ม.4
แผนการจดั การเรยี นรู้
วิชา เคมี ว31221
กลุม่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 อะตอมและสมบัตขิ องธาตุ
ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรียนหนองหานวิทยา
นายวทิ ยา นา่ ชม
รหัสประจำตัวนักศกึ ษา 61100141103
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ (เน้นเคม)ี
การฝกึ ปฏบิ ัติการสอนในสถานศกึ ษา 1
รหสั วชิ า ED18501 (INTERNSHIP IN SCHOOL 1)
คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อดุ รธานี
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2565
คำนำ
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเคมี ว31221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่มที่ 2 จัดทำขึ้นเพื่อใช้
เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ และให้นักเรียนบรรลุตามผลการเรียนรู้
ที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560)
ผู้จัดทำจึงได้ศึกษาสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม เทคนิค วิธีการสอน การวัดและประเมินผล มาจัดทำ
แผนการจัดการเรยี นรใู้ นครง้ั น้ี
แผนการจัดการเรียนรู้เล่มที่ 2 ประกอบไปด้วย ความสำคัญของวิทยาศาสตร์ เป้าหมายของ
การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ เรียนร้อู ะไรในวิทยาศาสตร์เพิ่มเติม สาระวิทยาศาสตร์เพิ่มเติม
คุณภาพผู้เรียน สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผลการเรียนรู้และสาระการ
เรียนรู้เพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 รายวิชาเคมี คำอธิบายรายวิชา สัดส่วนคะแนน การวัดและ
ประเมินผล โครงสร้างหลักสูตร โครงสร้างกำหนดการสอน และแผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการ
เรียนรู้ที่ 2 เรื่อง อะตอมและสมบัติของธาตุ เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ได้เต็มศักยภาพ
อย่างแทจ้ รงิ
จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้ จะสามารถนำไปใช้ประกอบการจัดการ
เรียนการสอนรายวิชาเคมี นำไปสู่การพฒั นาทถ่ี ูกตอ้ งและเกดิ ผลแก่ผเู้ รยี นเป็นอย่างดี
วิทยา น่าชม
18 ตุลาคม 2565
สารบัญ
เรื่อง หนา้
คำนำ ก
สารบัญ ข
แผนการจดั การเรียนรหู้ น่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 อะตอมและสมบตั ิของธาตุ 1
2
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 5 เร่อื ง แบบจำลองอะตอม 18
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 เร่อื ง อนภุ าคในอะตอมและไอโซโทป 35
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 7 เรือ่ ง การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม 52
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 เรอ่ื ง ตารางธาตแุ ละสมบตั ขิ องธาตหุ มหู่ ลัก 70
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 9 เรื่อง ตารางธาตุและสมบตั ิของธาตุหม่หู ลัก 2 86
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 10 เร่อื ง ธาตแุ ทรนซชิ ัน 109
แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 11 เร่อื ง ธาตุกัมมันตรังสี 123
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 12 เรอ่ื ง การนำธาตุไปใช้ประโยชน์และผลกระทบตอ่ สิง่ มีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 อะตอมและสมบัติของธาตุ
2
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 5
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา เคมี รหัสวชิ า ว31221
ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 อะตอมและสมบัติของธาตุ
เวลา 3 ช่ัวโมง
เร่ือง แบบจำลองอะตอม ผสู้ อน นายวิทยา นา่ ชม
ภาคเรยี นท่ี 1
1. สาระการเรยี นรแู้ ละผลการเรยี นรู้
สาระเคมี 1
เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ สมบัติของธาตุ พันธะเคมีและสมบัติของสาร
แก๊สและสมบัติของแก๊ส ประเภทและสมบัติของสารประกอบอินทรยี ์และพอลิเมอร์ รวมทั้งการนำความรู้
ไปใชป้ ระโยชน์
ผลการเรียนรู้
1. สืบค้นขอ้ มูลสมมติฐาน การทดลองหรือ ผลการทดลองที่เปน็ ประจักษพ์ ยานในการเสนอแบบจำลอง
อะตอมของนักวิทยาศาสตร์และอธบิ ายววิ ัฒนาการของแบบจำลองอะตอม
2. สาระสำคัญ
นักวิทยาศาสตร์ศึกษาโครงสร้างของอะตอมและเสนอแบบจำลองอะตอมแบบต่าง ๆ จากการศึกษา
ข้อมลู การสงั เกต การตั้งสมมติฐาน
แบบจำลองอะตอมมีวิวฒั นาการ โดยเริ่มจากดอลตนั เสนอว่าธาตุประกอบดว้ ยอะตอมซึง่ เป็น อนุภาค
ขนาดเล็กไม่สามารถแบ่งแยกได้ ต่อมาทอมสันเสนอว่าอะตอมประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุลบ เรียกว่า
อิเล็กตรอน และอนภุ าคประจบุ วก รทั เทอร์ฟอรด์ เสนอว่าประจุบวก ทเี่ รยี กวา่ โปรตอน รวมตัวกันอยู่ตรง
กึ่งกลางอะตอม เรียกว่า นิวเคลียส ซึ่งมีขนาดเล็กมากและมีอิเล็กตรอนอยู่รอบนิวเคลียสโบร์เสนอว่า
อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เป็นวงรอบนิวเคลียส โดยแต่ละวงมีระดับพลังงานเฉพาะตัว ในปัจจุบัน
นักวิทยาศาสตร์ยอมรับว่าอิเล็กตรอนมีการ เคลื่อนทร่ี วดเรว็ รอบนวิ เคลียส
3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
3.1 ดา้ นความรู้ (K)
1. อธบิ ายแบบจำลองอะตอมของดอลตนั ทอมสนั รทั เทอรฟ์ อร์ด โบร์และแบบกลุ่มหมอกได้
3.2 ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)
1. คำนวณพลงั งานของคลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟ้าได้
3
3.3 ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (A)
1. ตง้ั ใจเรยี นรแู้ ละแสวงหาความรู้ รับผดิ ชอบตอ่ หนา้ ท่ีท่ไี ด้รับมอบมาย
4. สาระการเรียนรู้
4.1 แบบจำลองอะตอม
5. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ใชร้ ูปแบบการสืบเสาะหาความรู้ 5E)
1. ข้ันสร้างความสนใจ (Engagement)
1. ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยให้นักเรียนตอบคำถามก่อนเรียนผา่ น โปรแกรม Quizizz
เรือ่ ง แบบจำลองอะตอม
2. ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration)
2. ครอู ธบิ ายถึงความสำคญั ในการเรยี น เรอ่ื งแบบจำลองอะตอม
3. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับ แบบจำลองอะตอมของดอลตัน โดยมีรายละเอียดดังนี้ จอห์น ดอลตัน
สร้างทฤษฎอี ะตอม ประกอบดว้ ยแนวคดิ 4 ข้อ ดังน้ี
1) ธาตุเกิดจากการรวมตัวกนั ของอนุภาคที่เลก็ ท่ีสดุ เรียกวา่ อะตอม
2) อะตอมของธาตุเดยี วกันจะมีสมบตั เิ หมือนกนั และต่างจากอะตอมของธาตอุ ื่น
3) สารประกอบเกดิ จากอะตอมของธาตุ 2 ธาตุขึ้นไปรวมตัวกันในอตั ราส่วนการรวมตัวคงที่
4) อะตอมทำลายไมไ่ ดด้ ้วยวธิ ที างเคมี สร้างข้ึนใหม่ไมไ่ ด้ และแยกย่อยออกไปอีกไม่ได้
4. ครูถามคำถามนักเรียน โดยใช้คำถามว่า ในปัจจุบันแนวคิดของดอลตันข้อใดที่ยังคงเป็น
ข้อเท็จจรงิ อยแู่ ละข้อใดพิสูจน์ได้แล้ววา่ ไมเ่ ป็นจรงิ เพราะอะไร (แนวคำตอบ : แนวคดิ ข้อ 3) ปจั จุบันยังคง
เป็นข้อเท็จจรงิ อยู่ ส่วนแนวคิดข้อ 1) 2) และ 4) ปจั จบุ นั ไม่เป็นจริงแลว้ เช่น ปัจจุบันอะตอมไม่ได้มีขนาด
เล็กทสี่ ดุ แต่มีอนภุ าคท่ีเล็กกว่า ไดแ้ ก่ อิเลก็ ตรอน โปรตอน นวิ ตรอน อะตอมของธาตุเดียวกันอาจมีสมบัติ
ตา่ งกนั ได้ และอะตอมสามารถแยกยอ่ ยตอ่ ไปอีกจากความร้เู รอื่ งองค์ประกอบของอะตอม )
5. ครใู หน้ กั เรยี นดูวดิ ีทศั น์การทดลองของทอมสันประกอบการอธิบาย
