The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อริสรา เจริญเผ่า, 2019-05-29 02:49:43

คู่มือนพท.

Study

101

3.4 สามารถนาข้อมูลและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
พ้ื น ฐ า น แ ล ะ ท า ง ค ลี นิ ค ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร อ้ า ง อิ ง แ ล ะ แ ก้ ปั ญ ห า ไ ด้ อ ย่ า ง มี
วจิ ารณญาณ

3.7 เลือกใช้วิธีการตรวจโดยเคร่ืองมือพื้นฐาน เครื่องมือพิเศษโดย
คานึงถึงความคุ้มค่าและเหมาะสม
วิธกี ารสอน : บรรยาย อธิบาย และให้ดตู ัวอย่าง ความผดิ ปกตขิ องฟลิ ์ม
ศีรษะและสมอง ชนิดต่าง ๆ
การประเมนิ ผล : จากการมีสว่ นร่วมในการเรียนการสอน และการ
นาเสนออา่ นฟิลม์ ทีละคน

ขอ้ สอบ CRQ
5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสาร และการใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศ

5.3 สามารถขอความยินยอมในการรักษาพยาบาลจากผู้ป่วย
รวมทงั้ สร้างความมั่นใจเรื่องการรกั ษาความลับของผูป้ ่วย

5.6 สามารถค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ โดยใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ รวมทั้งมีวิจารณญาณในการประเมินข้อมูล ด้วยหลักการ
ของวทิ ยาการระบาดคลนิ ิก เวชศาสตรเ์ ชงิ ประจักษ์และเวชศาสตร์ทหาร
วธิ กี ารสอน : บรรยาย อธบิ าย และให้ดูตัวอย่าง ความผิดปกติของฟลิ ์ม
ศีรษะและสมอง ชนดิ ต่าง ๆ
การประเมนิ ผล : จากการมีสว่ นร่วมในการเรียนการสอน และการ
นาเสนออ่านฟิลม์ ทีละคน

ข้อสอบ CRQ

6. ดา้ นทกั ษะพสิ ัย
6.3 มีความสามารถในการตรวจและแปลผล โดยเคร่ืองมือพื้นฐาน

และเลอื กใช้การตรวจทจ่ี าเปน็ ได้ โดยคานึงถึงความคมุ้ ค่าและเหมาะสม
6.4 มีทักษะในการใหก้ ารดแู ลรกั ษา และทาหตั ถการทจี่ าเปน็

(ตาม (ร่าง) เกณฑ์ มาตรฐานผ้ปู ระกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทยสภา

พ.ศ. ๒๕๕๕ )
3.2 การตรวจทางรังสีวิทยา สามารถอธบิ ายข้ันตอนการ

ตรวจ และประเมิน ขอ้ บง่ ช้ี ข้อห้าม
สภาพ และเง่อื นไขทเี่ หมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรบั การตรวจ และแปล

ผลการตรวจได้ถูกตอ้ ง
3.2.4 Skull and sinuses

102

3.2.6 Lateral soft tissue of neck
วิธกี ารสอน : บรรยาย อธบิ าย และให้ดูตวั อย่าง ความผิดปกติของฟลิ ์ม
ศรี ษะและสมอง ชนิดต่าง ๆ
การประเมนิ ผล : จากการมีสว่ นรว่ มในการเรยี นการสอน และการ
นาเสนออา่ นฟลิ ์มทีละคน

ขอ้ สอบ CRQ
เนอ้ื เร่ือง
Skull and brain

1. Imaging modalities in skull and brain
1.1 Plain skull
1.2 Cerebral angiogram
1.3 Ultrasound
1.4 Computed Tomography (CT)
1.5 Magnetic Resonance Imaging (MRI)

2. Normal plain skull, and CT Brain
3. Abnormal plain skull

3.1 Intracranial calcifications
3.2 Increased intracranial pressure
3.3 Enlarged pituitary fossa
3.4 Abnormal bone changes of the skull
3.5 Skull fractures and complications
4. Common cerebral disease
4.1 Congenital anomaly

- Meningocele
4.2 Common cerebral infections

- Brain abscess
- Cysticercosis
- TB

103

4.3 Common brain tumors
- Glioma
- Brain metastasis
- Meningioma
- Pituitary adenoma
- Craniopharyngioma
- Acoustic neuroma

4.4 Vascular lesions
- Intracerebral hemorrhage
- Cerebral infarction
- Vascular occlusion
- Subarachnoid hemorrhage
- Aneurysm
- AVM

4.5 Head injury
- Fractures
- Intracerebral lesions : edema, contusion and

hematoma
- Extracerebral lesion : epidural hematoma and

subdural hematoma
4.6 Hydrocephalus and cerebral atrophy
4.7 Emergency neuroradiology
- Acute intracranial hemorrhages
- Acute infarction and malignant infarction
- Herniation Syndrome

ประสบการณก์ ารเรยี นรู้

104

skull and brain

4 ชม.

1. อาจารย์กล่าวนา

5 นาที

2. ทาแบบฝึกหัดเก่ียวกบั imaging modalities, indications and

contraindications 10 นาที

ของ skull and brain

3. อภปิ รายเก่ียวกับ imaging modalities, indications and

contraindications 15 นาที

ของ skull and brain

4. สอนหลักการอ่านและแปลผล normal and abnormal plain skull

20 นาที

5. พกั

10 นาที

6. แบ่ง นพท./นศพ.เปน็ 4 กลมุ่ ย่อยเพ่ือศกึ ษา normal plain skull

และดูฟลิ ์มปริศนา 50 นาที

7. พกั

10 นาที

8. อาจารย์เฉลยฟิลม์ ปรศิ นา

20 นาที

9. สอนหลักการเบ้ืองตน้ ของการตรวจ cerebral angiogram, CT

and MRI 30 นาที

10. พกั

10 นาที

11. แบง่ กลมุ่ ยอ่ ยเพอ่ื ดูตวั อย่างฟลิ ม์ cerebral angiogram, CT and

MRI 40 นาที
ของโรคท่ีพบบอ่ ย

105

12.สรุปและซกั ถาม
20 นาที

ส่อื การสอน
1. Computer & Projector
2. เอกสารประกอบการเรยี นการสอน
3. Teaching films และ view box
4 หอ้ งปฏบิ ัตกิ าร x-ray

การประเมินผล
1. Formative evaluation: สอดแทรกการประเมินระหว่างการสอน

Self-assessment
2. Summative evaluation: CRQ 4 ขอ้
3. Authentic evaluation: feed back นพท./นศพ. หลังการซักถาม

เอกสารอา้ งองิ
1. Clinical MRI Imaging: A Practical Approach 2nd edition
2. Emergency Radiology
3. Cerebral and Spind Computed Tomography: 3rd edition
4. Diagnostic Neuroradiology: 4th edition Ann Osborn

รายวิชา รังสีวิทยา (วพมรส 501)

เรอื่ ง รงั สิวิทยา Spine + Spinal cord

ผเู้ รยี น นพท./นศพ. ช้นั ปีท่ี 5

ผูส้ อน พ.ท.นรเศรษฐ์ กิตตนิ รเศรษฐ์

เวลา 2 ชม.30นาที

สถานท่ี ห้องประชุมกองรังสีกรรม อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ ช้ัน
2
วตั ถปุ ระสงค์

106

1. นพท./นศพ. สามารถเลือกการตรวจทางรงั สขี อง spine ได้อย่าง
เหมาะสม

2. นพท./นศพ. สามารถ approach การอา่ น plain film spine ได้
อย่างเปน็ ระบบ

3. นพท./นศพ. สามารถวินจิ ฉยั โรคทีพบบอ่ ย หรอื ทีเป็น
pathognomonic จาก plain film ได้
การพัฒนาการเรียนรูข้ องนกั เรยี น

1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1.1) แสดงออกถงึ คณุ ธรรมจรยิ ธรรมเหมาะสมตอ่ วิชาชีพแพทย์
1.2) มีความซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเอง และวิชาชีพเป็นที่ไว้วางใจ

ของผู้ปว่ ยและสงั คม
1.3) แสดงออกถงึ บุคลิกภาพของแพทย์อันเปน็ ท่ีน่าเชือ่ ถือ มีความ

อดทน อดกลั้น และความมนั่ คง ทางอารมณ์
1.4) มีความตรงต่อเวลา มีวินัย มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ

มอบหมาย
1.6) เค ารพ ใน สิท ธิข อ งผู้ ป่ วย โด ยการให้ ความจริง รักษ า

ความลบั และคานึงประโยชน์ และความปลอดภยั ของผปู้ ่วยเปน็ สาคัญ
1.8) มีจิตอาสา พร้อมจะเสียสละช่วยเหลือผู้อื่น โดยคานึงถึง

ประโยชน์สว่ นรวม
วธิ กี ารสอน : อธบิ าย

การประเมนิ ผล : ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีสว่ นร่วมในการ
เรียนการสอน

2. ด้านความรู้
2.2) ค วามรู้ท างวิช าชี พ แล ะทั ก ษ ะท างค ลินิ ก (ต ามเก ณ ฑ์

มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทย์สภา พ.ศ.2555 ภาคผนวก
ข.) ในเรอื่ งตอ่ ไปนี้

3.2 การตรวจทางรังสีวิทยา สามารถอธิบายข้ันตอนการตรวจ
และประเมนิ ข้อบง่ ชี้ ข้อห้าม
สภาพและเง่ือนไขท่ีเหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและแปลผล
การตรวจทางรังสขี อง spine ไดถ้ ูกตอ้ ง

107

วิธกี ารสอน : อธบิ าย และให้ดูตัวอยา่ ง ความผดิ ปกตขิ องฟิล์ม Spine
ชนิดตา่ ง ๆ
การประเมนิ ผล : จากการมีส่วนรว่ มในการเรียนการสอน และการ
นาเสนออา่ นฟลิ ม์ ทีละคน

ข้อสอบ CRQ

3. ทักษะทางปญั ญา

3.1 ตระหนักรู้และเข้าใจในศักยภาพและข้อควรพัฒนาของตน สามารถ

กาหนดความต้องการในการเรียนรแู้ ละพัฒนาของตนเอง ได้อยา่ งครอบคลมุ

3.2 สามารถวางแผนและแสวงหาวิธีการสร้างและพัฒนาความรู้
ทักษะ เจตคติ และพฤตกิ รรมทเ่ี หมาะสม

3.3 คิดวิเคราะห์อยา่ งเป็นระบบ โดยใช้องค์ความรู้ทางวิชาชีพและ
ดา้ นอนื่ ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง

3.4 สามารถนาข้อมูลและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
พื้ น ฐ า น แ ล ะ ท า ง ค ลี นิ ค ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร อ้ า ง อิ ง แ ล ะ แ ก้ ปั ญ ห า ไ ด้ อ ย่ า ง มี
วจิ ารณญาณ

3.6 เลือกใช้วิธีการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้อง
กับสถานการณ์และความต้องการของกองทัพ และบริบททางสุขภาพท่ี
เปล่ียนไป

3.7 เลือกใช้วิธีการตรวจโดยเครื่องมือพื้นฐาน เคร่ืองมือพิเศษโดย
คานงึ ถงึ ความคุม้ คา่ และเหมาะสม
วิธกี ารสอน : อธบิ าย และใหด้ ูตัวอย่าง ความผิดปกตขิ องฟลิ ม์ Spine
ชนดิ ต่าง ๆ
การประเมนิ ผล : จากการมีส่วนรว่ มในการเรยี นการสอน และการ
นาเสนออา่ นฟิลม์ ทีละคน

