1
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self – Assessment Report : SAR)
ระดับปฐมวยั และการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ปกี ารศึกษา 2563
โรงเรยี นทุ่งกุลาประชารฐั
สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษารอ้ ยเอด็ เขต 2
สำนักคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
ก
คำนำ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 256๔ โรงเรียนทุ่งกลุ าประชารฐั ฉบบั นี้
จัดทำขน้ึ ตามกฎกระทรวง การประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ข้อ 3 ระบุใหส้ ถานศึกษาจัดสง่
รายงานผลการประเมินตนเองให้แกห่ นว่ ยงานตน้ สงั กัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษาเป็นประจำทุกปี
เพอื่ รายงานผลการดำเนินงานตามมาตรฐานการศกึ ษาที่สะท้อนผลการพฒั นาคุณภาพการศึกษา ซ่งึ เปน็
ผลสำเรจ็ จากการบริหารจัดการศกึ ษาทสี่ อดคล้องกับมาตรฐานการศกึ ษาในระดับปฐมวัย 3 มาตรฐาน ได้แก่
คณุ ภาพของเด็ก กระบวนการบริหารและการจดั การ การจัดประสบการณ์ทีเ่ นน้ เด็กเป็นสำคัญ และระดับ
การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน 3 มาตรฐานไดแ้ ก่คณุ ภาพของผ้เู รยี นกระบวนการบริหารและการจัดการกระบวนการ
จดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคญั เพ่ือนำเสนรายงานผลการจดั การศกึ ษาในรอบปีที่ผา่ นมาต่อ
หน่วยงานต้นสังกัด หนว่ ยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนเผยแพร่ตอ่ สาธารณชนไดร้ ับทราบ และเตรียมความพร้อม
ในการรับการประเมนิ ภายนอก โดยสำนักงานรบั รองมาตรฐานการศึกษาและประเมินคุณภาพการศกึ ษา
(องค์การมหาชน) ต่อไป
ขอขอบคุณคณะครู ผู้ปกครอง นกั เรียน คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน และผู้ท่มี ีสว่ น
เกี่ยวข้องทุกฝา่ ยทีม่ สี ว่ นรว่ มในการจัดทำรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 256๔ ฉบับ
น้ี คณะผจู้ ดั ทำหวงั เป็นอยา่ งยิ่งว่าเอกสารรายงานฉบบั น้ี จะเปน็ ประโยชนต์ ่อการนำไปใช้ในการพฒั นา
คุณภาพการศึกษาของโรงเรียนท่งุ กุลาประชารัฐ ในปกี ารศึกษาต่อไป
โรงเรียนท่งุ กลุ าประชารัฐ
สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษารอ้ ยเอด็ เขต 2
เมษายน 256๕
สารบญั ข
เร่อื ง หนา้
คำนำ ก
สารบัญ ข
บทสรุปของผู้บรหิ าร ง
สว่ นท่ี 1 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศกึ ษา 1
ขอ้ มลู ทั่วไป 1
ข้อมูลครูและบุคลากร 9
ข้อมูลนักเรยี น
ขอ้ มูลอาคารสถานท่ี 10
ขอ้ มลู งบประมาณ 11
ข้อมูลสภาพชมุ ชนโดยรวม 11
โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศึกษา 11
แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถน่ิ 12
ผลงานดเี ดน่ ในรอบปที ผี่ า่ นมา 13
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่ผ่านมา 15
ผลการจดั การเรยี นรู้ตามหลกั สตู รสถานศึกษา 16
ผลการประเมนิ ทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผเู้ รียนระดบั ชาติ 18
สว่ นที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา 27
ระดบั ปฐมวยั 31
31
ผลการประเมนิ มาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวัย 31
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก 31
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 37
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ท่เี น้นเด็กเป็นสำคญั 41
ระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน 44
ผลการประเมินมาตรฐานการศกึ ษาระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน 44
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรียน 44
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ 53
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั 64
ส่วนที่ 4 ภาคผนวก 71
บนั ทกึ การพจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบการใชม้ าตรฐานการศกึ ษา ประจำปกี ารศึกษา 256๔
ของโรงเรยี นทงุ่ กลุ าประชารฐั 72
ประกาศใหใ้ ช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 73
การกำหนดค่าเป้าหมาย 76
ค
สารบัญ (ต่อ)
เรอื่ ง หนา้
คำส่งั คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา 105
คำสง่ั คณะกรรมการจดั ทำรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปกี ารศกึ ษา 25๖๔ 106
ประกาศโรงเรยี นทุ่งกลุ าประชารฐั ผลการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา 108
ปีการศกึ ษา 25๖๔
หนังสือใหค้ วามเห็นชอบรายงานการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา 256๔ 118
ง
บทสรุปผลการประเมนิ ตนเองในภาพรวมของสถานศึกษาสำหรบั ผู้บริหาร
1. ระดบั ปฐมวยั
ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาระดบั ปฐมวยั ในภาพรวม
อยใู่ น ระดบั ยอดเย่ียม
จากผลการดำเนนิ งาน โครงการ และกิจกรรมต่าง ๆ ส่งผลใหส้ ถานศกึ ษาจดั การพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาประสบผลสำเร็จตามที่ตัง้ เปา้ หมายไว้ในแตล่ ะมาตรฐาน จากผลการประเมินสรุปว่า ได้ระดับยอด
เยย่ี ม ซ่งึ มีผลการประเมินรายมาตรฐาน ดังนี้
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพเดก็ อยใู่ นระดับยอดเย่ียม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษา อย่ใู นระดบั ยอดเยย่ี ม
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั ประสบการณ์ท่เี นน้ เด็กเป็นสำคัญ อยใู่ นระดับยอดเย่ียม
โดยมีวธิ กี ารพัฒนา/ผลทีเ่ กิดจากการพัฒนา ขอ้ มลู หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ที่สนบั สนนุ ผล
การประเมนิ ตนเอง ในภาพรวมของสถานศึกษา
1) วิธีการพัฒนา/ผลที่เกดิ จากการพฒั นา
วิธกี ารพฒั นา/กระบวนการพัฒนา
- ด้านคุณภาพของเด็ก ไดม้ ีการพฒั นาการเดก็ ทัง้ 4 ดา้ นทง้ั ด้านรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ
ดา้ นสังคม และสติปัญญา
- ด้านกระบวนการบรหิ ารและจัดการ จดั ใหค้ รูมเี พียงพอกับชั้นเรียน จดั สภาพแวดลอ้ ม
และสือ่ การเรียนรู้และจัดให้มีสื่อเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้สนับสนนุ การจัดประสบการณ์
- การจัดประสบการณ์ทีเ่ นน้ เด็กเปน็ สำคัญ จัดประสบการณท์ สี่ ง่ เสริมใหเ้ ด็กมีพฒั นาการทุก
ด้านอยา่ งสมดลุ สรา้ งโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ บั ประสบการณ์ตรงเลน่ อย่างมีความสขุ มีการจัดบรรยากาศทเ่ี อ้ือตอ่
การเรยี นรู้
ผลทเี่ กดิ จากการพัฒนา
1. เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนสิ ยั ท่ีดี และดแู ลความปลอดภัยของ
ตนเองได้ มีพฒั นาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และแสดออกทางอารมณ์ได้ มีพฒั นาการดา้ นสังคม
ช่วยเหลอื ตนเอง และเป็นสมาชกิ ที่ดขี องสงั คม มพี ัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา สอ่ื สารได้ มีทกั ษะการคดิ พ้ืนฐาน
และแสวงหาความรู้ได้
2. สถานศึกษามหี ลักสูตรครอบคลมุ พฒั นาการท้ัง 4 ด้าน สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของ
ท้องถนิ่ มีความมั่นใจและกล้าแสดงออก สง่ เสริมให้ครูมีความเชยี่ วชาญด้านการจัดประสบการณ์ จัด
สภาพแวดล้อมและสอื่ เพ่ือการเรยี นรู้ อยา่ งปลอดภยั และเพยี งพอ ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและส่อื
การเรยี นรู้เพื่อสนับสนนุ การจัดประสบการณส์ ำหรบั ครู และ มีระบบบริหารคณุ ภาพที่เปดิ โอกาสให้
ผเู้ ก่ยี วข้องทกุ ฝ่ายมสี ่วนรว่ ม
3. ครูผสู้ อนจัดประสบการณ์ท่สี ง่ เสริมใหเ้ ด็กมีพฒั นาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็ม
ศกั ยภาพ สร้างโอกาสให้เดก็ ไดร้ ับประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏิบัตอิ ยา่ งมีความสขุ จดั บรรยากาศที่เอ้ือต่อ
การเรยี นรู้ ใชส้ อื่ และเทคโนโลยที ่ีเหมาะสมกับวัย ประเมนิ พัฒนาการเดก็ ตามสภาพจริง และนำผลการ
ประเมนิ พฒั นาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพฒั นาเด็ก
จ
2) ขอ้ มลู หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ที่สนบั สนุนผลการประเมนิ ตนเอง
- รายงาน สรปุ โครงการ/กิจกรรม
- เกียรตบิ ัตร/เหรียญรางวัลจากการแข่งขันกฬี าระดบั อำเภอ
- กจิ กรรมการจดั ประสบการณ์
- รูปภาพ
- ผลงานเดก็
- แผนปฏิบตั ิการ หลักสูตร
- หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั
- รายงานผลการเขา้ ร่วมอบรมพัฒนาของครูและบุคลากร
- โครงการพัฒนาสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพให้เอ้ือต่อการเรียนรู้
- โครงการเรียนรสู้ ู่โลกกว้าง
- โครงการจัดหา/จดั ทำเคร่ืองเล่นสนาม
- แผนการจัดประสบการณ์ท่ีสอดคลอ้ งกับมาตรฐานตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย
- รายงานผลการประเมนิ ตนเองประจำปี
- มุมประสบการณ์
- แบบบนั ทึกการพัฒนาการของเดก็
- รายงานผลการประเมินตนเอง
- บรรยากาศ หอ้ งเรยี นแจ่มใส มีมมุ สง่ เสรมิ ประสบการณ์การเรียนรู้
- การจัดกจิ วัตรประจำวนั
3) การเผยแพร่/ประชาสัมพันธ์
- ประชาสัมพนั ธ์ในชุมชนเขตบริการ
- แผน่ พบั ประชาสมั พนั ธ์
- เพจเฟซบุ๊ก
- เฟซบกุ๊ ของครปู ฐมวัย
- กลุ่ม Line
4) จุดเด่น จดุ ที่ควรพฒั นา แผนพัฒนาคณุ ภาพเพ่ือยกระดับใหส้ ูงข้นึ
จดุ เด่น จดุ ทคี่ วรพัฒนา
- เดก็ มพี ฒั นาการสมดลุ - การช่วยเหลอื ตนเองทั้งท่บี า้ นและโรงเรยี น
- มโี ครงการสง่ เสริมพฒั นาการเดน่ ชดั - ประสานความรว่ มมือกบั ผูป้ กครองใหม้ สี ่วนรว่ มใน
- มหี ลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั ที่นำสูก่ ารปฏิบัตไิ ด้ การจดั ประสบการณเ์ ด็ก
อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
แผนพฒั นาคุณภาพเพื่อยกระดบั ให้สูงขน้ึ
1) โครงการการประเมนิ ผลการใชห้ ลกั สตู ร
2) โครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลอื ผูเ้ รยี นอย่างเข้มแข็ง และท่วั ถึง
3) โครงการพฒั นาศักยภาพเดก็ ปฐมวัย
4) โครงการสง่ เสรมิ ศักยภาพผู้เรียนระดบั ปฐมวยั
5) โครงการส่งเสรมิ พฒั นาการดา้ นอารมณ์และจิตใจของเด็กปฐมวยั
ฉ
6) โครงการสง่ เสรมิ พฒั นาการด้านอารมณข์ องเด็กปฐมวยั
7) โครงการสง่ เสรมิ พฒั นาการด้านสงั คมของเด็กปฐมวัย
8) โครงการส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปญั ญาของเด็กปฐมวัย
2. ระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน
ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐานในภาพรวม
อยู่ใน ระดบั ยอดเยีย่ ม
จากผลการดำเนินงาน โครงการ และกจิ กรรมตา่ ง ๆ ส่งผลใหส้ ถานศกึ ษาจัดการพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาประสบผลสำเรจ็ ตามทต่ี ง้ั เปา้ หมายไวใ้ นแต่ละมาตรฐาน จากผลการประเมนิ สรุปวา่ ได้ระดับ
ยอดเยยี่ ม ซง่ึ มผี ลการประเมินรายมาตรฐาน ดงั น้ี
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รียน อยใู่ นระดบั ดีเลศิ
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การศึกษา อยู่ในระดบั ยอดเย่ยี ม
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดประสบการณท์ ี่เน้นผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ อยู่ในระดบั ยอดเย่ยี ม
โดยมีวธิ ีการพัฒนา/ผลทเี่ กิดจากการพฒั นา ข้อมลู หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนบั สนนุ ผล
การประเมินตนเอง ในภาพรวมของสถานศกึ ษา
1) วธิ กี ารพัฒนา/ผลทีเ่ กิดจากการพฒั นา
วธิ ีการพัฒนา/กระบวนการพัฒนา
จากผลการดำเนินงาน โครงการ และกจิ กรรมตา่ ง ๆ ส่งผลให้สถานศึกษาจดั การพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาไปตามเปา้ หมายท่ีตั้งเป้าหมายไว้ในแตล่ ะมาตรฐาน ซง่ึ จากผลการประเมินสรปุ วา่ ได้ระดบั ยอดเยี่ยม
ผลทสี่ นบั สนุนการประเมินตนเอง ดงั น้นี กั เรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 อา่ นออกเขยี น
ได้ มีความสามารถในการสอ่ื สารเรียนรู้ มผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรียนผ่านเกณฑ์ตามท่สี ถานศึกษากำหนด ผลการ
ทดสอบระดับชาติ 3 ปยี ้อนหลังยงั ไม่เปน็ ไปตามเกณฑส์ ถานศึกษา (NT และ O-NET) ต่ำกว่าค่าเฉล่ีย
ระดบั ชาติในบางวิชาและระดับชน้ั ทส่ี อบ แต่ท่ปี ระสบผลสำเรจ็ เป็นอยา่ งยงิ่ คือ ผลการทดสอบระดบั ชาติในปี
การศึกษา 2564 ของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีผลตา่ งในลักษณะเพิ่มขน้ึ ใน 5
รายวิชา นักเรยี นทกุ คนจดั ทำโครงงานคณุ ธรรม และร่วมกิจกรรมจิตอาสา นักเรยี นทุกคนจัดทำโครงงาน เป็น
ผลงานประดิษฐ์ใหม่ ๆ ของนักเรยี น จากโครงการโรงเรียนคณุ ภาพประจำตำบลให้มกี ารสอนงานอาชีพให้
นักเรยี น ทำให้นักเรียนผลงาน/ผลติ ภัณฑข์ องตนเองนกั เรยี นทกุ คน ไม่มีอัตราความเสยี่ งการติดส่ิงเสพติด มี
โครงการระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียนอยา่ งเขม้ แข็งไมม่ ีการทะเลาะวิวาทในโรงเรียน โรงเรยี น มรี ะบบ
เทคโนโลยแี ละสารสนเทศที่พร้อมใชง้ าน และมีระบบอนิ เทอร์เนต็ ความเร็วสงู เพอื่ ใช้ในการจดั การเรยี นการสอน
ทกุ ห้องเรียนมคี รูครบขนั้ ครจู ัดการเรียนการสอนโดยใชโ้ ครงงานเพื่อสง่ เสรมิ การคิดวเิ คราะหน์ ักเรียน และจดั
กจิ กรรม Active learning เพือ่ ส่งเสริมการคิดและปฏิบตั ิจริงทุกช้นั เรยี น ครไู ด้รับการพฒั นาตามโครงการ
คูปอง และนำความรู้มาจัดทำแผนการเรียนรู้ สอื่ การเรยี นการสอน และเครื่องมือวดั และประเมินผลผู้เรยี น
ผ้บู รหิ ารมสี มั พนั ธภ์ าพที่ดีกบั ชุมชน และมกี ารแสวงหาความรว่ มมอื ในการใช้ทรัพยากรจากชมุ ชน มีโครงการ
ระดมทรัพยากรมาชว่ ยเหลือนกั เรียนอย่างต่อเน่ืองโรงเรยี นได้รบั คัดเลือกเปน็ โรงเรยี นคุณภาพประจำตำบล
โรงเรยี นประชารัฐ
ช
ผลที่เกิดจากการพฒั นา
1. นกั เรียนมีความสามารถในการอา่ น การเขียน การส่อื สารและการคดิ คำนวณ
มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นและแกป้ ัญหา
มีความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร
มีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนตามหลักสูตรสถานศกึ ษา มคี วามรู้ ทักษะพืน้ ฐานและเจตคติท่ีดีต่องานอาชีพ มี
คุณลกั ษณะและคา่ นยิ มท่ีดตี ามทสี่ ถานศึกษากำหนด ความภมู ิใจในทอ้ งถ่ินและความเป็นไทย ยอมรับท่ีจะอยู่
รว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย มสี ุขภาวะทางร่างกายและจติ สังคม
2. โรงเรยี นมวี ิสัยทศั น์ พนั ธกจิ เปา้ หมาย เหมาะสมกับบริบท สอดคล้องกบั นโยบาย
สนองความต้องการชมุ ชน ท้องถ่ินและผูเ้ กยี่ วข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียน โดยในปกี ารศกึ ษาโรงเรียน
ปรบั วสิ ัยทศั น์ มีแผนพัฒนาการศึกษา แผนกลยทุ ธ์ ธรรมนญู โรงเรยี น แผนปฏิบตั กิ ารประจำปสี อดคลอ้ งกบั
วสิ ยั ทศั น์ พันธกจิ เปา้ หมายของโรงเรียน สอดคล้องกบั การพัฒนาผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย มรี ูปแบบการ
บริหารและจดั การเชิงระบบโดยทุกฝา่ ยมสี ว่ นรว่ ม ยึดหลกั ธรรมาภบิ าลและน้อมนำศาสตร์ โดยมุ่งพัฒนาผเู้ รยี น
ตามแนวทางปฏริ ปู การศกึ ษา แผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษา แผนปฏิบตั ิการประจำปี สอดคลอ้ งกับกบั
พฒั นาผเู้ รยี นทกุ กลมุ่ เป้าหมาย สอดคลอ้ งกบั นโยบายการปฏริ ูปการศึกษา โดยเปดิ โอกาสให้ทุกภาคสว่ นเข้ามา
มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา มกี ารพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาใหม้ ีความรู้ ความเชยี่ วชาญตาม
มาตรฐาน มกี ารระดมทรัพยากรทางการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาคุณภาพจากเครอื ข่ายในการร่วมรบั ผิดชอบตอ่ ผลการ
จัดการศกึ ษาให้มคี ุณภาพตามมาตรฐาน โรงเรียนมหี ลกั สตู รสถานศึกษา ทสี่ อดคลอ้ งกับความต้องการของ
ผเู้ รียนและท้องถน่ิ ผบู้ รหิ าร ครู และผู้ปกครอง ตลอดจนชมุ ชนมีสว่ นรว่ มในการจัดทำหลักสตู ร โดยมี
องคป์ ระกอบครบถ้วนถกู ต้องสมบูรณไ์ ดแ้ ก่ วสิ ัยทัศน์ จุดหมาย คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ โครงสร้างเวลาเรียน
คำอธบิ ายรายวิชา แนวดำเนิน การจดั การเรยี นรู้ การวดั และประเมนิ ผล หลกั สูตรผา่ นความเหน็ ชอบของ
คณะกรรมการสถานศึกษา มีการนำหลักสตู รสถานศึกษาไปปฏบิ ตั ิ มรี ะบบการนเิ ทศติดตามการใชห้ ลักสูตรมี
การนำผลการนเิ ทศติดตามและประเมินผลการใชห้ ลกั สตู รมาปรบั ปรงุ หลักสตู รอย่างตอ่ เน่ือง มีการพฒั นา
กระบวนการพัฒนาครูและบุคลากรผา่ นกิจกรรมต่าง ๆ ซ่ึงสามารถแสดงผลการเข้ารับการพฒั นาตนเองให้มี
ความรู้ความเชีย่ วชาญในวชิ าชีพ มกี ารวเิ คราะหแ์ ละทบทวนผลการดำเนนิ การและความสามารถ การ
วเิ คราะห์ การเปรยี บเทยี บกบั คเู่ ทยี บกับเปา้ หมายเชิงกลยทุ ธ์และแผนปฏบิ ัติการ และการวเิ คราะหผ์ ลการ
ดำเนินการ เพื่อให้การแก้ปญั หาและการใหบ้ ริการทางการศึกษาตอบสนองความต้องการของนักเรยี น
ผปู้ กครอง และชมุ ชนอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลเรอ่ื งตา่ ง ๆ ท่ีมีการวิเคราะห์
3 ครจู ัดกระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ น้นผู้เรียนเป็นสำคัญให้เป็นไปตาม
ศักยภาพ ของนักเรียน โดยให้โอกาสกับนักเรียนได้ปรับปรุงและพฒั นาผลงานและผลสัมฤทธ์ใิ ห้พฒั นาเพ่ิมข้ึน
การพัฒนาผลสัมฤทธิท์ ่เี พ่ิมขึ้นทำให้นกั เรยี นเกดิ ความภาคภูมิใจและมีแรงจูงใจในการเรียนเพม่ิ ขึ้นและในการ
นิเทศการสอนพบวา่ ครูทกุ ทา่ นมกี ารใช้ส่ือเทคโนโลยใี นกระบวนการสอนเปน็ สว่ นใหญเ่ นื่องจากโรงเรียนจดั
สภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการใช้เทคโนโลยขี องครู โดยโรงเรียนมกี ารตดิ ตงั้ สมาร์ททวี ที ุกห้องเรยี น ซง่ึ การ
ห้องเรยี นที่อำนวยความสะดวกในการใช้สอ่ื เทคโนโลยีของครทู ำให้ครเู กิดการจดั รูปแบบการสอนได้
หลากหลาย ส่งผลให้นักเรียนมคี วามในใจในการเรยี นมากข้ึนและทำใหผ้ ลการทดสอบระดับชาติ O-Net เพ่มิ
สงู ขน้ึ รางวัลเหรยี ญทองจากรายการแขง่ ขันศิลปหัตถกรรมและในรายการอื่น ๆ ระดบั ประเทศมากขึ้น
4. รายงานโครงการพัฒนาส่ือ-นวัตกรรมทางการศึกษา พบว่าครทู ุกทา่ นมีการใชส้ ่อื
เทคโนโลยี ในกระบวนการสอนเป็นส่วนใหญ่เนอ่ื งจากโรงเรียนจดั สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการใช้เทคโนโลยีของ
ครู โดยโรงเรยี นมีการตดิ ตั้งสมาร์ททวี ีทุกหอ้ งเรียน ซึงเปน็ ห้องเรยี นท่ีอำนวยความสะดวกในการใชส้ ื่อ
ซ
เทคโนโลยีของครูทำใหค้ รเู กดิ การจดั รปู แบบการสอนได้หลากหลายและสง่ ผลให้นกั เรียนมีความต้งั ใจในการ
เรยี นมากข้นึ และทำให้ผล O-Net เพิ่มสงู ขึน้ รางวัลเหรียญทองจากรายการแขง่ ขนั ศิลปหตั ถกรรมและใน
รายการอ่นื ๆ ระดบั ประเทศมากข้นึ จะเหน็ ไดว้ ่าครมู ีการใชส้ ือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง่ เรยี นรรู้ วมท้ังภมู ิ
ปัญญาท้องถน่ิ ทีเ่ อื้อต่อการเรียนร้โู ดยสรา้ งโอกาสใหน้ กั เรียนได้แสวงหาความรูด้ ้วยตนเองเพ่มิ มากขนึ้ เร่ือย ๆ
ทกุ ปีการศึกษา เพราะมีโครงการประกวดสอ่ื นวัตกรรม ผทู้ ี่ชนะการประกวดจะมีเงินรางวัล และเกยี รติบตั ร
มอบให้เพือ่ เปน็ ขวัญและกำลังใจแก่คณะครู ส่งผลให้นกั เรียนโรงเรยี นมคี วามกระตอื รือรน้ ในการเรียนรู้ และ
ส่งผลต่อผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน ผลสัมฤทธ์ิเรื่องคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์และความสามารถในการคิด
วเิ คราะห์ดีขนึ้ ตามลำดับ อีกทั้งยงั ทำให้บรรยากาศการเรยี นรู้ เป็นบรรยากาศท่สี ่งเสริมการเรยี นรู้สอดคลอ้ งกบั
จุดเนน้ ของสถานศึกษาเปน็ องค์กรแห่งการเรียนรู้ คูค่ ุณธรรม เปน็ ทีย่ อมรับตอ่ ชุมชนและผปู้ กครอง
5. โรงเรยี นมีกระบวนวัดผลประเมนิ ผลทีเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั ทำใหผ้ ูเ้ รียนทราบจดุ
ทีค่ วรพัฒนาตนเองในการวัดผลประเมนิ ผลแตล่ ะคร้ัง สง่ ผลใหผ้ ู้เรยี นมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นสูงขึ้น นักเรยี นมี
ผลการเรยี น 0, ร, มส และ มผ นอ้ ยลง ผลการสอบระดับชาติ O-NET สูงข้นึ มผี ู้เรียนได้รบั รางวลั ระดบั เหรียญ
ทอง จากการแข่งขนั ศลิ ปหตั ถกรรมระดบั ประเทศและการแข่งขันรายการอนื่ ๆ ในระดับต่าง ๆ
2) ขอ้ มลู หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ท่สี นบั สนุนผลการประเมินตนเอง
- รายงานโครงการ/กิจกรรม
- ผลการประเมนิ การอ่าน การเขียน - แบบบันทกึ การอ่าน
- แบบฝึกทักษะ- โครงงาน ผลงานนกั เรยี น
- ผลงานนกั เรียน,นวัตกรรมของครู/นักเรียน
- มหี ้องปฏบิ ตั กิ ารคอมพวิ เตอร์
- หลกั สูตรสถานศึกษา
- ผลสัมฤทธข์ิ องนักเรยี นช้ัน ป.1 - ม.3
- ผล NT , ผล O-Net
- การทดสอบช้นั ป.1 - ม.3
- บนั ทึกการทำความดีของนักเรยี น
- ภาพการเขา้ ค่ายคุณธรรม
- ภาพกิจกรรมการร่วมในวันสำคญั ต่าง ๆ
- บันทกึ นักเรยี นรายบุคคล
- แบบบนั ทกึ น้ำหนกั /สว่ นสงู ของนักเรยี น
- แบบบนั ทกึ นกั เรยี นรายบคุ คล
- ภาพถา่ ย
- ผลงานนักเรยี น
- แหล่งเรียนรู้นา่ อยูแ่ ละทนั สมัย
- ห้องปฏบิ ัติการคอมพวิ เตอร์
- แบบบนั ทกึ การใชห้ อ้ งปฏิบัติ/สื่อ
- วจิ ัยชนั้ เรยี น
- แบบประเมินดา้ นการเรียน
- แบบ ป.พ.ตา่ งๆ
- ขอ้ มลู สารสนเทศ
ฌ
- แผนปฏบิ ัติการประจำปี
- แผนพฒั นาการจัดการศึกษา
- มาตรฐานการศึกษา
- รายงาน SAR
- รายงานการประชมุ อบรม
3) การเผยแพร/่ ประชาสัมพันธ์
- ประชาสัมพันธใ์ นชุมชนเขตบรกิ าร
- แผน่ พับประชาสมั พนั ธ์
- เพจเฟซบุ๊ก
- เฟซบกุ๊ ของครู
- กลมุ่ Line
4) จดุ เดน่ จดุ ท่ีควรพัฒนา แผนพัฒนาคณุ ภาพเพอื่ ยกระดบั ให้สูงขึน้
จุดเดน่ จุดท่ีควรพัฒนา
1. สถานศกึ ษามีการวเิ คราะห์ผลสมั ฤทธทิ์ างการ 1. ผลการประเมินระดบั ชาติต่ำกว่าระดับชาติใน
เรยี นและได้กำหนดเปน็ เปา้ หมายทางการเรียนโดย รายวชิ าคณิตศาสตร์ ภาษาองั กฤษ
ใชข้ ้อมูลฐาน 3 ปีย้อนหลังเป็นเปา้ หมายคุณภาพ 2. กิจกรรมทีม่ ุ่งเนน้ ยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น
นักเรยี นให้พัฒนาสงู ขึ้น 3. กิจกรรมดา้ นการอ่าน การเขียน คำนวณให้กับ
2. ผลการประเมินระดบั ชาติ ปกี ารศกึ ษา 2564 นกั เรียนเรียนรว่ ม
เพมิ่ ขน้ึ จากปีการศกึ ษา 2563 ใน 6 รายวชิ า 4. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรยี น
ทัง้ 2 ระดับ 5. การพฒั นาความสามารถภาษาอังกฤษของ
3. ผเู้ รียนมคี ุณธรรม จิตอาสา นักเรยี น
4. การบริหารจดั การศึกษา และการมีส่วนร่วมของ 6. ความสามารถในการจัดการเรียนรภู้ าษาองั กฤษ
ผูเ้ ก่ียวขอ้ ง ของครผู สู้ อน
5. จัดแหลง่ เรียนรภู้ ายในไดเ้ หมาะสม มสี ื่อดา้ น
เทคโนโลยที ี่ทนั สมัย
6. ครูมีความตง้ั ใจมุ่งมน่ั ในการพัฒนาการสอน
7. นักเรียนมีสว่ นร่วมในการจดั บรรยากาศ
สภาพแวดล้อมทเ่ี อื้อตอ่ การเรียนรู้
แผนพัฒนาคุณภาพเพือ่ ยกระดบั ให้สูงขน้ึ
1) โครงการ/กจิ กรรมการเรียนรู้ทเี่ นน้ การพัฒนาผู้เรียนเปน็ รายบุคคลเรยี นรวม
2) โครงการพัฒนาระบบงานบริหารเพ่อื อำนวยความสะดวกในการปฏบิ ัติงานของบุคลากร
โดยใช้กระบวนการ PDCA
3) จัดทำแผนการพฒั นาครใู หเ้ ป็นครูมืออาชพี
4) โครงการปรบั ภมู ิทัศน์ ปรบั ปรงุ อาคารเรียนและสภาพแวดลอ้ ม
5) โครงการพัฒนาระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน
6) โครงการสง่ เสริมจัดกจิ กรรมการเรยี นร้แู บบ Active learning
ญ
นวัตกรรม(Innovation) หรือตัวอยา่ งการปฏิบัติท่ดี ี (Best Practice) ตามจุดเน้นของสถานศกึ ษา
การปฏบิ ัติทีเ่ ป็นเลศิ (Best Practices)
1. โครงการ/กิจกรรมบ้านนักวิทยาศาสตร์นอ้ ย (ปฐมวัย)
2. โครงการ/กิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบมอนเตสเซอร่ี (ปฐมวยั )
3. โครงการจดั การเรยี นรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน Project Base Learning (ข้ันพื้นฐาน)
4. กิจกรรมสหกรณโ์ รงเรียน (ขนั้ พ้นื ฐาน)
5. กิจกรรมเสยี งใสในโรงเรยี น “อ่านออก เขียนได้ ลายมือสวย”
1
สว่ นที่ 1
ขอ้ มูลพื้นฐานของสถานศึกษา
1. ขอ้ มูลพื้นฐานของสถานศึกษา
1.1 ขอ้ มลู ท่วั ไป
ชอ่ื โรงเรยี น โรงเรยี นทงุ่ กุลาประชารฐั
ทอ่ี ย่:ู เลขท่ี หมู่ที่ 3 บ้านโพนทอน ตำบลดงคร่ังน้อย อำเภอเกษตรวสิ ยั
จังหวดั รอ้ ยเอด็ รหัสไปรษณีย์ 45150
สงั กัด: สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2
โทรศพั ท์: โทรสาร : E-Mail : [email protected]
เปดิ สอน: ระดับชัน้ อนบุ าลปีท่ี 2 ถึงระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3
มีหมบู่ า้ นในเขตบรกิ าร จำนวน 3 หมบู่ ้าน ได้แก่ บา้ นโพนทอน หมู่ที่ 3 บ้านโพนฮาด หม่ทู ่ี 12 และ
บา้ นหนองหวั โนน หม่ทู ่ี 13 ตำบลดงครง่ั น้อย อำเภอเกษตรวิสัย จังหวดั ร้อยเอ็ด
ชอื่ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น นายประจบ สีลาสม หมายเลขโทรศพั ท์ 089-845-3457
E-mail [email protected]
ประวตั คิ วามเปน็ มาของสถานศึกษา
โรงเรียนทุ่งกุลาประชารฐั ก่อตั้ง เม่อื 1 พฤษภาคม 2482 เดิมชอื่ โรงเรียนวัดบ้านโพนทอน อาศยั
ศาลาวดั บา้ นโพนทอนเปน็ อาคารเรยี น เปิดสอน ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 – 4 มนี กั เรยี น 22 คน นายเรืองชยั
พายหุ ะ เปน็ ครใู หญค่ นแรก
3 กรกฎาคม 2498 ไดย้ า้ ยจากศาลาวัดบ้านโพนทอนมาอยสู่ ถานที่ปัจจุบนั ซงึ่ เป็นพ้นื ท่ีท่ีชาวบา้ น
บรจิ าค จำนวน 14 ไร่ 1 งาน 90 ตร.วา สมัยนนั้ มี นายสอน อดุ มทรัพย์ เปน็ ครใู หญ่ และนายลา คำภูเมือง
เป็นผูใ้ หญ่บ้าน และเม่ือ 14 กุมภาพันธ์ 2532 นายคำอ้าย คำภูเมอื ง นกั การภารโรงพร้อมครอบครวั ได้
บรจิ าคท่ีดินใหโ้ รงเรียน จำนวน 3 ไร่ 1 งาน 90 ตร.ว. และเมื่อเดือน กมุ ภาพนั ธ์ 2533 นายคำพนั สัญแสง
กบั นางอ่อน พนมเขต ชาวบา้ นดงครั่งนอ้ ยไดบ้ ริจาคท่ดี ินให้โรงเรียนอีกจำนวน 50 ตร.ว.
