The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อริสรา เจริญเผ่า, 2019-05-29 02:49:43

คู่มือนพท.

Study

51

ssingplace. com/DIP/dip_dowloads/sample_book_
material/Chapter02.pdf [2007,
November 30].
14. Bidgood,WD. Jr., et al. The Role of DICOM in an Evolving
Healthcare Computing
Environment: The Journal of Digital Imaging. 1997.
15. The National Electrical Manufacturers Association
(NEMA). Digital Imaging and

Communications in Medicine (DICOM).(1995): 653-660.
16. Chris C. Telemedicine is Becoming a Reality. Journal of
Comput. Phys. 1995.
17. Paul G.N., The future of PACS: Journal of Med. Phys. 34
(2007): 2676.
18. Pilling. J. R. Picture Archiving and Communications
systems: the users’ view. The British

Journal of Radiology. 76 (2003): 519-24.
19. Bryan S., Weatherburn. G.C.,Watkins J. R. and Buxton M.J.
The Benefits of Hospital-Wide

Picture Archiving and Communication systems: a survey of
clinical users of radiology

services. The British Journal of Radiology. 72 (1992): 469-
78.
20. Nicola H.S., Picture archiving and communication systems:
filmless radiology. Journal of

Arch Dis Child. 2000: 82-86.

52

21. Weatherburn, G. C.; Bryan, S.; and West, M. A
Comparison of Image Reject Rates When
Using Film, Hard Copy Computed Radiography and Soft
Copy Images on Picture Archiving
and Communi cation Systems (PACS) Workstation. The
British Journal of Radiology. 72
(1999): 653-660.

22. The International Commission on Radiological Protection.
Radiation Protection ICRP
Publication 34. Protection of the Patient in Diagnostic
Radiology. ICRP Publication 1982.

23. สานกั งานปรมาณูเพอ่ื สันติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี
การปอ้ งกนั อนั ตรายจากรังสี ระดับ 1,
2545

24. The International Commission on Radiological Protection.
Radiation Protection ICRP
Publication 62. Radiological Protection in Biomedical
Research. ICRP Publication 1992.

25. The International Commission on Radiological Protection.
Radiation Protection ICRP
Publication 41 Nonstochastic Effects of Ionizing Radiation.
ICRP Publication 1984.

26. The International Commission on Radiological Protection.
Radiation Protection ICRP
Publication 73. Radiation Protection and Safety in Medicine.
ICRP Publication 1996.

53

27. The International Commission on Radiological Protection.
Radiation Protection ICRP
Publication 59. The Biological Basis for Dose Limitation in
the Skin. ICRP Publication 1991.

28. The International Commission on Radiological Protection.
Radiation Protection ICRP
Publication 60. Recommendations of the International
Commission on Radiological
Protection. ICRP Publication 1991.

29. The International Commission on Radiological Protection.
Radiation Protection ICRP
Publication 57. Radiological Protection of the Worker in
Medicine and Dentistry. ICRP
Publication 1990.

54

รายวชิ า รงั สีวทิ ยา (วพมรส 501)
เรือ่ ง รงั สิวิทยา ระบบกระดกู และขอ้ (Bone and Joint)

ผเู้ รยี น นพท./นศพ. ชนั้ ปีท่ี 5

ผสู้ อน พ.อ.หญิง สดุ ศรลี ักษณ์ สัมปัชชลิต

เวลา 3 ชม.

สถานที่ ห้องประชุมกองรังสีกรรม อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ ช้ัน

2

วัตถุประสงค์ นพท./นศพ.สามารถเลือกวิธีการตรวจทางรังสีวิทยาที่

ถูกต้องและเหมาะสม ในผู้ป่วยแต่ละรายโดยคานึงถึง ข้อมูลเพ่ิมเติมท่ีจะ

ได้รับจากการตรวจ และเศรษฐานะของผู้ป่วย รวมท้ังวินิจฉัยกลุ่มโรค

จากฟลิ ม์ เอกซเรย์ธรรมดาได้พอสังเขป

1. อธิบายเกยี่ วกับโรคของกระดกู และข้อที่พบบ่อย

2. อ ธิ บ า ย ห ลั ก ก า ร ใ น ก า ร แ ย ก ดู ฟิ ล ม์ ผ ป .อุ บั ติ เห ตุ ฉุ ก เฉิ น

และฟลิ ม์ผป.กระดูกและข้อทไี่ ม่ฉกุ เฉนิ

3. อธบิ ายขอ้ พจิ ารณาในการดูฟิลมก์ ระดูกปกติ และผดิ ปกติ

4. อธบิ ายลกั ษณะ film ของกระดูกท่ีเปน็ มะเรง็ หรือไม่ใช่มะเร็ง

5. อธิบายความผิดปกติข้อ และความผิดปกติของกระดูกอักเสบ

เฉียบพลัน หรอื เรือ้ รัง และลกั ษณะ filmของพยาธสิ ภาพน้ี
6. อธิบายความผิดปกติของกระดูกท่ัวตัว ท่ีมาจากระบบอื่นของ

รา่ งกาย
การพฒั นาการเรยี นรขู้ องนักเรียน
1. ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม

1.4) มีความตรงต่อเวลา มีวินัย และมีความรับผดิ ชอบต่องานทีไ่ ด้รบั
มอบหมาย
วธิ กี ารสอน : บรรยาย

55

การประเมนิ ผล : ประเมนิ จากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการ
เรยี นการสอนประเมนิ จากการส่งงานตามเวลาท่ีกาหนด
2. ความรู้

2.2) ความรู้วิชาชพี และทักษะทางคลินกิ (รา่ ง) (ตามเกณฑ์
มาตรฐานผปู้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทยสภา

พ.ศ. 2555 ภาคผนวก ข) ในเร่ืองต่อไปน้ี
3.2 การตรวจทางรังสีวิทยา สามารถอธบิ ายข้นั ตอนการตรวจ

และประเมนิ ข้อบง่ ชี้ ขอ้ ห้าม สภาพ
และเง่อื นไขทีเ่ หมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจ และแปลผลการ

ตรวจไดถ้ ูกต้อง
1.2.5Bone and joints

วิธกี ารสอน : บรรยาย อธบิ าย และให้ดตู วั อย่าง ความผิดปกติของฟลิ ์ม
Bone and Joint ชนดิ ตา่ ง ๆ
การประเมนิ ผล : จากการมีสว่ นร่วมในการเรียนการสอน และการ
นาเสนออา่ นฟลิ ์มทีละคน

ขอ้ สอบ CRQ
3. ทักษะทางปญั ญา

3.4) สามารถนาขอ้ มลู และหลกั ฐานทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
พื้นฐานและทางคลีนคิ ไปใชใ้ นการอา้ งองิ และแกป้ ญั หาได้อยา่ งมี
วจิ ารณญาณ

3.7) เลือกใช้วธิ ีการตรวจโดยเคร่ืองมอื พืน้ ฐาน เคร่ืองมือพิเศษโดย
คานึงถึงความคุ้มค่าและเหมาะสม
วิธกี ารสอน : บรรยาย อธิบาย และให้ดูตัวอย่าง ความผิดปกติของฟลิ ์ม
Bone and Joint ชนิดต่าง ๆ
การประเมนิ ผล : จากการมีสว่ นรว่ มในการเรียนการสอน และการ
นาเสนออา่ นฟลิ ม์ ทีละคน

ขอ้ สอบ CRQ
5. ดา้ นทักษะการวเิ คราะหเ์ ชงิ ตัวเลข การส่อื สาร และการใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศ

5.2) สามารถส่ือสารได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพท้งั การพูด,การฟัง, การ

อา่ น, การเขียน, การนาเสนอ

56

วธิ กี ารสอน : อธบิ าย และใหด้ ูตวั อย่าง ความผิดปกติของฟิล์ม Bone

and Joint ชนิดตา่ ง ๆ
การประเมนิ ผล : จากการมีสว่ นร่วมในการเรียนการสอน และการ
นาเสนออ่านฟลิ ม์ ทีละคน

ข้อสอบ CRQ
6. ด้านทกั ษะพสิ ัย

6.4) มที ักษะในการใหก้ ารดแู ละรักษา และทาหัตถการทจ่ี าเป็น(ตาม
(ร่าง) เกณฑ์มาตรฐานผปู้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทยสภา พ.ศ.
2555)

3.2 การตรวจทางรังสีวิทยา สามารถอธบิ ายขนั้ ตอนการตรวจและ
ประเมนิ ข้อบ่งช้ี ขอ้ หา้ ม สภาพและเง่ือนไขทีเ่ หมาะสม เตรียมผู้ป่วย
สาหรับการตรวจ และแปลผลการตรวจไดถ้ กู ตอ้ ง

3.2.5 Bone and joints

วิธกี ารสอน : อธบิ าย และให้ดูตวั อย่าง ความผิดปกตขิ องฟลิ ม์ Bone

and Joint ชนดิ ตา่ ง ๆ
การประเมนิ ผล : จากการมีส่วนร่วมในการเรยี นการสอน และการ
นาเสนออา่ นฟลิ ์มทีละคน

ข้อสอบ CRQ
ประสบการณ์การเรียนรู้

1. กลา่ วนา

10 นาที

2. อธบิ าย และยกตัวอยา่ งประกอบพร้อมท้งั มี Power Point

3 ชม
แสดงเรื่องของโรคกระดกู และข้อ
a. นพท. หัดอา่ น film เอกซเรยธ์ รรมดาของโรคกระดกู และข้อ

b. นพท. ดู film CT, MRI, Plain film จริง

( พัก 10 นาที ทุก ชม.)

3. ซกั ถาม ตอบปญั หา
20 นาที

57

4. ให้การบา้ นเปน็ Pretest อธบิ ายตอบคาถาม
ส่ือการสอน

1. Computer & Projector
2. เอกสารประกอบการเรยี นการสอน
3. Teaching films และ view box
4. หอ้ งปฏิบัติการ x-ray
5. Pretest
6. หนังสอื แนะนาใหอ้ ่านประกอบ

การประเมินผล
1. Formative evaluation : ซกั ถามในชน้ั เรยี น
2. Summative evaluation : ข้อสอบ CRQ 3 ข้อ, การบา้ นที่ทาจาก

การตอบคาถาม Pretest
3. Authentic evaluation : feed back น พ ท ./น ศ พ . ห ลั ง ก า ร

ซกั ถาม
เอกสารอา้ งอิง

1. Meschan I. Synopsis of Analysis of Roentgen Sign in
General Radiology, W.B. Saunders Company,
Philadelphia 1976

2. Moller TB. Pocket Atlas of Radiographic Anatomy, Thieme,
Stuttgart 1992

3. Moller TB. Reif E. Pocket atlas of Radiolographic
Positioning. Thieme, Stuttgart 1997

4. Lopez-Viego MA. The Parkland Trauma Handbook.
Mosby, St. Louis 1994

58

รายวิชา รังสวี ทิ ยา (วพมรส 501)

เรือ่ ง รงั สวี ิทยา ช่องอกและระบบทางเดนิ หายใจ (Chest)

