร

รอบดวงอาทติ ย์

2. เขียนกราฟและวิเคราะห์

ความสมั พันธ์ของน้ำหนักกับ

มวลของดาวเคราะห์แต่ละ

ดวง

3. ผู้อนื่ เข้าใจ ได้อย่าง

รวดเร็ว

4. ชัดเจนและถกู ตอ้ ง

ด้านคุณลักษณะทพ่ี ึง - มคี ณุ สมบัติ 4 - มีคณุ สมบตั ิ 3 - มีคุณสมบตั ิ 2 - มคี ณุ สมบตั ิ 1

ประสงค์ (A) ใน 4 ของระดับ ใน 4 ของระดบั ใน 4 ของระดับ ใน 4 ของระดับ

3.ใฝ่เรยี นรู้ คณุ ภาพ คุณภาพ คุณภาพ คณุ ภาพ

คุณสมบตั ิ
1 .มคี วามสนใจ

กระตือรือร้นในการศกึ ษาหา
ความรู้

2. ให้ความร่วมมอื
ในขณะเรยี น

3. มีรับผดิ ชอบในการ
ทำงาน

4. มีความตรงต่อเวลา

9. เกณฑ์การประเมนิ ผล (รบู รคิ ส)์

เกณฑ์ในการตัดสนิ ระดับคุณภาพนักเรยี นจากคะแนนรวมทง้ั หมด

กำหนดระดบั คุณภาพผลการเรยี นรรู้ ว่ มกนั ทุกดา้ นเปน็ 4 ระดับคือ ดมี าก ดี พอใช้ และปรบั ปรงุ

กำหนดเกณฑ์ในการประเมินดังนี้

ระดบั คุณภาพดีมาก 17 – 18 คะแนน

ระดับคุณภาพดี 14 – 16 คะแนน

ระดับคุณภาพพอใช้ 10 – 13 คะแนน

ระดบั คุณภาพปรบั ปรงุ น้อยกวา่ 10 คะแนน



ตารางการประเมนิ ผลการจดั การเรียนรู้
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 23 เรือ่ ง ระบบสรุ ิยะของเรา
นกั เรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3/1 โรงเรยี นสาธิตมหาวทิ ยาลับราชภัฏอุตรดติ ถ์
คำชีแ้ จง ให้ผู้สอนทำเครือ่ งหมาย √ ลงในรายการตามความเปน็ จรงิ

KPA รวม สรุป หมาย
คะแนน (ผา่ น/ เหตุ
(Knowledge) (Psychomotor) (Attribute) ไม่ผ่าน)
คะแนน
ชือ่ -นามสกุล คะแนนผ่าน คะแนนผ่านเกณฑ์ คะแนนผา่ น 12 ผ่าน
ผ่าน
เลขท่ี คะแนนเต็ม เกณฑร์ ้อยละ 70 ระดบั 2 ขน้ึ ไป เกณฑ์ระดบั 2 10 ผ่าน
10 ผา่ น
1 เด็กชายพสษิ ฐ์ แพรนมิ ิตร ข้นึ ไป ขน้ึ ไป 9 ผ่าน
2 เด็กหญิงวศนิ ีธรณ์ หะรเี มา 10 ผ่าน
3 เด็กชายศภุ กร มูลคำ คะแนน ผา่ น/ 4 3 2 1 ผา่ น/ 4 3 2 1 ผา่ น 9 ผา่ น
4 เดก็ หญิงธมี าพร ทองเจรญิ 9 ผา่ น
5 เด็กชายนฤพนธ์ุ สทุ ธะตัง้ 12 ไม่ ไม่ /ไม่ 10 ผา่ น
6 เด็กชายพันธ์ระพี พีระพนั ธ์ 9 ผา่ น
7 เดก็ ชายนครศักดิ์ ศรที พิ ย์ ผ่าน ผา่ น ผ่าน 11 ผ่าน
8 เดก็ หญิงธัญญากร ทองเพช็ ร์ 11 ผา่ น
9 เดก็ ชายจิณณวัตร ศรขี ำมี 10 ผ่าน √ ผา่ น √ ผ่าน 9 ผ่าน
10 เดก็ ชายภทั รศวัฒ โทนโนนแดง 10 ผ่าน
11 เด็กชายรวิภาส ฐิตาคม 10 ผ่าน √ ผา่ น √ ผา่ น 11 ผ่าน
12 เด็กชายกฤษฎา ปานแดง 11 ผา่ น
13 เด็กชายรณกร บูรณะถาวร 9 ผา่ น √ ผ่าน √ ผ่าน 10 ผา่ น
14 เด็กหญงิ บญุ ฑริกา ท่าดี 10 ผ่าน
15 เด็กหญิงอนัญญา แสงพานชิ 10 ผา่ น √ ผา่ น √ ผา่ น 11 ผ่าน
16 เด็กชายณัฐธพงษ์ ธนเดชสิรพิ งศ์ 11 ผา่ น
17 เดก็ หญงิ ลกั ษกิ า โชคดี 9 ผา่ น √ ผา่ น √ ผา่ น 10 ผ่าน
18 เดก็ ชายฤทธภิ์ บู ดี หะรเี มา 10
19 เด็กชายอัครชยั ทบั ผดงุ 9 ผ่าน √ ผ่าน √ ผา่ น 9
20 เดก็ หญงิ ปรุ มิ ปรชั ญ์ เจรญิ เชาวว์ ฒั น
21 เด็กหญงิ นภสร บุญประเสริฐ 10 ผ่าน √ ผา่ น √ ผา่ น

9 ผา่ น √ ผา่ น √ ผ่าน

11 ผา่ น √ ผา่ น √ ผ่าน

11 ผ่าน √ ผ่าน √ ผา่ น

9 ผ่าน √ ผา่ น √ ผ่าน

10 ผ่าน √ ผ่าน √ ผ่าน

11 ผ่าน √ ผา่ น √ ผ่าน

11 ผา่ น √ ผ่าน √ ผ่าน

10 ผา่ น √ ผา่ น √ ผา่ น

10 ผ่าน √ ผา่ น √ ผา่ น

11 ผ่าน √ ผ่าน √ ผา่ น

11 ผา่ น √ ผา่ น √ ผา่ น

10 ผ่าน √ ผ่าน √ ผา่ น

10 ผ่าน √ ผา่ น √ ผ่าน

9 ผ่าน √ ผา่ น √ ผ่าน

22 นายธนภัทธ์ หล่อหลอม 10 ผา่ น √ ผา่ น √ ผา่ น 10 ผา่ น
23 เดก็ ชายภูผา นาคหลวง 9 ผา่ น √ ผ่าน √ ผ่าน 9 ผ่าน

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

คะแนน 10 - 12 อยู่ในระดบั 4 มีระดับคุณภาพ ดีมาก คะแนนตามรบู รคิ ส์เปน็ รอ้ ยละ 80 – 100 ของคะแนนเต็ม
คะแนน 7 - 9 อยใู่ นระดับ 3 มรี ะดับคุณภาพ ดี คะแนนตามรูบริคสเ์ ปน็ ร้อยละ 60 – 75 ของคะแนนเตม็
คะแนน 4 - 6 อยใู่ นระดบั 2 มีระดับคุณภาพ พอใช้ คะแนนตามรบู รคิ ส์เป็นร้อยละ 50 – 59 ของคะแนนเตม็
คะแนน 0 - 3 อยู่ในระดับ 1 มรี ะดับคุณภาพ ปรับปรงุ คะแนนตามรบู รคิ ส์เปน็ รอ้ ยละ 50 – 59 ของคะแนนเต็ม

หมายเหตุ : คะแนนรวมต้องผ่านระดบั 3 ขึน้ ไป ถือว่า ผ่าน

• นักเรยี นที่ไมผ่ ่าน K จำนวน........คน ครผู ู้สอนมอบหมายให้นักเรยี น.....................................แล้ว
• นักเรียนทไ่ี มผ่ า่ น P จำนวน........คน ครผู สู้ อนมอบหมายให้นักเรยี น.....................................แล้ว
• นักเรยี นที่ไมผ่ า่ น A จำนวน........คน ครูผสู้ อนมอบหมายให้นักเรียน.....................................แลว้

ลงชือ่ .............ภ...ัค...จ..ิร...า.....ย..อ...ด..ร...ัก.............. ผู้สอน

( นางสาวภัคจิรา ยอดรัก )

ตารางการประเมินผลการจดั การเรยี นรู้
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 23 เร่อื ง ระบบสุรยิ ะของเรา
นักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3/2 โรงเรียนสาธิตมหาวทิ ยาลับราชภัฏอุตรดิตถ์
คำชี้แจง ให้ผสู้ อนทำเครอ่ื งหมาย √ ลงในรายการตามความเปน็ จรงิ

K P A รวม สรุป หมาย

(Knowledge) (Psychomotor) (Attribute) คะแนน (ผ่าน/ เหตุ

ชื่อ-นามสกลุ คะแนนผา่ นเกณฑ์ คะแนนผ่านเกณฑ์ คะแนนผา่ นเกณฑ์ ไมผ่ ่าน)

เลขท่ี คะแนนเต็ม รอ้ ยละ 70 ข้นึ ไป ระดบั 2 ขน้ึ ไป ระดบั 2 ขน้ึ ไป

1 เด็กชายสริ ภพ วรรณการ คะแนน ผา่ น/ 4 3 2 1 ผ่าน/ 4 3 2 1 ผา่ น/ คะแนน
2 เด็กหญงิ เสาวลักษณ์ ทบั ทอง
3 เด็กชายปติ คิ ุณ มีมา 12 ไม่ ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน 12
4 เด็กชายอคั รวนิ ท์ มาดีคาน
5 เด็กหญงิ มีนา กอ้ นทับทมิ ผา่ น
6 เด็กชายฮามนิ คมิ
7 เด็กชายภทั รพงศ์ จนั ทร์น้อย 10 ผ่าน √ ผ่าน √ ผ่าน 10 ผ่าน
8 เด็กหญิงฑฆิ มั พร เขตตบรรพต
9 เดก็ ชายพทิ ยตุ ม์ เรอื งศรี 10 ผ่าน √ ผา่ น √ ผา่ น 10 ผ่าน
10 เดก็ ชายธนพตั ปัญญา
11 เดก็ ชายอกุ ฎษฏ์ ตันตศิ ภุ รักษ์ 9 ผ่าน √ ผ่าน √ ผ่าน 9 ผ่าน
12 เด็กหญิงครองขวัญ ทับทมิ แสง
13 เดก็ ชายชัยวฒั น์ กุณจ๋า 11 ผ่าน √ ผ่าน √ ผ่าน 11 ผา่ น
14 เดก็ หญงิ แพรวา ศรวี รี ะ
15 เดก็ หญิงจิรภา หลา้ รอด 11 ผา่ น √ ผา่ น √ ผา่ น 11 ผ่าน
16 เด็กหญิงอญั ชสิ า บุตรจนั
17 เด็กหญิงช่นื นภา สีสอด 10 ผา่ น √ ผ่าน √ ผา่ น 10 ผา่ น
18 เดก็ ชายญาณกร รัตนประพิศ
19 เด็กชายคามนิ ผอ่ งพุฒ 9 ผ่าน √ ผ่าน √ ผ่าน 9 ผ่าน
20 เดก็ หญิงณชิ ชา สุทธริ ส
21 เดก็ หญิงกชพร ย้มิ แยม้ 10 ผ่าน √ ผ่าน √ ผา่ น 10 ผ่าน
22 เดก็ หญิงวรรษชล สหี ะนาม
9 ผา่ น √ ผา่ น √ ผา่ น 9 ผ่าน