ข้อสอบ CRQ
5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตั วเลข การสื่อสาร และการใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศ

5.2 สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพท้ังการพูด,การฟัง, การ
อ่าน, การเขยี น, การนาเสนอ

5.3 สามารถขอความยินยอมในการรักษาพยาบาลจากผู้ป่วย
รวมทง้ั สร้างความม่ันใจเรอ่ื งการรักษาความลับของผปู้ ว่ ย

108

5.6 สามารถค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ โดยใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ รวมท้ังมีวิจารณญาณในการประเมินข้อมูล ด้วยหลักการ
ของวิทยาการระบาดคลนิ กิ เวชศาสตร์เชิงประจกั ษ์และเวชศาสตร์ทหาร

5.10 สามารถถ่ ายท อด ความรู้ ทั กษ ะ และป ระสบ การณ์ แก่
ผเู้ ก่ียวข้องได้อย่างเข้าใจ
วธิ กี ารสอน : อธบิ าย และให้ดูตวั อย่าง ความผดิ ปกติของฟลิ ม์ Spine
ชนดิ ตา่ ง ๆ
การประเมนิ ผล : จากการมีส่วนรว่ มในการเรียนการสอน และการ
นาเสนออ่านฟิล์มทีละคน

ขอ้ สอบ CRQ

6. ด้านทกั ษะพสิ ยั
6.3 มีความสามารถในการตรวจและแปลผล โดยเคร่ืองมือพ้ืนฐาน

และเลอื กใชก้ ารตรวจท่ีจาเป็นได้ โดยคานึงถงึ ความค้มุ ค่าและเหมาะสม
วิธกี ารสอน : อธิบาย และให้ดูตัวอยา่ ง ความผิดปกติของฟิล์ม Spine
ชนิดต่าง ๆ
การประเมนิ ผล : จากการมีสว่ นร่วมในการเรียนการสอน และการ
นาเสนออา่ นฟลิ ์มทีละคน

ข้อสอบ CRQ
ประสบการณก์ ารเรยี นรู้

1. pretest ความรู้จาก หนงั สือรังสวี ิทยา เรือ่ ง spine
20 นาที

2. บรรยายความรเู้ รื่อง spine imaging

40 นาที

3. นพท./นศพ. ศึกษา teaching files ทมี่ คี าเฉลย รว่ มกันหาความรู้

เพิม่ เติม จากหนังสือ 30 นาที
หรอื สอื่ อ่นื ๆ

4. อาจารย์อภปิ รายตัวอย่าง และฝึกบรรยายภาพรงั สี spine หลังจาก
การศกึ ษาด้วยตนเอง 50 นาที

5. ซกั ถาม และอบรมจริยธรรม
10 นาที

109

สอ่ื การสอน
1. Computer & Projector
2. เอกสาร+หนังสอื ประกอบการเรียนการสอน
3. Teaching files พรอ้ มคาเฉลย

การประเมนิ ผล
1. Formative evaluation : สังเกตจากการซักถามในชัน้ เรียน,

Kahoot
2. Summative evaluation : ข้อสอบ CRQ 2 ข้อ
3. Authentic evaluation : feed back นพท./นศพ. หลังการ

ซกั ถาม

รายวิชา รังสีวิทยา (วพมรส 501)

เร่ือง รงั สิวทิ ยา Head and Neck Imaging

ผเู้ รยี น นพท./นศพ. ชน้ั ปีที่ 5

ผสู้ อน พ.ท.นรเศรษฐ์ กติ ตินรเศรษฐ์

เวลา 30 นาที

สถานท่ี ห้องประชุมกองรังสีกรรม อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ ชั้น

2

วตั ถปุ ระสงค์

1. นพท./นศพ. แปลผลภาพรงั สี sinus และ lateral neck soft

tissue ท่ีปกติและผิดปกติในโรค

ทีพ่ บบ่อยได้ถกู ต้อง

2. นพท./นศพ. อธิบาย x-ray position ในการถา่ ยภาพรังสไี ด้

ถูกต้อง
การพัฒนาการเรยี นรู้ของนกั เรียน

1. ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม
1.1) แสดงออกถงึ คุณธรรมจรยิ ธรรมเหมาะสมตอ่ วิชาชีพแพทย์

110

1.2) มีความซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเอง และวิชาชีพเป็นที่ไว้วางใจ
ของผู้ปว่ ยและสังคม

1.3) แสดงออกถึงบุคลิกภาพของแพทย์อันเป็นที่น่าเชื่อถือ มีความ
อดทน อดกล้นั และความมั่นคง ทางอารมณ์

1.4) มีความตรงต่อเวลา มีวินัย มีความรับผิดชอบต่องานท่ีได้รับ
มอบหมาย

1.6) เค ารพ ใน สิท ธิข องผู้ ป่ วย โด ยการให้ ความจริง รักษ า
ความลับ และคานึงประโยชน์ และความปลอดภยั ของผู้ปว่ ยเป็นสาคัญ

1.8) มีจิตอาสา พร้อมจะเสียสละช่วยเหลือผู้อื่น โดยคานึงถึง
ประโยชน์สว่ นรวม
วธิ กี ารสอน : อธิบาย

การประเมนิ ผล : ประเมนิ จากการเขา้ เรียนและการมีส่วนร่วมในการ
เรียนการสอน

2. ดา้ นความรู้
2.2) ค วามรู้ท างวิช าชี พ แล ะทั ก ษ ะท างค ลินิ ก (ต ามเก ณ ฑ์

มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทย์สภา พ.ศ.2555 ภาคผนวก
ข.) ในเร่ืองต่อไปน้ี

3.2 การตรวจทางรังสีวิทยา สามารถอธิบายขั้นตอนการตรวจ
และประเมินขอ้ บง่ ช้ี ข้อห้าม
สภาพและเง่ือนไขท่ีเหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและแปลผล
การตรวจภาพรังสี sinus และ lateral neck soft tissue ท่ีปกติ และ
ผดิ ปกติได้ถูกตอ้ ง
วิธกี ารสอน : อธิบาย และใหด้ ูตวั อย่าง ความผิดปกติของฟิลม์ Head

and Neck ชนิดตา่ ง ๆ
การประเมนิ ผล : จากการมีสว่ นร่วมในการเรยี นการสอน และการ
นาเสนออา่ นฟิล์มทีละคน

ขอ้ สอบ CRQ

3. ทักษะทางปญั ญา

3.1 ตระหนักรู้และเข้าใจในศักยภาพและข้อควรพัฒนาของตน สามารถ

กาหนดความต้องการในการเรียนรู้และพฒั นาของตนเอง ได้อย่างครอบคลุม

111

3.2 สามารถวางแผนและแสวงหาวิธีการสร้างและพัฒนาความรู้
ทักษะ เจตคติ และพฤติกรรมท่เี หมาะสม

3.3 คิดวิเคราะห์อยา่ งเป็นระบบ โดยใช้องค์ความรทู้ างวิชาชีพและ
ดา้ นอ่ืนๆ ทเี่ กี่ยวข้อง

3.4 สามารถนาข้อมูลและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
พ้ื น ฐ า น แ ล ะ ท า ง ค ลี นิ ค ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร อ้ า ง อิ ง แ ล ะ แ ก้ ปั ญ ห า ไ ด้ อ ย่ า ง มี
วจิ ารณญาณ

3.6 เลือกใช้วิธีการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้อง
กับสถานการณ์และความต้องการของกองทัพ และบริบททางสุขภาพที่
เปล่ยี นไป

3.7 เลือกใช้วิธีการตรวจโดยเคร่ืองมือพื้นฐาน เครื่องมือพิเศษโดย
คานึงถงึ ความคุ้มค่าและเหมาะสม
วิธกี ารสอน : อธิบาย และใหด้ ตู ัวอย่าง ความผิดปกตขิ องฟลิ ์ม Head

and Neck ชนดิ ตา่ ง ๆ
การประเมนิ ผล : จากการมีสว่ นรว่ มในการเรียนการสอน และการ
นาเสนออา่ นฟิล์มทีละคน

ขอ้ สอบ CRQ
5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสาร และการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ

5.2 สามารถส่ือสารได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูด,การฟัง, การ
อ่าน, การเขียน, การนาเสนอ

5.3 สามารถขอความยินยอมในการรักษาพยาบาลจากผู้ป่วย
รวมทง้ั สร้างความมัน่ ใจเรื่องการรักษาความลบั ของผปู้ ่วย

5.6 สามารถค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ โดยใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ รวมทั้งมีวิจารณญาณในการประเมินข้อมูล ด้วยหลักการ
ของวิทยาการระบาดคลินกิ เวชศาสตรเ์ ชงิ ประจกั ษแ์ ละเวชศาสตร์ทหาร

5.10 สามารถถ่ ายท อด ความรู้ ทั กษ ะ และป ระสบ การณ์ แก่
ผ้เู กย่ี วขอ้ งไดอ้ ยา่ งเข้าใจ
วธิ กี ารสอน : อธบิ าย และใหด้ ตู ัวอย่าง ความผิดปกติของฟิล์ม Head

and Neck ชนดิ ตา่ ง ๆ
การประเมนิ ผล : จากการมีส่วนรว่ มในการเรยี นการสอน และการ
นาเสนออ่านฟิลม์ ทีละคน

112

ขอ้ สอบ CRQ
6. ด้านทักษะพิสัย

6.3 มีความสามารถในการตรวจและแปลผล โดยเครื่องมือพ้ืนฐาน
และเลอื กใช้การตรวจที่จาเปน็ ได้ โดยคานึงถึงความคุ้มค่าและเหมาะสม
วิธกี ารสอน : อธิบาย และให้ดตู วั อย่าง ความผดิ ปกติของฟิลม์ Head
and Neck ชนิดตา่ ง ๆ
การประเมนิ ผล : จากการมีสว่ นรว่ มในการเรยี นการสอน และการ
นาเสนออา่ นฟลิ ์มทีละคน

ขอ้ สอบ CRQ

ประสบการณก์ ารเรยี นรู้
1. อาจารย์กล่าวนา

2 นาที

2. อธบิ ายเก่ียวกับ position ของการถ่าย x-ray sinus และ let.

Neck 8 นาที

3. ฝึกปฏิบัติการกลุ่มย่อยในการอา่ น film sinus ที่ปกติและผิดปกติ

ในโรคทีพ่ บบ่อย 15 นาที เช่น sinusitis

4. ซกั ถาม

5 นาที
สอ่ื การสอน

1. Computer & Projector

2. เอกสารประกอบการเรยี นการสอน

3. Teaching films และ view box
4. หอ้ งปฏิบัตกิ ารรงั สีรักษา และหอ้ งตรวจ
การประเมนิ ผล
1. Formative evaluation : สงั เกตจากการซักถามในชั้นเรียน,

Kahoot

2. Summative evaluation : ขอ้ สอบ CRQ 1 ขอ้

113

3. Authentic evaluation : feed back นพท./นศพ. หลังการ
ซกั ถาม

รายวิชา รงั สีวิทยา (วพมรส 501)
เรื่อง เวชศาสตรน์ วิ เคลียร์

114

(Diagnostic nuclear medicine and nuclear medicine

radionuclide therapy)

ผู้เรยี น นพท./นศพ.ปี 5

ผู้สอน พ.อ.หญิง ตรีรัตน์ บุญญอศั ดร / พ.ท.วนา แสงสระศรี /

พ.ท.รัชพงษ์ พิพฒั รตั นะ

เวลา 4 ชม.

