หนังสือชุดฝึกทักษะภาษาไทยระดับพื้นฐาน ๘ ตามหลักสูตรภาษาไทยพื้นฐานสำ หรับคนไทยในต่างแดน สนับสนุนการจัดทำ โดย สถานกงสุลใหญ่ ณ นครลอสแอนเจลิส เขียนโดย สาลี่ ศิลปสธรรม
หนังสือชุดฝึกทักษะภาษาไทยระดับพื้นฐาน ๘ ตามหลักสูตรภาษาไทยพื้นฐานสำ หรับคนไทยในต่างแดน สนับสนุนการจัดทำ โดย สถานกงสุลใหญ่ ณ นครลอสแอนเจลิส เขียนโดย สาลี่ ศิลปสธรรม
คำ นำ นายต่อ ศรลัมพ์ กงสุลใหญ่ ณ นครลอสแอนเจลิส ๒๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๖๔ สถานกงสุลใหญ่ ณ นครลอสแอนเจลิส ได้จัดทำ “สื่อการเรียน การสอน ชุดสวัสดี” ภายใต้โครงการผลิตหนังสือและสื่อการสอนภาษาไทยสำ หรับเยาวชนที่เกิด และเติบโตในสหรัฐอเมริกาในรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ครั้งแรก ระดับ ๑ - ๖ จำ นวน ๑๒ เล่ม โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้ครูอาสาสมัครและเยาวชนไทยสามารถเข้าถึงหนังสือและสื่อการสอน ภาษาไทยได้สะดวกโดยไม่มีค่าใช้จ่าย โดยได้รับความอนุเคราะห์จากอาจารย์สาลี่ ศิลปสธรรม ครูแห่งชาติ ปี ๒๕๒๔ สาขาการสอนภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็นผู้คิดค้นหลักสูตรการเรียนภาษาไทย สำ หรับเยาวชนไทยในต่างประเทศ ซึ่งใช้แพร่หลายในภูมิภาคยุโรป มาเป็นผู้จัดทำ หนังสือดังกล่าว “สื่อการเรียนการสอน ชุดสวัสดี” ระดับ ๑ - ๖ จำ นวน ๑๒ เล่ม ได้รับการตอบรับ อย่างดีจากครูอาสาสมัครและผู้ปกครองที่สอนภาษาไทยให้ลูกหลาน สถานกงสุลใหญ่ฯ จึงเล็งเห็น ว่า การจัดทำ หนังสือเรียนภาษาไทยในระดับที่สูงขึ้นน่าจะเป็นประโยชน์ต่อเยาวชนที่ประสงค์จะ เรียนรู้หลักภาษาไทยให้เข้มข้นและลึกซึ้งยิ่งขึ้น จึงได้ขอความอนุเคราะห์อาจารย์สาลี่ ศิลปสธรรม เพื่อจัดทำ “สื่อการเรียนการสอน ชุดสวัสดี” ระดับ ๗ - ๘ ซึ่งหนังสือเรียนชุดนี้เหมาะอย่างยิ่ง สำ หรับครูอาสาสมัครและผู้ปกครอง รวมทั้งชาวต่างชาติที่ประสงค์จะเรียนภาษาไทยในระดับที่สูงยิ่งขึ้น สถานกงสุลใหญ่ฯ ขอขอบคุณอาจารย์สาลี่ ศิลปสธรรม ที่ได้ให้ความอนุเคราะห์ ในการจัดทำ หนังสือเรียนภาษาไทยชุดนี้ และขอขอบคุณสมาคมไทยแห่งแคลิฟอร์เนีย ภาคใต้ที่ได้ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการจัดทำ หนังสือและประชาสัมพันธ์ไปยังชุมชนไทยใน รัฐแคลิฟอร์เนียและพื้นที่อื่น ๆ ในสหรัฐอเมริกา สถานกงสุลใหญ่ฯ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเรียน ภาษาไทยชุดนี้จะเป็นประโยชน์ต่อครูอาสาสมัคร ผู้ปกครอง และเยาวชนไทยในสหรัฐอเมริกา ในการต่อยอดการเรียนการสอนภาษาไทยในระดับที่สูงขึ้น สุดท้ายนี้ สถานกงสุลใหญ่ฯ เชื่อมั่นเป็นอย่างยิ่งว่าการส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาไทยในต่างประเทศจะช่วย เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนไทยและสานต่อคุณค่าความเป็นไทยและสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น อย่างยั่งยืนตลอดไป