3 กรกฎาคม 2618 โรงเรียนได้เปลี่ยนชื่อเปน็ “โรงเรียนทงุ่ กุลาประชารฐั ” (สมยั นายสอน อดุ ม
ทรัพย์ เป็นครูใหญ่)
ปกี ารศกึ ษา 2540 ไดร้ ับอนุมตั ใิ หเ้ ปิดสอนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ตามโครงการขยายโอกาสทาง
การศกึ ษา (สมยั นายวิจติ ร ศรีภกั ดี เป็นอาจารย์ใหญ่)
ปจั จบุ นั เปิดสอนชน้ั อนุบาลปีท่ี 1 ถึงช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 มหี มบู่ ้านในเขตบริการ 3 หมู่บา้ น คือ
1.บา้ นโพนทอน หมทู่ ี่ 3 2.บา้ นโพนฮาด หมูท่ ี่ 12 และ 3.บา้ นหนองหวั โนน หม่ทู ี่ 13
โดยมี นายประจบ สีลาสม เปน็ ผู้อำนวยการโรงเรยี น
2
แผนทแี่ ละแผนผงั ของสถานศึกษา
แผนผงั ของสถานศึกษา
3
วิสัยทศั น์ (Vision)
วิสัยทศั นเ์ ปน็ เขม็ ทิศนำทางสู่อนาคต เป็นการพัฒนาไปสูภ่ าพฝันทคี่ วรจะเป็นของโรงเรียน โดยได้
กำหนดวสิ ัยทศั น์ ดังน้ี
โรงเรยี นทงุ่ กลุ าประชารฐั ม่งุ จัดการศกึ ษาแบบทุกคนมีสว่ นรว่ ม สรา้ งครมู อื อาชีพ พฒั นาผเู้ รียนให้
เป็นคนดี มคี ุณธรรม นำวชิ าการ ทำงานเป็น ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
พันธกจิ (Mission)
1. พัฒนาระบบบริหารจัดการ “แบบทกุ คนมีสว่ นรว่ ม” ตามหลกั ธรรมาภิบาล ให้โรงเรยี นเปน็
ศนู ย์กลางการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาและชุมชน
2. พฒั นาศักยภาพครูและคุณภาพผู้เรยี นให้มีสมรรถนะตามหลกั สตู รและคุณลกั ษณะในศตวรรษท่ี
๒๑
3. พฒั นาผ้เู รยี น ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาใหเ้ ปน็ มืออาชพี
4. พัฒนาผ้เู รยี นใหม้ ีความสามารถเป็นเลศิ ทางวิชาการ เป็นคนดี มคี ุณธรรม ทำงานเปน็ รกั ถิ่นฐาน
บ้านเกิด เคารพและเชือ่ ม่ันสถาบนั หลกั ของชาติ และการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มี
พระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข
5. จัดการศึกษาเพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ เพอ่ื เป็นมิตรกับสิ่งแวดลอ้ ม ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง
เป้าประสงค์ (Objective)
1. ระบบบรหิ ารจดั การโรงเรียนมีประสิทธิภาพ ทุกภาคส่วนเข้ามามสี ่วนรว่ มในการจดั การศึกษา
2. ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาเปน็ บุคคลแหง่ การเรียนรู้ (มืออาชีพ) มีความรู้และ
จรรยาบรรณตามมาตรฐานวิชาชพี
3. ผ้เู รยี นเปน็ บุคคลแห่งการเรียนรู้ มีความรดู้ า้ นวิชาการ เป็นคนมคี ุณธรรม ทำงานเปน็ มีทักษะดา้ น
อาชีพ มีสมรรถนะตามหลกั สูตร และมคี ุณลกั ษณะของผ้เู รยี นในศตวรรษท่ี ๒๑ มีสขุ ภาวะท่ี
เหมาะสมตามวยั มคี วามสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. ผู้เรยี นมคี วามรักถิ่นฐานบ้านเกิด และสถาบันหลักของชาติ และยดึ มน่ั การปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข มีทศั นคตแิ ละหลักคดิ ที่ถูกต้องต่อบา้ นเมอื ง
และเปน็ พลเมืองที่ดีของชาติ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม มีค่านิยมทีพ่ งึ ประสงค์ มจี ิตสาธารณะ
รับผิดชอบตอ่ สงั คมและผู้อนื่ ซ่อื สัตย์ สุจรติ มธั ยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินยั รกั ษาศลิ ธรรม
กลยทุ ธ์ (Strategic)
กลยทุ ธ์ เปน็ ประเดน็ สำคัญหรอื วาระการพฒั นาตามพนั ธกิจ ทจี่ ะอาศยั การขับเคลื่อนดว้ ยวิธกี ารทาง
กลยทุ ธใ์ ห้มกี ารพฒั นาท่บี ังเกิดผลสัมฤทธิท์ ่ีแตกตา่ ง โดดเด่น และกา้ วกระโดด ดงั นี้
กลยทุ ธ์ท่ี 1 พัฒนาคุณภาพเด็กและผู้เรียน
กลยทุ ธท์ ่ี 2 พัฒนาระบบการบริหารการจดั การ
กลยุทธ์ท่ี 3 พฒั นากระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคญั
4
1. ระดับการศึกษาปฐมวัย
กลยทุ ธท์ ี่ 1 การพฒั นาคุณภาพเด็ก
เปา้ หมายกลยทุ ธ์ข้อที่ 1 สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ มพี ัฒนาการด้านร่างกาย
ตวั ชี้วัดความสำเรจ็
1.1 เดก็ มีนำ้ หนกั ส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
1.2 เดก็ มที ักษะการเคลื่อนไหวตามวัย
1.3 เด็กมสี ขุ นสิ ัยในการดแู ลสขุ ภาพของตน
1.4 เดก็ รูจ้ กั หลีกเลยี่ งต่อสภาวะท่ีเสยี่ งต่อโรคอบุ ัตเิ หตุภัยและสง่ิ เสพติด
เปา้ หมายกลยุทธข์ ้อท่ี 2 สง่ เสรมิ ให้เด็กมพี ัฒนาการด้านอารมณแ์ ละจติ ใจ
ตวั ช้ีวดั ความสำเร็จ
2.1 เดก็ ร่าเริงแจม่ ใสมีความรสู้ ึกท่ดี ีตอ่ ตนเอง
2.2 เด็กมคี วามม่ันใจและกล้าแสดงออก
2.3 เดก็ ควบคมุ อารมณต์ นเองได้เหมาะสมกับวยั
2.4 เด็กชน่ื ชมศลิ ปะดนตรีการเคลื่อนไหวและรักธรรมชาติ
เป้าหมายกลยทุ ธ์ข้อที่ 3 สง่ เสรมิ ให้เด็กมพี ัฒนาการด้านสงั คม
ตัวชี้วัดความสำเรจ็
3.1 เดก็ มวี ินยั รบั ผดิ ชอบเชือ่ ฟังคำส่ังสอนของพ่อแม่ครอู าจารย์
3.2 เดก็ มีความซ่อื สตั ยส์ ุจริตช่วยเหลือแบ่งปัน
3.3 เดก็ เลน่ และทำงานร่วมกับผู้อืน่ ได้
3.4 เด็กประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทย วฒั นธรรมท้องถิ่น และศาสนาทีต่ นนับถือ
เป้าหมายกลยุทธ์ข้อท่ี 4 ส่งเสริมให้เด็กมพี ัฒนาการด้านสติปัญญา
ตวั ชี้วัดความสำเร็จ
4.1 เดก็ สนใจเรยี นรู้สงิ่ รอบตัวซักถามอย่างต้ังใจและรักการเรียนรู้
4.2 เดก็ มีความคดิ รวบยอดเกยี่ วกับสง่ิ ตา่ งๆทเ่ี กิดจากประสบการณ์
การเรียนรู้
4.3 เดก็ มที ักษะทางภาษาทเ่ี หมาะสมกับวยั
4.4 เด็กมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์
4.5 เดก็ มีจนิ ตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์
กลยทุ ธ์ท่ี 2 การพฒั นากระบวนการบริหารและการจัดการ
เปา้ หมายกลยทุ ธ์ข้อที่ 5 โรงเรียนมหี ลักสูตรครอบคลุมพฒั นาการทั้ง ๔ ด้าน
สอดคล้องกับบริบทของทอ้ งถ่ิน
ตัวชี้วัดความสำเรจ็
5.1 โรงเรียนมีหลักสตู รการศึกษาปฐมวัยของสถานศกึ ษา และนำสกู่ าร
ปฏิบตั ิไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
5.2 โรงเรยี นจัดกจิ กรรมเสริมสร้างความตระหนกั รู้ และเข้าใจหลักการจัด
การศกึ ษาปฐมวยั
5
เป้าหมายกลยุทธ์ข้อท่ี 6 โรงเรยี นจดั ครูใหเ้ พียงพอกบั ช้ันเรยี น
ตัวช้วี ัดความสำเรจ็
6.1 ครูมวี ุฒคิ วามรแู้ ละความสามารถในด้านการศกึ ษาปฐมวัย
6.2 ครบู รหิ ารจัดการชนั้ เรยี นท่สี รา้ งนิสัยในเชงิ บวก
เปา้ หมายกลยุทธข์ ้อที่ 7 โรงเรยี นส่งเสริมใหค้ รูมีความเชยี่ วชาญด้านการจดั
ประสบการณ์
ตัวชว้ี ัดความสำเร็จ
7.1 ครูจดั ทำแผนการจดั ประสบการณ์ท่ีสอดคล้องกบั หลกั สตู รการศกึ ษา
ปฐมวยั และสามารถจัดประสบการณ์การเรียนร้ทู ีห่ ลากหลาย
สอดคลอ้ งกบั ความแตกต่างระหว่างบุคคล
7.2 ครูใชเ้ ครือ่ งมือการวดั และประเมนิ พัฒนาการของเด็กอยา่ ง
หลากหลายและสรุปรายงานผลพฒั นาการของเด็กแกผ่ ้ปู กครอง
เป้าหมายกลยทุ ธข์ ้อท่ี 8 โรงเรียนจัดสภาพแวดล้อม และสื่อเพื่อการเรียนรู้
อย่างปลอดภยั และเพยี งพอ
ตวั ชีว้ ัดความสำเร็จ
8.1 ครูจัดส่งิ แวดลอ้ มใหเ้ กิดการเรยี นรู้ได้ตลอดเวลา
8.2 เปน็ แหลง่ เรียนรูเ้ พ่อื พฒั นาการเรยี นรู้ของเด็ก
เปา้ หมายกลยทุ ธ์ข้อท่ี 9 โรงเรียนใหบ้ ริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสอ่ื การเรียนรู้
เพื่อสนับสนนุ การจดั ประสบการณ์
ตวั ชวี้ ดั ความสำเร็จ
9.1 ครูใชส้ ่ือและเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกบั พฒั นาการของเด็ก
9.2 ครจู ัดทำสารนทิ ศั นแ์ ละนำมาไตร่ตรองเพื่อใชป้ ระโยชนใ์ นการพัฒนาเดก็
เปา้ หมายกลยทุ ธข์ ้อที่ 10 โรงเรยี นมีระบบบรหิ ารคุณภาพท่ีเปิดโอกาสให้ผเู้ กีย่ วขอ้ ง
ทุกฝา่ ยมสี ่วนรว่ ม
ตวั ช้วี ัดความสำเร็จ
10.1 โรงเรยี นมรี ะบบ และกลไกให้ผมู้ สี ว่ นร่วมทกุ ฝ่ายตระหนกั และเขา้ ใจ
การจัดการศึกษาปฐมวยั
10.2 โรงเรยี นสรา้ งการมสี ว่ นร่วมและแสวงหาความรว่ มมือกับผู้ปกครอง
ชมุ ชนและทอ้ งถ่นิ
กลยุทธ์ท่ี ๓ การจดั ประสบการณท์ ีเ่ นน้ เดก็ เปน็ สำคัญ
เปา้ หมายกลยทุ ธข์ ้อที่ 11 ครจู ัดประสบการณท์ ่ีสง่ เสริมใหเ้ ด็กมพี ัฒนาการทุกด้านอยา่ ง
สมดุลเตม็ ศกั ยภาพ
ตัวชีว้ ดั ความสำเรจ็
11.1 ครูจัดประสบการณท์ ส่ี ่งเสริมให้เด็กมพี ัฒนาการด้านรา่ งกาย อารมณ์
จิตใจ สังคมและ สติปัญญา ทกุ ด้านอย่างสมดลุ
11.2 ครจู ดั ประสบการณท์ ่ีส่งเสรมิ ให้เดก็ มพี ัฒนาการหลากหลาย
สอดคลอ้ งกับความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล
6
เป้าหมายกลยุทธ์ข้อที่ 12 การจดั การเรยี นการสอนที่ยดึ โยงกบั บริบทของชุมชน
และท้องถิน่
ตัวชว้ี ดั ความสำเร็จ
12.1 ครจู ัดกจิ กรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรจู้ ากแหล่งเรยี นรู้และภมู ิปญั ญา
ท้องถนิ่ ใน การจัดการเรียนการสอน
12.2 ชมุ ชนมีส่วนรว่ มแสดงความคิดเหน็ หรือรว่ มจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนอย่างเป็นรปู ธรรมและต่อเนื่อง
เปา้ หมายกลยทุ ธข์ ้อท่ี 13 ครูสรา้ งโอกาสให้เด็กไดร้ ับประสบการณต์ รง เล่น
และปฏบิ ตั ิอยา่ งมีความสขุ
ตัวชวี้ ดั ความสำเรจ็
13.1 ครูจดั ประสบการณใ์ ห้สอดคล้องกับแบบการเรียนรู้ของเด็กเด็ก
ไดล้ งมือทำเรียนรูผ้ ่านประสาทสมั ผสั ท้ังหา้ ได้เคล่อื นไหว สำรวจ เลน่
สังเกต สืบคน้ ทดลอง
13.2 ครจู ดั ประสบการณ์ทเ่ี ชือ่ มโยงกบั ประสบการณเ์ ดมิ ใหเ้ ดก็ มีโอกาส
เลอื กทำกจิ กรรมอย่างอสิ ระ ความสนใจ ตอบสนองต่อวธิ ีการเรยี นรู้
ของเด็กเป็นรายบคุ คล
เป้าหมายกลยทุ ธ์ข้อที่ 14 ครูจดั บรรยากาศทีเ่ อ้อื ต่อการเรียนรู้ ใช้ส่อื และเทคโนโลยีท่ี
เหมาะสมกับวยั
ตัวช้ีวัดความสำเรจ็
14.1 ครใู ชส้ อ่ื และเทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมกบั วัย
14.2 ครูจดั บรรยากาศ และสภาพแวดลอ้ มในห้องเรยี นทเี่ อื้อต่อการเรียนรู้
เป้าหมายกลยทุ ธ์ข้อท่ี 15 ครูประเมนิ พัฒนาการเด็กตามสภาพจริง และนำผลการ
ประเมนิ พฒั นาการเด็กไปปรับปรงุ การจดั ประสบการณ์
และพัฒนาเดก็
15.1 ครูใช้เครือ่ งมอื วัด และประเมินพฒั นาการของเด็กตามสภาพจริง
15.2 ครนู ำผลการประเมนิ พัฒนาการเด็กไปปรับปรงุ และรายงาน
พัฒนาการของเด็กแก่พ่อ แม่ ผปู้ กครอง
2. ระดับการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน
กลยุทธ์ที่ 1 คุณภาพของผเู้ รียน
เป้าหมายกลยทุ ธข์ ้อที่ 1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผ้เู รียน
ตัวชว้ี ัดความสำเร็จ
1.1 ผู้เรยี นมีความสามารถในการอา่ น การเขียน การส่อื สาร และการคิด
คำนวณ
1.2 ผู้เรียนมคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ
อภปิ รายแลกเปลีย่ นความคดิ เห็น และแก้ปัญหา
1.3 ผู้เรียนมคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม
7
1.4 ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร
1.5 ผูเ้ รียนมีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษา
1.6 ผูเ้ รียนมีความรู้ ทกั ษะพ้ืนฐาน และเจตคติที่ดตี ่องานอาชพี
เป้าหมายกลยทุ ธข์ ้อที่ 2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผูเ้ รียน
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
2.1 ผเู้ รียนมคี ุณลักษณะและค่านิยมที่ดตี ามที่สถานศึกษากำหนด
2.2 ผ้เู รยี นมคี วามภูมิใจในทอ้ งถิน่ และความเป็นไทย
2.3 ผเู้ รยี นมกี ารยอมรบั ท่จี ะอย่รู ่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย
2.4 ผู้เรียนมีสขุ ภาวะทางร่างกาย และจติ สงั คม
กลยทุ ธท์ ี่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
เป้าหมายกลยุทธ์ข้อท่ี 3 โรงเรียนมีเปา้ หมาย วิสัยทัศน์ และพนั ธกจิ ทกี่ ำหนดชัดเจน
ตวั ช้ีวัดความสำเร็จ
3.1 โรงเรียนมีเปา้ หมายทก่ี ำหนดชดั เจน
3.2 โรงเรียนมีวิสยั ทัศน์ทกี่ ำหนดชัดเจน
3.3 โรงเรยี นมีพันธกิจทก่ี ำหนดชัดเจน
เป้าหมายกลยุทธ์ข้อที่ 4 โรงเรียนมีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา
ตัวชี้วดั ความสำเรจ็
4.1 โรงเรียนมโี ครงสร้างบรหิ ารสถานศกึ ษาท้งั 4 ฝ่ายชดั เจน
4.2 โรงเรยี นมีแผนพฒั นาสถานศกึ ษาทีช่ ดั เจน
4.3 โรงเรียนมีระบบประกันคุณภาพการศึกษา
เปา้ หมายกลยุทธ์ข้อท่ี 5 โรงเรยี นดำเนนิ งานพฒั นาวิชาการท่เี นน้ คุณภาพผเู้ รยี นรอบด้าน
ตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย
ตวั ชว้ี ดั ความสำเรจ็
5.1 โรงเรยี นมกี ารจัดทำหลักสูตร
5.2 โรงเรียนมีโครงสร้างหลักสตู ร
5.3 โรงเรียนส่งเสริมคุณภาพผเู้ รียน
5.4 โรงเรยี นมีการวดั และประเมินผลผเู้ รียน
4.5 โรงเรียนกำหนดเป้าหมาย ผลสัมฤทธ์ขิ องผู้เรยี น
4.6 โรงเรียนมีแหล่งเรยี นรู้
4.7 โรงเรียนมีการกำหนดให้ครผู สู้ อนมีวจิ ยั ในช้ันเรียน
5.8 โรงเรยี นมีการนิเทศตดิ ตาม
เปา้ หมายกลยทุ ธ์ข้อที่ 6 โรงเรยี นส่งเสริมและสนับสนนุ การพัฒนาครแู ละบุคลากร
ใหม้ ีความเช่ยี วชาญทางวิชาชพี
ตัวชี้วัดความสำเรจ็
6.1 โรงเรียนส่งเสรมิ และสนับสนุนใหค้ รเู ข้ารับการอบรมตามท่ีกระทรวง
กำหนด
6.2 โรงเรียนส่งเสริมและสนบั สนนุ ใหค้ รูมกี ารพฒั นาดา้ นเทคโนโลยี
8
6.3 โรงเรยี นสง่ เสรมิ และสนับสนุนให้ครมู คี วามรู้ความสามารถตาม
มาตรฐานตำแหน่ง
เปา้ หมายกลยุทธ์ข้อท่ี 7 โรงเรียนจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทเ่ี อื้อต่อการจดั การ
เรียนรูอ้ ย่างมีคุณภาพ
ตวั ช้วี ดั ความสำเร็จ
7.1 โรงเรยี นมหี อ้ งเรยี น หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร อาคารเรียนมนั่ คง สะอาดและ
ปลอดภัย มีส่ิงอำนวยความสะดวกพอเพยี ง อย่ใู นสภาพการงานไดด้ ี
สภาพแวดลอ้ มร่มรืน่ และมีแหล่งเรียนรสู้ ำหรับผ้เู รียน
7.2 โรงเรยี นมีการสร้างและพฒั นาแหล่งเรยี นรภู้ ายในสถานศึกษาและใช้
ประโยชนจ์ ากแหลง่ เรียนรู้ ทั้งภายในและภายนอกสถานศกึ ษา เพ่ือ
พฒั นาการเรียนรู้ ของผ้เู รยี น และบุคลากรของสถานศกึ ษารวมท้งั
ผ้เู กย่ี วขอ้ ง
เปา้ หมายกลยุทธ์ข้อท่ี8 โรงเรียนจัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนบั สนนุ การบริหารจัดการ
และการจัดการเรียนรู้
ตวั ชี้วดั ความสำเร็จ
โรงเรียนมหี อ้ งสมุด ห้องเรียน ห้องปฏิบตั กิ ารต่าง ๆมีการบริการสอื่ และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพือ่ สนับสนุนการจดั การเรียนรู้
กลยทุ ธ์ท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำคญั
เปา้ หมายกลยทุ ธ์ข้อที่ 9 ครจู ดั การเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ตั จิ ริง และสามารถ
นำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตได้
ตวั ช้วี ดั ความสำเรจ็
ครจู ัดกิจกรรมใหผ้ ้เู รียนได้เรียนรู้จากแหล่งเรยี นร้แู ละภมู ิปัญญาท้องถ่ินใน
การจัดการเรียนการสอน
เปา้ หมายกลยทุ ธข์ ้อท่ี 10 ครใู ชส้ อื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแลง่ เรยี นรทู้ ี่เออ้ื ต่อการเรยี นรู้
ตวั ชี้วดั ความสำเรจ็
ครูจดั กจิ กรรมใหผ้ เู้ รยี นได้ฝกึ ทักษะแสดงออกนำเสนอผลงานแสดงความ
คิดเหน็ และแสวงหาความรู้จากส่ือเทคโนโลยีดว้ ยตนเองอย่างเปน็ รูปธรรม
และตอ่ เนื่อง
เป้าหมายกลยทุ ธข์ ้อท่ี 11 ครมู กี ารบรหิ ารจัดการชัน้ เรยี นเชงิ บวก
ตวั ช้วี ดั ความสำเรจ็
11.1 ครจู ดั ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื ผเู้ รยี นที่มปี ระสทิ ธิภาพและครอบคลมุ
ผเู้ รียนทุกคน
11.2 ครจู ัดกิจกรรมให้ผู้เรยี นมสี ว่ นร่วมในการจดั บรรยากาศ
สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอำนวยความสะดวกทเี่ ออื้ ต่อการ
เรียนรู้
9
เปา้ หมายกลยทุ ธ์ข้อที่ 12 ครมู กี ารตรวจสอบและประเมินผ้เู รยี นเป็นระบบ
และนำผลมาพฒั นาผู้เรยี น
ตัวชี้วดั ความสำเร็จ
ครูมีการตรวจสอบและประเมินคณุ ภาพการจัดการเรียนรู้อยา่ งเป็นระบบ
และนำผลมาพฒั นาผ้เู รยี น
เปา้ หมายกลยุทธข์ ้อที่ 13 ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมลู สะท้อนกลับเพ่ือพัฒนา
และปรับปรงุ การจดั การเรยี นรู้
ตวั ชว้ี ดั ความสำเรจ็
ครแู ละผู้มีส่วนเกีย่ วข้องรว่ มกันแลกเปล่ยี นความรู้และประสบการณ์
รวมทง้ั ให้ข้อมลู สะท้อนกลับในการปรบั ปรงุ และพัฒนาการจัดการเรียนรู้
1.2 ข้อมลู ครูและบุคลากรของสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564 (ปีการศึกษาท่ีรายงาน)
1.2.1 ครปู ระจำการ
ท่ี ช่อื -ช่ือสกุล อายุ อายุ ตำแหน่ง วทิ ย วุฒิ วิชาเอก สอน จำนวนคร้งั /
ราช ฐานะ วชิ า/ ชัว่ โมงที่รบั
การ ชนั้ การพัฒนา/ปี
1 นายประจบ สลี าสม 58 20 ผอ.ร.ร. คศ.3 ค.ม. การบรหิ ารการศกึ ษา
2 นายวจนพงศ์ หารสุโพธิ์ 29 2 ครู คศ.1 ค.บ. คณิตศาสตร์ ม.1
3 นางเตอื นใจ วรรณศลิ ป์ 54 13 ครู คศ.3 ศศ.ม. การบรหิ ารการศึกษา อ.3
4 นายสชุ าติ แกว้ ไชย 48 26 ครู คศ.3 ค.บ. บริหารการศกึ ษา ม.3
5 นางสาวธนชั ชา ธุรกิจ 33 2 ครู คศ.1 ศน.บ. การสอนภาษาอังกฤษ ป.4
6 นางฉตั รฤดี ภูทอง 35 9 ครู คศ.๒ ค.บ. หลกั สตู รการสอน ป.1
7 นายนรนิ ทร์ ไชยราช 61 29 ครู คศ.3 ค.บ. ประถมศึกษา ม.2
8 นางสุทารี สมสขุ 45 22 ครู คศ.3 ค.บ. บรรณารักษศาสตร์ ป.3
9 นายวิเชียร ศรีเทยี่ ง 52 19 ครู คศ.3 กศ.ม. วัดผล ป.5
10 นางสจุ ติ รา เจริญราช 56 28 ครู คศ.3 ศษ.ม. บรหิ ารการศกึ ษา ป.6
11 นายขวญั ชยั สมสขุ 48 22 ครู คศ.3 ค.บ. คอมพิวเตอร์ ป.6
12 นางนนี าถ มะลา 45 21 ครู คศ.3 ศษ.ม. บริหารการศกึ ษา ป.5
13 นางสเุ นตตา แก้วไชย 49 26 ครู คศ.3 ค.บ. บริหารการศกึ ษา ม.1
14 นายณัฐคณนิ แสงงาม ครู วศ.บ. วิศกรรมสิง่ แวดล้อม ม.2
1.2.2 พนกั งานราชการ/ครอู ัตราจ้าง/เจา้ หน้าท่ีอนื่ ๆ
ท่ี ชอ่ื -ช่ือสกุล อายุ อายุ ตำแหนง่ วฒุ ิ วชิ าเอก สอน จา้ งด้วย
วิชา/ช้ัน เงิน
ราชการ ป.2
1. นายวิรัตน์ ดวงปาโคตร 56 22 พนักงาน ป.กศ พลศึกษา ม.1
ป.1
ราชการ .สงู
2. นางสาวอรพรรณ กนั หาไชย 29 4 ธุรการฯ คบ. ชวี วิทยา
3. นายบรรชาชาญ น้อยบาท 26 3 ครูอตั ราจ้าง คณิตศาสตร์
4. น.ส.เอวิกา กล้วยปา่ 24 2 ครูอตั ราจา้ ง คณิตศาสตร์
10
1.2.3 สรุปจำนวนบุคลากร หมายเหตุ
ผบู้ ริหาร (รวมรองผอ.) ครผู สู้ อน พนักงานราชการ ครูอัตราจ้าง เจ้าหนา้ ที่อืน่ ๆ
1 12 1 3 2
1.3 ขอ้ มูลนกั เรยี น
1) จำนวนนักเรียน ปีการศกึ ษา 2564 ทั้งหมด 149 คน (ข้อมลู ณ 31 มี.ค. 2565)
ระดบั ช้ันเรียน จำนวน เพศ รวม เฉล่ยี ต่อ หมายเหตุ
หอ้ ง ชาย หญิง หอ้ ง
อนุบาล 2 1 9 5 14
อนุบาล 3 1 4 7 11
รวม 2 13 12 25
ประถมศึกษาปที ่ี 1 1 11 6 17
ประถมศึกษาปีที่ 2 1 9 11 20
ประถมศึกษาปที ่ี 3 1 10 4 14
ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 1 13 4 17
ประถมศึกษาปที ี่ 5 1 6 5 11
ประถมศึกษาปีท่ี 6 1 6 10 16
รวม 6 55 40 95
มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 1 4 04
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 1 8 2 10
มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 1 12 2 14
รวม 3 24 4 28
รวมทั้งหมด 11 92 56 148
2) จำนวนนกั เรียน ปีการศึกษา 2562 – 2564 (ข้อมลู ณ 10 มี.ค. 2565)
เปรยี บเทียบจำนวนนกั เรียน ปีการศึกษา 2562 – 2564
ระดับชั้นเรยี น ปกี ารศกึ ษา 2562 ปกี ารศึกษา 2563 ปกี ารศึกษา 2564
อนบุ าล 2 16 11 14
อนบุ าล 3 18 16 11
รวม 34 27 25
ประถมศกึ ษาปีที่ 1 15 20 17
ประถมศึกษาปที ี่ 2 16 14 20
ประถมศึกษาปที ่ี 3 12 16 14
ประถมศึกษาปที ี่ 4 16 12 17
ประถมศกึ ษาปีที่ 5 9 16 11
ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 9 8 16
รวม 77 86 95
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 15 9 4
11
เปรียบเทียบจำนวนนกั เรยี น ปกี ารศกึ ษา 2562 – 2564
ระดับชน้ั เรยี น ปีการศกึ ษา 2562 ปีการศึกษา 2563 ปกี ารศึกษา 2564
มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 12 15 10
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 11 12 14
รวม 38 36 28
รวมทั้งหมด 149 149 148
1.4 ข้อมลู อาคารสถานที่
อาคารเรียนจำนวน 2 หลัง อาคารประกอบจำนวน 3 หลงั ส้วม 6 หลัง
สนามเดก็ เลน่ 1 สนาม สนามฟตุ บอล 1 สนาม สนามเอนกประสงค์ 1 สนาม สนามบาสเกตบอล 1 สนาม
อื่นๆ (ระบุ) ........-...........
