The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อริสรา เจริญเผ่า, 2019-05-29 02:49:43

คู่มือนพท.

Study

1

คูม่ ืออาจารย์
คมู่ ือนกั เรยี นแพทยท์ หาร ชนั้ ปที ี่ 5

ภาควชิ ารงั สวี ทิ ยา กองการศกึ ษา
วทิ ยาลยั แพทยศาสตรพ์ ระมงกฎุ เกลา้

หลกั สตู รรายวชิ า วพมรส 501

พ.อ.หญงิ ผศ.บษุ บง หนหู ลา้
อาจารยห์ ัวหน้าภาควชิ ารงั สวี ทิ ยา กศ.วพม.

พ.อ.ณรงคช์ ยั ศรอี ัศวอมร
ผ้อู านวยการกองรงั สกี รรม รพ.รร.6

2

คานา

คู่มือรายวิชารังสีวิทยา สาหรับ นพท./นศพ. ชั้นปีที่ 5
ฉบับนี้ ภาควิชารังสีวิทยาได้จัด ทาข้ึนเพื่อเป็นคู่มือการเรียนการ
สอนวิชารังสีวิทยา โดยใช้เกณฑ์มาตรฐาน ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
พ.ศ.2555 เป็นพ้ืนฐานในการกาหนดเนือ้ หาวิชา

เน่ืองจากได้มีการปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนในช้ัน
คลินิกเป็นหลักสูตรใหม่ในรูปแบบของหลักสูตรคลินิกบูรณาการ เพ่ือให้
นพท./นศพ. ได้มีการประมวลความรู้ในทุกสาขาวิชาในการดูแลผู้ป่วย
ภาควิชารงั สีวทิ ยา รับผดิ ชอบการสอนวชิ ารังสีวิทยาแก่ นพท./นศพ. ชั้น
ปีท่ี 5 ในระยะเวลา 3 สัปดาห์ โดยจะเน้น ข้อบ่งช้ี / ข้อห้าม /
ข้อจากัด ผลแทรกซ้อนของการตรวจและรักษาทางรังสีวิทยา รวมท้ัง
ทักษะ การอ่านฟิล์ม ในระบบต่างๆ ทั้งฟิล์มปกติและฟิล์มผิดปกติในโรค
ที่พบบ่อยในชุมชนและประเทศไทย และ การเลือกวิธีการตรวจท่ี
เหมาะสม

คู่มือรายวิชารังสีวิทยา เล่มน้ีจัดทาข้ึนเพ่ือให้ นพท./
นศพ. และอาจารย์ผู้สอนทราบขอบเขตของรายวิชา ซึ่งประกอบด้วย
วัตถุประสงค์ เนื้อหาของรายวิชา วิธีการจัดการเรียนการสอน การวัด
และประเมนิ ผล ตารางสอน และรายชอื่ อาจารย์

หวังว่าคู่มือเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อ นพท./นศพ. และ
อาจารย์ผู้สอน หากมีข้อเสนอแนะ เพื่อการปรับปรุงให้เหมาะสมย่ิงข้ึน
กรุณาแจ้งได้ท่ีหัวหน้าภาควิชารังสีวิทยา หรือท่ี บก.ภาควิชารังสีวิทยา
โทรศพั ท์ 02-763-3812 หรอื 93812

พ.อ.หญิง ผศ.
( บุษบง หนูหลา้ )

3
อจ.หน.ภรส.ก

ศ.วพม.

สารบญั

หนา้

คานา 1

สารบญั 2

พระราชดารสั ของพระราชบดิ า 3

จรรยาบรรณนิสติ นักศึกษาแพทย์ไทย 6

ข้อบงั คบั แพทยสภาว่าดว้ ยการรกั ษาจรยิ ธรรมแหง่ วิชาชพี เวชกรรม พ.ศ. 2533

9

สทิ ธผิ ูป้ ว่ ย 13

เอกสารประกอบการปฐมนิเทศวชิ ารังสีวทิ ยา นพท./นศพ.ชน้ั ปที ี่

5_____________________________________ 14

วตั ถปุ ระสงคข์ องภาควชิ า และการจดั การเรยี นการสอนวิชารังสวี ทิ ยา 15

แบบประมวลรายวชิ า (Course Syllabus) 16

แนะนา คณาจารย์ กอง/ภาควิชารงั สวี ิทยา 25

เกณฑ์มาตรฐานผปู้ ระกอบวชิ าชีพเวชกรรมของแพทยสภา พ.ศ.2555 27

วัตถปุ ระสงคข์ องวชิ ารงั สวี ินิจฉัย 29

- Medical Radiation Physics

4

30

- Ultrasound

33

- Intervention Radiology 36

- KUB 38

- Mammogram 40

- CVS 42

- GI 45

- Hepatobiliary system Pancreas and Spleen 48

- Chest 50

- Bone and Joint

53

- Neuroradiology 55

- Spine + Spinal cord

59

- Head and Neck Imaging

วัตถปุ ระสงคว์ ิชาเวชศาสตรน์ วิ เคลียร์ 61
63

- Diagnostic nuclear medicine and nuclear medicine radionuclide

therapy 64
67
วตั ถปุ ระสงคว์ ชิ ารังสรี กั ษา 68
- Basic science of Radiation Therapy

Topic presentation and SDL report 70

สือ่ การสอนอิเลคทรอนิกส์ (e-learning) วชิ า วพมรส 401

72 73
การประเมิน 75
ตาราสาหรบั นพท./นศพ. ยมื เรียนและศกึ ษาค้นคว้าเพ่ิมเติม

เอกสารและข้อมูลสาคญั ,เอกสารและขอ้ มลู แนะนา และการเขียนรายงาน SDL

___________________________76

5

พระราชดารสั ของพระราชบดิ า

“ขอให้ถือประโยชน์ส่วนตน เปน็ ที่สอง
ประโยชน์ของเพ่ือนมนษุ ย์ เป็นกจิ ทหี่ นึ่ง
ลาภทรัพยแ์ ละเกียรติยศ จะตกแกท่ ่านเอง
ถา้ ท่านทรงธรรมะแห่งอาชีพไว้ ใหบ้ ริสุทธิ์”

“ฉันไมต่ ้องการจะให้พวกเธอมีความรู้เพียงอยา่ งเดยี ว
ฉนั ต้องการให้พวกเธอเป็นบคุ คลท่ถี ึงพรอ้ มแล้วด้วย
I don’t want you to be only a doctor, but I also want you to be a
man.
หมายความว่า ฉนั ตอ้ งการให้พวกเธอ เปน็ ทงั้ นายแพทย์และเปน็ ผ้ทู ี่อยู่
ในสงั คมและศลี ธรรมอันดดี ว้ ย
จึงสามารถทาประโยชนใ์ ห้แกป่ ระเทศชาตไิ ด้”

“True success is not the learning, but in its application to the
benefit of mankind”

“อาชพี แพทยน์ นั้ มีเกยี รติ แพทย์ทด่ี จี ะไม่รา่ รวย แต่ไม่อดตาย
ถ้าใครอยากรา่ รวยก็ควรเป็นอยา่ งอื่นไมใ่ ช่แพทย์
อาชีพแพทยน์ ้ันจาต้องยึดมนั่ ในอุดมคติ เมตตากรณุ าคุณ”

“การทีจ่ ะได้รบั ความไว้ใจของคนไข้ ขอท่านถือสุภาษติ ว่า
ใจเขาใจเรา ท่านคงจะคิดไวว้ า่ ทา่ นอยากได้ความสบายแก่ท่านอยา่ งไร
กค็ วรพยายามให้ความสบายแก่คนไข้อย่างนน้ั ความตั้งใจจรงิ เป็นยา
ประเสรฐิ
ได้ผลคือความเช่ือ และเมอื่ คนไขเ้ ช่ือท่านแลว้ เขาจะทาตามทุกอย่าง”

6

“ท่านควรมคี วามเชื่อใจตนเอง ไมใ่ ช่อวดดี ทา่ นต้องรูส้ กึ ความ
รบั ผดิ ชอบ และทาไปดว้ ยความตง้ั ใจ”

“การเรยี นจบหลกั สูตรแพทย์ทก่ี าหนดนน้ั ไม่ได้หมายความว่านักเรียนได้
เรียนรจู้ บหมด
ในทางการแพทย์ การได้รับปรญิ ญาบตั รเป็นเพยี งแค่ก้าวหนงึ่ เท่าน้นั คือ
แสดงวา่
นกั เรียนไดจ้ บการฝกึ ทางทฤษฎี และอยใู่ นฐานะเหมาะท่ีจะออกไป
รบั ผิดชอบทางการปฏิบัตโิ ดยลาพงั
เกยี่ วกบั ปัญหาป่วยไข้ ซ่งึ จะเป็นแพทย์ท่ีก้าวหน้าต่อไปได้
แพทย์ที่สาเร็จจะต้องยึดอยู่เสมอว่าจะตอ้ งเป็นนักศกึ ษาอยูต่ ลอดชีวิต
ของอาชีพ”

“คุณลกั ษณะสาคญั สาหรบั การเป็นแพทยน์ ัน้ คอื ความเชื่อถือไว้ใจได้
1. ท่านต้องมคี วามเช่ือในความสามารถของตน คือ มีความม่ันใจ
2. ท่านต้องมคี วามไว้ใจระหวา่ งแพทย์กันเอง คือ ความเปน็ ปึกแผ่น
3. ท่านต้องไดร้ บั ความเชื่อถือจากคนไข้ของท่าน คือ ความไวใ้ จของ
คณะชน

คณุ สมบัติสามประการนเ้ี ป็นอาวุธ เกราะ และเครอ่ื งประดับอนั งามของ
แพทย”์

“เวลาเป็นของมคี ่า เม่อื มนั ลว่ งไปแลว้ มันไม่กลบั มาอีก
ถ้าเรามโี อกาสจะใชม้ ันเป็นประโยชน์แล้วเราไม่ใช้มัน กเ็ ปน็ ทน่ี า่

เสยี ดาย”

“พวกเธอทัง้ หลาย การเล่นนั้นเป็นของดี การเรียนน้ันกเ็ ป็นของดแี ละ
สาคญั

แต่การท่ีจะให้ดีกว่าน้นั คือ คนท่ีเรยี นก็ดแี ละเล่นก็ดดี ้วย”

“ท่านควรยกย่องคณะทใี่ ห้การศกึ ษาทา่ น ท่านควรมคี วามภูมิใจในคณะ
ของทา่ น

7

และท่านไม่ควรเรยี นวิชาขึ้นใจและใช้เปน็ เครอ่ื งมือหากินเท่าน้นั ควร
เกบ็ คาสอน

ใสใ่ จและประพฤติตาม ผู้ที่จะบาบัดทุกขต์ ้องเปน็ ตัวอย่างความประพฤติ
ซ่งึ จะนามา

แหง่ สขุ ภาพ แพทยท์ ีไ่ มป่ ระพฤติตามวธิ ที ่ีตวั สอนคนไข้แลว้ จะหาความ
ไว้ใจจากคนไขไ้ ด้อยา่ งไร”

“ความลับของคนไข้ นั้นคือความรกั คนไข้”

“การที่เรยี นจบหลักสตู รวิชาแพทยน์ น้ั ไม่ไดห้ มายความว่า นักเรียนผนู้ น้ั
ได้เรียนรกู้ ารแพทย์หมดแล้ว

แตเ่ ป็นการตรงกันขา้ ม การทเ่ี รียนจบนน้ั เป็นแตเ่ พียงขนั้ หน่งึ ของวชิ า
การศึกษาทางการแพทย์ คือว่า

ความจรงิ นกั เรยี นผู้นัน้ ได้เรียนจบตามตารา และบัดนี้ เปน็ ผ้ทู ่สี มควร
และสามารถรับผิดชอบ

ในการเรยี นต่าง ๆ ท่เี ก่ียวกบั สขุ ภาพของประชาชนทไี่ ม่สมบูรณ์ โดย
วิธีการทาจรงิ และโดยลาพงั ตนเอง

ไดเ้ ทา่ นนั้ เปน็ การเรยี นวชิ าแพทย์ตอ่ แตเ่ ปน็ โดยวธิ ีท่ีตา่ งกบั วธิ ีเดมิ บา้ ง
เลก็ นอ้ ย

จะเปน็ แพทย์ทดี่ ีต่อไปในภายภาคหนา้ ไม่ได้ นอกจากแพทยผ์ ู้นัน้ เม่ือ
สาเร็จวิชามาใหม่ ๆ

จะรสู้ กึ ตนวา่ ตนจะยังคงเป็นนกั เรียนอยู่ต่อไปอีกตลอดเวลาทีท่ า
การแพทยน์ ้ัน”

สมเดจ็ พระมหิตลาธเิ บศรอดยุ เดชวิกรมพระบรมราชชนก

8

นกั เรยี นแพทยท์ หารวทิ ยาลยั แพทยศาสตรพ์ ระมงกฎุ
เกลา้

นกั เรยี นแพทยท์ หารวทิ ยาลยั แพทยศาสตร์พระมงกฎุ เกล้า
ขอน้อมรับและยดึ มนั่ ตามพระบรมราโชวาท ของสมเดจ็ พระมหติ ลาธิ

