๔๕ ใบงานที่ ๔.๑ ๑. เติมชื่อมาตราไทยให้ถูกต้อง มาตราแม่ _____ มาตราแม่ _____ มาตราแม่ _____ มาตราแม่ _____ มาตราแม่ _____ มาตราแม่ _____ มาตราแม่ _____ มาตราแม่ _____ มาตราแม่ _____
๔๖ ใบงานที่ ๔.๒ มาตราแม่กา มาตราแม่กง มาตราแม่กน มาตราแม่เกอว มาตราแม่กม มาตราแม่เกย มาตราแม่กก มาตราแม่กบ มาตราแม่กด ๑. นำ คำ ไปเติมให้ถูกต้อง จาน ดิบ เสือ กอด กาง เปียก ข้าว ด้าย ลูก ร่ม เห็ด ฉาบ ปาก อ่าน ร้อย หอย ผอม โลก หิว ชอบ ดาว พาย แดด รีด ยิ้ม ลิง หิน
๔๗ ใบงานที่ ๔.๓ ฝึกอ่านคำ ที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราในมาตราแม่ กน กก กด กบ ๑. สุขภาพ สุก - ขะ - พาบ ธนาคาร ทะ - นา - คาน ศาสนา สาด - สะ - หนา สัปดาห์ สับ - ดา เคารพ เคา - รบ อักษร อัก - สอน พยาบาล พะ - ยา - บาน บุญคุณ บุน - คุน ศัตรู สัด - ตรู รูปภาพ รูบ - พาบ อุทยาน อุด - ทะ - ยาน เอกราช เอก - กะ - ราด วิหค วิ - หก โชคลาภ โชก - ลาบ ยกเมฆ ยก - เมก สัญชาติ สัน - ชาด นํ้ามันก๊าซ นํ้า - มัน – ก๊าด ทัพพี ทับ - พี
๔๘ ใบงานที่ ๔.๔ ๑. นำคำ ที่กำ หนดให้ไปใส่ให้ตรงตามมาตรา เพชร โรค จักร ทวีป โชค บาป เลข พาล สุข พรรค เคารพ ธนาคาร สุนัข ลาภ ทัพพี บำ เพ็ญ สมัคร ศัตรู ปัญญา อาชีพ พยาบาล มาตราแม่กน มาตราแม่กก มาตราแม่กด มาตราแม่กบ
๔๙ แบบทดสอบบทที่ ๒ คำชี้แจง : ให้นักเรียนทำ เครื่องหมาย X ทับข้อที่มีคำตอบที่ถูกต้อง เรื่องวรรณยุกต์และมาตราตัวสะกด ข้อใดใช้รูปวรรณยุกต์ถูกต้อง ก. ก้วยเตี๋ยว ข. เต้าเจี้ยว ค. เกี้ยวกุ้ง ง. เสื้อเชิ๊ต ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ตรง กัน ก. นุ่ม ยิ้ม ข. ค้าง ข้าว ค. อิ่ม สวย ง. ช้าง ป๊า ข้อใดผันวรรณยุกต์ได้ครบ ๕ เสียง ก. บ้าน เช่า ข. เล่น ว่าว ค. ดี ใจ ง. ปืน ลม ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบ ๕ เสียง ก. ป้าแดงถือตะกร้าไปนา ข. พี่ขับรถช้ามาก ค. พี่พาน้องไปทะเล ง. โจ้ใส่เสื้อผ้าสีนํ้าตาล ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับวรรณยุกต์ ก. คำ ทุกคำต้องมีวรรณยุกต์กำกับ ข. วรรณยุกต์ทำ ให้คำ มีความหมาย ต่างกัน ค. วรรณยุกต์ทำ ให้คำ มีเสียงสูง ตํ่า ง. คำ บางคำ ที่มีรูปวรรณยุกต์และ เสียงวรรณยุกต์ตรงกัน อักษรตํ่าสามารถผันได้ครบ ๕ เสียง โดยใช้อักษรใดมาช่วย ก. อักษรตํ่าเดี่ยวและอักษรกลาง ข. อักษรตํ่าเดี่ยวและอักษรคู่ ค. อักษรกลางและอักษรคู่ ง. อักษรกลางและอักษรสูง ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖.
๕๐ ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์เดียวกัน ทุกคำ ก. เลี้ยง น้อง ปุ๊ย ข. แม่ ขาย กล้วย ค. น้อง ไว้ จุก ง. ป้า ล้ม ข้าว ๗. ข้อใดมีพยัญชนะต้นเป็นอักษร สูงทั้งหมด ก. เข้าถํ้า จํ้าจี้ ข. ไก่แจ้ ผีเสื้อ ค. ฝาผุ เสือหิว ง. เลี้ยวซ้าย เข้าบ้าน ๘. ข้อใดเขียนผิด ก. ข้าวต้มโจ๊ก ข. กินก๋วยเตี๋ยว ค. กินก้วยจั๊บ ง. ใช่ไหมค่ะ ๙. ข้อใดเป็นลักษณะของคำ ใน มาตรา ก กา ก. เป็นคำ ที่ประสมด้วยสระอา ข. เป็นคำ ที่ไม่มีตัวสะกด ค. เป็นคำ ที่ออกเสียงสั้นๆ ง. เป็นคำ ที่มีตัวสะกดหลายตัว ๑๐. ข้อใดเป็นมาตราที่มีตัวสะกด เพียงตัวเดียว ก. แม่กก แม่กบ แม่เกย ข. แม่กม แม่กง แม่เกย ค. แม่เกอว แม่เกย แม่กน ง. แม่กด แม่กก แม่กบ ข้อใดสะกดด้วยมาตรา แม่กก ก. วรรค จักร บริเวณ ข. อาชีพ เมฆ สุนัข ค. โอกาส อากาศ เคารพ ง. สุข สมัคร ประโยค ๑๒. “เด็กดีต้องรักการเรียน ต้อง เชื่อฟังพ่อ แม่ และครู” จากประโยค มีคำ ที่อยู่ใน มาตรา แม่กา กี่คำ ก. ๓ คำ ข. ๔ คำ ค. ๕ คำ ง. ๖ คำ ๑๓. ๑๑.