6. ครูถามคำถามนักเรยี น โดยใช้คำถามดังน้ี
- ทำไมการทดลองของทอมสันใช้หลอดแก้วบรรจุแก๊สความดันต่ำ (แนวคำตอบ : เพราะว่า
ภาวะน้มี ีจำนวนอะตอมของแก๊สไม่หนาแนน่ ประจุไฟฟ้าสามารถเดินทางได้ไกล)
- ลำอนุภาครังสีแคโทด ที่ทอมสันค้นพบ คืออะไร และมีประจุทางไฟฟ้าเป็นอย่างไร (แนว
คำตอบ : อเิ ล็กตรอน มปี ระจลุ บ)
7. ครูให้นกั เรยี นดูวิดที ศั น์ การทดลองของรัทเทอร์ฟอรด์ ประกอบการอธบิ าย
8. ครถู ามคำถามนักเรยี น โดยใช้คำถามดังน้ี
4
- เพราะอะไรรังสีแอลฟาบางอนุภาคเบ่ยี งเบนหรือสะท้อนกลบั มาบริเวณด้านหนา้ ของฉากเรือง
แสง (แนวคำตอบ : เพราะ ภายในอะตอม มอี นภุ าคทีม่ มี วลสูงมากกวา่ รงั สแี อลฟาและมีประจุบวก)
- นักเรียนคิดว่าอนุภาคที่ทำให้รังสีแอลฟาบางอนุภาคเบี่ยงเบนหรือสะท้อนกลับมาบริเวณ
ด้านหน้าของฉากเรืองแสงมีขนาดเป็นอย่างไร (แนวคำตอบ : มีขนาดเล็ก เพราะจากแนวคิดของ
รัทเทอร์ฟอร์ดที่กล่าวว่า การที่รังสีแอลฟาส่วนใหญ่ผ่านแผ่นทองคำไปได้ แสดงว่าภายในอะตอมต้องมี
ที่ว่างบริเวณกว้าง และมีอนุภาคบางส่วนที่เบี่ยงเบนและสะท้อน แสดงว่าในอะตอมน่าจะมีกลุ่มอนุภาค
ขนาดเลก็ อย่ดู ว้ ย)
9. ครูให้นักเรียนดูวิดที ศั น์การศกึ ษาเส้นสเปกตรัมของธาตุ ในแบบจำลองอะตอมของโบร์
10. ครูถามคำถามนกั เรียน โดยใชค้ ำถามดงั นี้
- ทำไมนกั วิทยาศาสตรใ์ ช้อะตอมของไฮโดรเจนในการศึกษาสเปกตรัม (แนวคำตอบ : เพราะว่า
อะตอมของไฮโดรเจนมีอิเล็กตรอนเดยี วเดยี ว)
- ทำไมอะตอมของไฮโดรเจนให้สเปกตรัมได้หลายเส้นที่มีลักษณะเหมือนกันทุกครั้ง (แนว
คำตอบ : เพราะว่าอิเล็กตรอนในอะตอมของไฮโดรเจนขึ้นไปอยู่ในสถานะกระตุ้นที่มีพลังงานแตกต่างกัน
ได้หลายระดบั )
11. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเก่ียวกบั สเปกตรมั แมเ่ หลก็ ไฟฟา้
12. ครูและนักเรียนร่วมกันศึกษาพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จากความสัมพันธ์ของสมการ
E = hc และครูแสดงการคำนวณให้แก่นักเรียน โดยใช้คำถามดงั น้ี
1) คลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ มีความยามคลน่ื 400 นาโนเมตร จะมีพลังงานคล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟา้ เท่าใด
(แนวคำตอบ : 4.96 × − kJ)
2) อเิ ล็กตรอน 1 อนุภาค ไดร้ ับพลังงานจากแสงขาวที่มคี วามถี่ 5.0 × Hz ถา้ อิเล็กตรอน
สามารถดดู ซบั พลงั งานแสงได้ 70% จงคำนวณหาพลังงานทอ่ี เิ ล็กตรอน 1 อนภุ าคได้รับ (แนวคำตอบ :
2.32 × − J)
13. ครใู ห้นกั เรียนคำนวณพลังงานของคลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟ้า โดยมคี ำถามดังนี้
1) คลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟา้ มคี วามยามคลืน่ 420 นาโนเมตร จะมีพลังงานคลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ เท่าใด
(แนวคำตอบ : 4.73 × − kJ)
2) อะตอม H 2 โมลไดร้ ับพลงั งานความรอ้ นทำให้อเิ ล็กตรอนทงั้ หมดเปลย่ี นระดบั ไปที่ n = 6
แลว้ คายพลงั งานออกมาในรปู แสงท่มี ีความถ่ี 6.2× Hz จงหาพลงั งานความร้อนที่คายออกมา (แนว
คำตอบ : 494.54 kJ)
5
3) อิเลก็ ตรอน 6 โมล คายพลังงานออกมาในรปู ของแสงสีม่วง เขยี ว และส้ม อยา่ งละ 1 โมล ที่
เหลอื เป็นสีเหลอื ง แสงสใี ดมคี วามเขม้ แสงสงู ท่ีสดุ (แนวคำตอบ : ความเขม้ แสงไม่สัมพันธ์กับพลังงานของ
แสง (E = hv × จำนวนอิเล็กตรอน) ความเขม้ แสงสัมพนั ธ์กับจำนวนโมลของอเิ ลก็ ตรอนท่ปี ลอ่ ยพลังงาน
แสงสีน้ันมากที่สดุ ดงั นน้ั ปล่อยสเี หลอื งมากทสี่ ดุ (3 โมล) ดงั น้ัน แสงสเี หลืองมีความเข้มแสงสูงที่สุด)
14. ครอู ธบิ ายระดับพลังงานของอิเลก็ ตรอน โดยมเี นือ้ หาเก่ียวกับการคายพลังงานของอิเลก็ ตรอน
และแผนภาพแสดงการรับและคายพลังงานของอเิ ลก็ ตรอนท่ีระดบั พลังงานตา่ ง ๆ
15. ครูอธิบายแบบจำลองอะตอม แบบกลุ่มหมอก
16. ครถู ามคำถามนักเรยี น โดยใชค้ ำถามดังน้ี
- ทำไมอิเลก็ ตรอน กระจุกตวั ใกลน้ วิ เคลยี ส (แนวคำตอบ : เพราะอเิ ลก็ ตรอนจะพยายามทำใหม้ ี
พลังงานต่ำสดุ หรืออเิ ลก็ ตรอนชอบอย่ลู า่ งมากกว่าอยบู่ น)
3. ขั้นอธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation)
17. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปแบบจำลองอะตอมของดอลตัน โดยมีข้อสรุปดังน้ี แบบจำลอง
อะตอมตามแนวคิดของดอลตันมีลักษณะเป็นทรงกลมตนั
18. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปแบบจำลองอะตอมของทอมสัน โดยมีข้อสรุปดังนี้ รังสีแคโทด คือ
อนุภาคท่ีวิง่ ออกจากข้ัวแคโทด ไปยังขว้ั แอโนด เบี่ยงเบนในสนามแมเ่ หล็กเหมือนอนภุ าคท่ีมีประจลุ บ รังสี
แคโทดเป็นลำอนุภาคท่ีมปี ระจุลบ และตง้ั ช่อื วา่ อิเล็กตรอน จึงสรุปไดว้ ่า อะตอมมีอเิ ล็กตรอนและอนุภาค
ประจบุ วกในปริมาณเท่ากัน
19. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด โดยมีข้อสรุปดังน้ี
แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด เกิดจากการทดลองยิง อนุภาคแอลฟา ไปที่แผ่นทองคำเปลว เมื่อ
ยิงรังสีแอลฟาซึ่งเปน็ อนภุ าคทีม่ ีประจุบวกไปที่แผ่นทองคำเปลว พบว่า รังสีแอลฟาส่วนใหญ่สามารถทะลุ
ผ่านแผ่นทองคำไปได้ มีรังสีบางส่วนเบนจากทิศทางเดิม และบางส่วนสะท้อนกลับ รัทเทอร์ฟอร์ดจึง
สรปุ วา่ อะตอมมีอนภุ าคบวกเรยี กวา่ โปรตอน รวมกันอยตู่ รงกลาง เรียกวา่ นิวเคลยี ส
20. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สรุปแบบจำลองอะตอมของนีลโบร์ โดยมขี ้อสรุปดงั นี้ สเปกตรมั เกิดจาก
e- ในอะตอมได้รับความร้อนเข้าไปและคายพลังงานออกมาในรูปแสง แต่ไฮโดรเจนมี e-เพียงตัวเดียว
ทำไมจงึ คายพลังงานออกมาในรูปแสงได้ 4 เฉดสที กุ คร้งั โบร์จงึ ไดเ้ สนอแบบจำลองอะตอมว่า อิเล็กตรอน
มพี ลังงานที่แน่นอนหลายระดับ เปน็ ชน้ั ๆ เรยี กว่า ระดบั พลังงานของอิเลก็ ตรอน
21. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก โดยมีข้อสรุปดังน้ี อะตอม
ประกอบด้วยกลุ่มหมอกอิเล็กตรอน รอบนิวเคลียส บริเวณที่กลุ่มหมอกทึบแสดงว่ามีโอกาสที่จะพบ
อเิ ล็กตรอนได้มากกว่าบรเิ วณที่มีกลุ่มหมอกจาง
6
4. ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration)
22. ครใู ห้นักเรยี นทำแบบฝึกหัด 2.1 หนา้ 66
5. ขน้ั ประเมิน (Evaluation)
23. ประเมินการอธิบายแบบจำลองอะตอมของดอลตัน ทอมสัน รัทเทอร์ฟอร์ด โบร์และแบบกลมุ่
หมอก จากการถามคำถาม โดยมีขอ้ คำถามดังน้ี
1) ในปัจจุบันแนวคิดของดอลตันข้อใดที่ยังคงเป็นข้อเท็จจริงอยู่และข้อใดพิสูจน์ได้แล้วว่าไม่
เป็นจริง เพราะอะไร
2) ทำไมการทดลองของทอมสนั ใชห้ ลอดแก้วบรรจุแก๊สความดนั ตำ่
3) ลำอนุภาครงั สแี คโทด ท่ที อมสนั คน้ พบ คอื อะไร และมีประจทุ างไฟฟา้ เป็นอย่างไร
4) เพราะอะไรรังสีแอลฟาบางอนุภาคเบี่ยงเบนหรือสะท้อนกลับมาบริเวณด้านหน้าของฉาก
เรอื งแสง
5) นักเรียนคิดว่าอนุภาคที่ทำให้รังสีแอลฟาบางอนุภาคเบี่ยงเบนหรือสะท้อนกลับมาบริเวณ
ดา้ นหนา้ ของฉากเรืองแสงมีขนาดเปน็ อยา่ งไร
6) ทำไมนักวิทยาศาสตร์ใช้อะตอมของไฮโดรเจนในการศึกษาสเปกตรัม
7) ทำไมอะตอมของไฮโดรเจนใหส้ เปกตรัมไดห้ ลายเส้นทีม่ ีลกั ษณะเหมือนกันทุกครง้ั
8) ทำไมอิเลก็ ตรอน กระจกุ ตัวใกลน้ วิ เคลียส
24. ประเมนิ การคำนวณพลังงานของคล่นื แมเ่ หล็กไฟฟา้ จากการทำโจทย์คำนวณพลังงานของคลื่น
แม่เหล็กไฟฟา้
6. ส่อื /แหล่งการเรยี นรู้
6.1 สือ่ การเรยี นรู้
1. Powerpoint ประกอบการสอน อะตอมและสมบตั ิของธาตุ
2. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 1
(สสวท.)