คำ ชี้แจง หนังสือชุดฝึกทักษะภาษาไทยระดับพื้นฐาน สวัสดี ๘ เป็นสื่อที่สร้างขึ้นเพื่อพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยในต่างแดนให้มีความรู้ความสามารถด้านภาษาไทย เทียบเท่าเด็กที่เรียนในระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๖ ในประเทศไทย และเป็นสื่อที่จัดทำ ในรูปแบบไฟล์อิเล็คทรอนิกส์ (E-Book) หนังสือชุดฝึกทักษะภาษาไทยระดับพื้นฐาน สวัสดี ๘ เป็นสื่อที่นำ ไปใช้กับผู้เรียนที่เรียน ด้วยสื่อการเรียนการสอนชุดสวัสดี ๑ - ๖ จำ นวน ๑๘ เล่มมาแล้ว หนังสือชุดฝึกทักษะภาษาไทยระดับพื้นฐาน สวัสดี ๘ รูปแบบการนำ เสนอจะมีความ แตกต่างกับชุดสวัสดี ๑ - ๖ สำ หรับเนื้อหาต่าง ๆ ในหนังสือสวัสดี ๘ จะเป็นการสรุปรวบรวม หลักไวยกรณ์ที่จำ เป็น ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๖ และนำ เสนอในรูปแบบของการอ่านเรื่อง การศึกษาใบความรู้ การศึกษาใบงาน และการทำแบบทดสอบ เพื่อให้ง่ายต่อการจัดการเรียนการสอน ไทยสำ หรับเด็กและเยาวชนในต่างแดน เป็นการเรียนทีละน้อย จากง่ายไปหายาก ขอยํ้าเตือนอีกครั้งว่าเด็กและเยาวชนที่จะเรียนด้วยสื่อสวัสดี ๘ จะต้องมีความรู้ด้านการ ฟัง พูด อ่านและเขียนภาษาไทย ตามที่หลักสูตรการเรียนภาษาไทยพื้นฐานสำ หรับคนไทยในต่างแดน กำ หนดและเรียนจบสื่อชุดสวัสดี ๑ - ๖ มาแล้ว จึงจะสามารถเรียนด้วยสื่อชุดสวัสดี ๘ ได้ ซึ่งแน่นอน การเรียนของเด็กและเยาวชนไทยต้องเรียนอย่างค่อยเป็นค่อยไป เรียนทีละน้อยๆ และเรียนอย่างเข้าใจ จึงจะทำ ให้การเรียนการสอนภาษาไทยสำ หรับเด็กและเยาวชนไทยในต่างแดนมีความรู้ความสามารถ ด้านภาษาไทยเทียบเท่ากับเด็กที่เรียนภาษาไทยในระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๖ ของเมืองไทย สาลี่ ศิลปสธรรม
๘ อักษรนำและวิสรรชนีย์ ๑ ๙ ๑๐ ๑๑ ๒๐ ๓๙ ๕๕ ๘๘ ๑๑๙ สารบัญ หน้า คำ ราชาศัพท์และสำ นวนไทย เครื่องหมายวรรคตอน และพจนานุกรม บทกลอน วรรณคดี และวรรณกรรมไทย เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบท เรื่อง ๑๒ ทักษะเพื่อการสื่อสาร
๑
๒ บทที่ ๘ อักษรนำ และวิสรรชนีย์ ขยะ ตลาด อย่า หนี อร่อย สภา สบาย ชนะ จมูก ภูมิใจ นักเรียนบางคนอ่านได้ บางคนอ่านไม่ได้ ครูดาราจึงอ่าน คำแล้วให้นักเรียนอ่านตาม ครูดารานำ บัตรคำ มาให้นักเรียนอ่าน ขยะ ตลาด อย่า หนี อร่อย ขะ – หยะ ตะ – หลาด อย่า หนี อะ – หร่อย สภา สบาย ชนะ จมูก ภูมิใจ สะ – ภา สะ - บาย ชะ – นะ จะ – หมูก พูม – ใจ
๓ โอลิเวีย : เรื่องนี้ดูยากนะคะ ครูดารา : ครูจะให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ ๑๙ – ๒๑ แล้วครูจะอธิบายในแต่ละเรื่องให้นักเรียน เข้าใจ นักเรียนคงจำ เรื่อง อ นำ และ ห นำ ได้นะคะ นักเรียนเคยเรียนมาแล้ว ใครพอ สรุปได้บ้างคะ ไชยา : ผมสรุปเรื่อง อ นำ ได้ครับ อักษร อ นำ ย เวลาอ่านไม่ต้องออกเสียง อ ซึ่งใน ภาษาไทย มีอยู่ ๔ คำครับ คือ อย่า อยู่ อย่าง อยาก มาลี : ส่วน คำ ที่มี ห นำ คือ อักษรตํ่าแบ่งเป็น อักษรคู่ และอักษรเดี่ยว ในภาษาไทยสามารถ เอา ห มานำอักษรเดี่ยว เวลาอ่านไม่ต้องออก เสียงสระ อะ ให้ออกเสียงตัวตามที่มี ห นำ ได้ เลยคะ และออกเสียงพยางค์เดียว เช่น หมี หรือ ใหญ่ เหนือ หนาม หมอก ใหม่ หนี หนอน หม่อม ไหว ไหล
๔ ครูดารา : เก่งมากค่ะ วันนี้ครูจะสอนเรื่อง อักษรนำและ เรื่อง วิสรรชนีย์ ครูดาราแจกใบความรู้ที่ ๑๙ ให้นักเรียนศึกษาและ ทำ ใบงานที่ ๑๙.๑ - ๑๙.๒ ครูและนักเรียนร่วมกัน สรุปบทเรียน ครูดาราแจกใบความรู้ที่ ๒๐ ให้นักเรียนศึกษาและทำ ใบงานที่ ๒๐.๑ - ๒๐.๒ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป บทเรียน ครูดาราแจกใบความรู้ที่ ๒๑ ให้นักเรียนศึกษาและทำ ใบงานที่ ๒๑.๑ - ๒๑.๒ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป บทเรียน