9 ผ่าน √ ผ่าน √ ผา่ น 9 ผ่าน

11 ผา่ น √ ผา่ น √ ผา่ น 11 ผา่ น

11 ผา่ น √ ผา่ น √ ผ่าน 11 ผ่าน

10 ผ่าน √ ผา่ น √ ผ่าน 10 ผ่าน

9 ผ่าน √ ผ่าน √ ผา่ น 9 ผ่าน

9 ผา่ น √ ผ่าน √ ผ่าน 9 ผา่ น

10 ผา่ น √ ผา่ น √ ผ่าน 10 ผา่ น

9 ผา่ น √ ผ่าน √ ผา่ น 9 ผ่าน

10 ผ่าน √ ผ่าน √ ผา่ น 10 ผา่ น

11 ผ่าน √ ผา่ น √ ผ่าน 11 ผา่ น

9 ผ่าน √ ผ่าน √ ผา่ น 9 ผ่าน

9 ผา่ น √ ผา่ น √ ผา่ น 9 ผ่าน

11 ผ่าน √ ผา่ น √ ผ่าน 11 ผา่ น

เกณฑก์ ารให้คะแนน

คะแนน 10 - 12 อยใู่ นระดบั 4 มรี ะดบั คุณภาพ ดมี าก คะแนนตามรูบริคส์เป็นร้อยละ 80 – 100 ของคะแนนเตม็
คะแนน 7 - 9 อย่ใู นระดับ 3 มีระดับคุณภาพ ดี คะแนนตามรบู ริคสเ์ ป็นร้อยละ 60 – 75 ของคะแนนเตม็
คะแนน 4 - 6 อยูใ่ นระดบั 2 มรี ะดับคุณภาพ พอใช้ คะแนนตามรบู ริคสเ์ ปน็ ร้อยละ 50 – 59 ของคะแนนเต็ม
คะแนน 0 - 3 อยใู่ นระดับ 1 มีระดับคุณภาพ ปรับปรุง คะแนนตามรูบรคิ ส์เป็นรอ้ ยละ 50 – 59 ของคะแนนเตม็

หมายเหตุ : คะแนนรวมตอ้ งผ่านระดับ 3 ขนึ้ ไป ถือวา่ ผ่าน

• นกั เรยี นที่ไม่ผ่าน K จำนวน........คน ครผู ูส้ อนมอบหมายใหน้ กั เรียน.....................................แล้ว
• นกั เรียนท่ีไมผ่ า่ น P จำนวน........คน ครผู ู้สอนมอบหมายใหน้ กั เรียน.....................................แล้ว
• นักเรยี นที่ไม่ผา่ น A จำนวน........คน ครูผูส้ อนมอบหมายให้นักเรยี น.....................................แล้ว

ลงช่ือ ............ภ...ัค...จ...ิร..า.....ย..อ...ด..ร...ัก............... ผู้สอน

( นางสาวภัคจริ า ยอดรกั )

ส่ือการเรยี นร้แู ผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 23:
สถานการณ์จำลอง โปรแกรมออนไลน์ เรื่อง ความโนม้ ถ่วงและวงโคจร

เข้าถึงโปรแกรมออนไลน์จาก: https://phet.colorado.edu/sims/html/gravity-and-orbits/latest/gravity-
and-orbits_th.html

กจิ กรรมที่4 / ใบงานท่ี คะแนนรวม

ขนาดของแรงโนม้ ถว่ งขน้ึ อยู่กบั อะไร

จดุ ประสงค์ วิเคราะห์ข้อมูล เขียนกราฟ และอธิบายปัจจยั ที่มผี ลต่อขนาดของแรงโน้มถ่วง
วัสดอุ ุปกรณ์ อปุ กรณเ์ คร่ืองเขยี น และกระดาษกราฟ
วิธดี ำเนนิ กิจกรรม
1. วิเคราะหก์ ราฟและอธบิ ายความสัมพันธร์ ะหวา่ งนำ้ หนกั ของคนที่มีมวล 50 กิโลกรมั กบั ระยะห่างจากคนถึงจดุ

ศนู ย์กลางของโลก บันทึกผล

กราฟความสัมพันธร์ ะหว่างนำ้ หนกั ของคนทม่ี ีมวล 50 กโิ ลกรัม
กับระยะหา่ งจากคนถึงจุดศูนย์กลางของโลก

2. วเิ คราะข้อมูลนำ้ หนักของคนทมี่ มี วล 50 กิโลกรมั เม่ือยู่ ณ ตำแหน่งทห่ี า่ งจากจุดศูนย์กลางดาวเคราะห์ต่าง ๆ
10,000 กิโลเมตร ในตาราง
3. เขียนกราฟจากข้อมลู ในตารางและวเิ คราะห์ความสัมพนั ธร์ ะหว่างน้ำหนกั ของคนทมี่ ีมวล 50 กโิ ลกรัม กับมวล
ของดาวเคราะห์ บนั ทกึ ผล

ตาราง นำ้ หนกั ของคนที่มีมวล 50 กิโลกรมั เม่อื อยู่ ณ ตำแหน่งทหี่ า่ งจากจดุ ศูนยก์ ลางดาวเคราะห์ตา่ ง ๆ

10,000 กโิ ลเมตร

ช่ือดาวเคราะห์ มวลของดาว (1024kg) นำ้ หนักของคน (N)

พุธ 0.330 11.0

ศุกร์ 4.87 162.5

โลก 5.97 199.0

อังคาร 0.642 21.4

**ครูควรลองเขยี นกราฟดว้ ยตวั เองกอ่ นเพือ่ ทราบว่าควรเขยี นกราฟอย่างไรใหถ้ ูกต้องและเหมาะสม**

คำถามทา้ ยกจิ กรรม

1. ขนาดของแรงโนม้ ถว่ งกบั น้ำหนกั ของคนมคี วามสัมพนั ธ์กนั อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
2. ระยะห่างจากจุดศูนยก์ ลางของโลกและมวลของดาวเคราะห์มีผลต่อขนาดของแรงโน้มถ่วงอยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
3. จากกิจกรรมนี้สรปุ ได้วา่ อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

แบบบันทกึ การคน้ คว้ากิจกรรมท่ี 4.1 คะแนนรวม

ขนาดของแรงโนม้ ถว่ งขน้ึ อย่กู บั อะไร

ช่ือ-นามสกุล..........................................................................................ชนั้ .................เลขที่...........กลมุ่ ท.่ี ......

 บันทึกผลการทำกจิ กรรม
จากการวิเคราะห์กราฟความสมั พันธร์ ะหว่างน้ำหนักของคนท่มี ีมวล 50 กิโลกรัม กบั ระยะหา่ งจากคนถงึ

จดุ ศนู ย์กลางของโลก พบวา่ ......................................................................................................................................ซงึ่
นำ้ หนกั ของคนกค็ ือแรงโน้มถ่วงทีโ่ ลกกระทำตอ่ คน ดงั นั้นจงึ ได้ความสมั พันธ์วา่ ……………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
 เขยี นกราฟจากผลการทำกจิ กรรม
เขยี นกราฟและวเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธข์ องนำ้ หนกั ของคนท่มี ีมวล 50 กิโลกรัม กับมวลของดาวเคราะห์
แต่ละดวง เมือ่ อย่หู า่ งจากดาวเคราะหเ์ ปน็ ระยะหา่ ง 10,000 กิโลเมตร ไดด้ งั ภาพ

จากกราฟพบวา่ ..........................................................................................................................................

เฉลย กจิ กรมท่ี 4.1 ขนาดของแรงโน้มถว่ งข้นึ อยู่กับอะไร

 บันทึกผลการทำกิจกรรม
จากการวเิ คราะหก์ ราฟความสมั พนั ธ์ระหว่างน้ำหนกั ของคนทีม่ มี วล 50 กิโลกรัม กบั ระยะหา่ งจากคนถึง

จดุ ศนู ยก์ ลางของโลก พบวา่ ย่ิงระยะหา่ งเพ่มิ มากขนึ้ นำ้ หนกั ของคนยงิ่ ลดลง
ซงึ่ นำ้ หนกั ของคนก็คอื แรงโน้มถ่วงที่โลกกระทำตอ่ คน ดังนนั้ จงึ ไดค้ วามสมั พนั ธว์ า่ ยิง่ ระยะห่างเพิม่ มากขน้ึ แรงโน้ม
ถ่วงย่งิ ลดลง
 เขียนกราฟจากผลการทำกิจกรรม
เขียนกราฟและวเิ คราะห์ความสมั พนั ธข์ องน้ำหนักของคนทม่ี ีมวล 50 กิโลกรมั กบั มวลของดาวเคราะห์
แตล่ ะดวง เมือ่ อยหู่ า่ งจากดาวเคราะห์เป็นระยะหา่ ง 10,000 กโิ ลเมตร ได้ดงั ภาพ

จากกราฟพบว่า พบว่าย่ิงมวลของดาวเพ่มิ มากขึ้นนำ้ หนกั ของคนหรือแรงโนม้ ถ่วงก็จะมากขน้ึ เช่นกัน

เฉลยใบกจิ กรรมท่ี 4.1 ขนาดของแรงโนม้ ถ่วงขนึ้ อยู่กบั อะไร

เฉลยคำถามท้ายกิจกรรม

1. ขนาดของแรงโนม้ ถ่วงกับน้ำหนกั ของคนมีความสมั พนั ธ์กนั อย่างไร
แนวคำตอบ นำ้ หนักของคนกค็ ือแรงโน้มถว่ งที่โลกหรอื ดาวกระทำตอ่ คนนั่นเอง

2. ระยะห่างจากจุดศูนย์กลางของโลกและมวลของดาวเคราะห์มีผลต่อขนาดของแรงโนม้ ถ่วงอยา่ งไร
แนวคำตอบ ยิง่ ระยะหา่ งจากจดุ ศนู ยก์ ลางของโลกเพ่ิมมากขึ้น ขนาดของแรงโนม้ ถว่ งยง่ิ ลดลง และยิ่งมวล

ของดาวเคราะห์เพมิ่ มากขน้ึ ขนาดของแรงโน้มถ่วงย่งิ มากขึน้

3. จากกิจกรรม สรปุ ได้วา่ อย่างไร
แนวคำตอบ ขนาดของแรงโนม้ ถ่วงสัมพันธ์กบั ระยะหา่ งจากจุดศูนย์กลางของโลกและมวลของดาวเคราะห์

นั้นคอื ขนาดของแรงโน้มถ่วงจะลดลงเม่ือระยะหา่ งจากจดุ ศนู ยก์ ลางของโลกมากขน้ึ ท่ีมวลคงที่ และขนาดของแรง
โนม้ ถ่วงจะมากขน้ึ เมอื่ มวลของดาวเคราะห์มากข้ึนที่ระยะหา่ งคงท่ี



แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 24

กลุม่ สาระวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ 1/2564 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 คลนื่ และแสง เวลา 24 คาบ

เร่ือง การเกดิ ฤดกู าล เวลา 2 คาบ

ผสู้ อน นางสาวภัคจริ า ยอดรกั โรงเรยี นสาธิต มหาวิทยาลัยราชภฏั อตุ รดติ ถ์

วันที่ 20 เดอื น กนั ยายน พ.ศ. 2564 ม.3/1

วนั ที่ 21 เดอื น กนั ยายน พ.ศ. 2564 ม.3/2

1. มาตรฐานการเรียนรู้
สาระท่ี 3 วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว 3.1 ว 3.1 เขา้ ใจองค์ประกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด และววิ ัฒนาการของเอกภพกาแลก็ ซี
ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธภ์ ายในระบบสรุ ิยะที่ส่งผลตอ่ สิง่ มชี ีวิต และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
อวกาศ
2. ตัวชี้วัด