7
8
9
แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คลช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4/3
เรื่อง แบบจำลองอะตอม
คำชี้แจง จงทำเครื่องหมาย ลงในช่องที่ตรงกับพฤติกรรมที่ผู้เรียนแสดงออก โดยจำแนกระดับ
พฤติกรรมการแสดงออกไวเ้ ป็น 3 คะแนน ดังนี้
3 คะแนน หมายถึง ผู้เรียนมีพฤติกรรมในระดบั ดี
2 คะแนน หมายถึง ผู้เรียนมีพฤติกรรมในระดับปานกลาง
1 คะแนน หมายถึง ผู้เรยี นมีพฤติกรรมในระดบั ปรับปรงุ
ช่อื -สกุล รายการประเมนิ คะแนน รอ้ ยละ สรุปผลการ
รวม ประเมนิ
ความใสใ่ จ การเสนอ ความรว่ มมอื การยอมรับฟงั
ในการ ความคดิ เหน็ ในการทำงาน คนอ่นื
ทำงาน
เลข ่ีท
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 100 ผา่ น ไม่ผา่ น
1 นายจักรพล บุญสทิ ธิ์
2 นายอชิรา อินทะนู
3 เดก็ ชายเจษฎาภรณ์ หมทอง
4 นายชลศกั ดิ์ เหล่าภกั ดี
5 นายออมสิน สร้อยธนู
6 นายธนันธร พาลาศรี
7 นายอัมรนิ ทร์ กำยาน
8 นายเวโรจน์ ทะโจปะรงั
9 นายจกั รแก้ว นามหนิ ลาย
10 นายธนกร ไขบัว
11 นางสาวสภุ าวดี ดมี าก
12 นางสาวฐิติยาภรณ์ ไชยบุบผา
13 นางสาววมิ ลณัฐ หาญณรงค์
14 นางสาวรตั นาภรณ์ แกว้ หาดี
15 นางสาวกรรณกิ าร์ ครุ ิมา
16 นางสาวจรี นนั ท์ ทองหล่อ
17 นางสาวศิรนิ โรจน์ อนุ่ อก
18 นางสาวอรไพลนิ ภูมิเพ็ง
19 นางสาวกลั ยรตั น์ จนั ทานี
20 นางสาวชวลั นชุ เครอื เนตร
21 นางสาวณัชชา ผนั ผอ่ น
10
ชือ่ -สกุล รายการประเมนิ คะแนน ร้อยละ สรปุ ผลการ
รวม ประเมนิ
การเสนอ ความรว่ มมือ
ความใส่ใจ ความคดิ เหน็ ในการทำงาน การยอมรบั ฟงั
ในการ คนอืน่
ทำงาน
เลข ่ีท
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 100 ผา่ น ไม่ผา่ น
22 นางสาววชริ าภรณร์ าชศรีเมือง
23 นางสาวสธุ าสนิ ี แกว้ วเิ ศษ
24 นางสาวธิดาพร คำสะอ้งิ
25 นางสาวชุตกิ าญจน์ งามหนกั
26 นางสาวณฐั ประภา นกั รอ้ ง
27 นางสาวกชพร ดวงจันทร์
28 นางสาวจรี ะนนั ท์ นาใจคง
29 นางสาวนริศรา ศรีสนุ ทร
30 นางสาวปนดั ดา ภูมไิ ธสง
31 นางสาวปนดิ ตา ประทยั บตุ ร
32 นางสาวพิมพกิ า ทา้ วจนั ทร์
33 นางสาวพยิ ดา เลขกระโทก
34 นางสาวสทุ ธดิ า แกว้ ดวงดี
35 เดก็ หญงิ สภุ านนั ท์ กราบกราน
36 นางสาวสุภาวนิ ี นึกชอบ
37 นางสาวอลิตา ดิษฐนลิ พงษ์
เกณฑ์การประเมิน
รอ้ ยละ 75 ขึน้ ไป ( 9 - 12 คะแนน) ผ่านเกณฑ์
นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 75 ( 0 – 8 คะแนน ) ไม่ผ่านเกณฑ์
ลงชื่อ.........................................ผู้สอน
(นายวิทยา นา่ ชม)
วันที่............เดอื น........................พ.ศ..............
11
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ประเดน็ ท่ปี ระเมิน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
321
ความใส่ใจในการ เมื่อเกิดปัญหาหรือไม่ สว่ นใหญเ่ มอ่ื เกิดปัญหา เมื่อเกิดปัญหาหรือไม่
ทำงาน เข้าใจบทเรียนทุกคร้ัง หรือไม่เข้าใจบทเรียน เข้าใจบทเรียนทุกครั้ง
มักซักถามและมีความ ทกุ ครั้งมกั ซักถามและมี มักซักถามและมีความ
พยายามในการค้นหา ความพยายามในการ พยายามในการค้นหา
คำตอบอยเู่ สมอ คน้ หาคำตอบ คำตอบเป็นบางครง้ั
การเสนอความคิดเหน็ ส่วนใหญ่เสนอความคดิ เสนอความคิดเห็น กล้า ไม่เสนอความคิดเห็น
เห็น กล้าแสดงออกที่ แสดงออกที่จะพูดในสิ่ง กล้าแสดงออกที่จะพูด
จะพดู ในสิง่ ท่ีถูกหรือดี ที่ถกู หรอื ดี บางครัง้ ในสิ่งท่ถี ูกหรอื ดี
ความร่วมมือในการ ใหค้ วามรว่ มมือในการ ส ่ ว น ใ ห ญ ่ ใ ห ้ ค ว า ม ให้ความร่วมมือในการ
ทำงาน ทำงานกลุ่มและ ร่วมมือในการทำงาน ทำงานกลมุ่ และ
ปฏบิ ัติงานทสี่ มาชกิ ใน กลุ่มและปฏิบัติงานที่ ปฏิบัติงานที่สมาชิกใน
กลุ่มมอบหมายด้วย ส ม า ช ิ ก ใ น ก ลุ่ ม กลุ่มมอบหมายได้เป็น
ความเต็มใจทกุ คร้ัง มอบหมายได้ บางคร้ัง
การยอมรับฟังคนอ่ืน ยอมรับฟังความคิดเห็น ยอมรับฟังความคิดเห็น ไม่ยอมรับฟังความ
ที่ดีและมีเหตุผลของ ที่ดีและมีเหตุผลของ คิดเหน็ ท่ดี แี ละมีเหตุผล
ผู้อื่นทุกครั้ง ไม่ยึด ผอู้ น่ื บา้ ง แต่บางครั้งจะ ของผู้อื่น มักยึดความ
ความคิดเห็นของตนแต่ ยึดความคดิ เห็นของตน คิดเห็นของตนแต่ฝ่าย
ฝ่ายเดียว เดียว
12
แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคลชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4/5
เรื่อง แบบจำลองอะตอม
คำชี้แจง จงทำเครื่องหมาย ลงในช่องที่ตรงกับพฤติกรรมที่ผู้เรียนแสดงออก โดยจำแนกระดับ
พฤติกรรมการแสดงออกไวเ้ ป็น 3 คะแนน ดงั นี้
3 คะแนน หมายถึง ผเู้ รียนมีพฤติกรรมในระดบั ดี
2 คะแนน หมายถึง ผเู้ รยี นมีพฤติกรรมในระดับปานกลาง
1 คะแนน หมายถึง ผ้เู รยี นมีพฤติกรรมในระดับปรับปรงุ
ชอ่ื -สกุล รายการประเมนิ คะแนน รอ้ ยละ สรุปผลการ
รวม ประเมนิ
ความใส่ใจ การเสนอ ความร่วมมือ การยอมรบั ฟัง
ในการ ความคดิ เหน็ ในการทำงาน คนอ่ืน
ทำงาน
เลข ่ีท
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 100 ผา่ น ไม่ผา่ น
1 นายนนทป์ วิช ทา้ วเนาว์
2 นายจิตติพงษ์ อำนาจเจรญิ
3 นายวายุ ลลี า
4 นายกฤษณพงษ์ ฐานวิสยั
5 นายสรวิศ คำสมาน
6 นายสบื พงษ์ วงษห์ นังสอื
7 นางสาวรงุ่ ทวิ า พนั ธ์สวสั ดิ์
8 นางสาวอรจริ า ศรีเมอื งเฮา้
9 นางสาวศริ นิ ภา ค้าเจริญ
10 นางสาวจารวุ รรณ จนั ทะโพธ์ิ
11 นางสาววรัทยา งามญาติ
12 นางสาวจริ าพร พนั พนิ จิ
13 นางสาวนฐั ฐิกา ภาดี
14 นางสาววยิ ะดา บญุ อภยั
15 นางสาวกลั ยารัตน์ หาวเิ ศษ
16 นางสาวขณิฐา บวั ศรี
17 นางสาวจรี นนั ท์ ศรซี องเชษฐ์
18 นางสาวชุตกิ าญจน์ นามมูลทวี
19 นางสาวณชั ณชิ า ใสยะปัน
20 นางสาวณฐั ณิชา ศรโี สดา
21 นางสาวธนัญญา วงศ์สนทิ
13
ชอ่ื -สกุล รายการประเมนิ คะแนน ร้อยละ สรปุ ผลการ
รวม ประเมนิ
การเสนอ ความรว่ มมือ
ความใสใ่ จ ความคิดเห็น ในการทำงาน การยอมรบั ฟงั
ในการ คนอืน่
ทำงาน
เลข ่ีท
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 100 ผา่ น ไม่ผา่ น
22 นางสาวนริษา คำสอ้ิง
23 นางสาวประตภิ า นามทวย
24 เด็กหญงิ ปยิ วรรณ เสารด์ ี
25 นางสาวปิยะธดิ า จนั ทรเสนา
26 นางสาวแพรวา ศรีสธุ า
27 นางสาวมลวิ ัลย์ ผนั ผอ่ น
28 นางสาวอรปรยี า ศรเี มอื งเฮา้
29 นางสาวอรสิ า เจรนิ นท์
30 นางสาวไอลดา คำสมุ าลี
เกณฑ์การประเมิน
ร้อยละ 75 ข้นึ ไป ( 9 - 12 คะแนน) ผ่านเกณฑ์
น้อยกวา่ ร้อยละ 75 ( 0 – 8 คะแนน ) ไม่ผ่านเกณฑ์
ลงชื่อ.........................................ผู้สอน
(นายวิทยา นา่ ชม)
วันที่............เดอื น........................พ.ศ..............