๕ ใบความรู้ที่ ๑๙ อักษรนำ อักษรนำ คือ คำ ที่มีพยัญชนะ ๒ ตัว ประสมด้วยสระเดียวกัน ออกเสียง ได้ ๒ แบบ แบบที่ ๑ คือ อ่านออกเสียงพยางค์เดียว คือ คำ ที่มี อ นำ ย และคำ ที่มี ห นำ หน้าอักษรตํ่าเดี่ยว ง ญ ณ น ม ย ร ล ว ฬ อ นำ ย มีอยู่ ๔ ตัว คือ อย่า อยู่ อย่าง อยาก ห นำ อักษรตํ่ำ เดี่ยว เช่น หวี หงอน ใหญ่ หนอน หรู หลาน หวาน แบบที่ ๒ คือ อ่านออกเสียง ๒ พยางค์ - อักษรสูงนำอักษรตํ่าเดี่ยว - อักษรกลางนำอักษรตํ่าเดี่ยว การออกเสียงพยางค์แรกจะออกเสียง อะ กึ่งเสียงพยางค์ที่ ๒ จะออกเสียง แบบมี ห นำ
๖ ขยะ สยอง สลัด สนิท สมอง ขะ – หยะ สะ – หยอง สะ – หลัด สะ – หนิด สะ – หมอง สงบ เฉลิม สว่าง ผวา ฉลาด สะ – หงบ ฉะ - เหลิม สะ – หว่าง ผะ – หวา ฉะ– หลาด คำอักษรสูงนำอักษรตํ่าเดี่ยว จมูก อร่อย ตลาด ตลก อร่าม จะ – หมูก อะ – หร่อย ตะ – หลาด ตะ – หลก อะ – หร่าม ปลัด องุ่น ตลอด ตลิ่ง ปรอท ปะ– หลัด อะ - หงุ่น ตะ – หลอด ตะ – หลิ่ง ปะ– หรอด คำอักษรกลางนำอักษรตํ่าเดี่ยว
๗ ใบความรู้ที่ ๒๐ วิสรรชนีย์ คือ รูป สระ -ะ ใช้เขียนไว้หลังพยัญชนะ วิสรรชนีย์แบ่งออกได้ ๒ แบบ คือ วิสรรชนีย์ แบบที่ ๑ เรียกว่า คำ ที่ประวิสรรชนีย์ คือ คำ มีรูปสระ –ะ ประสมอยู่ และ เวลาอ่านออกเสียงจะออกเสียง อะ เต็มเสียงวิสรรชนีย์ แบบที่ ๑ นี้ สระ –ะ จะอยู่ที่พยางค์หน้า และ พยางค์ท้าย มะลิ อะไร มะระ ตะปู กระทะ ประตู เกะกะ เอะอะ พาชนะ ลักษณะ ธุระ สาธารณะ ประวิสรรชนีย์พยางค์หน้า ประวิสรรชนีย์ท้าย
๘ แบบที่ ๒ เรียกว่า คำ ที่ไม่ประวิสรรชนีย์ หรือคำ ที่เวลาอ่านออกเสียง จะมีเสียง สระ –ะ กึ่งเสียง วิสรรชนีย์ แบบที่ ๒ เสียง –ะ จะอยู่ที่พยางค์หน้าและอยู่ระหว่างคำ ขนุน สบาย ฉลาม ชนะ พยาน ชบา ราชการ วิทยุ ตุ๊กตา ตั๊กแตน ศาสนา สุขภาพ ไม่ประวิสรรชนีย์พยางค์หน้า ไม่ประวิสรรชนีย์ท้าย
๙ ใบความรู้ที่ ๒๑ คำ ที่มีตัวพยัญชนะและสระไม่ออกเสียง คำ ที่มีตัวพยัญชนะและสระไม่ออกเสียง คือ คำ ที่มีตัว พยัญชนะและสระอยู่ในคำ แต่เวลาอ่านจะไม่ออกเสียงตัว พยัญชนะหรือสระนั้น ๆ เช่น เพชร มิตร เพด มิด จักร เกษตร จัก กะ – เสด ๑) ไม่ออกเสียงตัว ร ที่อยู่หลังตัวสะกด คำ คำอ่าน คำ คำอ่าน สามารถ ปรารถนา สา–มาด ปราด–ถะ–หนา เกียรติบัตร ชลมารค เกียด – ติ – บัด ชน - ละ - มาก ๒) ไม่ออกเสียงตัว ร ที่อยู่กลางคำ คำ คำอ่าน คำ คำอ่าน
๑๐ ประวัติ ญาติ สาเหตุ ประ – หวัด ยาด สา – เหด ภูมิใจ สมมุติ สัญชาติ พูม – ใจ สม – มุด สัน - ชาด ๓) ไม่ออกเสียง –ิ หรือ สระ –ุ ที่อยู่กับตัวสะกดบางคำ คำ คำอ่าน คำ คำอ่าน
๑๑ ๑) ทำ เครื่องหมาย / หน้าคำ ที่เป็นอักษรนำ ๑. อยู่ ๒. หนอน ๓. ศาสนา ๔. หลาน ๕. สมอง ๖. สุขภาพ ๗. ขยะ ๘. จมูก ๙. พยาน ๑๐. ตลาด ๑๑. ราชการ ๑๒. หน้า ๑๓. เสมอ ๑๔. ประตู ๑๕. อร่อย ๑๖. ตลก ๑๗. ขนุน ๑๘. ปรอท ๑๙. องุ่น ๒๐. ฉลาม ใบงานที่ ๑๙.๑
๑๒ ๑) หาคำ มาเติมไม่น้อยกว่า ๔ คำ ใบงานที่ ๑๙.๒ คำ ที่มี อ นำ ย คำ ที่มี ห นำ คำ ที่มี อักษรสูงนำอักษรตํ่าเดี่ยว คำ ที่มี อักษรกลางนำอักษรตํ่าเดี่ยว
๑๓ คำ ที่ประวิสรรชนีย์ คำ ที่ไม่ประวิสรรชนีย์ สบาย กระโปรง ขนม พยาบาล ธนู ชะโงก มะขาม ชรา มะลิ กระทะ ๑) โยงคำ ให้ถูกต้อง ใบงานที่ ๒๐.๑
๑๔ ๑) จากภาพให้เขียนคำ ที่ไม่ประวิสรรชนีย์ ใบงานที่ ๒๐.๒
๑๕ สมัคร เพชร สามารถ ปรารถนา จักรเย็บผ้า เกียรติบัตร ญาติ ภูมิใจ ประวัติ เกษตร แร่ธาตุ สาเหตุ ๑) เขียนคำอ่านจากคำ ที่กำ หนด ใบงานที่ ๒๑.๑ คำ คำอ่าน
๑๖ คำ ที่ไม่ออกเสียง ร ที่อยู่หลังตัวสะกด ๑) เขียนเติมคำ ชนิดละไม่น้อยกว่า ๓ คำ ใบงานที่ ๒๑.๒ คำ ที่ไม่ออกเสียง ร ที่อยู่กลางคำ คำ ที่ไม่ออกเสียงสระ –ิ หรือ สระ –ุ ที่อยู่กับ ตัวสะกด