1.5 ขอ้ มลู งบประมาณ
งบประมาณ (รับ-จ่าย) ปงี บประมาณ 2564 และ 2565
รายรบั จำนวน/บาท รายจ่าย จำนวน/บาท
เงนิ งบประมาณ 520,000 งบดำเนินการ/เงนิ เดือน-ค่าจ้าง
เงินนอกงบประมาณ 367,038 งบพัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษา
เงินที่ไดร้ บั จาก อปท 211,000 งบอ่ืน ๆ (ระบ)ุ
เงินรายได้
รวมรายรบั 578,038 รวมรายจา่ ย
งบดำเนินการ/เงินเดอื น เงินค่าจ้าง คิดเป็นร้อยละ 87.00 ของรายรับ
งบพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษา คิดเป็นร้อยละ 6.90 ของรายรับ
1.6 ขอ้ มลู สภาพชุมชนโดยรวม
1.6.1 สภาพชมุ ชนรอบบรเิ วณโรงเรียนมลี ักษณะ เปน็ ทร่ี าบทุ่งนาในพนื้ ทท่ี ุ่งกุลาร้องไห้ มี
ประชากรประมาณ 1,950 คน (ข้อมูลจากเว็บไซต์องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลดงครัง่ น้อย) บริเวณใกลเ้ คยี ง
โดยรอบโรงเรยี น ไดแ้ ก่ วดั โนนทอน โรงพยาบาลชุมชน อาชีพหลักของชุมชน คือ เกษตรกรรม สว่ นใหญ่นับถือ
ศาสนา พุทธ ประเพณ/ี ศิลปวฒั นธรรมทอ้ งถ่นิ ทีเ่ ป็นที่รู้จักโดยทว่ั ไป คือ บญุ บ้ังไฟ บญุ ผะเวต ประเพณีลอย
กระทง
1.6.2 ผปู้ กครองสว่ นใหญ่ จบการศกึ ษาระดับ ม.3 อาชีพหลัก คือ เกษตรกรรม ส่วนใหญน่ ับถอื
ศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉล่ียต่อครอบครัว ต่อปี 3,000 บาท จำนวนคนเฉลย่ี ตอ่
ครอบครัว 3 คน
1.6.3 โอกาสและข้อจำกดั ของโรงเรยี น โรงเรยี นทุง่ กลุ าประชารัฐยังมปี ัญหาการขาด
ปัจจยั พื้นฐานต่าง ๆ ที่จำเปน็ เชน่ ถนนภายในโรงเรียนบางส่วนยงั เป็นถนนดนิ มีสภาพเปน็ โคลนเลนในฤดฝู น
การสญั จรไปมาลำบาก รวมท้ังครุภัณฑ์สอื่ วสั ดุอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ท่ีตอ้ งใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอนเช่น โตะ๊
เก้าอ้นี ักเรยี นชำรดุ
ในดา้ นโอกาส โรงเรยี นอยู่ใกล้กบั แหลง่ เรยี นรูท้ ดี่ ีมชี ือ่ เสยี ง เช่น ศูนยป์ ราชญ์ชาวบา้ น หมู่บา้ น
ทอ่ งเทย่ี วเชงิ เกษตร ในการได้รับการสนบั สนนุ จากชุมชนเป็นไปดว้ ยดีตลอด ท้ังการบรจิ าคต่าง ๆ การสนบั สนุน
12
สอื่ วทิ ยากร ในส่วนข้อจำกดั ของโรงเรียน อยู่ไกลจากชุมชนเขตบรกิ าร อยนู่ อกเขตชมุ ชน เศรษฐกจิ ของชมุ ชน
ยังไม่ดีพอทจ่ี ะมาสนบั สนนุ โรงเรยี นได้อย่างเต็มท่ี
1.7 โครงสร้างหลกั สูตรสถานศกึ ษา
โครงสรา้ งเวลาเรยี นระดบั ประถมศึกษา
กลมุ่ สาระการเรยี นรู/้ กจิ กรรม เวลาเรยี น
ระดบั ประถมศกึ ษา
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖
รายวิชาพ้ืนฐาน ๑๖๐
๑๖๐
ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘๐
คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐
๔๐
วทิ ยาศาสตร์ 8๐ 80 8๐ ๘๐ ๘๐
๘๐
สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 40 40 40 ๑๒๐ ๑๒๐
ประวัติศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๘๐
ศาสนาศีลธรรม จรยิ ธรรม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐
๘๐
หนา้ ท่พี ลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนิน 40 40 40 ๘๐ ๘๐ ๘๐
ชวี ิตในสังคม ๘๔๐
เศรษฐศาสตร์ 40
40
ภูมศิ าสตร์
40
สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 40 40 40 ๘๐ ๘๐
40
ศลิ ปะ 40 40 40 ๘๐ ๘๐ 30
10
การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐
ภาษาต่างประเทศ 16๐ 16๐ 16๐ ๘๐ ๘๐
รวมเวลาเรียน (พ้ืนฐาน) 840 840 840 ๘๔๐ ๘๔๐
รายวิชาเพิ่มเตมิ
ภาษาองั กฤษเพมิ่ เติม 40 40 40
คอมพิวเตอร์ 40 40
ตา้ นการทุจรติ 40 40 40 40 40
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน
กจิ กรรมแนะแนว 40 40 40 40 40
กจิ กรรมนักเรยี น 40 40 40 40 40
- ลูกเสือยวุ กาชาด
- ชมุ นมุ 30 30 30 30 30
กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ 10 10 10 10 10
รวมเวลากจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
รวมเวลาทัง้ หมด ๑,๐๐๐ ชั่วโมง ๑,๐๐๐ ช่วั โมง
13
โครงสรา้ งเวลาเรียนระดบั มธั ยมศกึ ษา
กล่มุ สาระการเรยี นร้/ู กิจกรรม เวลาเรยี น
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ม.๑ ม.๒ ม.๓
ภาษาไทย ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
คณติ ศาสตร์ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
วทิ ยาศาสตร์ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
สงั คมศึกษา ศาสนา
และวฒั นธรรม ๑๖๐ (๔ นก.) ๑๖๐ (๔ นก.) ๑๖๐ (๔ นก.)
ประวตั ศิ าสตร์ ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.)
ศาสนาศีลธรรม จริยธรรม
หนา้ ท่พี ลเมือง วัฒนธรรม ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
และการดำเนินชีวติ ในสงั คม
เศรษฐศาสตร์ ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.)
ภูมศิ าสตร์ ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.)
สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.)
ศิลปะ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๘๘๐ (๒๒ นก) ๘๘๐ (๒๒ นก) ๘๘๐ (๒๒ นก)
ภาษาต่างประเทศ ปีละไม่นอ้ ยกวา่ ๒๐๐ ชั่วโมง
รวมเวลาเรยี น (พืน้ ฐาน)
รายวชิ าเพมิ่ เตมิ
กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน
กิจกรรมแนะแนว 40 40 40
กิจกรรมนกั เรียน 40 40 40
- ลกู เสอื ยุวกาชาด 25 25 25
- ชมุ นมุ
กิจกรรมเพ่ือสงั คมและ 15 15 15
สาธารณประโยชน์
รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
รวมเวลาเรียนทง้ั หมด ไม่เกนิ ๑,๒๐๐ ช่วั โมง
1.8 แหล่งเรยี นรู้ ภูมิปญั ญาท้องถ่นิ
1.8.1 แหลง่ เรยี นรู้
(1) แหล่งเรยี นรู้ภายในโรงเรยี น
1.1 หอ้ งสมดุ มีขนาด 36 ตารางเมตร จำนวนหนังสอื ในห้องสมดุ 500
เลม่ การสืบคน้ หนังสือและการยมื -คนื ใชร้ ะบบ – จำนวนนกั เรียนทใ่ี ช้หอ้ งสมุด ในปีการศึกษาทรี่ ายงาน เฉลี่ย
- คนต่อวนั คดิ เปน็ รอ้ ยละ - ของนักเรียนทงั้ หมด
14
1.2 หอ้ งปฏบิ ัตกิ าร
(1) หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารวทิ ยาศาสตร์ จำนวน 1 หอ้ ง
(2) หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารคอมพิวเตอร์ จำนวน 1 ห้อง
(3) ห้องปฏิบตั กิ ารทางภาษา จำนวน - ห้อง
(4) ห้อง (ระบุ) ศลิ ปะ จำนวน 1 หอ้ ง
1.3 คอมพวิ เตอร์ จำนวน 1๒ เครอ่ื ง
ใชเ้ พื่อการเรียนการสอน 11 เครื่อง
ใช้เพ่ือสืบคน้ ข้อมูลทางอินเทอร์เนต็ 11 เคร่อื ง
จำนวนนกั เรยี นทส่ี ืบค้นข้อมูลทางอนิ เทอรเ์ นต็ ในปกี ารศึกษาท่ีรายงาน
เฉลยี่ 30 คน ตอ่ วัน คิดเปน็ รอ้ ยละ 20 ของนกั เรียนท้ังหมด
ใช้เพ่อื การบรหิ ารจัดการ 1 เครอ่ื ง
1.4 แหล่งเรยี นรอู้ น่ื ๆ โปรดระบุ
(๑) ช่ือแหล่งเรียนร้แู ปลงผัก GAP สถิติการใช้งาน(จำนวนครั้ง/ปี) 40
(2) ชือ่ แหล่งเรยี นรโู้ รงเพาะเหด็ สถิติการใชง้ าน(จำนวนครั้ง/ป)ี 200
(3) ชื่อแหลง่ เรียนร้บู ่อเล้ียงปลา สถติ กิ ารใช้งาน(จำนวนคร้ัง/ปี) 200
(4) ชือ่ แหลง่ เรียนรู้โรงเลยี้ งไก่ สถติ ิการใช้งาน(จำนวนคร้งั /ปี) 200
ฯลฯ
(2) แหล่งเรยี นรู้ภายนอกโรงเรียน
ชื่อแหล่งเรียนรู้ สถิตกิ ารใชจ้ ำนวนคร้ัง/ปี
1.ศนู ย์ปราชญช์ าวบา้ น 4
2.วัดสวา่ งทุ่งรังสี 5
3.วดั สว่างอารมณ์ 5
4.ศนู ยเ์ รยี นรู้เศรษฐกจิ พอเพียงบา้ นโพนฮาด 5
8.2 ภมู ิปัญญาท้องถนิ่
ปราชญช์ าวบ้าน/ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผทู้ รงคุณวุฒิ ท่ีสถานศกึ ษาเชญิ มาใหค้ วามรแู้ ก่ครู นักเรยี น
ในปกี ารศึกษาทีร่ ายงาน
1) ชือ่ -สกุล นายแสวง มะโนลัย ใหค้ วามรู้เรอ่ื ง เศรษฐกิจพอเพยี ง
สถติ กิ ารใหค้ วามรใู้ นโรงเรียนแห่งนี้ จำนวน 2 ครง้ั /ปี
2) ชอ่ื -สกุล นางหอมจันทร์ บญุ ครอง ให้ความรเู้ ร่ือง การทำขนมไทย
สถิตกิ ารให้ความรใู้ นโรงเรยี นแหง่ น้ี จำนวน 2 ครั้ง/ปี
3) ช่ือ-สกุล นางลำไพ พนมเขต ใหค้ วามรู้เร่ือง การทำน้ำยาเอนกประสงค์
สถิติการใหค้ วามรู้ในโรงเรยี นแหง่ นี้ จำนวน 2 ครง้ั /ปี
4) ช่อื -สกลุ นายทำนอง ตรี ะสี ให้ความรู้เรือ่ ง การทำปยุ๋ อินทรยี ์
สถติ กิ ารให้ความรใู้ นโรงเรยี นแห่งน้ี จำนวน 2 ครั้ง/ปี
15
1.9 ผลงานดีเด่นในรอบปีที่ผา่ นมา
(1) ผลงานดีเด่น
ประเภท ระดับรางวลั /ชื่อรางวลั ทไ่ี ดร้ ับ หน่วยงานที่มอบรางวัล
สถานศกึ ษา - -
ผบู้ รหิ าร(ระบุชือ่ ) ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาดีศรเี มืองเกษ สมาคมครรู ้อยเอ็ด
นานประจบ สลี าสม
ครู(ระบุชื่อ) ครูดีศรีเมืองเกษ สพป.รอ.๒
นางเตอื นใจ วรรณศิลป์ ครดู ีศรีเมืองเกษ สพป.รอ.๒
นางสาวชฎาวรรณ ทวนี ันท์
ครูดีศรีเมืองเกษ สพป.รอ.๒
นายขวัญชัย สมสุข ครูดีศรเี มืองเกษ สพป.รอ.๒
นางนนี าถ มะลา ครดู ศี รเี มืองเกษ สพป.รอ.๒
ครูดศี รเี มืองเกษ สพป.รอ.๒
นายวิเชียร ศรีเที่ยง รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. ระดับเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา สพฐ.