14
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ประเดน็ ท่ปี ระเมิน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
321
ความใส่ใจในการ เมื่อเกิดปัญหาหรือไม่ สว่ นใหญเ่ มอ่ื เกิดปัญหา เมื่อเกิดปัญหาหรือไม่
ทำงาน เข้าใจบทเรียนทุกคร้ัง หรือไม่เข้าใจบทเรียน เข้าใจบทเรียนทุกครั้ง
มักซักถามและมีความ ทกุ ครั้งมกั ซักถามและมี มักซักถามและมีความ
พยายามในการค้นหา ความพยายามในการ พยายามในการค้นหา
คำตอบอยเู่ สมอ คน้ หาคำตอบ คำตอบเป็นบางครง้ั
การเสนอความคิดเหน็ ส่วนใหญ่เสนอความคดิ เสนอความคิดเห็น กล้า ไม่เสนอความคิดเห็น
เห็น กล้าแสดงออกที่ แสดงออกที่จะพูดในสิ่ง กล้าแสดงออกที่จะพูด
จะพดู ในสิง่ ท่ีถูกหรือดี ที่ถกู หรอื ดี บางครัง้ ในสิ่งท่ถี ูกหรอื ดี
ความร่วมมือในการ ใหค้ วามรว่ มมือในการ ส ่ ว น ใ ห ญ ่ ใ ห ้ ค ว า ม ให้ความร่วมมือในการ
ทำงาน ทำงานกลุ่มและ ร่วมมือในการทำงาน ทำงานกลมุ่ และ
ปฏบิ ัติงานทสี่ มาชกิ ใน กลุ่มและปฏิบัติงานที่ ปฏิบัติงานที่สมาชิกใน
กลุ่มมอบหมายด้วย ส ม า ช ิ ก ใ น ก ลุ่ ม กลุ่มมอบหมายได้เป็น
ความเต็มใจทกุ คร้ัง มอบหมายได้ บางคร้ัง
การยอมรับฟังคนอ่ืน ยอมรับฟังความคิดเห็น ยอมรับฟังความคิดเห็น ไม่ยอมรับฟังความ
ที่ดีและมีเหตุผลของ ที่ดีและมีเหตุผลของ คิดเหน็ ท่ดี แี ละมีเหตุผล
ผู้อื่นทุกครั้ง ไม่ยึด ผอู้ น่ื บา้ ง แต่บางครั้งจะ ของผู้อื่น มักยึดความ
ความคิดเห็นของตนแต่ ยึดความคดิ เห็นของตน คิดเห็นของตนแต่ฝ่าย
ฝ่ายเดียว เดียว
15
16
17
สรุปเนอื้ หาเก่ยี วกับววิ ัฒนาการของแบบจำลองอะตอม
ผู้ศกึ ษา การศึกษา การคน้ พบ โมเดลอะตอม
ดาลตนั รวบรวมขอ้ มลู จาก ทฤษฎอี ะตอม
นักวิทยาศาสตรท์ า่ นอืน่
ออยเกนส์ หลอดสุญญากาศ อนุภาคบวก -
ทอมสัน หลอดรงั สแี คโทด ทีอ่ ยู่ในอะตอม
- พบอเิ ลก็ ตรอน
- q/me = 1.76 ×108 C/g
มิลลแิ กน หยดละอองน้ำมนั qe = 1.602 ×10−19 C -
รทั เทอร์ฟอร์ด me = 9.11 ×10−28 g
-
แชดวิก พบนิวเคลียส
โบร์
ยิงอนภุ าคแอลฟา พบโปรตอน
ทะลแุ ผ่นทองคำเปลว mp = 1.67 ×10−24 g
ยิงรังสีแอลฟา qp = 1.602 ×10−19 C
พบนวิ ตรอน
กระทบแผ่น Be
- การโคจรของ e− มี
สเปกตรมั ของแกส๊ ลักษณะคล้ายระบบสรุ ิยะ
ไฮโดรเจน - ระดบั พลังงานของ e−
ชเรอดงิ เงอร์ สมการคลืน่ ของ - ความน่าจะเป็นทีจ่ ะพบ
(กลุ่มหมอก) อเิ ล็กตรอน อเิ ลก็ ตรอนทตี่ ำแหนง่ ต่างๆ
- ระดับพลงั งานย่อย
s,p,d,f
18
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 6
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า เคมี รหัสวชิ า ว31221
ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 อะตอมและสมบตั ิของธาตุ
เวลา 3 ชั่วโมง
เรือ่ ง อนภุ าคในอะตอมและไอโซโทป ผู้สอน นายวิทยา นา่ ชม
ภาคเรยี นท่ี 1
1. สาระการเรียนร้แู ละผลการเรยี นรู้
สาระเคมี 1
เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ สมบัติของธาตุ พันธะเคมีและสมบัติของสาร
แก๊สและสมบัติของแก๊ส ประเภทและสมบตั ิของสารประกอบอินทรีย์และพอลิเมอร์ รวมทั้งการนำความรู้
ไปใชป้ ระโยชน์
ผลการเรียนรู้
2. เขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุและระบุจำนวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนของ อะตอม
จากสญั ลกั ษณน์ ิวเคลียรร์ วมทง้ั บอกความหมายของไอโซโทป
2. สาระสำคญั
สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของ ธาตุ ประกอบด้วยสัญลักษณ์ธาตุ เลขอะตอมซึ่งแสดงจำนวน โปรตอน และ
เลขมวลซึ่งแสดงผลรวมของจำนวนโปรตอนกับนิวตรอนอะตอมของธาตชุ นิดเดียวกัน ที่มีจำนวนโปรตอน
เท่ากัน แต่มีจำนวนนิวตรอน ตา่ งกนั เรยี กวา่ ไอโซโทป
3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
3.1 ดา้ นความรู้ (K)
1. อธบิ ายความหมายและยกตัวอยา่ งไอโซโทปของธาตุได้
3.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
1. เขยี นและแปลความหมายสัญลกั ษณ์นวิ เคลยี รข์ องธาตุได้
3.3 ด้านคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
1. ตง้ั ใจเรียนรู้และแสวงหาความรู้ รับผิดชอบต่อหน้าท่ีท่ไี ด้รบั มอบมาย
4. สาระการเรียนรู้
4.1 อนภุ าคในอะตอม
4.2 เลขอะตอม เลขมวล และไอโซโทป
19
5. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ (ใช้รูปแบบการสืบเสาะหาความรู้ 5E)
1. ขน้ั สรา้ งความสนใจ (Engagement)
1. ครูทบทวนความรู้เดิมว่าจากการทดลองของทอมสันทำให้ทราบว่าอิเล็กตรอนมีประจุเป็นลบ
จากนัน้ ถามคำถามว่าเม่ือทราบค่าประจุต่อมวลของอิเล็กตรอนแลว้ นักวิทยาศาสตร์นำข้อมลู เหล่านั้นมาใช้
หาคา่ ประจุและมวลของอิเลก็ ตรอนได้อยา่ งไร (แนวคำตอบ : นักเรียนตอบตามความเข้าใจ)
2. ขั้นสำรวจและคน้ หา (Exploration)
2. นักเรียนร่วมกันศึกษาการทดลองของมิลลิแกน จากนั้นครูพิสูจน์การคำนวณหาค่ามวลของ
อิเล็กตรอนใหน้ ักเรียนดู จนสรุปไดว้ า่ อเิ ลก็ ตรอนมปี ระจุ 1.6 × 10−19 คูลอมบ์และมมี วล 9.11 × 10−28
กรมั
3. ครูตั้งคำถามว่า อนุภาคในอะตอมที่เรียนรู้มาแล้วมีอนุภาคใดบ้าง (แนวคำตอบ : อิเล็กตรอน
และอนุภาคที่มีประจเุ ป็นบวก)
4. นักเรียนศึกษาการทดลองของโกลด์ชไตน์และการศึกษาของรัทเทอร์ฟอร์ด โดยครูใช้รูป 2.13
ประกอบการอภิปรายจนสรุปได้ว่าอนุภาคบวกนั้นคือ โปรตอน ซึ่งมีประจุเท่าอิเล็กตรอนคือ
1.6 × 10−19 คูลอมบ์และมีมวล 1.673 × 10−24 กรัม ซึ่งมีค่ามากกว่ามวลอิเล็กตรอนประมาณ 1,840
เทา่
5. ครูตั้งคำถามว่า นอกจากอิเล็กตรอนและโปรตอนแล้ว ยังมีอนุภาคชนิดอื่น ๆ ในอะตอมอีก
หรือไม่ เพื่อนำนักเรียนเข้าสู่การศึกษาการทดลองของแซดวิก จากนั้นให้ความรู้ว่านอกจากอิเล็กตรอน
และโปรตอนแล้ว ในอะตอมยังมีอนุภาคนิวตรอน ซึ่งอยู่ในนิวเคลียสและเป็นกลางทางไฟฟ้า มีมวล
ใกลเ้ คยี งกบั โปรตอนคือ 1.675 × 10−24 กรมั
6. ครูตั้งคำถามให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันว่า จำนวนอนุภาคในอะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน
แตกตา่ งกนั ได้หรอื ไม่อย่างไร (แนวคำตอบ : นิวตรอนแตกตา่ งกนั ได้)
7. ครูถามคำถามเพื่อให้นักเรียนอภิปรายว่า การที่ธาตุมีจำนวนนิวตรอนแตกต่างกัน มีผลต่อเลข
อะตอมและเลขมวลของธาตหุ รอื ไม่ อย่างไร (แนวคำตอบ : จำนวนนิวตรอนมผี ลตอ่ เลขมวลของธาตุ)
8. นักเรียนตอบคำถามตรวจสอบความเข้าใจ จากน้นั รว่ มกนั อภปิ รายเพอ่ื เฉลยคำตอบโดยมีคำถาม