ผู้เรยี น นพท./นศพ. ชั้นปที ี่ 5

ผสู้ อน พ.ท. เมธา อึง้ อภนิ ันท์/พ.อ.หญิง ผศ. กมลวรรณ จึงมี

โชค

เวลา 7 ชั่วโมง

สถานท่ี หอ้ งประชุมกองรงั สีกรรม อาคารเฉลิมพระเกียรตฯิ ชั้น 2

วตั ถปุ ระสงค์ นพท./นศพ. สามารถ

1. เลือกวธิ ีการตรวจทางรงั สีวทิ ยาที่ถูกต้องและเหมาะสมในผปู้ ่วย

แต่ละราย โดยคานึงถึงขอ้ มูลเพิ่มเตมิ ท่ีจะได้รับจากการตรวจ

และเศรษฐานะของผ้ปู ่วย

59

2. อธบิ าย ทา่ ของผู้ปว่ ยในภาพรงั สปี อด ข้อดี ข้อเสีย ข้อจากัด
หรอื ขอ้ พึงระวงั ในการแปลผลภาพรงั สีปอด

3. อธิบายลกั ษณะทางกายวิภาคศาสตร์ที่แสดงในภาพรงั สีปอด
4. อธบิ ายลักษณะทผ่ี ิดปกตทิ ี่พบในภาพรงั สีปอด และให้การ

วนิ จิ ฉยั โรคท่ีพบบ่อยในกลุ่ม โรคติดเชอ้ื (Infection), นา้ ท่วม

ปอด(Pulmonary congestion), นา้ ในเยอื่ หุ้มปอด(Pleural

effusion), เน้อื งอก(Tumor) , ลกั ษณะผดิ ปกติที่เกิดจากการ

ได้รับบาดเจ็บที่บริเวณอก (Trauma) เชน่ กระดกู ซีโ่ ครงหกั

(Rib fracture), ปอดแฟบ(Atelectasis), เลือดออกในเย่ือหมุ้

ปอด(Hemothorax) หรอื ลมรว่ั ในช่องเย่ือหุ้มปอด

(Pneumothorax) และอืน่ ๆ ได้
การพฒั นาการเรียนรขู้ องนักเรียน
1. ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม

1.4) มีความตรงต่อเวลา มวี นิ ัย และมีความรบั ผดิ ชอบต่องานทไ่ี ด้รับ
มอบหมาย
วธิ กี ารสอน : บรรยาย
การประเมินผล : ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการ
เรยี นการสอน
2. ความรู้
2.1) ความรูท้ างวิทยาศาสตร์การแพทยร์ ะดับพื้นฐาน (ร่าง) (ตาม
เกณฑม์ าตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทย์สภา พ.ศ.2555
ภาคผนวก ก.) ในเรื่องต่อไปนี้

6.2 มคี วามรเู้ ร่ืองสาเหตุ พยาธกิ าเนิด พยาธิสรรี วิทยา พยาธิ
สภาพ ตลอดจนการวนิ จิ ฉยั สาเหตุของการเกิดโรค กลุม่ อาการ
หรอื ภาวะผดิ ปกตทิ างระบบหายใจดงั ต่อไปนี้

6.2.3 Traumatic and mechanical disorders
1. Chest injury
2. Foreign body aspiration

60

3. Pneumothorax

4. Atelectasis

2.2) ความรู้ทางวิชาชพี และทักษะทางคลนิ ิก (ตามเกณฑ์มาตรฐานผู้
ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทยส์ ภา

พ.ศ.2555 ภาคผนวก ข.) ในเรอื่ งต่อไปน้ี
3.2 การตรวจทางรังสวี ิทยา สามารถอธบิ ายข้ันตอนการตรวจและ
ประเมนิ ข้อบง่ ช้ี ข้อห้าม สภาพ

และเง่อื นไขทเ่ี หมาะสม เตรียมผปู้ ่วยสาหรับการตรวจ และ
แปลผลการตรวจไดถ้ ูกต้อง

1.2.1Chest X-ray

3.3 สามารถบอกข้อบง่ ช้ี ข้อห้าม สภาพและเงอ่ื นไขท่ีเหมาะสม
เตรยี มผปู้ ว่ ยสาหรับการตรวจ และ

หรือเก็บตวั อย่างตรวจ และแปลผลได้ดว้ ยตัวเองถกู ตอ้ ง
3.3.23 Computerized axial tomography scan

วธิ กี ารสอน : บรรยาย อธบิ าย และให้ดูตวั อย่าง ความผิดปกตขิ องฟลิ ์ม

chest ชนดิ ตา่ ง ๆ

การประเมนิ ผล : ขอ้ สอบ CRQ
3. ทักษะทางปัญญา

3.1) ตระหนกั ร้แู ละเข้าใจในศักยภาพและข้อควรพฒั นาของตน
สามารถกาหนดความต้องการในการเรียนรูแ้ ละพัฒนาตนของเอง ได้
อย่างครอบคลุม

3.4) สามารถนาขอ้ มูลและหลกั ฐานทางวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์
พนื้ ฐานและทางคลีนคิ ไปใช้ในการอ้างอิงและแกป้ ญั หาได้อยา่ งมี
วิจารณญาณ

3.7) เลือกใช้วิธีการตรวจโดยเครื่องมอื พ้ืนฐาน เคร่อื งมือพเิ ศษโดย
คานงึ ถึงความคุ้มค่าและเหมาะสม
วธิ กี ารสอน : บรรยายอธิบาย และให้ดูตวั อย่าง ความผิดปกตขิ องฟิล์ม

chest ชนดิ ต่าง ๆ

การประเมินผล : ขอ้ สอบ CRQ
4. ทักษะความสมั พันธร์ ะหวา่ งบคุ คลและความรับผดิ ชอบ

61

4.1 สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพแพทย์ และมปี ฏิสมั พนั ธ์อย่าง
สร้างสรรคก์ บั ผอู้ ่นื
วิธกี ารสอน : บรรยาย อธิบาย และให้ดูตวั อย่าง ความผิดปกติของฟิล์ม

chest ชนิดต่าง ๆ

การประเมนิ ผล : ข้อสอบ CRQ
5. ด้านทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตวั เลข การส่ือสาร และการใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศ

5.2) สามารถสือ่ สารได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพทัง้ การพูด,การฟงั , การ

อา่ น, การเขียน, การนาเสนอ และอวัจนภาษาหรอื ภาษาท่าทาง (non-

verbral communication) รวมท้งั สามารถอา่ นตาราและวารสาร
ภาษาองั กฤษได้อย่างเขา้ ใจ
วิธกี ารสอน : บรรยาย อธิบาย และให้ดตู ัวอย่าง ความผดิ ปกติของฟิล์ม

chest ชนดิ ต่าง ๆ

การประเมนิ ผล : ขอ้ สอบ CRQ
6. ด้านทักษะพิสัย

6.4) มีทักษะในการให้การดูและรักษา และทาหัตถการท่ีจาเป็น(ตาม
(รา่ ง) เกณฑ์มาตรฐานผ้ปู ระกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทยสภา พ.ศ.
2555)

3.2 การตรวจทางรงั สีวิทยา สามารถอธิบายข้ันตอนการตรวจและ
ประเมณิ ข้อบ่งช้ี ข้อหา้ ม สภาพและเงื่อนไขท่เี หมาะสม เตรียมผปู้ ่วย
สาหรับการตรวจ และแปลผลการตรวจได้ถูกต้อง

3.2.1 Chest x-ray

3.3 สามารถบอกข้อบง่ ช้ี ข้อหา้ ม สภาพและเง่อื นไขท่เี หมาะสม
เตรียมผปู้ ่วยสาหรับการตรวจ และหรือเก็บตัวอย่างตรวจ และแปลผลได้
ด้วยตวั เองถูกต้อง

3.3.23 Computerized axial tomography scan

วิธกี ารสอน : บรรยาย อธบิ าย และให้ดตู ัวอย่าง ความผิดปกติของฟลิ ์ม

chest ชนิดตา่ ง ๆ

การประเมินผล : ข้อสอบ CRQ
เนอื้ เร่อื ง

62

1. ขอ้ บ่งชี้ ข้อห้าม ขอ้ จากดั และหลักการในการตรวจทางรังสวี ิทยา
ของทรวงอก อนั ไดแ้ ก่ Chest x-ray, CT scan, Ultrasound, MRI และ

Fluoroscopy

2. ลกั ษณะของภาพรังสปี อดจากการสง่ ตรวจท่า PA upright view,

AP supine view, Lateral view, Lateral decubitus view และ Apical

(Lordotic) view

3. Anatomy and normal finding ของภาพรงั สีปอด
4. ลักษณะรอยโรคทีพ่ บในภาพรงั สีปอดท่ีพบไดบ้ ่อยไดแ้ ก่ air space

opacity(consolidation), interstitial opacity, lobar atelectasis,
pulmonary nodule, cavitative lesion, mediastinal compartment,
pleural effusion, pneumothax, subcutaneous emphysema,
fracture, pulmonary TB, emphysema, pulmonary embolism
ประสบการณก์ ารเรยี นรู้
1.อธิบายวิธีการส่งตรวจต่างๆ ทางรังสีวิทยาทีใ่ ช้ในการตรวจทรวงอก

รวมทงั้ หลักการข้อบง่ ชี้ 15 นาที

ข้อดี ข้อเสีย ข้อจากดั ขอ้ ห้าม และการเตรียมผู้ปว่ ย ดูภาพตัวอย่าง และ
ซักถาม

2. อธิบายการจัดท่าและลกั ษณะของภาพรังสปี อดจากการสง่ ตรวจ

ตา่ งๆ 20 นาที ได้แก่ ท่า PA

upright view, AP supine view, Lateral view, Lateral decubitus

view และ Apical (Lordotic) view ขอ้ บ่งชี้ ขอ้ ดี

ข้อเสยี ขอ้ จากัด ของภาพถา่ ยรังสปี อดแต่ละท่า, ดูตัวภาพ
อย่างและซกั ถาม

3. อธบิ ายการประเมินคุณภาพของภาพถ่ายรังสปี อดได้แก่
15 นาที

3.1 ลักษณะการหายใจเขา้ -หายใจออก (Inspiration)

3.2 การเอยี งตัวของผปู้ ่วย (Rotation)

3.3 ความดา-ขาวของภาพรงั สีทเ่ี หมาะสม (Exposure)

