The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือชุดฝึกทักษะภาษาไทยระดับพื้นฐาน ตามหลักสูตรภาษาไทยพื้นฐานสำหรับคนไทยในต่างแดน เขียนโดย สาลี่ ศิลปสธรรม สนับสนุนการจัดทำโดย สถานกงสุลใหญ่ ณ นครลอสแอนเจลิส

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nitradee.pang, 2023-09-20 09:17:13

สวัสดี ๗

หนังสือชุดฝึกทักษะภาษาไทยระดับพื้นฐาน ตามหลักสูตรภาษาไทยพื้นฐานสำหรับคนไทยในต่างแดน เขียนโดย สาลี่ ศิลปสธรรม สนับสนุนการจัดทำโดย สถานกงสุลใหญ่ ณ นครลอสแอนเจลิส

ใบงานที่ ๑๓.๒ ๑) เขียนกลุ่มคำ ที่เป็นวลี ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑๔๕


ใบงานที่ ๑๔.๑ ๑) จากประโยคที่กำ หนดให้ โยงเส้นคำ ที่ขีดเส้นใต้ พ่อกินข้าว สุดาอ่านหนังสือ ม้าวิ่งเร็ว ฝนตก นกร้อง ช้างเดินช้า เด็กร้องไห้ รถวิ่ง ลมพัดแรงมาก ปลาว่ายน้าํ เร็ว หมาเห่า ลูกไก่ตาย ภาคประธาน ภาคแสดง ๑๔๖


ใบงานที่ ๑๔.๒ ๑) โยงเส้นประโยคกับรูปประโยค พ่อกำลังปลูกต้นมะลิ ปลาถูกแมวกิน มาลีอ่านหนังสือ มีปลาฝูงใหญ่ในน้าํ กระเป๋าถูกโจรลักไป เกิดไฟป่าที่ลำ ปาง ไชยาร้องเพลง เกิดฟ้าร้องฟ้าผ่าเมื่อคืนนี้ ป้าถูกผึ้งต่อย หอยถูกจับในทะเล รูปประโยคที่ขึ้นต้น ด้วยประธาน รูปประโยคที่ขึ้นต้น ด้วยกริยา รูปประโยคที่ขึ้นต้น ด้วยกรรม ๑๔๗


ใบงานที่ ๑๔.๓ ๑) ทำ เครื่องหมาย / ในประโยค ๒ ส่วน และทำ เครื่องหมาย x ในประโยค ๓ ส่วน ๑. เต่าเดินช้า ๒. แมวกินปลา ๓. ผึ้งต่อยพ่อ ๔. ทำอาหารเย็น ๕. แดงนุ่งกระโปรง ๖. เด็ก ๆ ร้องไห้ ๗. มาลีไปทะเล ๘. ปลาว่ายนํ้า ๑๔๘


ใบงานที่ ๑๔.๔ ๑) แยกส่วนประกอบของประโยคให้ถูกต้อง รถติดมาก หิมะตก พี่กินไก่ทอด ยุงตัวเล็กกัด มาริสา เด็กๆชอบฟัง นิทานเรื่อง กระต่ายตื่นตูม แม่ซื้อกางเกงใหม่ ๒ ตัว น้องไม่ชอบกินข้าว พ่อชอบฟังเพลง ลูกทุ่ง ประโยคความ เดียว ๓ ส่วน ประธาน ขยายประธาน กริยา ขยายกริยา กรรม ขยายกรรม ส่วนประกอบ ๑๔๙


ใบงานที่ ๑๔.๕ ๑) ทำ เครื่องหมาย / หน้าประโยคความเดียว x หน้าประโยคความรวม หน้าประโยคความซ้อน เพราะเธอกินส้มตำ มากเธอจึงปวดท้อง มะลิหัดขับรถ เขาจะไปกรุงเทพหรือไปเกาะสมุย คนที่ใส่เสื้อสีแดงคือพี่สาวฉัน บ้านหลังโน้นมีต้นไม้ร่มรื่นมาก พี่กับน้องขี่จักรยานไปโรงเรียน เขาขี้เกียจเรียนจึงสอบตก แม่ดูละครช่อง ๓ ซึ่งแสดงโดยณเดชน์ สุดาจะกินขนม แต่มาลีจะอ่านหนังสือ ชาวนากลับบ้าน เมื่อตะวันตกดิน ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๕๐