สถานที่ ห้องประชมุ กองรังสกี รรม อาคารเฉลิมพระเกยี รตฯิ ช้ัน 2

วตั ถปุ ระสงค์ ให้นพท./นศพ.ปี 5 สามารถ

Diagnostic nuclear medicine

1. อธิบายพ้นื ฐานและหลักการเบ้ืองต้นของเวชศาสตร์นิวเคลยี ร์

2. อธบิ ายหลกั การเบอ้ื งตน้ ของสารเภสัชรงั สแี ละเคร่ืองมอื ชนิดตา่ งๆ

3. อธิบายการตรวจชนดิ ตา่ งๆ ทางเวชศาสตรน์ วิ เคลียร์

4. อธบิ ายข้อบ่งช้ี ข้อหา้ ม และผลแทรกซอ้ น ของการตรวจทางเวช
ศาสตร์นิวเคลียร์ชนดิ ตา่ งๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง

5. แปลผลรายงานการตรวจทางเวชศาสตรน์ วิ เคลียร์ ได้ถกู ต้อง

Nuclear medicine radionuclide therapy

1. อธบิ ายพ้ืนฐานและหลักการเบื้องต้นของไอโอดีนรังสีที่ใชใ้ นการ
ตรวจและรกั ษาโรคต่างๆ

2. อธบิ ายวธิ กี ารตรวจไทรอยด์ชนิดตา่ งๆ เพื่อนาไปสกู่ ารรกั ษาดว้ ย
ไอโอดนี รังสี

3. อธิบายขอ้ บ่งช้ี ข้อหา้ ม และผลแทรกซ้อน ของการรกั ษาโรคด้วย
ไอโอดนี รงั สี และสารกมั มันตรงั สอี น่ื ๆ ด้วยวธิ ีการทางเวชศาสตร์
นวิ เคลยี ร์

4. เลือกวิธีการรกั ษาโรคดว้ ยไอโอดีนรังสี และสารกมั มันตรงั สอี ่นื ๆ
ทางเวชศาสตร์นิวเคลียรไ์ ด้ถกู ตอ้ งเหมาะสม
การพัฒนาการเรยี นรู้ของนักเรียน

1. ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม

1.3 มีความตรงต่อเวลา มีวินัย มีความรับผดิ ชอบต่องานทีไ่ ดร้ ับ
มอบหมาย

115

วธิ กี ารสอน : บรรายาย
การประเมนิ ผล : ประเมินจากการเขา้ เรยี นและการมีส่วนร่วมในการ
เรยี นการสอน

2. ด้านความรู้
2.2 ความรู้ทางวชิ าชพี และทักษะทางคลินกิ (ตามเกณฑ์มาตรฐาน
ผปู้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทย์สภา พ.ศ.2555 ภาคผนวก ข)
ในเรอ่ื งต่อไปน้ี
3.3 สามารถบอกข้อบ่งช้ี ข้อหา้ ม สภาพและเงอื่ นไขที่
เหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจ และแปลผลรายงานการ
ตรวจได้ดว้ ยตนเองถูกต้อง
3.3.26 Radionuclide study

วิธกี ารสอน : บรรยาย อธบิ าย และยกตัวอยา่ ง Case ทางดา้ นเวช
ศาสตร์นิวเคลียร์ ชนดิ ต่าง ๆ
การประเมนิ ผล : ขอ้ สอบ CRQ

3. ทกั ษะทางปัญญา
3.4 สามารถนาข้อมลู และหลักฐานทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
พ้นื ฐานและทางคลินกิ ไปใช้ในการอา้ งอิงและแกป้ ัญหาได้อยา่ งมี
วจิ ารณญาณ
3.7 เลือกใช้วิธีการตรวจโดยเครือ่ งมือพ้ืนฐาน เครื่องมอื พิเศษโดย
คานึงถงึ ความคุ้มค่าและเหมาะสม

วิธกี ารสอน : บรรยาย อธิบาย และยกตัวอยา่ ง Case ทางด้านเวช
ศาสตรน์ วิ เคลียร์ ชนดิ ต่าง ๆ
การประเมนิ ผล : ขอ้ สอบ CRQ

5. ทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศ
a. สามารถสื่อสารไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพทัง้ การพูด การฟงั การ
อ่าน การเขยี น การนาเสนอ

วธิ กี ารสอน : บรรยาย อธบิ าย และยกตวั อยา่ ง Case ทางด้านเวช
ศาสตร์นวิ เคลียร์ ชนดิ ต่าง ๆ
การประเมนิ ผล : ขอ้ สอบ CRQ

6. ทักษะพิสัย

116

6.3 มีวิจารณญานในการตัดสินใจ ตรวจวินิจฉยั และ
บาบัดรกั ษาผู้ปา่ ยได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสมทันท่วงที โดยให้การ
บริการสขุ ภาพผ้ปู ว่ ยแบบองคร์ วม โดยอาศัยเวชศาสตร์เชิง
ประจักษ์

วิธกี ารสอน : บรรยาย อธบิ าย และยกตัวอย่าง Case ทางดา้ นเวช
ศาสตร์นิวเคลียร์ ชนดิ ตา่ ง ๆ
การประเมนิ ผล : ข้อสอบ CRQ
เนื้อเรื่อง
Diagnostic nuclear medicine

1. Basic science of nuclear medicine

2. Radiopharmaceuticals

3. Machine in nuclear medicine

4. Nuclear medicine imaging

Nuclear medicine radionuclide therapy

1. Thyroid study in nuclear medicine

2. Radioiodine therapy in hyperthyroidism, thyroid cancer

and other diseases 10 นาที
ประสบการณก์ ารเรยี นรู้

1. อาจารย์กล่าวนา

2. อธิบายพนื้ ฐานของเวชศาสตรน์ ิวเคลยี ร์

10 นาที

3. อธิบายเก่ียวกับสารเภสชั รังสแี ละเคร่อื งมือ

20 นาที

4. อธบิ ายวธิ กี ารตรวจชนดิ ตา่ งๆ รวมถึงข้อบง่ ช้ี ขอ้ หา้ ม และผล

แทรกซอ้ น

ในการตรวจทางเวชศาสตร์นวิ เคลยี ร์ 50 นาที

5. ซกั ถาม

10 นาที

117

(พัก 10 นาที)

6. นาชมการปฏิบตั งิ านแผนกเวชศาสตรน์ ิวเคลยี ร์

20 นาที

7. อธิบายฟสิ ิกสแ์ ละหลกั การเบื้องตน้ ของไอโอดีนรังสที ่ีใช้ในการ

ตรวจและ

รักษาและรักษาโรคต่างๆ วิธีการตรวจไทรอยด์ชนดิ ต่างๆ รวมถึง ข้อ

บ่งช้ี ข้อห้าม

และผลแทรกซอ้ น ของการรกั ษาโรคด้วยไอโอดนี รงั สี และสาร

กมั มันตรังสีอืน่ ๆ 60 นาที

(พกั 10 นาที)

8. ฝึกปฏิบัตกิ ารกลุ่มยอ่ ย ในการแปลผลการตรวจชนดิ ต่างๆ ท่ปี กติ
และผดิ ปกติของอวัยวะตา่ งๆในการตรวจทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์
30 นาที

9. ซักถาม

10 นาที
สอ่ื การสอน

1. Power point

2. เอกสารประกอบการเรียนการสอน

3. Teaching films

4. Projector

5. ห้องปฏบิ ตั กิ ารเวชศาสตรน์ ิวเคลยี ร์
การประเมนิ ผล

1. Formative evaluation : สังเกตจากการอภปิ รายในชนั้ เรยี น

2. Summative evaluation : ข้อสอบ CRQ 4 ข้อ

3. Attitude evaluation : การประเมินผลจากอาจารย์และ
นพท./นศพ. : feed back นพท./นศพ.หลังการ

4. Authentic evaluation
ซักถาม
เอกสารอา้ งองิ

118

1. Fred AM, Milton JG. Essentials of Nuclear Medicine
Imaging. 6th ed. Philadelphia: Saunders;2012

2. Harvey AZ, Janis PO, James HT. Nuclear Medicine: The
Requisites in Radiology. 4th ed. Philadephia:Mosby;2014

รายวชิ า รงั สีวทิ ยา (วพมรส 501)
เรอื่ ง รังสีวทิ ยา รังสีรักษา

ผ้เู รียน นพท./นศพ. ชั้นปีท่ี 5

ผสู้ อน พ.ท.จเร เกียรตศิ ริ ชิ ยั /พ.ท.หญงิ สุพชิ า วงษ์พูล

เวลา 3 ชม.

สถานท่ี หอ้ งประชุมรังสรี ักษา อาคารรังสีรกั ษา ชั้น 4

วตั ถปุ ระสงค์ ให้ นพท./นศพ. สามารถอธิบาย

1. พืน้ ฐานทางฟิสกิ ส์รงั สี และการนารังสีมาใช้ประโยชน์ในการ

วินจิ ฉัย และรักษาโรค

119

2. เร่ืองต่างๆ เก่ียวกับมะเรง็ วิทยา ได้แกล่ ักษณะทางธรรมชาตขิ อง
มะเร็ง อุบัติการณ์ การดาเนินโรค
การตรวจวนิ จิ ฉัย แบง่ ระยะโรค วางแผนการรกั ษา ผลการรกั ษา และ
การพยากรณ์โรค

3. บทบาทของรงั สีรกั ษาในการรกั ษาโรค โดยเฉพาะอธิบายถงึ
โรคมะเร็งท่ีพบบ่อย

4. ผลแทรกซ้อนของการฉายรังสี

5. มคี ุณธรรม จริยธรรม ท่เี หมาะสม

6. ให้ นพท. ฝึก communication skill กับผู้ป่วยของแผนกรงั สี
รักษา โดยมอี าจารยเ์ ปน็ ผคู้ วบคุม
การพฒั นาการเรยี นรู้ของนกั เรยี น

1. ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม
1.4) มีความตรงต่อเวลา มีวินัย มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ

มอบหมาย
วธิ กี ารสอน : อธบิ าย
การประเมนิ ผล : ประเมินจากการเขา้ เรียนและการมีส่วนร่วมในการ
เรยี นการสอน

2. ด้านความรู้
- มีความรู้พ้ืนฐานทางรังสีรักษา, สามารถอธิบายคนไข้เก่ียวกับ

วธิ ีการฉายรังสี ข้อบ่งช้ี
และผลขา้ งเคียงได้
วิธกี ารสอน : อธบิ าย และยกตัวอยา่ ง Case ทางด้านรงั สีรกั ษา ชนดิ ต่าง

การประเมนิ ผล : ขอ้ สอบ CRQ

3. ทกั ษะทางปัญญา
3.4 สามารถนาข้อมูลและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์การแพทย์

พื้ น ฐ า น แ ล ะ ท า ง ค ลี นิ ค ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร อ้ า ง อิ ง แ ล ะ แ ก้ ปั ญ ห า ไ ด้ อ ย่ า ง มี
วจิ ารณญาณ

3.7 เลือกใช้วิธีการตรวจโดยเคร่ืองมือพ้ืนฐาน เคร่ืองมือพิเศษโดย
คานึงถึงความคุม้ ค่าและเหมาะสม
วธิ กี ารสอน : อธบิ าย และยกตัวอย่าง Case ทางด้านรังสีรกั ษา ชนิด
ต่าง ๆ

120

การประเมนิ ผล : ขอ้ สอบ CRQ
5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสาร และการใช้

เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2 สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูด,การฟัง, การ

อา่ น, การเขยี น, การนาเสนอ
วิธกี ารสอน : อธิบาย และยกตัวอย่าง Case ทางดา้ นรังสีรักษา ชนดิ ตา่ ง

การประเมนิ ผล : ขอ้ สอบ CRQ

6. ด้านทักษะพสิ ยั
6.3 มีความสามารถในการตรวจและแปลผล โดยเคร่ืองมือพ้ืนฐาน

และเลอื กใชก้ ารตรวจทีจ่ าเปน็ ได้ โดยคานึงถงึ ความค้มุ ค่าและเหมาะสม
วิธกี ารสอน : อธบิ าย และยกตัวอย่าง Case ทางด้านรงั สีรกั ษา ชนิดตา่ ง

การประเมนิ ผล : ขอ้ สอบ CRQ
เนื้อหา

1. ความรู้พ้ืนฐานของรังสีรกั ษา

2. ลกั ษณะธรรมชาติ การแพร่กระจ่าย และการจดั ระยะโรค ใน
โรคมะเร็งที่พบบอ่ ยและรกั ษาโดยรังสี

3. ข้อบง่ ช้ี วัตถุประสงค์ และผลแทรกซ้อนในการใชร้ ังสีรกั ษา
ประสบการณก์ ารเรยี นรู้

1. อาจารย์กลา่ วนา

5 นาที

2. อธบิ ายความรู้พื้นฐานทางรังสรี กั ษา

15 นาที
3. อธบิ ายเกี่ยวกบั ขอ้ บง่ ชี้ และวัตถุประสงค์ของการใช้รังสีรกั ษา

30 นาที

4. อธบิ ายเกี่ยวกบั ผลแทรกซ้อน การปอ้ งกนั และรักษาผลแทรกซ้อน

การใชร้ ังสรี ักษา 30 นาที

121

5. อธิบายเกี่ยวกับการจัดระยะโรคมะเร็ง emergency and

palliative radiation 30 นาที treatment

6. นาชมและสาธิตการใชเ้ ครอ่ื งมือรังสรี กั ษาชนิดต่าง ๆ

30 นาที

สื่อการสอน

1. Computer & Projector

2. อปุ กรณ์การฉายรงั สใี นแผนกรงั สรี ักษา

การประเมนิ ผล
1. Formative evaluation : สงั เกตจากการซกั ถามในช้ันเรยี น

2. Summative evaluation : ขอ้ สอบ CRQ 3 ขอ้

3. Authentic evaluation : feed back นพท./นศพ. หลังการ
ซักถาม

รายวชิ า รงั สวี ทิ ยา (วพมรส 501)
เร่อื ง Topic assignment and presentation
ผูเ้ รียน
นพท./นศพ. ชัน้ ปีท่ี 5

122

ผสู้ อน พ.อ.หญิง ผศ.บุษบง หนูหล้า/พ.ท.นรเศรษฐ์

กิตตนิ รเศรษฐ์/พ.ต.หญิง ฉัตรวดี ลม้ิ ไพบลู ย์

เวลา 4 ชม.

สถานท่ี ห้องประชุมกองรังสีกรรม อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ ช้ัน

2

วัตถุประสงค์ : เพอ่ื ให้ นพท./นศพ. สามารถ

1. ค้นหาข้อมูล ในหัวข้อที่กาหนด และนาเสนอหน้าช้ันเรียน ได้

อย่างเหมาะสม

2. มีทักษะการให้ความรูแ้ ก่ผูป้ ว่ ย ได้อยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม

การพฒั นาการเรียนรขู้ องนักเรยี น
1. ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม
1.4) มีความตรงต่อเวลา มีวินัย มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ

มอบหมาย
วธิ กี ารสอน : มอบหมายงานบคุ คล
การประเมนิ ผล : บนั ทึกเข้าเรียน และการมสี ว่ นร่วมในการเรยี นการสอน
การสงั เกตพฤตกิ รรมและประเมนิ

การปฎิบตั ิงาน
2. ด้านความรู้

2.2) ค วามรู้ท างวิช าชี พ แล ะทั ก ษ ะท างค ลินิ ก (ต ามเก ณ ฑ์
มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทย์สภา พ.ศ.2555 ภาคผนวก
ข.) ในเรือ่ งตอ่ ไปนี้

3.2 การตรวจทางรังสีวิทยา สามารถอธิบายข้ันตอนการตรวจ
และประเมนิ ขอ้ บง่ ชี้ ข้อหา้ ม
สภาพและเง่ือนไขท่ีเหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและแปลผล
การตรวจได้ถูกต้อง

3.3 สาม ารถ บ อก ข้ อบ่ งช้ี ข้ อห้ าม สภ าพ แล ะเงื่อ น ไข ท่ี

เหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและหรือเก็บตัวอย่างตรวจและ
แปลผลรายงานการตรวจได้ด้วยตนเองถูกต้อง
วธิ กี ารสอน : มอบหมายงานบุคคล
การประเมนิ ผล : ประเมนิ ผลงานรายบุคคลจากเอกสารรายงานและการ
นาเสนอหน้าช้ันเรียน

3. ทักษะทางปญั ญา

123

3.4 สามารถนาข้อมูลและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
พื้นฐานและทางคลีนิคไปใช้ในการอ้างอิงและแก้ปัญหาไ ด้อย่างมี
วิจารณญาณ

3.7 เลือกใช้วิธีการตรวจโดยเคร่ืองมือพ้ืนฐาน เครื่องมือพิเศษโดย
คานึงถงึ ความคุ้มค่าและเหมาะสม
วธิ กี ารสอน : มอบหมายงานบคุ คล
การประเมนิ ผล : ประเมนิ ผลงานรายบุคคลจากเอกสารรายงานและการ
นาเสนอหน้าชนั้ เรียน

5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิ งตัวเลข การสื่อสาร และการใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศ

5.2 สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพท้ังการพูด,การฟัง, การ
อา่ น, การเขยี น, การนาเสนอ

5.5 มีทักษะในการรับฟังปัญหา เข้าใจถึงความรู้สึกและความวิตก
กังวลของผู้ป่วยและญ าติ อีกท้ัง สามารถตอบคาถาม อ ธิบาย ให้
คาปรกึ ษา และคาแนะนา โดยเปดิ โอกาสให้มสี ่วนรว่ มอยา่ งเหมาะสม

5.8 สามารถเลือกและใช้รูปแบบการนาเสนอสารสนเทศ ตลอดจน
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารได้อย่างมีประสิทธิภาพและ
เหมาะสมกบั สถานการณ์
วิธกี ารสอน : มอบหมายงานบุคคล
การประเมนิ ผล : ประเมนิ ผลงานรายบุคคลจากเอกสารรายงานและการ
นาเสนอหน้าช้ันเรียน
ประสบการณ์เรียนรู้ :

- แจกหัวข้อ Topic presentation หรือ scenario คนละ 1 หัวข้อ

และนาเสนอในชั้นเรียน ในสัปดาห์ที่ 3 ของการเรียน ในรูปแบบ

Power point

ส่อื การสอน :

1. Manual of Diagnostic Imaging ค้นควา้ จากตารา จาก internet

2. แผ่นพับต่างๆ เช่น แผ่นพับเกี่ยวกับการตรวจพิเศษต่าง ๆ ทางรังสี
วิทยา,รวมทงั้ การเตรียมตวั ผู้ปว่ ย

3. ถามอาจารย์, นพท./นศพ. รุ่นพ่ี และบุคลากรในภาควิชารังสี
วิทยา/กองรงั สีกรรม

124

การประเมนิ ผล :
ประเมินจากการนาเสนอหน้าช้นั เรียน

รายวิชา รังสีวทิ ยา (วพมรส 501)
เรอ่ื ง รังสิวิทยาผ้ปู ว่ ยเดก็ (Pediatric Radiology)

125

ผเู้ รียน นพท./นศพ. ชนั้ ปีที่ 5

ผู้สอน พ.ท.สุทธิพร คาพนั ธนุ์ ิพ

เวลา 3 ชั่วโมง

สถานท่ี ห้องประชุมกองรังสีกรรม อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ ช้ัน

2

วตั ถุประสงค์ เพ่อื ให้ นพท./นศพ.สามารถ

1. เขา้ ใจความรู้ทางรังสีเบือ้ งต้น รวมทงั้ สามารถอธบิ ายผล

(radiation effect) ทางรงั สเี บ้ืองตน้ ในผปู้ ่วยเด็ก

2. เลอื กวธิ ีการตรวจทางรงั สีวิทยาที่ถูกต้องและเหมาะสมในผู้ปว่ ย
แตล่ ะราย โดยคานึงถงึ ข้อมลู เพิ่มเติมท่ีจะไดร้ ับจากการตรวจ
รวมถงึ สามารถลดปริมาณรงั สีทใ่ี ช้ในการตรวจ

3. เขา้ ใจและสามารถแปลผลเบ้อื งต้นของการเอกซเรย์ปอด
(chest X ray) และชอ่ งท้อง (film abdomen) ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง

4. เข้าใจข้อบง่ ชแ้ี ละข้อจากดั ในการตรวจพเิ ศษทางรังสวี ิทยาใน
ผ้ปู ่วยเด็กได้ เชน่ การทา fluoroscope, CT scan และ MRI

การพฒั นาการเรียนรู้ของนกั เรียน
1. ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
1.4) มีความตรงต่อเวลา มีวินัย มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ

มอบหมาย

วิธกี ารสอน : อธิบาย

การประเมนิ ผล : ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีสว่ นร่วมในการ

เรียนการสอน
2. ด้านความรู้
2.2) ค วามรู้ท างวิช าชี พ แล ะทั ก ษ ะท างค ลินิ ก (ต ามเก ณ ฑ์

มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทย์สภา พ.ศ.2555 ภาคผนวก
ข.) ในเร่อื งต่อไปนี้

3.2 การตรวจทางรังสีวทิ ยา สามารถอธิบายขั้นตอนการตรวจ
และประเมินข้อบ่งชี้ ขอ้ ห้าม
สภาพและเงื่อนไขที่เหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและแปลผล
การตรวจได้ถูกต้อง

3.2.1 Chest X-ray

126

3.2.2 Plain Abdomen

3.3 สาม ารถ บ อก ข้ อบ่ งชี้ ข้ อห้ าม สภ าพ แล ะเงื่อ น ไข ท่ี
เหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและหรือเก็บตัวอย่างตรวจและ
แปลผลรายงานการตรวจไดด้ ้วยตนเองถูกต้อง
วธิ กี ารสอน : บรรยาย อธบิ าย และให้ดตู วั อย่าง ความผิดปกตขิ องฟลิ ์ม

chest abdomen และ การตรวจพเิ ศษ ทางรังสวี ิทยาในผ้ปู ว่ ยเด็ก

การประเมินผล : ขอ้ สอบ CRQ

3. ทกั ษะทางปญั ญา
3.4 สามารถนาข้อมูลและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์การแพทย์

พื้ น ฐ า น แ ล ะ ท า ง ค ลี นิ ค ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร อ้ า ง อิ ง แ ล ะ แ ก้ ปั ญ ห า ไ ด้ อ ย่ า ง มี
วิจารณญาณ