ว 3.1 ม.3/2 สรา้ งแบบจำลองทอ่ี ธิบายการเกิดฤดู และการเคล่ือนทป่ี รากฏของดวงอาทิตย์
3. จุดประสงค์การเรยี นรู้

ด้านความรู้ (K)
1. นกั เรียนอธิบายการเกิดฤดูและการเคลอ่ื นท่ีปรากฏของดวงอาทติ ย์ได้

ดา้ นทักษะและกระบวนการ (P)
2. นกั เรียนมที กั ษะการจดั กระทำและสือ่ ความหมายข้อมลู โดยนำขอ้ มลู ทไ่ี ด้
จากการสบื คน้ และสงั เกตแบบจำลอง มาจัดกระทำและนำเสนอเกีย่ วกับการเกดิ ฤดูของโลกได้
ด้านคณุ ลักษณะ (A)
3. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้

4. สาระสำคญั
โลกหมนุ รอบตัวเองโดยแกนหมุนของโลกเอยี ง ขณะเดยี วกันกโ็ คจรรอบดวงอาทติ ยใ์ นลกั ษณะที่แกนหมนุ

ของโลกเอยี งคงท่ี เมือ่ โลกโคจรไปทต่ี ำแหนง่ ตา่ ง ๆ รอบดวงอาทิตยจ์ ะทำให้บริเวณต่าง ๆ บนโลกได้รบั ปริมาณแสง
จากดวงอาทิตยแ์ ตกตา่ งกนั เกดิ เป็นฤดกู าลโลก และการที่แกนหมุนของโลกเอยี งยังทำใหเ้ กดิ ปรากฏการณ์การ
เปลย่ี นแปลงตำแหน่งการข้นึ และตกของดวงอาทิตย์ทข่ี อบฟ้า ดงั น้ันเส้นทางการข้ึนและตกของดวงอาทติ ย์จึง

เปล่ียนแปลงไปทุกวัน นอกจากนย้ี งั ทำใหร้ ะยะเวลากลางวนั กลางครนื เกือบทง้ั ปียาวไม่เทา่ กัน ซงึ่ ส่งผลต่อการ
ดำรงชวี ติ ของส่ิงมชี ีวิตบนโลก

5. สาระการเรยี นรู้
การเกดิ ฤดูของโลก

6. กิจกรรมการเรียนรู้
ข้ันสร้างความสนใจ (Engagement)

1) ครทู บทวนความรเู้ ดิมของนักเรยี น
2) ให้นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม จุดประสงค์ และวิธีดำเนินกิจกรรม ครูตรวจสอบความเข้าใจจากการอ่าน
โดยใช้คำถาม ดังตอ่ ไปนี้ (A4 1.4)
• กิจกรรมนเ้ี กีย่ วกบั เรือ่ งอะไร (การเกดิ ฤดูของโลก)
• กจิ กรรมนี้มจี ุดประสงค์อะไร (สร้างแบบจำลองเพือ่ อธิบายการเกดิ ฤดูของโลก)
• วธิ ีดำเนินกจิ กรรมมีข้นั ตอนโดยสรุปอย่างไร (สังเกตลักษณะของลูกโลก แล้วฉายไฟฉายไปยังบริเวณต่าง
ๆ บนลูกโลก อภิปรายลักษณะการตกกระทบของแสงบนผิวลูกโลก จากนั้นวาดรูปแสดงวงโคจรของโลกและระบุ
ตำแหน่งของโลก 4 ตำแหน่ง คาดคะเนว่าเม่ือโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์โดยแกนของโลกเอียงคงที่ในแต่ละตำแหน่ง
บริเวณซีกโลกเหนือและซีกโลกใตจ้ ะได้รับแสงตกกระทบในลักษณะใดและเป็นฤดูอะไร และทำกิจกรรมตรวจสอบ
การคาดคะเน โดยเปิดไฟฉายให้แสงส่องไปยงั ลกู โลกในขณะโลกเคล่อื นท่ีรอบดวงอาทิตย์ในลักษณะที่แกนของโลก
เอยี งคงที่ สังเกตลกั ษณะการตกกระทบของแสงบนซกี โลกเหนอื และซีกโลกใต้ เพ่อื อธบิ ายสาเหตุการเกิดฤด)ู ครูควร
บนั ทึกขน้ั ตอนการทำกิจกรรมโดยเขียนสรุปไว้บนกระดาน
• ขอ้ ควรระวงั ในการทำกิจกรรมมีอะไรบา้ ง (ขณะเคล่ือนโลกใหโ้ คจรรอบดวงอาทิตย์ ควรระวงั ให้แกนของ
โลกเอยี งคงท่ีตามภาพในหนงั สือเรยี น ส่วนการสงั เกตลกั ษณะการตกกระทบของแสง หากนักเรยี นไม่สามารถสังเกต
ได้ ครูอาจทบทวนเรื่องการเคลื่อนที่ของแสง โดยเส้นรังสีของแสงเคลื่อนที่ออกจากแหล่งกำเนิดเป็นเส้นตรง ถ้า
นกั เรยี นไมส่ ามารถจินตนาการได้ ครูอาจวาดรปู หรือใช้ดินสอแทนเสน้ รังสีของแสง)
• นักเรยี นตอ้ งสงั เกตหรือรวบรวมขอ้ มูลอะไรบ้าง (สงั เกตลกั ษณะของแสงที่ตกกระทบลูกโลกเมื่อโลกโคจร
รอบดวงอาทิตย์ บริเวณเสน้ ศนู ย์สูตร บรเิ วณเหนือศูนย์สูตรทงั้ ซีกโลกเหนอื และซกี โลกใต้ ขณะเมื่อโลกโคจรรอบดวง
อาทิตยโ์ ดยสังเกตว่าบริเวณใดแสงตกตรงหรือตกเฉียง เพ่ือคาดคะเนพลงั งานตอ่ หน่ึงหนว่ ยพ้นื ทีบ่ นผิวโลก อุณหภูมิ
และฤดูทีเ่ กดิ ข้ึน)

ขัน้ สำรวจและคน้ หา (Exploration)
3) ให้นักเรียนทำกิจกรรม และครูสังเกตการทำกิจกรรมของนกั เรียนแต่ละกลมุ่ และใหค้ ำแนะนำหรือตอบมี
ข้อสงสัยในประเด็นต่าง ๆ เช่น การหมุนไฟฉาย การเคลื่อนลูกโลกไปตามวงโคจรต้องให้แกนของลูกโลกเอียงคงที่
และเน้นย้ำให้นกั เรียนถือไฟฉายให้ขนานกบั พื้นแล้วสังเกตลักษณะของแสงที่ตกกระทบบนลูกโลกบริเวณเส้นศูนย์

สตู รและบรเิ วณเหนอื ศูนยส์ ูตรทั้งซกี โลกเหนอื และซกี โลกใต้ว่าบริเวณใดตกตรงหรอื ตกเฉียง จากน้นั อภิปรายรว่ มกัน
วา่ ทงั้ 4 ตำแหน่งทโ่ี ลกโคจรไป แตล่ ะตำแหน่งจะมอี ณุ หภมู มิ ากนอ้ ยตา่ งกันอย่างไรและนา่ จะเกิดฤดใู ด

ขน้ั อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation)
4) ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทำกิจกรรม ตอบคำถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันสรุปผลของ
กิจกรรมโดยใช้คำถามทา้ ยกจิ กรรมเปน็ แนวทาง เพื่อให้ได้ข้อสรปุ จากกิจกรรมว่า เมื่อโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ใน
ลกั ษณะทีแ่ กนโลกเอียงทำมมุ คงทก่ี บั เส้นตง้ั ฉากกับระนาบทางโคจรรอบดวงอาทิตย์ แตล่ ะตำแหนง่ ที่โลกโคจรรอบ
ดวงอาทติ ยซ์ ีกโลกเหนอื และซกี โลกใตไ้ ดร้ บั แสงจากดวงอาทิตย์ในลกั ษณะที่แตกต่างกนั โดยบริเวณทแี่ สงตกต้ังฉาก
ไดร้ ับพลงั งานต่อหนึง่ หน่วยพ้นื ที่และมีอณุ หภูมสิ ูงกว่าบริเวณทีไ่ ดร้ ับแสงตกเฉียง ทำใหเ้ กิดฤดแู ตกตา่ งกัน (B3 2.3,
C3 3.3)
ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration)
5) ให้นักเรยี นเรยี นรู้เพ่มิ เติมจากสือ่ อินเตอรแ์ อ็กทฟี ซมิ เู ลชัน ตอน การเกิดฤดู เพอ่ื เสรมิ ความเขา้ ใจ
6) ครูอาจอธบิ ายเช่อื มโยงความรู้เรอ่ื งฤดูกับความรู้ทางชวี วิทยาเพ่มิ เติมว่า ลักษณะของพชื พรรณส่วนใหญ่
จะมีการปรับตัวเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิของพื้นที่ซึ่งเปลี่ยนแปลงในรอบ 1 ปี โดยช่วงฤดูร้อน ต้นไม้ได้รับ
พลังงานแสงจากดวงอาทติ ยเ์ ตม็ ที่ อณุ หภูมิสูง ต้นไมจ้ ะมีใบสีเขยี วเตม็ ต้นเพือ่ ใช้ในการสังเคราะห์ดว้ ยแสง และเพ่ิม
การคายน้ำเพื่อรักษาอุณหภูมิโดยรอบต้น แต่เมื่อพลังงานแสงและอุณหภูมิลดต่ำลงในช่วงฤดูใบไม้รว่ ง ต้นไม้ส่วน
ใหญ่จงึ ผลัดใบโดยจะเปล่ยี นสีและร่วงหลน่ เมื่อเข้าสู่ฤดูหนาวซ่ึงมพี ลงั งานแสงคอ่ นข้างน้อยและอุณหภูมิต่ำ ต้นไม้
ส่วนใหญ่จะทิง้ ใบจนแทบไม่มีใบเหลือบนต้น เพื่อช่วยลดปฏิกิริยาเคมีที่จะเกิดขึ้นภายในและเกบ็ รักษาพลังงานให้
ต้นไม้มีชีวิตรอดในช่วงฤดหู นาว และเมื่อเข้าสูฤ่ ดูใบไม้ผลิที่พลังงานแสงมากขึ้น อุณหภูมิเริ่มสูงขึ้น ต้นไมจ้ ึงค่อย ๆ
ผลิดอกและใบ และจะมีใบเต็มต้นอีกคร้งั เมอื่ เขา้ สู่ฤดูรอ้ น (C5 3.5)
7) ให้นักเรยี นเรยี นรู้เพ่มิ เตมิ โดยอ่านเกร็ดนา่ รู้ในหนงั สอื เรยี นหนา้ 203 เก่ยี วกับความแตกต่างของฤดูของ
โลกและฤดูของประเทศไทย เพื่อให้ทราบความสัมพันธ์ระหว่างฤดูของโลกและการเกิดมรสุมซึ่งเกิดจากความ
แตกต่างของอุณหภูมขิ องพืน้ ทวีปและพื้นมหาสมทุ รบริเวณซกี โลกเหนือและซีกโลกใต้ในพื้นที่บรเิ วณเขตร้อน เป็น
ผลใหป้ ระเทศไทยมี 3 ฤดู ได้แก่ ฤดูรอ้ น ฤดูฝน และฤดหู นาว
ข้ันประเมนิ (Evaluation)
8) ครูตรวจสอบคำตอบท่นี กั เรยี นทำในกิจกรรม
9) ถ้าครูพบว่านักเรียนมีแนวคิดคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับเรื่องนี้จากการตอบคำถามก่อนเรียน ระหว่างเรียน
หรืออาจตรวจสอบโดยใช้กลวิธีต่าง ๆ ให้ครแู ก้ไขแนวคิดคลาดเคลอ่ื นนน้ั ให้ถกู ตอ้ ง
10) ครูเชื่อมโยงเข้าสู่กิจกรรมที่ 4.3 การเปลี่ยนตำแหน่งและเสน้ ทางการเคลื่อนท่ีปรากฏของดวงอาทิตย์
บนท้องฟ้าในรอบปี เกิดขึ้นได้อยา่ งไร โดยใช้คำถามเพอ่ื ใหน้ ักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายว่า การเคลอ่ื นที่ของโลกรอบดวง
อาทติ ยใ์ นลักษณะท่ีแกนโลกเอียงทำให้เกิดปรากฏการณอ์ ะไรอีกบ้างบนโลก โดยให้นกั เรยี นตอบจากประสบการณ์
เดิมและแนวคิดของตนเอง (A5 1.5)
7. สือ่ และแหล่งการเรียนรู้
- หนงั สือเรยี น