ว่า โซเดียมมี 11 โปรตอน และมี 12 นิวตรอน โซเดียมมีเลขอะตอมและเลขมวลเท่ากับเท่าใดตามลำดับ
(แนวคำตอบ : โซเดียมมีเลขอะตอมเท่ากับ 11 และมเี ลขมวลเท่ากับ 11 + 12 = 23)
20
3. ขัน้ อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation)
9. นักเรียนศึกษาสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ แล้วตอบคำถามว่าสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุมี
องค์ประกอบใดบ้าง (แนวคำตอบ : สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ สามารถแปลความหมายเป็น จำนวน
โปรตอน นวิ ตรอน อิเลก็ ตรอน และชนดิ ของธาตุได)้
10. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายวิธีการเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุและครูแสดงการหา
องคป์ ระกอบอนุภาคท่อี ยใู่ นอะตอม โดยใช้คำถามดังนี้
1) 1399K มีองคป์ ระกอบของอนุภาค โปรตรอน นิวตรอน และอเิ ล็กตรอนเท่าใด
(แนวคำตอบ p+ = 19, n = 20, e− = 19 ตามลำดบั )
2) 15119Sb มอี งค์ประกอบของอนภุ าค โปรตรอน นวิ ตรอน และอิเล็กตรอนเท่าใด
(แนวคำตอบ p+ = 51, n = 68, e− = 51 ตามลำดับ)
3) 1399K+มอี งคป์ ระกอบของอนุภาค โปรตรอน นวิ ตรอน และอิเลก็ ตรอนเท่าใด
(แนวคำตอบ p+ = 19, n = 20, e− = 18 ตามลำดบั )
4) 15119Sb3−มอี งค์ประกอบของอนภุ าค โปรตรอน นวิ ตรอน และอิเลก็ ตรอนเท่าใด
(แนวคำตอบ p+ = 51, n = 68, e− = 54 ตามลำดบั )
11. นักเรียนศึกษาความหมายของ ไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร์ และไอโซอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ง
สามารถสรุปองค์ความรู้ได้ดังนี้ ธาตุชนิดเดียวกันแต่มีเลขมวลแตกต่างกันหรือธาตุที่มีจำนวนโปรตรอน
เท่ากันแต่นิวตรอนไม่เท่ากัน คือ ไอโซโทป ธาตุที่มีจำนวนนิวตรอนเท่ากันแต่โปรตอนไม่เท่ากัน คือ ไอโซ
โทน ธาตุต่างกันที่มีเลขมวลเท่ากัน คือ ไอโซบาร์ และธาตุต่างกันที่มีจำนวนอิเล็กตรอนเท่ากัน คือ ไอโซ
อิเลก็ ทรอนิกส์ และบอกเทคนคิ การจำวา่ บาร์บน โทนกลาง โทปลา่ ง
12. ครูแสดงตัวอย่างของธาตุสมมติที่เป็นไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร์ และไอโซอิเล็กทรอนิกส์
ในช่วงท่ีอธิบายความหมายดังนี้ ไอโซโทป ยกตัวอย่าง 2121B และ 1231E− ไอโซโทน ยกตัวอย่าง 1225D− และ
1247G+ ไอโซบาร์ ยกตัวอย่าง 2137F และ 2147G+ และไอโซอิเลก็ ทรอนิกส์ ยกตวั อย่าง 1259H และ 2135J2−
13. นกั เรียนทำแบบฝึกหดั ที่ 3 อนุภาคในอะตอมและไอโซโทป ตอนท่ี 1 เปน็ การบา้ น
4. ข้ันขยายความรู้ (Elaboration)
14. นักเรยี นและครรู ่วมกันเฉลยแบบฝึกหัดตอนท่ี 1
15. นักเรียนทำแบบฝกึ หัดท่ี 3 อนุภาคในอะตอมและไอโซโทปตอนท่ี 2
16. ครูแสดงการเฉลยแบบฝึกหดั ตอนที่ 2 บนหนา้ กระดาน
17. ครูใหน้ กั เรยี นซักถามประเด็นทเี่ ปน็ ข้อสงสยั และร่วมกันหาคำตอบ
21
5. ขั้นประเมนิ (Evaluation)
18. ประเมินการอธิบายความหมายและยกตัวอย่างไอโซโทปของธาตุ จากการศึกษาความหมาย
ของ ไอโซโทป ของนักเรียน และการตอบคำถามร่วมกันในชว่ งเปรียบเทยี บไอโซโทปของธาตุ
19. ประเมินการเขียนและแปลความหมายสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุได้จากการตอบคำถาม
ระหว่างเรียน และการทำแบบฝกึ หดั ท่ี 3 อนภุ าคในอะตอมและไอโซโทป
20. ประเมินความตั้งใจเรียนรู้และแสวงหาความรู้ รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบมายจากการท่ี
นักเรียนตอบคำถามระหวา่ งเรียน การทำแบบฝกึ หัด และจากการสังเกตพฤตกิ รรมในการทำงาน
6. ส่อื /แหลง่ การเรียนรู้
6.1 สอ่ื การเรยี นรู้
1. Powerpoint ประกอบการสอน อะตอมและสมบตั ิของธาตุ 2
2. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 1
(สสวท.)
3. แบบฝกึ หดั ทที่ 3 อนภุ าคในอะตอมและไอโซโทป
6.2 แหล่งการเรยี นรู้
-
22
23
24
แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คลชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4/3
เรอื่ ง อนภุ าคในอะตอมและไอโซโทป
คำชี้แจง จงทำเครื่องหมาย ลงในช่องที่ตรงกับพฤติกรรมที่ผู้เรียนแสดงออก โดยจำแนกระดับ
พฤติกรรมการแสดงออกไว้เป็น 3 คะแนน ดังน้ี
3 คะแนน หมายถึง ผู้เรยี นมีพฤติกรรมในระดับดี
2 คะแนน หมายถงึ ผเู้ รยี นมีพฤติกรรมในระดับปานกลาง
1 คะแนน หมายถึง ผู้เรยี นมีพฤติกรรมในระดับปรบั ปรงุ
ชื่อ-สกลุ รายการประเมนิ คะแนน ร้อยละ สรุปผลการ
รวม ประเมนิ
ความใส่ใจ การเสนอ ความรว่ มมอื การยอมรับฟัง
ในการ ความคดิ เหน็ ในการทำงาน คนอ่นื
ทำงาน
เลข ่ีท
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 100 ผา่ น ไม่ผา่ น
1 นายจักรพล บญุ สทิ ธ์ิ
2 นายอชิรา อินทะนู
3 เด็กชายเจษฎาภรณ์ หมทอง
4 นายชลศกั ดิ์ เหล่าภกั ดี
5 นายออมสิน สร้อยธนู
6 นายธนนั ธร พาลาศรี
7 นายอัมรนิ ทร์ กำยาน
8 นายเวโรจน์ ทะโจปะรัง
9 นายจักรแก้ว นามหนิ ลาย
10 นายธนกร ไขบัว
11 นางสาวสภุ าวดี ดีมาก
12 นางสาวฐติ ยิ าภรณ์ ไชยบบุ ผา
13 นางสาววมิ ลณฐั หาญณรงค์
14 นางสาวรตั นาภรณ์ แกว้ หาดี
15 นางสาวกรรณิการ์ ครุ มิ า
16 นางสาวจรี นนั ท์ ทองหลอ่
17 นางสาวศิรนิ โรจน์ อนุ่ อก
18 นางสาวอรไพลิน ภมู ิเพง็
19 นางสาวกัลยรตั น์ จนั ทานี
20 นางสาวชวลั นชุ เครอื เนตร
21 นางสาวณชั ชา ผนั ผอ่ น
25
ชือ่ -สกุล รายการประเมนิ คะแนน ร้อยละ สรปุ ผลการ
รวม ประเมนิ
การเสนอ ความรว่ มมือ
ความใส่ใจ ความคดิ เหน็ ในการทำงาน การยอมรบั ฟงั
ในการ คนอืน่
ทำงาน
เลข ่ีท
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 100 ผา่ น ไม่ผา่ น
22 นางสาววชริ าภรณร์ าชศรีเมือง
23 นางสาวสธุ าสนิ ี แกว้ วเิ ศษ
24 นางสาวธิดาพร คำสะอ้งิ
25 นางสาวชุตกิ าญจน์ งามหนกั
26 นางสาวณฐั ประภา นกั รอ้ ง
27 นางสาวกชพร ดวงจันทร์
28 นางสาวจรี ะนนั ท์ นาใจคง
29 นางสาวนริศรา ศรีสนุ ทร
30 นางสาวปนดั ดา ภูมไิ ธสง
31 นางสาวปนดิ ตา ประทยั บตุ ร
32 นางสาวพิมพกิ า ทา้ วจนั ทร์
33 นางสาวพยิ ดา เลขกระโทก
34 นางสาวสทุ ธดิ า แกว้ ดวงดี
35 เดก็ หญงิ สภุ านนั ท์ กราบกราน
36 นางสาวสุภาวนิ ี นึกชอบ
37 นางสาวอลิตา ดิษฐนลิ พงษ์
เกณฑ์การประเมิน
รอ้ ยละ 75 ขึน้ ไป ( 9 - 12 คะแนน) ผ่านเกณฑ์
นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 75 ( 0 – 8 คะแนน ) ไม่ผ่านเกณฑ์
ลงชื่อ.........................................ผู้สอน
(นายวิทยา นา่ ชม)
วันที่............เดอื น........................พ.ศ..............