ใบงานที่ ๑๔.๖ ๑) นำ คำ ที่กำ หนดให้ไปเติมหน้าประโยค ประโยคบอกเล่า ประโยคคำถาม ประโยคปฏิเสธ ประโยคปฏิเสธคำถาม ประโยคคำสั่ง ประโยคขอร้อง ๑. นัดไม่ชอบไปโรงเรียน ๒. อย่าวิ่ง! เดี๋ยวล้ม ๓. ทำ ไมเธอไม่กินอาหารเช้า ๔. นักเรียนไปเที่ยวสวนสัตว์ ๕. ครูภาษาไทยคนใหม่ ชื่ออะไร ๖. กรุณาเดินเข้าประตู ด้านหลัง ๑๕๑


แบบทดสอบบทที่ ๖ เรื่อง วลี และประโยค คำชี้แจง : ให้นักเรียนทำ เครื่องหมาย X ทับข้อที่มีคำตอบที่ถูกต้อง วลี คือ ข้อใดเป็นวลี ข้อใดไม่ใช่วลี ข้อใดเป็นวลี ก. ช้างตัวใหญ่ ข. สวยจังเลย ค. วิ่งเร็วมาก ง. ถูกทุกข้อ ประโยค คือ ก. การนำกลุ่มคำ มาเรียงกันเป็น ข้อความที่ไม่สมบูรณ์ก็ได้ ข. การนำคำ มาเรียงกันต้องมี ประธาน กริยา กรรม เสมอ ค. การนำคำ มาเรียงกันเป็นข้อความ ที่สมบูรณ์ชัดเจน ง. ถูกทุกข้อ ส่วนประกอบที่สำคัญของ ประโยค คือ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ก. กลุ่มคำตั้งแต่ ๒ คำขึ้นไป มารวมกันให้เนื้อหาสมบูรณ์ ข. กลุ่มคำตั้งแต่ ๒ คำขึ้นไป มารวมกันแต่เนื้อหาไม่สมบูรณ์ ค. กลุ่มคำ ที่มารวมกันเป็นข้อความ ที่สมบูรณ์ รู้ว่าใครทำอะไร ง. ถูกทุกข้อ ก. อากาศยามเช้า ข. พ่ออ่านหนังสือพิมพ์ ค. แม่ใส่รองเท้าสีแดง ง. ฉันไม่ชอบคนโกหก ก. กระเป๋าสีดำ ข. พูดหยาบคาย ค. หนาวเหลือเกิน ง. ครูสอนหนังสือ ก. ประธาน กับ กริยา ข. ประธาน กับ กรรม ค. กริยา กับ กรรม ง. ประธาน กับ คำ เชื่อม ๑๕๒


ข้อใดเป็นประโยค ข้อใดไม่เป็นประโยค ประโยคใดประกอบด้วย ประธาน กริยา กรรม ข้อใดเป็นประโยคที่ขึ้นต้นด้วย ประธาน ก. หนูถูกแมวกัด ข. มีเนื้อหมูในตู้เย็น ค. นักเรียนถูกครูตี ง. มาริสาไปโรงเรียน ข้อใดเป็นประโยคที่ขึ้นต้นด้วย กรรม ก. มีเรือในทะเล ข. ฉันทำ งานทุกวัน ค. แมวถูกรถชน ง. ย่ากับปู่ไปวัด ข้อใดเป็นประโยค ๒ ส่วน ๗. ๘. ๙. ๑๐. ก. น้องทำการบ้าน ข. ทำการบ้านทุกวัน ค. ในโรงเรียน ง. เต้นรำ บนเวที ก. หน้าตาสดชื่น ข. น้องขี้เกียจทำการบ้าน ค. น้องชอบร้องเพลง ง. แม่กำลังทำอาหารเย็น ก. ม้าวิ่งเร็วมาก ข. พี่นอนหลับ ค. หมากัดแมว ง. น้องร้องให้ ก. ช้างตัวใหญ่กินอ้อย ข. หนูวิ่งหนีแมว ค. รถวิ่งเร็วมาก ง. พี่ชอบกินส้มตำ ๑๑. ๑๒. ข้อใดไม่ใช่ประโยคความเดียว ก. คนเดินข้ามถนน ข. ฉันและเธอเป็นเพื่อนกัน ค. นกฝูงใหญ่เกาะอยู่บนต้นไม้ ง. มาลีชอบเรียนวิชาภาษาไทย ๑๓. ข้อใดเป็นประโยคความรวม ก. ไชยาและทอมเดินไปโรงเรียน ข. เธอจะอ่านหนังสือหรือจะดูทีวี ค. พี่ทำ งานแต่น้องเล่นบอล ง. ถูกทุกข้อ ๑๔. ๑๕๓