- Power point เรอื่ ง การเกดิ ฤดกู าล

8. การวัดผลและประเมินผล

จุดประสงค์ สมรรถนะ วิธกี ารวัด เครอ่ื งมอื การวัด เกณฑก์ ารประเมนิ
PISA

ดา้ นความรู้ (K)

1. นกั เรียนอธบิ ายการเกดิ ฤดูและ A5 1.5 ใบกิจกรรมที่ 4.3 เรื่อง การเกดิ ฤดูกาล

การเคลอื่ นท่ปี รากฏของดวง C2 3.2 คะแนนผา่ นการประเมนิ 70 % ขน้ึ ไป

อาทติ ย์ได้

ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)

2. นักเรยี นมีทกั ษะการจดั กระทำ B3 2.3 ตรวจการทำแบบ แบบบนั ทกึ การ ระดบั 2 ขนึ้ ไป จาก
และสอื่ ความหมายขอ้ มูล โดยนำ C5 3.5 บนั ทกึ ค้นคว้ากจิ กรรมที่ 4 ระดับ
ข้อมูลท่ีได้ จากการสืบคน้ และ การค้นคว้ากิจกรรม 4.3
สังเกตแบบจำลอง มาจัดกระทำ
และนำเสนอเก่ยี วกบั การเกิดฤดู ท่ี 4.3

ของโลกได้

ด้านคุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ (A) สังเกตพฤตกิ รรมใน แบบสังเกต ระดับ 2 ขน้ึ ไป จาก
3. มีความสนใจใฝ่เรยี นรู้ การทำงาน การ พฤติกรรม 4 ระดบั

ตอบคำถาม

ระดบั คุณภาพ

ประเด็นการประเมิน ระดบั 4 (ดีมาก) ระดับ 3 (ดี) ระดบั 2 (พอใช้) ระดับ 1
(ต้องปรับปรงุ )

ดา้ นความรู้ (K)

1. นักเรียนอธิบายการเกิดฤดู ให้ใบกจิ กรรมท่ี 4.3 เรอ่ื ง การเกดิ ฤดกู าล

และการเคลื่อนที่ปรากฏของ มีคะแนนผ่านการประเมนิ 70 % ข้นึ ไป

ดวงอาทติ ย์ได้

ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) - มีคณุ สมบัติ 4 - มคี ณุ สมบัติ 3 - มีคุณสมบัติ 2 - มีคณุ สมบัติ 1

2. นักเรียนมที กั ษะการจดั ใน 4 ของระดับ ใน 4 ของระดับ ใน 4 ของระดับ ใน 4 ของระดบั

กระทำและส่อื ความหมาย คณุ ภาพ คณุ ภาพ คุณภาพ คุณภาพ

ข้อมูล โดยนำขอ้ มูลทไ่ี ด้ จาก

การสืบคน้ และสังเกต

แบบจำลอง มาจดั กระทำและ

นำเสนอเกีย่ วกบั การเกิดฤดู

ของโลกได้

คุณสมบตั ิ

1.ใช้งานอุปกรณก์ าร

ทดลองในกจิ กรรมไดถ้ ูกวิธี

2. ยอมรบั ฟงั ความคิดเห็น

ของผอู้ ่นื

3. ผอู้ ืน่ เข้าใจ ไดอ้ ย่าง

รวดเรว็

4. ชัดเจนและถูกตอ้ ง

ดา้ นคุณลกั ษณะทพี่ งึ - มีคณุ สมบัติ 4 - มีคณุ สมบัติ 3 - มีคุณสมบตั ิ 2 - มีคุณสมบตั ิ 1

ประสงค์ (A) ใน 4 ของระดบั ใน 4 ของระดบั ใน 4 ของระดับ ใน 4 ของระดับ

3.ใฝเ่ รียนรู้ คุณภาพ คณุ ภาพ คณุ ภาพ คุณภาพ

คุณสมบตั ิ

1 .มคี วามสนใจ

กระตือรือร้นในการศกึ ษาหา

ความรู้

2. ให้ความร่วมมอื

ในขณะเรียน

3. มรี ับผดิ ชอบในการ

ทำงาน

4. มีความตรงตอ่ เวลา

9. เกณฑ์การประเมนิ ผล (รบู ริคส์)

เกณฑใ์ นการตัดสินระดบั คุณภาพนักเรียนจากคะแนนรวมทง้ั หมด

กำหนดระดบั คณุ ภาพผลการเรียนรรู้ ว่ มกันทุกด้านเป็น 4 ระดบั คือ ดมี าก ดี พอใช้ และปรับปรงุ

กำหนดเกณฑ์ในการประเมนิ ดังนี้

ระดับคุณภาพดมี าก 17 – 18 คะแนน

ระดบั คณุ ภาพดี 14 – 16 คะแนน

ระดับคณุ ภาพพอใช้ 10 – 13 คะแนน

ระดบั คณุ ภาพปรับปรุง นอ้ ยกว่า 10 คะแนน

บันทึกท้ายแผนการจดั การเรียนรู้
1. ผลการจัดประสบการณ์เรียนรู้ (ช้ใี ห้เห็นถงึ ผลทเ่ี กดิ กบั ผเู้ รียนตามจดุ ประสงค์หรือตัวชว้ี ัดทีก่ ำหนดในแผน)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

2. ปัญหา/อปุ สรรค (คอื ปญั หาท่ีพบจากการจัดกิจกรรมการเรียนร)ู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการแก้ไข (ครูเสนอแนะทางแก้ไขของปัญหาทพ่ี บในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู)้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ลงชอ่ื ..................................................... ผ้บู นั ทึก
(นางสาวภัคจริ า ยอดรัก)

………/……………………../…………

บันทึกความเห็นของครพู เี่ ล้ียง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ลงช่ือ ..................................................... ผบู้ ันทกึ
(นางสาวภาณุมาศ จนั ทร)
ครพู ่ีเลี้ยง

………/……………………../…………



ตารางการประเมนิ ผลการจดั การเรยี นรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 24 เร่ือง การเกดิ ฤดกู าล
นักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3/1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลบั ราชภฏั อุตรดิตถ์
คำชแี้ จง ให้ผ้สู อนทำเครอ่ื งหมาย √ ลงในรายการตามความเป็นจรงิ

K P A รวม สรุป หมาย
(ผา่ น/ เหตุ
(Knowledge) (Psychomotor) (Attribute) คะแนน ไม่ผ่าน)

ชื่อ-นามสกุล คะแนนผ่านเกณฑ์ คะแนนผา่ นเกณฑ์ คะแนนผา่ นเกณฑ์ ผา่ น
ผ่าน
เลขท่ี คะแนนเต็ม รอ้ ยละ 70 ขน้ึ ไป ระดบั 2 ข้ึนไป ระดับ 2 ข้นึ ไป ผา่ น
ผ่าน
1 เด็กชายพสษิ ฐ์ แพรนิมติ ร คะแนน ผ่าน/ 4 3 2 1 ผา่ น/ 4 3 2 1 ผา่ น/ คะแนน ผ่าน
2 เด็กหญิงวศินีธรณ์ หะรเี มา ผา่ น
3 เด็กชายศภุ กร มูลคำ 12 ไม่ ไมผ่ ่าน ไม่ผา่ น 12 ผา่ น
4 เดก็ หญงิ ธมี าพร ทองเจริญ ผ่าน
5 เด็กชายนฤพนธ์ุ สุทธะตัง้ ผ่าน ผ่าน
6 เดก็ ชายพนั ธร์ ะพี พรี ะพันธ์ ผา่ น
7 เดก็ ชายนครศักดิ์ ศรีทพิ ย์ 10 ผา่ น √ ผ่าน √ ผา่ น 10 ผ่าน
8 เด็กหญิงธัญญากร ทองเพ็ชร์ ผ่าน
9 เด็กชายจิณณวตั ร ศรีขำมี 10 ผา่ น √ ผา่ น √ ผา่ น 10 ผา่ น
10 เด็กชายภัทรศวัฒ โทนโนนแดง ผา่ น
11 เด็กชายรวิภาส ฐติ าคม 9 ผา่ น √ ผ่าน √ ผา่ น 9 ผ่าน
12 เด็กชายกฤษฎา ปานแดง ผ่าน
13 เดก็ ชายรณกร บูรณะถาวร 10 ผ่าน √ ผา่ น √ ผ่าน 10
14 เดก็ หญงิ บุญฑรกิ า ท่าดี ผา่ น
15 เดก็ หญงิ อนญั ญา แสงพานชิ 9 ผา่ น √ ผา่ น √ ผา่ น 9 ผา่ น
16 เดก็ ชายณฐั ธพงษ์ ธนเดชสริ ิ ผ่าน
11 ผ่าน √ ผา่ น √ ผา่ น 11 ผา่ น
พงศ์
17 เด็กหญิงลกั ษิกา โชคดี 10 ผา่ น √ ผา่ น √ ผ่าน 10 ผา่ น
18 เด็กชายฤทธิภ์ ูบดี หะรีเมา
19 เดก็ ชายอัครชยั ทบั ผดงุ 11 ผา่ น √ ผ่าน √ ผ่าน 11
20 เดก็ หญงิ ปุริมปรชั ญ์ เจริญเชาว์
10 ผา่ น √ ผ่าน √ ผ่าน 10
วัฒน
21 เดก็ หญงิ นภสร บญุ ประเสริฐ 11 ผา่ น √ ผา่ น √ ผ่าน 11

9 ผ่าน √ ผา่ น √ ผา่ น 9

9 ผา่ น √ ผา่ น √ ผ่าน 9

11 ผ่าน √ ผ่าน √ ผา่ น 11

11 ผ่าน √ ผา่ น √ ผ่าน 11

10 ผ่าน √ ผ่าน √ ผา่ น 10

10 ผา่ น √ ผา่ น √ ผา่ น 10

9 ผ่าน √ ผา่ น √ ผา่ น 9
11 ผ่าน √ ผ่าน √ ผา่ น 11
10 ผา่ น √ ผา่ น √ ผ่าน 10
10 ผา่ น √ ผ่าน √ ผ่าน 10

9 ผ่าน √ ผา่ น √ ผ่าน 9

22 นายธนภัทธ์ หลอ่ หลอม 9 ผา่ น √ ผา่ น √ ผา่ น 9 ผ่าน
23 เด็กชายภูผา นาคหลวง 10 ผา่ น √ ผา่ น √ ผ่าน 10 ผา่ น