26
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ประเดน็ ท่ปี ระเมิน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
321
ความใส่ใจในการ เมื่อเกิดปัญหาหรือไม่ สว่ นใหญเ่ มอ่ื เกิดปัญหา เมื่อเกิดปัญหาหรือไม่
ทำงาน เข้าใจบทเรียนทุกคร้ัง หรือไม่เข้าใจบทเรียน เข้าใจบทเรียนทุกครั้ง
มักซักถามและมีความ ทกุ ครั้งมกั ซักถามและมี มักซักถามและมีความ
พยายามในการค้นหา ความพยายามในการ พยายามในการค้นหา
คำตอบอยเู่ สมอ คน้ หาคำตอบ คำตอบเป็นบางครง้ั
การเสนอความคิดเหน็ ส่วนใหญ่เสนอความคดิ เสนอความคิดเห็น กล้า ไม่เสนอความคิดเห็น
เห็น กล้าแสดงออกที่ แสดงออกที่จะพูดในสิ่ง กล้าแสดงออกที่จะพูด
จะพดู ในสิง่ ท่ีถูกหรือดี ที่ถกู หรอื ดี บางครัง้ ในสิ่งท่ถี ูกหรอื ดี
ความร่วมมือในการ ใหค้ วามรว่ มมือในการ ส ่ ว น ใ ห ญ ่ ใ ห ้ ค ว า ม ให้ความร่วมมือในการ
ทำงาน ทำงานกลุ่มและ ร่วมมือในการทำงาน ทำงานกลมุ่ และ
ปฏบิ ัติงานทสี่ มาชกิ ใน กลุ่มและปฏิบัติงานที่ ปฏิบัติงานที่สมาชิกใน
กลุ่มมอบหมายด้วย ส ม า ช ิ ก ใ น ก ลุ่ ม กลุ่มมอบหมายได้เป็น
ความเต็มใจทกุ คร้ัง มอบหมายได้ บางคร้ัง
การยอมรับฟังคนอ่ืน ยอมรับฟังความคิดเห็น ยอมรับฟังความคิดเห็น ไม่ยอมรับฟังความ
ที่ดีและมีเหตุผลของ ที่ดีและมีเหตุผลของ คิดเหน็ ท่ดี แี ละมีเหตุผล
ผู้อื่นทุกครั้ง ไม่ยึด ผอู้ น่ื บา้ ง แต่บางครั้งจะ ของผู้อื่น มักยึดความ
ความคิดเห็นของตนแต่ ยึดความคดิ เห็นของตน คิดเห็นของตนแต่ฝ่าย
ฝ่ายเดียว เดียว
27
แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คลชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4/5
เรอ่ื ง อนุภาคในอะตอมและไอโซโทป
คำชี้แจง จงทำเครื่องหมาย ลงในช่องที่ตรงกับพฤติกรรมที่ผู้เรียนแสดงออก โดยจำแนกระดับ
พฤติกรรมการแสดงออกไว้เปน็ 3 คะแนน ดงั นี้
3 คะแนน หมายถงึ ผเู้ รยี นมีพฤติกรรมในระดับดี
2 คะแนน หมายถงึ ผู้เรียนมีพฤติกรรมในระดบั ปานกลาง
1 คะแนน หมายถึง ผเู้ รยี นมีพฤติกรรมในระดับปรบั ปรงุ
ชอ่ื -สกุล รายการประเมิน คะแนน รอ้ ยละ สรปุ ผลการ
รวม ประเมนิ
ความใสใ่ จ การเสนอ ความร่วมมอื การยอมรับฟงั
ในการ ความคิดเห็น ในการทำงาน คนอนื่
ทำงาน
เลข ่ีท
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 100 ผา่ น ไม่ผา่ น
1 นายนนท์ปวชิ ท้าวเนาว์
2 นายจิตติพงษ์ อำนาจเจริญ
3 นายวายุ ลลี า
4 นายกฤษณพงษ์ ฐานวสิ ยั
5 นายสรวศิ คำสมาน
6 นายสบื พงษ์ วงษห์ นงั สอื
7 นางสาวรงุ่ ทิวา พนั ธส์ วัสด์ิ
8 นางสาวอรจริ า ศรเี มอื งเฮา้
9 นางสาวศิรนิ ภา คา้ เจริญ
10 นางสาวจารุวรรณ จนั ทะโพธิ์
11 นางสาววรัทยา งามญาติ
12 นางสาวจริ าพร พนั พนิ จิ
13 นางสาวนฐั ฐกิ า ภาดี
14 นางสาววยิ ะดา บญุ อภยั
15 นางสาวกัลยารตั น์ หาวิเศษ
16 นางสาวขณฐิ า บัวศรี
17 นางสาวจรี นนั ท์ ศรซี องเชษฐ์
18 นางสาวชุตกิ าญจน์ นามมูลทวี
19 นางสาวณชั ณชิ า ใสยะปนั
20 นางสาวณฐั ณิชา ศรีโสดา
21 นางสาวธนญั ญา วงศส์ นทิ
28
ชอ่ื -สกุล รายการประเมนิ คะแนน ร้อยละ สรปุ ผลการ
รวม ประเมนิ
การเสนอ ความรว่ มมือ
ความใสใ่ จ ความคิดเห็น ในการทำงาน การยอมรบั ฟงั
ในการ คนอืน่
ทำงาน
เลข ่ีท
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 100 ผา่ น ไม่ผา่ น
22 นางสาวนริษา คำสอ้ิง
23 นางสาวประตภิ า นามทวย
24 เด็กหญงิ ปยิ วรรณ เสารด์ ี
25 นางสาวปิยะธดิ า จนั ทรเสนา
26 นางสาวแพรวา ศรีสธุ า
27 นางสาวมลวิ ัลย์ ผนั ผอ่ น
28 นางสาวอรปรยี า ศรเี มอื งเฮา้
29 นางสาวอรสิ า เจรนิ นท์
30 นางสาวไอลดา คำสมุ าลี
เกณฑ์การประเมิน
ร้อยละ 75 ข้นึ ไป ( 9 - 12 คะแนน) ผ่านเกณฑ์
น้อยกวา่ ร้อยละ 75 ( 0 – 8 คะแนน ) ไม่ผ่านเกณฑ์
ลงชื่อ.........................................ผู้สอน
(นายวิทยา นา่ ชม)
วันที่............เดอื น........................พ.ศ..............
29
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ประเดน็ ท่ปี ระเมิน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
321
ความใส่ใจในการ เมื่อเกิดปัญหาหรือไม่ สว่ นใหญเ่ มอ่ื เกิดปัญหา เมื่อเกิดปัญหาหรือไม่
ทำงาน เข้าใจบทเรียนทุกคร้ัง หรือไม่เข้าใจบทเรียน เข้าใจบทเรียนทุกครั้ง
มักซักถามและมีความ ทกุ ครั้งมกั ซักถามและมี มักซักถามและมีความ
พยายามในการค้นหา ความพยายามในการ พยายามในการค้นหา
คำตอบอยเู่ สมอ คน้ หาคำตอบ คำตอบเป็นบางครง้ั
การเสนอความคิดเหน็ ส่วนใหญ่เสนอความคดิ เสนอความคิดเห็น กล้า ไม่เสนอความคิดเห็น
เห็น กล้าแสดงออกที่ แสดงออกที่จะพูดในสิ่ง กล้าแสดงออกที่จะพูด
จะพดู ในสิง่ ท่ีถูกหรือดี ที่ถกู หรอื ดี บางครัง้ ในสิ่งท่ถี ูกหรอื ดี
ความร่วมมือในการ ใหค้ วามรว่ มมือในการ ส ่ ว น ใ ห ญ ่ ใ ห ้ ค ว า ม ให้ความร่วมมือในการ
ทำงาน ทำงานกลุ่มและ ร่วมมือในการทำงาน ทำงานกลมุ่ และ
ปฏบิ ัติงานทสี่ มาชกิ ใน กลุ่มและปฏิบัติงานที่ ปฏิบัติงานที่สมาชิกใน
กลุ่มมอบหมายด้วย ส ม า ช ิ ก ใ น ก ลุ่ ม กลุ่มมอบหมายได้เป็น
ความเต็มใจทกุ คร้ัง มอบหมายได้ บางคร้ัง
การยอมรับฟังคนอ่ืน ยอมรับฟังความคิดเห็น ยอมรับฟังความคิดเห็น ไม่ยอมรับฟังความ
ที่ดีและมีเหตุผลของ ที่ดีและมีเหตุผลของ คิดเหน็ ท่ดี แี ละมีเหตุผล
ผู้อื่นทุกครั้ง ไม่ยึด ผอู้ น่ื บา้ ง แต่บางครั้งจะ ของผู้อื่น มักยึดความ
ความคิดเห็นของตนแต่ ยึดความคดิ เห็นของตน คิดเห็นของตนแต่ฝ่าย
ฝ่ายเดียว เดียว
30
31
32
ใบความรู้ อนุภาคมลู ฐานของอะตอม
อนภุ าคมลู ฐานของอะตอม
อนภุ าค สัญลักษณ์ มวล (g) AMU ประจุ (c) ชนิดประจุ
0 1.62 × 10−19 ลบ
อิเลก็ ตรอน e− 9.11 × 10−28 1 1.62 × 10−19 บวก
10 กลาง
โปรตอน p+ 1.67 × 10−24
A = เลขมวล ( + + n )
นิวตรอน n 1.67 × 10−24 X = สญั ลักษณ์ของธาตุ
Z = เลขอะตอม ( +)
1. สญั ลักษณน์ วิ เคลยี ร์ของธาตุ ZAX
p+ = .......... p+ = .......... p+ = .......... p+ = ..........
1399K n = .......... 3199K+ n = .......... 15119Sb n = .......... 15119Sb3− n = ..........
e− = .......... e− = .......... e− = .......... e− = ..........
2. ไอโซโทป ไอโซโทน ไอโซบาร์ ไอโซอิเล็กทรอนกิ
• ไอโซโทป คือ ธาตทุ ่ีมีจำนวนโปรตรอนเท่ากนั แตน่ วิ ตรอนไมเ่ ท่ากนั
• ไอโซโทน คือ ธาตุท่ีมจี ำนวนนวิ ตรอนเทา่ กันแตโ่ ปรตอนไม่เทา่ กัน
• ไอโซบาร์ คือ ธาตตุ า่ งกนั ที่มีเลขมวลเท่ากนั
• ไอโซอเิ ล็กทรอนิกส์ คือ ธาตุต่างกันท่ีมจี ำนวนอเิ ล็กตรอนเท่ากัน
เทคนิคช่วยจำ บารบ์ น โทนกลาง โทปลา่ ง
3. ไอโซโทปท่คี วรรจู้ กั : ธาตุไฮโดรเจนมี 3 ไอโซโทป ดังน้ี
• 11H = Protium มเี ปอรเ์ ซ็นต์ในธรรมชาติ 99.985%
• 21H = Deuterium มเี ปอร์เซน็ ต์ในธรรมชาติ 0.015%
• 31H = Tritium มีเปอร์เซ็นต์ในธรรมชาติ 0% (สลายตวั เร็วมาก)
33
แบบฝกึ หัดที่ 3 อนภุ าคในอะตอมและไอโซโทป
ตอนที่ 1 ให้นกั เรยี นตอบคำถามดงั ตอ่ ไปนี้และแสดงวิธีคิด
1. จงระบอุ นภุ าคของโปรตอน นิวตรอน และอเิ ล็กตรอน ของธาตดุ ังตอ่ ไปน้ี (2 คะแนน)
p+ = .......... p+ = .......... p+ = ..........
n = ..........
4200Ca n = .......... 11H n = .......... 168O2− e− = ..........
e− = .......... e− = ..........
2. จากการทดลองของมลิ ลแิ กน ถ้าพบวา่ หยดน้ำมนั ที่ลอยนง่ิ หยดหน่งึ มีคา่ ประจเุ ทา่ กบั 6.4 × 10−19คลู อมบ์ หยด
นำ้ มนั น้มี ีอเิ ล็กตรอนเกาะอย่จู ำนวนเท่าใด (2 คะแนน)
……………….……………….……………….……………….……………….……………………………….……………….………………………………………
……………….……………….……………….……………….……………….……………………………….……………….………………………………………
……………….……………….……………….……………….……………….……………………………….……………….………………………………………
……………….……………….……………….……………….……………….……………………………….……………….………………………………………
3. จงเขียนสัญลกั ษณ์นวิ เคลียรข์ องไอโซโทปตา่ ง ๆ ของธาตุ X ซึ่งมี 9 อเิ ล็กตรอนและมีนวิ ตรอน 9 10 และ 11 ตามลำดับ
(1 คะแนน)
……………….……………….……………….……………….……………….……………………………….……………….………………………………………
……………….……………….……………….……………….……………….……………………………….……………….………………………………………
4. พิจารณาสญั ลักษณ์นวิ เคลียร์ของธาตสุ มมติต่อไปน้ี 4108A 4128B 4109C 4200D และ 2412E (1 คะแนน)
ธาตุที่เปน็ ไอโซโทปกัน.................................................
ธาตุท่เี ป็นไอโซโทนกนั .................................................
ธาตทุ ีเ่ ป็นไอโซบาร์กนั .................................................