๕๑ ข้อใดไม่ได้สะกดด้วยแม่กบ ก. อาชีพ สัปดาห์ ข. ธูป รูปภาพ ค. เคารพ ทัพพี ง. ชาติ ศาสนา ๑๔. ข้อใดเป็นลักษณะของมาตรา แม่เกย ก. คำ ที่มี ย สะกด ข. คำ ที่ประสมด้วยสระ เ-ีย ค. คำ ที่มี ญ สะกด ง. ถูกทุกข้อ ๑๕. ข้อใดมีคำ ในมาตราแม่กนมากที่สุด ก. แม่นี้มีบุญคุณอันใหญ่หลวง ข. ฉันเห็นพยาบาลเดินไปธนาคาร ค. นํ้าตาลโตนดหวานชื่นใจ ง. ปลาวาฬกำลังกินอาหารใน ๑๖. ข้อใดไม่มีตัวสะกดในแม่กด ทั้งหมด ก. ครุฑ ญาติ กราฟ ลาภ ข. ประโยค สมัคร เคารพ พยาบาล ค. อักษร เนตร ศาสนา โทษ ง. สามารถ เพชร โกรธ ชาติ ๑๗. คำ ในข้อใดเขียนถูกทุกคำ ก. เมฆ สามารถ นํ้ามันก๊าด เสร็จ ข. พิเศษ ปลาวาฬ ลูกศร ญาติ ค. เนตร สัปดาห์ จักเย็บผ้า เว้นวรรค ง. ธุป ยีราป กราฟ ปรากฏ คำ ในข้อใดไม่มีมาตราตัวสะกด แม่กก และแม่กน ก. ๕ ข. ๖ ค. ๗ ง. ๘ ๑๙. ประโยคต่อไปนี้มีคำ ในมาตรา แม่กน กี่คำ “ปัญญาชวนบุญไปดูละคร ระหว่างเดินทางพบคนพาลขับ รถผิดกฎจราจร” ก. สุขภาพ ข. จักรวาล ค. เว้นวรรค ง. อักษร ๒๐. ๑๘.
๕๒
๕๓ ครูดารา : อะไรเอ่ย.... ครูดาราให้นักเรียนเล่นปริศนาคำ ทาย ลำต้นอวบใหญ่ มีใบสีเขียว ออกผลครั้งเดียว เป็นเครือเป็นหวี นักเรียน : …………........................................................ ครูดารา : เก่งมาก คำต่อไป เรียกใบว่าทาง เรียกลูกว่าทะลาย ผลอ่อนกินได้ ผลแก่คั้นกะทิ นักเรียน : …………........................................................
๕๔ ครูดารา : คำต่อไป อะไรเอ่ย ครูดาราให้นักเรียนเล่นปริศนาคำ ทาย แก่ๆ นุ่งแดง เด็กๆนุ่งขาว สาวๆ นุ่งเขียว นักเรียน : …………........................................................ ครูดารา : ต่อไปเป็นคำสุดท้ายอะไรเอ่ย เป็นสัตว์สี่เท้า มีเขาสองเขา ปลายเขามี ๖ ยอด นักเรียน : …………........................................................ ครูดารานำ บัตรคำ มาติดบนกระดาน แล้วให้นักเรียนอ่าน กล้วย มะพร้าว พริก กวาง ครูดารา : ขีดเส้นใต้ตัวพยัญชนะแต่ละคำ กล้วย มะพร้าว พริก กวาง
๕๕ นักเรียนจะเห็นว่าคำ เหล่านี้มีพยัญชนะต้น ๒ ตัว ตัวที่สอง เป็น ล ร ว ประสมสระเดียวกัน ออกเสียงกลํ้ากันเรียกว่า คำ ควบกล ํ้า นักเรียนออกมาเขียนคำ ควบกล ํ้าบนกระดาน คนละ ๑ คำ นักเรียนจำ ได้ไหมคะ คำ ควบกล ํ้ามีอยู่ ๒ ชนิด คือ คำ ควบกล ํ้าแท้ และคำ ควบกล ํ้าไม่แท้ ครูดาราให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ ๕ และทำ ใบงาน ที่ ๕.๑ – ๕.๔ ครูดาราและนักเรียนร่วมกันสรุปบท เรียน ครูดาราติดบัตรคำ ๓ คำ ให้นักเรียนอ่าน ตะปู เล็บ ฝน ครูดารา : คำ ทั้ง ๓ คำ มีการใช้สระ ดังนี้ คำแรก คำว่า ตะปู นักเรียนเห็นสระ ะ กับ สระ –ู คำ ที่สอง คำ ที่สาม คำว่า เล็บ มาจาก ล – เ – ะ – บ สระ ะ เปลี่ยนรูปเป็นไม้ไต่คู้ คำว่า ฝน นักเรียนจะไม่เห็นรูปสระ คำ นี้ มาจาก ฝ – โ–ะ -น = ฝน
๕๖ ครูดาราให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ ๖ แล้วทำ ใบ งานที่ ๖.๑ – ๖.๓ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปบท เรียน จากนั้นนักเรียนทำแบบทดสอบท้ายบท