เกณฑ์การให้คะแนน

คะแนน 10 - 12 อย่ใู นระดับ 4 มรี ะดับคุณภาพ ดมี าก คะแนนตามรบู ริคส์เป็นรอ้ ยละ 80 – 100 ของคะแนนเตม็
คะแนน 7 - 9 อยูใ่ นระดบั 3 มรี ะดบั คุณภาพ ดี คะแนนตามรูบรคิ ส์เป็นร้อยละ 60 – 75 ของคะแนนเตม็
คะแนน 4 - 6 อยู่ในระดบั 2 มีระดับคุณภาพ พอใช้ คะแนนตามรูบริคสเ์ ป็นรอ้ ยละ 50 – 59 ของคะแนนเตม็
คะแนน 0 - 3 อยใู่ นระดบั 1 มรี ะดบั คณุ ภาพ ปรบั ปรุง คะแนนตามรูบริคส์เป็นร้อยละ 50 – 59 ของคะแนนเตม็

หมายเหตุ : คะแนนรวมต้องผ่านระดบั 3 ข้ึนไป ถอื วา่ ผ่าน

• นกั เรียนทีไ่ ม่ผา่ น K จำนวน........คน ครผู ้สู อนมอบหมายใหน้ กั เรียน.....................................แลว้
• นักเรยี นท่ีไม่ผา่ น P จำนวน........คน ครูผู้สอนมอบหมายใหน้ กั เรียน.....................................แล้ว
• นักเรยี นท่ีไม่ผา่ น A จำนวน........คน ครผู ู้สอนมอบหมายให้นกั เรยี น.....................................แลว้

ลงชื่อ ..................................................... ผู้สอน
( นางสาวภัคจริ า ยอดรกั )

ตารางการประเมนิ ผลการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 24 เรื่อง การเกดิ ฤดูกาล
นกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3/2 โรงเรยี นสาธติ มหาวิทยาลับราชภัฏอตุ รดติ ถ์
คำชแี้ จง ให้ผู้สอนทำเคร่ืองหมาย √ ลงในรายการตามความเป็นจริง

K P A รวม สรปุ หมาย

(Knowledge) (Psychomotor) (Attribute) คะแนน (ผ่าน/ เหตุ

ชอ่ื -นามสกลุ คะแนนผา่ นเกณฑ์ คะแนนผา่ นเกณฑ์ คะแนนผา่ นเกณฑ์ ไม่ผา่ น)

เลขท่ี คะแนนเตม็ ร้อยละ 70 ขึน้ ไป ระดับ 2 ขนึ้ ไป ระดบั 2 ขึ้นไป

1 เดก็ ชายสิรภพ วรรณการ คะแนน ผ่าน/ 4 3 2 1 ผา่ น/ 4 3 2 1 ผา่ น/ คะแนน
2 เดก็ หญงิ เสาวลกั ษณ์ ทบั ทอง
3 เดก็ ชายปิตคิ ณุ มีมา 12 ไม่ ไมผ่ ่าน ไม่ผ่าน 12
4 เด็กชายอคั รวนิ ท์ มาดคี าน
5 เด็กหญิงมีนา ก้อนทับทิม ผา่ น
6 เด็กชายฮามิน คิม
7 เด็กชายภทั รพงศ์ จันทรน์ อ้ ย 10 ผ่าน √ ผ่าน √ ผา่ น 10 ผ่าน
8 เด็กหญงิ ฑฆิ มั พร เขตตบรรพต
9 เด็กชายพิทยุตม์ เรอื งศรี 10 ผ่าน √ ผ่าน √ ผา่ น 10 ผา่ น
10 เดก็ ชายธนพัต ปญั ญา
11 เดก็ ชายอกุ ฎษฏ์ ตนั ตศิ ภุ รกั ษ์ 9 ผา่ น √ ผา่ น √ ผ่าน 9 ผา่ น
12 เด็กหญงิ ครองขวัญ ทบั ทิมแสง
13 เด็กชายชัยวัฒน์ กุณจ๋า 10 ผา่ น √ ผา่ น √ ผา่ น 10 ผ่าน
14 เด็กหญงิ แพรวา ศรวี ีระ
15 เดก็ หญิงจิรภา หลา้ รอด 10 ผา่ น √ ผ่าน √ ผา่ น 10 ผา่ น
16 เด็กหญิงอัญชิสา บตุ รจัน
17 เดก็ หญิงชนื่ นภา สีสอด 9 ผ่าน √ ผ่าน √ ผ่าน 9 ผา่ น
18 เด็กชายญาณกร รัตนประพิศ
19 เดก็ ชายคามนิ ผ่องพุฒ 9 ผ่าน √ ผา่ น √ ผ่าน 9 ผา่ น

10 ผ่าน √ ผา่ น √ ผ่าน 10 ผ่าน

9 ผา่ น √ ผา่ น √ ผา่ น 9 ผ่าน

10 ผา่ น √ ผา่ น √ ผา่ น 10 ผ่าน

9 ผ่าน √ ผา่ น √ ผา่ น 9 ผา่ น

10 ผา่ น √ ผา่ น √ ผา่ น 10 ผา่ น

11 ผ่าน √ ผา่ น √ ผา่ น 11 ผา่ น

9 ผ่าน √ ผา่ น √ ผา่ น 9 ผา่ น

11 ผา่ น √ ผา่ น √ ผ่าน 11 ผ่าน

9 ผา่ น √ ผา่ น √ ผา่ น 9 ผา่ น

9 ผ่าน √ ผา่ น √ ผ่าน 9 ผา่ น

9 ผ่าน √ ผ่าน √ ผ่าน 9 ผ่าน

9 ผ่าน √ ผา่ น √ ผ่าน 9 ผา่ น

20 เด็กหญงิ ณชิ ชา สุทธริ ส 9 ผา่ น √ ผา่ น √ ผ่าน 9 ผา่ น
21 เดก็ หญงิ กชพร ยิ้มแยม้ 10 ผ่าน √ ผา่ น √ ผ่าน 10 ผ่าน
22 เด็กหญงิ วรรษชล สีหะนาม 10 ผา่ น √ ผ่าน √ ผ่าน 10 ผ่าน

เกณฑ์การให้คะแนน

คะแนน 10 - 12 อยใู่ นระดบั 4 มีระดับคุณภาพ ดีมาก คะแนนตามรบู รคิ สเ์ ป็นร้อยละ 80 – 100 ของคะแนนเต็ม
คะแนน 7 - 9 อยู่ในระดับ 3 มีระดับคุณภาพ ดี คะแนนตามรบู รคิ ส์เปน็ รอ้ ยละ 60 – 75 ของคะแนนเตม็
คะแนน 4 - 6 อยใู่ นระดบั 2 มรี ะดบั คุณภาพ พอใช้ คะแนนตามรูบริคสเ์ ปน็ รอ้ ยละ 50 – 59 ของคะแนนเต็ม
คะแนน 0 - 3 อยู่ในระดับ 1 มรี ะดบั คุณภาพ ปรับปรงุ คะแนนตามรูบรคิ สเ์ ป็นรอ้ ยละ 50 – 59 ของคะแนนเต็ม

หมายเหตุ : คะแนนรวมตอ้ งผา่ นระดบั 3 ขน้ึ ไป ถอื วา่ ผ่าน

• นกั เรยี นท่ีไม่ผา่ น K จำนวน........คน ครูผ้สู อนมอบหมายใหน้ ักเรียน.....................................แล้ว
• นกั เรยี นทไ่ี มผ่ า่ น P จำนวน........คน ครผู ู้สอนมอบหมายให้นกั เรียน.....................................แล้ว
• นกั เรียนที่ไมผ่ า่ น A จำนวน........คน ครผู ูส้ อนมอบหมายใหน้ กั เรยี น.....................................แล้ว

ลงชอ่ื .............ภ...ัค...จ..ิร...า....ย...อ..ด...ร..ัก............... ผู้สอน

( นางสาวภัคจิรา ยอดรัก )

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 25

กลุ่มสาระวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี 1/2564 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 4 ระบบสรุ ยิ ะของเรา เวลา 15 คาบ

เร่ือง การเปลยี่ นตำแหนง่ และเส้นทางการเคล่ือนทป่ี รากฏของดวงอาทิตย์บน เวลา 2 คาบ

ทอ้ งฟ้า

ผู้สอน นางสาวภคั จิรา ยอดรัก โรงเรียนสาธติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุตรดติ ถ์

วนั ที่ 24 เดอื น กนั ยายน พ.ศ. 2564 ม.3/1

วันท่ี 24 เดอื น กนั ยายน พ.ศ. 2564 ม.3/2

1. มาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองคป์ ระกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และววิ ฒั นาการของเอกภพ กาแลก็ ซี่ ดาว
ฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ ที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
อวกาศ

2. ตวั ชีว้ ัด
ว 3.1 ม.3/2 สร้างแบบจําลองทอ่ี ธบิ ายการเกดิ ฤดู และ การเคล่ือนท่ีปรากฏของดวงอาทิตย์

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
ด้านความรู้ (K)
1. อธิบายความสัมพนั ธ์ของโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทติ ย์
ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ (P)
2. นักเรยี นสามารถใชเ้ ทคโนโลยีสบื คน้ และสรา้ งสรรคช์ ้นิ งานได้
ด้านคุณลกั ษณะ (A)
3. สนใจในการเรยี นรู้

4. สาระสำคัญ
การที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ในลักษณะที่ แกนโลกเอียงกับแนวตัง้ ฉากของระนาบทางโคจร ทำให้ส่วน

ตา่ งๆ บนโลกไดร้ บั ปริมาณแสงจาก ดวงอาทิตย์แตกต่างกนั ในรอบปีเกิดเปน็ ฤดู กลางวนั กลางคืนยาวไม่เท่ากัน และ
ตำแหนง่ การขน้ึ และตกของดวงอาทิตย์ท่ีขอบฟ้าและ เส้นทางการขนึ้ และตกของดวงอาทติ ย์เปลีย่ นไป ในรอบปีซ่ึง
ส่งผลตอ่ การดำรงชีวิต

5. สาระการเรยี นรู้
ปรากฎการณข์ องดวงอาทิตย์บนทอ้ งฟ้า

6. ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน
1. ความสามารถในการคดิ
2. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7. กจิ กรรมการเรยี นรู้

จดั กจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบสบื เสาะหาความรู้ 5E

ข้นั สรา้ งความสนใจ
1. ครนู ำเข้าบทเรยี นโดยตง้ั คำถาม ดงั ต่อไปน้ี
2. ครูชี้แจงจุดประสงค์การเรียนรู้ให้กับนักเรยี นไดร้ บั ทราบและให้ความรู้พื้นฐานเกีย่ วกับปรากฏการณ์ที่

เกิดจากโลกหมุนรอบตัวเอง จากนั้นนำลูกโลกจำลองและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มาให้
นักเรยี นดูเพ่ือดงึ ดูดความสนใจ ใหค้ วามรู้เบอ้ื งตน้ และครถู ามคำถามเพ่ือกระตนุ้ ความคดิ ของนักเรยี น (A1 1.1)

• ดวงอาทิตย์เกี่ยวข้องกับการเกิดกลางวันกลางคืนบนโลกอย่างไร (โลกหมุนรอบตวั เองส่วนของโลกที่
ได้รับแสงจากดวงอาทิตย์จะเป็นช่วงเวลากลางวนั ส่วนของโลกทีไ่ ม่ไดร้ บั แสงจากดวงอาทิตย์จะเป็น
ช่วงเวลากลางคืน)

• เมื่อเรายนื หนั หนา้ เขา้ หาดวงอาทิตยใ์ นตอนเยน็ ทิศทอ่ี ยู่ดา้ นหลังของเราจะเป็นทิศใด (ทิศตะวันออก)
ข้นั สำรวจและคน้ หา