63

4. อธบิ าย และดูตวั อยา่ ง normal anatomy and finding ของ

ภาพรังสปี อด 20 นาที

5. ลกั ษณะรอยโรคแบบ air space opacity (consolidation) ใน

ภาพรังสีปอด, 40 นาที การวนิ จิ ฉยั

แยกโรค, ดภู าพตัวอย่าง และซักถาม

6. ลักษณะรอยโรคแบบ interstitial opacity ในภาพรงั สปี อด, การ

วนิ จิ ฉยั แยกโรค, 40 นาที ดูภาพตัวอย่าง และ

ซกั ถาม

7. ลกั ษณะรอยโรค air space opacity (consolidation) ในภาพรังสี

ปอด, 40 นาที การวนิ จิ ฉัยแยกโรค, ดภู าพ

ตวั อย่าง และซักถาม

8. ลักษณะรอยโรคปอดแฟบ (Lobar atelectasis) ในภาพรังสปี อด, ดู

ภาพตวั อยา่ ง 40 นาที และซกั ถาม

9. ลักษณะก้อนในปอด (pulmonary nodule) ในภาพรังสปี อด, การ

วินจิ ฉัยแยกโรค, 20 นาที ดูภาพตัวอยา่ ง และ

ซักถาม

10. ลกั ษณะก้อนจากอวัยวะค่นั กลางช่องอก(mediastinal mass)ใน

ภาพรงั สปี อด, 40 นาที การวนิ จิ ฉยั แยก

โรค, ดูภาพตวั อย่าง และซักถาม

11. ลักษณะรอยโรคจากน้าในเชอื่ หุ้มปอด (pleural effusion) ใน

ภาพรงั สีปอด, 20 นาที ดูภาพตวั อยา่ ง

และซักถาม

12. ลักษณะรอยโรคทเี กิดจากการบาดเจบ็ ของช่วงอกทพี่ บใน

ภาพรงั สีปอด 40 นาที ได้แก่ ลมใน

เยือ่ หุ้มปอด(pneumothorax), ลมในและช่องกน้ั ระหว่างช่องอก

pneumomediastinum), กระดกู ซ่ีโครงหัก(rib fracture), ลมในเน้ือเย่ือ
ใตผ้ ิวหนัง
(subcutaneous emphysema), ดูภาพตัวอย่าง และซกั ถาม

13. ลกั ษณะโรคถงุ ลมโป่งพอง (emphysema)ในภาพรังสปี อด, ดู
ภาพตัวอย่าง และซักถาม 20 นาที

64

14. ลักษณะของวัณโรคทพ่ี บบ่อยๆในภาพรงั สีปอด, ดูภาพตวั อยา่ ง

และซักถาม 20 นาที

15. ลักษณะทางรงั สีวทิ ยาของโรคลิมเลอื ดอุดก้นั ในปอด(pulmonary

embolism), 20 นาที ดูภาพตัวอย่าง และ

ซักถาม

สื่อการสอน

1. Computer & Projector

2. เอกสารประกอบการเรียนการสอน

3. Teaching film และ View box
การประเมนิ

1. Formative evaluation: ซกั ถามในห้องเรียน, การให้บรรยาย

ลักษณะรอยโรคในTeaching film และสงั เกตพฤตกิ รรมขณะเรยี น

2. Summative evaluation: CRQ 7 ข้อ

3. Authentic evaluation: feed back นพท./นศพ. หลังการซกั ถาม
เอกสารอา้ งองิ

1. Thoracic Imaging : Pulmonary and Cardiovascular

Radiology. 2nd edition 2010 by W.Rachard Webb and

Charles B.Higgins

65

รายวชิ า รงั สีวทิ ยา (วพมรส 501)
เร่ือง รงั สวิ ิทยา ระบบรงั สรี ่วมรกั ษา (Intervention Radiology)

ผู้เรียน นพท./นศพ. ชน้ั ปีท่ี 5

ผ้สู อน พ.อ.ผศ.ชัชชาญ คงพานชิ

เวลา 3 ชม.

สถานท่ี ห้องประชุมกองรังสีกรรม อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ ช้ัน

2

วัตถุประสงค์ ให้ นพท./นศพ.สามารถเลือกวิธีการตรวจทางรังสีวิทยาที่

ถูกต้องและเหมาะสม ในผู้ป่วยแต่ละรายโดยคานึงถึง ข้อมูลเพิ่มเติมท่ีจะ

ไดร้ ับจากการตรวจ และเศรษฐานะของผู้ป่วย

1. บรรยาย อธิบายข้อบ่งช้ี, ผลข้างเคียง และปัจจัยเสี่ยงของสารทึบ

รงั สี (contrast media)

2. บรรยาย อธิบายข้อบ่งชี้ และข้อห้ามของการตรวจและรักษาโรค

ระบบหลอดเลอื ดด้วย angiogram,

venogram, PTA, Embolization, etc.

3. บรรยาย อธิบายข้อบ่งชี้ และข้อห้ามของการตรวจระบบท่อน้าดี

และการระบายท่ อน้ าดี (PTC, PTBD), การวางสายระบ าย ห น อง

(PCD), การเจาะตรวจชิ้นเนอ้ื

4. บรรยาย อธิบายข้อบ่งช้ี และข้อห้าม วิธีการตรวจวินิจฉัยและการ
รกั ษาของรงั สรี ว่ มรักษาสว่ นสมอง

5. แปลผลรายงานการตรวจและรักษาโรคท่ีพบบ่อยในประเทศไทย
ดว้ ยวิธที างรงั สีรว่ มรักษา
(Intervention Radiology) ไดถ้ กู ตอ้ ง

6.มีคุณธรรม จริยธรรม และเจตคตทิ ีเหมาะสม
การพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรยี น

1. ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม
1.1) แสดงออกถงึ คณุ ธรรมจรยิ ธรรมเหมาะสมตอ่ วิชาชพี แพทย์
1.2) มีความซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเอง และวิชาชีพเป็นท่ีไว้วางใจ

ของผู้ปว่ ยและสงั คม

66

1.3) แสดงออกถงึ บุคลิกภาพของแพทย์อันเปน็ ที่น่าเชอ่ื ถือ มีความ
อดทน อดกล้ัน และความม่นั คง ทางอารมณ์

1.4) มีความตรงต่อเวลา มีวินัย มีความรับผิดชอบต่องานท่ีได้รับ
มอบหมาย

1.5) มีความตระหนักในการดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม โดยคานึงถึง
ปัจจัยหลายๆด้าน ท้ังดา้ นกาย จิต ครอบครัว สังคม และสิ่งแวดล้อม โดย
ไม่แบ่งแยกในบริบทของเช้ือชาติ ศาสนา วัฒนธรรม เพศ อายุ และ
เศรษฐฐานะ

1.6) เค ารพ ใน สิท ธิข องผู้ ป่ วย โด ยการให้ ความจริง รักษ า
ความลับ และคานึงประโยชน์ และความปลอดภัยของผปู้ ว่ ยเป็นสาคัญ

1.7) มีความเข้าใจและสามารถให้การบริบาลสุขภาพโดยมุ่งเน้น
คนเป็นศนู ย์กลาง
วธิ กี ารสอน : บรรยาย

การประเมนิ ผล : ประเมินจากการเขา้ เรียนและการมีส่วนรว่ มในการ
เรยี นการสอน

2. ดา้ นความรู้
2.2) ค วามรู้ท างวิช าชี พ แล ะทั ก ษ ะท างค ลินิ ก (ต ามเก ณ ฑ์

มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทย์สภา พ.ศ.2555 ภาคผนวก
ข.) ในเรือ่ งตอ่ ไปน้ี

3.3 สาม ารถ บ อก ข้ อบ่ งช้ี ข้ อห้ าม สภ าพ แล ะเงื่อ น ไข ท่ี
เหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและหรือเก็บตัวอย่างตรวจและ
แปลผลรายงานการตรวจได้ดว้ ยตนเองถูกต้อง

3 .3 .2 8 Intravascular contrast studies: arterial and

venous studies

วธิ กี ารสอน : บรรยาย อธบิ าย และให้ดตู ัวอย่าง intervention ชนิดต่าง

การประเมนิ ผล : ข้อสอบ CRQ

3. ทกั ษะทางปญั ญา
3.4 สามารถนาข้อมูลและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์การแพทย์

พ้ื น ฐ า น แ ล ะ ท า ง ค ลี นิ ค ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร อ้ า ง อิ ง แ ล ะ แ ก้ ปั ญ ห า ไ ด้ อ ย่ า ง มี
วจิ ารณญาณ

67

3.6 เลือกใช้วิธีการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้อง
กับสถานการณ์และความต้องการของกองทัพ และบริบททางสุขภาพที่
เปลยี่ นไป

3.7 เลือกใช้วิธีการตรวจโดยเครื่องมือพ้ืนฐาน เคร่ืองมือพิเศษโดย
คานึงถึงความค้มุ ค่าและเหมาะสม
วธิ กี ารสอน : บรรยาย อธบิ าย และให้ดูตัวอย่าง intervention ชนดิ ต่าง

การประเมินผล : ข้อสอบ CRQ

5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศ

5.2 สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพท้ังการพูด,การฟัง, การ
อา่ น, การเขยี น, การนาเสนอ

5.3 สามารถขอความยินยอมในการรักษาพยาบาลจากผู้ป่วย
รวมทงั้ สร้างความม่นั ใจเรอ่ื งการรกั ษาความลบั ของผปู้ ่วย

5.6 สามารถค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ โดยใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ รวมทั้งมีวิจารณญาณในการประเมินข้อมูล ด้วยหลักการ
ของวทิ ยาการระบาดคลินิก เวชศาสตร์เชงิ ประจักษ์และเวชศาสตร์ทหาร

5.10 สามารถถ่ ายท อด ความรู้ ทั กษ ะ และป ระสบ การณ์ แก่
ผเู้ ก่ยี วขอ้ งได้อยา่ งเขา้ ใจ
วิธกี ารสอน : บรรยาย อธิบาย และให้ดตู วั อย่าง intervention ชนดิ ตา่ ง

การประเมินผล : ขอ้ สอบ CRQ

6. ด้านทกั ษะพสิ ยั
6.3 มีความสามารถในการตรวจและแปลผล โดยเคร่ืองมือพ้ืนฐาน

และเลือกใชก้ ารตรวจท่จี าเป็นได้ โดยคานึงถงึ ความคุ้มค่าและเหมาะสม
6.4 มีทักษะในการให้การดูแลรักษา และทาหัตถการที่จาเป็น

(ตาม (ร่าง) เกณฑ์ มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทยสภา

พ.ศ. 2555 )

3.3 สาม ารถ บ อก ข้ อบ่ งช้ี ข้ อห้ าม สภ าพ แล ะเงื่อ น ไข ที่
เหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและหรือเก็บตัวอย่างตรวจและ
แปลผลรายงานการตรวจได้ดว้ ยตนเองถกู ต้อง

68

3 .3 .2 8 Intravascular contrast studies: arterial and

venous studies

วิธกี ารสอน : บรรยาย อธิบาย และให้ดูตัวอย่าง intervention ชนดิ ต่าง

การประเมนิ ผล : ข้อสอบ CRQ
ประสบการณก์ ารเรยี นรู้

1. อาจารย์กลา่ วนา

5 นาที

2. อธิบายความร้เู ก่ียวกบั สารทบึ รังสี

20 นาที

3. อธบิ ายความรู้เก่ียวกบั การตรวจวนิ ิจฉยั และการตรวจรักษาโรค

หลอดเลือด 35 นาที

(Vascular Intervention) พกั
10 นาที

4.อธบิ ายความรู้เก่ียวกบั การตรวจวินิจฉยั และรกั ษาในโรคทางเดิน

นา้ ดี การใสส่ ายระบาย 35 นาที

และการเจาะตรวจชนิ้ เน้ือ (Non - Vascular Intervention)

5. อธบิ ายความรู้เก่ียวกบั การตรวจวินิจฉัย และรักษาของรงั สรี ว่ ม

รกั ษาสว่ นสมอง 40 นาที

6. นาชม เครือ่ งมือ อปุ กรณ์ ห้องตรวจรักสรี ่วมรกั ษา

20 นาที

7. ซกั ถาม, Formative evaluation

15 นาที สอ่ื การสอน

1. Computer & Projector

2. เอกสารประกอบการเรยี นการสอน

3. Catheter, Guide wire, Stent, Drainage Catheter
การประเมินผล

69

1. Formative evaluation : ซักถามในชั้นเรยี น
2. Summative evaluation : CRQ 3 ข้อ
3. Authentic evaluation : feed back น พ ท ./น ศ พ . ห ลั ง ก า ร
ซกั ถาม

รายวิชา รงั สีวิทยา (วพมรส 501)

เร่อื ง รังสิวทิ ยา ระบบ (Plain Film acute abdomen)

ผเู้ รยี น นพท./นศพ. ช้นั ปีท่ี 5

ผสู้ อน พ.อ.หญิง ผศ.บุษบง หนหู ล้า

เวลา 3 ชม.