๕๗ ใบความรู้ที่ ๕ คำ ควบกล ํ้า คือ คำ ที่มีพยัญชนะต้น ๒ ตัวเรียงกัน พยัญชนะ ที่สองเป็น ร ล ว ประสมสระเดียวกัน คำ ควบกล ํ้ามี ๒ ชนิด คือ ๑) คำควบกล ํ้าแท้ ๒) คำควบกล ํ้าไม่แท้ ๑) คำ ควบกล ํ้าแท้ คือ คำ ที่เกิดจากพยัญชนะ ต้น ๒ ตัว ตัวที่สองเป็น ร ล ว ประสมสระเดียวกัน เวลาออกเสียงจะต้องออกเสียงกลํ้ากันหรือออกเสียง พร้อมกัน ซึ่งพยัญชนะควบกลํ้าแท้ มี ๑๕ รูป โดยมี พยัญชนะ ก ข ค ต ป ผ พ เป็นตัวหน้า
๕๘ กร กล กว ขร ขล ขว พล ตร กราบ กระจก กล้วย กลาย กวาง ไกว ขรึม ขรุขระ ขี้ขลาด ขลุ่ย ขว้าง ขวาน พลาด พลิก ตรึงตรอง ตรวจ คร คล คว ปร ปล พร ผล ครู คราง คลาน คลำ ความ ควาย แปรง เปรี้ยง ปลูก ปลอม พระ พริก ผลี ผลาม คำ ควบกล ํ้าแท้ ๒) คำ ควบกล ํ้าไม่แท้ คือ คำ ที่มีพยัญชนะต้น ๒ ตัว เรียงกัน พยัญชนะตัวหน้า จ ซ ท ศ ส ส่วน พยัญชนะตัวที่สองเป็นตัว ร ประสมสระเดียวกันแต่ ออกเสียงเฉพาะพยัญชนะตัวแรกและถ้าพยัญชนะตัว หน้าเป็น ท จะออกเสียงเป็น ซ
๕๙ คำ ควบกล ํ้าไม่แท้ พยัญชนะ จ ซ ศ ส นำ หน้าตัว ร ออกเสียงเป็น ว ซ ศ ส จริง จิง ไซร้ ไซ้ เศร้า เส้า ศรี สี เศรษฐี เสดถี สร้อย ส้อย สร้าง ส้าง เสร็จ เส็ด เสริม เสิม สระ สะ พยัญชนะตัว ท นำ หน้า ร ออกเสียงเป็น ซ ทราย ซาย ทราบ ซาบ ทราม ซาม ต้นไทร ต้นไซ ทรัพย์ ซับ โทรม โซม อินทรี อินซี พุทรา พุดซา ทรง ซง ทรุด ซุด
๖๐ ใบความรู้ที่ ๖ สระคงรูป สระเปลี่ยนรูป สระลดรูป สระคงรูป คือ สระที่ประกอบกับคำ หรือคำ ที่มีตัว สะกด และยังปรากฏสระให้เห็นอยู่ สระเปลี่ยนรูป คือ สระที่ประกอบกับคำ ที่มีตัวสะกด แล้ว เปลี่ยนเป็นรูปอื่น สระลดรูป คือ สระที่ประกอบคำ ที่มีตัวสะกดแล้วรูป สระหายไป สระคงรูป สระเปลี่ยนรูปเป็น –ั เมื่อมีตัวสะกด สระลดรูปไม่ประ วิสรรชนีย์ กะ จะ ปะ กัน ( ก – ะ –น ) จับ ( จ – ะ –บ ) ปัด ( ป – ะ –ด ) จมูก ทหาร องุ่น สระอะ ( ะ )
๖๑ สระอือ ( -ื ) สระคงรูปเมื่อมีตัวสะกด สระเปลี่ยนรูปโดยเพิ่ม อ ปืน ยืน คืน มือ ถือ คือ สระเอะ ( เ-ะ ) สระคงรูป สระเปลี่ยนรูปเป็น ( –็ ) เมื่อมีตัวสะกด เตะ เละ เปะ เต็ม (ต - เ-ะ – ม) เล็บ (ล - เ-ะ – บ) เป็น (ป - เ-ะ –น)
สระคงรูป สระเปลี่ยนรูปเป็น( -ิ ) เมื่อมีตัวสะกด สระลดรูป เมื่อมีตัวสะกด เธอ เรอ เจอ เกิน ( ก - เ-อ – น ) เลิก ( ล - เ-อ – ก ) เปิด ( ป - เ-อ – ด ) เนย ( น - เ-อ – ย ) เลย ( ล - เ-อ – ย ) เขย ( ข - เ-อ – ย ) สระเออ (เ-อ ) สระโอะ ( โ-ะ ) สระคงรูป สระลดรูปเมื่อมีตัวสะกด โปะ โต๊ะ โล๊ะ ปก ( ป - โ-ะ - ก ) ตก ( ต - โ-ะ - ก ) ลด ( ล - โ-ะ - ด ) ๖๒
๖๓ สระอัว ( -ัว ) สระคงรูป สระลดรูป -ั เมื่อมีตัวสะกด หัว นัว ขัว หวย ( ห - -ัว - ย ) นวด ( น - -ัว - ด ) ขวด ( ข - -ัว - ด ) สระเอาะ (เ-าะ) สระคงรูป สระเปลี่ยนรูปเป็น ( –็ ) เมื่อมีตัวสะกด เนาะ เมาะ เกาะ น็อค ม็อบ ก็อก
๖๔ สระออ ( - อ) สระคงรูปเมื่อมีตัวสะกด สระลดรูป เมื่อมี ร สะกด พอ จอ ศอก พร ( พ – อ – ร ) จร ( จ – อ –ร ) (จราจร) ศร ( ศ – อ –ร ) (ลูกศร) สระคงรูป สระลดรูป ( –็ ) เมื่อมีตัวสะกด และ แกะ แข็ง - สระแอะ ( แ- ะ)
๖๕ ใบงานที่ ๕.๑ ๑) ระบายสีตัวพยัญชนะที่นำ หน้าตัว ร ล ว แล้ว ทำ ให้ออกเสียงเป็นคำ ควบกล ํ้าแท้ พ น ม ต ห ก ย ส ผ ข ค ฉ อ จ ป ฟ
๖๖ ใบงานที่ ๕.๒ ๑) เติมคำ ควบกล ํ้า กระเป๋า กระโปรง คราง กลับ คลาน กล้วย กวาง ควาย ขวาน คำ ที่มี ร กลํ้า คำ ที่มี ล กลํ้า คำ ที่มี ว กลํ้า