1. ให้นักเรียนแบง่ กลุ่ม 3-4 คน ทำใบงานที่ 3 เรื่อง “การเกดิ ปรากฏการณ์ของโลก” เพื่ออธิบายเกีย่ วกับ
ความสมั พนั ธร์ ะหว่างโลก ดวงจนั ทร์ และดวงอาทติ ย์

2. นักเรียนนำขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการทดลอง มาอธิบายและอภิปรายรว่ มกนั ท้งั กล่มุ พร้อมทั้งบนั ทึกผลลงในใบ
งานท่ี 3 (C4 3.4)
ขั้นอธบิ ายและลงขอ้ สรุป

1. ครใู ห้นักเรียนร่วมกนั สรุปและอภปิ รายผลการทดลอง เรือ่ ง “การเกดิ ปรากฏการณข์ องโลก”
2. ครูสุม่ นกั เรยี นข้ึนมาอภิปรายผลการทดลองหนา้ ชั้นเรยี น

ขน้ั ขยายความรู้
1. ครูอธบิ ายเนอื้ หาเรอื่ ง “การคดิ ปฏทิ นิ ดวงจันทร”์ และ “การเกิดแสงตรงแสงเฉยี ง”
2. ครูกบั นกั เรียนรว่ มกันอภิปราย ในหวั ขอ้ ต่อไปนี้
1. ปฏทิ ินดวงจนั ทร์

2. แสงตรงแสงเฉยี ง
ข้ันประเมิน

ครูให้นักเรียนทำใบงานวาดแผนผัง เรือ่ ง “ การเกิดปรากฏการณข์ องโลก ” (C1 3.1)
8. ส่ือและแหลง่ เรยี นรู้
ส่ือการสอน

1. หนงั สือแบบเรียนรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ 6 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 สสวท.
2. ใบกิจกรรมท่ี 3 “ การเกิดปรากฏการณ์ของโลก ”
3. วิดีทศั น์ ปรากฏการณ์ของโลก https://www.youtube.com/watch?v=2UX1PSR1Re8
แหลง่ เรียนรู้
1. ห้องเรียน
2. หอ้ งสมดุ

9. การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้

1. กรอบการวัดและประเมินผล แต่ละจดุ ประสงค์การเรยี นรู้นำเสนอประเด็นทีท่ ำการวัด และประเมนิ ผล

วิธีการวดั และเครอื่ งมอื วัด ดงั ตาราง

ตาราง : แสดงกรอบการวดั และประเมนิ ผล

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ สมรรถนะ วธิ ีการวดั ผล เคร่อื งมือวัดผล เกณฑ์การประเมนิ ผล
PISA

ดา้ นความรู้ (K)

1. อธิบายความสัมพนั ธ์ของโลก A1 1.1 - การทำใบงาน - ใบงานที่ 3 การ - ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70

ดวงจนั ทร์ และดวงอาทิตย์ C2 3.2 ที่ 3 การเกดิ เกิดปรากฏการณ์ ขึน้ ไป : 7 คะแนน

ปรากฏการณ์ ของโลก จาก 10 คะแนน

ของโลก

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) ใบงานท่ี 3 การ ใหค้ ะแนนจากใบ - ได้คะแนนรบู ริคส์

2. สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสืบคน้ C1 3.1 เกดิ กจิ กรรม ต้งั แต่ 2 ข้นึ ไป

และสร้างสรรคช์ น้ิ งานได้ C4 3.4 ปรากฏการณ์

ของโลก

ด้านคุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ (A) สงั เกต แบบประเมนิ - ไดค้ ะแนนรบู รคิ ส์
3. มีความมงุ่ มน่ั ในการทำงาน พฤติกรรมใน การสงั เกตและ ตั้งแต่ 2 ขึน้ ไป
การทำงาน การ พฤตกิ รรม
ตอบคำถาม

2. เกณฑก์ ารให้คะแนนเกณฑร์ ูบริคส์ (Rubric Score) ให้คะแนนเป็นรายข้อของเกณฑร์ ูบรคิ ส์ ที่สร้างขึน้
สำหรบั การประเมนิ (Analytical Rubric Score )

ตาราง : แสดงเกณฑก์ ารให้คะแนนเกณฑร์ ูบรคิ ส์

ประเดน็ การประเมนิ 4 (ดีมาก) ระดบั คณุ ภาพ 1 (ปรบั ปรงุ )
3 (ด)ี 2 (พอใช)้

ดา้ นความรู้ (K) ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ 70 ข้ึนไป
1.อธิบายความสมั พนั ธข์ องโลก
ดวงจนั ทร์ และดวงอาทิตย์ - มีคณุ สมบตั ิ 4 - มคี ุณสมบตั ิ 3 - มคี ณุ สมบัติ 2 ใน - มีคุณสมบตั ิ 1
ดา้ นทกั ษะกระบวนการ(P) 4 ของระดับ ใน 4 ของระดบั
2.สามารถใช้เทคโนโลยสี ืบค้น ใน 4 ของระดับ ใน 4 ของระดบั คณุ ภาพ คุณภาพ
และสรา้ งสรรค์ชน้ิ งานได้
คณุ สมบตั ิ คุณภาพ คุณภาพ - มีคุณสมบัติ 1
ใน 4 ของระดับ
1. ภาษามีความถกู ตอ้ ง - มคี ุณสมบตั ิ 4 - มคี ณุ สมบตั ิ 3 - มคี ุณสมบตั ิ 2 ใน คณุ ภาพ
เหมาะสม 4 ของระดับ
ใน 4 ของระดับ ใน 4 ของระดับ คณุ ภาพ
2. ความครบถ้วนของ
ประเดน็ และความถูกตอ้ งของ คณุ ภาพ คุณภาพ
ข้อมูล

3. ความน่าเชื่อถอื ของ
แหลง่ ข้อมูลที่อ้างองิ

4. มคี วามคดิ สร้างสรรค์
ดา้ นคณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์
(A)
3.มคี วามมุง่ มน่ั ในการทำงาน
คณุ สมบตั ิ

1. มีความสนใจกระตอื รือรน้
ในการศึกษาหาความรู้

2. ใหค้ วามร่วมมอื ในขณะ
เรียน

3. มีรับผดิ ชอบในการทำงาน
4. มคี วามตรงต่อเวลา

3. เกณฑป์ ระเมินระดบั คุณภาพผลการเรียนรู้ กำหนดระดบั คณุ ภาพผลการเรียนรู้ร่วมกันทุกดา้ นเปน็ 4 ระดบั คือ ดี

มาก ดี พอใช้ และปรบั ปรงุ แต่ละระดบั กำหนดเกณฑป์ ระเมนิ ตามคะแนนเกณฑร์ บู รคิ ส์ ดังนี้

ระดบั คุณภาพดมี าก มคี ะแนนตามเกณฑร์ ูบริคส์ร้อยละ 80 – 100 ของคะแนนเตม็

ระดับคณุ ภาพดี มคี ะแนนตามเกณฑ์รูบริคส์ร้อยละ 70 – 79 ของคะแนนเตม็

ระดับคุณภาพพอใช้ มคี ะแนนตามเกณฑร์ บู รคิ สร์ ้อยละ 60 – 69 ของคะแนนเต็ม

ระดบั คุณภาพปรับปรงุ มีคะแนนตามเกณฑร์ บู รคิ สน์ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม

4. เกณฑก์ ารตดั สินระดับคณุ ภาพนักเรียนจากคะแนนรวมทัง้ หมด

ระดบั บคุ คล นกั เรยี นมีผลงานอย่ใู นระดับ ดี ถอื ว่า ผา่ น (ประกันผลการเรยี นรขู้ องนกั เรียน)

ระดับกลมุ่ นกั เรียนมผี ลงานอย่ใู นระดบั ดี ไม่ตำ่ กวา่ ร้อยละ 70 ของจำนวนนกั เรยี นทง้ั หมด

ถือวา่ การจัดประสบการณเ์ รียนรตู้ ามแผนการจดั การเรียนรูป้ ระสบผลสำเร็จ

5. เกณฑ์การตดั สินคะแนนเกบ็ จำนวนคะแนนเกบ็ 10 คะแนน จากคะแนนรวมทง้ั หมด 100 คะแนน

กำหนดวิธีการคิดคะแนนเก็บ ดงั น้ี

จำนวนคะแนนเก็บ = (จำนวนคะแนนท่ีต้องการ × จำนวนคะแนนรวมทกุ กจิ กรรมของนกั เรยี นแต่ละคน)
คะแนนรวมทกุ กิจกรรมทั้งหมดของทกุ กจิ กรรม



ตารางการประเมินผลการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 25 เรอ่ื ง การเปลี่ยนตำแหน่งและเส้นทางการเคลือ่ นท่ปี รากฏของดวงอาทิตย์บนทอ้ งฟ้า

นกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3/1 โรงเรียนสาธติ มหาวิทยาลบั ราชภฏั อุตรดิตถ์
คำช้ีแจง ให้ผ้สู อนทำเคร่อื งหมาย √ ลงในรายการตามความเปน็ จรงิ

KP A รวม สรปุ หมาย
คะแนน (ผ่าน/ เหตุ
(Knowledge) (Psychomotor) (Attribute) ไมผ่ ่าน)
คะแนน
ช่อื -นามสกลุ คะแนนผ่าน คะแนนผ่านเกณฑ์ คะแนนผ่านเกณฑ์ 12 ผา่ น
ผ่าน
เลขท่ี คะแนนเต็ม เกณฑ์ร้อยละ 70 ระดบั 2 ข้ึนไป ระดับ 2 ขน้ึ ไป 9 ผ่าน
10 ผ่าน
1 เดก็ ชายพสิษฐ์ แพรนมิ ติ ร ขึ้นไป 9 ผา่ น
2 เด็กหญงิ วศนิ ีธรณ์ หะรเี มา 10 ผา่ น
3 เดก็ ชายศุภกร มลู คำ คะแนน ผา่ น/ 4 3 2 1 ผ่าน/ 4 3 2 1 ผ่าน/ 9 ผ่าน
4 เด็กหญงิ ธมี าพร ทองเจริญ 10 ผา่ น
5 เดก็ ชายนฤพนธ์ุ สทุ ธะตงั้ 12 ไม่ ไม่ ไม่ 9 ผา่ น
6 เดก็ ชายพนั ธร์ ะพี พรี ะพนั ธ์ 11 ผา่ น
7 เด็กชายนครศกั ดิ์ ศรที ิพย์ ผ่าน ผ่าน ผา่ น 10 ผ่าน
8 เดก็ หญิงธัญญากร ทองเพ็ชร์ 11 ผา่ น
9 เด็กชายจณิ ณวตั ร ศรขี ำมี 9 ผ่าน √ ผา่ น √ ผ่าน 9 ผา่ น
10 เด็กชายภทั รศวฒั โทนโนนแดง 10 ผา่ น
11 เดก็ ชายรวภิ าส ฐิตาคม 10 ผา่ น √ ผา่ น √ ผา่ น 9 ผา่ น
12 เดก็ ชายกฤษฎา ปานแดง 10 ผ่าน
13 เด็กชายรณกร บูรณะถาวร 9 ผ่าน √ ผา่ น √ ผา่ น 11 ผ่าน
14 เดก็ หญิงบญุ ฑรกิ า ท่าดี 11 ผ่าน
15 เด็กหญงิ อนัญญา แสงพานชิ 10 ผา่ น √ ผ่าน √ ผ่าน 10 ผา่ น
16 เด็กชายณัฐธพงษ์ ธนเดชสิรพิ งศ์ 10 ผ่าน
17 เดก็ หญิงลักษิกา โชคดี 9 ผ่าน √ ผ่าน √ ผ่าน 9
18 เดก็ ชายฤทธ์ิภบู ดี หะรีเมา 10
19 เด็กชายอัครชยั ทบั ผดุง 10 ผ่าน √ ผา่ น √ ผ่าน
20 เดก็ หญิงปรุ มิ ปรชั ญ์ เจรญิ เชาว์
9 ผ่าน √ ผา่ น √ ผ่าน
วัฒน
21 เด็กหญงิ นภสร บุญประเสรฐิ 11 ผา่ น √ ผ่าน √ ผา่ น