เบศร์
อดลุ ยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระราชบดิ าแหง่ การแพทยไ์ ทย

และดารงตนตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช
ผู้พระราชทานกาเนดิ วทิ ยาลัยแพทยศาสตรพ์ ระมงกฎุ เกลา้
มาใชใ้ นการประกอบวิชาชพี พรอ้ มปฏิบตั ติ นอยใู่ นกรอบจรรยาบรรณ

นิสิตนกั ศกึ ษาแพทยไ์ ทย

9

จรรยาบรรณนสิ ิตนกั ศกึ ษาแพทยไ์ ทย
(Thai Medical Student’ s Code of Conduct)
1. ข้อพึงปฏิบัตขิ องนสิ ิตนักศึกษาแพทย์ไทยโดยท่ัวไป (Thai Medical
Student’ s General Practice)
1.1 ยดึ ถอื ประโยชนข์ องเพอื่ นมนษุ ยเ์ ปน็ กิจทหี่ น่ึง ประโยชน์ตน
เปน็ ทสี่ อง
1.2 มีคณุ ธรรม โดยเน้น การมีวินัย อดทน ตรงต่อเวลา ซอื่ สัตย์
รับผดิ ชอบ อ่อนนอ้ มถ่อมตน กตัญญู
กตเวที มเี หตุผล แต่งกายสุภาพเรยี บร้อยตามกาลเทศะ
1.3 ปฏบิ ตั ิตนให้อยใู่ นกรอบจารีตแห่งวิชาชีพ
(Professionalism) ประพฤติตัวเปน็ แบบอย่างทด่ี งี าม
ตอ่ สงั คม
ส่วนขยาย : กรอบจารีตแห่งวิชาชีพแพทย์ (Professionalism)
ในที่น้ีประกอบดว้ ย:

10

- เห็นแก่ประโยชนข์ องผอู้ ื่นมากกว่าประโยชนส์ ่วนตน
(Altruism)

- มคี วามรับผิดชอบท้ังตอ่ ตนเอง ผปู้ ่วย สงั คม และ วิชาชีพ
(Accountability)

- หม่นั พฒั นาตนอย่างสมา่ เสมอ (Excellence)

- ให้ความสาคัญต่อบทบาทของวชิ าชีพ (Duty)

- ซือ่ สตั ย์ ยุติธรรม รักษาคาพดู (Honour & Integrity)

- เคารพในสิทธิของผู้อื่น (Respect to other)

1.4 ใฝร่ ู้ เรยี นรู้ รอบด้าน และประยุกต์ใช้ไดเ้ ทา่ ทนั กบั การ
เปลี่ยนแปลงของโลกยุคสมัย และให้เกิดประโยชน์แกเ่ พ่ือนมนษุ ย์

ส่วนขยาย: นิสิตนักศึกษาแพทย์มีหน้าทีศึกษาเรียนรู้ตามเกณฑ์
มาตรฐานของแพทยสภา
แต่เนอื่ งจากโลกมกี ารเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา นิสิตนักศึกษาแพทย์
จึงควรมคี วามรู้ท่ีทันสมยั ทงั้ ทางการแพทย์และความรู้รอบด้านทาง
สังคม การเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ เทคโนโลยี ศาสนา
วัฒนธรรมประเพณี ส่ิงแวดล้อม ฯลฯ เพือ่ ประยกุ ตใ์ ชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์แก่
เพ่ือนมนษุ ย์
1.5 มีวิจารณญาณในการใช้ทรพั ยากรและเทคโนโลยีที่
เหมาะสม และอยา่ งค้มุ คา่ ตามหลักปรชั ญา
เศรษฐกจิ พอเพียง
สว่ นขยาย: หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง คือ ความพอประมาณ
มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกนั ในการ
ใชท้ รพั ยากรเพอื่ ความยงั่ ยืนโดยตั้งอยบู่ นเงื่อนไขของความรูแ้ ละ
คุณธรรม
การมวี ิจารณญาณการใช้ทรัพยากรและเทคโนโลยีท่เี หมาะสมของ
นกั ศึกษาแพทย์ คอื การตระหนักเห็นความสาคญั ของทรัพยากรและ
เทคโนโลยีที่มี เพ่ือนามาใชป้ ระโยชน์ในการศึกษา หรือการใช้ใน

11

ชีวิตประจาวันต่าง ๆ ได้อย่างสูงสุดและเหมาะสมที่สุด เช่น นักศึกษา
แพทย์ควรทราบวิธีการใช้ฐานข้อมูล ท่ีทางมหาวิทยาลัยจัดหามาให้
อย่างถูกต้องเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็น E-book วารสารทางการแพทย์

และ การสบื ค้นข้อมลู ทางการแพทย์ต่าง ๆ รวมไปถงึ การใชอ้ ปุ กรณ์การ
เรียน เช่น กล้องจุลทรรศน์ แบบจาลอง ต่าง ๆ หรือโปรแกรมท่ี
ช่วยเหลือทางการแพทย์ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง

นอกจากนี้นิสิตนักศึกษาแพทย์ควรฝึกใช้วิจารณญาณในการ
ใช้ทรัพยากรและเทคโนโลยี ในการดแู ลผปู้ ่วยตามมาตรฐานวิชาชีพ
โดยเรียนรู้ดว้ ยตนเอง จากแพทยร์ ุ่นพี่และอาจารย์แพทย์ ใหส้ ามารถ
ดแู ลรักษาผูป้ ว่ ยได้อยา่ งเหมาะสมและคมุ้ คา่ ท้ังในภาวะปกตแิ ละภาวะ
วกิ ฤตขาดแคลน ทั้งนคี้ วรต้งั อย่บู น ความถกู ต้อง ไมเ่ บยี ดเบยี นผอู้ น่ื
หรอื ผิดศีลธรรม ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงขา้ งต้น

1.6 ละเว้นการรบั ผลประโยชน์หรอื ส่ิงตอบแทนใด ๆ ที่มคี วาม
เกยี่ วขอ้ งหรืออาจมีผลกระทบทที่ าให้เกิด

ความเส่ือมเสียหรือนาไปสู่ความไม่เหมาะสมต่อความเป็นนิสิต
นักศึกษาแพทย์ องค์กรนิสิต นกั ศกึ ษา แพทย์ สถาบันแพทย์ และต่อ
วชิ าชีพเวชกรรมหรือจรรยาแพทย์

ส่วนขยาย: ผลประโยชน์หรือสิ่งตอบแทนอาจเป็นรูปแบบของ

ส่ิงของ ช่ือเสียงเกียรติยศ ความเชื่อถือ หรือเงิน เชน่ คา่ ตอบแทน
จากการรกั ษาหรือคา่ ตอบแทนจากผู้แทนยาหรือผู้แทนเครือ่ งมือแพทย์
มีทั้งที่เปน็ เป้าหมายหรอื ผลประโยชนโ์ ดยตรงและโดยอ้อม จรรยาบรรณ
นิสติ นกั ศึกษาแพทยไ์ ทยฉบับ นี้เป็นการปพู นื้ ฐานไปส่กู ารเปน็ แพทย์ใน
อนาคต สาหรบั แพทย์หรือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมไม่ควรรับ
ผลตอบแทนในกรณใี ด ๆ ท่กี ระทบต่อภาพลกั ษณ์ยนั นาไปสู่วชิ าชพี เวช
กรรม

สาหรับนิสิตนักศึกษาแพทย์ ต้องระมัดระวังไม่ให้ตกเป็นเหยื่อ
ของการแอบอ้างช่ือและภาพลกั ษณข์ องนิสิตนักศกึ ษาแพทย์ รวมทัง้
ภาพลักษณข์ องสถาบันเพ่ือการพาณิชย์ ไมว่ ่าเปน็ เชงิ ธรุ กจิ หรอื ไมใ่ ช่ก็
ตามหรือเพอ่ื ผลประโยชน์อันนามาสผู่ ลตอบแทนแก่นิสิตนักศกึ ษาแพทย์
เอง ท้ังน้ีพึ่งคานงึ ถึง ประเพณี วฒั นธรรมอันดีงามของไทย และหลัก

12

จรยิ ธรรมสากล กรอบวชิ าชีพรวมถงึ จรรยาแพทย์ เนอ่ื งจากความเป็น
นิสติ นักศึกษาแพทยม์ อี ิทธิพลต่อความคดิ ความเชื่อ และพฤติกรรมของ
เยาวชนในสังคม

ดังน้ันหากมีการนาความเป็นนิสิตนักศึกษาแพทย์ไปอ้างอาจจะ
นาไปสู่ความเสียหายต่อภาพลักษณน์ ิสติ นกั ศึกษาแพทย์จากการสร้าง
ค่านยิ มและความเชอ่ื ที่ไม่เปน็ ความจรงิ เชน่ ความเชื่อในการบริโภค
( ก า ร ดื่ ม เ ค ร่ื อ ง ดื่ ม ช นิ ด ห นึ่ ง แ ล้ ว จ ะ ทา ใ ห้ ส อ บ ไ ด้ เ ป็ น นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษ า
แพทย์)การใช้ช่ือความ เป็นนิสิตนักศึกษาแพทย์เพื่อโฆษณาหนังสือที่
แต่งในการสอบเข้าการเป็นแพทย์ ความถนัดวชิ าชพี แพทย์ หรือการ
โฆษณาตามทีก่ วดวิชา

แต่สามารถทาเปน็ ประวัติได้ว่า เขียนโดยใครในกรณที เ่ี ขียน
หนงั สอื เอง และไม่ควรพมิ พเ์ ร่ืองคา ชวนเช่ือตา่ ง ๆ หรือหน้าแรกไม่
ควรใสว่ า่ นสิ ิตนักศกึ ษาแพทย์หรือสถาบันลงไป ใส่ได้แค่ชอื่ บุคคล หรอื
วา่ การโฆษณาทางกวดวชิ ากใ็ ส่แค่ชือ่ เทา่ นัน้ พวกตราสัญลกั ษณ์ตา่ ง ๆ
หรอื เครอ่ื งแต่งกายหรอื การอา้ งองิ ถึงสถาบนั ไม่ควรใช้ แตค่ วรใช้ชอื่
บุคคลเทา่ นน้ั
2. ขอ้ พงึ ปฏบิ ัติของนิสติ นกั ศึกษาแพทย์ไทยต่อผ้ปู ่วย (Thai Medical

Student’ s Practice to Patient) ตอ้ งเคารพสิทธิผปู้ ่วย ใหเ้ กยี รติและ

ปฏิบตั ิต่อผู้ปว่ ยอยา่ งเหมาะสมเสมือนครบู าอาจารย์ โดย
2.1 เก็บความลับผู้ป่วยและหา้ มเผยแพร่ ยกเว้นเพื่อประโยชนท์ าง

การแพทย์โดยต้องได้รบั ความยินยอม จากผู้ปว่ ย
2.2 สื่อสารกับผู้ปว่ ยอยา่ งสุภาพ แจ้งขอ้ มูลท่ถี ูกต้องและอยา่ ง

เหมาะสม
2.3 ไมแ่ สวงหาผลประโยชน์อืน่ ๆ จากผูป้ ว่ ย
2.4 คานึงถึงความปลอดภัยของผปู้ ่วยและตัวนิสิตนักศึกษาเองใน

การใหก้ ารรักษา โดยตระหนักใน ข้อจากดั ของตนเอง
2.5 ปฏิบัตติ ่อผู้ป่วยตามกาลเทศะ โดยคานงึ ถึงความรสู้ กึ และ
เคารพความเป็นสว่ นตัวของผู้ปว่ ย

13

3. ข้อพึงปฏบิ ัติของนิสิตนักศึกษาแพทยไ์ ทยตอ่ ผู้อ่ืน (Thai Medical

Student’ s Practice to Others)
3.1 ใหเ้ กียรตแิ ละเคารพในศักด์ิศรขี องอาจารย์ รุน่ พ่ี เพื่อน รุ่นน้อง

และบุคลากรทุกฝ่าย ทกุ ระดบั
ในสถาบนั การศกึ ษา และสถานพยาบาล รวมท้งั ผู้อน่ื ในสังคม

3.2 ช่วยเหลอื เกอื้ กูล มีนา้ ใจ ตอ่ เพื่อนนสิ ิตนักศกึ ษาแพทยแ์ ละ
เพื่อนรว่ มสหวชิ าชีพด้วยกนั
จรรยาบรรณนิสิตนักศึกษาแพทย์ไทย (Thai Medical

Student’ s Code of Conduct) ฉบับนี้เปน็
ฉบบั แรกของประเทศไทยท่ีดาเนินการทง้ั หมดโดยนสิ ิตนักศกึ ษาแพทย์
19 สถาบันท่ผี ลิตแพทย์ ผา่ นการทา
ประชาพิจารณ์จากนิสิตนักศึกษาแพทย์ท่ัวประเทศไทย แล้วนามาสรุป
โดยผ่านความเห็นชอบจากตัวแทน
นสิ ิตนักศึกษาแพทย์ทงั้ 19 สถาบันทผ่ี ลิตแพทย์อีกคร้ังโดยมี
คณาจารยแ์ พทย์เป็นที่ปรึกษา ซึ่งเสมือนหนงึ่
เป็นการร่างโดยนิสิตนักศึกษาแพทย์ทั่วประเทศไทย เพ่ือใช้เป็น
แนวทางปฏิบัติหรือหลักปฏิบัติที่ดีงาม ของนิสติ นักศึกษาแพทย์ไทยใน
การพฒั นาตนเองเป็นนสิ ิตนกั ศึกษาแพทยท์ ่ดี ี และแพทย์ท่ีดใี นอนาคต