นายสุชาติ แกว้ ไชย เคร่อื งหมายเชดิ ชเู กยี รติ “ครุ ุสดดุ ”ี ระดับชาติ ครุ สุ ภา
นางสทุ ารี สมสขุ -
นกั เรยี น(ระบชุ ่ือ) -
(2) งาน/โครงการ/กจิ กรรม ทป่ี ระสบผลสำเร็จปที ผี่ ่านมา
ท่ี ชอ่ื วตั ถปุ ระสงค์/เป้าหมาย วิธดี ำเนนิ การ ตัวบ่งชี้
งาน/โครงการ/กิจกรรม (ย่อๆ) ความสำเรจ็
(จำนวน/รอ้ ยละ)
๑. กิจกรรมอาหารกลางวนั ส่งเสรมิ สขุ ภาวะ จดั ให้นักเรียนทุกคนได้ ๑๐๐
รับประทานทุกคน
๒. กฬี า สง่ เสรมิ สขุ ภาวะ นักเรยี นเขา้ แขง่ ขัน ๑๐๐
๓. กจิ กรรมชมุ นมุ สง่ เสรมิ สุนทรียภาพ นกั เรยี นรว่ มกจิ กรรม ๑๐๐
ชุมนุม
๔. กจิ กรรมหนา้ เสาธง ส่งเสริมคุณลกั ษณะ นกั เรียนจดั กจิ กรรมท่ี ๑๐๐
หลากหลายหน้าเสาธง
๕. กิจกรรมวันสำคญั ส่งเสรมิ คณุ ลักษณะ นกั เรยี นเขา้ ร่วม ๑๐๐
กจิ กรรม
๖. กจิ กรรมการอ่านออกเขียนได้ ผู้เรียนมคี วามสามารถในการ ดำเนินการจดั กิจกรร ๙๕
สือ่ สารได้ อ่านและเขียนไดเ้ หมาะสมตาม การเรยี นรู้ ฝึกปฏิบตั ิ
ระดบั ชั้น ในระดับดเี ยย่ี ม และมกี ารประเมินผล
๗. นิทรรศการผลงานนักเรียน จดั แสดงเผยแพร่การ จดั นิทรรศการของ ๑๐๐
ดำเนินงานในรอบปี นักเรยี นให้กับ
ผ้ปู กครองไดเ้ ข้าชม
16
ที่ ชอ่ื วตั ถุประสงค์/เป้าหมาย วิธีดำเนนิ การ ตวั บง่ ช้ี
งาน/โครงการ/กจิ กรรม
(ย่อๆ) ความสำเรจ็
๘. โครงการส่งเสริมผเู้ รียนมี
ความพร้อมในการศึกษาต่อ (จำนวน/ร้อยละ)
การฝึกงาน หรอื การทำงาน
(สรา้ งงาน สร้างอาชีพ) 2.1 เพื่อสง่ เสริมผเู้ รยี นให้มี แบ่งความรับผดิ ชอบ ๑๐๐
๙. กจิ กรรมครูตน้ แบบ ความรู้ ทักษะ และเจตคติท่ดี ี ดูแลกิจกรรมต่าง ๆ
๑๐. ระบบชว่ ยเหลอื ดแู ลนักเรียน
พร้อมทจี่ ะศกึ ษาต่อใน
ระดับชน้ั ท่ีสงู ข้นึ หรือมวี ฒุ ิ
ภาวะทางอาชีพเหมาะสมกับ
ชว่ งวัย
2.2 เพ่ือส่งเสรมิ ผู้เรียนให้
ทำงานอย่างมีความสขุ มุ่งมั่น
พฒั นางานและภูมใิ จในผลงาน
ของตนเอง
2.3 เพื่อส่งเสรมิ ผู้เรยี นรกั การ
ทำงานตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ
พอเพียง และให้ทำงานรว่ มกับ
ผู้อนื่ ได้
2.4 เพื่อสง่ เสรมิ ผ้เู รียนมี
ความรู้สกึ ทีด่ ตี ่ออาชีพสุจริต
และหาความรู้เกี่ยวกับอาชพี ที่
ตนสนใจ
สง่ เสริมครูใหไ้ ดร้ ับการพฒั นา/ สง่ เสรมิ ใหค้ รูเขา้ รบั การ ๘๕
ยกย่อง พัฒนา/ประกวดตา่ ง ๆ
สถานศกึ ษามรี ะบบดแู ล จัดให้มีระบบชว่ ยเหลือ ๘๙
นกั เรียน
1.10 ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่ผา่ นมา (2554-2558) หรอื รอบสี่
หรือรอบปงี บประมาณ 2564 (1 ตลุ าคม 2563 – 30 กนั ยายน 2564)
(กรณี มผี ลการประเมินคุณภาพภายนอก ปีงบประมาณ 2563 หรือ ปงี บประมาณ 2564)
(1) ระดบั การศึกษาปฐมวยั
ดา้ น ระดับคุณภาพ
1 คุณภาพเด็ก ดี
2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ดี
3 การจดั ประสบการณท์ ่เี นน้ เด็กเป็นสำคัญ ดี
ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การพัฒนาสนู่ วตั กรรม (Innovation) หรอื แบบอย่างทีด่ ี (Best Practice)
สถานศึกษาควรระบุข้อมลู ใน SAR ท่ีแสดงใหเ้ ห็นกระบวนการพฒั นาคุณภาพเด็กอย่างครบถ้วน ดังนี้
สถานศกึ ษาควรแสดงข้อมลู หรอื วธิ กี ารเกี่ยวกบั การนำผลประเมินคุณภาพของเดก็ ปฐมวัยไปดำเนินการพัฒนา
17
เด็กปฐมวยั ใหม้ ีพัฒนาการสมวัยในปกี ารศึกษาต่อไป และควรนำผลการประเมินคุณภาพของเด็กปฐมวยั ในปที ่ี
ผา่ นมามาจดั ทำแผนพฒั นาเพ่ือให้เดก็ มคี ุณภาพบรรลเุ ปา้ หมายตอ่ ไป และควรสรปุ รายงานให้เหน็ ขน้ั ตอนการ
ปรับปรุงคณุ ภาพเดก็ ภายใต้แนวคิดตามวงจรคุณภาพ PDCA ให้เห็นอยา่ งเด่นชดั เช่น พบเดก็ มีปัญหาเร่ือง
น้ำหนกั เกินสถานศกึ ษาเลยจัดประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการ ระดมความคิด เพื่อจัดกิจกรรมให้เดก็ ปรับเปล่ียน
พฤติกรรมการรับประทานอาหารและพฤตกิ รรมการออกกำลงั กาย กจิ กรรมประจำวนั ท่ีส่งเสริมพฒั นาการเดก็
แล้วสรปุ ผลการดำเนินงานเพื่อคืนข้อมลู ใหผ้ ูป้ กครองและผทู้ ่มี ีส่วนเกี่ยวข้องทราบเป็นต้น นอกจากนี้ควรมกี าร
นำเสนอผลการประเมินคุณภาพเดก็ ปฐมวัยตอ่ ผู้ทเ่ี กยี่ วข้องรวมท้งั เอกสารหลักฐานยนื ยัน หรือแหลง่ ข้อมูล
อ้างอิงการเผยแพร่ผลการกระเมนิ ผา่ นทางออนไลน์ และจัดประชุมผูท้ มี่ ีส่วนเกี่ยวข้อง เพ่ือคนื ข้อมูลผลการ
ประเมนิ คุณภาพเด็กเปน็ รายภาคเรยี น ภาคการศึกษา และใน SAR ยงั ไม่พบหวั ข้อ “ข้อเสนอแนะ” เปน็ หัวข้อ
ต่อจากจุดท่คี วรพฒั นา การเขียนข้อเสนอแนะควรใหส้ อดคลอ้ งกบั จุดทคี่ วรพฒั นาตามท่ีวเิ คราะหไ์ วแ้ ละ
สามารถนำการแก้ไขปัญหาตามขอ้ เสนอแนะไปต่อยอดไปสู่การปฏบิ ัติที่ดีหรือนวัตกรรมต่อไปในอนาคต
สถานศกึ ษาควรมีการระบุขอ้ มลู ในรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา เพ่ิมเติมในประเดน็
การนำผลประเมนิ การบริหารจดั การของสถานศึกษาไปปรับปรงุ แก้ไขในปีการศึกษาต่อไป โดยวธิ กี ารที่
หลากหลาย เช่น ระดมความคิดจากบุคลากรท่ีเก่ยี วขอ้ ง กรรมการสถานศึกษา ชุมชนและผปู้ กครอง ผบู้ รหิ าร
คอยกำกบั และติดตามให้เป็นไปตามวงจรคณุ ภาพ PDCA
สถานศกึ ษาควรระบุจุดเน้นของการพัฒนาครูและนำเสนอข้อมลู ลงใน SAR อย่างเป็นระบบตามวงจร
คุณภาพ PDCA ใหเ้ ห็นภาพกระบวนการพฒั นาครูสูศ่ ตวรรษท่ี ๒๑ ท่ชี ัดเจน การนำผลการพัฒนาครูไปสกู่ าร
ปรบั การจัดการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีเก่ียวขอ้ งกับการสอนสู่ศตวรรษท่ี ๒๑ และการแลกเปล่ียนเรยี นรู้
หรือ PLC ว่ามกี ารดำเนินอย่างไรและไดผ้ ลเปน็ เช่นไร เปน็ ต้น นอกจากนี้ควรมหี ัวข้อ “ข้อเสนอแนะ” เปน็
หัวข้อตอ่ จากจดุ ท่ีควรพฒั นา การเขยี นข้อเสนอแนะควรให้สอดคลอ้ งกบั จดุ ท่คี วรพัฒนาตามท่วี ิเคราะหไ์ ว้และ
สามารถนำการแก้ไขปญั หาตามข้อเสนอแนะนำไปตอ่ ยอดไปสกู่ ารปฏิบัติที่ดีหรือนวัตกรรมตอ่ ไปในอนาคต
(2) ระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
ดา้ น ระดับคณุ ภาพ
1 คณุ ภาพผ้เู รยี น ดี
2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ดี
3 การจัดการเรยี นการสอนที่เน้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ ดี
ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพฒั นาสู่นวตั กรรม (Innovation) หรือแบบอยา่ งทดี่ ี (Best Practice)
สถานศึกษาควรมีการระบุขอ้ มูลในรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา เพ่ิมเติมในประเดน็
การบรรลุเป้าหมายคุณภาพของผู้เรยี น ในด้านผลการสอบระดบั ชาติ (O – NET) ยงั ไม่เป็นไปตามคา่ เฉลี่ยระดบั
ประเทศ ดังนัน้ สถานศึกษาควรระบุ โครงการและกจิ กรรมท่ีใช้ในการพัฒนายกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ รวมถึงผลการ
ดำเนินงานให้ชดั เจน เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการพฒั นาผ้เู รียนในปีการศึกษาต่อไป
สถานศกึ ษาควรมีการระบุขอ้ มลู ในรายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา เพ่ิมเติมในประเด็น
การสรา้ งเครือข่ายขอความร่วมมือกบั ผู้มสี ่วนเก่ียวข้องในการจดั การศึกษา โดยจดั ประชุมตามเกณฑ์คุณภาพ
คอื อย่างนอ้ ยภาคเรียนละ ๒ ครั้ง ระดมความคิดเห็นและประชาสมั พันธ์ด้วยวธิ ีทีห่ ลากหลาย
การจัดการเรียนการสอนมีความม่งุ เน้นเพอ่ื พฒั นาให้ผเู้ รียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรตู้ าม
หลกั สตู รสถานศกึ ษา แตย่ ังขาดความชดั เจนในการมสี ว่ นร่วมของทุกฝา่ ยที่เกยี่ วข้อง ควรมคี ำส่ัง โครงการและ
18
กิจกรรมหรือรายละเอยี ดการประชุมชี้แจงแผนและผลการดำเนินงานปลี ะ ๒ ครง้ั ต่อทุกฝา่ ยทีเ่ กี่ยวข้อง ปรากฏ
ในรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)
2. ผลการจัดการเรียนรตู้ ามหลักสตู รสถานศกึ ษา
2.1 ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย
พฒั นาการด้าน จำนวน จำนวนเด็กตามระดับคุณภาพ
เด็ก ที่ ดี พอใช้ ปรับปรงุ
ประเมิน จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ
1. ดา้ นร่างกาย
ชน้ั อนุบาลปีท่ี 1 15 15 100 - - - -
ชั้นอนุบาลปีท่ี 2 11 11 100 - - - -
รวม 26 26 100 - - - -
2. ด้านอารมณ์-จติ ใจ
ชั้นอนุบาลปีท่ี 1 15 15 100 - - - -
ชน้ั อนบุ าลปีท่ี 2 11 11 100 - - - -
รวม 26 26 100 - - - -
3.ด้านสงั คม
ชั้นอนุบาลปีที่ 1 15 15 100 - - - -
ชัน้ อนบุ าลปีท่ี 2 11 11 100 - - - -
รวม 26 26 100 - - - -
4.ด้านสตปิ ัญญา
ชน้ั อนุบาลปีที่ 1 15 13 86.67 1 6.67 1 6.67
ชั้นอนบุ าลปีที่ 2 11 9 81.81 - - 2 18.18
รวม 26 22 84.62 1 3.85 3 11.54
รวมทั้ง 4 ด้าน 104 100 96.15 1 0.96 3 2.88
2.2 ระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
(1) ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้
1.1 ระดบั ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 – 6
กลมุ่ จำนวน จำนวนนกั เรียนทีม่ ีผลการเรียนรู้ จำนวน ร้อยละ
สาระ นักเรียน นร. ทีไ่ ด้ นร. ท่ไี ด้
การ ระดับ 3 ระดับ 3
เรยี นรู้
0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ข้นึ ไป ขึน้ ไป
ภาษาไทย
ป.1 17 0 0 0 1 1 1 0 14 15 88.24
ป.2 20 0 0 0 0 1 0 0 19 19 95.00
ป.3 14 0 0 0 1 0 0 1 12 13 92.86
19
กลมุ่ จำนวน จำนวนนักเรียนทีม่ ีผลการเรยี นรู้ จำนวน ร้อยละ
สาระ นกั เรียน นร. ทีไ่ ด้ นร. ที่ได้
การ ระดบั 3 ระดบั 3
เรียนรู้
0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ขน้ึ ไป ขนึ้ ไป
ป.4 17 0 0 0 0 2 5 2 8 15 88.24
ป.5 11 0 0 0 0 2 1 6 2 9 81.82
ป.6 16 0 0 0 1 3 4 5 3 12 75.00
รวม 95 0 0 0 3 9 11 14 58 83 87.37
คณิตศาสตร์
ป.1 17 0 0 0 0 0 2 2 13 17 100
ป.2 20 0 0 0 0 0 1 4 15 20 100
ป.3 14 0 1 2 0 2 6 1 2 9 64.29
ป.4 17 0 0 0 3 5 3 1 5 9 52.94
ป.5 11 0 0 1 2 0 0 5 3 8 72.73
ป.6 16 0 1 0 2 1 4 6 2 12 75.00
รวม 95 0 2 3 7 8 16 19 40 75 78.95
วิทยาศาสตร์
ป.1 17 0 0 0 0 0 2 5 10 17 100
ป.2 20 0 0 0 0 0 0 3 17 20 ๑๐๐
ป.3 14 0 0 0 0 0 5 5 4 14 ๑๐๐
ป.4 17 0 0 0 6 3 1 1 6 8 47.06
ป.5 11 0 0 1 2 2 0 2 4 6 54.55
ป.6 16 0 1 0 3 0 4 5 3 12 75.00
รวม 95 0 1 1 11 5 12 21 44 77 81.05
สงั คมศึกษา
ป.1 17 0 0 0 1 1 0 5 10 15 88.24
ป.2 20 0 0 0 0 0 0 0 20 20 ๑๐๐
ป.3 14 0 0 0 0 0 1 1 12 14 ๑๐๐
ป.4 17 0 0 0 1 1 2 3 10 15 88.24
ป.5 11 0 0 0 1 1 1 2 6 9 81.82
ป.6 16 0 1 0 0 2 5 3 5 13 81.25
รวม 95 0 1 0 3 5 9 14 63 86 90.53
ประวัติศาสตร์
20
กลมุ่ จำนวน จำนวนนักเรยี นทมี่ ผี ลการเรียนรู้ จำนวน รอ้ ยละ
สาระ นกั เรยี น นร. ทไี่ ด้ นร. ทีไ่ ด้
การ ระดบั 3 ระดบั 3
เรียนรู้
0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ขนึ้ ไป ขน้ึ ไป
ป.1 17 0 0 0 0 1 0 1 15 16 94.12
ป.2 20 0 0 0 0 0 0 0 20 20 ๑๐๐
ป.3 14 0 0 0 1 0 0 1 12 13 92.86
ป.4 17 0 0 0 0 2 6 0 9 15 88.24
ป.5 11 0 0 0 1 1 2 2 5 9 81.82
ป.6 16 0 0 1 0 2 6 2 5 13 81.25
รวม 95 0 0 1 2 6 14 6 66 86 90.53
สุขศึกษาและพลศึกษา
ป.1 17 0 0 0 0 0 1 4 12 17 ๑๐๐
ป.2 20 0 0 0 0 0 0 6 14 20 ๑๐๐
ป.3 14 0 0 0 0 0 0 3 11 14 ๑๐๐
ป.4 17 0 0 0 0 1 7 5 4 16 94.12
ป.5 11 0 0 0 0 1 0 3 7 10 90.91
ป.6 16 0 0 0 1 2 3 4 6 13 81.25
รวม 95 0 0 0 1 4 11 25 54 90 94.74
ศลิ ปะ
ป.1 17 0 0 0 0 0 0 0 17 17 ๑๐๐
ป.2 20 0 0 0 0 0 0 0 20 20 ๑๐๐
ป.3 14 0 0 0 0 0 0 7 7 14 ๑๐๐
ป.4 17 0 0 0 0 0 0 6 11 17 ๑๐๐
ป.5 11 0 0 0 0 0 0 3 8 11 ๑๐๐
ป.6 16 0 0 0 0 0 2 2 12 16 ๑๐๐
รวม 95 0 0 0 0 0 2 18 61 81 85.26
การงานอาชีพ
ป.1 17 0 0 0 0 0 0 4 13 17 ๑๐๐
ป.2 20 0 0 0 0 0 0 0 20 20 ๑๐๐
ป.3 14 0 0 0 0 0 1 2 11 14 ๑๐๐
ป.4 17 0 0 0 0 1 1 10 5 16 94.12
ป.5 11 0 0 0 0 1 0 3 7 10 90.91
21
กลมุ่ จำนวน จำนวนนกั เรยี นท่ีมีผลการเรียนรู้ จำนวน รอ้ ยละ
สาระ นกั เรยี น นร. ทีไ่ ด้ นร. ท่ีได้
การ ระดบั 3 ระดบั 3
เรียนรู้
0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ขึน้ ไป ข้ึนไป
ป.6 16 0 0 0 0 2 1 5 8 14 87.50
รวม 95 0 0 0 0 4 3 24 64 91 95.79
ภาษาองั กฤษ
ป.1 17 0 0 0 0 2 3 4 8 15 88.24
ป.2 20 0 0 0 0 1 0 0 19 19 95.00
ป.3 14 0 0 0 0 0 5 1 8 14 ๑๐๐
ป.4 17 0 0 0 0 3 6 4 4 14 82.35
ป.5 11 0 0 0 2 2 3 0 4 7 63.64
ป.6 16 0 0 0 0 2 6 4 4 14 87.50
รวม 95 0 0 0 2 10 23 13 47 83 87.37
รายวชิ าเพิ่มเติม ภาษาอังกฤษ
ป.1 17 0 0 0 0 1 2 6 8 16 94.12
ป.2 20 0 0 0 0 0 0 1 19 20 ๑๐๐
ป.3 14 0 0 0 0 0 2 1 11 14 ๑๐๐
รวม 51 0 0 0 0 1 4 8 38 50 98.04
รายวชิ าเพม่ิ เติม ตา้ นการทุจรติ
ป.1 17 0 0 0 0 1 0 0 16 16 94.12
ป.2 20 0 0 0 0 0 0 0 20 20 ๑๐๐
ป.3 14 0 0 0 1 0 0 1 12 13 92.86
ป.4 17 0 0 0 0 2 5 2 8 15 88.24
ป.5 11 0 0 0 1 1 0 4 5 9 81.82
ป.6 16 0 0 0 1 3 4 5 3 12 75.00
รวม 95 0 0 0 3 7 9 12 64 85 89.47
รายวชิ าเพิม่ เติม คอมพิวเตอร์
ป.4 17 0 0 0 2 1 3 1 10 14 82.35
ป.5 11 0 0 0 3 0 0 0 8 8 72.73
ป.6 16 0 0 0 0 1 0 4 11 15 93.75
รวม 44 0 0 0 5 2 3 5 29 37 84.09
22
1.2 ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 – 3
ชน้ั จำนวน 0 ระดับผลการเรยี น จำนวน ร้อยละ
ภาคเรียน 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 นร. ทไ่ี ด้ นร.ทไ่ี ด้