ตอนท่ี 2 กากบาท × ทับขอ้ ที่ถกู ทสี่ ุดเพียงข้อเดียว
5. ถ้าไอโซโทปหน่งึ ของธาตชุ นิดหน่งึ มีประจใุ นนิวเคลยี สเปน็ 2 เทา่ ของ 163C และมเี ลขมวลเป็น 3 เทา่ ธาตุไอโซโทปนจ้ี ะมี
อนภุ าคมูลฐานอย่างละก่ีอนุภาค (1 คะแนน)
จำนวนอเิ ลก็ ตรอน จำนวนโปรตอน จำนวนนวิ ตรอน
1. 6 12 39
2. 6 2 3
3. 6 12 27
4. 12 12 27
ชอ่ื – นามสกุล......................................................ชั้น..............เลขท.่ี .........
34
6. ถา้ ไอโซโทปคืออะตอมท่ีมีจำนวนโปรตอนเทา่ กันและไอโซบาร์คอื อะตอมท่มี เี ลขมวลเท่ากันจากสัญลักษณ์นิวเครียต่อไปนี้
189A 199A 1109B 1200B 1201C 2111C 1221D 2132D ขอ้ ใดไม่ถูกต้อง (1 คะแนน)
1. 189A กับ 1109B เป็นไอโซโทนแต่ไมเ่ ป็นไอโซบาร์
2. 199A กบั 1223D ไม่เปน็ ไอโซโทนและไมเ่ ป็นไอโซบาร์
3. 1201C กบั 1211C ไมเ่ ปน็ ไอโซโทนแตเ่ ป็นไอโซโทป
4. 1200B กับ 1211C เป็นไอโซบาร์แต่ไมเ่ ป็นไอโซโทน
ใช้ตารางตอ่ ไปนตี้ อบคำถาม ข้อ 7
7. ถ้าท่านสามารถดงึ โปรตอนจาก P ออกได้ 2 ตัว และดึงเอาอเิ ล็กตรอนออกได้ 5 ตวั ผลที่เกิดข้ึนคอื อะไร (1 คะแนน)
1. P3+ 2. P5+ 3. Al3+ 4. Mg2+
8. ไอออนคู่ใดมีจำนวนอิเลก็ ตรอนไมเ่ ทา่ กนั (1 คะแนน)
(ก) F− กบั Na+ (ข) Mg2+ กบั Al4+
(ค) O2− กบั N3− (ง) Cl2− กบั Ca2+
1. (ก) และ (ข) 2. (ค) และ (ง) 3. (ก) และ (ค) 4. (ข) และ (ง)
35
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 7
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวชิ า เคมี รหัสวชิ า ว31221
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 อะตอมและสมบตั ิของธาตุ
เวลา 3 ช่วั โมง
เรือ่ ง การจัดเรยี งอเิ ล็กตรอนในอะตอม ผูส้ อน นายวิทยา น่าชม
ภาคเรยี นท่ี 1
1. สาระการเรยี นรแู้ ละผลการเรยี นรู้
สาระเคมี 1
เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ สมบัติของธาตุ พันธะเคมีและสมบัติของสาร
แก๊สและสมบัติของแก๊ส ประเภทและสมบัติของสารประกอบอินทรยี แ์ ละพอลิเมอร์ รวมทั้งการนำความรู้
ไปใช้ประโยชน์
ผลการเรียนรู้
3. อธิบาย และ เขียนการจัดเรยี ง อเิ ล็กตรอน ในระดบั พลังงานหลกั และระดบั พลังงานย่อย เม่ือทราบ
เลขอะตอมของธาตุ
2. สาระสำคญั
การศึกษาสเปกตรัมการเปล่งแสงของอะตอมแก๊ส ทำให้ทราบว่าอิเล็กตรอน จัดเรียงอยู่รอบ ๆ
นิวเคลียสในระดับ พลังงานหลักต่าง ๆ และแต่ละระดับพลังงานหลักยังแบ่งเป็นระดับพลังงานย่อย ซึ่งมี
บริเวณที่จะพบอิเล็กตรอน เรียกว่า ออร์บิทัล ได้แตกต่างกัน และอิเล็กตรอนจะจัดเรียงในออร์บิทัลให้มี
ระดับพลังงานตำ่ ทีส่ ดุ สำหรบั อะตอมในสถานะพื้น
3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
3.1 ดา้ นความรู้ (K)
1. บอกความแตกต่างของระดับพลังงานหลัก พลงั งานยอ่ ย และออรบ์ ทิ ัลได้
3.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
1. จัดเรียงอิเลก็ ตรอนในอะตอมเมื่อทราบเลขอะตอมของธาตุ พร้อมท้งั ระบุ หมู่ คาบ และ
กลุ่มของธาตุในตารางธาตุได้
3.3 ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ (A)
1. ตง้ั ใจเรียนรู้และแสวงหาความรู้ รบั ผิดชอบต่อหน้าที่ทไ่ี ดร้ ับมอบมาย
4. สาระการเรยี นรู้
4.1 จำนวนอิเลก็ ตรอนในแต่ละระดับพลังงาน
36
4.2 ระดบั พลังงานหลกั และระดบั พลงั งานย่อย
4.3 ออร์บทิ ลั
4.4 หลกั การจดั เรียงอิเล็กตรอนในอะตอม
5. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (ใชร้ ปู แบบการสบื เสาะหาความรู้ 5E)
1. ขน้ั สรา้ งความสนใจ (Engagement)
1. ครตู ้งั คำถามใหน้ ักเรียนอภิปรายว่า แบบจำลองอะตอมของโบว์แตกต่างจากแบบจำลองอะตอม
ของรัทเทอร์ฟอร์ดอย่างไร ควรได้ข้อสรุปว่า อิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสเคลื่อนที่เป็นวงคล้ายวงโคจรของ
ดาวเคราะหร์ อบดวงอาทติ ย์ แต่ละวงมพี ลังงานเฉพาะตวั แลว้ นำเขา้ สู่เร่อื งการจดั เรยี งอิเล็กตรอนของธาตุ
บางธาตุ
2. ข้ันสำรวจและค้นหา (Exploration)
2. นกั เรียนศึกษาขอ้ มลู ในตาราง 2.5 จากน้ันถามนักเรยี นวา่ ในระดับพลงั งานท่ี 1 และ 2 มีจำนวน
อิเลก็ ตรอนสงู สดุ เท่าใด (แนวคำตอบ : 2 และ 8 ตามลำดบั )
3. นักเรียนร่วมกันตอบคำถาม โดยใช้คำถามดังน้ี ถ้าในระดับพลังงานที่ 3 มีจำนวนอิเล็กตรอน
สูงสุด 18 อิเลก็ ตรอน ระดับพลังงานกบั จำนวนอเิ ล็กตรอนสูงสุดในแตล่ ะระดับพลังงานมีความสัมพันธ์กัน
หรือไม่ อย่างไร (แนวคำตอบ : จำนวนอิเล็กตรอนสูงสุดกับระดับพลังงานมีความสัมพันธ์ดังนี้ คือ 2n2
เม่ือ n คอื ตัวเลขแสดงระดบั พลงั งาน)
4. ครูแสดงจำนวนอิเล็กตรอนในแต่ละระดับพลังงานของธาตุ K (2 8 8 1) และ Ca (2 8 8 2)
จากนน้ั ตั้งคำถามว่า จากสตู ร 2n2 จำนวนอเิ ล็กตรอนสูงสดุ ในระดับพลังงานที่ 3 ควรเป็น 18 อิเล็กตรอน
แตเ่ พราะเหตใุ ดอิเลก็ ตรอนในระดับพลงั งานที่ 3 ของธาตุ K และ Ca จึงมเี พียง 8 อเิ ล็กตรอน
(แนวคำตอบเนอื่ งจากการจัดเรียงอเิ ล็กตรอนมคี วามเชื่อมโยงกับการจัดเรยี งอเิ ล็กตรอนแบบย่อย)
3. ข้ันอธบิ ายและลงข้อสรปุ (Explanation)
5. นักเรียนร่วมกันศึกษาเกี่ยวกับการจัดเรียงอิเล็กตรอนเข้าระดับพลังงานหลัก และได้ข้อสรุป
ร่วมกันดังนี้ 1) จัดเรียงอิเล็กตรอน เข้าระดับพลังงานต่ำกว่าก่อน (K, L, M, N, O, P, Q ตามลำดับ 2)
อิเล็กตรอนวงนอกสุด (Valence electron) ต้องมีไมเ่ กนิ 8 อิเลก็ ตรอน และ 3) จำนวนอิเล็กตรอนซ้ำกัน
ได้ 1 คร้งั และถอยหลังได้แตห่ า้ มถอยข้ามข้นั
6. ครูแสดงวิธีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเข้าระดับพลังงานหลักพร้อมทั้งให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการ
ตอบคำถาม โดยใช้คำถามดงั น้ี
1) จงแสดงวธิ ีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเข้าระดบั พลงั งานหลักของ 17Cl
(แนวคำตอบ 2 8 7)
37
2) จงแสดงวธิ ีการจดั เรียงอเิ ลก็ ตรอนเข้าระดบั พลงั งานหลักของ 56Ba
(แนวคำตอบ 2 8 18 18 8 2)
3) จงแสดงวิธีการจดั เรียงอิเล็กตรอนเขา้ ระดบั พลังงานหลกั ของ 84Po
(แนวคำตอบ 2 8 18 32 18 6)
4) จงแสดงวิธีการจดั เรยี งอเิ ล็กตรอนเข้าระดบั พลงั งานหลกั ของ 29Cu
(แนวคำตอบ 2 8 18 1)
5) จงแสดงวธิ กี ารจดั เรียงอิเลก็ ตรอนเขา้ ระดับพลงั งานหลักของ 80Pb
(แนวคำตอบ 2 8 18 32 18 2)
7. ครถู ามคำถามเพ่อื ทดสอบความเข้าใจของนักเรยี นโดยใช้ คำถามดงั น้ี
1) การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก ทำให้เราทราบเกี่ยวกับอะไรในตารางธาตุ
(แนวคำตอบ : ทำให้เราทราบคาบ และหม่ขู องธาตุท่นี ำมาจดั เรยี งอเิ ลก็ ตรอนในระดบั พลังงานหลกั ได)้
2) ทำไม 29Cu มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักต่างจากธาตุตัวอื่น (แนว