๑๗ แบบทดสอบบทที่ ๘ เรื่อง อักษรนำ และวิสรรชนีย์ คำชี้แจง : ให้นักเรียนทำ เครื่องหมาย X ทับข้อที่มีคำตอบที่ถูกต้อง คำ ใดถูกต้อง อักษรนำ คือ ข้อใดเป็นอักษรนำ คำคู่ใดเป็นอักษรนำ ทั้งหมด ข้อใดไม่ใช้อักษรนำ ก. อย่า ข. หรูหรา ค. กลิ่น ง. จมูก ข้อใดอักษรสูงนำอักษรเดี่ยว ก. จมูก ข. สนาม ค. ตลาด ง. องุ่น ข้อใดเป็น อ นำ ย ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ก. มีพยัญชนะตัน ๒ ตัวรวมกัน และอยู่ในสระเดียวกัน ข. เวลาอ่านออกเสียงพยางค์ เดียวหรือ ๒ พยางค์เดียวก็ได้ ค. มี อ นำ ย มี ห นำ และมี อักษรสูงและอักษรกลางนำ อักษรเดี่ยว ง. ถูกทุกข้อ ก. ขนุน ข. สบาย ค. ลักษณะ ง. ฉลาด ก. ชนะ ธนาคาร ข. อยาก หนัก ค. สว่าง ประตู ง. วิทยุ ธนู ก. อย่า ข. อยู่ ค. อยาก ง. ถูกทุกข้อ
๑๘ ข้อใดอักษรกลางนำอักษรตํ่าเดี่ยว อักษรนำข้อใดอ่านไม่ถูกต้อง ข้อใดมีอักษรนำ มากที่สุด คำ ที่ประวิสรรชนีย์คือ ก. พ่อชอบกินขนมทองหยิบและ ทองหยอด ข. จังหวัดลำ ปางอยู่ภาคเหนือ ค. นกตัวใหญ่บินว่อนเพราะอยาก กินหนอน ง. นกตัวใหญ่บินว่อนเพราะอยาก กินหนอน คำ ที่ไม่ประวิสรรชนีย์คือ ก. คำ ที่ออกเสียง ะ กึ่งเสียง พยางค์หน้า ข. คำ ที่ออกเสียง ะ กึ่งเสียง ค. คำ ที่ออกเสียง ะ เต็มเสีย และ กึ่งเสียง ง. ถูกทุกข้อ ข้อใดเขียนถูก ๗. ๘. ๙. ๑๐. ก. ตลก อร่อย ข. สงบ ฉลาด ค. ขยะ ผวา ง. หวี ฉลอง ก. ตลาด ตะ – หลาด ข. องุ่น อะ – หงุ่น ค. สนิท สะ – หนิท ง. ปรอท ปะ – รอด ก. คำ ที่ออกเสียง ะ เต็มเสียง ข. คำ ที่ออกเสียง ะ กึ่งเสียง ค. คำ ที่ออกเสียง ะ เต็มเสียง และกึ่งเสียง ง. ถูกทุกข้อ ก. ชะรา ข. ขะโมย ค. ลลาย ง. สบาย ๑๑. ๑๒. ข้อใดเขียนผิด ก. สะดวก ข. สะอาด ค. ชนะ ง. ชะรา ๑๓. คำ ที่อ่านออกเสียง อะ พยางค์ หน้า ก. สบู่ ข. ราชการ ค. ตั๊กแตน ง. วิทยุ ๑๔.
๑๙ คำ ที่อ่านออกเสียง อะ ที่ พยางค์ กลาง คำ ใดเขียนถูก คำ ใดเขียนผิด ข้อใดอ่านผิด ก. เกียรติ เกีย – ระ – ติ ข. สมมุติ สม – มุด ค. เกษตร กะ – เสด ง. สมัคร สะ – หมัก ข้อใดมีตัว ร ที่ไม่ออกเสียง ก. ปริศนา ข. ประวัติ ค. ปรารถนา ง. เคารพ คำว่า อุ – บัด – ติ – เหด เขียน อย่างไร ๑๕. ๑๖. ๑๗. ๑๘. ๑๙. ๒๐. ก. ธนู ข. พยาน ค. โทรทัศน์ ง. ขนุน ก. อนุญาต ข. สาเหต ค. สังเกตุ ง. จักระยาน ก. เพชร ข. สามาถ ค. มิตร ง. ญาติสนิท ก. อุบัตติเหตุ ข. อุบัตติเหตุ ค. อุบัติเหต ง. อุบัติเหตุ
๒๐
๒๑ บทที่ ๙ คำ ราชาศัพท์ และสำ นวนไทย วันนี้ครูดารานำ ภาพเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ พระสงฆ์ และภาพบุคคลมาให้นักเรียนดูและถามนักเรียน ครูดารา : นักเรียนรู้จักคำ ราชาศัพท์ไหม เเละคำ ราชาศัพท์ นำ ไปใชกับบุคคลใด นักเรียน : พระมหากษัตริย์ ครูดารา : คำ ราชาศัพท์ หมายถึง คำสุภาพไพเราะ ที่ใช้ให้ เหมาะสมกับฐานะของบุคคลในสังคม ซึ่งได้แก่ พระมหากษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์ พระภิกษุ ข้าราชการ และสุภาพชน ดังนั้น คำ ราชาศัพท์ไม่ได้ใช้แต่เฉพาะกับพระมหากษัตริย์ เท่านั้น