10 ผา่ น √ ผา่ น √ ผ่าน

11 ผ่าน √ ผ่าน √ ผ่าน

9 ผา่ น √ ผ่าน √ ผา่ น

10 ผ่าน √ ผา่ น √ ผ่าน

9 ผา่ น √ ผ่าน √ ผา่ น

10 ผ่าน √ ผ่าน √ ผ่าน

11 ผ่าน √ ผา่ น √ ผา่ น

11 ผ่าน √ ผา่ น √ ผา่ น

10 ผ่าน √ ผ่าน √ ผ่าน

10 ผา่ น √ ผา่ น √ ผา่ น

9 ผา่ น √ ผ่าน √ ผ่าน

10 ผ่าน √ ผา่ น √ ผ่าน

9 ผา่ น √ ผ่าน √ ผา่ น 9 ผา่ น

22 นายธนภทั ธ์ หลอ่ หลอม 10 ผ่าน √ ผ่าน √ ผา่ น 10 ผ่าน
23 เด็กชายภูผา นาคหลวง 9 ผา่ น √ ผ่าน √ ผา่ น 9 ผา่ น

เกณฑก์ ารให้คะแนน

คะแนน 10 - 12 อยใู่ นระดบั 4 มีระดบั คุณภาพ ดมี าก คะแนนตามรูบริคสเ์ ปน็ รอ้ ยละ 80 – 100 ของคะแนนเตม็
คะแนน 7 - 9 อยู่ในระดับ 3 มีระดบั คุณภาพ ดี คะแนนตามรบู รคิ สเ์ ปน็ รอ้ ยละ 60 – 75 ของคะแนนเต็ม
คะแนน 4 - 6 อยู่ในระดบั 2 มีระดบั คุณภาพ พอใช้ คะแนนตามรูบรคิ สเ์ ป็นร้อยละ 50 – 59 ของคะแนนเตม็
คะแนน 0 - 3 อยู่ในระดบั 1 มรี ะดับคุณภาพ ปรบั ปรุง คะแนนตามรบู ริคส์เปน็ ร้อยละ 50 – 59 ของคะแนนเต็ม

หมายเหตุ : คะแนนรวมต้องผา่ นระดบั 3 ขน้ึ ไป ถือว่า ผา่ น

• นกั เรียนที่ไมผ่ ่าน K จำนวน........คน ครผู สู้ อนมอบหมายใหน้ ักเรียน.....................................แลว้
• นักเรียนท่ีไมผ่ ่าน P จำนวน........คน ครูผูส้ อนมอบหมายใหน้ ักเรียน.....................................แลว้
• นักเรียนท่ีไมผ่ ่าน A จำนวน........คน ครูผูส้ อนมอบหมายใหน้ กั เรียน.....................................แล้ว

ลงชอ่ื ..............ภ...ัค...จ..ิร..า.....ย...อ..ด...ร..ัก.............. ผู้สอน

( นางสาวภัคจิรา ยอดรัก )

ตารางการประเมนิ ผลการจดั การเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 25 เรอื่ ง การเปล่ียนตำแหนง่ และเส้นทางการเคลื่อนที่ปรากฏของดวงอาทิตยบ์ นทอ้ งฟา้

นักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3/2 โรงเรยี นสาธติ มหาวิทยาลบั ราชภัฏอุตรดิตถ์
คำชี้แจง ให้ผูส้ อนทำเคร่อื งหมาย √ ลงในรายการตามความเป็นจริง

K P A รวม สรุป หมาย

(Knowledge) (Psychomotor) (Attribute) คะแนน (ผ่าน/ เหตุ

ช่ือ-นามสกลุ คะแนนผา่ นเกณฑ์ คะแนนผา่ นเกณฑ์ คะแนนผ่านเกณฑ์ ไม่ผา่ น)

เลขท่ี คะแนนเตม็ รอ้ ยละ 70 ข้ึนไป ระดับ 2 ขน้ึ ไป ระดบั 2 ข้ึนไป

1 เด็กชายสิรภพ วรรณการ คะแนน ผา่ น/ 4 3 2 1 ผ่าน/ 4 3 2 1 ผ่าน/ คะแนน
2 เด็กหญงิ เสาวลกั ษณ์ ทบั ทอง
3 เด็กชายปติ ิคณุ มีมา 12 ไม่ ไม่ผ่าน ไมผ่ ่าน 12
4 เดก็ ชายอัครวนิ ท์ มาดีคาน
5 เด็กหญิงมนี า ก้อนทับทมิ ผ่าน
6 เดก็ ชายฮามนิ คิม
7 เดก็ ชายภทั รพงศ์ จนั ทร์นอ้ ย 10 ผ่าน √ ผา่ น √ ผา่ น 10 ผา่ น
8 เด็กหญงิ ฑฆิ มั พร เขตตบรรพต
9 เด็กชายพิทยุตม์ เรืองศรี 10 ผ่าน √ ผ่าน √ ผา่ น 10 ผา่ น
10 เดก็ ชายธนพัต ปญั ญา
11 เด็กชายอกุ ฎษฏ์ ตนั ตศิ ุภรักษ์ 9 ผ่าน √ ผา่ น √ ผา่ น 9 ผา่ น
12 เด็กหญงิ ครองขวญั ทับทิมแสง
13 เด็กชายชยั วฒั น์ กุณจ๋า 9 ผา่ น √ ผ่าน √ ผ่าน 9 ผ่าน
14 เดก็ หญิงแพรวา ศรวี รี ะ
15 เด็กหญงิ จิรภา หลา้ รอด 11 ผา่ น √ ผ่าน √ ผ่าน 11 ผ่าน
16 เด็กหญิงอญั ชสิ า บุตรจนั
17 เดก็ หญิงช่นื นภา สีสอด 9 ผา่ น √ ผ่าน √ ผา่ น 9 ผ่าน
18 เดก็ ชายญาณกร รัตนประพิศ
19 เดก็ ชายคามนิ ผอ่ งพฒุ 9 ผา่ น √ ผา่ น √ ผ่าน 9 ผ่าน
20 เด็กหญงิ ณิชชา สุทธิรส
21 เด็กหญิงกชพร ยิ้มแย้ม 9 ผา่ น √ ผา่ น √ ผา่ น 9 ผ่าน
22 เด็กหญงิ วรรษชล สหี ะนาม
11 ผ่าน √ ผ่าน √ ผา่ น 11 ผ่าน

9 ผา่ น √ ผ่าน √ ผา่ น 9 ผา่ น

9 ผา่ น √ ผา่ น √ ผ่าน 9 ผ่าน

10 ผา่ น √ ผ่าน √ ผ่าน 10 ผา่ น

10 ผา่ น √ ผ่าน √ ผา่ น 10 ผ่าน

9 ผ่าน √ ผ่าน √ ผ่าน 9 ผ่าน

10 ผ่าน √ ผ่าน √ ผา่ น 10 ผา่ น

10 ผ่าน √ ผา่ น √ ผา่ น 10 ผา่ น

9 ผา่ น √ ผา่ น √ ผ่าน 9 ผา่ น

10 ผา่ น √ ผา่ น √ ผ่าน 10 ผ่าน

9 ผา่ น √ ผา่ น √ ผา่ น 9 ผา่ น

9 ผ่าน √ ผา่ น √ ผ่าน 9 ผ่าน

9 ผา่ น √ ผา่ น √ ผา่ น 9 ผา่ น

10 ผา่ น √ ผา่ น √ ผา่ น 10 ผา่ น

เกณฑก์ ารให้คะแนน

คะแนน 10 - 12 อยใู่ นระดบั 4 มรี ะดับคุณภาพ ดีมาก คะแนนตามรูบรคิ ส์เปน็ ร้อยละ 80 – 100 ของคะแนนเตม็
คะแนน 7 - 9 อย่ใู นระดับ 3 มรี ะดับคุณภาพ ดี คะแนนตามรบู รคิ ส์เป็นรอ้ ยละ 60 – 75 ของคะแนนเตม็
คะแนน 4 - 6 อยูใ่ นระดบั 2 มรี ะดับคุณภาพ พอใช้ คะแนนตามรบู ริคสเ์ ป็นร้อยละ 50 – 59 ของคะแนนเตม็
คะแนน 0 - 3 อยใู่ นระดับ 1 มีระดบั คุณภาพ ปรบั ปรุง คะแนนตามรูบริคส์เปน็ รอ้ ยละ 50 – 59 ของคะแนนเต็ม

หมายเหตุ : คะแนนรวมตอ้ งผ่านระดบั 3 ขึน้ ไป ถอื วา่ ผ่าน

• นกั เรยี นที่ไม่ผ่าน K จำนวน........คน ครผู ู้สอนมอบหมายใหน้ กั เรียน.....................................แลว้
• นกั เรียนท่ีไมผ่ า่ น P จำนวน........คน ครูผู้สอนมอบหมายใหน้ กั เรยี น.....................................แล้ว
• นักเรยี นที่ไม่ผา่ น A จำนวน........คน ครูผูส้ อนมอบหมายให้นักเรยี น.....................................แล้ว

ลงชื่อ .............ภ...ัค...จ..ริ...า.....ย..อ...ด..ร...ัก.............. ผู้สอน

( นางสาวภัคจิรา ยอดรัก )

ใบงานที่ 3 การเกดิ ปรากฏการณ์ของโลก

คำชีแ้ จง ใหน้ ักเรยี นเลือกปรากฎการณ์ของโลกมา 1 ปรากฎการณ์ พร้อมอธบิ ายปรากฎการณท์ ่เี กิดขน้ึ

......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................

............................................................................................
ชอื่ ..........................................นามสกุล...................................ชน้ั ..............เลขที.่ ...........................................