๖๗ ใบงานที่ ๕.๓ ๑) นำ คำ ไปเติมให้ถูกต้อง ทราย จริง ไซร้ พุทรา แทรก ทราบ ทรง สร้าง เสร็จ ศรัทธา ทราบ เสริม อินทรี สร้อย ทรัพย์ เศรษฐี ต้นไทร เศร้า ศักดิ์ศรี ทรุดโทรม คำ ที่มี จ ซ ศ ส ควบ ร ออกเสียงเฉพาะ จ ซ ศ ส คำ ที่มี ท ควบ ร ออกเสียงเป็น ซ
๖๘ ใบงานที่ ๕.๔ จริง กวาง เศร้า เสริม ขวา ทรวดทรง กวาด กราบ แปรง ขวาน ขวัญ ควัน ควาย ทราย กล้อง พุทรา คลาน สร้อย สร้าง พลอย ขลาด เสร็จ ขลุ่ย กระโปรง ทราบ พริก อินทรี คลอง ปลูก ไซร้ คำ ควบกล ํ้าแท้ คำ ควบกล ํ้าไม่แท้ ๑) นำ คำ ไปเติมให้ถูกต้อง
๖๙ ใบงานที่ ๖.๑ ๑) ทำ เครื่องหมาย x ทับคำ ที่เป็นสระคงรูป หัว ฟัง เนย เกาะ คือ และ จบ เตะ จอ เปิด พร ปืน สวย เธอ เต็ม โต๊ะ
๗๐ ใบงานที่ ๖.๒ ๑) จงยกตัวอย่างคำ พ - ะ – ง พัง ต - เ - ะ - ม เต็ม ป - เ - อ - ด เปิด ฉ - เ - อ - ย เฉย
๗๑ ต - โ - ะ - ก ตก ร - -ัว - ย รวย
๗๒ ใบงานที่ ๖.๓ ๑) โยงเส้นคำ ให้ถูกต้อง สระคงรูป สระเปลี่ยนรูป สระลดรูป สือ นวด โปะ เกา เค็ม เตะ เปิด จอ ปก เหย หัว ม็อบ คืน แข็ง และ
๗๓ แบบทดสอบบทที่ ๓ คำชี้แจง : ให้นักเรียนทำ เครื่องหมาย X ทับข้อที่มีคำตอบที่ถูกต้อง เรื่อง คำ ควบกลํ้า สระคงรูป สระเปลี่ยนรูป สระลดรูป คำควบกลํ้าแท้ คือ คำ ใดเป็นควบกลํ้าไม่แท้ ก. เพลี้ย ข. เศรษฐี ค. ทรัพย์ ง. เสริม ข้อใดเป็นคำควบกลํ้าแท้ ทั้งหมด ก. จริง กลัว กวาง ข. มะพร้าว พุทรา ขวาง ค. ครก แกล้ง ควาย ง. พริก คลาน ทราย ข้อใดเป็นคำควบกลํ้าไม่แท้ ก. ต้นนนทรี นกนางนวล ข. ทรุดโทรม สงกรานต์ ค. อินทรี หัวปลี ง. เศร้า สร้อย ข้อใดต่างจากคำอื่น ก. เสริมสร้าง ข. กลบเกลื่อน ค. กว้างขว้าง ง. เปลี่ยนแปลง ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับ คำควบกลํ้าแท้ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ก. คำ ที่ออกเสียงพยัญชนะต้น ควบ กับตัว ร ข. คำ ที่ออกเสียงพยัญชนะต้น ควบ กับตัว ล ค. คำ ที่ออกเสียงพยัญชนะต้น ควบกับตัว ว ง. ถูกทุกข้อ ก. พยัญชนะตัวหน้าเป็น จ ข ด ป ท ส ข. พยัญชนะตัวหน้าเป็น ก ข ค ต ป ผ พ ค. เวลาอ่านอ่านเฉพาะพยัญชนะ ตัวหน้า ง. ท ควบกลํ้ำกับ ร ให้ออกเสียง เป็น ท
๗๔ ข้อใดมีความคำควบกลํ้ามาก ที่สุด ก. ยายพลอยก้มกราบพระ ข. มาลัยทำ งานคล่องแคล่ว ค. ปลาหมอตายเพราะปาก ง. กล้วยมีหัวปลีสีแดง ๗. ข้อใดมีคำควบกลํ้าไม่แท้มาก ที่สุด ก. นกอินทรีอยู่บนต้นไทร ข. เศรษฐีฝังทรัพย์สินไว้ใต้ดิน ค. บนหาดทราย ยายศรีนั่งซึมเศร้า ง. ป้าพลอยสร้างบ้านพร้อมกับลุง เสริม ๘. ประโยคต่อไปนี้มีคำควบกลํ้ากี่คำ “นายเสริมถูกควายขวิดใกล้ต้น พุทรา” ก. ๔ ข. ๕ ค. ๖ ง. ๗ ๙. ประโยคในข้อใดมีคำควบกลํ้าแท้ ๒ คำ ก. ไพร่ฟ้าหน้าใส ข. เกล้าผมห่มสไบ ค. ลุงพร้อมปลูกต้นไทร ง. เสริมส่งรูปทรงสง่า ๑๐. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง ก. สระคงรูป คือ สระที่ประกอบ คำแล้วยังปรากฏสระให้เห็นอยู่ ข. สระเปลี่ยนรูป คือ สระที่ประกอบ คำ ที่มีตัวสะกดแล้ว เปลี่ยนเป็นรูป อื่น ค. สระลดรูป คือ สระที่ปรากฏคำ ที่มี ตัวสะกดแล้วรูปสระ หายไป ง. ถูกทุกข้อ ประโยคนี้มีสระ เ – ะ กี่ตัว “เด็กเล็กชอบเช็ดถูตู้เย็น เพราะ เห็นแม่ทำ ให้ดู” ก. ๕ ข. ๖ ค. ๗ ง. ๘ ๑๒. คำว่า “เปิดขวด” ประสมด้วย สระใดบ้าง ก. สระ เ – ะ , สระ เ-อ ข. สระ เ-าะ , สระ ออ ค. สระ เ-อ , สระ -ัว ง. สระ -ัว , สระ เ – ะ ๑๓. ๑๑.