ครูดาราให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ ๒๒ และทำ ใบงาน ที่ ๒๒.๑ – ๒๒.๒ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียน ครูดารานำ ภาพมาให้นักเรียนดู และให้นักเรียนบอก ลักษณะของภาพ นก ๒ หัว ลูกไก่ในกำ มือ กระต่ายตื่นตูม ปิดทองหลังพระ ปลาใหญ่กินปลาเล็ก กิ้งก่าได้ทอง นักเรียนส่วนใหญ่ พูดข้อความจากภาพได้ ครูดารา : นักเรียนดูจากภาพแรกนะคะ มีความหมายว่าอย่างไรคะ ไชยา : ผมไม่เคยเห็นนกมี ๒ หัวเลยครับ แต่ภาพกระต่ายตื่น ตูม ผมรู้ความหมายครับ หมายถึง คนที่แสดงอาการ ตกใจง่ายโดยไม่สำ รวจว่าเป็นเรื่องจริงหรือไม่ ผมเคย เรียนเรื่องกระต่ายตื่นตูมมาแล้วครับ ๒๒
ครูดารา : ดีมากค่ะ ไชยา จากภาพที่ครูนำ มาให้นักเรียนดูใน วันนี้ เป็นภาพที่ข้อความมีความหมายแฝงอยู่ ใช้ใน การเปรียบเทียบสิ่งต่าง ๆ เพื่อเป็นการสั่งสอนหรือ เตือนสติให้คิด นักเรียนดูภาพใหม่นะคะ หมายถึง คนที่ทำตัวเข้ากับคนทั้ง ๒ ฝ่ายที่เป็น ศัตรูกัน โดยหวังประโยชน์เข้าตน หมายถึง คนที่ทำความดี แต่ไม่ได้รับการยกย่อง เพราะไม่มีใครเห็นคุณค่า หมายถึง เป็นผู้ที่อยู่ในอำ นาจที่เหนือกว่าจะทำ ใคร อย่างไรก็ได้ หมายถึง คนหรือผู้ใหญ่ที่มีอำ นาจ กดขี่ข่มเหงผู้ที่ อ่อนแอกว่าหรือผู้น้อย หมายถึง คนที่ได้ลาภยศแล้วทะนงตัว ลืมฐานะ เดิมของตน ๒๓ นก ๒ หัว ปิดทองหลังพระ ลูกไก่ในกำ มือ ปลาใหญ่กินปลาเล็ก กิ้งก่าได้ทอง
๒๔ คำ ทั้งหมดเหล่านี้เป็นสำ นวน สุภาษิต คำ พังเพย ถ้อยคำ หรือ ข้อความเหล่านี้ คนไทยนิยมใช้กันมานานมาก เป็นพฤติกรรม การใช้ชีวิตประจำวันของผู้คน จนทำ ให้เกิดเหตุการณ์ต่าง ๆขึ้น ทั้ง ดีและร้าย ข้อความหรือถ้อยคำ เหล่านี้มีความหมายลึกซึ้งกว่าคำ ธรรมดา ครูดาราให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ ๒๓ และทำ ใบงานที่ ๒๓.๑ - ๒๓.๒ ครูดาราและนักเรียนร่วมกัน สรุปบทเรียน จากนั้นนักเรียนทำแบบทดสอบท้ายบท
๒๕ คำ ราชาศัพท์ ใบความรู้ที่ ๒๒ คำ ราชาศัพท์ คือ คำ ที่ใช้กับพระมหากษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์ พระสงฆ์ และบุคคลทั่วไป คำ ราชาศัพท์สำ หรับบุคคลทั่วไปเรียกว่า คำสุภาพ คำ ราชาศัพท์สำ หรับพระมหากษัตริย์ กิน นอน ปาก หัว ผ้านุ่ง รองเท้า แว่นตา เสวย บรรทม พระโอษฐ์ พระเกศา พระภูษา ฉลองพระบาท ฉลองพระเนตร คำ พูด คำสั่ง คำสั่งสอน แต่งหนังสือ ไปเที่ยว เล่นดนตรี ขี่ม้า พระราชดำ รัส พระราชโองการ พระราชาโอวาท พระราชนิพนธ์ เสด็จประพาส ทรงดนตรี ทรงม้า * คำกริยา ส่วนใหญ่ใช้ทรงนำ หน้า ยกเว้นคำกริยาที่เป็นราชาศัพท์ อยู่หน้า เช่น สรง ประชวร เสด็จ โปรด ประทาน ตรัส เสวย บรรทม ผนวช ประทับ กริ้ว คำสามัญ คำ ราชาศัพท์ คำสามัญ คำ ราชาศัพท์
๒๖ คำ ราชาศัพท์สำ หรับพระสงฆ์ รับประทาน / กิน นอน อาบน ํ้า เชิญ ที่นั่ง ปัจจัย ที่พักในวัด อาหาร ป่วย โกนผม เครื่องนุ่งห่ม จดหมาย ฉัน จำวัด สรงน ํ้า นิมนต์ อาสนะ เงิน กุฏิ ภัตตาหาร อาพาธ ปลงผม ไตรจีวร ลิขิต คำสามัญ คำ ราชาศัพท์
๒๗ คำ ราชาศัพท์ (คำสุภาพ) สำ หรับสุภาพชน วัว หมู หมา ขนมชั้น ผัว เมีย คนจน สากกะเบือ ผักตบ ผักบุ้ง ผักกระเฉด ไส้เดือน ปลาสลิด กล้วยบวชชี ขนมจีน โค สุกร สุนัข ขนมทราย สามี ภรรยา ยาจก ไม้ตีพริก ผักสามหาว ผักทอดยอด ผักรู้นอน รากดิน ปลาใบไม้ นารีจำศีล ขนมเส้น คำสามัญ คำสุภาพ