ข้อใดเป็นประโยคบอกซ้อน ก. เขาวิ่งจนเป็นลม ข. เธอชอบกีฬาว่ายนํ้าหรือชกมวย มากกว่ากัน ค. มาลีอธิบายวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อให้มะลิเข้าใจ ง. หมอฉีดวัคซีนให้คนไข้ซึ่งเป็น โควิด ข้อใดไม่ใช่ประโยคปฏิเสธคำถาม ก. ใครไม่ได้ทำการบ้าน ข. ทำ ไมเธอไม่กินอาหารเช้า ค. เธอจะไม่ไปกรุงเทพใช่ไหม ง. ห้ามเดินลัดสนามหญ้า ๑๕. ๑๖. ข้อใดเป็นประโยคแสดงความ ต้องการ ก. เธอชอบกินกล้วยไหม ข. มาลีอยากไปทะเล ค. สุดเป็นเด็กดีมาก ง. นัดไม่ทำการบ้าน ๑๗. ข้อใดเป็นประโยคคำสั่ง ก. กรุณาถอดรองเท้า ข. นักเรียนต้องฟังเพลง ค. เธอมาจากที่ไหน ง. อย่าเสียงดังในเวลาเรียน ๑๘. ข้อใดเป็นประโยคชักชวน ก. ไปเที่ยวด้วยกันนะ ข. โปรดปิดไฟก่อนออกจากห้อง ค. กินข้าวอีกหน่อย ง. ห้ามเดินไปในที่มืด ๑๙. ข้อใดไม่ใช่ประโยคขอร้อง ก. กรุณาถอดร้องเท้า ข. ขอนํ้าเพิ่มค่ะ ค. ฉันต้องการเป็นครู ง. ช่วยหยิบร่มให้หน่อย ๒๐. ๑๕๔


๑๖๑๕๕ การใช้สระใอ การใช้ รร ตัวการันต์ และคำาพ้อง


๑๕๖ บทที่๗ ครูดารานำแผ่นกระดาษเรื่อง สระใอ มาติดบนกระดาน และบอก ให้นักเรียนอ่าน การใช้สระใอ การใช้รร ตัวการันต์ และคำ พ้อง สระใอใช้เขียนคำ ไทย ๒๐ คำ ผู้ใหญ่หาผ้าใหม่ ให้สะใภ้ใช้คล้องคอ ใฝ่ใจเอาใส่ห่อ มิหลงใหลใครขอดู จะใคร่ลงเรือใบ ดูนํ้าใสและปลาปู สิ่งใดอยู่ในตู้ มิใช่อยู่ใต้ตั่งเตียง บ้าใบ้ถือใยบัว หูตามมัวมาใกล้เคียง เล่าท่องอย่าละเลี่ยง ยี่สิบม้วนจำจงดี จากนั้นครูดาราอ่านเป็นจังหวะให้นักเรียนฟัง แล้วให้นักเรียนอ่าน เอง พร้อมตบมือทำจังหวะ ครูดารา : นอกจากคำ ที่นักเรียนเห็นแล้วยังมีคำ บางคำ เช่น หมาใน เหล็กใน เยื่อใย ใยแมงมุม ก็นำคำว่า ใน และ ใย ไปใช้ได้ด้วย


๑๕๗ ครูดาราให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ ๑๕ และให้นักเรียน ทำ ใบงานที่ ๑๕.๑ - ๑๕.๒ ครูดาราและนักเรียนร่วมกัน สรุปบทเรียน ครูดารานำ คำ มาให้นักเรียนอ่าน บันได บรรยาย บันเทิง ทุกข์ แพทย์ ตากลม นักเรียนสามารถอ่านคำ ได้ถูกต้องแต่มีคำว่า ตากลม บางคนอ่านว่า ตา - กลม บางคนอ่านว่า ตาก - ลม ครูดารา : การใช้สระใอ การใช้ รร ตัวการันต์ เป็นคำ ที่นักเรียน เคยเรียนมาแล้ว วันนี้เราจะทบทวนอีกครั้ง ส่วนคำ ว่า ตากลม คำ นี้ในภาษาไทย เรียกว่า คำ พ้อง คำ นี้ อ่านได้ทั้ง ๒ แบบ ครูดาราให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ ๑๖ - ๑๘ และ ให้นักเรียนทำ ใบงานที่ ๑๖.๑ - ๑๖.๒ , ๑๗.๑ - ๑๗.๒ , ๑๘.๑ - ๑๘.๒ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปแต่ละบทเรียน จากนั้นนักเรียนทำแบบทดสอบท้ายบท