3.7 เลอื กใช้วิธีการตรวจโดยเคร่ืองมือพืน้ ฐาน เคร่ืองมอื พิเศษโดย
คานึงถงึ ความคุม้ คา่ และเหมาะสม
วิธีการสอน : บรรยาย อธิบาย และให้ดูตัวอย่าง ความผิดปกติของฟิล์ม

chest abdomen และ การตรวจพเิ ศษ ทางรงั สวี ทิ ยาในผู้ปว่ ยเด็ก

การประเมนิ ผล : ข้อสอบ CRQ
5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสาร และการใช้

เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2 สามารถสื่อสารได้อยา่ งมีประสิทธิภาพทงั้ การพูด,การฟัง, การ

อ่าน, การเขียน, การนาเสนอ
วิธีการสอน : บรรยาย อธิบาย และให้ดูตัวอย่าง ความผิดปกติของฟิล์ม

chest abdomen และ การตรวจพิเศษ ทางรังสีวทิ ยาในผู้ปว่ ยเด็ก

การประเมินผล : ข้อสอบ CRQ

6. ด้านทักษะพิสัย
6.3 มีความสามารถในการตรวจและแปลผล โดยเคร่ืองมือพ้ืนฐาน

และเลือกใชก้ ารตรวจทีจ่ าเปน็ ได้ โดยคานงึ ถึงความคุ้มคา่ และเหมาะสม
วธิ กี ารสอน : บรรยาย อธิบาย และให้ดตู ัวอย่าง ความผดิ ปกตขิ องฟลิ ์ม

chest abdomen และ การตรวจพิเศษ ทางรงั สวี ิทยาในผปู้ ่วยเด็ก

การประเมนิ ผล : ขอ้ สอบ CRQ
เนื้อหา

127

1 ความรู้ทางรังสีเบื้องต้นและผลทางรงั สี (radiation effect) เบื้องต้น
ในผู้ปว่ ยเดก็

2 หลักการป้องกันรงั สี และการลดปรมิ าณรงั สี ในผู้ป่วยเด็ก

3 การดู normal chest X-ray ในผู้ป่วยเด็กและพยาธิสภาพอย่าง

ง่ายๆ เช่น Respiratory distress, Transient trachypnea of the new

born, pneumothorax, pneumomediatinum , Foreign body แ ล ะ
อน่ื ๆ

4 การดู normal film abdomen ในผู้ป่วยเด็กและพยาธิสภาพอย่าง

ง่ า ย ๆ เ ช่ น duodenal atresia , hypertrophic pyloric stenosis ,

NEC, pneumoperitoneum, bowel obstruction, intussusception
และอ่ืนๆ

5 ก า ร ดู ต า แ ห น่ ง ET tube, ICD tube, OG/GG tube, umbilical

line ว่าถูกต้องเหมะสมหรือไม่ รวมถงึ complication ทีอ่ าจเกดิ ข้นึ ได้
ประสบการณก์ ารเรยี นรู้

1. อาจารย์กล่าวนา

5 นาที

2. อธิบายความรู้พื้นฐานทางรงั สีและการลดปริมาณรังสี ในผ้ปู ว่ ย

เด็ก 30 นาที 3. การดู

normal chest X-ray ในผปู้ ว่ ยเด็กและพยาธิสภาพอย่าง ง่ายๆ

45 นาที

4การดู normal film abdomen ในผูป้ ่วยเด็กและพยาธิสภาพอยา่ ง

ง่ายๆ 45 นาที

5 การดูตาแหน่ง ET tube, ICD tube, OG/GG tube, umbilical

line ว่าถกู ต้องเหมะสม 30 นาที

หรือไม่ รวมถึง complication ทอี่ าจเกิดข้นึ ได้

6. สอบถามและตอบคาถาม

25 นาที

128

สื่อการสอน
1. Computer & Projector
2. เอกสารประกอบการเรียนการสอน
3. Teaching films และ view box

การประเมินผล
1. Formative evaluation : ซกั ถามในชน้ั เรยี น
2. Summative evaluation : CRQ 3 ข้อ
3. Authentic evaluation : feed back น พ ท ./น ศ พ . ห ลั ง ก า ร

ซกั ถาม

129

รายวิชา รงั สวี ิทยา (วพมรส 501)

เรือ่ ง รังสวี ิทยา ระบบฉกุ เฉิน (Emergency Radiology)

ผเู้ รียน นพท./นศพ. ช้ันปีที่ 5

ผู้สอน พ.ท.หญงิ กมลกานต์ สทุ ธวิ าทนฤพุฒ/ิ พ.อ.หญงิ อนงค์

รัตน์ เกาะสมบตั /ิ พ.ท.สุทธิพร คาพันธ์ุนพิ

พ.ท.เมธา อง้ึ อภนิ ันท/์ พ.ต.หญิง ฉัตรวดี ลิ้มไพบลู ย์

เวลา 7 ชว่ั โมง

สถานท่ี ห้องประชุมกองรังสีกรรม อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ ช้ัน
2

วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ นพท./นศพ. สามารถ

1. อธบิ ายหลกั การส่งตรวจที่เหมาะสมในผปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิ ชนดิ ต่าง ๆ
2. ให้การวินิจฉัยความผิดปกติของฟิล์มเอกซเรย์ทรวงอก ช่องท้อง

กระดกู กระดูกสันหลงั กะโหลกศีรษะ และ สมอง
3. สามารถประเมินภาวะเลือดออกในช่องท้องโดยการใช้อัลตรา

ซาวด์ (FAST) และภาวะฉุกเฉินอื่นๆ ท่ีสามารถตรวจด้วยอัลตรา
ซาวด์

การพฒั นาการเรียนรูข้ องนักเรียน
1. ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม

130

1.4) มีความตรงต่อเวลา มีวินัย มีความรับผิดชอบต่องานท่ีได้รับ
มอบหมาย
วธิ กี ารสอน : อธิบาย
การประเมนิ ผล : ประเมินจากการเข้าเรยี นและการมีสว่ นรว่ มในการ
เรียนการสอน

2. ดา้ นความรู้
2.2) ค วามรู้ท างวิช าชี พ แล ะทั ก ษ ะท างค ลินิ ก (ต ามเก ณ ฑ์

มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทย์สภา พ.ศ.2555 ภาคผนวก
ข.) ในเรื่องตอ่ ไปนี้

3.2 การตรวจทางรังสีวิทยา สามารถอธิบายข้ันตอนการตรวจ
และประเมินข้อบ่งช้ี ขอ้ หา้ ม
สภาพและเง่ือนไขท่ีเหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและแปลผล
การตรวจไดถ้ กู ตอ้ ง

3.2.1 Chest x-ray
3.2.2 Plain Abdomen

3.2.3 Plain KUB
3.2.4 Skull and sinuses

3.2.5 Bone and joints
3.2.6 Lateral soft tissue of neck

3.3 สาม ารถ บ อก ข้ อบ่ งช้ี ข้ อห้ าม สภ าพ แล ะเง่ือ น ไข ท่ี
เหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและหรือเก็บตัวอย่างตรวจและ
แปลผลรายงานการตรวจได้ด้วยตนเองถูกต้อง

3.3.23 Computerized axial tomography scan

3.3.24 Magnetic resonance imaging
3.3.27 Barium contrast GI studies

3.3.28 Intravascular contrast studies: arterial and
venous studies

3.4 การทาหัตถการทจ่ี าเป็นหรอื มสี ว่ นแก้ปญั หาสุขภาพฯ
ระดับที่ 3 ลาดบั ที่ 87 Ultrasonography ,abdomen in

traumatic condition

131

88.76 Diagnostic ultrasound of

abdomen and retroperitoneum
วิธกี ารสอน : ให้ดตู ัวอย่าง ความผิดปกติของฟลิ ์ม ชนดิ ตา่ ง ๆ และฝึก
การทาอลั ตราซาวด์
การประเมนิ ผล : จากการมีส่วนรว่ มในการเรียนการสอน และการ
นาเสนออ่านฟิล์มทีละคน

3. ทักษะทางปญั ญา
3.4 สามารถนาข้อมูลและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์การแพทย์

พ้ื น ฐ า น แ ล ะ ท า ง ค ลี นิ ค ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร อ้ า ง อิ ง แ ล ะ แ ก้ ปั ญ ห า ไ ด้ อ ย่ า ง มี
วิจารณญาณ

3.7 เลือกใช้วิธีการตรวจโดยเครื่องมือพ้ืนฐาน เครื่องมือพิเศษโดย
คานึงถงึ ความคุม้ คา่ และเหมาะสม
วิธกี ารสอน : ให้ดูตวั อย่าง ความผิดปกตขิ องฟลิ ์ม ชนดิ ต่าง ๆ และฝกึ
การทาอลั ตราซาวด์
การประเมนิ ผล : จากการมีสว่ นร่วมในการเรยี นการสอน และการ
นาเสนออ่านฟลิ ม์ ทีละคน

5. ด้านทักษะก ารวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสาร และการใ ช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศ

5.2 สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพท้ังการพูด,การฟัง, การ
อา่ น, การเขียน, การนาเสนอ
วิธกี ารสอน : ใหด้ ตู วั อย่าง ความผดิ ปกตขิ องฟิล์ม ชนดิ ตา่ ง ๆ และฝกึ
การทาอัลตราซาวด์
การประเมนิ ผล : จากการมีสว่ นร่วมในการเรียนการสอน และการ
นาเสนออ่านฟิล์มทีละคน

6. ดา้ นทักษะพสิ ยั
6.3 มีความสามารถในการตรวจและแปลผล โดยเครื่องมือพื้นฐาน

และเลอื กใช้การตรวจทีจ่ าเปน็ ได้ โดยคานึงถึงความคมุ้ ค่าและเหมาะสม
6.4 มีทักษะในการให้การดูแลรักษา และทาหัตถการท่ีจาเป็น

(ตาม (ร่าง) เกณฑ์ มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทยสภา

พ.ศ. 2555 )
3.2 การตรวจทางรังสีวิทยา สามารถอธิบายข้ันตอนการตรวจ

และประเมินข้อบง่ ช้ี ขอ้ หา้ ม

132

สภาพและเงื่อนไขท่ีเหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและแปลผล
การตรวจไดถ้ ูกตอ้ ง

3.2.1 Chest x-ray
3.2.2 Plain Abdomen
3.2.3 Plain KUB
3.2.4 Skull and sinuses
3.2.5 Bone and joints
3.2.6 Lateral soft tissue of neck
3.3 สามารถบอกข้อบ่งช้ี ข้อห้าม สภาพและเง่ือนไขท่ีเหมาะสม
เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและหรือเก็บตัวอย่างตรวจและแปลผล
รายงานการตรวจได้ด้วยตนเองถูกต้อง
3.3.23 Computerized axial tomography scan
3.3.24 Magnetic resonance imaging
3.3.27 Barium contrast GI studies
3.3.28 Intravascular contrast studies: arterial and
venous studies
3.4 การทาหตั ถการที่จาเป็นหรือมีสว่ นแกป้ ัญหาสุขภาพฯ
ระดบั ท่ี 3 ลาดับที่ 87 Ultrasonography ,abdomen in
traumatic condition

88.76 Diagnostic ultrasound of
abdomen and retroperitoneum
วธิ กี ารสอน : ให้ดตู วั อย่าง ความผดิ ปกตขิ องฟิล์ม ชนิดตา่ ง ๆ และฝกึ
การทาอลั ตราซาวด์
การประเมนิ ผล : จากการมีส่วนรว่ มในการเรยี นการสอน และการ
นาเสนออ่านฟิล์มทีละคน
เนื้อหา