14

ขอ้ บงั คบั แพทยสภา
ว่าดว้ ยการรกั ษาจรยิ ธรรมแห่งวชิ าชพี เวชกรรม พ.ศ. 2533
ขอ้ บงั คับน้แี บง่ เป็น 7 หมวด ได้แก่
หมวด 1 หลกั ท่วั ไป
หมวด 2 การโฆษณาการประกอบวชิ าชพี เวชกรรม
หมวด 3 การประกอบวชิ าชีพเวชกรรม
หมวด 4 การปฏิบัติต่อเพ่ือนรว่ มอาชีพ
หมวด 5 การปฏบิ ัติตอ่ เพ่ือนรว่ มงาน
หมวด 6 การทดลองในมนษุ ย์
หมวด 7 การปฏิบัติตนเก่ียวกับสถานพยาบาล

หมวด 1 หลักทั่วไป
ข้อ 1 ผปู้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรมย่อมดารงตนให้สมควรในสงั คม
โดยธรรม และเคารพต่อกฎหมายของบ้านเมือง
ขอ้ 2 ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมยอ่ มไม่ประพฤติหรือกระทาการ
อันอาจเป็นเหตุให้เส่อื มเสียเกียรตศิ ักดิ์แหง่ วิชาชพี
ข้อ 3 ผปู้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรมย่อมประกอบวชิ าชีพด้วยเจตนาดี
โดยไมค่ านงึ ถงึ ฐานะ เชื้อชาติ สญั ชาติ ศาสนา สงั คม หรือลัทธกิ ารเมือง

หมวด 2 การโฆษณาการประกอบวชิ าชีพเวชกรรม

15

ขอ้ 1 ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องไมโ่ ฆษณา ใชจ้ ้าง หรอื
ยนิ ยอมใหผ้ ้อู ่ืน โฆษณาการประกอบวิชาชีพเวชกรรม ความร้คู วาม
ชานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมของตน

ข้อ 2 ผ้ปู ระกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องไมโ่ ฆษณา ใชจ้ า้ ง หรือ
ยนิ ยอมใหผ้ อู้ ื่น โฆษณาการประกอบวิชาชีพเวชกรรม ความรู้ความ
ชานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมของผู้อ่นื

ขอ้ 3 การโฆษณา ตามหมวด 2 ข้อ 1 และขอ้ 2 อาจกระทาไดใ้ น

กรณีต่อไปน้ี
 การแสดงผลงานในวารสารทาง วิชาการหรือในการประชุม
วชิ าการ
 การแสดงผลงานในหน้าที่ หรือในการบาเพ็ญประโยชน์
สาธารณะ

 การแสดงผลงานหรือความก้าวหน้าทางวิชาการ เพ่ือการศกึ ษา

ของมวลชน

 การประกาศเกียรติคุณเปน็ ทางการ โดยสถาบันวชิ าการ

สมาคม หรือมูลนิธิ

 ทงั้ น้ีต้องละเวน้ การแสวงหาประโยชน์ท่จี ะเกดิ ต่อการประกอบ

วชิ าชีพเวชกรรมส่วนบคุ คล

ข้อ 4 ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมอาจแสดงข้อความเกี่ยวกบั การ

ประกอบวิชาชีพของตนท่ี สานกั งานได้เพียงข้อความเฉพาะดังต่อไปนี้

 ชื่อ นามสกุล และอาจมคี าประกอบชื่อได้เพยี งคาวา่ นายแพทย์

หรือแพทย์หญิง อภิไธย

ตาแหน่งทางวิชาการ ฐานนั ดรศักดิ์ ยศ และบรรดาศักดิ์ เทา่ นั้น
 ชอ่ื ปริญญา วุฒิบัตร หรอื หนังสอื อนุมัติ หรือหนังสือแสดง
คณุ วุฒิอย่างซ่งึ ตนได้รบั มาโดยวิธกี าร

ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ของแพทยสภาหรอื สถาบนั นน้ั ๆ
 สาขาของวิชาชีพเวชกรรม

 เวลาทาการ

ขอ้ 5 ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมอาจแจ้งความการประกอบ
วิชาชีพเวชกรรมเฉพาะการแสดงท่ีอยู่ ทตี่ ั้ง สานกั งาน หมายเลข
โทรศัพท์ และหรือข้อความท่ีอนญุ าตในหมวด 2 ข้อ 4 เท่านน้ั

16

ขอ้ 6 ผปู้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรมผู้ทาการเผยแพร่หรอื ตอบปัญหา
ทางส่ือมวลชน ถา้ แสดงตนวา่ เปน็ ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ต้องไม่
แจง้ สถานท่ีทาการประกอบวิชาชีพส่วนตวั ทานองการโฆษณา และต้อง
ไม่มกี ารแจ้งความตามหมวด 2 ขอ้ 5 ในทานองเดยี วกนั หรือ
ขณะเดยี วกันนน้ั ด้วย

ขอ้ 7 ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมตอ้ งไม่ส่งั ใช้ หรอื สนับสนนุ การ
ใชย้ าตารับลบั รวมท้งั ใช้อปุ กรณ์การแพทยอ์ ันไม่เปิดเผยสว่ นประกอบ

ขอ้ 8 ผปู้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องไม่ออกใบรบั รองอันเปน็ ความ
เท็จโดยตัง้ ใจหรือใหค้ วามเห็นโดย ไม่สจุ ริตในเร่ืองใด ๆ อันเกยี่ วกับ
วชิ าชีพของตน

ข้อ 9 ผ้ปู ระกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องไม่เปิดเผยความลบั ของผู้ป่วย
ซง่ึ ตนทราบมาเนอื่ งจากการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดงุ
ครรภ์หรอื การประกอบโรคศิลปะ โดยผดิ กฎหมาย

ข้อ 10 ผปู้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรมตอ้ งไม่ปฏิเสธการช่วยเหลือผู้ท่ี
อยใู่ นระยะอันตรายจากการเจ็บปว่ ยเม่อื ไดร้ ับคาขอร้อง และตนอยูใ่ น
ฐานะทจี่ ะช่วยได้

ขอ้ 11 ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ต้องไม่ใชห้ รือสนับสนุนให้มกี าร
ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดงุ
ครรภห์ รอื การประกอบโรคศิลปะ โดยผดิ กฎหมาย

หมวด 3 การประกอบวิชาชพี เวชกรรม

ข้อ 1 ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมตอ้ งรกั ษามาตรฐานของการ
ประกอบวิชาชีพเวชกรรมในระดบั ที่ดี ทส่ี ุดในสถานการณ์นน้ั ๆ ภายใต้
ความสามารถและข้อจากัดตามภาวะ วสิ ยั และพฤติการณ์ท่มี ีอยู่

ข้อ 2 ผปู้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรมตอ้ งไมเ่ รียกร้องสนิ จ้างรางวัล

พเิ ศษนอกเหนอื จากค่าบริการท่ีควรไดร้ ับ

ขอ้ 3 ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องไม่จงู ใจหรือชกั ชวนผูป้ ่วยให้
มารับบรกิ ารทางวิชาชีพเวชกรรม เพื่อผลประโยชน์ของตน

ขอ้ 4 ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมตอ้ งไม่ให้ หรอื รบั ผลประโยชน์
เป็นคา่ ตอบแทนเน่ืองจากการรบั หรือสง่ ผ้ปู ่วยเพื่อรบั บริการทางวิชาชีพ
เวชกรรม หรือเพอื่ การอ่ืนใด

17

ข้อ 5 ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมตอ้ งปฏิบตั ิต่อผู้ปว่ ยโดยสุภาพ

ขอ้ 6 ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมตอ้ งปฏบิ ัติตอ่ ผู้ป่วยโดยปราศจาก
การบังคบั ขเู่ ข็ญ

ขอ้ 7 ผ้ปู ระกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องไม่หลอกลวงผปู้ ว่ ยใหห้ ลง
เข้าใจผิดเพื่อประโยชนข์ องตน

ขอ้ 8 ผปู้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องไม่ประกอบวิชาชีพโดยไม่
คานึงถงึ ความปลอดภยั ของผู้ป่วย

ข้อ 9 ผ้ปู ระกอบวิชาชีพเวชกรรมตอ้ งไม่ประกอบวิชาชีพโดยไม่
คานงึ ถึงความสิ้นเปลืองของผู้ปว่ ย

ข้อ 10 ผูป้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องไมส่ งั่ ใช้ หรือสนับสนนุ การ
ใชย้ าตารบั ลบั รวมท้งั ใชอ้ ุปกรณ์การแพทย์อนั ไม่เปิดเผยสว่ นประกอบ

ข้อ 11 ผปู้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรมตอ้ งไมเ่ จตนาทจุ รติ ในการออก
ใบรบั รองแพทย์

ข้อ 12 ผปู้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรมตอ้ งไม่ใหค้ วามเห็นโดยไมส่ ุจริต
อนั เกีย่ วกบั วิชาชีพเวชกรรม

ขอ้ 13 ผปู้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องไมเ่ ปิดเผยความลบั ของ
ผู้ป่วย หรือผปู้ ่วยทเี่ สียชีวติ แล้วซึ่งตนทราบมาเนอื่ งจากการประกอบ
วิชาชีพ เว้นแตไ่ ดร้ ับความยินยอมโดยชอบด้วยกฎหมาย หรือเมื่อต้อง
ปฏิบตั ิ ตามกฎหมายหรือตามหน้าท่ี

ข้อ 14 ผปู้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรมตอ้ งไม่ปฏิเสธการช่วยเหลือผู้ที่
อยู่ในระยะ อนั ตรายจากการ เจ็บปว่ ยเม่อื ไดร้ บั คาขอรอ้ ง และตนอยู่ใน
ฐานะท่ีจะช่วยได้ เว้นแตผ่ ูป้ ว่ ยไมอ่ ยใู่ นสภาวะฉกุ เฉนิ อันจาเปน็ เรง่ ด่วน
และเป็นอนั ตรายต่อ ชีวติ โดยต้องให้คาแนะนาที่เหมาะสม

ขอ้ 15 ผปู้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องไมใ่ ช้ หรอื สนบั สนุนให้มี
การประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือวิชาชีพใดๆ ทางการแพทยห์ รอื
สาธารณสขุ หรือการประกอบโรคศิลปะโดยผิดกฎหมาย

หมวด 4 การปฏบิ ตั ติ อ่ ผรู้ ว่ มวชิ าชพี

18

ข้อ 1 ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมพงึ ยกย่องใหเ้ กยี รตเิ คารพใน
ศกั ดิ์ศรีซ่งึ กนั และกนั

ขอ้ 2 ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องไม่ทบั ถมให้ร้ายหรือกลน่ั
แกลง้ กนั

ขอ้ 3 ผปู้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องไม่ชกั จูงผปู้ ่วยของผู้อ่ืนมา
เปน็ ของตน

หมวด 5 การปฏบิ ตั ติ อ่ ผรู้ ว่ มงาน
ข้อ 1 ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมพึงยกย่องให้เกยี รตแิ ละเคารพใน
ศกั ดศ์ิ รีของผูร้ ว่ มงาน
ข้อ 2 ผปู้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องไมท่ บั ถมใหร้ ้าย หรอื กล่ัน
แกลง้ ผรู้ ่วมงาน
ขอ้ 3 ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมพึงส่งเสรมิ และสนับสนุนการ
ประกอบวิชาชีพของผรู้ ่วมงาน

หมวด 6 การทดลองในมนษุ ย์
ข้อ 1 ผ้ปู ระกอบวิชาชีพเวชกรรมผู้ทาการทดลองในมนุษย์ต้อง
ได้รับความยินยอมจากผู้ถูกทดลองและต้องพรอ้ มทีจ่ ะปอ้ งกนั ผู้ถูก
ทดลองจากอนั ตรายที่เกดิ ขน้ึ จากการทดลองนนั้ ๆ
ขอ้ 2 ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องปฏิบตั ิตอ่ ผู้ถกู ทดลอง
เช่นเดียวกับการปฏิบตั ติ ่อผู้ปว่ ยในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมตาม
หมวด 3 โดยอนุโลม
ขอ้ 3 ผปู้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องรับผดิ ชอบต่ออนั ตรายหรือ
ผลเสียหายเน่ืองจากการทดลอง ที่บังเกดิ ต่อผู้ถูกทดลอง อนั มใิ ช่
ความผิดของผู้ถูกทดลองเอง

หมวด 7 การปฏบิ ตั ติ นเกยี่ วกบั สถานพยาบาล
ขอ้ 1 ในหมวดนี้

19

“สถานพยาบาล” หมายความวา่ สถานพยาบาลตามกฎหมายว่า
ดว้ ยสถานพยาบาล

“โฆษณาสถานพยาบาล” หมายความถึงกระทาการ ไมว่ ่าโดยวิธีได
ๆ ให้ประชาชนเหน็ หรือทราบขอ้ ความภาพ เครอ่ื งหมาย หรอื กระทา
อยา่ งใด ๆ ใหบ้ คุ คลทั่วไปเขา้ ใจความหมาย เพ่ือประโยชนข์ อง
สถานพยาบาล