สถานท่ี ห้องประชุมกองรังสีกรรม อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ ช้ัน

2

วัตถุประสงค์ นพท./นศพ.สามารถ

70

1. เลือกวธิ ีการตรวจทางรังสีวทิ ยาที่ถกู ต้องและเหมาะสม ในผู้ป่วยแต่
ละรายโดยคานงึ ถึงข้อมลู เพ่มิ เติม

ท่ีจะได้รับจากการตรวจร่างกาย และผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
และคานึงถงึ เศรษฐานะของผู้ป่วย

2. แปลผลภาพรังสีชอ่ งทอ้ ง ในภาวะปกติ และผดิ ปกติตา่ ง ๆ ได้

การพฒั นาการเรยี นรขู้ องนกั เรยี น
1. ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม
1.4) มีความตรงต่อเวลา มีวินัย มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ

มอบหมาย
วธิ กี ารสอน : บรรยาย

การประเมนิ ผล : ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีสว่ นร่วมในการ
เรียนการสอน

2. ดา้ นความรู้
2.2) ค วามรู้ท างวิช าชี พ แล ะทั ก ษ ะท างค ลิ นิ ก (ต ามเก ณ ฑ์

มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทย์สภา พ.ศ.2555 ภาคผนวก
ข.) ในเรื่องต่อไปนี้

3.2 การตรวจทางรังสีวิทยา สามารถอธิบายขั้นตอนการตรวจ
และประเมนิ ขอ้ บง่ ชี้ ขอ้ ห้าม
สภาพและเงื่อนไขท่ีเหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและแปลผล
การตรวจได้ถกู ต้อง

3.2.2 Plain Abdomen

วิธีการสอน : บรรยาย อธิบาย และให้ดูตัวอย่าง ความผิดปกติของฟิล์ม

abdomen

การประเมนิ ผล : การนาเสนออา่ นฟิล์มทีละคน , ขอ้ สอบ CRQ

3. ทกั ษะทางปัญญา
3.4 สามารถนาข้อมูลและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์การแพทย์

พ้ื น ฐ า น แ ล ะ ท า ง ค ลี นิ ค ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร อ้ า ง อิ ง แ ล ะ แ ก้ ปั ญ ห า ไ ด้ อ ย่ า ง มี
วิจารณญาณ

3.7 เลือกใช้วิธีการตรวจโดยเครื่องมือพื้นฐาน เคร่ืองมือพิเศษโดย
คานึงถงึ ความคุ้มค่าและเหมาะสม

71

วิธกี ารสอน : อธบิ าย และใหด้ ูตวั อย่าง ความผิดปกติของฟิล์ม
abdomen
การประเมินผล : การนาเสนออ่านฟิล์มทีละคน , ขอ้ สอบ CRQ

5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศ

5.2 สามารถส่ือสารได้อย่างมีประสิทธิภาพท้ังการพูด,การฟัง, การ
อา่ น, การเขยี น, การนาเสนอ
วิธกี ารสอน : อธบิ าย และให้ดตู วั อย่าง ความผดิ ปกติของฟิล์ม
abdomen
การประเมนิ ผล : การนาเสนออา่ นฟิล์มทีละคน ,ข้อสอบ CRQ

6. ดา้ นทกั ษะพิสัย
6.3 มีความสามารถในการตรวจและแปลผล โดยเคร่ืองมือพ้ืนฐาน

และเลอื กใช้การตรวจท่ีจาเปน็ ได้ โดยคานึงถึงความคุ้มคา่ และเหมาะสม
วิธกี ารสอน : อธบิ าย และใหด้ ตู ัวอยา่ ง ความผดิ ปกตขิ องฟลิ ์ม
abdomen
การประเมินผล : การนาเสนออา่ นฟลิ ม์ ทีละคน ,ขอ้ สอบ CRQ
เน้อื เรือ่ ง
- Normal plain film abdomen ( supine , upright)
- Abnormal bowel dilatation

- Obstruction ; small bowel , large bowel
- Ileus
- Extraluminal gas
- Pneumoperitoneum ( free air)
- Pneumoretroperitoneum
- Abscess
- Pneumobilia
- Potal vein gas
- Pneumatosis intestinalis

72

- Abnormal mass and calcification

- Film quiz
ประสบการณ์การเรียนรู้

1. อาจารย์กล่าวนา

10 นาที

2. บรรยายการส่งตรวจฟิล์มชนดิ ต่างๆในภาวะ acute abdomen

10 นาที

3. ดูฟิลม์ ภาพรังสชี อ่ งทอ้ ง บรรยาย และอภปิ รายเก่ียวกบั ภาวะปกติ

ของช่องท้อง 10

นาที

4. ดูฟลิ ์มภาพรังสชี ่องท้อง บรรยาย และอภิปรายเกี่ยวกบั ภาวะ

ผิดปกติของ 30 นาที

bowel dilatation

- Obstruction ; small bowel obstruction , large bowel

obstruction,specific obstruction

- ileus พัก
10นาที

5. ดูฟิล์มภาพรังสีช่องท้อง และอภิปรายเก่ียวกบั ภาวะลมนอกลาไส้

( extraluminal gas) 30 นาที

ชนิดต่าง ๆ เชน่ pneumoperitoneum , retropneumoperitoneum ,

abscess ,

pneumobilia , portal vein gas และ pneumatosis intestinalis
6.ดูฟลิ ์มภาพรังสีชอ่ งทอ้ ง และอภิปรายเกีย่ วกับความผดิ ปกตขิ อง

abnormal mass และ 20 นาที abnormal calcification ชนดิ ต่างๆ

7.พักและแบง่ กลมุ่ ให้ร่วมกันอภิปรายภาวะผิดปกติของฟิลม์ quiz

20 นาที

73

8.นกั เรยี นแต่ละคนออกมานาเสนอความผดิ ปกติของฟลิ ์มปริศนาท่ี

ไดร้ ับโดยมีอาจารย์ 30 นาที

รว่ มอภิปรายและใหข้ ้อสรุป

9.สรปุ และซกั ถาม

10 นาที

สือ่ การสอน

1. Computer & Projector

2. เอกสารประกอบการเรียนการสอน

3. Teaching films และ view box
การประเมินผล

1. Formative evaluation : ซักถามในชน้ั เรียนและสังเกตพฤติกรรม
ของ นพท./นศพ.ขณะเรยี น

2. Summative evaluation : CRQ 3 ข้อ

3. Authentic evaluation : feed back น พ ท ./น ศ พ . ห ลั ง ก า ร
ซักถาม
เอกสารอา้ งองิ
1.Manual of Diagnostic Imaging :บรรณาธกิ าร : กติ ิมา ธรรมารักษ์

2.Textbook of Radiology and Imaging : Edited by: David Sutton

MD, FRCP, FRCR, DMRD, FCan.AR

(Hon)

3.Armstrong Diagnostic Imaging 6ED 2009

รายวิชา รงั สีวิทยา (วพมรส 501)
เรื่อง รั ง สี วิ ท ย า ร ะ บ บ ท า ง เดิ น อ า ห า ร (Gastrointestinal

Radiology)

ผเู้ รยี น นพท./นศพ. ชั้นปีท่ี 5

ผูส้ อน พ.อ.หญิง ผศ.บษุ บง หนหู ล้า

เวลา 3 ชม.

74

สถานท่ี ห้องประชุมกองรังสีกรรม อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ ช้ัน

2

วัตถุประสงค์ นพท./นศพ.สามารถ

1.เลือกวิธีการตรวจทางรังสีวิทยาท่ีถูกต้องและเหมาะสม ในผู้ป่วยแต่

ละรายโดยคานึงถึงข้อมลู เพม่ิ เตมิ
ท่ีจะได้รับจากการตรวจร่างกาย และผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
และคานงึ ถึงเศรษฐานะของผูป้ ่วย

2.อธิบายข้อบ่งช้ี ข้อห้าม ข้อจากัด ผลแทรกซ้อน การเตรียมผู้ป่วย

และหลักการในการตรวจพเิ ศษ
ตา่ ง ๆ ของระบบทางเดินอาหาร

3.แปลผลการตรวจพิเศษของระบบทางเดินอาหาร ในภาวะปกติ และ

ผิดปกตใิ นโรคท่ีพบไดบ้ อ่ ย
การพัฒนาการเรียนรขู้ องนักเรยี น

1. ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
1.4) มีความตรงต่อเวลา มีวินัย มีความรับผิดชอบต่องานท่ีได้รับ

มอบหมาย

วธิ กี ารสอน : บรรยาย

การประเมนิ ผล : ประเมนิ จากการเขา้ เรยี นและการมีสว่ นรว่ มในการ

เรยี นการสอน
2. ด้านความรู้
2.2) ค วามรู้ท างวิช าชี พ แล ะทั ก ษ ะท างค ลินิ ก (ต ามเก ณ ฑ์

มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทย์สภา พ.ศ.2555 ภาคผนวก
ข.) ในเร่อื งต่อไปน้ี

3.3 สาม ารถ บ อก ข้ อบ่ งชี้ ข้ อห้ าม สภ าพ แล ะเงื่อ น ไข ท่ี

เหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและหรือเก็บตัวอย่างตรวจและ
แปลผลรายงานการตรวจได้ดว้ ยตนเองถูกตอ้ ง

3.3.27 Barium contrast GI studies

วิธีการสอน : บรรยาย อธิบาย และให้ดูตัวอย่าง ความผิดปกติของฟิล์ม
การตรวจพเิ ศษของระบบ

ทางเดินอาหารชนดิ ต่าง ๆ
การประเมนิ ผล : การนาเสนออ่านฟลิ ม์ ทีละคน ,ขอ้ สอบ CRQ

3. ทักษะทางปญั ญา

75

3.4 สามารถนาข้อมูลและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
พ้ืนฐานและทางคลีนิคไปใช้ในการอ้างอิงและแก้ปัญ หาได้อย่างมี
วจิ ารณญาณ

3.7 เลือกใช้วิธีการตรวจโดยเคร่ืองมือพื้นฐาน เครื่องมือพิเศษโดย
คานงึ ถึงความคุม้ คา่ และเหมาะสม
วธิ กี ารสอน : บรรยาย อธบิ าย และให้ดูตัวอย่าง ความผิดปกตขิ องฟิล์ม
การตรวจพเิ ศษของระบบ ทางเดินอาหารชนดิ ตา่ ง ๆ
การประเมินผล : การนาเสนออ่านฟลิ ์มทลี ะคน ,ข้อสอบ CRQ

5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข กา รส่ือสาร และการใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศ

5.2 สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูด,การฟัง, การ
อา่ น, การเขียน, การนาเสนอ
วิธกี ารสอน : บรรยาย อธิบาย และให้ดูตัวอย่าง ความผดิ ปกตขิ องฟิล์ม
การตรวจพเิ ศษของระบบ

ทางเดินอาหารชนิดตา่ ง ๆ
การประเมนิ ผล : การนาเสนออ่านฟลิ ม์ ทีละคน ,ขอ้ สอบ CRQ

6. ดา้ นทักษะพสิ ัย
6.3 มีความสามารถในการตรวจและแปลผล โดยเคร่ืองมือพ้ืนฐาน

และเลือกใช้การตรวจทีจ่ าเปน็ ได้ โดยคานึงถงึ ความคุ้มค่าและเหมาะสม
วิธกี ารสอน : อธิบาย และให้ดูตวั อย่าง ความผิดปกตขิ องฟิล์ม การตรวจ
พิเศษของระบบ

ทางเดินอาหารชนดิ ต่าง ๆ
การประเมนิ ผล : การนาเสนออ่านฟลิ ม์ ทลี ะคน, ขอ้ สอบ CRQ
เน้ือเรอ่ื ง
- Indication and contraindication of barium study

- Preparation of barium study

- Normal barium study

- Esophagogram or barium swallow

- Upper GI study or barium meal

- Long GI study or small bowel series

- Barium enema

76

- Common abnormal barium study เชน่

- achalasia, CA esophagus , hiatal hernia , CA stomach,

gastric ulcer ,duodenal ulcer , small bowel obstruction, parasitic

infestation , CA of the small bowel, CA colon, polyp , volvulus ,

diverticulum

- Film quiz
ประสบการณก์ ารเรยี นรู้

1. อาจารย์กลา่ วนา

10 นาที

2. บรรยาย อธบิ ายหลักการตรวจพิเศษของระบบทางเดินอาหาร ข้อ

บง่ ชี้ ขอ้ หา้ ม 30 นาที

ขอ้ จากดั และ ทางเลือกในการใช้สารทึบรงั สี การเตรยี มตัวผ้ปู ว่ ย

พร้อมทง้ั ดูฟลิ ์มในรายทป่ี กติ

ของการตรวจพิเศษในระบบทาง เดินอาหาร ( esophagogram ,

upper GI study ,

long GI study และbarium enema )

3. นา นพท./นศพ. เข้าชมห้องตรวจพิเศษของระบบทางเดนิ อาหาร

พรอ้ มท้ังสาธติ 30 นาที การตรวจในผู้ปว่ ยจริง 1 ราย
10 นาที พัก

4.ดฟู ลิ ม์ บรรยายและอภิปรายเก่ียวกับความผดิ ปกตทิ ี่พบได้บ่อยใน

การตรวจพเิ ศษ 20 นาที

ของระบบทางเดนิ อาหารชนิดตา่ งๆ

5.พักและแบ่งกลุม่ ให้รว่ มกนั อภปิ รายภาวะผิดปกติของฟลิ ์มปริศนาใน

การตรวจพิเศษของ 30 นาที ระบบทางเดินอาหาร 10 ราย

6.นักเรยี นแตล่ ะคนออกมานาเสนอความผดิ ปกติของฟลิ ์มปรศิ นาที่

ไดร้ บั โดยมีอาจารย์ 30 นาที

ร่วมอภปิ รายและใหข้ ้อสรุป

77

7.สรปุ และซักถาม
20 นาที
สอ่ื การสอน

1. Computer & Projector
2. เอกสารประกอบการเรียนการสอน
3. Teaching films และ view box
4. หอ้ งปฏิบัตกิ าร การตรวจพิเศษของระบบทางเดนิ อาหาร
การประเมนิ ผล
1. Formative evaluation : ซักถามในชนั้ เรยี นและสังเกตพฤติกรรม
ของ นพท./นศพ.ขณะเรยี น
2. Summative evaluation : CRQ 3 ขอ้
3. Authentic evaluation : feed back น พ ท ./น ศ พ . ห ลั ง ก า ร
ซักถาม
เอกสารอา้ งองิ
1.Manual of Diagnostic Imaging :บรรณาธิการ : กิติมา ธรรมารักษ์
2.Textbook of Radiology and Imaging : Edited by: David Sutton
MD, FRCP, FRCR, DMRD, FCan.AR
(Hon)
3.Armstrong Diagnostic Imaging ;6ED 2009

รายวิชา รังสีวิทยา (วพมรส 501)
เร่อื ง รังสิวิทยา ระบบตบั น้าดี ตับออ่ น และ ม้าม

ผ้เู รยี น (Hepatobiliary system Pancreas and Spleen)
ผสู้ อน นพท./นศพ. ชน้ั ปีท่ี 5
เวลา พ.อ.หญงิ ผศ. บุษบง หนหู ลา้

2 ชม.

78

สถานท่ี ห้องประชุมกองรังสีกรรม อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ ช้ัน

2

วัตถุประสงค์ นพท./นศพ.สามารถ

1. เลือกวิธีการตรวจทางรังสีวิทยาท่ีถูกต้องและเหมาะสม ใน

ผู้ป่วยแต่ละรายโดยคานึงถึงข้อมูลเพ่ิมเติมท่ีจะได้รับจากการตรวจ
ร่างกาย และผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ และคานึงถึงเศรษฐานะ
ของผู้ป่วย

2.อธิบายข้อดี ข้อเสีย ข้อจากัด ข้อห้ามของการส่งตรวจทางรังสี

วทิ ยา ในระบบตับ น้าดี ตับออ่ น และม้ามชนิดตา่ ง ๆ ได้
3.แปลผลรายงานการตรวจพิเศษตา่ ง ๆ ของระบบตับ น้าดี ตบั ออ่ น
และม้ามชนดิ ต่าง ๆ ได้

การพฒั นาการเรียนรู้ของนักเรียน
1. ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม
1.4) มีความตรงต่อเวลา มีวินัย มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ

มอบหมาย

วธิ กี ารสอน : บรรยาย

การประเมินผล : ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการ

เรยี นการสอน
2. ดา้ นความรู้
2.2) ค วามรู้ท างวิช าชี พ แล ะทั ก ษ ะท างค ลินิ ก (ต ามเก ณ ฑ์

มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทย์สภา พ.ศ.2555 ภาคผนวก
ข.) ในเรื่องตอ่ ไปนี้

3.2 การตรวจทางรังสีวทิ ยา สามารถอธิบายขั้นตอนการตรวจ
และประเมนิ ข้อบง่ ชี้ ข้อห้าม
สภาพและเง่ือนไขที่เหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและแปลผล
การตรวจไดถ้ กู ต้อง

3.2.2 Plain Abdomen

3.3 สาม ารถ บ อก ข้ อบ่ งช้ี ข้ อห้ าม สภ าพ แ ล ะเง่ือ น ไข ท่ี

เหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและหรือเก็บตัวอย่างตรวจและ
แปลผลรายงานการตรวจไดด้ ้วยตนเองถกู ต้อง

79

วิธกี ารสอน : บรรยาย อธบิ าย และให้ดตู ัวอย่าง ความผดิ ปกติของฟิล์ม

abdomen และ การตรวจพิเศษของระบบ ทางเดินนา้ ดี ตับและตบั ออ่ น
ชนดิ ตา่ ง ๆ
การประเมินผล : ขอ้ สอบ CRQ

3. ทักษะทางปัญญา
3.4 สามารถนาข้อมูลและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์การแพทย์

พื้ น ฐ า น แ ล ะ ท า ง ค ลี นิ ค ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร อ้ า ง อิ ง แ ล ะ แ ก้ ปั ญ ห า ไ ด้ อ ย่ า ง มี
วจิ ารณญาณ

3.7 เลือกใช้วิธีการตรวจโดยเคร่ืองมือพ้นื ฐาน เครอื่ งมอื พเิ ศษโดย
คานงึ ถงึ ความคุ้มคา่ และเหมาะสม
วิธีการสอน : บรรยายอธิบาย และให้ดูตัวอย่าง ความผิดปกติของฟิล์ม

abdomen และ การตรวจพิเศษของระบบ ทางเดินน้าดี ตับและตับอ่อน
ชนดิ ต่าง ๆ
การประเมนิ ผล : ข้อสอบ CRQ

5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสาร และการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ

5.2 สามารถส่ือสารไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพทงั้ การพดู ,การฟัง, การ
อา่ น, การเขยี น, การนาเสนอ
วิธีการสอน : บรรยายอธิบาย และให้ดูตัวอย่าง ความผิดปกติของฟิล์ม

abdomen และ การตรวจพิเศษของระบบ ทางเดินน้าดี ตับและตับอ่อน
ชนดิ ต่าง ๆ
การประเมนิ ผล : ขอ้ สอบ CRQ

6. ด้านทักษะพิสัย
6.3 มคี วามสามารถในการตรวจและแปลผล โดยเคร่ืองมอื พ้นื ฐาน

และเลือกใชก้ ารตรวจทจี่ าเปน็ ได้ โดยคานึงถงึ ความคมุ้ คา่ และเหมาะสม
วิธกี ารสอน : บรรยาย อธบิ าย และให้ดตู ัวอย่าง ความผิดปกติของฟิล์ม

abdomen และ การตรวจพิเศษของระบบ ทางเดนิ นา้ ดี ตับและตบั ออ่ น
ชนดิ ต่าง ๆ
การประเมินผล : ขอ้ สอบ CRQ
เนื้อเรอ่ื ง

80

1. ข้อบ่งชี้ ข้อห้าม ข้อดี ขอ้ จากัด และหลักการเลือกการตรวจพิเศษ
ในระบบตับ นา้ ดี ตบั อ่อน และ มา้ ม อันได้แก่ Ultrasound , CT scan ,

MRI , Cholangiography ชนิดตา่ ง ๆ

2. Normal findings ของ Ultrasound

3. ตัวอย่างโรคทพี บบ่อยไดแ้ ก่ cirrhosis , liver mass ตา่ งๆ

( HCC , metastasis , cystic tumor , abscess) , gallstone CBD

stone, Cholangiocarcinoma , acute pancreatitis , chronic

pancreatitis , cholangiography ชนดิ ต่างๆ , MRCP
ประสบการณก์ ารเรยี นรู้

1. อธบิ ายวธิ กี ารส่งตรวจต่าง ๆ ทางรังสที ี่ใช้ในการตรวจตบั น้าดี

ตบั อ่อน และ 20 นาที มา้ ม รวมทงั้ ขอ้ ดี ข้อเสีย

ขอ้ จากัด ข้อห้าม และการเตรียมตัวผู้ป่วย เช่น Ultrasound ,

CT scan , MRI และ Cholangiography

2. ดูตวั อยา่ งภาพรังสที ี่ปกติ และผิดปกติจากการทา Ultrasound
เชน่

-cirrhosis, splenomegaly, ascites, liver mass ตา่ ง ๆ,

gallstone, 30 นาที CBD

stone.Intrahepatic duct dilatation พัก
10 นาที

3. ดตู วั อยา่ งภาพรังสขี องการตรวจระบบทางเดนิ น้าดี

( cholangiography) 20 นาที

ชนดิ ตา่ ง ๆ เชน่ PTC ,T-tube cholangiogram , ERCP , MRCP

รวมทัง้ ภาพรังสที ผ่ี ิดปกติของ ทางเดินนา้ ดี เช่น retained CBD

stone , cholangio CA เปน็ ต้น

4. ดูตวั อยา่ งความผิดปกติของทางเดินนา้ ดี และตับอ่อนจากการ

ตรวจ CT scan 15 นาที

81

5. ดตู ัวอย่างรายงานการตรวจพเิ ศษของ ตับ น้าดี ตบั อ่อน และม้าม

ชนิดต่าง ๆ 15 นาทีเช่น Ultrasound , CT scan , MRI

6. ซกั ถาม และสรุป

10 นาที

ส่อื การสอน
1. Computer & Projector
2. เอกสารประกอบการเรยี นการสอน
3. Teaching films และ view box