1.หลักการส่งตรวจที่เหมาะสมในผปู้ ว่ ยฉุกเฉินชนดิ ต่าง ๆ
2. ตัวอย่างฟิล์ม ความผิดปกติชนิดต่างๆ ของ chest , abdomen ,
bone , spine , brain, skull , lateral neck and sinus ในผปู้ ว่ ยฉุกเฉิน

133

3.ฝึกการประเมินภาวะเลือดออกในช่องท้องโดยการใช้อัลตรา

ซาวด์ (FAST) และภาวะฉุกเฉนิ อนื่ ๆ ท่ีตรวจด้วยอัลตราซาวด์
ประสบการณก์ ารเรยี นรู้

1. อาจารย์กลา่ วนา

5 นาที

2. อธิบายหลักการส่งตรวจท่ีเหมาะสมในผู้ป่วยฉุกเฉินชนิดต่าง ๆ

25 นาที
3. แบ่งกลมุ่ ย่อยตามสถานีต่างๆ เพ่อื ดูตวั อยา่ งฟิล์ม ความผดิ ปกติ

ชนิดต่างๆ ของ chest, 50 นาที abdomen , bone , spine ,

brain, skull , lateral neck and sinus ในผู้ปว่ ยฉุกเฉิน

และฝึกการประเมนิ ภาวะเลือดออกในชอ่ งท้องโดยการใชอ้ ลั ตราซาวด์

(FAST) และภาวะฉุกเฉินอนื่ ๆ ที่ตรวจดว้ ยอลั ตราซาวด์ ใชเ้ วลา

สถานลี ะ 50 นาที

พักทุกๆ 2 สถานี รวม

30 นาที

4. สอบถามและตอบคาถาม

10 นาที

สื่อการสอน
1. Computer & Projector
2. เอกสารประกอบการเรยี นการสอน
3. Teaching films และ view box

การประเมินผล
1. Formative evaluation : ซักถามในชนั้ เรียน
2.. Authentic evaluation : feed back น พ ท ./น ศ พ . ห ลั ง ก า ร

ซกั ถาม

134

รายวิชา รงั สีวทิ ยา (วพมรส 501)

เรือ่ ง รังสวิ ทิ ยา ระบบ (Case-based study)

ผู้เรยี น นพท./นศพ. ชนั้ ปีที่ 5

ผสู้ อน พ.อ.หญงิ ผศ.บษุ บง หนูหล้า/ร.ท.หญิง จิตตร์ ณี
หะวะนิช

เวลา 4 ชว่ั โมง

สถานท่ี ห้องประชุมกองรังสีกรรม อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ ช้ัน
2

วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ นพท./นศพ. สามารถ

1. เลอื กการสง่ ตรวจท่เี หมาะสมในผ้ปู ว่ ยตา่ ง ๆ
2. ให้การวินิจฉัยความผิดปกติของฟิล์มเอกซเรย์ทรวงอก ช่องท้อง

กระดกู กระดูกสันหลัง กะโหลกศรี ษะ และ สมอง
3. เช่ือมโยงภาวะความผิดปกติท่ีพบจากการตรวจวินิจฉัยทางรังสี

วิทยากับอาการทางคลนี ิคได้

การพัฒนาการเรียนรูข้ องนกั เรยี น

1. ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม
1.4) มีความตรงต่อเวลา มีวินัย มีความรับผิดชอบต่องานท่ีได้รับ

มอบหมาย
วิธกี ารสอน : อธบิ าย

การประเมนิ ผล : ประเมินจากการเขา้ เรยี นและการมีส่วนร่วมในการ
เรียนการสอน

2. ด้านความรู้

135

2.2) ค วามรู้ท างวิช าชี พ แล ะทั ก ษ ะท างค ลินิ ก (ต ามเก ณ ฑ์
มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทย์สภา พ.ศ.2555 ภาคผนวก
ข.) ในเรื่องต่อไปนี้

3.2 การตรวจทางรังสีวิทยา สามารถอธิบายข้ันตอนการตรวจ
และประเมนิ ข้อบง่ ช้ี ขอ้ ห้าม
สภาพและเงื่อนไขที่เหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและแปลผล
การตรวจไดถ้ ูกตอ้ ง

3.2.1 Chest x-ray

3.2.2 Plain Abdomen

3.2.3 Plain KUB

3.2.4 Skull and sinuses

3.2.5 Bone and joints

3.2.6 Lateral soft tissue of neck

3.3 สาม ารถ บ อก ข้ อบ่ งช้ี ข้ อห้ าม สภ าพ แล ะเง่ือ น ไข ที่
เหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและหรือเก็บตัวอย่างตรวจและ
แปลผลรายงานการตรวจได้ดว้ ยตนเองถกู ต้อง

3.3.23 Computerized axial tomography scan

3.3.24 Magnetic resonance imaging

3.3.27 Barium contrast GI studies

3.3.28 Intravascular contrast studies: arterial and

venous studies
วธิ กี ารสอน : ให้ดูตวั อย่างเคสผปู้ ่วยต่างๆ พรอ้ มกับตวั อยา่ ง ความ
ผิดปกติของฟลิ ์ม และการตรวจพิเศษทางรงั สีอ่ืนๆ ร่วมกับผลการ
วินจิ ฉยั สดุ ท้าย
การประเมนิ ผล : จากการมีสว่ นร่วมในการเรยี นการสอน และการ
นาเสนออา่ นฟลิ ์มทีละคน

3. ทักษะทางปญั ญา
3.4 สามารถนาข้อมูลและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์การแพทย์

พื้ น ฐ า น แ ล ะ ท า ง ค ลี นิ ค ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร อ้ า ง อิ ง แ ล ะ แ ก้ ปั ญ ห า ไ ด้ อ ย่ า ง มี
วิจารณญาณ

136

3.7 เลือกใช้วิธีการตรวจโดยเครื่องมือพื้นฐาน เคร่ืองมือพิเศษโดย
คานึงถงึ ความคุ้มค่าและเหมาะสม
วิธกี ารสอน : ให้ดูตวั อย่างเคสผู้ป่วยต่างๆ พรอ้ มกบั ตวั อย่าง ความ
ผดิ ปกตขิ องฟลิ ์ม และการตรวจพเิ ศษทางรังสอี ่นื ๆ รว่ มกับผลการ
วนิ ิจฉัยสดุ ท้าย
การประเมนิ ผล : จากการมีสว่ นรว่ มในการเรยี นการสอน และการ
นาเสนออ่านฟลิ ม์ ทีละคน

5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ

5.2 สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูด,การฟัง, การ
อา่ น, การเขยี น, การนาเสนอ
วธิ กี ารสอน : ให้ดูตัวอย่างเคสผูป้ ่วยต่างๆ พรอ้ มกับตัวอยา่ ง ความ
ผดิ ปกติของฟิล์ม และการตรวจพเิ ศษทางรังสีอ่นื ๆ ร่วมกับผลการ
วินจิ ฉัยสุดทา้ ย
การประเมนิ ผล : จากการมีส่วนรว่ มในการเรยี นการสอน และการ
นาเสนออา่ นฟลิ ม์ ทีละคน

6. ดา้ นทกั ษะพิสยั
6.3 มีความสามารถในการตรวจและแปลผล โดยเครื่องมือพื้นฐาน

และเลอื กใชก้ ารตรวจทจ่ี าเป็นได้ โดยคานงึ ถึงความคุ้มคา่ และเหมาะสม
6.4 มีทักษะในการให้การดูแลรักษา และทาหัตถการที่จาเป็น

(ตาม (ร่าง) เกณฑ์ มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทยสภา

พ.ศ. 2555 )
3.2 การตรวจทางรังสีวิทยา สามารถอธิบายข้ันตอนการตรวจ

และประเมนิ ขอ้ บ่งชี้ ข้อหา้ ม
สภาพและเงื่อนไขที่เหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและแปลผล
การตรวจได้ถกู ตอ้ ง

3.2.1 Chest x-ray

3.2.2 Plain Abdomen

3.2.3 Plain KUB

3.2.4 Skull and sinuses

3.2.5 Bone and joints

3.2.6 Lateral soft tissue of neck

137

3.3 สามารถบอกข้อบ่งช้ี ข้อห้าม สภาพและเงื่อนไขที่เหมาะสม
เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและหรือเก็บตัวอย่างตรวจและแปลผล
รายงานการตรวจไดด้ ว้ ยตนเองถูกต้อง

3.3.23 Computerized axial tomography scan
3.3.24 Magnetic resonance imaging
3.3.27 Barium contrast GI studies

3.3.28 Intravascular contrast studies: arterial and
venous studies
วิธกี ารสอน : ให้ดูตัวอย่างเคสผู้ป่วยตา่ งๆ พรอ้ มกับตัวอย่าง ความ
ผิดปกติของฟลิ ์ม และการตรวจพิเศษทางรังสอี ื่นๆ ร่วมกับผลการ
วินจิ ฉัยสุดท้าย
การประเมนิ ผล : จากการมีส่วนร่วมในการเรยี นการสอน และการ
นาเสนออา่ นฟลิ ม์ ทีละคน
เนอ้ื หา
1.ประเมินอาการทางคลินิก และ เลือกวิธีที่เหมาะสมในส่งตรวจทาง
รังสี
2. ตัวอย่างเคสผู้ป่วยท่ีทราบผลการวินิจฉัยสุดท้าย และดูตัวอย่าง
ฟิลม์ ความผดิ ปกติชนิดต่างๆ ในแต่ละราย
ประสบการณก์ ารเรยี นรู้
1. อาจารย์กลา่ วนา

5 นาที
2. อาจารย์นาเสนอตัวอย่างเคสผู้ป่วยท่ีทราบผลการวินิจฉัยสุดท้าย

3 ชม 30 นาที
และดูตวั อย่างฟิล์ม ความผิดปกติชนิดต่างๆ ในแตล่ ะราย
พัก เม่ือครบ 2 ชม

15 นาที
3. สอบถามและตอบคาถาม

10 นาที
สือ่ การสอน

1. Computer & Projector

138

การประเมินผล
1. Formative evaluation : ซักถามในชน้ั เรยี น
2.. Authentic evaluation : feed back น พ ท ./น ศ พ . ห ลั ง ก า ร

ซักถาม

รายวิชา รงั สีวิทยา (วพมรส 501)
เรื่อง รังสิวิทยา ระบบ (Plain Film interpretation)
ผเู้ รียน
นพท./นศพ. ช้ันปีที่ 5

139

ผู้สอน อาจารย์และแพทย์ประจาบ้านภาควิชารังสีวิทยา และ

กองรงั สกี รรม หนว่ ยรงั สวี ินจิ ฉัย

เวลา 7 ชั่วโมง

สถานท่ี ห้องอา่ นฟิล์มPACS อาคารเฉลมิ พระเกียรติฯ ช้ัน 2

วตั ถปุ ระสงค์ : เพื่อให้ นพท./นศพ. สามารถ

1. ให้การวินิจฉัยความผิดปกติของฟิล์มเอกซเรย์ทรวงอก ช่องท้อง
กระดูก กระดูกสนั หลัง กะโหลกศรี ษะ และสมอง

การพฒั นาการเรียนร้ขู องนกั เรียน
1. ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม
1.4) มีความตรงต่อเวลา มีวินัย มีความรับผิดชอบต่องานท่ีได้รับ