๗๕ คำว่า “ฝนตกทั้งวันเลย” ประสม ด้วย สระใดบ้าง ก. สระ เ-อ , สระ -ะ , สระ โ-ะ ข. สระ เ-อ , สระ โ-ะ , สระ -ัว ค. สระ -ัว , สระ เ – ะ , สระ โ-ะ ง. สระ โ-ะ , สระ -ะ ,สระ -ัว ข้อใดประสมด้วยสระ –ัว ทั้งหมด ก. เนย ขวด ข. เจอ วัว ค. หัว มวย ง. เรอ ตัว คำว่า “เมินเฉย” ประสมด้วย สระใด ก. สระ เ-อ และ สระ -ัว ข. สระ เ-อ และ สระ เ-อ ค. สระ –ัว และ สระ อ ง. สระ –ื และ สระ เ - อ ข้อใดประสมด้วยสระ เ – อ ทั้งหมด ก. เดิน ฟัง จร ข. นวด วัว เปิด ค. เขย เลิก เป็น ง. เกิน เจอ เลย ๑๔. ข้อใดเป็นสระลดรูปทั้งหมด ก. เนย ฝน นวด ศร ข. พร หวย เลย คือ ค. ขวด ตก เลิก เต็ม ง. เป็น เสย มืด เรอ ข้อใดเป็นสระคงรูปทั้งหมด ก. กิน ถือ เธอ ข. ลุง โต๊ะ หัวใจ ค. มวย เกาะ ลูกศร ง. นอน นวด ฝนตก ๑๙. ข้อใดเป็นสระเปลี่ยนรูป ทั้งหมด ก. ตัดเล็บ เจอวัว ข. ก๊อกนํ้า ขวดยา ค. ตู้เย็น ลูกเขย ง. กังหัน มือถือ ๒๐. ๑๘. ๑๕. ๑๖. ๑๗.
๗๙ ๗๖
๗๗ วันนี้ครูดาราบอกให้นักเรียนแต่ละคนพูดคำอะไรก็ได้ คนละ ๑ คำ ไชยา : พ่อ ไชโย : นักเรียน โอลิเวีย : กิน มานะ : ดินสอ มาลี : นาฬิกา ครูดาราบอกนักเรียนว่า คำ คือเสียงที่เปล่งออกมาแล้วมี ความหมาย คำ หนึ่งอาจมีพยางค์เดียวหรือหลายพยางค์ ก็ได้ คำว่า พ่อ มี ๑ คำ ๑ พยางค์ คำว่า นักเรียน มี ๑ คำ ๒ พยางค์ ไชยา : พยางค์ หมายถึง อะไรครับ ครูดารา : พยางค์ หมายถึงเสียงที่เปล่งออกมา ๑ ครั้ง จะมี ความหมายหรือไม่มีความหมายก็ได้ คำว่า นาฬิกา มีกี่พยางค์ คำ ในภาษาไทย
๗๘ นักเรียน : นาฬิกา มี ๑ คำ และมี ๓ พยางค์ นา ฬิ กา ครูดารานำ คำ มาติดบนกระดาน หู เป็น คำ เป็น เด็ก เป็น คำตาย วันนี้นักเรียนจะได้เรียนเรื่อง คำ พยางค์ และคำ เป็น คำ ตาย ครูดาราให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ ๗ และทำ ใบ งานที่ ๗.๑ - ๗.๓ ครูดาราและนักเรียนร่วมกันสรุป บทเรียน ครูดารานำ บัตรคำ มาติดบนกระดานแล้วถามนักเรียน โรงเรียน เป็นคำ ประเภทใด สูง เป็นคำ ประเภทใด
๗๙ นักเรียนแสดงสีหน้างง ครูดารา : : โรงเรียน เป็นคำ นามทั่วไป สูง เป็นคำวิเศษณ์ นักเรียนจะได้เรียนเรื่อง ชนิดของคำ ครูดาราให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ ๘ และทำ ใบงาน ที่ ๘.๑-๘.๑๔ ครูดาราและนักเรียนร่วมกันสรุปบท เรียน จากนั้นนักเรียนทำแบบทดสอบท้ายบท
๘๐ ใบความรู้ที่ ๗ คำและพยางค์ คำ คือ เสียงที่เปล่งออกมาแล้วมีความหมาย คำ หนึ่ง อาจมีพยางค์เดียวหรือหลายพยางค์ก็ได้ คำ พยางค์ เงิน หมี อยู่ จมูก องุ่น ต้นไม้ นาฬิกา วิทยาลัย ๑ ๑ ๑ ๒ ๒ ๒ ๓ ๔ จำ นวนคำ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
๘๑ พยางค์ คือ เสียงที่เปล่งออกมาแต่ละครั้ง จะมีความ หมายหรือไม่มีก็ได้ กิ เร ฬิ นา กา นาที นาฬิกา วิทยาลัย สุนทรียภาพ ๑ พยางค์ ๑ พยางค์ ๑ พยางค์ ๑ พยางค์ ๑ พยางค์ ๒ พยางค์ ๓ พยางค์ ๔ พยางค์ ๕ พยางค์ ไม่มีความหมาย ไม่มีความหมาย ไม่มีความหมาย มีความหมาย มีความหมาย มีความหมาย มีความหมาย มีความหมาย มีความหมาย