ข้อ 2 ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมท่เี ป็นผ้ดู าเนนิ การสถานพยาบาล
ตอ้ งไม่โฆษณาสถานพยาบาล หรอื ยินยอมใหผ้ ู้อืน่ โฆษณา
สถานพยาบาลท่ีตนเป็นผ้ดู าเนินการในลกั ษณะดังต่อไปน้ี

 โฆษณาสถานพยาบาลในทานองโอ้อวดการประกอบวิชาชีพ
เวชกรรม หรอื กจิ กรรมอ่ืนของสถานพยาบาลเกินกวา่ ท่เี ป็นจริง

 โฆษณาสถานพยาบาลโดยโอ้อวดกิจกรรมของ
สถานพยาบาลนน้ั หรอื สรรพคุณของเคร่ืองมอื เคร่ืองใชข้ อง
สถานพยาบาล ไปในทานองจงู ใจใหผ้ ู้อื่นเขา้ ใจผดิ โดยไมถ่ ูกต้องตาม
หลักวชิ าการท่ีเป็นมาตรฐานของวิชาชีพเวชกรรม หรือทาใหป้ ระชาชน
เกิดความคาดหวังในสรรพคณุ เกนิ ความเปน็ จริง

 โฆษณาสถานพยาบาลทมี่ ีลกั ษณะเป็นการลามกไม่สุภาพ
สาหรบั สาธารณชนทั่วไปหรอื มีลกั ษณะเปน็ การกระตนุ้ หรือยัว่ ยุ
กามารมณ์ หรอื เป็นการขัดต่อศีลธรรมอนั ดี

 โฆษณาสถานพยาบาลทานองว่าจะใหส้ ว่ นลดเป็นเงินหรอื ให้
ผลประโยชน์ตอบแทนใด ๆ แก่ผู้เขา้ รับบรกิ าร หรอื แก่ผู้ชกั นาผู้ไป
ขอรบั บริการจากสถานพยาบาลนัน้

 โฆษณาสถานพยาบาลวา่ มีผูป้ ระกอบวชิ าชีพเวชกรรมผู้หนึง่
ผู้ใดมาประกอบวิชาชพี เวชกรรมในสถานพยาบาลนัน้ โดยไม่เป็น
ความจริง

ข้อ 3 ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมทเี่ ปน็ ผ้ดู าเนนิ การสถานพยาบาล
ตอ้ งไมย่ อมให้หรือยอมให้มกี าร ให้ค่าตอบแทนเปน็ เงินหรือให้
ผลประโยชน์ตอบแทนใดๆ แกผ่ ู้ชกั นาผูไ้ ปขอรับบรกิ ารจาก
สถานพยาบาลน้นั

ข้อ 4 ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมทเ่ี ป็นผ้ดู าเนนิ การสถานพยาบาล
ต้องไมใ่ ห้หรอื ยินยอมให้มีการประกอบวิชาชีพเวชกรรม การประกอบ
วชิ าชีพการพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ หรอื การประกอบโรคศิลปะ ท่ี
เป็นการฝา่ ฝนื ข้อกฎหมายว่าด้วยการนั้น ๆ ในสถานพยาบาลนั้น

20

ข้อ 5 ผ้ปู ระกอบวิชาชีพเวชกรรมตอ้ งไมน่ าชอ่ื ของตนหรอื ยินยอม
ให้ผหู้ นึง่ ผู้ใดนาชื่อของตนไปแสดงไว้ ท่ีสถานพยาบาล หรือทีแ่ ห่งใด
แห่งหนึง่ เพ่ือแสดงว่าจะไปประกอบวิชาชพี เวชกรรมเปน็ ประจา ณ
สถานท่ีนน้ั ในลกั ษณะท่ีไม่ถูกตอ้ งตามระเบยี บท่แี พทย์สภากาหนดไว้

สทิ ธขิ องผปู้ ว่ ย
เพื่อใหค้ วามสมั พนั ธ์ระหวา่ งผู้ประกอบวชิ าชีพด้านสุขภาพกบั ผู้ปว่ ย
ตั้งอยบู่ นพน้ื ฐานของความเข้าใจ
อันดแี ละเป็นท่ีไวว้ างใจซึ่งกนั และกัน แพทยสภา สภาการพยาบาล สภา
เภสัชกรรม ทนั ตแพทยสภา คณะกรรมการควบคุมการประกอบโรค
ศลิ ปะ จึงไดร้ ว่ มกนั ออกประกาศรับรองสทิ ธิของผ้ปู ว่ ยไว้ ดงั ต่อไปนี้
1. ผูป้ ่วยทุกคนมีสิทธิพืน้ ฐานท่ีจะไดร้ บั บริการด้านสุขภาพ ตามที่

บญั ญัติไว้ในรัฐธรรมนญู
2. ผปู้ ่วยมีสิทธิทจ่ี ะไดร้ บั บรกิ ารจากผ้ปู ระกอบวิชาชีพดา้ นสุขภาพ
โดยไมม่ กี ารเลือกปฏิบัติ เนื่องจากความแตกตา่ งดา้ นฐานะ เชื้อชาติ
สญั ชาติ ศาสนา ลทิ ธิการเมือง เพศ อายุ และลักษณะของความเจ็บปว่ ย
3. ผู้ป่วยที่ขอรับบรกิ ารดา้ นสุขภาพมสี ิทธิทีจ่ ะได้รับทราบข้อมูลอย่าง
เพยี งพอ และเขา้ ใจชดั เจนจาก ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสขุ ภาพ
เพื่อใหผ้ ปู้ ่วยสามารถเลอื กตัดสินใจในการยินยอมหรอื ไมย่ นิ ยอม ให้ผู้
ประกอบ วิชาชีพด้านสุขภาพปฏิบัติต่อตน เวน้ แต่เป็นการช่วยเหลือ
รีบดว่ นหรือจาเป็น
4. ผปู้ ว่ ยที่อยู่ในภาวะเสีย่ งอนั ตรายถึงชีวิต มสี ิทธิทจ่ี ะได้รบั การ
ชว่ ยเหลือรีบดว่ นจากผปู้ ระกอบวิชาชีพดา้ นสขุ ภาพทนั ที ตามความ
จาเปน็ แกก่ รณี โดยไมค่ านงึ ว่าผ้ปู ว่ ยจะรอ้ งขอความชว่ ยเหลือหรือไม่

21

5. ผู้ป่วยมีสิทธิท่จี ะไดร้ ับทราบชื่อ สกุล และประเภทของผู้ประกอบ
วชิ าชีพดา้ นสุขภาพที่เปน็ ผู้ ใหบ้ ริการแก่ตน

6. ผปู้ ่วยมีสิทธิที่จะขอความช่วยเห็นจากผปู้ ระกอบวิชาชีพด้าน
สุขภาพอื่น ที่มิไดเ้ ปน็ ผูใ้ ห้บรกิ ารแกต่ นและมสี ิทธิในการขอเปล่ยี นผู้
ให้บรกิ าร และสถานบริการได้

7. ผู้ป่วยมีสิทธทิ ี่จะไดร้ ับการปกปดิ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั ตนเอง จากผู้
ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดย เคร่งครัด เว้นแต่จะได้รบั ความยินยอม
จากผู้ป่วยหรือการปฏิบัติหนา้ ท่ีตามกฎหมาย ผ้ปู ่วยมีสทิ ธิท่ีจะได้
รบั ทราบขอ้ มลู อย่างครบถ้วน

8. ในการตดั สนิ เข้ารว่ มหรอื ถอนตัวจากการเป็น ผถู้ กู ทดลองในการ
ทาวิจัยของผู้ประกอบการวิชาชีพดา้ นสขุ ภาพ

9. ผปู้ ่วยมีสิทธทิ จ่ี ะได้รับทราบข้อมลู เกี่ยวกบั การรกั ษาพยาบาล
เฉพาะของตน ทปี่ รากฏในเวชระเบียนเม่ือรอ้ งขอ ทั้งน้ี ขอ้ มูลดังกล่าว
ต้องไม่เปน็ การละเมดิ สทิ ธสิ ว่ นตวั ของบุคคลอ่นื

10. บดิ า มารดา หรือผู้แทนโดยชอบธรรม อาจใช้สทิ ธิแทนผู้ปว่ ย
ทเ่ี ปน็ เด็กอายุยังไม่เกนิ สิบแปดปีบริบูรณ์ ผ้บู กพร่อง ทางกายหรอื
จิต ซ่งึ ไม่สามารถใช้สิทธิด้วยตนเองได้

ระเบยี บปฎบิ ตั ขิ อง นพท./นศพ.ภาควชิ ารงั สีวทิ ยา
“ ตง้ั ใจฝกึ ศกึ ษา-มีระเบยี บวนิ ัย-ทรงไวซ้ งึ่ ความเปน็ แพทย์”

1. การสรรหาและสะสมความรู้ (knowledge accumulation)
1.1 หนังสือและเอกสารตารา
1.2 การศกึ ษาในห้องเรยี น
1.3 Conference
1.4 Digital resource ( Internet RSNA , Teaching files CD )
1.5 Film study
1.6 Case study

22

1.7 ห้องสมดุ
1.8 SDL
2. ระเบียบวนิ ยั
2.1 การแต่งกายตามระเบียบ วพม.
2.2 การปฏิบตั ิตน

- ตรงต่อเวลา
- การใช้โทรศัพท์มือถือ
- การบริโภค
2.3 กริ ิยามารยาท
- การทาความเคารพอาจารย์
- อนื่ ๆ
2.4 การรกั ษาความเปน็ แพทย์
- อดทน รับผดิ ชอบ ซื่อสัตย์ ขยนั สนใจการศกึ ษา
3. การลา ต้องขออนญุ าตเปน็ ลายลักษณอ์ ักษรลว่ งหน้าต่ออาจารย์
หวั หน้าภาควิชา หรืออาจารย์
ท่รี ับผดิ ชอบ สาหรับ นพท./นศพ.ที่ปว่ ยหรือขาดเรียน อาจแจง้ ให้ทราบ
ด้วยวาจาก่อนและทาเปน็ จดหมายลาตามมาภายหลัง
4. การปฏิบัตหิ น้าที่เวรนอกเวลาราชการร่วมกบั แพทยป์ ระจาบ้าน
เวลา 1600 – 2200 น.

5. สง่ รายงานการอยเู่ วรทีห่ ้องภาควิชา ก่อนเขา้ ห้องเรียนวันถดั ไป
6. การใชห้ ้องสมุด
7. ระเบยี บการยืมหนงั สอื

7.1 ให้ นพท./นศพ. ลงลายมอื ยืมหนงั สือในสมุดยืมหนงั สือ
7.2 หา้ มขดี เขียนใด ๆ ลงในหนังสอื
7.3 ถา้ หนังสอื สุญหายหรือชารดุ ต้องชดใชค้ า่ เสียหายน้นั ๆ
7.4 ใหส้ ง่ หนังสือท่ียืมคืนกอ่ นวนั สอบลงกอ่ ง ฯ หากไม่ส่งคืนจะ

ไมป่ ระกาศผลการเรียนของวิชา
รงั สวี ทิ ยา หากสง่ ช้ากวา่ กาหนดจะถกู หกั คะแนนเจตคติ

วัตถปุ ระสงคข์ องภาควชิ ารงั สวี ทิ ยา
เมื่อ นพท./นศพ. ผ่านภาควิชารงั สวี ิทยาแลว้ สามารถอธิบาย

1. หลักการป้องกนั อันตรายจากรงั สี

23

2. การนารังสีมาใช้ประโยชน์ในการรักษาโรคต่างๆ และผลแทรก
ซอ้ น จากการใช้รงั สี

3. เร่อื งตา่ งๆ เก่ยี วกับโรคมะเรง็ ทสี่ ามารถใชร้ งั สใี นการรักษา

4. ขอ้ บ่งชี้ ขอ้ ห้าม วธิ กี ารตรวจ การเตรียมผู้ปว่ ยและผลแทรกซ้อน

ในการตรวจอวัยวะต่าง ๆ โดย วิธกี ารทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์,

การตรวจทางรงั สีวิทยา, การตรวจดว้ ยสารทึบรังสี, การตรวจด้วย
คล่ืนเสียง ความถ่ีสูง การตรวจด้วยเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ และการตรวจ
ดว้ ยคล่ืนแม่เหล็กไฟฟา้

5. ข้อบ่งช้ี ข้อห้าม และผลแทรกซ้อนของการรักษาโรคด้วยวิธีการ
ทางเวชศาสตรน์ วิ เคลียร์

6. แปลผลการตรวจโรคได้ถูกต้อง สาหรับโรค/ภาวะ/กลุ่มอาการท่ี

พบบ่อย ในการตรวจทางรังสีวิทยา และ Ultrasound ของช่องท้องและ
องุ้ เชิงกราน

7. แปลผลรายงานการตรวจได้ถูกต้องสาหรับการตรวจทางเวช

ศาสตร์นิวเคลียร์, การตรวจด้วยสารทึบรังสีเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ และ
คลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้า

8. มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และเจตคติทีเ่ หมาะสม

การจัดการเรียนการสอนของภาควชิ ารงั สวี ทิ ยา
ภาควชิ ารงั สวี ทิ ยาประกอบด้วย 3 แผนก คือ

1. แผนกรงั สีวนิ ิจฉยั
2. แผนกรงั สีรกั ษา
3. เวชศาสตร์นิวเคลียร์

การเรียนการสอนในรายวิชารงั สวี ิทยาสาหรบั นพท./นศพ. ช้ันปีท่ี
5 เปน็ การเรียนแบบฝึกปฏิบัติการกลุ่มยอ่ ย กลมุ่ ละ 12 - 15 คน แบ่งเป็น
ปีละ 8 กลุ่ม หมุนเวียนกันขึ้นปฏิบัติการ กลุ่มละ 3 สัปดาห์ ฝึกปฏิบัติ
วิชารังสีวินิจฉัย 50 ชั่วโมง วิชาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ 4 ชั่วโมง วิชา

รังสีรักษา 3 ช่ัวโมง Topic assignment and presentation 4 ช่ัวโมง

และ SDL 4 ชวั่ โมง

24

การเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเลคทรอนิกส์ ให้ นพท./นศพ. ดู
เพิ่มเตมิ ไดใ้ นเวบ็ ไซต์
www.pcm.ac.th และ http://slides.com/learningradiologypmk

ประมวลรายวชิ า

1. ช่ือหลักสตู ร หลักสูตรแพทยศาสตรบณั ฑิต

คณะ วิทยาลัยแพทยศาสตรพ์ ระมงกุฎเกลา้

2. รหสั วิชา วพมรส 501
ช่ือวชิ า รงั สีวิทยาคลนิ ิก

3. จานวน 3 (1-6) หน่วยกิต (บรรยาย - ปฏบิ ัติ)

4. วชิ าบงั คบั ก่อน วพมกศ 402 (หลักการเรียนรู้ทางคลนิ ิก)

5. ประเภทรายวชิ า หมวดวชิ าเฉพาะ กลุม่ วิชาแพทย์

6. ภาคการศึกษาทเ่ี ปดิ สอนและปกี ารศกึ ษาทจ่ี ะเร่มิ เปดิ สอน ภาค
การศึกษาท.ี่ .......... ปกี ารศกึ ษา...........

7. เง่อื นไขของรายวชิ า สอบผ่านชั้นปี 4

8. คาอธิบายรายวชิ า
ฝึกปฏิบัติการกลุ่มย่อยเก่ียวกับการเขียนใบขอตรวจรังสีเอกซ์ของ

อวัยวะต่าง ๆ ข้อบ่งชี้ ข้อห้าม ข้อจากัด การเตรียมผู้ป่วย และ
ภาวะแทรกซ้อนของการตรวจชนิดต่างๆ ทางรังสีวิทยา ได้แก่ การตรวจ
ระบบกระดูกและข้อ ระบบทางเดินหายใจ ระบบการไหลเวียนของโลหิต
ระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินปัสสาวะ ระบบสืบพันธุ์ของสตรี และ
ระบบประสาทด้วยรังสีเอกซ์ เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

25

และคล่ืนเสียงความถี่สูง หลักการอา่ นภาพถ่ายทางรงั สีทปี่ กติและผดิ ปกติ
ในโรคระบบต่างๆ ท่ีพบบ่อย หลักการเลือกการตรวจต่างๆให้เหมาะสม
กั บ ผู้ ป่ วย แ ต่ ล ะโร ค ห ลั ก พ้ื น ฐ าน ใ น ก ารใ ช้ รั งสี ไ ด้ แ ก่ ข้ อ บ่ งชี้
วตั ถุประสงค์ในการรักษา การป้องกันและการรักษาผลแทรกซ้อนจาก
การใช้รงั สรี ักษา ฝกึ การตรวจทาง
เวชศาสตร์นิวเคลียร์ ข้อบ่งช้ี และข้อห้ามในการตรวจอวัยวะต่างๆ ด้วย
สารเภสัชรังสี และผลแทรกซ้อนของการรักษาด้วยสารเภสัชรังสี การ
แปลผลรายงานการตรวจทางเวชศาสตร์นิวเคลยี ร์

The students are divided in small groups to practice and
learn about how to fill the x-rays forms for examining specific
organ, indication, contradict, limitation and preparing patient for
an examination. Complications caused by radiation, x-ray, x-ray
computer, ultrasound, electromagnet to human organs such as
to skeleton system, respiratory system, cardiovascular system,
digestive system, urinary system, female reproductive, and
neuromuscular system. They learn about reading normal and
abnormal radiological printing of common diseases, principle of
history taking for each disease, basic knowledge about the use
of radiation, indication and treatment objectives, prevention and
treatment of complications caused by radiotherapy, training for
clinical radiology, indication and contraindication of using
pharmacologic radiotherapy, complication of pharmacologic
radiotherapy, and interpretation of clinical radiology records.

26

9. วตั ถปุ ระสงคข์ องวชิ ารงั สีวนิ จิ ฉยั : นพท./นศพ.สามารถอธบิ ายส่งิ
ตอ่ ไปนี้ไดถ้ กู ต้อง

1. บอกหลักการเบื้องต้นของการถ่ายภาพทางรังสี อันตรายและการ
ป้องกนั อันตรายจากรังสี

2. บอกขอ้ บง่ ชื้ ข้อหา้ ม วิธีการตรวจ การเตรยี มผู้ป่วยและผลแทรก
ซอ้ นของการตรวจทางรงั สีวิทยา
การตรวจด้วยสารทบึ รังสี (Contrast media study) คลน่ื เสยี งความถ่ีสงู
(Ultrasound) เอ็กซเรยค์ อมพวิ เตอร์ (CT) และคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้า
(MRI)

3. สามารถแปลผลการตรวจไดถ้ กู ต้องสาหรับโรค/ ภาวะ / กลุ่ม
อาการทพ่ี บบ่อยหรือสภาพความสาคัญของการตรวจทางรังสีวทิ ยา
(Plain Film) และ Ultrasound ของช่องท้อง และอุ้งเชงิ กราน

4. สามารถแปลผลรายงานการตรวจได้ถูกต้องสาหรบั การตรวจดว้ ย
สารทบึ รังสี,เอ็กซเรยค์ อมพิวเตอร์ และคลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟา้

5. มคี ุณธรรม จริยธรรมและเจตคติทเี่ หมาะสม
วตั ถปุ ระสงค์ของวชิ ารงั สรี กั ษา : นพท./นศพ.สามารถอธิบายสิ่ง
ต่อไปน้ีไดถ้ กู ต้อง

1. พื้นฐานทางด้านฟิสิกสแ์ ละการนารงั สีมาใช้ประโยชนใ์ นการ
รักษาโรค

2. บทบาทของรงั สรี ักษา
3. ผลแทรกซ้อนจากการใชร้ ังสี
4. มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และเจตคติทีเ่ หมาะสม
5. ให้คาแนะนาต่างๆ แก่ผู้ปว่ ยทางรังสีรกั ษา
วตั ถปุ ระสงคข์ องวชิ าเวชศาสตรน์ วิ เคลยี ร์ : นพท./นศพ.สามารถ
อธิบายสิง่ ต่อไปน้ีไดถ้ ูกต้อง
1. บอกข้อบ่งช้ใี นการตรวจอวยั วะต่างๆ โดยวิธีการทางเวชศาสตร์
นวิ เคลยี ร์
2. บอกข้อบง่ ชี้ ข้อหา้ ม และผลแทรกซ้อน ของการรกั ษาโรคด้วย
วิธกี ารทางเวชศาสตร์นวิ เคลียร์

27

3. แปลผลรายงานการตรวจทางเวชศาสตรน์ วิ เคลยี รไ์ ด้ถูกตอ้ ง
4. มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และเจตคตทิ ี่เหมาะสม

10. เคา้ โครงรายวิชา

รายวชิ า วพมรส 501 รงั สวี ทิ ยาคลนิ กิ จานวนหนว่ ยกติ 3 ( 1-6-4 ) (บรรยาย-

ปฎบิ ตั –ิ ศกึ ษาดว้ ยตนเอง)

หวั ข้ เรอ่ื ง จานวนชวั่ โมง รูปแบบการสอน ผู้สอน

อ ตามหนว่ ยกติ

(ช่ัวโมง)

บรรย ปฎิบัติ SD
าย การ L

1. Medical Radiation 1 2 บรรยาย อธบิ าย พ.อ.หญงิ ผศ.ศภุ ขจี
ตวั อยา่ ง และนาชม แสงเรืองออ่ น
Physics เครอ่ื งมือ อปุ กรณ์

2. Bone 12 บรรยาย อธบิ าย พ.อ.หญงิ สดุ ศรลี ักษณ์
และฝกึ การอา่ น สัมปชั ชลิตพ.ท.หญงิ

28

ฟลิ ม์ กมลกานต์ สุทธวิ าทนฤ

พฒุ ิ

3. Chest 25 บรรยาย อธิบาย พ.อ.หญิง ผศ.กมลวรรณ
4. Intervention 12
และฝกึ การอ่าน จึงมีโชค

ฟลิ ม์ พ.ท.เมธา อ้ึงอภินันท์

บรรยาย อธบิ าย พ.อ.อนุชติ รวมธารทอง

ตัวอยา่ ง และ นาชม พ.อ.ชชั ชาญ คงพานชิ

เครอื่ งมือ อุปกรณ์ พ.ท.นรเศรษฐ์ กติ ติ

นรเศรษฐ์

5. Plain Film acute 12 บรรยาย อธบิ าย พ.อ.หญงิ ผศ.บษุ บง หนู
abdomen
และฝกึ การอ่าน หล้า

ฟลิ ม์ ร.ท.หญงิ จติ ตร์ ณี หะ

วะนชิ

6. Gastrointestinal 12 บรรยาย อธบิ าย ดู พ.อ.หญิง ผศ.บษุ บง หนู
tract
เคสผปู้ ่วยในห้อง หล้า

ตรวจพิเศษ และฝึก ร.ท.หญิง จติ ตร์ ณี หะ

การอา่ นฟลิ ม์ วะนชิ

7. Hepatobiliary 11 บรรยาย อธิบาย พ.อ.หญิง ผศ.บษุ บง หนู

system Pancreas และฝกึ การอ่าน หลา้

ฟลิ ์ม ร.ท.หญิง จติ ตร์ ณี หะ

and Spleen วะนิช

8. Ultrasound 13 บรรยาย อธิบาย พล.ต.วารนิ ทร์ ชวน

และฝึกการทา US เกรกิ กลุ
พ.ท.สทุ ธพิ ร คาพันธน์ุ พิ

พ.ท.หญงิ กมลกานต์

สุทธิวาทนฤพฒุ ิ

9. Nuclear Medicine 2 2 บรรยาย อธบิ าย พ.อ.หญิง ตรรี ัตน์

และนาชม บญุ ญอศั ดร

พ.ท.วนา แสงสระศรี

พ.ท.รชั พงษ์ พพิ ฒั

รัตนะ

10. Genitourinary tract 1 2 บรรยาย อธบิ าย พ.ต.หญงิ ฉัตรวดี ล้ิม

และฝึกการอา่ น ไพบูลย์

ฟิลม์

11. Mammogram 0.5 0.5 บรรยาย อธิบาย พ.ต.หญงิ ฉัตรวดี ลมิ้
12. Brain 1.5 2.5
และใหด้ ตู ัวอยา่ ง ไพบูลย์

บรรยาย อธบิ าย พล.ต.หญิง ผศ.กิตมิ า
และฝึกการอา่ น ธรรมรกั ษ์
ฟลิ ม์ พ.อ.หญงิ อนงคร์ ตั น์

29

13. Spine and head 12 บรรยาย อธิบาย เกาะสมบัติ
neck และฝึกการอ่าน พ.อ.หญิง ปานทพิ ย์
ฟลิ ์ม สุวรรณสะอาด
14. Cardiovascular 13 พ.ท.นรเศรษฐ์ กิตติ
system บรรยาย อธิบาย นรเศรษฐ์
และฝกึ การอา่ น พ.อ.หญิง ศรเี รือน
ฟิลม์ ชุณหชาติ

หวั ข้ เรอ่ื ง จานวนชวั่ โมง รูปแบบการสอน ผู้สอน

ตามหน่วยกิต พ.ท.สุทธิพร คาพันธน์ุ ิพ
15. Pediatric
Radiology (ชวั่ โมง) พ.ท.หญงิ กมลกานต์
สทุ ธิวาทนฤพฒุ ิพ.อ.
16. Emergency บรรย ปฎิบัติ SD หญงิ อนงค์รตั น์ เกาะ
Radiology าย การ L สมบัติ
พ.ท.สุทธพิ ร คาพนั ธนุ์ พิ
17. Case based study 12 บรรยาย อธิบาย พ.ท.เมธา อึง้ อภินนั ท์
และฝึกการอา่ น พ.ต.หญิง ฉัตรวดี ล้มิ
18. Plain Film reading ไพบลู ย์
ฟลิ ์ม พ.อ.หญงิ ผศ.บษุ บง หนู
19. Ultrasound หล้า
observation 16 บรรยาย อธิบาย ร.ท.หญงิ จติ ตร์ ณี หะ
และฝึกการอา่ น วะนชิ
อาจารยแ์ ละแพทย์
ฟิล์ม ฝึกการทา ประจาบา้ นภาควิชารังสี
วิทยา และ กองรงั สีกรรม
FAST หนว่ ยรังสวี ินิจฉยั
อาจารยแ์ ละแพทย์
4 ประจาบา้ นภาควชิ ารังสี
7 วิทยา และ กองรงั สกี รรม
7 หนว่ ยรงั สวี นิ จิ ฉยั