๒๘ สำ นวน สุภาษิต และคำ พังเพย ใบความรู้ที่ ๒๓ สำ นวน หมายถึง ข้อความหรือถ้อยคำ ที่นิยมใช้กันมากเป็นเวลา นานและแพร่หลาย มีความหมายไม่ตรงตามตัว หรือมีความหมายอื่น แฝงอยู่ ใช้เปรียบเทียบเพื่อให้เข้าใจยิ่งขึ้น คางคกขึ้นวอ ขมิ้นกับปูน ขิงก็ราข่าก็แรง เขียนเสือให้วัวกลัว นํ้าพึ่งเรือ เสือพึ่งป่า เข็นครกขึ้นภูเขา ขี่ช้างจับตั๊กแตน ขวานผ่าซาก ดาวล้อมเดือน ปากปราศรัยน้าใจเชือดคอ ํ คนที่มีฐานะต่าต้อย พอได้ดิบได้ดีก็มักแสดงกิริยาอวดดี ํ ลืมตัว ชอบทะเลาะกันเมื่ออยู่ใกล้กัน, ไม่ถูกกัน, เข้ากันไม่ได้ ต่างฝ่ายต่างไม่ยอมกัน, ต่างฝ่ายต่างอารมณ์ร้อนพอๆกัน ทำอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อข่มขวัญอีกฝ่าย การพึ่งพาอาศัยกัน การทำ งานที่ยากลำ บาก เกินความสามารถของตน ลงทุนมากแต่ได้ผลนิดหน่อย พูดจาโผงผางไม่เกรงใจใคร มีบริวารแวดล้อมมาก คนพูดดีด้วยแต่ในใจไม่บริสุทธิ์ มุ่งคิดร้ายอาฆาตผู้อื่น ตลอดเวลา ถ้อยคำ / ข้อความ ความหมาย
๒๙ สุภาษิต หมายถึง ถ้อยคำ หรือข้อความที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อ สั่งสอน มีคติสอนใจ เป็นสัจธรรมนำ ไปปฏิบัติได้ ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว ความไม่มีโรค เป็นลาภอันประเสริฐ ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่ง คนดีตกน้ำํ ไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้ คบคนให้ดูหน้า ซื้อผ้าให้ดูเนื้อ อย่าไว้ใจทาง อย่าวางใจคน จะจนใจเอง ไม้อ่อนดัดง่าย ไม้แก่ดัดยาก เรียนผูกต้องเรียนแก้ น้าขุ่นไว้ใน น ํ ้าใสไว้นอก ํ ชิงสุกก่อนห่าม คนเราทำอย่างไรก็จะได้อย่างนั้น การปราศจากโรคภัยไข้เจ็บเป็นสิ่งวิเศษที่สุด คนจะดูดีได้ต้องเสริมแต่ง ตกอยู่ในที่คับขันอย่างไรก็ไม่เป็นอันตราย จะพิจารณาคนหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้พิจารณา อย่างละเอียดรอบคอบ อย่าวางใจหรือไว้วางใจใครคนอื่นง่ายเกินไป จะเป็นเราที่เดือดร้อนในภายหลังได้ อบรมสั่งสอนเด็กให้ประพฤติดีได้ง่ายกว่า อบรมสั่งสอนผู้ใหญ่ รู้วิธีทาก็ต้องรู้วิธีแก้ไข รู้กลอุบายทุกทางทั้ง ํ ทางก่อและทางแก้ แม้จะไม่พอใจก็ยังแสดงสีหน้ายิ้มแย้ม ทำสิ่งที่ยังไม่สมควรแก่วัยหรือยังไม่ถึงเวลา (มักหมายถึงการลักลอบได้เสียกันก่อน แต่งงาน) ถ้อยคำ / ข้อความ ความหมาย
๓๐ คำ พังเพย หมายถึง ถ้อยคำ หรือข้อความที่เปรียบเทียบเหตุการณ์ หรือเรื่องราวมีความหมายให้คติเตือนใจ จะมีการเสียดสีหรือติชม ไม่ เน้น การสั่งสอน ปากปราศรัย น้าใจเชือดคอ ํ น้ากลิ้งบนใบบอน ํ อย่าเห็นขี้ดีกว่าไส้ อ้อยเข้าปากช้าง ใกล้เกลือกินด่าง น้าลดตอผุด ํ ปลาหมอตายเพราะปาก จับปลาสองมือ ขิงก็รา ข่าก็แรง ตำ น้าพริกละลายแม่น ํ ้าํ คนพูดดีด้วยแต่ในใจไม่บริสุทธิ์ มุ่งคิดร้ายอาฆาตผู้อื่น ตลอดเวลา คนที่มีจิตใจกลับกลอก ปลิ้นปล้อน พูดแก้ตัวไปเรื่อย เห็นบุคคลนอก ดีกว่าคนในครอบครัวของตนเอง สิ่งที่มีประโยชน์ที่ตกอยู่ในมือแล้วไม่ยอมคืน ที่อยู่ใกล้สิ่งที่ดีมีคุณค่า แต่มองไม่เห็นคุณค่านั้น กลับไป หลงชื่นชมกับสิ่งที่ไร้ค่าด้อยราคา ในเวลาที่คนหมดอำ นาจ ถ้าทำความชั่วไว้ ความชั่วนั้นก็ จะปรากฏขึ้นมา คนที่พูดพล่อยจนได้รับอันตราย หรือ คนที่พูดจาไม่ระวัง จนนำอันตรายหรือความลำ บากมาสู่ตนเอง คนที่มุ่งหวังอยากจะได้ทีเดียวพร้อม ๆ กันสองอย่าง โดยไม่คำ นึงว่าตนเองมีความสามารถที่จะทำ ได้หรือไม่ ต่างฝ่ายต่างไม่ยอมกัน , ต่างฝ่ายต่างอารมณ์ร้อนพอ ๆ กัน การกระทำ ที่มีการลงทุนลงแรงไปจำ นวนมากแต่ผลลัพธ์ ที่ได้กลับมามีผลเล็กน้อยมากหรือแทบไม่มีประโยชน์ใดๆ ถ้อยคำ / ข้อความ ความหมาย
๓๑ ๑) โยงเส้นคำ ราชาศัพท์ ใบงานที่ ๒๒.๑ ฉลองพระบาท นิมนต์ รับประทาน ปลาใบไม้ ทรงม้า ฉัน ขนมทราย เสวย กระบือ ประเคน ปลงผม พระราโชวาท พระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ พระสงฆ์ สุภาพชน