๑๕๘ ใบความรู้ที่ ๑๕ การใช้สระใอ ไอ สระใอ (ไม้ม้วน) สระไอ (ไม้มลาย) สระใอ (ไม้ม้วน) จะใช้กับคำ ไทย ๒๐ คำ เท่านั้น คือ ใจ ใด ใย สะใภ้ ใน ใบ ใบ้ ใต้ ใช่ ใช้ ใส ใส่ ใช้ ใคร ใคร่ ใกล้ ใฝ่ ใหญ่ ใหม ใหล ๑. ใช้กับคำ ไทยทุกคำ (ยกเว้น คำ ที่ใช้ไม้ม้วน ๒๐ คำ ) เช่น ไป ไกล ไหน ไวไฟ ๒. ใช้กับคำ ที่มาจากภาษาอื่น เช่น สไบ ไผท ไมล์ ไกด์


๑๕๙ ใบความรู้ที่ ๑๖ การใช้ รร (ร หัน) และการใช้ บรร,บัน ร หัน (รร) เป็นพยัญชนะ ร สองตัว เรียงกัน (รร) เมื่อเขียนตามหลัง พยัญชนะต้น จะอ่านออกเสียงเป็น อัน ( -ัน ) ๑. “ รร ” ที่ตามหลังพยัญชนะต้น ๒. ถ้ามีพยัญชนะตัวอื่นตามหลัง “ รร ” เวลาอ่านจะ อ่านเสียงพยัญชนะที่เป็นตัวสะกด บรรทัด บรรเทา บรรลุ บรรลัย บรรทุก บรรจบ บรรเลง บรรดา บรรพชา บรรยาย บรรเจิด บรรทม บรรจง กรรไกร จรรยา หรรษา ภรรยา พรรณ กรรมการ วรรค สรรพคุณ คุณธรรม พรรค นิทรรศการ


๑๖๐ การใช้ บัน คำ ไทยที่ใช้ บัน เช่น บันดาลลงบันได บันทึกให้จงดูดี รื่นเริงบันเทิงมี เสียงบันลือสนั่นดัง บันโดยบันโหยให้ บันเหินไปจากรวงรัง บันทึกถึงความหลัง บันเดินนั่งนอนบันดล บันกวดเอาลวดรัด บันจวบจัดตกแต่งตน คำ บัน นั้นฉงน ระวังปนกับ ร – หัน (อาจารย์คำชัย ทองหล่อ)


๑๖๑ ใบความรู้ที่ ๑๗ ตัวการันต์ ตัวการันต์ หมายถึง ตัวอักษรที่มีไม้ทัณฑฆาต (ทัน – ทะ – คาด) ( –์ ) กำกับอยู่ ข้างบน เพื่อไม่ให้ออกเสียงตัว อักษรนั้น ใช้กับคำ ไทยที่มาจากภาษาอื่น ๑. ตัวการันต์ที่อยู่ท้ายคำ ๑.๑ ตัวการันต์ที่เป็นพยัญชนะตัวเดียว ทุกข์ อ่านว่า ทุก แพทย์ อ่านว่า แพด ๑.๒ ตัวการันต์ที่เป็นพยัญชนะ ๒ ตัว จันทร์ อ่านว่า จัน ศาสตร์ อ่านว่า สาด ๑.๓ ตัวการันต์เป็นพยัญชนะและสระ พันธุ์ อ่านว่า พัน ศักดิ์ อ่านว่า สัก ๒. ตัวการันต์ที่อยู่กลางคำ ฟอร์ม ชอล์ก