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 26

กลมุ่ สาระวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1/2564 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 4 ระบบสรุ ิยะของเรา เวลา 15 คาบ

เรือ่ ง การข้นึ ตกและตกของดวงจันทร์ เวลา 2 คาบ

ผู้สอน นางสาวภัคจริ า ยอดรัก โรงเรยี นสาธิต มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อตุ รดิตถ์

วนั ที่ 27 เดือน กนั ยายน พ.ศ. 2564 ม.3/1

วันท่ี 28 เดอื น กันยายน พ.ศ. 2564 ม.3/2

1. มาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว 3.1 เขา้ ใจองค์ประกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด และววิ ัฒนาการของเอกภพ กาแลก็ ซี่ ดาว
ฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ ที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
อวกาศ
2. ตวั ชว้ี ัด

ว 3.1 ม.3/3 สร้างแบบจาํ ลองท่อี ธบิ ายการเกดิ ข้างขน้ึ ข้างแรม การเปลี่ยนแปลงเวลาการขึ้นและตก ของ
ดวงจันทร์ และการเกดิ น้ำข้ึนนำ้ ลง
3. จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้ (K)
1. อธบิ ายการเปลย่ี นแปลงเวลาการข้นึ และตก ของดวงจันทร์ ได้ (K)

ด้านทกั ษะและกระบวนการ (P)
2. นำเสนอเปลยี่ นแปลงเวลาการขึน้ และตก ของดวงจนั ทร์ ได้ (P)

ดา้ นคุณลกั ษณะ (A)
3. มีความสนใจใฝ่เรยี นรู้ (A)

4. สาระสำคญั
ดวงจันทร์โคจรรอบโลก โลกและดวงจันทร์โคจร รอบดวงอาทิตย์ดวงจันทรร์ ับแสงจากดวงอาทิตย์ คร่ึงดวง

ตลอดเวลา เมื่อดวงจันทร์โคจรรอบโลก ได้หันส่วนสว่างมายังโลกแตกต่างกัน จึงทำให้คน บนโลกสังเกตสว่ นสวา่ ง
ของดวงจันทร์แตกตา่ งไป ในแตล่ ะวนั เกดิ เปน็ ขา้ งขนึ้ ข้างแรม
5. สาระการเรียนรู้

การข้นึ และตกของดวงจนั ทร์

6. ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน
1. ความสามารถในการคิด
2. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

7. กจิ กรรมการเรยี นรู้
จดั กจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบสบื เสาะหาความรู้ 5E

ขั้นที่ 1 ข้นั สร้างความสนใจ (Engagement)
1.ครนู ำเขา้ บทเรียนโดยการตง้ั คำถาม ดังน้ีตอ่ ไปนี้ (A1 1.1)
1.1 ดวงจันทร์ในแต่ละคนื มลี ักษณะเหมือนกันหรอื ไม่ อยา่ งไร แลว้ ให้นกั เรียนร่วมกนั แสดงความ คดิ เห็น

อย่างอสิ ระในการตอบคำถาม
แนวตอบ : ดวงจนั ทรใ์ นแตล่ ะคนื มีลักษณะไม่เหมือนกนั เพราะในบางคนื เราจะมองเห็นรูปร่าง

ปรากฏของดวงจันทรเ์ ปน็ รูปเสยี้ ว ครึ่งดวง เต็มดวง หรือในบางคนื อาจมองไมเ่ หน็
ดวงจันทรเ์ ลย

1.2 กลางวันและกลางคนื เกดิ จากอะไร
แนวคำตอบ กลางวันและกลางคนื เกิดจากโลกหมุนรอบตวั เองและโคจรรอบดวงอาทติ ย์
ขน้ั ท่ี 2 สำรวจและคน้ หา (Exploration)
1.ครแู บ่งนกั เรยี นออกเปน็ 6 กลุ่ม ซ่งึ 2 กลุม่ ตอ่ 1 เร่ือง
2.ครูให้นักเรยี นสืบคน้ ข้อมลู จากแหล่งค้นคว้าในหอ้ งสมดุ และอนิ เตอร์เนต็ และจัดทำผลการนำเสนอใน
รปู แบบผังความคิด โดยครูกำหนดให้ ในประเด็นดงั น้ี (C4 3.4)

1.การขนึ้ และตกของดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์
2.การเกดิ กลางวนั และกลางคนื
3.การกำหนดทิศ
ขน้ั ท่ี 3 อธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation)
1. ครูให้ผแู้ ทนนกั เรียนแตล่ ะกล่มุ ออกมานำเสนอผลการสืบค้นหนา้ ช้นั เรียนเพื่อเปรยี บเทยี บและ
ตรวจสอบความถูกต้อง
2. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายผลการนำเสนอของแตล่ ะกลุ่ม และสรุปความรู้
3. ครแู ละนักเรยี นร่วมกันสรปุ ความรูเ้ กี่ยวกบั การเกดิ ฤดูกาลให้ได้ประเดน็ ตามจุดประสงค์การเรยี นรู้
ข้ันท่ี 4 ขยายความรู้ (Elaboration)
1.ครูให้นักเรยี นทำใบงานเรอื่ ง การขึ้นและตกของดวงจันทร์
2.ครูอธบิ ายแผนภาพท่ีแสดงความสัมพันธข์ องทิศท้ัง 4
ขนั้ ที่ 5 ประเมิน (Evaluation)
1.ครูให้นักเรียนเขียนแสดงความรูส้ กึ หลังการเรียน ในประเด็นตอ่ ไปน้ี
- ส่งิ ที่นกั เรียนไดเ้ รียนรใู้ นวันนค้ี อื อะไร

- นักเรยี นเข้าใจเรื่องใดมากที่สุด
2.ครปู ระเมนิ การเรียนร้ขู องนักเรยี นดงั น้ี สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นขณะทำงานร่วมกนั สงั เกตการตอบ
คำถามของนักเรยี นในชั้นเรยี นประเมินแผนภาพความคดิ

8. ส่อื และแหลง่ เรยี นรู้
1. หนงั สือแบบเรียนรายวชิ าวิทยาศาสตร์ 6 ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 สสวท.
2. ใบกจิ กรรมท่ี 5 เรอ่ื ง ใบงานท่ี 5 การขนึ้ ตกของดวงจันทร์
3. สมดุ บนั ทกึ

9. การวัดและการประเมินผลการเรยี นรู้

1. กรอบการวดั และประเมนิ ผล แต่ละจุดประสงค์การเรียนรนู้ ำเสนอประเด็นที่ทำการวดั และประเมินผล

วธิ กี ารวดั และเครื่องมือวัด ดังตาราง

ตาราง : แสดงกรอบการวัดและประเมนิ ผล

จุดประสงค์การเรียนรู้ สมรรถนะ วธิ กี ารวัดผล เครือ่ งมอื วดั ผล เกณฑ์การประเมนิ ผล
PISA

ดา้ นความรู้ (K)

1. อธิบายการเปลย่ี นแปลงเวลา A1 1.1 - การทำใบ - ใบกิจกรรมที่ 5 - ผา่ นเกณฑร์ อ้ ยละ

การขึ้นและตก ของดวงจันทร์ได้ C2 3.2 กจิ กรรมที่ 5 เร่ือง เรื่องการขึ้นและ 70

การขึ้นและตกของ ตกของดวงจันทร์ ข้นึ ไป : 7 คะแนน

ดวงจนั ทร์ จาก 10 คะแนน

ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) B3 2.3 ใบกจิ กรรมที่ 5 ใหค้ ะแนนจากใบ - ได้คะแนนรบู ริคส์
2. นำเสนอเปล่ียนแปลงเวลาการ C4 3.4 เรือ่ งการขนึ้ และ กจิ กรรม ตง้ั แต่ 2 ขึ้นไป
ขน้ึ และตก ของดวงจนั ทร์ ได้ (P) ตกของดวงจนั ทร์
สงั เกตพฤตกิ รรม แบบประเมนิ - ไดค้ ะแนนรบู รคิ ส์
ด้านคณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ (A) ในการทำงาน การ การสงั เกตและ ต้ังแต่ 2 ข้ึนไป
3. มคี วามสนใจใฝ่เรยี นรู้ (A) ตอบคำถาม พฤตกิ รรม

2. เกณฑก์ ารให้คะแนนเกณฑ์รบู รคิ ส์ (Rubric Score) ให้คะแนนเป็นรายข้อของเกณฑ์รบู รคิ ส์ ท่ีสร้างข้ึน
สำหรบั การประเมนิ (Analytical Rubric Score )

ตาราง : แสดงเกณฑ์การให้คะแนนเกณฑร์ ูบรคิ ส์

ประเด็นการประเมิน 4 (ดีมาก) ระดับคณุ ภาพ 1 (ปรับปรงุ )
3 (ด)ี 2 (พอใช)้

ด้านความรู้ (K) ผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ 70 ขึน้ ไป
1.อธบิ ายการเปลย่ี นแปลงเวลา
การข้นึ และตก ของดวงจนั ทร์ ได้ - มีคณุ สมบัติ 4 - มีคณุ สมบัติ 3 - มคี ุณสมบตั ิ 2 ใน - มคี ณุ สมบัติ 1
ดา้ นทักษะกระบวนการ(P) 4 ของระดับ ใน 4 ของระดบั
2.นำเสนอเปลี่ยนแปลงเวลาการ ใน 4 ของระดบั ใน 4 ของระดบั คุณภาพ คุณภาพ
ข้นึ และตก ของดวงจันทร์ ได้
คุณสมบตั ิ คุณภาพ คุณภาพ - มคี ุณสมบตั ิ 1
ใน 4 ของระดับ
1.ความถูกต้องเหมาะสมใน - มคี ณุ สมบตั ิ 4 - มคี ุณสมบัติ 3 - มคี ุณสมบัติ 2 ใน คณุ ภาพ
การใชภ้ าษา 4 ของระดับ
ใน 4 ของระดับ ใน 4 ของระดบั คุณภาพ
2.ความครบถว้ นของ
ประเด็นและความถกู ต้องของ คุณภาพ คณุ ภาพ
ขอ้ มลู

3.ความน่าเช่ือถอื ของ
แหลง่ ข้อมูลที่อ้างอิง

4.การมีสว่ นร่วมของสมาชกิ
ด้านคุณลักษณะท่พี งึ ประสงค์
(A)
3.ใฝเ่ รยี นรู้
คุณสมบตั ิ

1.มีความสนใจกระตอื รือรน้
ในการศึกษาหาความรู้

2.ให้ความรว่ มมอื ในขณะ
เรียน

3.มรี ับผดิ ชอบในการทำงาน
4.มคี วามตรงต่อเวลา

3. เกณฑ์ประเมนิ ระดบั คณุ ภาพผลการเรยี นรู้ กำหนดระดับคุณภาพผลการเรียนรูร้ ่วมกันทุกดา้ นเปน็ 4 ระดบั คอื ดี

มาก ดี พอใช้ และปรับปรงุ แต่ละระดับกำหนดเกณฑ์ประเมินตามคะแนนเกณฑ์รูบรคิ ส์ ดงั น้ี

ระดับคณุ ภาพดีมาก มีคะแนนตามเกณฑ์รบู ริคสร์ ้อยละ 80 – 100 ของคะแนนเตม็

ระดับคุณภาพดี มีคะแนนตามเกณฑร์ ูบริคส์รอ้ ยละ 70 – 79 ของคะแนนเต็ม

ระดับคุณภาพพอใช้ มีคะแนนตามเกณฑ์รูบริคส์ร้อยละ 60 – 69 ของคะแนนเตม็

ระดับคุณภาพปรับปรงุ มีคะแนนตามเกณฑ์รูบริคส์น้อยกว่าร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม

4. เกณฑก์ ารตดั สนิ ระดับคุณภาพนกั เรยี นจากคะแนนรวมทงั้ หมด

ระดับบุคคล นกั เรยี นมีผลงานอยู่ในระดบั ดี ถือว่า ผา่ น (ประกันผลการเรียนรู้ของนกั เรียน)

ระดบั กล่มุ นักเรยี นมผี ลงานอยใู่ นระดับ ดี ไม่ตำ่ กว่าร้อยละ 70 ของจำนวนนกั เรยี นท้งั หมด

ถอื วา่ การจัดประสบการณเ์ รียนรู้ตามแผนการจัดการเรยี นร้ปู ระสบผลสำเรจ็

5. เกณฑก์ ารตดั สินคะแนนเกบ็ จำนวนคะแนนเกบ็ 10 คะแนน จากคะแนนรวมท้งั หมด 100 คะแนน

กำหนดวธิ กี ารคิดคะแนนเกบ็ ดงั น้ี

จำนวนคะแนนเกบ็ = (จำนวนคะแนนที่ต้องการ × จำนวนคะแนนรวมทุกกจิ กรรมของนักเรยี นแตล่ ะคน)
คะแนนรวมทุกกิจกรรมทั้งหมดของทกุ กจิ กรรม


Click to View FlipBook Version