Evaluation
1. Formative evaluation : ซักถามในชั้นเรียนและสังเกตพฤติกรรม

นพท./นศพ.ขณะเรยี น
2. Summative evaluation : CRQ 2 ข้อ
3. Authentic evaluation : feed back น พ ท ./น ศ พ . ห ลั ง ก า ร

ซกั ถาม
เอกสารอา้ งองิ

1. Manual of Diagnostic Imaging : บรรณาธิการ : กิติมา ธรรมา
รกั ษ์

2. Textbook of Radiology and Imaging : Edited by: David
Sutton MD, FRCP, FRCR, DMRD, FCan.AR
(Hon)

3.Armstrong Diagnostic Imaging :6ED 2009

82

รายวิชา รังสวี ิทยา (วพมรส 501)
เรื่อง รังสวิ ทิ ยา Ultrasound

ผูเ้ รียน นพท./นศพ. ชัน้ ปีท่ี 5

ผสู้ อน พ.ท.สุทธพิ ร คาพันธ์นุ พิ

เวลา 4 ชม.

สถานท่ี ห้องประชุมกองรังสีกรรม อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ ช้ัน

2

วตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื ให้ นพท./นศพ.สามารถ

1.อธิบายขอ้ บ่งช้ี (ประโยชน์) และขอ้ จากดั ของอลั ตราซาวด์

2.อธบิ ายหลักการ การสรา้ งภาพ และหลักการทางฟสิ กิ สเ์ บอื้ งตน้ ได้
3.สามารถเลือกหัวตรวจทีเหมาะสม สาหรับการตรวจในแต่ละอวยั วะ
4. สามารถตรวจอลั ตราซาวดเ์ บื้องต้นได้ รวมถึงการตรวจ FAST

5. แปลผลการตรวจอัลตราซาวด์ ท่ีปกติและผิดปกตไิ ดถ้ ูกต้องสาหรับ
โรคทพ่ี บบ่อย
6. แปลผล US. สาหรับโรคทพ่ี บบ่อย เช่น solid mass, cyst, stone
การพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรยี น

83

1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1.4) มีความตรงต่อเวลา มีวินัย มีความรับผิดชอบต่องานท่ีได้รับ

มอบหมาย
วิธกี ารสอน : บรรยาย

การประเมนิ ผล : ประเมนิ จากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการ
เรียนการสอน

2. ดา้ นความรู้
2.2) ค วามรู้ท างวิช าชี พ แล ะทั ก ษ ะท างค ลินิ ก (ต ามเก ณ ฑ์

มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทย์สภา พ.ศ.2555 ภาคผนวก
ข.) ในเรื่องต่อไปนี้

2.2 การตรวจทางรังสีวิทยา สามารถอธิบายขั้นตอนการตรวจ
และประเมินขอ้ บง่ ชี้ ข้อห้าม
สภาพและเงื่อนไขที่เหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและแปลผล
การตรวจได้ถกู ตอ้ ง

3.2.2 Ultrasound abdomen

2.2.1 Focused Assessment with sonographic in

trauma (FAST)

วิธกี ารสอน : อธิบาย และให้ฝกึ การทา Ultrasound

การประเมินผล : ข้อสอบ CRQ

3. ทกั ษะทางปญั ญา
3.4 สามารถนาข้อมูลและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์การแพทย์

พ้ื น ฐ า น แ ล ะ ท า ง ค ลี นิ ค ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร อ้ า ง อิ ง แ ล ะ แ ก้ ปั ญ ห า ไ ด้ อ ย่ า ง มี
วิจารณญาณ

3.7 เลือกใช้วิธีการตรวจโดยเครื่องมือพ้ืนฐาน เคร่ืองมือพิเศษโดย
คานึงถงึ ความคุ้มค่าและเหมาะสม
วิธกี ารสอน : อธบิ าย

การประเมินผล : ขอ้ สอบ CRQ
5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัว เลข การส่ือสาร และการใช้

เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2 สามารถส่ือสารได้อย่างมีประสิทธิภาพท้ังการพูด,การฟัง, การ

อา่ น, การเขียน, การนาเสนอ

84

วธิ กี ารสอน : อธบิ าย
การประเมินผล : ข้อสอบ CRQ

6. ดา้ นทักษะพสิ ัย
6.3 มีความสามารถในการตรวจและแปลผล โดยเคร่ืองมือพื้นฐาน

และเลือกใชก้ ารตรวจที่จาเปน็ ได้ โดยคานงึ ถงึ ความคุ้มคา่ และเหมาะสม
วิธกี ารสอน : อธบิ าย และให้ฝกึ การทา Ultrasound
การประเมนิ ผล : ข้อสอบ CRQ
เนือ้ หา

1. ข้อบ่งช้ี / ข้อจากัด / การแปลผลการตรวจของ US
2. normal anatomy ข อ ง liver, spleen, pancreas, GB, bile
duct, kidney, urinary bladder, uterus, ovary, prostate gland,
abdominal aorta และ thyroid gland
3. disease :- liver : solid mass, cyst, hemangioma, cirrhosis

biliary : gallstone, cholecystitis
KUB - stone

- obstructive uropathy
- BPH
- scrotum แยก mass, orchitis, epididymitis
OB-GYN – ovary – solid mass, cyst
ประสบการณก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายความรู้พน้ื ฐานเก่ียวกับการตรวจอลั ตร้าซาวด์
30 นาที
- การเลือกหัวตรวจทเี หมาะสมในแต่ละอวัยวะ
- ขอ้ บ่งชส้ี าหรบั การตรวจในแตล่ ะอวัยวะ
2. สาธิตการตรวจจริง และเทคนคิ การตรวจในแตล่ ะระยะ

60 นาที
- Normal liver and biliary system
- Normal kidney

85

- Normal pancreas, spleen
- Normal abdominal vessels : IVC, aorta, SMA celiac
axis, splenic v. renal vein.
- Normal thyroid and neck vessels
- Normal lower abdomen; bladder, prostate, uterus
3. สาธติ การตรวจจริง และเทคนคิ การตรวจ FAST
90 นาที
4. ปฏบิ ัตกิ ารฝึกทกั ษะ โดยแบง่ ออกเป็น 2 กลุม่
- กลมุ่ ที่ 1 ฝกึ ฝนการปฏิบตั ิในระบบต่างๆ
- กลุ่มท่ี 2 ฝกึ ฝนการปฏิบตั ใิ นเทคนคิ การตรวจ FAST

5. อภปิ ราย และดูฟิลม์ อวยั วะตา่ งๆ
5.1 Liver

10 นาที
- Space occupying lesion
- Cirrhosis

5.2 Biliary system
10 นาที

- Cholecystitis
- Obstructive jaundice / stone
5.3 KUB

10 นาที
- Obstructive uropathy
- Medical kidney disease
- Prostate
5.4 Pancreas / Spleen / Aorta / LN.
10 นาที

86

- Pseudocyst of pancreas
- Splenic abscess, rupture
- Aortic Aneurysm
- Lymph nodes
5.5 Small parts

10 นาที
- Breast
- Thyroid
- Deep venous thrombosis
- Doppler US of carotid artery
- Scrotum
5.6 OB-GYN

10 นาที
- Myoma Uteri
- Ovarian cyst and tumor
5.7 Miscellaneous
- Ascites
- Interventional US
ส่ือการสอน
1. Computer & Projector
2. เอกสารประกอบการเรยี นการสอน
3. Teaching films และ view box
4 ห้องปฏบิ ตั กิ าร Ultrasound และ หนุ่ จาลองการตรวจ
การประเมินผล
1. Formative evaluation : ซกั ถามในชั้นเรียน
2. Summative evaluation : CRQ 4 ข้อ

87

3. Authentic evaluation : feed back น พ ท ./น ศ พ . ห ลั ง ก า ร
ซักถาม

รายวิชา รังสีวิทยา (วพมรส 501)
เรอื่ ง รังสิวิทยา ระบบทางเดนิ ปัสสาวะ (KUB)

ผู้เรียน นพท./นศพ. ชนั้ ปีท่ี 5

ผสู้ อน พ.ต.หญิง ฉตั รวดี ล้ิมไพบูลย์

เวลา 3 ชม.

สถานท่ี ห้องประชุมกองรังสีกรรม อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ ชั้น

2

วัถตุประสงค์ นพท./นศพ. สามารถเลือกวิธีการตรวจทางรังสีวิทยาที่

ถกู ตอ้ งและเหมาะสม ในผ้ปู ่วย

แต่ละรายโดยคานึงถึง ข้อมูลเพิ่มเติมที่จะได้รับจากการตรวจ และเศรษ

ฐานะของผูป้ ว่ ย

1. อธิบายวธิ ีการตรวจ และผลการตรวจทีค่ าดหวังอยา่ งจาเพาะเพ่ือ

การวนิ ิจฉยั โรค และแผนการรักษาที่ดีที่สดุ ภายใต้การใช้จ่ายที่เหมาะสม

2. อธิบายข้อแทรกซ้อนท่ีสาคัญจากการตรวจ รวมทั้งแผนการ

ปอ้ งกัน และวิธีการแก้ไข หากเกิดขึน้

3. อธิบายความผิดปกติ และแยกพยาธิสภาพจากภาพการตรวจได้

โดยสังเขป ท้ังน้ีต้องครอบคลุมอวัยวะที่เกิดโรค และแยกโรค คร่าวๆ
เปน็ กลมุ่ และบอกโรคทีพ่ บบอ่ ย ดังนี้

3.1 Congenital

3.2 Trauma

3.3 Tumor

3.4 Infection and stone

3.5 Vascular

3.6 Miscellaneous

4. สามารถเลือกวิธีตรวจที่ดีท่ีสุด เพื่อให้บรรลุผลการตรวจและการ
รักษา

88

การพฒั นาการเรยี นรขู้ องนกั เรียน
1. ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
1.4) มีความตรงต่อเวลา มีวินัย มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ

มอบหมาย
วธิ กี ารสอน : บรรยาย

การประเมนิ ผล : ประเมนิ จากการเข้าเรียนและการมีสว่ นร่วมในการ
เรยี นการสอน

2. ดา้ นความรู้
2.2) ค วามรู้ท างวิช าชี พ แล ะทั ก ษ ะท างค ลินิ ก (ต ามเก ณ ฑ์

มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทย์สภา พ.ศ.2555 ภาคผนวก
ข.) ในเรอ่ื งตอ่ ไปนี้