30

20. รงั สรี กั ษา 12 บรรยาย อธบิ าย พ.ท.จเร เกยี รติศริ ชิ ยั
และนาชม พ.ท.หญิง สพุ ชิ า วงษ์
พูล

21. Topic assignment - 4 ใหค้ น้ คว้าด้วย พ.อ.หญงิ ผศ.บุษบง หนู
and presentation
ตนเองและนาเสนอ หล้า

หน้าชัน้ เรียน พ.ท.นรเศรษฐ์ กติ ติ

นรเศรษฐ์

พ.ต.หญงิ ฉัตรวดี ล้มิ

ไพบลู ย์

22. Interesting film 4 ฝกึ อ่านฟลิ ม์ เปน็ พ.อ.หญงิ ผศ.บษุ บง หนู
teaching
ภาษาอังกฤษ ใน หล้า
23. SDL
ตวั อยา่ งฟลิ ์มที่

นา่ สนใจ

8 ใหค้ น้ ควา้ ด้วย พ.อ.หญงิ ผศ.บษุ บง หนู

ตนเองและเขยี น หลา้

รายงาน

24. Teaching File and 8 ศกึ ษาดว้ ยตนเอง -
e-learning จาก Teaching

File and e-

25. อยเู่ วรนอกเวลา learning ท่อี าจารย์
รวม
เตรยี มไว้ให้
14 ฝกึ ปฏิบตั ภิ ายใต้ แพทยป์ ระจาบา้ น

การควบคุมดแู ล
ของแพทยป์ ระจา
บ้าน รังสวี นิ จิ ฉัย
19 81 16

-ฝกึ ปฏิบัติการกลมุ่ ย่อย 3 สปั ดาห์ โดยฝึกการอ่านฟลิ ์มต่างๆ กบั
อาจารย์ ฝึกการตรวจและให้
คาแนะนาผู้ป่วยรังสีรกั ษาที่ OPD รังสีรักษา

31

- นาเสนองาน Topic assignment ในหอ้ งเรียน

- ให้ นพท./นศพ. อยู่เวรนอกเวลาราชการรว่ มกับแพทยป์ ระจา

บ้าน เวลา 1600 – 2200 น.

- ทารายงาน SDL ตามหัวข้อท่ีกาหนด

12. อปุ กรณส์ อ่ื การสอน
 คอมพิวเตอรแ์ ละ projector
 สไลด์
 ฟลิ ์มเอกซเรย์ /ตู้ส่องฟลิ ์ม
 ผ้ปู ว่ ยจาลอง/หุ่นช่วยฝึก
 ตารา (ดูรายละเอียด ข้อ 15)

 Teaching File
13. การวดั ผล และประเมนิ ผลสมั ฤทธใ์ิ นการเรยี น

 สอบคร้ังเดยี วเม่ือสนิ้ สดุ การเรียนการสอนรายวชิ า คะแนนเต็ม
60 % ( 90 คะแนน โดยใช้ข้อสอบ CRQ และMCQ ทง้ั หมด 53 ข้อ)

 คะแนน Topic assignment and presentation และ รายงาน

SDL 20 %
 คะแนนเจตคติ (การเขา้ เรยี น การอยู่เวร การเขียนรายงานการ

อย่เู วร การสง่ รายงาน) 20 %

 รวมคะแนนเต็ม 100 %
 การตดั สนิ ผลโดยใช้ องิ เกณฑ์ โดยใช้คะแนน ดังน้ี
- คะแนนระหวา่ งร้อยละ 84 – 100 ไดเ้ กรด A

- คะแนนระหว่างร้อยละ 78 – 83.99 ได้เกรด B+

- คะแนนระหว่างร้อยละ 72 – 79.99 ได้เกรด B

- คะแนนระหวา่ งร้อยละ 66 – 71.99 ไดเ้ กรด C+

- คะแนนระหว่างร้อยละ 60 – 65.99 ไดเ้ กรด C

- คะแนนระหว่างรอ้ ยละ 54 – 59.99 ไดเ้ กรด D+

- คะแนนระหวา่ งร้อยละ 48 – 53.99 ไดเ้ กรด D

- คะแนนนอ้ ยกวา่ ร้อยละ 48 ไดเ้ กรด F
 ระยะเวลาการสอบซอ่ ม

32

ช่วงปิดเทอมปลายก่อนข้ึนชั้นปีที่ 6
 การประเมนิ ผล

- เกรด F ไม่มีสิทธิ์สอบซอ่ ม

- เกรด D, D+ ใหค้ ะแนนกรรมการการศึกษา วพม.พิจารณาวา่

ใหส้ อบซ่อมหรอื ไม่
 การสอบซ่อมประกอบดว้ ย

1. ข้อสอบ CRQ จานวน 15 ข้อ

2.เขยี นรายงานทางวิชาการในระบบที่สอบไมผ่ า่ น รายงาน 1
ฉบับ เกณฑผ์ า่ น 60%

3. นักเรยี นแพทยท์ ่ีสอบผา่ นไดเ้ กรด C*

14. การประเมนิ ผลการสอน
 แบบประเมิน นพท./นศพ. โดย อาจารย์
 แบบประเมินอาจารย์ผู้สอน โดย นพท./นศพ.
 แบบประเมินผลการอยู่เวรเพื่อเสริมประสบการณ์ของ นพท./

นศพ. โดย แพทย์ประจาบ้าน
 แบบประเมินภาพรวมของหลักสูตรปรีคลนิ กิ และคลินิก
 แบบประเมินการนาผลการประเมนิ การสอนของคร/ู อจ. มา

ปรับปรุง/พัฒนาการจดั การเรยี นการสอน
 แบบประเมินความรู้ความสามารถของตนเอง วิชารงั สีวิทยา วพ

มรส 501 โดย นพท./นศพ.

 แบบประเมินแพทยป์ ระจาบา้ น โดย นพท./นศพ.

15. ตาราหลกั
 คู่มือรงั สวี นิ ิจฉัย
 ความรู้พน้ื ฐานทางรงั สรี กั ษา
 เวชศาสตร์นิวเคลียรค์ ลินิก
 การตรวจโรคด้วยคล่นื เสยี งความถี่สูง

 Diagnostic imaging

16. อาจารยผ์ ู้สอน

ลา ยศ-ชื่อ-สกุล คณุ สังกัด หมายเหตุ
ดบั วุฒิ บานาญ
พบ. บานาญ
๑ พล.ต.หญงิ ผศ. ธรรมรักษ์
กติ มิ า พบ.

๒ พล.ต.วารนิ ทร์ ชวนเกริก
กุล

33

๓ ศรีอัศว พบ. รพ.รร.๖ ผอ.กรส.
พ.อ.ณรงค์ชยั อมร รพ.รร.๖
วพม. อจ.หน.ภรส.ก
๔ พ.อ.หญิง ผศ. หนหู ล้า พบ. ศ.วพม.
บษุ บง รพ.รร.๖ รอง ผอ.กรส.
รพ.รร.๖
๕ พ.อ.หญิง ศรี พบ. วพม. อจ.ภรส.ก
เรือน ชณุ หชาติ รพ.รร.๖ ศ.วพม.
รพ.รร.๖
๖ พ.อ.หญงิ ผศ. แสงเรอื ง วท.ด. รพ.รร.๖
พบ. รพ.รร.๖
ศภุ ขจี ออ่ น พบ. รพ.รร.๖
พบ. รพ.รร.๖
๗ พ.อ.หญงิ ผศ. จึงมโี ชค พบ. รพ.รร.๖
กมลวรรณ พบ. รพ.รร.๖
พบ. รพ.รร.๖
๘ พ.อ.หญงิ ปาน สวุ รรณ พบ. รพ.รร.๖
พบ. รพ.รร.๖
ทพิ ย์ สะอาด พบ. รพ.รร.๖
พบ.
๙ พ.อ.อนชุ ิต รวมธาร พบ.
ทอง พบ.

๑๐ พ.อ.ผศ.ชชั คงพานชิ
ชาญ

๑๑ พ.อ.หญิง สดุ ศรี สัมปัชช

ลักษณ์ ลิต

๑๒ พ.อ.หญงิ บุญญอัศด

ตรรี ัตน์ ร

๑๓ พ.อ.หญงิ อนงค์ เกาะ

รัตน์ สมบัติ

๑๔ พ.อ.หญงิ ศริ ิน ทรงวฒุ ิ

ทพิ ย์ ชยั

๑๕ พ.ท.นรเศรษฐ์ กิตติ
นรเศรษฐ์

๑๖ พ.ท.วนา แสงสระ
ศรี

๑๗ พ.ท.จเร เกยี รตศิ ิริ
ชยั

๑๘ พ.ท.สุทธิพร คาพนั ธ์ุ
นพิ

34

๑๙ พ.ท.รัชพงษ์ พิพัฒ พบ. รพ.รร.๖
รัตนะ พบ. รพ.รร.๖
๒๐ พ.ท.หญิง พบ. รพ.รร.๖
สพุ ิชา วงษ์พลู พบ. รพ.รร.๖

๒๑ พ.ท.เมธา อึ้งอภนิ นั ท์ พบ. รพ.รร.๖
๒๒ พ.ท.หญิง กมล สุทธิ พบ. รพ.รร.๖
วาทนฤ พบ. รพ.รร.๖
กานต์ พฒุ ิ

๒๓ พ.ต.หญงิ ฉัตร ลม้ิ ไพบูลย์
วดี
คูหเพ็ญ
๒๔ พ.ต.ไพบลู ย์ แสง

๒๕ ร.ท.หญิง หะวะนิช
จติ ต์รณี

17. ผปู้ ระสานงานรายวชิ า

ภาควิชารงั สวี ิทยา วพม. ช้นั 2 อาคารเฉลมิ พระเกียรติ
โทร. 93812, 02-763-3812
รพ.รร.6
เจ้าหนา้ ท่ี

จ.ส.อ.สุชิน ทองชัยบัณฑิต
น.ส.อรสิ รา เจรญิ เผา่

น.ส.พรทพิ ย์ สาแช

บก.กองรงั สีกรรม รพ.รร.6 ชัน้ 2 อาคารเฉลิมพระเกียรติ
โทร. 93814, 02-763-3814 รพ.รร.6
เจา้ หน้าท่ี
พ.ต.ชูชีพ จนั หา

จ.ส.อ.บัลลังก์ สว่างบารงุ

35

แผนกรงั สีวินจิ ฉยั กองรังสีกรรม ชนั้ 2 อาคารเฉลมิ พระเกียรติ
รพ.รร.6
รพ.รร.6
โทร. 93708, 02-763-3708 เจ้าหน้าท่ี
ร.ต.เฉลียว เนตรสว่าง

แผนกรังสรี กั ษา กองรังสีกรรม ตึกรังสรี ักษา รพ.รร.6
รพ.รร.6
โทร. 93166, 02-763-3166 เจ้าหนา้ ที่
จ.ส.อ.ดิษยนนั ท์
ตานันท์ ธัมมัญญุ

แผนกเวชศาสตรน์ วิ เคลยี ร์ กอง ตึกเวชศาสตรน์ ิวเคลียร์ รพ.รร.6
รังสกี รรม รพ.รร.6
โทร. 93197, 02-763-3197 เจ้าหน้าที่
จ.ส.อ.สมคดิ
มนูญ

คณาจารย์ภาควชิ ารงั สวี ิทยา กศ.วพม. และ กองรงั สกี รรม รพ.รร.6

หวั หนา้ ภาควิชารังสวี ทิ ยา พ.อ.หญิง ผศ. หนหู ลา้
บษุ บง
ผู้อานวยการกองรงั สีกรรม พ.อ.ณรงคช์ ยั ศรอี ศั วอมร
รองผอู้ านวยการกองรังสกี รรม พ.อ.หญิง ศรเี รอื น ชณุ หชาติ

อาจารย์วิชารังสวี นิ ิจฉยั พล.ต.หญงิ ผศ.กิ ธรรมรักษ์
Neuroradiology (brain ,head and ตมิ า
neck, spine) สวุ รรณ
พ.อ.หญงิ ปาน สะอาด
ทพิ ย์