ระดับ 3 ระดับ 3
(คน) มส ร ข้นึ ไป ข้นึ ไป
ภาษาไทย
ม.1 เทอม1 4 0 0 0 0 0 1 1 1 1 0 2 50.00
ม.1 เทอม2 4 0 0 0 0 1 0 2 0 1 0 1 25.00
ม.2 เทอม1 8 0 0 0 2 2 2 0 2 0 0 2 25.00
ม.2 เทอม2 8 0 0 0 0 0 1 3 1 3 0 4 50.00
ม.3 เทอม1 8 0 0 0 2 2 2 1 1 0 0 1 12.50
ม.3 เทอม2 8 0 0 0 1 0 3 1 1 1 1 3 37.50
รวม 40 0 0 0 5 5 9 8 6 6 1 13 32.50
คณิตศาสตร์
ม.1 เทอม1 4 0 0 0 0 0 0 1 0 2 1 3 75.00
ม.1 เทอม2 4 0 0 0 0 0 0 0 0 2 2 4 ๑๐๐
ม.2 เทอม1 8 0 0 0 4 0 1 0 2 1 0 3 37.50
ม.2 เทอม2 8 0 0 0 0 0 0 1 1 3 3 7 87.50
ม.3 เทอม1 8 0 0 0 2 2 1 2 0 0 1 1 12.50
ม.3 เทอม2 8 0 0 0 0 2 0 2 0 2 2 4 50.00
รวม 40 0 0 0 6 4 2 6 3 10 9 22 55.00
วิทยาศาสตร์
ม.1 เทอม1 4 0 0 0 0 0 0 1 0 2 1 3 75.00
ม.1 เทอม2 4 0 0 0 0 1 2 0 1 0 0 1 25.00
ม.2 เทอม1 8 0 0 0 1 0 1 0 2 0 4 6 75.00
ม.2 เทอม2 8 0 0 0 0 0 0 2 4 2 0 6 75.00
ม.3 เทอม1 8 0 0 0 0 2 2 1 2 0 1 3 37.50
ม.3 เทอม2 8 0 0 0 1 1 1 3 2 0 0 2 25.00
รวม 40 0 0 0 2 4 6 7 11 4 6 21 52.50
สังคม
ม.1 เทอม1 4 0 0 0 0 0 0 0 1 1 2 4 ๑๐๐
ม.1 เทอม2 4 0 0 0 0 0 1 2 0 1 0 1 25.00
ม.2 เทอม1 8 0 0 0 2 3 0 1 0 0 2 2 25.00
ม.2 เทอม2 8 0 0 0 0 0 0 4 0 4 0 4 50.00
23
ชน้ั จำนวน 0 ระดับผลการเรียน จำนวน รอ้ ยละ
ภาคเรยี น 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 นร. ทไ่ี ด้ นร.ทไี่ ด้
ระดับ 3 ระดบั 3
(คน) มส ร ขน้ึ ไป ขึน้ ไป
ม.3 เทอม1 8 0 0 0 4 1 0 1 1 1 0 2 25.00
ม.3 เทอม2 8 0 0 0 0 0 0 0 5 3 0 8 ๑๐๐
รวม 40 0 0 0 6 4 1 8 7 10 4 21 52.50
ประวัตศิ าสตร์
ม.1 เทอม1 4 0 0 0 0 0 0 2 1 1 0 2 50.00
ม.1 เทอม2 4 0 0 0 0 0 1 1 1 1 0 2 50.00
ม.2 เทอม1 8 0 0 0 1 3 2 0 1 1 0 2 25.00
ม.2 เทอม2 8 0 0 0 0 0 3 1 2 2 0 4 50.00
ม.3 เทอม1 8 0 0 0 0 4 0 3 0 1 0 1 12.50
ม.3 เทอม2 8 0 0 0 0 0 4 1 2 1 0 3 37.50
รวม 40 0 0 0 1 7 10 8 7 7 0 14 35.00
สุขศกึ ษา
ม.1 เทอม1 4 0 0 0 0 0 0 0 0 2 2 4 ๑๐๐
ม.1 เทอม2 4 0 0 0 0 0 0 0 1 2 1 4 ๑๐๐
ม.2 เทอม1 8 0 0 0 2 3 2 0 0 0 1 1 12.50
ม.2 เทอม2 8 0 0 0 0 0 0 1 1 2 4 7 87.50
ม.3 เทอม1 8 0 0 0 4 0 1 0 1 2 0 3 37.50
ม.3 เทอม2 8 0 0 0 0 0 0 0 4 1 3 8 ๑๐๐
รวม 40 0 0 0 6 3 3 1 7 9 11 27 67.50
ศลิ ปะ
ม.1 เทอม1 4 0 0 0 0 0 0 0 0 0 4 4 ๑๐๐
ม.1 เทอม2 4 0 0 0 0 0 0 0 0 0 4 4 ๑๐๐
ม.2 เทอม1 8 0 0 0 3 1 1 1 1 0 1 2 25.00
ม.2 เทอม2 8 0 0 0 0 0 0 0 3 1 4 8 ๑๐๐
ม.3 เทอม1 8 0 0 0 4 0 1 0 1 2 0 3 37.50
ม.3 เทอม2 8 0 0 0 0 0 0 0 1 3 4 8 ๑๐๐
รวม 40 0 0 0 7 1 2 1 6 6 17 29 72.50
การงานอาชีพ
ม.1 เทอม1 4 0 0 0 0 0 0 0 0 0 4 4 ๑๐๐
ม.1 เทอม2 4 0 0 0 0 0 0 0 0 1 3 4 ๑๐๐
24
ชัน้ จำนวน 0 ระดบั ผลการเรยี น จำนวน รอ้ ยละ
ภาคเรยี น 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 นร. ทีไ่ ด้ นร.ที่ได้
ระดบั 3 ระดบั 3
(คน) มส ร ข้ึนไป ขน้ึ ไป
ม.2 เทอม1 8 0 0 0 2 2 1 1 1 0 1 2 25.00
ม.2 เทอม2 8 0 0 0 0 0 0 0 1 2 5 8 ๑๐๐
ม.3 เทอม1 8 0 0 0 2 0 3 2 0 0 1 1 12.50
ม.3 เทอม2 8 0 0 0 0 1 0 1 2 3 1 6 75.00
รวม 40 0 0 0 4 3 4 4 4 6 15 25 62.50
ภาษาองั กฤษ
ม.1 เทอม1 4 0 0 0 0 0 0 0 1 2 1 4 ๑๐๐
ม.1 เทอม2 4 0 0 0 0 0 2 0 1 1 0 2 50.00
ม.2 เทอม1 8 0 0 0 0 0 1 1 1 1 4 6 75.00
ม.2 เทอม2 8 0 0 0 0 0 0 1 1 1 5 7 87.50
ม.3 เทอม1 8 0 0 0 5 0 0 1 1 1 0 2 25.00
ม.3 เทอม2 8 0 0 0 0 0 1 3 1 2 1 4 50.00
รวม 40 0 0 0 5 0 4 6 6 8 11 25 62.50
รายวิชาเพม่ิ เติม คอมพิวเตอร์
ม.1 เทอม1 4 0 0 0 0 0 0 1 0 2 1 3 75.00
ม.1 เทอม2 4 0 0 0 0 0 0 0 0 1 3 4 ๑๐๐
ม.2 เทอม1 8 0 0 0 0 3 1 0 2 0 2 4 50.00
ม.2 เทอม2 8 0 0 0 0 0 0 1 0 3 4 7 87.50
ม.3 เทอม1 8 0 0 0 1 0 2 3 0 0 2 2 25.00
ม.3 เทอม2 8 0 0 0 0 0 1 1 1 3 2 4 50.00
รวม 40 0 0 0 1 3 4 6 3 9 14 26 65.00
รายวชิ าเพม่ิ เติม องั กฤษเพิ่มเติม
ม.1 เทอม1 4 0 0 0 0 0 0 0 0 0 4 4 ๑๐๐
ม.1 เทอม2 4 0 0 0 0 0 2 0 1 1 0 2 50.00
ม.2 เทอม1 8 0 0 0 0 0 0 0 4 2 2 8 ๑๐๐
ม.2 เทอม2 8 0 0 0 0 0 1 1 1 1 4 6 75.00
ม.3 เทอม1 8 0 0 0 5 0 0 1 1 1 0 2 25.00
ม.3 เทอม2 8 0 0 0 0 0 1 3 1 2 1 4 50.00
รวม 40 0 0 0 5 0 4 5 8 7 11 26 65.00
รายวชิ าเพ่ิมเติม โครงงานอาชีพ
25
ช้นั จำนวน 0 ระดับผลการเรยี น จำนวน ร้อยละ
ภาคเรียน 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 นร. ทไ่ี ด้ นร.ทีไ่ ด้
ระดบั 3 ระดบั 3
(คน) มส ร ขึน้ ไป ขน้ึ ไป
ม.1 เทอม1 4 0 0 0 0 0 0 0 0 0 4 4 ๑๐๐
ม.1 เทอม2 4 0 0 0 0 0 0 0 0 2 2 4 ๑๐๐
ม.2 เทอม1 8 0 0 0 3 0 0 0 3 0 2 5 62.50
ม.2 เทอม2 8 0 0 0 0 0 0 0 3 1 4 8 ๑๐๐
ม.3 เทอม1 8 0 0 0 0 0 4 0 1 2 1 4 50.00
ม.3 เทอม2 8 0 0 0 0 0 0 0 1 1 6 8 ๑๐๐
รวม 40 0 0 0 3 0 4 0 8 6 19 33 82.50
รายวชิ าเพิ่มเติม คณติ ศาสตรเ์ พมิ่ เติม
ม.1 เทอม1 4 0 0 0 0 0 0 1 0 0 3 3 75.00
ม.1 เทอม2 4 0 0 0 0 0 0 0 0 0 4 4 ๑๐๐
ม.2 เทอม1 8 0 0 0 0 4 0 1 0 2 1 3 37.50
ม.2 เทอม2 8 0 0 0 0 0 0 0 1 1 6 8 ๑๐๐
ม.3 เทอม1 8 0 0 0 0 2 2 1 2 0 1 3 37.50
ม.3 เทอม2 8 0 0 0 2 0 2 0 2 2 0 4 50.00
รวม 40 0 0 0 2 6 4 3 5 5 15 25 62.50
รายวชิ าเพ่มิ เติม ป้องกันการทุจริต
ม.1 เทอม1 4 0 0 0 0 0 0 0 0 1 3 4 ๑๐๐
ม.1 เทอม2 4 0 0 0 0 0 0 0 0 0 4 4 ๑๐๐
ม.2 เทอม1 8 0 0 0 1 2 2 1 0 1 1 2 25.00
ม.2 เทอม2 8 0 0 0 0 0 2 3 2 0 1 3 37.50
ม.3 เทอม1 8 0 0 0 3 1 1 0 3 0 0 3 37.50
ม.3 เทอม2 8 0 0 0 0 1 2 2 2 1 0 3 37.50
รวม 40 0 0 0 4 4 7 6 7 3 9 19 47.50
1) ร้อยละของนกั เรยี นทม่ี เี กรดเฉล่ยี ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนแตล่ ะรายวชิ าในระดับ 3
ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ถึง ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 256
วิชา ระดับประถมศกึ ษา
ภาษาไทย จำนวน จำนวนนกั เรยี น ร้อยละ นร. จำนวน
นักเรยี น ที่ได้เกรด 3 ขึ้นไป ทีไ่ ด้ระดับ 3 ข้ึนไป นักเรียน
95 83 87.37 40
คณิตศาสตร์ 95 75 78.95 40
วทิ ยาศาสตร์ 95 77 81.05 40
สงั คมศึกษา 95 86 90.53 40
ประวัติศาสตร์ 95 86 90.53 40
สขุ ศกึ ษาฯ 95 90 94.74 40
ศลิ ปะ 95 81 85.26 40
การงาน 95 91 95.79 40
ภาษาองั กฤษ 95 83 87.37 40
เพม่ิ เตมิ อังกฤษ 51 50 98.04 40
ตา้ นทุจรติ 95 85 89.47 40
คอมพิวเตอร์ 54 37 84.09 40
โครงงาน 40
เพ่มิ เติมคณิต 40
เฉลย่ี 88.60
26
3 ข้ึนไป รวมทั้งสองระดับ
64
ระดับมัธยมศกึ ษาอนต้น
จำนวนนักเรียน ร้อยละ นร. นกั เรียน จำนวนนกั เรยี น รอ้ ยละ นร.
ทงั้ หมด
ที่ไดเ้ กรด 3 ขน้ึ ไป ทไ่ี ด้ระดับ 3 ขึ้นไป ทไี่ ด้เกรด 3 ขนึ้ ไป ทีไ่ ดร้ ะดับ 3 ขึ้นไป
135
13 32.50 135 96 71.11
135
22 55.00 135 97 71.85
135
21 52.50 135 98 72.59
135
21 52.50 135 107 79.26
135
14 35.00 91 100 74.07
135
27 67.50 94 117 86.67
40
29 72.50 40 110 81.48
25 62.50 116 85.93
25 62.50 108 80.00
26 65.00 76 83.52
19 47.50 104 77.04
26 65.00 63 67.02
33 82.50 33 82.50
25 62.50 25 62.50
เฉล่ีย 58.21 เฉลย่ี 76.82
27
2.3 ผลการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา ระดับชาติ
2.3.1 ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 (NT)
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน เพื่อการประกันคณุ ภาพผู้เรยี น ปีการศึกษา 2564
สาระวชิ า จำนวน คะแนน สว่ น เฉลีย่ เปรียบเทยี บ นกั เรยี นทีม่ ีคะแนน
คน เฉล่ยี เบี่ยง รอ้ ยละ ปี กศ. 63-64 สงู กว่าค่าเป้าหมาย
2563 2564 + - จำนวน รอ้ ยละ
ภาพรวมทุกด้าน 11 67.27 18.39 67.27 60.52 67.27 +6.75 11 100
ดา้ นภาษาไทย 11 82.45 5.89 82.45 70.29 82.45 +12.16 11 100
ดา้ นคณิตศาสตร์ 11 52.09 15.10 52.09 50.75 52.09 +1.34 7 66.64
2.3.2 ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 (O-NET) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พ้ืนฐาน (O-NET)
สาระวิชา จำนวน คะแนน ส่วนเบีย่ งเบน เฉล่ีย นักเรยี นทีม่ ีคะแนนสงู กว่าคา่ เปา้ หมาย
คน เฉล่ีย มาตรฐาน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ
ภาษาไทย 16 45.56 14.98 45.56 7 43.75
ภาษาอังกฤษ 16 31.64 9.94 31.64 1 6.25
คณิตศาสตร์ 16 29.06 11.23 29.06 0 0
วิทยาศาสตร์ 16 35.31 13.69 35.31 2 12.5
รวม/เฉลย่ี 64 35.39 12.46 35.39 10 15.63
ตารางเปรยี บเทียบค่าเฉลยี่ รอ้ ยละผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น ผลการทดสอบระดบั ชาติ (O – Net)
ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 ปกี ารศึกษา 2563 – 2564 โรงเรียนทงุ่ กุลาประชารัฐ กับ ระดบั จงั หวดั
สงั กัด และระดับประเทศ
กลุ่มสาระ รร. ค่าเฉลย่ี ประเทศ เปรยี บเทยี บความแตกต่าง หมายเหตุ
จังหวดั สังกัด จังหวัด สงั กดั ประเทศ
ภาษาไทย 45.56 49.15 49.54 50.38 -3.59 -3.98 -4.82
ภาษาองั กฤษ 31.64 35.46 35.46 39.22 -3.82 -3.82 -7.58
คณิตศาสตร์ 29.06 35.70 35.85 36.83 -6.64 -6.79 -7.77
วทิ ยาศาสตร์ 35.31 33.26 33.68 34.31 2.05 1.63 1.00
รวมเฉล่ีย 35.39 38.39 38.63 40.19 -3.00 -3.24 -4.80
2.3.3 ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3
1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พ้ืนฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2564
สาระวิชา จำนวน คะแนน ส่วนเบย่ี งเบน เฉล่ีย นักเรยี นที่มีคะแนนสูงกวา่ ค่าเป้าหมาย
คน เฉลี่ย มาตรฐาน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ
ภาษาไทย 9 59.18 5.80 59.18 9 100
ภาษาองั กฤษ 9 23.61 7.08 23.61 0 0
คณิตศาสตร์ 9 22.83 9.86 22.83 0 0
วทิ ยาศาสตร์ 9 26.86 6.90 26.86 0 0
รวม/เฉลย่ี 36 33.12 7.41 33.12 9 25
28
ตารางเปรียบเทียบคา่ เฉลี่ยรอ้ ยละผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน ผลการทดสอบระดับชาติ O – Net ของ
นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2563 – 2564 โรงเรยี นทุง่ กุลาประชารฐั กับ ระดบั จงั หวดั
สังกัด และระดับประเทศ
กลุ่มสาระ ค่าเฉลยี่ เปรียบเทียบความแตกต่าง หมายเหตุ
รร. จังหวดั สังกดั ประเทศ จงั หวัด สงั กัด ประเทศ
ภาษาไทย 59.18 49.76 52.13 51.19 9.42 7.05 7.99
ภาษาอังกฤษ 23.61 29.58 30.79 31.11 -5.97 -7.18 -7.5
คณติ ศาสตร์ 22.83 24.06 24.75 24.47 -1.23 -1.92 -1.64
วทิ ยาศาสตร์ 26.86 31.08 31.67 31.45 -4.22 -4.81 -4.59
รวมเฉลี่ย 33.12 33.62 34.835 34.56 -0.50 -1.72 -1.44
2.4 ผลการประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน
ร้อยละของนักเรยี นท่ีมผี ลการประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น ในระดบั ดขี ้ึนไป
ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2564
ระดบั ช้นั จำนวน ผลการประเมนิ ระดบั ดี รอ้ ยละ
นกั เรียน ไม่ผา่ น ผา่ น ดี ยอด ขนึ้ ไป
(0) (1) (2) เยี่ยม (3)
ป.1 17 0 2 4 11 15 88.24
ป.2 20 0 2 4 14 18 90.00
ป.3 14 0 1 1 12 13 92.86
ป.4 17 0 1 5 11 16 94.12
ป.5 11 0 2 2 7 9 81.82
ป.6 16 0 1 4 11 15 93.75
ม.1 4 0 1 2 1 3 75.00
ม.2 8 0 3 1 4 5 62.50
ม.3 8 0 1 3 4 7 87.50
รวม 115 0 14 26 75 101 87.83
2.5 ผลการประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
ร้อยละของนักเรียนท่ีมผี ลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคใ์ นระดับดีข้ึนไป
ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ถงึ ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ปีการศกึ ษา 2564
ระดบั ชัน้ จำนวน ผลการประเมิน ระดบั ดี รอ้ ยละ
นกั เรียน ไม่ผา่ น ผ่าน ดี ยอดเย่ียม ข้ึนไป
ป.1 17 0 1 5 11 16 94.12
ป.2 20 0 1 5 14 19 95.00
ป.3 14 0 0 2 12 14 100.00
ป.4 17 0 0 5 12 17 100.00
ป.5 11 0 04 7 11 100.00
29
ระดบั ชนั้ จำนวน ผลการประเมิน ระดับดี ร้อยละ
นกั เรียน ไม่ผ่าน ผา่ น ดี ยอดเยี่ยม ขึ้นไป
ป.6 16 0 0 4 12 16 100.00
ม.1 4 0 0 1 3 4 100.00
ม.2 8 0 2 1 5 6 75.00
ม.3 8 0 0 3 5 8 100.00
รวม 115 0 4 30 81 111 96.52
2.6 ผลการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น
ระดบั ช้นั จำนวน จำนวนนกั เรยี นตามระดับคุณภาพ
นกั เรียน ผา่ น ไม่ผา่ น
ทง้ั หมด จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ
ป. 1 17 17 ๑๐๐ 0 0.00
ป. 2 20 20 ๑๐๐ 0 0.00
ป. 3 14 14 ๑๐๐ 0 0.00
ป. 4 17 17 ๑๐๐ 0 0.00
ป. 5 11 11 ๑๐๐ 0 0.00
ป. 6 16 16 ๑๐๐ 0 0.00
ม. 1 4 4 ๑๐๐ 0 0.00
ม. 2 8 8 100 0 0.00
ม. 3 8 8 100 0 0.05
รวม 115 115 100 0 0.00
2.7 ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญ
รอ้ ยละของนักเรยี นท่ีมีผลการประเมนิ สมรรถนะสำคัญตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พทุ ธศักราช 2552 ปีการศกึ ษา 2564 ของผเู้ รียนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ในระดับ
ผา่ นขน้ึ ไป
จำนวน จำนวน/รอ้ ยละของนักเรียนที่มีสมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น 5 ดา้ น