๘๒ คำ เป็น คำ ตาย คำ เป็น คำ ตาย เป็นการจำแนกคำตามลักษณะที่ ใช้ระยะเวลาออกเสียงต่างกัน ซึ่งลักษณะดังกล่าวจะ ทำ ให้คำ ที่มีเสียงพยัญชนะต้นเป็นรูปเดียวกัน มีเสียง วรรณยุกต์ต่างกัน เช่น มา เป็น คำ เป็น มะ เป็น คำตาย คำ เป็น คำ ตาย ๑) คำ ที่ประสมด้วยสระ เสียงยาวไม่มีตัวสะกด ๒) คำ ที่ประสมด้วยสระ –ำ ใ - ไ - เ – า ๓) คำ ที่มีตัวสะกดแม่ กง กน กม เกย เกอว ๑) คำ ที่ประสมด้วยสระ เสียงสั้น ไม่มีตัวสะกด ๒) คำ ที่มีตัวสะกดใน มาตราแม่ กก กด กบ
๘๓ ใบความรู้ที่ ๘ ชนิดของคำ คำ แบ่งออกเป็น ๗ ชนิด คำ ที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ เช่น สุดา แมว ดินสอ โรงเรียน คำ นาม คำสรรพนาม คำ ที่ใช้แทนคำ นาม เช่น ฉัน เธอ เขา คำ ที่แสดงอาการ เช่น กิน นอน คำกริยา คำวิเศษณ์ คำ ที่ใช้ขยายคำ นาม หรือสรรพนาม เช่น สูง ใหญ่ คำ บุพบท คำ ที่อยู่ข้างหน้าคำ นามหรือคำสรรพนาม แล้วทำ หน้าที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างคำ นามหรือคำ สรรพนามในประโยค เช่น บน เพื่อ คำสันธาน คำ ที่เชื่อมคำกับคำ ข้อความกับข้อความ หรือ ประโยคกับประโยค ให้ติดต่อเป็นเรื่องเดียวกัน เช่น และ คำ ที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงอารมณ์และ คำอุทาน ความรู้สึกต่างๆของผู้พูด เช่น ไชโย โอ๊ย
ใบความรู้ที่ ๘.๑ คำ นาม คือ คำ นามทีใช้เรียก ชื่อ คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ ทั้งที่มีชีวิต และไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรมและ นามธรรม คำ นาม คำ นามที่ไม่ชี้เฉพาะใช้เรียกชื่อสิ่งของต่างๆโดยไม่ชี้เฉพาะ เจาะจง เช่น นก แม่ โรงเรียน ตลาด ขนม คำ ที่เป็นชื่อเฉพาะ ที่ใช้เรียกเฉพาะของคน สัตว์ สิ่งของ เช่น ไชยา วันอาทิตย์ ประเทศไทย ๑. สามานยนาม (คำ นามทั่วไป) ๒. วิสามานยนาม (คำ นามเฉพาะ) ๘๔
คำ ที่บอกลักษณะของคำ นามข้างหน้าโดยมากจะ ใช้ตามหลัง คำ ที่บอกจำ นวน เช่น ปากกา ๒ ด้าม ไข่ ๓ ฟอง คำ นามที่บอกหมวดหมู่ของคำ นาม ส่วนมาก จะอยู่หน้าคำ นาม เช่น คณะ พวก บริษัท หมู่ สมาคม ฝูง เช่น ฝูงปลา คณะกรรมการ คำ ที่บอกอาการ เกิดจากการนำคำว่า การ หรือ ความนำ หน้าคำกริยา หรือคำวิเศษณ์ เช่น การเรียน ความดี ความรัก ๓. ลักษณนาม ๔ สมุหนาม (คำ นามหมวดหมู่) ๕.อาการนาม ๘๕
๘๖ ใบความรู้ที่ ๘.๒ คำสรรพนาม บุรุษสรรพนาม คือ คำสรรพนามที่ใช้แทนตัวผู้พูด ผู้ที่พูด ด้วย และผู้ที่พูดกล่าวถึง บุรุษที่ ๑ บุรุษที่ ๒ บุรุษที่ ๓ ใช้แทนตัวผู้พูด เช่น ดิฉัน ข้าพเจ้า ใช้แทนตัวผู้ฟัง เช่น เธอ คุณ แก ใช้แทนตัวผู้ที่ที่เรากล่าวถึง เช่น เขา ใคร มัน คำสรรพนาม หมายถึง คำ ที่ใช้เรียนแทนคำ นามหรือ ข้อความที่กล่าวมาแล้วเพื่อหลีกเลี่ยงการกล่าวนาม หรือข้อความนั้นซํ้าอีก ไชยา ไม่ทำการบ้าน เพราะเขาไม่สบาย มาริสาเป็นนักเรียนที่อ้วนที่สุดในห้อง