๓๒ ใบงานที่ ๒๒.๒ ๑) จากคำ ที่กำ หนดเขียนคำ ราชาศัพท์ให้ถูกต้อง ไป มองดู นอน ป่วย หัว คำ คำ ราชาศัพท์ พระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศานุวงศ์ กิน อาหาร ที่นั่ง ป่วย ตาย คำ คำ ราชาศัพท์ พระสงฆ์
๓๓ เมีย หมา สากกะเบือ กล้วยบวชชี ผักกระเฉด คำ คำสุภาพ สุภาพชน
๓๔ ใบงานที่ ๒๓.๑ ๑) จับคู่ สำ นวน สุภาษิต และคำ พังเพยกับ ความหมาย โดยนำ พยัญชนะมาใส่หน้าข้อ ๑. ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว ๒. จับปลาสองมือ ๓. อ้อยเข้าปากช้าง ๔.เข็นครกขึ้นภูเขา ๕.เงียบเป็นเป่าสาก ๖.คางคกขึ้นวอ ๗.ขี่ช้างจับตั๊กแตน ๘.ขวานผ่าซาก ๙.ไม้อ่อนดัดง่าย ไม้แก่ดัดยาก ๑๐.ปากปราศรัย น้าใจเชือด ํคอ ก. ทำงานสองอย่างพร้อมกัน ข. คนฐานะต่ำต้อยได้ดีลืมตัว ค. สอนเด็กง่ายกว่าสอนผู้ใหญ่ ง. ลงทุนมากแต่ได้ผลน้อย จ. ทำงานยากที่เกินความสามารถ ฉ. ทำอย่างไรได้ผลอย่างนั้น ช. พูดดีแต่ใจคิดร้าย ซ. เงียบมากไม่มีเสียงอะไร ฌ. สิ่งที่มีประโยชน์ตกอยู่ในมือไม่ยอมคืน ญ. พูดโผงผาง ไม่เกรงใจใครๆ สำ นวน สุภาษิต คำ พังเพย ความหมาย
๓๕ ใบงานที่ ๒๓.๒ ๑) เติมคำ สำ นวน สุภาษิต และคำ พังเพยที่กำ หนด น้ากลิ้งบน ___________ ํ อย่าเห็นขี้ ____________ น้าลด ____________ ํ ขิงก็รา __________ เขียนเสือให้ __________ น้าพึ่งเรือ _____________ ํ ไก่งามเพราะขน _____________ คบคนให้ดูหน้า _____________ น้าขุ่นไว้ใน _____________ ํ ใกล้เกลือ ____________ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐
๓๖ แบบทดสอบบทที่ ๙ เรื่อง คำ ราชาศัพท์ สำ นวนไทย คำชี้แจง : ให้นักเรียนทำ เครื่องหมาย X ทับข้อที่มีคำตอบที่ถูกต้อง คำ ราชาศัพท์ คือ ข้อใดใช้คำ ราชาศัพท์ไม่ถูกต้อง ข้อใดใช้คำ ราชาศัพท์ไม่ถูกต้อง ข้อใดใช้คำ ราชาศัพท์ว่า “ ผักบุ้ง” ได้ถูกต้อง ก. ผักสามหาว ข. ผักทอดยอด ค. ผักรู้นอน ง. ผักบุ้งจีน “ คำสั่ง” คำ ราชาศัพท์ คือ ก. พระราชดำ รัส ข. พระราชาโอวาท ค. พระราชนิพนธ์ ง. พระบรมราชโองการ “ พระภูษา ” คือ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ก. คำ ที่ใช้กับพระมหากษัตริย์ ข. คำ ที่ใช้กับพระสงฆ์ ค. คำ ที่ใช้กับข้าราชการผู้ใหญ่ และสุภาพชน ง. ถูกทุกข้อ ก. ทรงม้า ข. ทรงบรรทม ค. ทรงดนตรี ง. เสวย ก. โปรด ข. ผนวช ค. พระราชดำรัส ง. ทรงประชวร ก. ผ้านุ่ง ข. รองเท้า ค. หมวก ง. แหวน
๓๗ คำว่า “กิน” สำ หรับพระสงฆ์ คำว่า “อาพาธ” สำ หรับพระสงฆ์ คำว่า “สุกร” สำ หรับสุภาพชน “ ปลาสลิด ” ใช้กับสุภาพชน ก. ปลามัจฉะ ข. ปลาหาง ค. ปลาใบไม้ ง. ปลายาง ข้อใดเป็นคำสุภาษิต ก. ขวานผ่าซาก ข. ขมิ้นกับปูน ค. กิ้งก่าได้ทอง ง. ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว “ หลอกลวงให้เข้าใจผิด” ตรง กับสำ นวนใด ๗. ๘. ๙. ๑๐. ก. ฉัน ข. จำวัด ค. ภัตตาหาร ง. เสวย ก. นอน ข. เชิญ ค. อาบน้าํ ง. ป่วย ก. วัว ข. หมู ค. หมา ง. ควาย ก. ตบตา ข. มือถือสาก ปากถือศีล ค. ขมิ้นกับปูน ง. ดาวล้อมเดือน ๑๑. ๑๒. “ถึงแม้จะไม่พอใจ แต่ก็ต้องยิ้ม แย้ม” ตรงกับสุภาษิตใด ก. รู้ไว้ใช่ว่า ใส่บ่าแบกหาม ข. ชิงสุกก่อนห่าม ค. ไม้อ่อนดัดง่าย ไม้แก่ดัดยาก ง. นํ้าขุ่นไว้ใน นํ้าใสไว้นอก ๑๓. “ลงทุนมากแต่ได้ผลน้อย” ตรง กับคำ พังเพย ก. หนักไม่เอา เบาไม่สู้ ข. ขี่ช้างจับตั๊กแตน ค. นํ้าพึ่งเรือ เสือพึ่งป่า ง. จับปลาสองมือ ๑๔.