ระดับชัน้ นกั เรียน ตามแนวทางการพัฒนาท่หี ลักสูตรสถานศึกษากำหนด
ทั้งหมด การส่ือสาร การคดิ การแก้ปญั หา การใช้ทกั ษะชวี ติ การใช้เทคโนโลยี
จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ
ป. 1 17 17 100 17 100 17 100 17 100 17 ๑๐๐
ป. 2 20 20 100 20 100 20 100 20 100 20 ๑๐๐
ป. 3 14 14 100 14 100 14 100 14 100 14 ๑๐๐
ป. 4 17 17 100 17 100 17 100 17 100 17 ๑๐๐
ป. 5 11 11 100 11 100 11 100 11 100 11 ๑๐๐
30
จำนวน จำนวน/รอ้ ยละของนักเรียนท่มี ีสมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น 5 ด้าน
ระดบั ชน้ั นักเรียน
ตามแนวทางการพัฒนาท่ีหลักสูตรสถานศึกษากำหนด
ทัง้ หมด
การสื่อสาร การคิด การแกป้ ญั หา การใชท้ กั ษะชวี ิต การใชเ้ ทคโนโลยี
จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ
ป. 6 16 16 100 16 100 16 100 16 100 16 ๑๐๐
ม. 1 4 4 100 4 100 4 100 4 100 4 ๑๐๐
ม. 2 8 8 100 8 100 8 100 8 100 8 100
ม. 3 8 8 100 8 100 8 100 8 100 8 100
รวม 115 115 100 115 100 115 100 115 100 115 100
31
สว่ นที่ 2
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
1. ระดับปฐมวัย
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพเด็ก
จดุ เนน้ ของการศึกษาระดับปฐมวัย คือ พฒั นาหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวัยและจัดประสบการณ์ให้
ผ้เู รียนระดับปฐมวัยมพี ฒั นาการ 4 ดา้ นเพมิ่ ข้ึนทุกด้าน ร้อยละ 90 ขึ้นไป
ประเดน็ ที่ 1.1 มพี ัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มสี ุขนิสยั ที่ดแี ละดูแลความปลอดภัยของ
ตนเองได้
ประเด็นที่ 1.2 มพี ัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณไ์ ด้
ประเดน็ ที่ 1.3 มพี ัฒนาการดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลือตนเองและเป็นสมาชิกทด่ี ีของสังคม
ประเด็นที่ 1.4 มีพัฒนาการดา้ นสตปิ ญั ญา ส่ือสารได้ มีทกั ษะการคดิ พืน้ ฐาน
และแสวงหาความรูไ้ ด้
1.1 ผลการประเมนิ อยใู่ นระดบั ยอดเย่ยี ม ค่าเป้าหมายที่ตัง้ ไว้ ยอดเยีย่ ม บรรลุ ◻ ไมบ่ รรลุ
1.2 มีวิธีการพฒั นา/ผลท่เี กิดจากการพัฒนา ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์
ท่สี นับสนุนผลการประเมนิ ตนเอง
1) วิธีการพัฒนา/กระบวนการพฒั นา
1.1 โรงเรียนทุ่งกลุ าประชารัฐมีกระบวนการพฒั นาเด็กทีห่ ลากหลาย สง่ เสริมใหเ้ ด็ก
มพี ฒั นาการดา้ นรา่ งกาย แขง็ แรง มสี ขุ นิสัยทีด่ ี และดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้ โรงเรยี นจัดกจิ กรรม
การเรียนการสอนและกจิ กรรมเสรมิ ต่าง ๆ เพ่ือให้เด็กบรรลตุ ามตวั บ่งชี้ของมาตรฐานที่ 1 โดยดำเนนิ การตาม
โครงการ และกจิ กรรม ดงั ต่อไปน้ี
1. กจิ กรรมงานอนามัยโรงเรยี น นกั เรียนเขา้ ร่วมโครงการสง่ เสริมสุขภาพ
อนามยั นักเรียน เช่น ช่งั นำ้ หนกั วัดส่วนสูง ตรวจสขุ ภาพ ฉดี วัคซนี ปอ้ งกันโรค
2. กิจกรรมเฝา้ ระวงั ทนั ตสขุ ภาพนักเรียน (ฟ.ย้ิมใส) โดยใหเ้ ด็กแปรงฟัน
หลังรบั ประทานอาหารเทย่ี งทุกวัน
3. กิจกรรมการแข่งขนั กฬี าสีภายในโรงเรยี นตามโครงการกฬี ากรฑี าภายใน
ปกี ารศึกษา 2564
4. กจิ กรรมการทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียนตามโครงการกีฬา
และนนั ทนาการ โดยครจู ะทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรยี นปลี ะ 1 คร้งั โดยดไู ด้จากสรปุ ผลการ
ทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรยี นสายช้ันอนบุ าล
5. นำนกั เรยี นเขา้ ร่วมการแข่งขันกีฬาอนุบาลระดบั กล่มุ เครอื ข่ายและศูนย์
เครอื ข่าย ได้รับรางวัลเหรยี ญทองชนะเลิศ หลายกิจกรรม เชน่ วง่ิ 50 ม. ชาย-หญงิ
6. การเคลอื่ นไหวและจงั หวะ ได้จดั กจิ กรรมการเต้นกายบริหารประกอบ
เพลงในชว่ งเชา้ หลังกิจกรรมเคารพธงชาตทิ ุกวนั ซ่งึ กิจกรรมน้ีไดส้ อดแทรกการบริหารรา่ งกายเพ่ือพฒั นาสมอง
(BBL) ทำใหเ้ ด็กรสู้ ึกอิสระมีความเชื่อมน่ั และกลา้ แสดงออกและไดร้ ับการพฒั นาการทางสมองโดยดไู ด้จากการ
ปฏิบัติจริง
32
7. การจดั กิจกรรมประจำวนั ไดส้ อดแทรกกิจกรรมเสริมให้นกั เรยี นรจู้ กั
ดแู ลสุขนสิ ยั และสุขอนามัยดา้ นตา่ ง ๆ เช่น การรบั ประทานอาหาร การใชห้ ้องนำ้ ห้องสว้ ม การระวงั รกั ษาความ
ปลอดภยั ของตนเองและผู้อื่น การเล่นและการทำงานร่วมกับผอู้ ื่น รวมถึงการดูแลใหน้ กั เรยี นดม่ื นมโรงเรียน
ตามโครงการอาหารเสรมิ (นม) ทุกวนั มีการชงั่ นำ้ หนกั – วัดส่วนสงู โดยดไู ดจ้ าก แบบบันทึกการแจกจา่ ย
อาหารเสริม (นม) บันทกึ ผลหลังการสอน สรุปผลการประเมินพฒั นาการนักเรียน บนั ทึกผลการสรุปภาวะ
โภชนาการนักเรียนสรุปผลการประเมินสมรรถภาพทางกายของนักเรยี น
8. โครงการอาหารกลางวนั โดยทางโรงเรียนจัดบรกิ ารอาหารกลางวันที่มี
คณุ คา่ ทางโภชนาการให้กบั ผู้เรียนทุกคนทุกวัน โดยดูไดจ้ ากการปฏบิ ตั ิจริง
1.2 โรงเรยี นไดส้ ่งเสริมให้เดก็ มพี ัฒนาการด้านสตปิ ัญญา ส่อื สารได้ มที ักษะการคดิ
พนื้ ฐาน และแสวงหาความรู้ได้ โดยการเข้ารว่ มโครงการบา้ นนักวิทยาศาสตรน์ ้อยแห่งประเทศไทย ทำใหเ้ ด็ก
ได้ฝกึ ปฏบิ ตั ิการทดลอง การสังเกต ความคดิ สร้างสรรค์ รจู้ ักแก้ปญั หา มีการจัดกิจกรรมโครงงานเพื่อการ
เรยี นรู้ โดยส่งเสริมใหเ้ ดก็ มคี วามสนใจเรียนรู้สง่ิ ต่าง ๆ รอบตวั กลา้ ซักถามเพ่ือคน้ หาคำตอบ มีการจัดกจิ กรรม
หนรู ักภาษาไทย เพื่อสง่ เสริมใหเ้ ดก็ มที ักษะทางภาษา มีนสิ ัยรักการอา่ น สง่ เสริมให้เด็กอ่านนิทานและเลา่ นิทาน
ทต่ี นเองอ่านให้ครแู ละเพื่อนฟัง มีการส่งเสริมสนบั สนนุ ใหเ้ ด็กเขา้ รว่ มกิจกรรมการแข่งขันทกั ษะทางวชิ าการใน
ระดบั ต่าง ๆ มีการสร้างสรรคผ์ ลงานดา้ นศิลปะโดยการวาดภาพระบายสี การตัด ฉกี ตัด ปะ สง่ เสริมให้เด็กได้
เสนอผลงานด้วยภาษาที่เหมาะสมตามวยั จัดกิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรยี นเพ่ือให้เด็กไดป้ ฏิสมั พนั ธ์กบั
บุคคลภายนอก เรยี นร้นู อกสถานท่ี แก้ปัญหาในสถานการณ์จริง
1. โครงการส่งเสรมิ พัฒนาการด้านอารมณแ์ ละจติ ใจของเด็กปฐมวยั โดยมี
กจิ กรรมต่าง ๆ ให้นักเรียนได้ปฏบิ ัติในปกี ารศึกษา 2564 ดังนี้
1.1 สง่ เสริมกจิ กรรมด้านศลิ ปะ
- จัดกจิ กรรมประกวดวาดภาพ ระบายสีภาพในวันสำคัญต่าง ๆ
1.2 ส่งเสรมิ กิจกรรมด้านดนตรี
- ชมกจิ กรรมการแสดงทางด้านดนตรี
- กจิ กรรมเลน่ เสรี มมุ ดนตรี,มุมบนั เทงิ
1.3 ส่งเสริมกจิ กรรมด้านการเคลอื่ นไหว
- ร่วมกิจกรรมเวทีคนเกง่ ในการแสดงกิจกรรมในวนั สำคัญตา่ ง ๆ
เชน่ วันเดก็ วันปีใหม่
1.4 สง่ เสรมิ ให้เด็กมวี นิ ยั และความรบั ผดิ ชอบ
1.5 กจิ กรรมทำความสะอาดเขตรับผดิ ชอบและดูแลต้นไม้
สวนหยอ่ มบริเวณอาคารเรยี น
2. โครงการส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณข์ องเด็กปฐมวัย และการจัด
กจิ กรรมประจำวนั ได้จดั กจิ กรรมเพอ่ื สง่ เสรมิ ให้นักเรียนมีสุนทรียภาพ ลักษณะนิสัยดา้ นศลิ ปะ ดนตรี และกฬี า
โดยจดั เปน็ กิจกรรมหลกั ได้แก่
2.1 กจิ กรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาส
ใหเ้ ด็กไดเ้ คลอ่ื นไหวร่างกายอย่างอิสระตามความคิดของตนเอง เคล่ือนไหวประกอบจังหวะ ดนตรีและอปุ กรณ์
ต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์
33
2.2 กิจกรรมสร้างสรรค์ เปน็ กจิ กรรมท่เี ปิดโอกาสให้เดก็ ได้
สร้างสรรค์ผลงานศลิ ปะตามความคิดของตนเองอย่างหลากหลาย เชน่ การวาดภาพ ระบายสี เปา่ สี ปั้นดิน
น้ำมนั ฉกี ปะกระดาษ การพบั กระดาษ เปน็ ต้น
2.3 กจิ กรรมกลางแจ้ง โดยกิจกรรมกลางแจ้งจะเปดิ โอกาสให้
นกั เรยี นไดเ้ ล่นและเคล่ือนไหวร่างกายอย่างอิสระ เลน่ เครื่องเล่นสนาม เลน่ ในศูนยพ์ ฒั นาการด้านรา่ งกาย เลน่
เกมการละเล่นพื้นเมอื ง และเล่นกฬี า เช่น ฟุตบอล วงิ่ เป็นตน้ โดยดไู ดจ้ ากบันทึกผลหลังการสอน ผลงาน
นักเรียน รายงานผลการประเมนิ พฒั นาการนกั เรยี น
3. โครงการส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคมของเดก็ ปฐมวัย โดยมีกิจกรรม
ต่าง ๆ ใหน้ ักเรียนได้ปฏบิ ัติในปกี ารศึกษา 2564 ดงั น้ี
3.1 จดั กิจกรรมเล่านทิ าน รอ้ งเพลง ท่องจำข้อตกลงเพอื่ พฒั นา
ใหเ้ ดก็ มีวินยั มคี วามรบั ผดิ ชอบ ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลงร่วมกัน ดังตอ่ ไปนี้
- การจัดเก็บของเลน่ ของใช้เข้าท่ี
- การเขา้ แถว รอคอยตามลำดบั กอ่ นหลัง
- การปฏบิ ัติตามข้อตกลงของห้องเรยี น เช่น รู้จักขออนญุ าตไป
ห้องน้ำ หยุดพดู เมื่อครพู ูด ทงิ้ ขยะให้เปน็ ท่ี ฯลฯ
3.2 จัดกิจกรรมการเลา่ นิทาน การเลน่ บทบาทสมมติ การร้อง
เพลง เพ่ือพฒั นาให้เด็กมีความซ่อื สัตยส์ จุ รติ ดังนี้
- รจู้ ักแยกแยะของของตน หรือของผู้อน่ื ตามวยั
- ไมพ่ ดู ปด และยอมรับเมื่อทำผดิ
- มีความซ่อื สตั ย์ไมล่ ักขโมย
- คนื ของทีเ่ ก็บไดใ้ หเ้ จา้ ของหรือมอบใหค้ รู
3.3 จัดกิจกรรม วันไหว้ครู วันแม่ วันพ่อ เพ่ือพัฒนาใหเ้ ด็กมี
ความกตัญญกู ตเวที และฝึกการทำความเคารพครู ผู้ปกครองดังน้ี
- รจู้ กั รักพ่อ แม่ ผ้ปู กครอง และแสดงออกซ่งึ การตอบแทนพระคณุ
อยา่ งเหมาะสม
- รูจ้ ัก ระลึกถึงพระคณุ ของครูบาอาจารยแ์ ละแสดงออกซ่งึ การ
ตอบแทนพระคณุ อย่างเหมาะสม
3.4 ฝึกใหเ้ ด็กปฏบิ ัติตนและแสดงออกซ่งึ ความรักชาติไทยได้ตาม
วัย เช่นการยืนตรงเมอ่ื ได้ยินเพลงชาติ หรือเพลงสรรเสริญพระบารมี
3.5 จดั กิจกรรม การเล่านทิ าน การเล่นบทบาทสมมตุ ิ กิจกรรมพ่ี
ดูแลนอ้ ง เพ่ือพฒั นาใหเ้ ด็กมีความเมตตากรุณา มคี วามรสู้ ึกท่ีดีต่อตนเองและผูอ้ น่ื ดังน้ี
- ไม่รกั แกเพ่ือน สตั ว์ และไม่ทำลายตน้ ไม้
- ร้จู ักแบ่งปันของเล่น สงิ่ ของแกเ่ พ่ือนและผอู้ ื่น
- ได้รู้จักการช่วยเหลอื ผู้อ่นื ได้อยา่ งเหมาะสม
3.6 จดั กิจกรรมการท่องคำคลอ้ งจองเกี่ยวกบั การประหยัดอด
ออมตา่ ง ๆ จัดกจิ กรรมออมทรพั ย์และทอ่ งคำคล้องจอง เกี่ยวกับการประหยัดน้ำไฟ เพื่อพฒั นาให้เด็กรจู้ ัก
ประหยัด รู้จักใชแ้ ละรักษาทรัพยากรและสง่ิ แวดล้อมดงั นี้
- รับประทานอาหารและดื่มนมไมเ่ หลือท้ิง
34
- ไมท่ ิ้งขวา้ งหรือทำลายส่งิ ของเครื่องใช้
- รูจ้ กั ใชส้ ิ่งของเครือ่ งใช้ น้ำ ไฟอยา่ งประหยดั ปลอดภยั
- เห็นคุณค่าของเงนิ และการออม
- ไมท่ ำลายสภาพแวดล้อมในห้องเรียนและในโรงเรยี น
3.7 จดั กิจกรรมหนนู ้อยมารยาทงาม ท่องคำคล้องจอง เกีย่ วกบั
การรบั ประทานอาหารอย่างรู้คณุ คา่ เพื่อพฒั นาให้เด็กมีมารยาทและปฏบิ ัตติ นตามวัฒนธรรมไทยดงั นี้
- มีมารยาทในการพดู การฟัง
- มมี ารยาทในการไหว้ แสดงความเคารพผู้ใหญ่อย่างเหมาะสม
- มีมารยาทในการรบั ประทานอาหาร
- ล้างและจดั เกบ็ อุปกรณใ์ นการรบั ประทานอาหารเอง
3.8 จดั ทำแผนการจดั ประสบการณท์ ั้ง 6 กิจกรรม ท่ีสง่ เสรมิ
พฒั นาการดา้ นสังคมของเด็กให้มีคณุ ธรรม จริยธรรม
4. การสง่ เสรมิ พัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ปลูกฝังใหเ้ ด็กมีความซอ่ื สตั ย์
สุจริต ไม่เอาสง่ิ ของของผู้อ่ืนมาเป็นของตน มีความอดทน มีความม่นั ใจ กลา้ พูด กล้าแสดงออก ยิม้ แย้มแจม่ ใส
มีการจัดกิจกรรมทางด้านศิลปะ ดนตรี ให้นักเรียนได้วาดภาพ ระบายสี เพ่ือสร้างจินตนาการและมีอารมณ์ผอ่ ง
ใส ให้เด็กได้ทำกจิ กรรมด้วยความสนุกสนาน มปี ฏสิ มั พนั ธท์ ี่ดีกบั เพ่ือน ทง้ั ในและนอกห้องเรยี น โดยครไู ด้
ดำเนินการจัดประสบการณ์การเรยี นการสอนตามแผนการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ และมกี ารจดั กจิ กรรม
ร้อง เล่น เต้น อ่าน ให้เด็กได้แสดงออกตามศกั ยภาพของตน โรงเรียนได้ส่งเสริมใหเ้ ด็กมีพัฒนาการดา้ น
สติปัญญา ส่อื สารได้ มีทกั ษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรไู้ ด้ โดยการเขา้ รว่ มโครงการบ้าน
นักวทิ ยาศาสตร์น้อยแห่งประเทศไทย โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ ทำให้เด็กได้ฝึกปฏิบัติการทดลอง การสังเกต
ความคดิ สร้างสรรค์ รู้จักแกป้ ัญหา มีการจดั กิจกรรมโครงงานเพื่อการเรยี นรู้ โดยส่งเสรมิ ให้เด็กมคี วามสนใจ
เรยี นรู้ส่ิงตา่ ง ๆ รอบตัว กล้าซักถามเพ่ือค้นหาคำตอบ มีการจัดกิจกรรมหนรู ักภาษาไทย เพ่อื สง่ เสริมให้เดก็ มี
ทกั ษะทางภาษา มนี สิ ยั รักการอ่าน สง่ เสริมให้เด็กอา่ นนิทานและเลา่ นิทานที่ตนเองอา่ นใหค้ รูและเพือ่ นฟัง มี
การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้เดก็ เขา้ ร่วมกิจกรรมการแข่งขนั ทักษะทางวิชาการในระดับต่าง ๆ มกี ารสรา้ งสรรค์
ผลงานดา้ นศิลปะโดยการวาดภาพระบายสี การตัด ฉีก ตัด ปะ สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ ไดเ้ สนอผลงานดว้ ยภาษาที่
เหมาะสมตามวยั จดั กิจกรรมการเรียนรูน้ อกหอ้ งเรียนเพื่อให้เด็กไดป้ ฏิสมั พันธก์ ับบุคคลภายนอก เรียนร้นู อก
สถานที่ แก้ปญั หาในสถานการณ์จริง
4.1 โครงการสง่ เสรมิ พฒั นาการด้านสตปิ ญั ญาของเด็กปฐมวยั
โดยมีกจิ กรรมตา่ งๆ ให้นกั เรยี นไดป้ ฏบิ ตั ิในปกี ารศึกษา 2564 ดงั น้ี
- ครูจัดทำแผนการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ ส่อื / นวัตกรรมที่
เน้นการพัฒนาการด้านสติปัญญา
4.2 ครูจดั กจิ กรรมส่งเสริมการรักการอา่ น และใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ป็น
ประโยชน์
4.3 จัดกจิ กรรมกระต้นุ ใหผ้ ้เู รียนมีความกระตือรือรน้ ในการ
เรียนรู้
4.4 จดั กจิ กรรมทัศนศึกษานอกสถานที่
35