๘๗ คำสรรพนาม มี ๖ ชนิด คำสรรพนามแทนบุคคล ใช้ในการพูด ฉัน เธอ เรา เช่น ฉันชื่อมาลี เขาไม่ชอบฟังเพลง คำสรรพนามชี้เฉพาะ วางไว้หน้าคำ นามทำ ให้ความ หมายชัดเจน นั้น นี่ โน่น เช่น โน่นวัวใช่ไหม นี่เงินใคร คำสรรพนามไม่ชี้เฉพาะ ใช้แทนนามซึ่งไม่ได้กำ หนด ชัดเจน อะไร ใคร ใด เช่น ใคร ๆ ก็ชอบกินส้มตำ ที่ใดมี รักที่นั่นมีทุกข์ คำสรรพนามเชื่อมประโยค ใช้แทนนามหรือสรรพนาม ที่อยู่ข้างหน้า ที่ ซึ่ง อัน เช่น คนที่พูดโกหกเป็นคนไม่ดี คำสรรพนามแยกฝ่าย ของคำ นามบอกอาการซํ้าๆๆ เช่น เด็กๆ บ้างก็เตะฟุตบอล บ้างก็เล่นวอลเลย์บอล คำสรรพนามแสดงคำถาม ใคร อะไร ไหน เช่น ใคร เปิดพัดลม อะไรทำ ให้เธอเบื่อ
๘๘ ใบความรู้ที่ ๘.๓ คำกริยา คำกริยา คือ คำ ที่แสดงกระทำของคำ นามและสรรพนาม คำกริยาที่มีความหมายครบถ้วนสมบูรณ์ ในตัวเองไม่ต้องมีกรรมมารับ เช่น วิ่ง ตก นอน ฉันวิ่ง แม่หลับ น้องร้องให้ ๑.อกรรมกริยา คำกริยาที่ต้องมีกรรมมารองรับจึงจะ ได้ใจความสมบูรณ์ครบถ้วน แมวกินปลา ส้มโออ่านหนังสือ ๒.สกรรมกริยา กริยาที่ใช้กับประธานอย่างเดียวไม่ได้ ต้องอาศัยคำ นาม คำสรรพนาม หรือคำวิเศษณ์ มาประกอบ จึงจะได้ความครบถ้วนได้แก่ เป็น อยู่ คือ เหมือน คล้าย เท่า ราวกับ พ่อเป็นทหาร ไชยาเหมือนแม่ ฉันอยู่โรงเรียน ๓.วิกตรรถกริยา คำกริยาที่ทำ หน้าที่ช่วยกริยาสำคัญใน ประโยคให้ชัดเจน เช่น เคย ควร อาจ กำลัง อย่าต้อง แดงควรกินข้าว ฉันเคยไปเชียงใหม่ ๔.กริยานุเคราะห์
๘๙ ใบความรู้ที่ ๘.๔ คำวิเศษณ์ คำวิเศษณ์ คือ คำ ที่ใช้ขยายคำ นาม คำสรรพนามคำกริยา หรือคำวิเศษณ์ด้วยกัน เพื่อให้เนื้อความชัดเจนขึ้น คำ วิเศษณ์มักอยู่หลังคำ ที่นำ มาขยาย คำวิเศษณ์บอกลักษณะ ใช้ประกอบคำ นามหรือสรรพนาม เพื่อ บอก ชนิด สี เสียง กลิ่น รส ความรู้สึก ขนาด อาการ สัมผัส คนแก่ บ้านเล็ก หน้ากลม ผมสีดำ เสียงดัง เกลือเค็ม อากาศร้อน ไชยาฉลาด คำวิเศษณ์บอกเวลา ใช้ขยายคำ เพื่อบอกเวลา เช้า สาย บ่าย เย็น เที่ยง ดึก ปัจจุบัน อนาคต ดำ นอนตื่นเช้า แดงชอบกลับบ้านดึก คำวิเศษณ์บอกสถานที่ ใช้ขยายคำ เพื่อบอกสถานที่ เช่น บน ล่าง ใต้ ไกล ริม บ้านของฉันอยู่ไกล ขับรถโปรดชิดซ้าย คำ วิเศษณ์บอกจำ นวนหรือ ปริมาณ ใช้ขยายคำ เพื่อบอกจำ นวนนับ เช่น หนึ่ง หลาย มาก น้อย ฉันไปภูเก็ตหลายครั้ง แม่มีไม้กวาดสี่อัน
๙๐ ใช้ประกอบคำ เพื่อบอกความแน่นอน ชัดเจน เช่น นี่ นั่น โน่น ทั้งนี้ ทั้งนั้น ชายคนนั้นหัวล้าน พรุ่งนี้ผมทำการบ้านแน่นอน ใช้ประกอบคำ โดยไม่บอกกำ หนดแน่นอน ว่าเมื่อไร อะไร ที่ไหน ทำ ไม อย่างไร แต่ ไม่เป็นคำถาม ฉันไม่รู้ว่าจะไปทะเลเมื่อไร คนไหนขยันจะไม่ลำ บาก ใช้ประกอบคำ พูด ได้แก่ จ้า จ๊ะ คะ ค่ะ ครับ คุณคะเชิญนั่งตรงนี้ค่ะ ลูกจ๋ากินข้าวหน่อยจ๊ะ คำวิเศษณ์แสดงควาปฏิเสธ ใช้บอกการห้ามหรือไม่รับรอง ได้แก่ ไม่ อย่า หามิได้ ฉันไม่ไปกับคุณ เธอไม่ควรนอนตื่นสาย คำวิเศษณ์บอกความชี้ เฉพาะ คำวิเศษณ์บอกความไม่ ชี้เฉพาะ คำวิเศษณ์แสดงความ ขานรับ ใช้เป็นคำถามหรือเสดงการสงสัย จะมีคำ ว่า ใคร อะไร ทำ ไม ไหน ที่เท่าไร เธอจะไปไหน แม่ตีเธอเรื่องอะไร คำวิเศษณ์แสดงคำถาม ใช้เชื่อมประโยคให้สัมพันธ์กัน เป็น ลักษณะคำ ประพันธ์ อยู่ติดกับคำกริยา และคำวิเศษณ์ มีคำว่า นี่ ซึ่ง อัน รถคันนี้มีราคาถูก คำวิเศษณ์แสดงการ เชื่อมประโยค