มอบหมาย

วธิ กี ารสอน : อธบิ าย

การประเมนิ ผล : ประเมนิ จากการเขา้ เรียนและการมีสว่ นรว่ มในการ
เรียนการสอน

2. ด้านความรู้
2.2) ค วามรู้ท างวิช าชี พ แล ะทั ก ษ ะท างค ลินิ ก (ต ามเก ณ ฑ์

มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทย์สภา พ.ศ.2555 ภาคผนวก
ข.) ในเรอ่ื งต่อไปนี้

3.2 การตรวจทางรังสีวทิ ยา สามารถอธิบายข้ันตอนการตรวจ
และประเมนิ ข้อบ่งชี้ ข้อห้าม
สภาพและเงื่อนไขที่เหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและแปลผล
การตรวจได้ถกู ตอ้ ง

3.2.1 Chest x-ray

3.2.2 Plain Abdomen

3.2.3 Plain KUB

3.2.4 Skull and sinuses

3.2.5 Bone and joints

3.2.6 Lateral soft tissue of neck

140

วธิ กี ารสอน : ให้ฝกึ อ่าน Plain filmชนิดตา่ งๆ ในแต่ละวันของการสง่
ตรวจจากแผนกตา่ งๆ พรอ้ มแพทย์ประจาบ้านและอาจารย์ผูร้ บั ผิดชอบ
การประเมนิ ผล : จากการมีส่วนร่วมในการเรยี นการสอน และการอ่าน
ฟลิ ์มทลี ะคน

3. ทักษะทางปญั ญา

3.4 สามารถนาข้อมูลและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
พื้ น ฐ า น แ ล ะ ท า ง ค ลี นิ ค ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร อ้ า ง อิ ง แ ล ะ แ ก้ ปั ญ ห า ไ ด้ อ ย่ า ง มี
วจิ ารณญาณ

3.7 เลือกใช้วิธีการตรวจโดยเคร่ืองมือพื้นฐาน เคร่ืองมือพิเศษโดย
คานึงถงึ ความคมุ้ คา่ และเหมาะสม
วธิ กี ารสอน : ให้ฝกึ อา่ น Plain filmชนิดต่างๆ ในแต่ละวนั ของการสง่
ตรวจจากแผนกต่างๆ พร้อมแพทย์ประจาบา้ นและอาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบ
การประเมนิ ผล : จากการมีสว่ นร่วมในการเรยี นการสอน และการอ่าน
ฟิลม์ ทีละคน

5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสา ร และการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ

5.2 สามารถส่ือสารได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูด,การฟัง, การ
อ่าน, การเขียน, การนาเสนอ
วธิ กี ารสอน : ให้ฝึกอ่าน Plain filmชนิดต่างๆ ในแตล่ ะวันของการส่ง
ตรวจจากแผนกต่างๆ พร้อมแพทย์ประจาบ้านและอาจารย์ผู้รับผิดชอบ
การประเมนิ ผล : จากการมีสว่ นร่วมในการเรยี นการสอน และการอา่ น
ฟิลม์ ทลี ะคน

6. ด้านทักษะพสิ ยั

6.3 มีความสามารถในการตรวจและแปลผล โดยเคร่ืองมือพื้นฐาน
และเลอื กใชก้ ารตรวจท่จี าเป็นได้ โดยคานึงถงึ ความคมุ้ ค่าและเหมาะสม

6.4 มีทักษะในการให้การดูแลรักษา และทาหัตถการท่ีจาเป็น
(ตาม (ร่าง) เกณฑ์ มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทยสภา

พ.ศ. 2555 )

3.2 การตรวจทางรังสีวิทยา สามารถอธิบายข้ันตอนการตรวจ
และประเมนิ ขอ้ บ่งช้ี ข้อห้าม

141

สภาพและเงื่อนไขที่เหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและแปลผล
การตรวจได้ถูกตอ้ ง

3.2.1 Chest x-ray

3.2.2 Plain Abdomen

3.2.3 Plain KUB

3.2.4 Skull and sinuses

3.2.5 Bone and joints

3.2.6 Lateral soft tissue of neck

วธิ กี ารสอน : ให้ฝกึ อ่าน Plain filmชนิดตา่ งๆ ในแต่ละวนั ของการส่ง

ตรวจจากแผนกตา่ งๆ พร้อมแพทยป์ ระจาบา้ นและอาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบ
การประเมนิ ผล : จากการมีสว่ นร่วมในการเรียนการสอน และการอา่ น
ฟิล์มทลี ะคน
เนือ้ หา

1. ฟิล์มผู้ป่วยชนิดต่างๆ ที่ถูกส่งเข้ามาตรวจในแผนกรังสีวินิจฉัย

ในแตล่ ะวนั
ประสบการณก์ ารเรยี นรู้

1. ฝึกการอา่ นฟิล์มชนิดตา่ งๆ ทถ่ี กู สง่ เข้ามาตรวจในแผนกรังสี

วินิจฉัยในแตล่ ะวัน 7ชม

จากการสง่ ตรวจจากแผนกตา่ งๆ พร้อมแพทยป์ ระจาบา้ นและอาจารย์
ผรู้ บั ผดิ ชอบ
ส่อื การสอน

1. ห้องอ่านฟลิ ์ม PACS

การประเมนิ ผล

1. Formative evaluation : ซักถามในหอ้ งปฏบิ ตั งิ านPACS

2. ดปู ระสบการณ์การอา่ นฟลิ ์มจากสมดุ log book
3. Authentic evaluation : feed back น พ ท ./น ศ พ . ห ลั ง ก า ร
ซกั ถาม

รายวิชา รังสีวทิ ยา (วพมรส 501)

142

เรือ่ ง รงั สิวิทยา ระบบ (Ultrasound observation)

ผเู้ รียน นพท./นศพ. ชนั้ ปีท่ี 5

ผู้สอน อาจารย์และแพทย์ประจาบ้านภาควิชารังสีวิทยา และ

กองรงั สีกรรม หนว่ ยรงั สวี นิ ิจฉัย

เวลา 7 ชั่วโมง

สถานที่ ห้องตรวจอลั ตราซาวด์ อาคารเฉลมิ พระเกียรติฯ ช้ัน 2

วัตถปุ ระสงค์ : เพื่อให้ นพท./นศพ. สามารถ

1. มีทักษะในการฝึกทาอัลตราซาวด์ และประสบการณ์การดู
ตวั อย่างผู้ปว่ ยในเคสอัลตราซาวด์ชนิดต่าง ๆ

การพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน

1. ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
1.4) มีความตรงต่อเวลา มีวินัย มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ

มอบหมาย
วิธกี ารสอน : อธบิ าย

การประเมนิ ผล : ประเมินจากการเข้าเรยี นและการมีสว่ นรว่ มในการ
เรียนการสอน

2. ด้านความรู้
2.2) ค วามรู้ ท างวิช าชี พ แล ะทั ก ษ ะท างค ลินิ ก (ต ามเก ณ ฑ์

มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทย์สภา พ.ศ.2555 ภาคผนวก
ข.) ในเรอื่ งต่อไปนี้

3.4 การทาหตั ถการท่ีจาเปน็ หรือมสี ่วนแก้ปญั หาสุขภาพฯ

ระดับที่ 3 ลาดับท่ี 87 Ultrasonography ,abdomen in

traumatic condition

88.76 Diagnostic ultrasound of

abdomen and retroperitoneum

วธิ กี ารสอน : ให้ดูตวั อย่างผปู้ ่วยในเคสอัลตราซาวด์ชนิดตา่ ง ๆ และ
ฝึกการทาอลั ตราซาวด์
การประเมนิ ผล : จากการมีสว่ นร่วมในการเรยี นการสอน

3. ทกั ษะทางปัญญา

143

3.4 สามารถนาข้อมูลและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
พื้ น ฐ า น แ ล ะ ท า ง ค ลี นิ ค ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร อ้ า ง อิ ง แ ล ะ แ ก้ ปั ญ ห า ไ ด้ อ ย่ า ง มี
วิจารณญาณ

3.7 เลือกใช้วิธีการตรวจโดยเคร่ืองมือพื้นฐาน เครื่องมือพิเศษโดย
คานงึ ถงึ ความคุ้มคา่ และเหมาะสม
วิธกี ารสอน : ใหด้ ูตวั อย่างผปู้ ว่ ยในเคสอัลตราซาวดช์ นิดตา่ ง ๆ และ
ฝึกการทาอัลตราซาวด์
การประเมนิ ผล : จากการมีสว่ นร่วมในการเรียนการสอน

5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตั วเลข การส่ือสาร และการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ

5.2 สามารถส่ือสารได้อย่างมีประสิทธิภาพท้ังการพูด,การฟัง, การ
อา่ น, การเขียน, การนาเสนอ
วิธกี ารสอน : ใหด้ ตู วั อย่างผปู้ ่วยในเคสอลั ตราซาวด์ชนิดตา่ ง ๆ และ
ฝึกการทาอลั ตราซาวด์
การประเมนิ ผล : จากการมีส่วนร่วมในการเรยี นการสอน

6. ดา้ นทกั ษะพสิ ัย
6.3 มีความสามารถในการตรวจและแปลผล โดยเครื่องมือพื้นฐาน

และเลอื กใชก้ ารตรวจท่ีจาเปน็ ได้ โดยคานึงถงึ ความคมุ้ ค่าและเหมาะสม
6.4 มีทักษะในการให้การดูแลรักษา และทาหัตถการท่ีจาเป็น

(ตาม (ร่าง) เกณฑ์ มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทยสภา

พ.ศ. 2555 )

3.4 การทาหัตถการทจ่ี าเปน็ หรอื มีส่วนแกป้ ัญหาสขุ ภาพฯ

ระดับท่ี 3 ลาดบั ท่ี 87 Ultrasonography ,abdomen in

traumatic condition

88.76 Diagnostic ultrasound of

abdomen and retroperitoneum
วธิ กี ารสอน : ใหด้ ูตวั อย่างผูป้ ว่ ยในเคสอลั ตราซาวด์ชนิดตา่ ง ๆ และ
ฝึกการทาอลั ตราซาวด์
การประเมนิ ผล : จากการมีส่วนรว่ มในการเรยี นการสอน
เนอ้ื หา

ตัวอย่างเคสผู้ป่วยท่ีส่งมาทาอัลตราซาวด์ชนิดต่าง ๆ และฝึกการ
ทาอลั ตราซาวด์

144

ประสบการณก์ ารเรยี นรู้
ดูตวั อยา่ งเคสผู้ปว่ ยที่ส่งมาทาอลั ตราซาวดช์ นดิ ต่าง ๆ ในแผนกรงั สี

วนิ จิ ฉัยในแตล่ ะวัน 7ชม จากการส่งตรวจจากแผนกต่าง ๆ

พรอ้ มแพทยป์ ระจาบา้ นและอาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบ พร้อมท้งั
ฝกึ การทาอัลตราซาวด์ในผ้ปู ว่ ยบางราย
ส่อื การสอน

1. หอ้ งตรวจอลั ตราซาวด์ อาคารเฉลมิ พระเกยี รตฯิ ชน้ั 2

การประเมินผล

1. Formative evaluation : ซกั ถามในหอ้ งตรวจอลั ตราซาวด์

2. ดูประสบการณ์การทาหตั ถการจากสมุด log book

3. Authentic evaluation : feed back น พ ท ./น ศ พ . ห ลั ง ก า ร

ซกั ถาม

รายวชิ า รังสีวิทยา (วพมรส 501)
เร่ือง Interesting film teaching

ผเู้ รียน นพท./นศพ. ช้ันปีท่ี 5

ผู้สอน พ.อ.หญิง ผศ.บษุ บง หนหู ลา้

เวลา 4 ชม.