4.5 ฝกึ ให้เด็กมที ักษะในการสงั เกต และสำรวจ โดยการจัดการ
เรยี นรูแ้ บบโครงการสำรวจสิ่งทต่ี อ้ งการเรยี นรู้ สำรวจทั้งสภาพสงิ่ แวดล้อมภายในและภายนอกบริเวณโรงเรยี น
เช่น สำรวจตน้ ไม้ ดอกไม้ ความแตกต่างของใบไม้ชนิดตา่ ง ๆ
4.6 จดั กิจกรรมใหเ้ ด็กมีทักษะในเร่ืองมิติสัมพันธ์
- ฝึกใหเ้ ด็กบอกตำแหน่ง ทิศทางและระยะทางได้ เชน่ การเล่มเกม
โยนลกู บอลลงตะกร้า การเตะบอลเขา้ โกล์
- ฝึกใหเ้ ดก็ สื่อความหมายของมติ สิ มั พนั ธโ์ ดยการเล่นเกมการศึกษา
เกมการละเลน่ ต่างๆ เช่น การเลน่ ปดิ ตาตีหม้อ
4.7 จัดกิจกรรมให้เดก็ มีทกั ษะในเรื่องจำนวน ปรมิ าณ น้ำหนกั
โดยการฝกึ ปฏิบัตกิ ารชั่ง การตวง การวัด เปน็ ต้น
4.8 จดั กิจกรรมใหเ้ ด็กเชอื่ มโยงความรูแ้ ละทักษะต่างไปใช้ใน
ชวี ิตประจำวันไดเ้ หมาะสมกับวัยโดยการปฏบิ ัติจรงิ ให้สอดคล้องกบั ชีวิตประจำวนั เชน่ การเล่นบทบาทสมมติ
การคุยโทรศัพท์ การเล่นขายของ โครงงานการสำรวจ เปน็ ตน้
4.9 ฝึกให้เด็กกลา้ พดู กลา้ แสดงออกได้เหมาะสมกบั วยั และ
สถานการณ์โดยการร่วมกจิ กรรมแสดงบนเวทีในวันสำคญั ต่าง ๆ เลา่ ประสบการณ์ทต่ี นเองประสพและมีความ
ประทบั ใจการเปน็ ผูน้ ำ ผตู้ าม เปน็ ต้น
4.10 จัดกจิ กรรมให้เดก็ มีทักษะในการใชป้ ระสาทสมั ผัสทัง้ 5
โดยการใหเ้ ด็กเลน่ เกมทายของในกล่องปรศิ นา การสัมผัสวสั ดตุ ่าง ๆ การชิมรสชาติอาหาร การดมกลนิ่ บอก
ส่งิ ทมี่ องเหน็ ได้ เป็นต้น
4.11 จัดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบโครงการท่ีสง่ เสริมใหเ้ ด็กเกิด
ความคดิ รวบยอด
4.12 จัดกิจกรรมให้เด็กวาดภาพ, เล่าเร่ืองตามความคดิ ตาม
จนิ ตนาการเพื่อพัฒนาเด็กให้มีความคดิ จินตนาการสามารถสร้างสรรคผ์ ลงานทมี่ รี ายละเอียดแปลกใหมแ่ ละ
หลากหลาย
4.13 จัดกจิ กรรมนิทรรศการผลงานทางวิชาการเพ่ือแสดงผลงาน
ของเด็ก
4.14 กิจกรรมการจัดประสบการณ์เรียนรทู้ ี่เน้นพฒั นาทักษะการ
คดิ เช่น การใชค้ ำถามเพ่ือกระตนุ้ ให้เด็กคิด การเรยี นด้วยโครงงานอย่างง่าย การเลน่ เกมการศกึ ษา
4.15 กจิ กรรมการพัฒนาครใู ห้มกี ารใช้ส่อื ในการจัดประสบการณ์
4.16 กิจกรรมทัศนศึกษานอกสถานท่ี ใหเ้ ด็กไดเ้ รยี นรู้จาก
ประสบการณ์ตรง
4.17 กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ ได้จดั กจิ กรรมท่ีสง่ เสริม
ความคิดวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ คิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมวี ิสยั ทัศน์ ด้วยการจัดกจิ กรรมทีห่ ลากหลาย
เชน่ การอภิปรายรว่ มกนั เปิดโอกาสใหเ้ ดก็ ได้คิด ตั้งคำถาม และคน้ หาคำตอบ สรปุ คำตอบดว้ ยตนเอง การ
สำรวจ การทดลอง การประกอบอาหาร การแสดงบทบาทสมมตุ ิ ซ่ึงดูได้จากสภาพจริง แผนการจัด
ประสบการณ์ ผลงานนักเรยี น รายงานการจดั กิจกรรมทัศนศกึ ษา แฟม้ โครงการ โครงงานตา่ ง ๆ
36
4.18 กจิ กรรมสร้างสรรค์ เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้นักเรียนได้
สรา้ งสรรค์ผลงานอยา่ งอสิ ระ ได้เรยี นรูล้ ำดบั ข้ันตอนการทำงาน โดยดไู ด้จากสภาพจริงและผลงานกิจกรรม
สร้างสรรคข์ องนักเรียน
4.19 จดั สภาพหอ้ งเรียนใหเ้ อ้ือต่อการเรยี นรู้ เป็นการจัดมุม
ประสบการณ์ต่าง ๆ ภายในห้องเรียนให้น่ารูน้ ่าเรียน ซึ่งเดก็ จะไดเ้ ข้าเล่นตามมมุ ประสบการณ์ในกิจกรรมเสรี
และเกมการศึกษา ซึง่ เป็นกิจกรรมทีท่ ำให้เด็กได้เรยี นร้ผู ่านการเลน่ อยา่ งอสิ ระตามมุมประสบการณ์ต่าง ๆ
ไดแ้ ก่ มมุ บา้ น มุมหมอ มมุ บล็อกและพลาสติกสรา้ งสรรค์ มุมหนังสอื และมมุ เขยี น มมุ ดนตรี และมมุ เกม
การศึกษา ซึง่ ของเล่นในแตล่ ะมุมทำใหน้ ักเรยี นได้เล่นร่วมกนั เรียนรู้การแก้ปัญหา การคดิ วิเคราะห์ สงั เคราะห์
สิง่ ตา่ ง ๆ และความคดิ สร้างสรรค์ในการเล่นสง่ิ ตา่ ง ๆ โดยดูได้จากสภาพจรงิ ผล
มีการจดั กิจกรรมเรยี นรูส้ โู่ ลกกวา้ ง เพ่ือส่งเสริมใหเ้ ด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง
เปน็ สมาชกิ ท่ดี ขี องสงั คม มวี ินยั ในตนเอง มสี ัมมาคารวะกับผใู้ หญ่ มมี ารยาททดี่ ี ย้มิ ไหว้ ทกั ทาย ช่วยเหลอื
ตนเองในการปฏิบัตกิ จิ วัตรประจำวัน สามารถรับประทานอาหารดว้ ยตนเอง และมมี ารยาทในการรับประทาน
อาหาร รูจ้ กั ดูแลรักษาความสะอาด ทั้งภายในและนอกห้องเรียน โดยการจดั กิจกรรมแบ่งเขตพนื้ ทร่ี บั ผดิ ชอบ
ร้จู ักช่วยเหลอื แบง่ ปนั เพื่อนในหอ้ งเรยี น ทำงานรว่ มกบั เพ่ือนๆ ได้ โดยการใช้กิจกรรมกลุ่มในการจดั
ประสบการณ์ การเรียนรู้ รู้จักเก็บของเล่น สงิ่ ของเครื่องใช้ ของตน และของส่วนรวม ปลูกฝังให้นกั เรียนรู้จัก
ประเพณวี ัฒนธรรม ดว้ ยกจิ กรรมอนุรักษว์ ฒั นธรรมไทย รจู้ ักทดแทนบญุ คุณพ่อ แม่ ครู โดยจดั กจิ กรรมวนั
สำคญั ทางชาติ กิจกรรมวันสำคญั ทางพระพทุ ธศาสนา เช่น พอ่ วนั แม่ วันไหว้ครู วันเข้าพรรษา สง่ เสริม
พฒั นาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ปลกู ฝงั ใหเ้ ดก็ มีความซ่ือสัตย์สุจริต ไมเ่ อาสงิ่ ของของผู้อน่ื มาเปน็ ของตน มคี วาม
อดทน มีความมัน่ ใจ กล้าพดู กล้าแสดงออก ย้ิมแย้มแจม่ ใส มกี ารจัดกิจกรรมทางดา้ นศิลปะ ดนตรี ให้นกั เรียน
ไดว้ าดภาพ ระบายสี เพ่ือสร้างจนิ ตนาการและมีอารมณผ์ ่องใส ใหเ้ ดก็ ได้ทำกจิ กรรมด้วยความสนุกสนาน มี
ปฏสิ ัมพันธท์ ่ีดกี ับเพือ่ น ทัง้ ในและนอกหอ้ งเรียน โดยครูได้ดำเนนิ การจัดประสบการณ์การเรยี นการสอนตาม
แผนการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ และมกี ารจดั กิจกรรมร้อง เล่น เตน้ อา่ น ใหเ้ ด็กได้แสดงออกตามศกั ยภาพ
ของตน
2) ผลทเ่ี กิดจากการพัฒนา
1. เดก็ ร้อยละ 100 มีพัฒนาการด้านรา่ งกาย แข็งแรง มีสุขนสิ ัยที่ดี และดูแลความ
ปลอดภยั ของตนเองได้
2. เด็กร้อยละ 100 พัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดออกทางอารมณ์ได้
3. เด็กรอ้ ยละ 100 มพี ัฒนาการดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของ
สงั คม
4. เด็กร้อยละ 84.61 มพี ฒั นาการดา้ นสติปญั ญา สอ่ื สารได้ มที ักษะการคดิ พืน้ ฐาน
และแสวงหาความรู้ได้
3) ข้อมูล หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ทสี่ นบั สนุนผลการประเมนิ ตนเอง
- รายงาน สรปุ โครงการ/กิจกรรม
- เกยี รตบิ ัตร/เหรยี ญรางวลั จากการแขง่ ขนั กฬี า
- กจิ กรรมการจดั ประสบการณ์
- รปู ภาพ
- ผลงานเด็ก
- รายงานกจิ กรรมตามโครงการ
37
- บนั ทกึ การดื่มนมแปรงฟนั
- รายงานบันทกึ นำ้ หนกั ส่วนสูง/ภาวะโภชนาการ
1.3 จุดเดน่ จุดทีค่ วรพฒั นา แผนพฒั นาคณุ ภาพเพอ่ื ยกระดบั ให้สูงขึ้น
จุดเด่น จุดทีค่ วรพัฒนา
เดก็ รักการออกกำลังกาย ดแู ลสขุ ภาพ และ รับผิดชอบการทำงานให้สำเร็จและภมู ใิ จในผลงาน
ชว่ ยเหลอื ตนเองได้ เหน็ โทษของส่งิ เสพติดให้โทษ ของตนและผ้อู ื่น และส่งเสริมใหเ้ ดก็ มีความสนใจ
และมอมเมา มีความมั่นใจ กลา้ แสดงออกอย่าง และมีความกระตือรือร้นในการทำงาน
เหมาะสม สนใจใฝ่เรียนรู้ รกั การอ่าน การเขยี น
และรา่ เริง แจ่มใสมมี นุษยสัมพันธ์ที่ดตี ่อเพ่ือน ครู
และผูอ้ ่ืน
แผนพัฒนาคุณภาพเพือ่ ยกระดบั ใหส้ ูงขนึ้
1) โครงการส่งเสรมิ ศักยภาพผู้เรียนระดบั ปฐมวยั
2) กจิ กรรมงานอนามยั โรงเรยี น
3) กิจกรรมเฝา้ ระวงั ทันตสุขภาพนกั เรยี น (ฟ.ย้มิ ใส)
4) กิจกรรมการแข่งขนั กีฬาสีภายในโรงเรยี น
5) กจิ กรรมการทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรยี น
6) การจัดกิจกรรมประจำวัน
7) โครงการอาหารกลางวัน
8) โครงการส่งเสรมิ พัฒนาการดา้ นอารมณแ์ ละจติ ใจของเด็กปฐมวยั
9) โครงการส่งเสรมิ พัฒนาการดา้ นอารมณ์ของเด็กปฐมวยั
10) โครงการส่งเสรมิ พัฒนาการด้านสังคมของเดก็ ปฐมวยั
11) โครงการสง่ เสรมิ พัฒนาการด้านสตปิ ญั ญาของเด็กปฐมวัย
สรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี 1 ผลการประเมินอยู่ในระดบั ยอดเยีย่ ม
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
ประเด็นที่ 2.1 มีหลักสตู รครอบคลมุ พฒั นาการทัง้ 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถนิ่
- ประเด็นที่ 2.2 จดั ครเู พียงพอกับชน้ั เรยี น
ประเดน็ ที่ 2.3 สง่ เสรมิ ใหค้ รูมีความเช่ียวชาญดา้ นการจัดประสบการณ์
ประเด็นที่ 2.4 จดั สภาพแวดล้อมและสื่อเพ่ือการเรียนร้อู ยา่ งปลอดภยั และเพยี งพอ
ประเด็นท่ี 2.5 ให้บริการสอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและส่อื การเรยี นรู้เพื่อสนับสนุนการจัด
ประสบการณ์
ประเด็นที่ 2.6 มีระบบบริหารคุณภาพที่เปดิ โอกาสให้ผเู้ กีย่ วข้องทกุ ฝา่ ยมีส่วนรว่ ม
1.1 ผลการประเมินอย่ใู นระดับ ยอดเยี่ยม คา่ เป้าหมายที่ตง้ั ไว้ ยอดเยี่ยม บรรลุ ◻ ไมบ่ รรลุ
38
1.2 มวี ิธกี ารพฒั นา/ผลท่เี กิดจากการพฒั นา ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์
ทีส่ นบั สนนุ ผลการประเมินตนเอง
1) วิธกี ารพัฒนา/กระบวนการพฒั นา
การจัดการศกึ ษาปฐมวยั ของโรงเรียนทงุ่ กุลาประชารัฐได้มีการกำหนดเป้าหมาย วิสยั ทัศน์
และพันธกิจของสถานศึกษาไวอ้ ย่างชดั เจน มอี งค์ประกอบท่ีสำคญั เพอ่ื ท่ีจะขบั เคล่อื นการศึกษาระดับปฐมวัย
ไดแ้ ก่ การพฒั นาวิชาการทเ่ี นน้ คณุ ภาพผูเ้ รียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ไดม้ ีการพัฒนา
หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัยให้สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของท้องถิ่น พิจารณาจากวัยของเด็ก ประสบการณ์ของเด็ก
โดยเปน็ หลักสตู รท่มี งุ่ พัฒนาเด็กทกุ ด้าน ทง้ั ด้านรา่ งกาย อารมณ์จิตใจ สงั คม และสตปิ ญั ญา เพื่อใหผ้ ้เู รียน
มีความสุขในการเรียนรู้ มีการพัฒนาครูและบคุ ลากรให้มีศักยภาพ สำหรบั ดา้ นระบบกลไก การเสริมสรา้ ง
ความตระหนักรับรู้ และความเข้าใจการจัดการศกึ ษาปฐมวยั โดยให้ผู้มีส่วนรว่ มทกุ ฝา่ ยได้มีบทบาทในการ
มสี ่วนรว่ มการจดั การศึกษา โดยให้มกี ารประสานความรว่ มมือเพือ่ รว่ มกันพัฒนาผู้เรียนตามศกั ยภาพ
สถานศกึ ษามแี นวทางในการปฏบิ ตั ิการจัดการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั เพื่อพฒั นาให้เด็กมีพฒั นาการดา้ นร่างกาย
อารมณ์ จติ ใจ สังคม และสติปัญญาทีเ่ หมาะสมกับวัย ความสามารถและความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล โดยมี
หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั ของสถานศึกษาและนำไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ มรี ะบบ และกลไกให้ผู้
มสี ว่ นร่วมและแสวงหาความร่วมมือกบั ผู้ปกครอง ชุมชน และท้องถิน่ รวมทัง้ มีการจดั ส่ิงอำนวยความสะดวก
เพอ่ื พัฒนาเด็กอยา่ งรอบด้าน ปรับปรงุ หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั ปกี ารศึกษา 2564 ให้สมบูรณย์ ง่ิ ข้ึนใน
ดา้ นของตารางวิเคราะห์สาระการเรียนรู้รายปีช้ันอนบุ าลปีที่ 2 และชั้นอนบุ าลปที ี่ 3 มีการจัดทำแผนการจดั
ประสบการณ์แบบบูรณาการทเ่ี นน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ โดยดูได้จากหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวัย แผนการจดั
ประสบการณ์ รายงานโครงการตา่ ง ๆ โครงงานต่าง ๆ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายงานผลการประเมิน
พัฒนาการนักเรยี น และผลงานนักเรียน
ด้านกระบวนการบรหิ ารและจดั การ มกี ารประเมนิ และพัฒนาหลักสตู รซ่งึ สอดคล้องกับ
หลักสตู รปฐมวัย พ.ศ.2560 และบรบิ ทของชุมชน จัดครูทเี่ หมาะสมกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ คือ
มคี รูประจำการทจ่ี บการศึกษาปฐมวัย และมคี รพู ่เี ลย้ี งทผี่ ่านการอบรมทางด้านการดูแลเด็กปฐมวัย มกี าร
พฒั นาครแู ละบคุ ลากรให้มีศักยภาพ สำหรับดา้ นระบบกลไก การเสรมิ สร้างความตระหนกั รับรู้ และความ
เขา้ ใจการจัดการศึกษาปฐมวยั โดยใหผ้ มู้ ีส่วนร่วมทุกฝา่ ยไดม้ บี ทบาทในการ มีส่วนร่วมการจดั การศกึ ษา
โดยใหม้ ีการประสานความรว่ มมอื เพื่อร่วมกันพัฒนาผเู้ รียนตามศักยภาพ
ด้านการจดั ครูใหเ้ พยี งพอตอ่ ช้ันเรียนโรงเรียนทงุ่ กุลาประชารัฐได้มีการจัดครทู ่ีเหมาะสมกับ
การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ คอื มคี รูประจำการทจ่ี บการศกึ ษาปฐมวยั และมีครูพเี่ ล้ียงที่ผ่านการอบรม
ทางด้านการดูแลเด็กปฐมวยั โรงเรียนทงุ่ กลุ าประชารัฐไดส้ ่งบุคคลากรเขา้ รับการอบรมเพ่ือพัฒนาศักยภาพ
อย่างต่อเนื่อง จากกจิ กรรมโรงเรยี นจดั หาพเ่ี ล้ียงเด็กปฐมวัย ส่งผลให้โรงเรยี นทุ่งกลุ าประชารัฐมีครูเพยี งพอต่อ
ช้ันเรยี นในระดับหนง่ึ
ดา้ นส่งเสริมใหค้ รมู ีความเชยี่ วชาญด้านการจดั ประสบการณ์โรงเรียนทุ่งกลุ าประชารฐั ได้มีการ
พัฒนาคณุ ภาพครูด้านการศึกษาปฐมวัยอยา่ งต่อเน่ือง ซงึ่ ส่งผลใหค้ รดู า้ นการศกึ ษาปฐมวัยทกุ คนล้วนมีความรู้
ความสามารถในการวเิ คราะห์และออกแบบหลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย มที กั ษะในการจดั ประสบการณ์และ
การประเมนิ พัฒนาการเดก็ เป็นรายบคุ คล มปี ระสบการณ์ในการออกแบบการจดั กิจกรรม ทกั ษะการสังเกต
และการปฏิสมั พนั ธ์ที่ดกี บั เดก็ และผปู้ กครอง จากโครงการพฒั นาบคุ คลากร กจิ กรรม PLC กจิ กรรมการ
ประชุมสัมมนา กจิ กรรมอบรมคปู องครู และกิจกรรมประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร ส่งผลใหค้ รูโรงเรยี นท่งุ กุลาประชา-
รัฐมีความเชยี่ วชาญด้านการจัดประสบการณ์