๙๑ ใบความรู้ที่ ๘.๕ คำ บุพบท คำ บุพบท คือ คำ ที่ใช้นำ หน้าคำ หรือกลุ่มคำ เพื่อแสดง ความ สัมพันธ์หรือตำแหน่ง ระหว่างคำ นามหรือ สรรพนามในประโยค ได้แก่ คำว่า ที่ ใน ไกล บน ใต้ กลาง ฯลฯ บ้านของฉันอยู่ไกลโรงเรียน หนังสืออยู่บนโต๊ะ ได้แก่ คำว่า แต่ ตั้งแต่ จน ก่อน เฉพาะ เมื่อ ฯลฯ เขาทำ งานจนดึก สุดามาโรงเรียนแต่เช้า ได้แก่ คำว่า ของ แห่ง หมาของฉันชื่อตูบ พ่อทำ งานอยู่ธนาคารแห่งประเทศไทย ได้แก่ คำว่า กับ แก่ (แบ่งปัน แจกจ่าย) แต่ ต่อ สำ หรับ เพื่อ โดย ฯลฯ ขาทำ เพื่อแม่ ฉันไปทะเลกับแม่ คำ บุพบทบอกสถานที่ คำ บุพบทบอกเวลา คำ บุพบทบอกความเป็นเจ้าของ คำ บุพบทบอกความประสงค์หรือความเกี่ยวข้อง
๙๒ ใบความรู้ที่ ๘.๖ คำสันธาน คำสันธาน คือ คำ ที่ใช้เชื่อมคำกับคำ ข้อความกับข้อความ หรือ ประโยคกับประโยค ให้ต่อเป็นเรื่อง เดียวกัน ได้แก่ คำว่า และ กับ ก็ ทั้ง…และ พอ…ก็ ฉันและเธอไปโรงเรียน ทั้งพ่อและแม่เป็นครู ๑. เชื่อมใจความคล้อยตามกัน ๒.เชื่อมใจความขัดแย้งกัน ได้แก่ คำว่า แต่ แต่ว่า ถึง…ก็ กว่า…ก็ ฉันเป็นครูแต่เขาเป็นหมอ เขานอนดึกแต่ว่าไม่ง่วงนอน ๓. เชื่อมใจความให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง ได้แก่ คำว่า หรือ มิฉะนั้น ไม่เช่นนั้น ไม่…ก็ เธอชอบภาษาอังกฤษหรือภาษาไทย เธอจะไปทะเลหรือนํ้าตก ๔.เชื่อมใจความเป็นเหตุเป็นผล ได้แก่คำว่า เพราะ เพราะว่า ดังนี้ เพราะฉะนั้น จึง ฯลฯ แดงสอบตกเพราะไม่อ่านหนังสือ เพราะว่าฝนตกนํ้าจึงท่วม
๙๓ ใบความรู้ที่ ๘.๗ คำอุทาน คำอุทาน คือ เป็นคำ ที่ใช้แสดงอารมณ์ ความรู้สึกของผู้พูด หรือเป็นคำ ที่ใช้เสริมคำ ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น คำอุทานบอกอาการ คำอุทานเสริมบทหรือสร้อยบท คือ คำ ที่เปล่งออกมาเพื่อ ให้รู้อาการหรือความรู้สึกของ ผู้พูด จะอยู่หน้าประโยค และมีเครื่องหมายอัศเจรีย์ (!) อยู่หลังคำอุทาน เป็นคำอุทานที่ผู้พูด เติมถ้อยคำ โดยไม่ได้ ตั้งใจให้มีความหมาย เอ๊ะ ! นั้นใคร (สงสัย) ว๊าย ! ช่วยด้วย (ตกใจ) เฮ้ ! สอบเสร็จแล้ว (ดีใจ) โอ๊ย ! ปวดขา (เจ็บปวด) โอ้โฮ ! รถสวยจัง (ชื่นชม) โธ่ ! ไม่น่าเลย (สงสาร) รีบอาบน้า อาบท่า ํ ก่อนไปดูละคร ในป่ามีสิงสา ราสัตว์มากมาย เด็กคนนี้ลูกเต้า เหล่าใคร เธอทำ เป็นไม่รู้ ไม่ชี้ กินข้าวกินปลา
๙๔ ๑) บอกจำ นวนพยางค์จากคำ ที่กำ หนดให้ พริก ขนม โทรทัศน์ มัธยมศึกษา อยุธยา คุณภาพ ปริมาณ ทรัพยากร ปรารถนา ศาสนาพุทธ เจรจา อุบัติเหตุ อนาคต มกราคม สัปดาห์ คำ พยางค์ ใบงานที่ ๗.๑