๑๖๒ ใบความรู้ที่ ๑๘ คำ พ้อง คำ พ้อง คือ คำ ที่เขียนเหมือนกัน หรือ ออกเสียงเหมือนกัน แต่มี ความหมายต่างกัน ๑ คำ พ้องรูป ๒ คำ พ้องเสียง ๑) เขียนเหมือนเดิม ๒) อ่านออกเสียงต่างกัน ๓) มีความหมายต่างกัน ๑) เขียนต่างกัน ๒) อ่านออกเสียงเหมือนกัน ๓) มีความหมายต่างกัน กรี เพลา สระ ตากลม กรี กะรี เพลา เพ - ลา สระ สะ-ระ ตา - กลม ตาก - ลม กระดูกแหลมที่ หัวกุ้ง ช้าง แกนล้อของรถ เวลา สระว่ายนํ้าสระ ผม สระภาษาไทย ดวงตากลม วางในที่โล่งให้ ลมพัดผ่าน กรรณ กัณฑ์ กัณฐ์ กัลย์ กัน โจษ โจทก์ โจทย์ กัน โจด หู ตอน/เรื่อง คอ นางงาม ปิด บัง ห้าม เล่าลือ พูดกัน ผู้กล่าวหา คำถามในวิชา คณิตศาสตร์ คำ อ่านว่า ความหมาย คำ อ่านว่า ความหมาย


๑๖๓ ๓ คำ พ้องรูปและพ้องเสียง ๑) เขียนเหมือนกัน ๒) อ่านออกเสียงเหมือนกัน ๓) มีความหมายต่างกัน คำ อ่านว่า ความหมาย ขัน แกะ ขัน แกะ - หัวเราะ - อาการร้องของไก่ - ภาชนะสำ หรับตักนํ้า - ชื่อสัตว์ ๔ เท้า - เอาเล็บมือค่อย ๆ แกะ เพื่อให้หลุดออก


๑๖๔ ใบงานที่ ๑๕.๑ ๑) ทำ เครื่องหมาย / หน้าคำ ที่เขียนด้วยสระใอถูกต้อง ๑. เสื้อใหม่ ๒. ใจดี ๓. เป็นใบ้ ๔. ไปไกล ๕. ผู้ใหญ่ ๖. หมาใน ๗. ใส่กางเกง ๘. ในสระน้าํ ๙. ตะใบ ๑๐. เยื่อใย ๑๑. เรือใบ ๑๒. เหล็กใน ๑๓. ลำ ใส้ ๑๔. ใกล้เคียง ๑๕. ที่ใหน ๑๖. ใฝ่รู้ ๑๗. หลงใหล ๑๘. มะใฟ ๑๙. ใคร่ครวญ ๒๐. ทิศใต้


๑๖๕ ใบงานที่ ๑๕.๒ ๑) ทำ เครื่องหมาย X ทับคำ ที่เขียนผิด ลำ ไส้ ใต้ตู้ น ํ้าใส ใถนา ไกด์ ไห ผู้ใหญ่ แก้ไข ว่องไว ตะไบ ไฟใหม้ ไกล้บ้าน ตะใคร้ สไบ


๑๖๖ ใบงานที่ ๑๖.๑ ๑) นำ คำ บัน บรร ไปใส่หน้าคำ ให้ถูกต้อง ______ ได ______ ทัด ______ จง ______ ทุก ______ เทิง ______ เลง ______ ทึก ______ ยาย ______ เทา ______ ดาล ______ ลือ ______ ลุ


๑๖๗ ใบงานที่ ๑๖.๒ ๑) นำ คำ ไปเติมให้ตรงกับภาพ กรร บรร บัน พรร ครรภ์ เทียน_____ษา ผู้หญิงตั้ง_____ สถาน _____ เทิง _____ ได รถ _____ ทุก _____ ไกร ไม้ _____ ทัด _____ เลง


๑๖๘ ใบงานที่ ๑๗.๑ ๑) นำ ตัวการันต์ที่กำ หนดให้ไปเติมคำ ย์ ว์ ร์ ห์ ค์ ต์ พ์ น์ สัต__ อาจาร__ ความทุก__ รถยน__ วันเสา__ หนังสือพิม__ ธงไตรรง__ ประโยช__ สัปดา__