36

Cardiovascular System พ.อ.หญิง อนงค์ เกาะสมบัติ
Interventional Radiology รัตน์ กติ ติ
Bone and Joint พ.ท.นรเศรษฐ์ นรเศรษฐ์
พ.อ.หญิง ศรีเรอื น ชณุ หชาติ
Urinary Tract
Gastrointestinal System & พ.อ.อนชุ ิต รวมธารทอง
Hepatobiliary system พ.อ.ผศ.ชชั ชาญ คงพานิช
Chest พล.ท. ผศ.นพพร
เบี้ยวไขม่ ุข
Ultrasound
Medical Radiation Physics พ.อ.หญิง สุดศรี สมั ปัชชลิต
ลิ้มไพบูลย์
อาจารย์วิชารงั สีรกั ษา ลกั ษณ์
พ.ต.หญิง ฉัตรวดี
อาจารยว์ ิชาเวชศาสตร์นิวเคลียร์
พ.อ.หญิง ผศ. หนหู ล้า
บุษบง

ร.ท.หญิง จิตตร์ ณี หะวะนชิ

พ.อ.หญิง ผศ. จึงมีโชค
อึง้ อภินันท์
กมลวรรณ
พ.ท.เมธา ชวนเกริกกุล
คาพนั ธน์ุ ิพ
พล.ต.วารินทร์ แสงเรืองอ่อน
พ.ท.สุทธิพร
พ.อ.หญงิ ผศ.ศุภ
ขจี

พ.อ.หญงิ ศิรนิ ทรงวฒุ ชิ ัย
ทพิ ย์
พ.ท.จเร เกยี รติศิริชยั
พ.ท.หญงิ สุพิชา วงษพ์ ูล

พ.อ.หญิง ตรรี ัตน์ บุญญอัศดร

พ.ท.วนา แสงสระศรี
พ.ท.รัชพงษ์ พพิ ฒั รัตนะ

37

38

มาตรฐานผปู้ ระกอบวชิ าชีพเวชกรรมของแพทยสภา พ.ศ. 2555
(เฉพาะสว่ นท่เี กย่ี วขอ้ งกับวิชารงั สีวิทยา)

1. พ ฤ ติ นิ สั ย เจ ต ค ติ คุ ณ ธ ร ร ม แ ล ะ จ ริ ย ธ ร ร ม แ ห่ ง วิ ช า ชี พ
(Professional habits, Attitudes, Moral, and Ethics)

1.1 พฤตนิ ิสัยในการทางาน (work habits) และความรับผดิ ชอบ
ตอ่ วิชาชีพ

- ตรงตอ่ เวลา และรบั ผดิ ชอบตอ่ การนัดหมาย
- รบั ผดิ ชอบตอ่ ผู้ปว่ ยและงานทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย
- สามารถทางานเปน็ ทีม
- พยายามหลีกเล่ียงไม่ให้เกิดความขัดแย้งในการทางานและ
หาขอ้ ยตุ โิ ดยสันตวิ ธิ ี
- สามารถวางแผน จัดระบบงาน และตดิ ตามประเมินผล
- รู้ขีดจากัดความสามารถของตนเอง
- ยอมรบั ข้อผิดพลาดของตนเองและพยายามแกไ้ ข
- ยอมรับข้อผิดพลาดของผู้อ่ืนและให้ความช่วยเหลือและ
แนะนาตามความเหมาะสม
1.2 รับผิดชอบในการให้ความจริงแก่ผู้ป่วย รักษาความลับ และ
เคารพในสิทธิของผู้ป่วย
1.3 ปกปอ้ งและพทิ ักษส์ ิทธปิ ระโยชน์ของผู้ป่วย
1.4 แสดงเจตคติที่ดีต่อการให้บริการสุขภาพแบบองค์รวมแก่
ประชาชนทกุ ระดบั
1.5 ปฏิบัติตามข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่ง
วชิ าชพี เวชกรรม
1.6 มีคุณธรรม และจริยธรรมที่เหมาะสมต่อการประกอบวิชาชีพ
แพทย์
1.7 ซ่อื สัตยส์ จุ รติ ในการประกอบวิชาชพี เวชกรรม

39

2. ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร ติ ด ต่ อ ส่ื อ ส า ร แ ล ะ ก า ร ส ร้ า ง สั ม พั น ธ ภ า พ

(Communication and interpersonal skills) ผู้ประกอบวิชาชีพเวช
กรรมพึงตระหนักถึงความสาคัญและมีความสามารถในการติดต่อสื่อสาร
และการสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วย ญาติผู้ป่วย ประชาชนท่ัวไป
ผู้ร่วมงาน และบุคลากรทางสาธารณสุขอนื่ ๆ

2.1 ตระหนักถงึ ปัจจัยที่อาจเป็นอปุ สรรคตอ่ การติดต่อส่ือสาร เชน่

ภูมหิ ลงั ของผู้ปว่ ย (การศกึ ษา ภาษา วัฒนธรรม ความเชื่อเรื่องสุขภาพ)
พฤติกรรม และสภาวะทางอารมณ์ของผูป้ ว่ ย ฯลฯ

2.2 สามารถใช้ภาษาทา่ ทาง (non-verbal communication) เช่น
การแสดงทา่ ที การสบตา
การสัมผัสฯลฯ ไดอ้ ย่างเหมาะสม

2.3 มีทักษะในการฟงั รบั ฟงั ปัญหาของผูป้ ่วย เข้าใจความร้สู ึกและ
ความวิตกกังวลของผู้ปว่ ย

2.4 ใชศ้ พั ท์ และภาษาพูดท่ผี ู้ป่วยเข้าใจได้ แสดงความเหน็ อกเห็น
ใจ เอื้ออาทร ให้ความม่ันใจ
และให้กาลงั ใจแก่ผ้ปู ว่ ย

2.5 มีทกั ษะในการสมั ภาษณ์และซกั ประวตั ิผปู้ ่วย รวมทงั้ เร่ืองท่ี
เก่ยี วข้อง แตผ่ ู้ปว่ ยไม่ต้องการเปดิ เผย เช่น ประวัติเพศสัมพันธ์ ฯลฯ

2.6 สามารถอธิบายกระบวนการรกั ษา ผลการตรวจวินจิ ฉัย
ผลการรักษา การพยากรณโ์ รคให้ผูป้ ว่ ยและญาติ ผู้ป่วยเขา้ ใจและมี
สว่ นรว่ มในการตัดสินใจได้อยา่ งเหมาะสม รวมทั้งการแจ้งข่าวร้าย และ
การปฏบิ ัติใน กรณีผู้ปว่ ยท่ใี กล้เสยี ชวี ิต และกรณีท่ีผู้ป่วยเสียชีวิตแล้ว

2.7 สามารถโนม้ น้าวใหผ้ ูป้ ่วยและญาติให้ความรว่ มมือในการ
รกั ษาและดแู ลตนเอง ใหส้ ุขศึกษา
ให้คาปรกึ ษาหารือ และใหค้ าแนะนาผู้ป่วยได้

2.8 บนั ทึกข้อมลู ทางการแพทย์ เขียนใบรบั รองแพทย์ ใบส่งตอ่
ผปู้ ว่ ย ไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสมตามความเปน็ จริง และครบถว้ นสมบูรณ์

2.9 นาเสนอรายงานทางการแพทย์ และอภปิ รายในทป่ี ระชุมได้

2.10 มที ักษะในการถา่ ยทอดความรู้ ทักษะและประสบการณแ์ ก่
บคุ ลากรทางการแพทยท์ ุกระดับ และประชาชน

40

5. ทกั ษะการตรวจโดยใชเ้ ครอื่ งมือพนื้ ฐาน การตรวจทาง
ห้องปฏบิ ัตกิ าร การทาหัตถการที่จาเปน็
(Technical and Procedural skills) มคี วามสามารถในการทาหัตถการ
และใช้เครอ่ื งมือตา่ งๆ ในการตรวจวินิจฉัยและรักษาผ้ปู ว่ ยโดยรู้ข้อบง่ ชี้
ในการตรวจ เข้าใจวิธกี ารตรวจ สามารถทาไดด้ ว้ ยตนเอง และแปล
ผลได้อย่างถกู ต้อง และรจู้ ักการเตรยี มผ้ปู ว่ ยเพอ่ื การตรวจวนิ จิ ฉัยน้ันๆ
ตามเกณฑ์ที่ระบุไว้ในภาคผนวก 1

ภาคผนวกท่ี 1 ความรคู้ วามสามารถทางวชิ าชีพและทกั ษะทาง
คลินิก

หมวดที่ 3 ทกั ษะการตรวจ การตรวจทางห้องปฏบิ ตั ิการ และ

หตั ถการทจ่ี าเป็น (Technical and procedural skills)

3.2 การตรวจทางรงั สวี ทิ ยา สามารถอธิบายขน้ั ตอนการตรวจและ

ประเมนิ ข้อบ่งช้ี ขอ้ หา้ ม สภาพและเง่ือนไขทีเ่ หมาะสมเตรียมผปู้ ว่ ย
สาหรบั การตรวจ และแปลผลการตรวจ ได้ถกู ตอ้ ง

3.2.1 Chest x-ray 3.2.2 Plain abdomen

3.2.3 Plain KUB 3.2.4 Skull and

sinuses

3.2.5 Bone and joints 3.2.6 Lateral soft

tissue of neck

3.3 การตรวจอนื่ ๆ สามารถบอกข้อบ่งช้ี ขอ้ หา้ ม สภาพและเงอื่ นไข
ท่เี หมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรบั การตรวจ และหรือเก็บตัวอยา่ งการตรวจ
และแปลผลรายงานการตรวจได้ด้วยตนเองถูกต้อง

3.3.23 Computerized axial tomography scan

3.3.24 Magnetic resonance imaging

3.3.25 Mammography

3.3.26 Radionuclide study

3.3.27 Barium contrast GI studies

3.3.28 Intravascular contrast studies: arterial and

venous studies

41

3.4 การทาหัตถการทีจ่ าเป็นหรือมีส่วนแก้ปญั หาสุขภาพฯ
ระดับท่ี 3 ลาดับท่ี 87 Ultrasonography ,abdomen in

traumatic condition
88.76 Diagnostic ultrasound of

abdomen and retroperitoneum
วตั ถุประสงคข์ องวชิ ารังสีวนิ ิจฉยั

1. บอกหลักการเบ้ืองต้นของการถ่ายภาพทางรังสี อันตรายและการ
ป้องกนั อันตรายจากรังสี

2. บอกข้อบ่งชี้ ข้อห้าม วิธีการตรวจ การเตรียมผู้ป่วยและผลแทรก
ซอ้ นของการตรวจทาง
รังสีวิทยา (Plain Film) การตรวจด้วยสารทึบรังสี (Contrast media
study) คลื่นเสียงความ
ถ่ีสูง (Ultrasound) เอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT) และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
(MRI)

3. สามารถแปลผลการตรวจได้ถูกต้องสาหรับโรค ภาวะ กลุ่มอาการ
ที่พบบอ่ ยหรือสภาพความ
สาคัญของการตรวจทางรังสีวิทยา (Plain Film) และ Ultrasound ของ
ช่องท้องและองุ้ เชิงกราน

4. สามารถแปลผลรายงานการตรวจได้ถูกต้องสาหรับการตรวจ ด้วย
สารทึบรงั ส,ี เอ็กซเรย์
คอมพิวเตอร์ และคลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟ้า

5. มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและเจตคตทิ ่ีเหมาะสม

เน้ือหา (Contents)
- Introduction to diagnostic imaging
- Technique of x-ray / Radiation protection
- Principle of ultrasound, CT และ MRI
- Chest

42

- Cardiovascular system
- Abdomen and GI tract
- Genitourinary tract and Obstetrics - Gynecology
- Bone and Joint
- Neuroradiology
- Intervention Radiology

Master plan of Evaluation
1. Formative evaluation : สอดแทรกการประเมินผลระหว่างการ

สอน, self assessment
2. Summative evaluation : ข้อสอบ CRQ / MCQ 53 ขอ้
3. Attitude evaluation : การประเมินผลจาก อาจารย์ และ นพท./

นศพ.
4. Authentic evaluation : ให้ข้อมูลย้อนกลับ นพท./นศพ. หลังการ

ซกั ถาม

43

แผนการสอนของภาควชิ ารงั สวี ทิ ยา

รายวิชา รงั สวี ทิ ยา (วพมรส 501)

เร่อื ง รั ง สิ วิ ท ย า ฟิ สิ ก ส์ รั ง สี ก า ร แ พ ท ย์ (Medical Radiation

Physics)

ผู้เรียน นพท./นศพ. ชัน้ ปีท่ี 5

ผสู้ อน พ.อ.หญิง ผศ. ศุภขจี แสงเรอื งอ่อน

เวลา 3 ชม.