สถานที่ ห้องประชุมกองรังสีกรรม อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ ช้ัน

2

วตั ถปุ ระสงค์ : เพ่ือให้ นพท./นศพ. สามารถ

1. เลือกการสง่ ตรวจท่ีเหมาะสมในผู้ป่วยตา่ ง ๆ
2. ให้การวินิจฉัยความผิดปกติของฟิล์มเอกซเรย์ทรวงอก ช่องท้อง

กระดกู กระดกู สันหลงั กะโหลกศีรษะ และ สมอง
3. เชื่อมโยงภาวะความผิดปกติที่พบจากการตรวจวินิจฉัยทางรังสี

วทิ ยากับอาการทางคลินิกได้

การพัฒนาการเรยี นรู้ของนกั เรียน

145

1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1.4) มีความตรงต่อเวลา มีวินัย มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ

มอบหมาย
วิธกี ารสอน : อธิบาย

การประเมนิ ผล : ประเมินจากการเขา้ เรียนและการมีส่วนร่วมในการ
เรียนการสอน

2. ด้านความรู้
2.2) ค วามรู้ท างวิช าชี พ แล ะทั ก ษ ะท างค ลินิ ก (ต ามเก ณ ฑ์

มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทย์สภา พ.ศ.2555 ภาคผนวก
ข.) ในเรือ่ งตอ่ ไปนี้

3.2 การตรวจทางรังสีวิทยา สามารถอธิบายข้ันตอนการตรวจ
และประเมินข้อบง่ ช้ี ข้อห้าม
สภาพและเง่ือนไขที่เหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและแปลผล
การตรวจได้ถกู ต้อง

3.2.1 Chest x-ray

3.2.2 Plain Abdomen

3.2.3 Plain KUB

3.2.4 Skull and sinuses

3.2.5 Bone and joints

3.2.6 Lateral soft tissue of neck

3.3 สาม ารถ บ อก ข้ อ บ่ งชี้ ข้ อห้ าม สภ าพ แล ะเง่ือ น ไข ที่
เหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและหรือเก็บตัวอย่างตรวจและ
แปลผลรายงานการตรวจได้ด้วยตนเองถูกต้อง

3.3.23 Computerized axial tomography scan

3.3.24 Magnetic resonance imaging

3.3.27 Barium contrast GI studies

3.3.28 Intravascular contrast studies: arterial and

venous studies
วิธกี ารสอน : ใหด้ ตู ัวอย่างความผดิ ปกตขิ องฟิล์ม และการตรวจพเิ ศษ
ทางรังสีอื่น ๆ ในเคสผู้ปว่ ยต่าง ๆ

146

การประเมนิ ผล : จากการมีสว่ นรว่ มในการเรียนการสอน และการ
นาเสนออา่ นฟิลม์ ทีละคนเปน็ ภาษาองั กฤษ

3. ทกั ษะทางปัญญา
3.4 สามารถนาข้อมูลและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์การแพทย์

พ้ื น ฐ า น แ ล ะ ท า ง ค ลี นิ ค ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร อ้ า ง อิ ง แ ล ะ แ ก้ ปั ญ ห า ไ ด้ อ ย่ า ง มี
วจิ ารณญาณ

3.7 เลือกใช้วิธีการตรวจโดยเคร่ืองมือพ้ืนฐาน เคร่ืองมือพิเศษโดย
คานึงถึงความคมุ้ คา่ และเหมาะสม
วิธกี ารสอน : ใหด้ ูตวั อย่างความผิดปกตขิ องฟิล์ม และการตรวจพเิ ศษ
ทางรงั สอี ืน่ ๆ ในเคสผ้ปู ่วยต่าง ๆ
การประเมนิ ผล : จากการมีส่วนรว่ มในการเรยี นการสอน และการ
นาเสนออ่านฟิลม์ ทีละคนเปน็ ภาษาองั กฤษ

5. ด้านทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศ

5.2 สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูด,การฟัง, การ
อา่ น, การเขยี น, การนาเสนอ
วธิ กี ารสอน : ให้ดูตัวอย่างความผดิ ปกตขิ องฟิล์ม และการตรวจพิเศษ
ทางรงั สอี นื่ ๆ ในเคสผ้ปู ว่ ยตา่ ง ๆ
การประเมนิ ผล : จากการมีสว่ นรว่ มในการเรียนการสอน และการ
นาเสนออา่ นฟิลม์ ทีละคนเปน็ ภาษาองั กฤษ

6. ด้านทกั ษะพิสัย
6.3 มีความสามารถในการตรวจและแปลผล โดยเครื่องมือพ้ืนฐาน

และเลอื กใชก้ ารตรวจท่ีจาเปน็ ได้ โดยคานงึ ถงึ ความคุม้ ค่าและเหมาะสม
6.4 มีทักษะในการให้การดูแลรักษา และทาหัตถการท่ีจาเป็น

(ตาม (ร่าง) เกณฑ์ มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทยสภา

พ.ศ. 2555 )
3.2 การตรวจทางรังสีวิทยา สามารถอธิบายขั้นตอนการตรวจ

และประเมินขอ้ บง่ ช้ี ข้อห้าม
สภาพและเงื่อนไขท่ีเหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและแปลผล
การตรวจไดถ้ กู ตอ้ ง

3.2.1 Chest x-ray

3.2.2 Plain Abdomen

3.2.3 Plain KUB

147

3.2.4 Skull and sinuses

3.2.5 Bone and joints

3.2.6 Lateral soft tissue of neck

3.3 สามารถบอกข้อบ่งชี้ ข้อห้าม สภาพและเงื่อนไขท่ีเหมาะสม
เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและหรือเก็บตัวอย่างตรวจและแปลผล
รายงานการตรวจไดด้ ้วยตนเองถกู ตอ้ ง

3.3.23 Computerized axial tomography scan

3.3.24 Magnetic resonance imaging

3.3.27 Barium contrast GI studies

3.3.28 Intravascular contrast studies: arterial and

venous studies
วธิ กี ารสอน : ใหด้ ูตวั อย่างความผดิ ปกติของฟลิ ์ม และการตรวจพิเศษ
ทางรังสอี นื่ ๆ ในเคสผปู้ ว่ ยตา่ ง ๆ
การประเมนิ ผล : จากการมีสว่ นร่วมในการเรยี นการสอน และการ
นาเสนออา่ นฟลิ ์มทีละคนเป็นภาษาอังกฤษ
เนอ้ื หา

- ตัวอย่าง ความผิดปกติชนิดต่าง ๆ ของ ฟิล์มเอกซเรย์ทรวงอก ช่อง
ท้อง กระดูก กระดูกสันหลัง กะโหลกศีรษะ และ สมอง และ การตรวจ
พิเศษทางรงั สีอ่นื ๆ
ประสบการณก์ ารเรยี นรู้

1. อาจารย์นาเสนอตัวอย่าง ความผิดปกติชนิดต่าง ๆ ของ ฟิล์ม
เอกซเรยท์ รวงอก ช่องทอ้ ง กระดกู

กระดูกสันหลัง กะโหลกศีรษะ และ สมอง และ การตรวจพิเศษทาง
รงั สอี ืน่ ๆ พรอ้ มทง้ั ตงั้ คาถาม

2. นักเรียนตอบคาถามและร่วมกับ discussion

3. การเรยี นการสอนเป็นภาษาอังกฤษ

4 ชม.
ส่ือการสอน

1. Computer & Projector
การประเมินผล

148

1. Formative evaluation : ซักถามในชั้นเรยี น
2.. Authentic evaluation : feed back น พ ท ./น ศ พ . ห ลั ง ก า ร
ซักถาม

SDL รายวิชารงั สีวิทยา ( วพมรส 501 )
ผู้เรียน : นพท./นศพ. ชนั้ ปีท่ี 5
ผู้ควบคุม : พ.อ.หญิง ผศ.บุษบง หนหู ล้า
เวลา : ศกึ ษานอกเวลาประมาณ 8 ชม. ในระยะเวลา 3 อาทิตย์
วัตถุประสงค์ : เพ่ือให้ นพท./นศพ. สามารถ

1. อธิบายสทิ ธิผู้ป่วยท้งั 10 ข้อ
2. อธิบายการเตรียมผู้ป่วยและการซักประวัติท่ีสาคัญในการสง่ ตรวจ

พิเศษทางรงั สีวทิ ยา ชนดิ ตา่ ง ๆ
3. ใช้ความรใู้ นลักษณะสหสาขาในการทาแบบฝกึ หัด
ประสบการณ์เรยี นรู้ :
1. แจกแบบฝึกหัดจานวน 8 ข้อ ในวันแรกของการเรียนวิชารังสี

วิทยา และสง่ คนื เม่ือสิน้ สุดการเรยี นการสอน
ส่ือการสอน :

1. Manual of Diagnostic Imaging ค้นคว้าจากตารา จาก internet

2. แผ่นพับต่างๆ เช่น แผ่นพับเกี่ยวกับการตรวจพิเศษต่าง ๆ ทางรังสี
วิทยา,รวมทัง้ การเตรียมตวั ผปู้ ่วย

3. ถามอาจารย์, นพท./นศพ. รุ่นพี่ และบุคลากรในภาควิชารังสี
วิทยา/กองรังสีกรรม

การประเมนิ ผล :

149
1. ประเมินจากการตอบแบบฝึกหัด และการส่งแบบฝึกหัดคืน ภายใน

เวลาท่ีกาหนด

การประเมนิ ผล
ภาคฯ ไดจ้ ดั ทาใบประเมนิ ผลสาหรบั นพท./นศพ. เพือ่
ประเมนิ ประสทิ ธิภาพของการสอนให้ นพท./นศพ. แสดงความคดิ เหน็
กอ่ นจบการเรยี นของแตล่ ะกลมุ่ และจะจดั ทาใบประเมนิ ผลสาหรับ
อาจารย์ เพอื่ ประเมิน นพท./นศพ. แต่ละคนในดา้ นความรู้ เจตคติ และ
ทกั ษะ โดยวธิ กี ารประเมนิ ผลประกอบดว้ ย
1. Formative evaluation : สอดแทรกการประเมนิ ผลระหวา่ งการ
สอน
2. Summative evaluation : ประกอบดว้ ยข้อสอบแบบ MCQ และ
OSCE ประเมนิ เม่ือ

150
จบการสอนทกุ วชิ า

3. Attitude evaluation : โดยการใชแ้ บบฟอรม์ ประเมนิ ผล
สาหรบั อาจารย์และ นพท./นศพ.

3.1 แบบฟอร์มประเมนิ อาจารยผ์ ู้สอน โดย นพท./นศพ.วพม.(แบบ
ประเมนิ อาจารยผ์ สู้ อนวิชา)
Evaluation Form PCM 4.1/54

https://goo.gl/forms/RHbj2Gb1NcolBYBu2

3.2 แบบฟอร์มประเมนิ ผลการอยู่เวรเพ่อื เสรมิ ประสบการณข์ อง
นักศกึ ษาแพทย์ (สาหรบั แพทย์ประจาบา้ นเปน็ ผู้ประเมนิ )

https://goo.gl/forms/SOaV1PXOlkWP8hv42

3.3 แบบฟอร์มประเมนิ ภาพรวมของหลักสตู รปรคี ลนิ กิ และคลินกิ
(โดยอาจารย/์ นกั เรยี นแพทย์) Evalution FormPCM 1/54

https://goo.gl/forms/QFwqhCfGh2T2aO2c2


Click to View FlipBook Version