3.2 การตรวจทางรังสีวิทยา สามารถอธิบายขั้นตอนการตรวจ
และประเมนิ ข้อบง่ ช้ี ขอ้ ห้าม
สภาพและเงื่อนไขที่เหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและแปลผล
การตรวจได้ถกู ต้อง

3.2.3 Plain film KUB

3.3 สาม ารถ บ อก ข้ อบ่ งช้ี ข้ อห้ าม สภ าพ แล ะเง่ือ น ไข ท่ี
เหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและหรือเก็บตัวอย่างตรวจและ
แปลผลรายงานการตรวจไดด้ ้วยตนเองถูกต้อง

3.3.28 Intravascular contrast studies: arterial and venous

studies

วธิ กี ารสอน : บรรยาย อธบิ าย และให้ดตู ัวอย่าง ความผิดปกตขิ องฟิล์ม

KUB ชนดิ ตา่ ง ๆ

การประเมนิ ผล : ข้อสอบ CRQ

3. ทักษะทางปญั ญา
3.4 สามารถนาข้อมูลและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์การแพทย์

พื้นฐานและทางคลีนิกไปใช้ในการอ้างอิงและแก้ปัญ หาได้อย่างมี
วิจารณญาณ

3.7 เลือกใช้วิธีการตรวจโดยเคร่ืองมือพ้ืนฐาน เครื่องมือพิเศษโดย
คานึงถึงความคุ้มคา่ และเหมาะสม

89

วธิ กี ารสอน : บรรยาย อธบิ าย และให้ดูตัวอย่าง ความผิดปกติของฟลิ ์ม
KUB ชนดิ ตา่ ง ๆ
การประเมินผล : ข้อสอบ CRQ

5. ด้านทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การส่ือสาร และการใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศ

5.2 สามารถส่ือสารได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูด,การฟัง, การ
อ่าน, การเขยี น, การนาเสนอ
วิธกี ารสอน : บรรยาย อธิบาย และให้ดตู ัวอย่าง ความผิดปกตขิ องฟิล์ม
KUB ชนดิ ตา่ ง ๆ
การประเมินผล : ข้อสอบ CRQ

6. ดา้ นทกั ษะพิสัย
6.3 มีความสามารถในการตรวจและแปลผล โดยเครื่องมือพ้ืนฐาน

และเลือกใช้การตรวจท่ีจาเป็นได้ โดยคานงึ ถงึ ความคมุ้ คา่ และเหมาะสม
วิธกี ารสอน : บรรยาย อธบิ าย และให้ดูตวั อย่าง ความผิดปกตขิ องฟลิ ์ม
KUB ชนดิ ต่าง ๆ
การประเมินผล : ขอ้ สอบ CRQ
เน้ือหา

1. ขอ้ บ่งช้ี / ข้อหา้ ม / ผลแทรกซ้อนของการตรวจพิเศษระบบ
ทางเดินปสั สาวะ

2. Normal anatomy ใน plain film และการตรวจพิเศษ เช่น IVP,
VCUG, US, hysterosalpingogram

3. หลกั การอ่าน film ปกติ และผิดปกติ
4. ความผิดปกติต่างๆ แยกตามกลุ่ม

4.1 Congenital :- Horseshoe kidney
4.2 Trauma to kidney, ureter, urinary bladder
4.3 Tumor :- renal cell carcinoma, mass ใน urinary

bladder

90

4.4 Stone :- kidney, ureter, urinary bladder,
obstructive uropathy

4.5 Infection :- cystitis, pyelonephritis, renal abscess
ประสบการณก์ ารเรยี นรู้

1.กลา่ วนา
5 นาที

2. บรรยาย ข้อบ่งช้ี ขอ้ ห้าม และ ผลแทรกซอ้ นของการตรวจพิเศษ

ระบบทางเดนิ ปสั สาวะ 5 นาที

3. บรรยาย Normal anatomy ใน plain film และการตรวจพิเศษ

เชน่ IVP, VCUG, US, hysterosalpingogram

20 นาที

4. พาชมหอ้ งตรวจพิเศษต่างๆของระบบทางเดินปสั สาวะ

20 นาที พัก

10 นาที

5. บรรยาย อธิบาย ยกตัวอย่างความผิดปกติชนิดต่างๆ

30 นาที

6.. แจกฟิลม์ ในแต่ละกลมุ่ โรคท่ีพบบ่อย ใหผ้ เู้ รยี นเป็นรายบคุ คล

5 นาที

7. ใหเ้ วลาผ้เู รยี นศึกษาฟลิ ์มท่ีไดร้ ับ โดยปรึกษารว่ มกนั ได้

25 นาที

8. ผ้เู รยี นนาเสนอฟลิ ์มผูป้ ่วยทีละราย โดยอธบิ ายความผิดปกตทิ ี่เหน็

40 นาที และชอ่ื อวัยวะท่ีเกดิ โรค รวมทง้ั อวัยวะอนื่ ๆ ที่ผดิ ปกตริ ว่ ม
ผสู้ อนแนะนาเพิ่มเตมิ และชีใ้ ห้เห็นความจาเป็นของการตรวจท่ีนามา

ซ่ึง
การวนิ ิจฉยั โดยสอดแทรกจรยิ ธรรมของการเปน็ แพทย์ผู้รกั ษาพึงปฏิบัติ
ตอ่ ผ้ปู ว่ ย

9. ผสู้ อนนาฟิล์มปริศนาประมาณ 5 ถงึ 10 ข้อมาใหผ้ เู้ รียนถาม/ตอบ

10 นาที

91

และเฉลยการวินิจฉัย
10. สรปุ และตอบคาถาม
10 นาที

สื่อการสอน
1. Computer & Projector
2. เอกสารประกอบการเรยี นการสอน

การประเมินผล
1. Formative evaluation : ซกั ถามในชน้ั เรยี น
2. Summative evaluation : CRQ 3 ขอ้
3. Authentic evaluation : feed back น พ ท ./น ศ พ . ห ลั ง ก า ร

ซกั ถาม

รายวิชา รังสวี ทิ ยา (วพมรส 501)
เร่ือง รังสวิ ทิ ยา ระบบเต้านม (Mammogram)

ผู้เรียน นพท./นศพ. ช้นั ปีที่ 5

ผสู้ อน พ.ต.หญงิ ฉัตรวดี ลิม้ ไพบูลย์

เวลา 1 ชม.

สถานท่ี ห้องประชุมกองรังสีกรรม อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ ชั้น

2

วัตถุประสงค์ นพท./นศพ.สามารถ

1. ข้อบง่ ชแี้ ละข้อห้ามของ Mammogram

2. แปลผลรายงานการตรวจ Mammogram ได้อย่างถูกต้อง นามา

ซึง่ การแนะนาใหผ้ ูป้ ว่ ยมี proper management ตอ่ ไป

การพัฒนาการเรียนรูข้ องนักเรยี น
1. ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
1.4) มีความตรงต่อเวลา มีวินัย มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ

มอบหมาย

วธิ กี ารสอน : อธิบาย

การประเมนิ ผล : ประเมนิ จากการเข้าเรยี นและการมีส่วนรว่ มในการ
เรียนการสอน

92

2. ด้านความรู้
2.2) ค วามรู้ท างวิช าชี พ แล ะทั ก ษ ะท างค ลินิ ก (ต ามเก ณ ฑ์

มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทย์สภา พ.ศ.2555 ภาคผนวก
ข.) ในเรอื่ งต่อไปน้ี

3.3 สาม ารถ บ อก ข้ อบ่ งช้ี ข้ อห้ าม สภ าพ แล ะเงื่อ น ไข ที่
เหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและหรือเก็บตัวอย่างตรวจและ
แปลผลรายงานการตรวจได้ด้วยตนเองถูกตอ้ ง

3.3.25 Mammography

วิธกี ารสอน : อธบิ าย และให้ดตู ัวอยา่ ง ความผิดปกตขิ องฟลิ ์ม
Mammography ชนิดต่าง ๆ

การประเมนิ ผล : ขอ้ สอบ CRQ

3. ทกั ษะทางปัญญา
3.4 สามารถนาข้อมูลและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์การแพทย์

พื้ น ฐ า น แ ล ะ ท า ง ค ลี นิ ค ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร อ้ า ง อิ ง แ ล ะ แ ก้ ปั ญ ห า ไ ด้ อ ย่ า ง มี
วจิ ารณญาณ

3.7 เลือกใช้วิธีการตรวจโดยเครื่องมือพ้ืนฐาน เครื่องมือพิเศษโดย
คานงึ ถึงความคุม้ ค่าและเหมาะสม
วธิ กี ารสอน : อธบิ าย และใหด้ ตู วั อย่าง ความผิดปกตขิ องฟิลม์
Mammography ชนิดต่าง ๆ

การประเมินผล : ข้อสอบ CRQ
5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้

เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2 สามารถส่ือสารได้อย่างมีประสิทธิภาพท้ังการพูด,การฟัง, การ

อ่าน, การเขียน, การนาเสนอ
วธิ กี ารสอน : อธิบาย และใหด้ ตู วั อย่าง ความผดิ ปกติของฟิลม์
Mammography ชนิดตา่ ง ๆ

การประเมินผล : ขอ้ สอบ CRQ

6. ดา้ นทักษะพสิ ยั
6.3 มีความสามารถในการตรวจและแปลผล โดยเคร่ืองมือพ้ืนฐาน

และเลือกใชก้ ารตรวจทจี่ าเปน็ ได้ โดยคานงึ ถงึ ความคมุ้ ค่าและเหมาะสม

93

วิธกี ารสอน : อธบิ าย และให้ดูตวั อยา่ ง ความผดิ ปกตขิ องฟิลม์
Mammography ชนิดตา่ ง ๆ
การประเมนิ ผล : ขอ้ สอบ CRQ
ประสบการณ์การเรยี นรู้

1.อธิบายตามหัวข้อต่อไปน้ี : Mammogram คอื อะไร,ชนิด
(screening vs diagnostic), 25 นาที

ประโยชน์, ข้อจากัด, กายวิภาค, normal mammogram, standard
views, วธิ กี ารอ่าน film
อยา่ งคร่าว ๆ การรายงานผลตาม BIRADS

2. พักและใหซ้ กั ถาม
10 นาที

3. ดู film ตัวอย่างของแตล่ ะ BIRADS และรว่ มอภปิ ราย
15 นาที
สื่อการสอน

1. Power point
2. เอกสารประกอบการเรยี นการสอน
การประเมินผล
1. Formative evaluation : ซักถามในช้ันเรียน
2. Summative evaluation : CRQ 1 ข้อ

รายวิชา รังสวี ทิ ยา (วพมรส 501)
เรือ่ ง รงั สิวทิ ยา ระบบหัวใจและหลอดเลือด (CVS)
ผเู้ รยี น
นพท./นศพ. ช้ันปีท่ี 5

94

ผู้สอน พ.อ.หญิง ศรเี รอื น ชุณหชาติ

เวลา 4 ชม.