คำตอบ : เพราะว่า Cu เปน็ ธาตทุ รานซิชนั จึงมกี ารจัดเรยี งอเิ ลก็ ตรอนขา้ มข้ันได้ )
8. นักเรียนรว่ มกันวเิ คราะหธ์ าตตุ ่าง ๆ ที่มีการจัดในข้อ 6 วา่ อยคู่ าบใด และอยหู่ มู่ใด (17Cl อยหู่ มู่
7 คาบ 3 56Ba อยู่หมู่ 2 คาบ 6 84Po อยูห่ มู่ 6 คาบ 6 29Cu และ 80Pb เปน็ ธาตทุ รานซชิ ัน)
9. นักเรยี นร่วมกนั ศกึ ษาเกีย่ วกับการจดั เรยี งอเิ ลก็ ตรอนเข้าระดบั พลงั งานย่อย และได้ขอ้ สรุป
รว่ มกันดงั น้ี การจดั เรียงอเิ ลก็ ตรอนเข้าระดับพลังงานย่อย จะต้องจัดเรียงอเิ ล็กตรอนจากระดบั พลงั งานต่ำ
ไปสงู 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d10 4p6 5s2 ...... ตามลำดบั
10. ครูแสดงวธิ กี ารจัดเรยี งอเิ ล็กตรอนเขา้ ระดับพลังงานย่อย พร้อมท้งั ให้นักเรยี นมีส่วนร่วมในการ
ตอบคำถาม โดยใช้คำถามดังน้ี
1) จงแสดงวธิ กี ารจดั เรียงอิเล็กตรอนเขา้ ระดับพลังงานย่อยของ 17Cl
(แนวคำตอบ : 1s2 2s2 2p6 3s2 3p5)
2) จงแสดงวธิ ีการจัดเรียงอิเลก็ ตรอนเขา้ ระดับพลงั งานย่อยของ 19K
(แนวคำตอบ : 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s1)
3) จงแสดงวิธกี ารจัดเรียงอิเล็กตรอนเข้าระดับพลงั งานยอ่ ยของ 37Rb
(แนวคำตอบ : 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d10 4p6 5s1)
11. ครถู ามคำถามเพอื่ ทดสอบความเข้าใจของนักเรยี นโดยใช้ คำถามดงั น้ี
38
1) การจัดเรียงอิเล็กตรอนเข้าระดับพลังงานย่อย และระดับพลังงานหลัก มีความสัมพันธ์กัน
อย่างไร (แนวคำตอบ : เมื่อจัดเรียงอิเล็กตรอนเข้าระดับพลังานย่อยแล้วจะสามารถจัดอิเล็กตรอนเข้า
ระดับพลงั งานหลักได)้
2) จากการจัดเรียงอิเล็กตรอนเข้าระดับพลังงานย่อย ของ 17Cl โดยมีการจัดเรียงดังนี้ 1s2
2s2 2p6 3s2 3p5 สามารถจดั เรยี งอิเลก็ ตรอนในระดับพลงั งานหลกั ได้อย่างไร
(แนวคำตอบ : 2 8 7 )
12. นักเรียนร่วมกันศึกษาเกี่ยวกับการจัดเรียงอิเล็กตรอนเข้าออบิทัล และได้ข้อสรุปร่วมกันดังน้ี
การจัดเรียงอิเล็กตรอนเข้าออบิทัล ใช้หลักของฮุนด์ ในการบรรจุ โดยมีหลักการคือ การบรรจุอิเล็กตรอน
ลงในระดับพลังงานย่อยเดียวกัน จะต้องบรรจุอิเล็กตรอนเดี่ยว ที่มีสปินขนานกันลงในแต่ละออร์บิทัลให้
เต็มก่อน เพื่อให้อิเล็กตรอนมีความเสถียร แล้วจึงบรรจุอิเล็กตรอนลงในออร์บิทัลให้เป็นอิเล็กตรอนคู่
ตวั อย่างเช่น ในการบรรจุอิเลก็ ตรอนในระดบั พลงั งานย่อย p-orbital
ผดิ ถกู ถกู
13. ครูแสดงวธิ กี ารจดั เรียงอิเล็กตรอนเขา้ ออบทิ ลั พรอ้ มทง้ั ให้นักเรียนมสี ว่ นร่วมในการตอบคำถาม
โดยใชค้ ำถามดังน้ี
1) จงแสดงวธิ กี ารจัดเรยี งอเิ ล็กตรอนเข้าระดับออบิทลั ของ 24Cr
(แนวคำตอบ : 1s 2s 2p 3s 3p 4s 3d )
2) จงแสดงวธิ ีการจัดเรียงอิเลก็ ตรอนเขา้ ระดบั ออบิทัลของ 29Cu
(แนวคำตอบ : 1s 2s 2p 3s 3p 4s 3d )
4. ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration)
14. นักเรียนร่วมกันศึกษาความรู้เพิ่มเติม เกี่ยวกับการจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบย่อ โดยมีหลักการ
สำคัญคือ การจัดเรียงอิเล็กตรอนแบบย่อ ใช้ธาตุหมู่ 8 เป็นฐานเพื่อลดความยาวในการจัดเรยี ง พร้อมท้ัง
ถามคำถามดงั น้ี
1) จงแสดงวิธกี ารจัดเรยี งอเิ ล็กตรอนเข้าระดบั พลงั งานย่อของ 12Mg
(แนวคำตอบ : [Ne] 3s2)
2) จงแสดงวธิ ีการจดั เรียงอิเล็กตรอนเขา้ ระดับพลังงานย่อของ 21Sc
(แนวคำตอบ : [Ar] 4s2 3d1)
39
15. นักเรียนร่วมกันศึกษาความรู้เพิ่มเติม เกี่ยวกับการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุที่อยู่ในสถานะ
ไอออน โดยมีหลักการสำคัญคือ เมื่อธาตุที่เสถียรกลายเป็นไอออน อิเล็กตรอนตัวที่หลุดออกก่อนคือตัว
ที่อยู่ระดับพลังงานวงนอกสุด (เรียงตามลำดับ n=1 >> n=7 และ s >> p >> d >> f ) ไม่ใช่ตัวที่ถูก
จัดเรยี งเขา้ ไปลำดับสดุ ทา้ ย พรอ้ มทัง้ ถามคำถามดงั น้ี
1) จงแสดงวธิ ีการจดั เรียงอิเล็กตรอนของธาตุที่อย่ใู นสถานะไอออน ของ 20Ca2+
(แนวคำตอบ : 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6)
2) จงแสดงวิธีการจดั เรยี งอเิ ลก็ ตรอนของธาตุทอี่ ยใู่ นสถานะไอออน ของ 29Cu4+
(แนวคำตอบ : 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 3d7 )
3) จงแสดงวธิ ีการจัดเรียงอิเลก็ ตรอนของธาตุทีอ่ ยู่ในสถานะไอออน ของ 7N3−
(แนวคำตอบ : 1s2 2s2 2p6)
16. ครูให้นักเรียนทำแบบฝกึ หัดท่ี 4 การจดั เรียงอิเลก็ ตรอนในอะตอม
17. ครูและนักเรยี นร่วมกนั เฉลยแบบฝกึ หัดที่ 4 การจดั เรียงอเิ ลก็ ตรอนในอะตอม
5. ขัน้ ประเมิน (Evaluation)
18. ประเมินการบอกความแตกต่างของระดับพลังงานหลัก พลังงานย่อย และออร์บิทัล จากการ
ถามคำถาม
19. ประเมินการจดั เรยี งอเิ ลก็ ตรอนในอะตอมเม่ือทราบเลขอะตอมของธาตุ พร้อมท้ังระบุ หมู่ คาบ
และกลมุ่ ของธาตใุ นตารางธาตุ จากการถามคำถามและการทำแบบฝึกหดั
20. ประเมินพฤติกรรมอันพึงประสงค์ จากความตั้งใจเรียนรู้และแสวงหาความรู้ รับผิดชอบต่อ
หน้าทที่ ี่ได้รับมอบมาย
6. ส่ือ/แหล่งการเรยี นรู้
6.1 สอ่ื การเรียนรู้
1. Powerpoint ประกอบการสอน การจัดเรยี งอิเล็กตรอนในอะตอม
2. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 1
(สสวท.)
3. แบบฝึกหัดที่ 4 การจัดเรียงอเิ ลก็ ตรอนในอะตอม
6.2 แหลง่ การเรยี นรู้
-
40
41
42
แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคลชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4/3
เรอื่ ง การจดั เรยี งอิเลก็ ตรอนในอะตอม
คำชี้แจง จงทำเครื่องหมาย ลงในช่องที่ตรงกับพฤติกรรมที่ผู้เรียนแสดงออก โดยจำแนกระดับ
พฤติกรรมการแสดงออกไว้เปน็ 3 คะแนน ดงั น้ี
3 คะแนน หมายถึง ผู้เรยี นมีพฤติกรรมในระดบั ดี
2 คะแนน หมายถึง ผเู้ รยี นมีพฤติกรรมในระดบั ปานกลาง
1 คะแนน หมายถึง ผเู้ รยี นมีพฤติกรรมในระดบั ปรบั ปรุง
ช่ือ-สกุล รายการประเมนิ คะแนน ร้อยละ สรปุ ผลการ
รวม ประเมนิ
ความใสใ่ จ การเสนอ ความร่วมมอื การยอมรบั ฟงั
ในการ ความคดิ เหน็ ในการทำงาน คนอนื่
ทำงาน
เลข ่ีท
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 100 ผา่ น ไมผ่ า่ น
1 นายจกั รพล บญุ สทิ ธิ์
2 นายอชริ า อินทะนู
3 เด็กชายเจษฎาภรณ์ หมทอง
4 นายชลศกั ด์ิ เหล่าภกั ดี
5 นายออมสิน สรอ้ ยธนู
6 นายธนันธร พาลาศรี
7 นายอมั รนิ ทร์ กำยาน
8 นายเวโรจน์ ทะโจปะรงั
9 นายจกั รแก้ว นามหนิ ลาย
10 นายธนกร ไขบัว
11 นางสาวสุภาวดี ดมี าก
12 นางสาวฐติ ิยาภรณ์ ไชยบุบผา
13 นางสาววมิ ลณฐั หาญณรงค์
14 นางสาวรตั นาภรณ์ แกว้ หาดี
15 นางสาวกรรณิการ์ ครุ ิมา
16 นางสาวจรี นนั ท์ ทองหลอ่
17 นางสาวศริ นิ โรจน์ อนุ่ อก
18 นางสาวอรไพลิน ภมู ิเพง็
19 นางสาวกลั ยรัตน์ จนั ทานี
20 นางสาวชวลั นชุ เครอื เนตร
21 นางสาวณชั ชา ผนั ผอ่ น