สถานที่ ห้องประชุมกองรังสีกรรม อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ ชั้น

2

วตั ถปุ ระสงค์ นพท./นศพ.วพม สามารถ

1. อธบิ ายชนิดและประเภทของรงั สีได้

2. อธิบายแหลง่ กาเนิดของรังสีจากธรรมชาตแิ ละที่มนษุ ย์สร้างขึ้น

ได้

4.อธิบายคุณสมบัติของคล่นื แม่เหล็กไฟฟา้ และรงั สีเอกซ์ได้

5.อธิบายหลักการทางานของเครือ่ งเอกซเรย์ทั่วไป ในระบบอานา
ลอกและระบบดิจิตอลได้

6.อธิบายหลักการทางานของเครอ่ื งตรวจอวัยวะด้วยคล่ืน

สนามแมเ่ หล็กไฟฟ้าและคลน่ื วทิ ยุ (Magnetic Resonance

Imaging: MRI)ได้

7.อธิบายหลักการทางานของเครอ่ื งเอกซเรยค์ อมพิวเตอร์
(Computed Tomography: CT)ได้

8.อธบิ ายระบบจดั เก็บและรบั ส่งขอ้ มลู ภาพทางการแพทย์แบบ
ดิจติ อล (Picture Archiving and Communication System:

PACS)ได้

9.อธิบาย Basic of Radiobiology and Radiation Protection
ได้

44

10. บอกหน่วยของการวดั ปริมาณรงั สีตา่ ง ๆ ท้งั ระบบหน่วยเดิม
ระบบใหม่ (SI Unit) รวมทง้ั การแปลงหนว่ ยได้

11. อธบิ ายผลทางชวี วิทยารงั สีได้
12. อธิบายปรัชญาของการป้องกันอันตรายจากรงั สีของ ICRP

ได้
13. อธิบายปัจจยั ทม่ี ผี ลต่ออันตรายจากรงั สีได้
14. อธบิ ายหลักในการควบคมุ อนั ตรายทเ่ี กดิ จากตน้ กาเนิดรังสี

ที่อยภู่ ายนอกร่างกายได้
การพัฒนาการเรยี นร้ขู องนักเรยี น

1. ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
1.1) มีความตรงต่อเวลา และ มีระเบียบวินยั ในการรบั ฟังคา
บรรยาย
1.2) ปลูกฝงั ให้นักเรียนมจี ิตสานึกในการพิจารณาความ
เหมาะสม และความจาเป็นในการใช้
รังสี ในการรักษาและวินจิ ฉยั ใหเ้ หมาะสม ถูกต้อง โดยใช้
ปริมาณรังสใี หน้ ้อยท่สี ดุ

วธิ กี ารสอน : บรรยาย

การประเมนิ ผล : ประเมินจากการเข้าเรยี นและการมีส่วนร่วมในการ
เรียนการสอน

2. ด้านความรู้
2.1) สามารถอธิบายชนิดและประเภทของรังสี คุณสมบัติของ

คลื่นแม่เหลก็ ไฟฟา้ และรงั สเี อกซ์
2.2) สามารถอธิบายหลักการทางานของเครอื่ งเอกซเรย์ทวั่ ไป

ในระบบอานาลอกและระบบ
ดิจิตอล หลักการทางานของเครือ่ งตรวจอวยั วะดว้ ยคลื่น

สนามแมเ่ หล็กไฟฟ้าและคลน่ื วิทยุ
หลกั การทางานของเครอ่ื งเอกซเรยค์ อมพวิ เตอร์

2.3) สามารถอธิบายผลทางชีววิทยารังสี ปรชั ญาของการ

ปอ้ งกนั อนั ตรายจากรงั สีของ ICRP
ปัจจัยที่มผี ลต่ออนั ตรายจากรังสีได้

45

วิธกี ารสอน : บรรยาย อธิบายตวั อย่าง นาชมอปุ กรณ์เครื่องมือ
การประเมนิ ผล : ขอ้ สอบ CRQ

3. ทกั ษะทางปัญญา
3.1) สามารถนาหลกั การป้องกนั อนั ตราจากรงั สี ไปเปน็
แนวทางในการพิจารณาการเลือก
เครือ่ งมือทางรังสวี นิ ิจฉัยตรวจให้กบั ผู้ป่วยไดอ้ ย่างเหมาะสม
3.2) สามารถเลอื กใชเ้ คร่ืองมือทางรังสีวินิจฉยั ให้เหมาะสมกับ
พยาธิสภาพของผปู้ ่วย

วิธกี ารสอน : บรรยาย อธบิ ายตัวอยา่ ง
การประเมนิ ผล : ข้อสอบ CRQ

4. ดา้ นทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชิงคัวเลข การส่ือสาร และการใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศ
4.1) มีความสามารถในการใชร้ ะบบระบบจดั เกบ็ และรบั สง่
ขอ้ มูลภาพทางการแพทยแ์ บบดิจิตอล
(Picture Archiving and Communication System:
PACS ) เพื่อเรียกภาพทางรังสจี าก
ระบบPACS มาใชใ้ นการประกอบการตรวจรักษาผปู้ ่วยได้
4.2) สามารถอธบิ ายและตอบข้อซกั ถามรวมทัง้ การสื่อสารให้
ผปู้ ่วยเขา้ ในในขบวนการตรวจดว้ ย
เครอื่ งมือทางรงั สวี ินจิ ฉัยได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

วธิ กี ารสอน : บรรยาย อธบิ ายตวั อย่าง นาชมอุปกรณ์เคร่ืองมอื
การประเมนิ ผล : ขอ้ สอบ CRQ

5. ดา้ นทักษะพสิ ัย
5.1) มคี วามทกั ษะในการซักประวตั ิผู้ป่วยท่ีอยู่สตรีที่อยูใ่ นวัย
เจริญพนั ธ์ุ เก่ียวกบั โอกาสตั้งครรภ์
และประมวลโอกาสตง้ั ครรภ์ เพ่ือพิจารณาเลอื กเคร่ืองมือรงั สี
วจิ ฉัยใหเ้ หมาะสมกบั ผ้ปู ่วย
5.2) มวี ิจารณญาณในการตดั สนิ ใจ เลอื กเครื่องมอื ทีเ่ หมาะสม
ให้กับผู้ป่วยในกรณผี ปู้ ว่ ยมีอุปกรณ์

46

บางอยา่ งท่ีไม่สามารถเข้าเครอ่ื งตรวจ MRI
วธิ กี ารสอน : บรรยาย อธบิ ายตวั อย่าง
การประเมนิ ผล : ข้อสอบ CRQ
เนอ้ื เร่ือง

1. ความรู้พนื้ ฐานทางรงั สี (Basic of Radiation)
2. ความรู้พ้ื นฐาน ทางเคร่ืองมือเอกซ เรย์วินิ จฉัย (Basic of the

Instruments in Radiology)
3. ผลทางชวี วทิ ยาทางรงั สี (Basic of Radiobiology)
4. การป้องกันอันตรายจากรังสี (Radiation Protection)

ประสบการณ์การเรยี นรู้

1. แจกเอกสาร 5
นาที

2. กล่าวนา 5
นาที

3. อธิบายชนดิ และประเภทของรงั สี
10 นาที

4. อธิบายแหล่งกาเนิดของรงั สจี ากธรรมชาตแิ ละท่ีมนษุ ย์สร้างขึ้น
5 นาที

5. อธบิ ายคุณสมบตั ิของคลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟ้าและรงั สีเอกซ์
10 นาที

6. อธิบายและแสดงหลักการทางานของเคร่ืองเอกซเรยท์ ัว่ ไป ใน

ระบบอานาลอก 10 นาที

และระบบดจิ ิตอล

7. อธบิ ายและแสดงหลกั การทางานของเครื่องตรวจอวัยวะ
10 นาที

ด้วยคลืน่ สนามแม่เหลก็ ไฟฟ้าและคล่ืนวิทยุ (Magnetic

Resonance

47

Imaging: MRI)

8. อธิบายและแสดงหลกั การทางานของเครื่องเอกซเรยค์ อมพิวเตอร์
10 นาที

(Computed Tomography: CT)

9. ถาม-ตอบ ปญั หา 10
นาที

10. พัก 10
นาที

11. อธบิ ายและแสดงระบบจดั เกบ็ และรบั ส่งขอ้ มลู ภาพทางการ
แพทย์แบบดจิ ิตอล 10 นาที

(Picture Archiving and Communication System: PACS)

12. Basic of Radiobiology and Radiation Protection

10 นาที

13. แสดงหน่วยของการวดั ปริมาณรงั สตี า่ งๆ ทัง้ ระบบหน่วยเดิม
10 นาที

ระบบใหม่ (SI Unit) รวมท้ังการแปลงหนว่ ย

14. อธบิ ายผลทางชวี วิทยารังสี
10 นาที

15. อธบิ ายและแสดง Dose Limit

10 นาที

16. อธบิ ายและแสดงปรชั ญาของการปอ้ งกนั อันตรายจากรังสี

ของ ICRP 10 นาที

17. อธิบายและแสดงปัจจัยท่ีมผี ลต่ออนั ตรายจากรังสี
10 นาที

18. อธบิ ายและแสดงหลักในการควบคุมอันตรายที่เกดิ จากต้น

กาเนิดรังสี 10 นาที

ที่อยู่ภายนอกร่างกาย

48

19. สอดแทรกจริยธรรม
5 นาที

20. ถาม-ตอบ ปญั หา
10 นาที

ส่อื การสอน
1. คอมพวิ เตอร์และ Projector

2. การใช้สอื่ การเรียนการสอนเปน็ Power Point

3. เอกสารประกอบการสอน
4. เครอื่ งเอกซเรย์ท่ัวไประบบดจิ ิตอล
5. เครอ่ื งตรวจอวยั วะดว้ ยคลื่นสนามแม่เหลก็ ไฟฟ้าและคล่ืนวิทยุ

(MRI)

6. เครื่องเอกซเรยค์ อมพวิ เตอร์ (CT)

7. ระบบ PACS

8. ฟลิ ์มเอกซเรย์
เอกสารคาสอน

1. บทที่ 1 เรื่อง เคร่ืองเอกซเรย์ทวั่ ไปและส่วนประกอบพ้ืนฐาน
2. บทที่ 2 เร่ือง ระบบจดั เก็บและรับส่งข้อมลู ภาพทางการแพทย์
3. บทท่ี 3 เร่ือง การป้องกนั อนั ตรายจากรังสี
การประเมินผล
1.Formative evaluation : ซกั ถามในหอ้ งเรยี น

2. Authentic evaluation : feed back น พ ท ./น ศ พ . ห ลั ง ก า ร
ซักถาม

3. Summative evaluation : ขอ้ สอบ CRQ 3 ข้อ
4. Attitude evaluation : การประเมินผลจากอาจารย์
เอกสารอา้ งองิ
1. Harold, E. J., and Cunningham, J. R. The Physics of
Radiology. 4th ed. United State of America, 1983.

49

2.Curry III, T. S., Dowdey, J. E., and Murry, R. C. Introduction
to the Physics of Diagnostic Radiology. 3rd ed. United State
of America : Lea & Febiger, 1984.
2.1 Chesney, D. N., and Chesney, M. O. X-ray
Equipment for Student Rdiographers. London: William
Clowes & Sons, 1971.
2.2 Carter, P., Paterson, A., Thornton, M., Hyatt, A.,
Milane, A., and Pirrie, J. Chesneys’ Equipment for
Student Radiographers. 4th ed. Great Britain: Cambridge
University, 1994.

3. จติ ต์ชยั สรุ ยิ ะไชยากร, มานสั มงคลสุข, มาลนิ ี ธนารณุ , ชวลติ วงษ์
เอก. การควบคุมคุณภาพของภาพเอกซเรย์. พิมพค์ รง้ั ที่ 2.
กรงุ เทพมหานคร: พ.ี เอ.ลิฟว่งิ , 2539.

4. ศิริวรรณ บญุ ชรัตน์. Mannual for Testing the Quality of
Diagnostic X-ray System. ตรงั : ศูนย์
วทิ ยาศาสตร์การแพทยต์ รัง กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์, 2545.

5. Pizzutiello, J. R., and Cullinan, J. E. Introduction to Medical
Radiographic Imaging.
United State of America: Eastman Kodak Company, 1993.

6. Seibert, J. A. Computed Radiography Technology 2004
[online]. 2004. Available from:
URL:
http://www.medicalphysics.org/apps/medicalphysicedit/Seiber
t1.
pdf [2007, November 19].

50

7. Rowlands, J. A. The physics of Computed Radiography. J.
Phys Med Biol. 47 (2002):
123-166.

8. Frey, G. D., and Sprawls, P. The Expanding Role of
Medical Physics in Diagnostic Imaging.
United State of America: The American Association of
Physicists in Medicine, 1997.

9. สุชาติ เกยี รติวัฒนเจริญ. เครอ่ื งมือและอปุ กรณ์ทางรงั สีวินิจยระบบ
ดิจติ อล [Online]. 2547. แหลง่ ทีม่ า:
http://www.ams.cmu.ac.th/mis/down load/
publication/577_file.pdf [30 พฤษจิกายน 2549].

10. Pongnapang N. Pratical Guide Lines for
Radiographers to Improve Computed Radiography
Image Quality. J. Biomed Imaging Interv. 2005.

11. Watson, J. A. High Contrast (Spatial) Resolution
Testing for Computed
Radiography.[online]. Available from:
htpp://ric.uthscsa.edu/personalpages/lancaste/
DI2_projects_2004 /JW_Pro ject. pdf [2007, November 15].

12. Willis, C. E. 10 Fallacies About CR [Online]. 2002.
Available from: http://www. Imaging
economics. com/issues/articles/2002-12_02.asp [2007,
January 5].

13. Digital Image Fundamentals [online]. 2006. Available
from: URL:http:// www. Imageproce


Click to View FlipBook Version