สถานท่ี ห้องประชุมกองรังสีกรรม อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ ช้ัน

2

วตั ถุประสงค์ ให้ นพท./นศพ. สามารถเลือกวิธีการตรวจทางรังสีวิทยา

ท่ีถูกต้องและเหมาะสม ในผู้ป่วยแต่ละรายโดยคานึงถึง ข้อมูลเพิ่มเติมที่

จะไดร้ ับจากการตรวจ และเศรษฐานะของผปู้ ่วย

- แปลผลการตรวจ plain film ของ หัวใจและหลอดเลือดใน

ทรวงอกท่ีปกติและผดิ ปกติ

ได้ถกู ต้องในโรค/ภาวะ ที่พบบอ่ ย

การพฒั นาการเรียนรขู้ องนักเรยี น

1. ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม

1.4) มีความตรงต่อเวลา มีวินัย มีความรับผิดชอบต่องานท่ีได้รับ

มอบหมาย

วธิ กี ารสอน : บรรยาย

การประเมนิ ผล : ประเมนิ จากการเข้าเรยี นและการมีสว่ นร่วมในการ

เรียนการสอน
2. ดา้ นความรู้
2.2) ค วามรู้ท างวิช าชี พ แล ะทั ก ษ ะท างค ลินิ ก (ต ามเก ณ ฑ์

มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทย์สภา พ.ศ.2555 ภาคผนวก
ข.) ในเรื่องตอ่ ไปน้ี

3.2 การตรวจทางรังสีวทิ ยา สามารถอธิบายขั้นตอนการตรวจ
และประเมนิ ขอ้ บง่ ชี้ ข้อห้าม
สภาพและเงื่อนไขท่ีเหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและแปลผล
การตรวจได้ถูกต้อง

3.2.1 Chest x-ray

3.3 สาม ารถ บ อก ข้ อ บ่ งช้ี ข้ อห้ าม สภ าพ แล ะเง่ือ น ไข ที่

เหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและหรือเก็บตัวอย่างตรวจและ
แปลผลรายงานการตรวจได้ดว้ ยตนเองถกู ต้อง

3.3.23 Computerized axial tomography scan

95

วธิ กี ารสอน : บรรยายอธบิ าย และใหด้ ูตวั อย่าง ความผดิ ปกติของฟลิ ์ม

ทางด้าน CVS ชนดิ ตา่ ง ๆ

การประเมินผล : ข้อสอบ CRQ

3. ทกั ษะทางปญั ญา
3.2 ส าม ารถ แ สวงห าวิธีก ารส ร้างแ ล ะพั ฒ น าค วาม รู้ ทั ก ษ ะ

เหมาะสม
3.3 คดิ วิเคราะห์อย่างเป็นระบบ โดยใช้องคค์ วามรู้ทางวิชาชีพและ

ดา้ นอ่นื ๆ ทเ่ี กย่ี วข้อง
3.4 สามารถนาข้อมูลและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์การแพทย์

พ้ื น ฐ า น แ ล ะ ท า ง ค ลี นิ ค ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร อ้ า ง อิ ง แ ล ะ แ ก้ ปั ญ ห า ไ ด้ อ ย่ า ง มี
วิจารณญาณ
วิธกี ารสอน : บรรยาย อธิบาย และให้ดตู ัวอย่าง ความผิดปกตขิ องฟิล์ม

ทางด้าน CVS ชนดิ ต่าง ๆ

การประเมินผล : ขอ้ สอบ CRQ
5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิ งตัวเลข การส่ือสาร และการใช้

เทคโนโลยสี ารสนเทศ
5.2 สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูด,การฟัง, การ

อ่าน, การเขียน
5.6 สามารถค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ โดยใช้เทคโนโลยี

สารสนเทศ
วธิ กี ารสอน : บรรยาย อธิบาย และให้ดตู ัวอย่าง ความผิดปกติของฟิล์ม

ทางด้าน CVS ชนิดตา่ ง ๆ

การประเมินผล : ขอ้ สอบ CRQ

6. ด้านทกั ษะพสิ ยั
6.4 มีทักษะในการให้การดูแลรักษา และทาหัตถการท่ีจาเป็น

(ตาม (ร่าง) เกณฑ์ มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทยสภา

พ.ศ. 2555 )
3.2 การตรวจทางรังสีวิทยา สามารถอธิบายขั้นตอนการตรวจ

และประเมนิ ข้อบ่งชี้ ข้อหา้ ม

96

สภาพและเงื่อนไขท่ีเหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและแปลผล
การตรวจไดถ้ กู ตอ้ ง

3.2.1Chest x-ray

วิธกี ารสอน : บรรยาย อธิบาย และให้ดตู วั อย่าง ความผดิ ปกตขิ องฟลิ ์ม
ทางดา้ น CVS ชนิดตา่ ง ๆ
การประเมนิ ผล : ข้อสอบ CRQ
เนอื้ เร่ือง

2. การตรวจระบบหัวใจและหลอดเลอื ด
3. Heart, great vessel, Mediastinal border

2.1 Normal imaging anatomy
2.2 Normal mediastinal and cardiac shadow in PA and
lateral chest film
2.3 Cardiothoracic ratio and limitation of interpretation
2.4 enlarge cardiac chambers
3. Pulmonary Circulation
3.1 Normal pulmonary vascularity
3.2 Normal pulmonary arterial blood flow
3.3 Increased pulmonary arterial blood flow
3.4 Decreased pulmonary arterial blood flow
3.5 Pulmonary hypertension and pulmonary arterial
hypertension
3.6 Increased pulmonary venous pressure
3.7 Pulmonary edema
3.8 ตัวอยา่ ง การนาไปใช้ การวนิจฉยั แยกโรค
4. pericardium
4.1 pericardial effusion
5. Aorta

97

5.1 Coarctation of Aorta
5.2 Aneurysm
5.3 Aortic dissection
5.4 right sided aortic arch

ประสบการณก์ ารเรยี นรู้
1. เชค็ ชอื่

5 นาที
2. อาจารย์กลา่ วนาส่บู ทเรียน

5 นาที
3. Normal CVS anatomy, Normal Mediastinal border

25 นาที
ใน PA chest film
ใน Lateral chest film

4. การวดั Cardio-thoracic radio
5 นาที

5. การดู Cardiomegaly ทา่ Lateral
5 นาที

6. การดู Cardiac chamber enlargement
30 นาที

ให้ดูภาพ slide
7. พกั

15 นาที
Pulmonary Vascularity
8. อธิบาย ประเภท, สาเหตุ, ภาพรังสี
20 นาที

98

9. ให้ดูภาพชุด Pulmonary arterial Vascularity
10 นาที

10. Discussion
10 นาที

11. พกั
15 นาที

12. ดู film pulmonary edema เพิ่มเติม
10 นาที

13. การ Pulmonary Vascularity ไปใช้วินจิ ฉัยแยกโรค
5 นาที

14. Pericardial effusion
15 นาที

15. Right – sided aortic arch
5 นาที

16. Aortic aneurysm
15 นาที

Aortic dissection
สื่อการสอน

1. Computer & Projector
2. เอกสารประกอบการเรียนการสอน
3. Teaching films และ view box
การประเมนิ ผล
1. Formative evaluation : ซักถามในชั้นเรียน
2. Summative evaluation : CRQ 4 ขอ้
3. Authentic evaluation : feed back น พ ท ./น ศ พ . ห ลั ง ก า ร
ซกั ถาม

99

รายวชิ า รังสีวิทยา (วพมรส 501)
เร่อื ง รังสวิ ทิ ยา ระบบประสาท (Neuroradiology)

ผูเ้ รยี น นพท./นศพ. ชั้นปีที่ 5

ผ้สู อน พ.อ.อนุชิต รวมธารทอง/พ.อ.หญิง อนงคร์ ตั น์

เกาะสมบัติ/พล.ต.หญงิ ผศ.กติ ิมา ธรรมรกั ษ์

เวลา 4 ชม.

สถานที่ ห้องประชุมกองรังสีกรรม อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ ช้ัน

2

วัตถุประสงค์ ให้ นพท./นศพ.สามารถเลือกวิธีการตรวจทางรังสีวิทยาที่

ถูกต้องและเหมาะสม ในผู้ป่วย

แต่ละราย โดยคานึงถึงข้อมูลเพิ่มเติมท่ีจะได้รับจากการตรวจ และเศรษ

ฐานะของผปู้ ว่ ย

1. อธิบาย ข้ อบ่ งช้ี และข้ อห้ ามข องการตรวจ plain skull, plain

spine, cerebral angiogram,

myelogram, ultrasound, CT. และ MRI ของระบบประสาท

2. อธิบายหลกั การเบ้ืองต้น ได้แก่การเตรยี มผ้ปู ่วย, วธิ ีการตรวจ และ
ผลแทรกซ้อนของการตรวจ
cerebral angiogram และ myelogram

3. แปลผลการตรวจ plain skull และ spine ท่ีปกติและผิดปกติได้

ถูกตอ้ งในโรค/ภาวะ/กล่มุ อาการ
ทพี่ บบ่อย หรอื มคี วามสาคัญทางระบบประสาท

4. แปลผลรายงานการตรวจ cerebral angiogram, myelogram,

CT และ MRI ไดถ้ กู ตอ้ งของโรค

ที่สาคัญทางระบบประสาท
การพฒั นาการเรียนรขู้ องนกั เรียน

100

1. ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม
1.4) มีความตรงต่อเวลา มีวินัย มีความรับผิดชอบต่องานท่ีได้รับ

มอบหมาย
1.5) มีการเลือกการตรวจท่ีเหมาะสมกับโรค และเศรษฐฐานะของ

ผู้ป่วย
1.6) เคารพในสิทธิผู้ป่วย รักษาความลับ และคานึงถึงประโยชน์

และความปลอดภยั ของผปู้ ว่ ยเปน็ สาคัญ
วิธกี ารสอน : บรรยาย

การประเมนิ ผล : ประเมินจากการเข้าเรยี นและการมีส่วนร่วมในการ
เรียนการสอน

2. ดา้ นความรู้
2.1) ความรู้ทางวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์พน้ื ฐาน (Anatomy)
2.2) ค วามรู้ท างวิช าชี พ แล ะทั ก ษ ะท างค ลินิ ก (ต ามเก ณ ฑ์

มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทย์สภา พ.ศ.2555 ภาคผนวก
ข.) ในเรื่องตอ่ ไปนี้

3.2 การตรวจทางรังสีวิทยา สามารถอธิบายข้ันตอนการตรวจ
และประเมนิ ข้อบง่ ช้ี ขอ้ หา้ ม
สภาพและเงื่อนไขท่ีเหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและแปลผล
การตรวจได้ถูกต้อง

3.2.4 Skull and sinuses

3.2.6 Lateral soft tissue of neck

3.3 สาม ารถ บ อก ข้ อบ่ งช้ี ข้ อห้ าม สภ าพ แล ะเงื่อ น ไข ท่ี
เหมาะสม เตรียมผู้ป่วยสาหรับการตรวจและหรือแปลผลรายงานการ
ตรวจไดด้ ้วยตนเองถูกต้อง

3.3.23 Computerized axial tomography scan
วธิ กี ารสอน : บรรยาย อธบิ าย และให้ดูตัวอย่าง ความผดิ ปกตขิ องฟลิ ์ม
ศรี ษะและสมอง ชนดิ ต่าง ๆ
การประเมนิ ผล : จากการมีสว่ นร่วมในการเรียนการสอน และการ
นาเสนออ่านฟลิ ์มทีละคน

ขอ้ สอบ CRQ

3. ทกั ษะทางปัญญา


Click to View FlipBook Version