๓๘ “กิ้งก่าได้ทอง” หมายถึง สำ นวนใดมุ่งสอนผู้หญิงโดย เฉพาะ สำ นวนใดมีความหมาย เปรียบเทียบ “ต่างคนต่างก็ไม่ยอมกัน” ตรงกับ สำ นวนใด ก. นกสองหัว ข. คางคกขึ้นวอ ค. ขิงก็รา ข่าก็แรง ง. ขวานผ่าซาก “คนที่ทำดี แต่ไม่ได้รับการยกย่อง” ตรงกับสำ นวนใด ก. ขายผ้าเอาหน้ารอด ข. ลูกไก่ในกำ มือ ค. ปลาใหญ่กินปลาเล็ก ง. ปิดทองหลังพระ เติมคำสุภาษิต “ความไม่มีโรค ________” ๑๕. ๑๖. ๑๗. ๑๘. ๑๙. ๒๐. ก. เย่อหยิ่งเพราะรวยขึ้น ข. ไม่มีความอดทน ค. คนที่ทำตัวแตกต่างจากคนอื่น ง. คนที่หาเรื่องเดือดร้อนใส่ตัว ก. ลูกไก่ในกำ มือ ข. กาคาบพริก ค. น้ากลิ้งบนใบบอน ํ ง. ชิงสุกก่อนห่าม ก. เงียบเป็นเป่าสาก ข. เรียนผูกต้องเรียนแก้ ค. คบคนให้ดูหน้า ซื้อผ้าให้ดู เนื้อ ง. คนดีตกน้าไม่ไหล ตกไฟไม่ ํ ไหม้ ก. เป็นคนมีสุขภาพดี ข. เป็นเครื่องหมายของคนสุขดี ค. ถือว่าเป็นความโชคดี ง. เป็นลาภอันประเสริฐ
๓๙
๔๐ บทที่๑๐ เครื่องหมายวรรคตอน และพจนานุกรม ครูดารานำแผ่นภาพสัญลักษณ์ติดบนกระดานแล้วถาม นักเรียนว่าเครื่องหมายของแต่ละภาพมีชื่อภาษาไทยว่า อย่างไร ! ? ( ) ฯ . “” ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ เครื่องหมาย ตกใจ เครื่องหมายคำถาม วงเล็บ ไปยาลน้อย จุด เครื่องหมาย คำ พูด ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ นักเรียน : ๖
๔๑ ครูดารา : เครื่องหมายทั้งหมดที่นักเรียนเห็นเรียกว่าเครื่องหมาย วรรคตอนวันนี้ครูจะสอนเรื่องเครื่องหมายวรรคตอน ว่ามีชื่อและนำ ไปใช้อย่างไร ตัวอย่าง ภาพที่ ๑ เรียกว่า อัศเจรีย์ ภาพที่ ๒ เรียกว่า ปรัศนี ภาพที่ ๓ เรียกว่า นขลิขิต นักเรียน : โอ้โฮ ! ไม่รู้จักชื่อภาษาไทยเลย ครูดาราให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ ๒๔ และทำ ใบงานที่ ๒๔.๑ – ๒๔.๓ แล้วครูดาราและนักเรียนร่วมกันสรุปการใช้ เครื่องหมายวรรคตอน จากนั้นครูดารานำ คำ มาติดบนกระดานให้นักเรียนอ่านคำ นก น ํ้าตาล กาล หวาน หิว แล้วครูดาราแบ่งนักเรียนเป็น ๔ กลุ่มให้ แต่ละกลุ่มช่วยกันเรียงคำ ทั้ง ๔ คำ ตามพจนานุกรม กลุ่มไหนเรียงได้เร็วและถูกต้องเป็นฝ่ายชนะ ครูให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ ๒๕ และทำ ใบงานที่ ๒๕.๑ – ๒๕.๒ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่องการใช้พจนานุกรม จากนั้น นักเรียนทำแบบทดสอบท้ายบท
๔๒ ใบความรู้ที่ ๒๔ เครื่องหมายวรรคตอน เครื่องหมายวรรคตอน เป็นเครื่องหมายที่ใช้เขียนประกอบ ตัวอักษร ตัวเลข คำ ประโยค หรือข้อความเพื่อให้มีความเข้าใจ ชัดเจนและอ่านได้ถูกต้อง ๑) ใช้คั่นตัวเลข ๓,๐๐๐,๐๐๐ ๒) ใช้เขียนแยกคำ วันจันทร์ , วันอังคาร , วันพุธ ๑) ใช้แสดงมาตราส่วนในแผนที่ ๑ : ๒๐๐๐๐๐ ๒) ใช้แสดงอัตราส่วน ๑ : ๓ ๑) ใช้ขีดคั่นบ้านเลขที่ ๑๕/๑๐ ๒) ใช้ขีดคั่นวัน เดือน ปี ๑๕/๑๐/๑๙ , จุลภาค หรือ จุดลูกน้าํ : ทวิภาค หรือ จุดคู่ / ทับ
๔๓ ๑) ใช้กับข้อความที่ต้องอธิบายของข้อความ อักษรกลาง ( ก จ ด ต บ ป อ ฎ ฏ ) ๒) ใช้กับตัวเลขข้อย่อย (๑) (๒) ใช้เมื่อสิ้นสุดประโยคคำถาม ใช้เขียนไว้ข้างหลังคำ หรือกลุ่มคำ ที่แสดง อารมณ์และความรู้สึกต่าง โอ้ย! เจ็บจัง โถ่! น่าสงสารจัง ( ) นขลิขิต หรือ วงเล็บ ? ปรัศนี หรือเครื่องหมาย คำถาม ! อัศเจรีย์ หรือเครื่องหมาย ตกใจ ใช้ละคำ ที่มีอีกมาก เครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น ตู้เย็น ทีวี พัดลม ฯลฯ ฯ ไปยาลน้อย ใช้ละบางส่วนของคำ ที่รู้จักกันดี กรุงเทพฯ อ่านว่า กรุงเทพมหานคร ฯลฯ ไปยาลใหญ่
๔๔ ๑) ใช้เพื่อกำกับข้อความที่เป็นคำสนทนา คำ ที่ยก มาจากที่อื่น “ฉันชื่อมาลีค่ะ” มาลีตอบ ๑) ใช้เขียนได้หลังตัวอักษรเพื่อแสดงให้รู้ว่าเป็นตัว อักษรย่อ ช่วยเขียนให้สั้นลง ธ.ค. ย่อมาจาก ธันวาคม พ.ศ. ย่อมาจาก พุทธศักราช ค.ร.ม ย่อมาจาก คณะรัฐมนตรี ๒) ๑.๑ อ่านว่า หนึ่งจุดหนึ่ง ๓) ใช้คั่นชั่วโมงนาที ๑๐.๕๐ ๑) ใช้ซํ้าคำ เด็กๆ อ่านว่า เด็กเด็ก ๒) ใช้ซํ้าข้อความ มาลีตื่นเช้าทุกวัน ๆ อ่านว่า ทุกวัน ทุกวัน ๓) ใช้ซํ้าประโยค แดงตะโกนว่า “แม่ซื้อรถใหม่แล้ว ๆ ” อ่านว่า แม่ซื้อรถใหม่แล้ว แม่ซื้อรถใหม่แล้ว ๔) ไม่ใช้ไม้ยมกในคำ ประพันธ์ “ ” อัญประกาศ . มหัพภาค หรือจุด ๆ ไม้ยมก