๑๖๙ ใบงานที่ ๑๗.๒ ๑) ทำ เครื่องหมาย X ทับคำ ที่เขียนผิด แล้วเขียนให้ถูกต้อง อารมย์ __________ สัปดาน์ __________ สัมภาษณ์_________ วันศุกร์__________ โทรทัศร์__________ ประวัติศาสต์________ แพทย์ __________ สุขสันต์__________ พระสงค์_________ รถยนค์__________ ประโยชค์________ กุมภาพันธ์________


๑๗๐ ใบงานที่ ๑๘.๑ ๑) นำ คำ พ้องที่กำ หนดให้ไปเติมในช่องว่าง ๑ พี่โทร _____ที่ห้าง _____สินค้า ๒ อา _____ เย็นหิมะตกเป็นโอ_____ ดี ๓ บน ____เขา มีดอกไม้สีชม____ ๔ เด็กอนุ_____อารมณ์เบิก_____ได้ร้องเพลง ๕ ___ใหญ่ ซื้อหอยแมลง _____ ๖ แม่เก็บดอก_____ไปขายวัน____ ๗ สุดาซื้อครีมราคาหนึ่ง ____เพื่อบำรุผิว______ ๘ ทุกวัน _____ ฉันมีความ_____ สรรพ กาส ภู บาล ภู่ พุธ พรรณ สุข ศัพท์ กาศ พู บาน ผู้ พุด พัน ศุกร์ ได้เล่นหิมะ


๑๗๑ ใบงานที่ ๑๘.๒ ๑) นำ คำ ที่กำ หนดให้ไปเติมในประโยค สร้างสรรค์ ผูกพัน พระจันทร์ อากาศ สุขสันต์ รส โอกาส ประธาน ลำธาร สระ คืนนี้ ___________ เต็มดวง น้าใน ___________ แห้งในฤดูร้อน ํ มะม่วงสุกมี ___________ หวานอร่อย ___________ ในยามเช้าสดชื่นเย็นสบาย มาลี ___________ ผมทุกวัน ___________ วันเกิด คนเราต้องมีความคิด ___________ พ่อแม่ลูกมีความรักและความ ___________ เป็น ___________ ดีที่ได้ไปทำ บุญที่วัด สุทินไปเป็น ___________ เปิดงาน ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐


๑๗๒ แบบทดสอบบทที่ ๗ เรื่อง การใช้สระใอ การใช้ รร ตัวการันต์ และคำ พ้อง คำชี้แจง : ให้นักเรียนทำ เครื่องหมาย X ทับข้อที่มีคำตอบที่ถูกต้อง คำ ใดเขียนถูกต้อง คำ ใดเขียนผิด ข้อใดเขียนผิด ข้อใดเขียนถูก ก. ไฟใหม้ ข. ไปไหน ค. ไจใหญ่ ง. ไส่ใจ “ รร ” เรียกว่าอะไร ก. รอ รอ ข. ร หัน ค. ร อัน ง. ดับเบิล ร คำ ที่ รร ในข้อใดไม่มีตัวสะกด ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ก. ไกล้ ข. ใด ค. ใกล ง. ใหน ก. สะใภ้ ข. รักใคร่ ค. ใฝ่รู้ ง. หลงไหล ก. ลำ ไส้ ข.ไต้เตียง ค.ไยแมงมุม ง. ผิดทุกข้อ ก. พรรณนา ข. พรรคพวก ค. เว้นวรรค ง. บรรยากาศ


๑๗๓ ข้อใดเขียนถูก คำ ใดเขียนผิด คำคู่ใดเขียนผิด ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง ก. ตัวการันต์เป็นคำ ไทยแท้ ข. ตัวการันต์เป็นคำ ไทยที่มา จากภาษาอื่น ค. พยัญชนะที่ใส่ตัวการันต์จะ ออกเสียงหรือไม่ออกเสียงก็ได้ ง. ตัวการันต์จะใส่ไว้ท้ายคำ เสมอ –์ อ่านว่า ก. อัศเจรีย์ ข. บุพสัญญา ค. ทัณฑฆาต ง. นขลิขิต ข้อใดมีตัวการันต์ต่างจากคำอื่น ๗. ๘. ๙. ๑๐. ก. บรรเทิง ข. บรรดาล ค. บรรจง ง. บรรทึก ก. บันลือ ข. บรรทม ค. บรรยาย ง. บันดา ก. บันได บันทึก ข. บรรเลง บรรลุ ค. บรรทัด บรรทม ง. บันจบ บันเลง ก. ภาพยน____ ข. รถยน____ ค. ความทุก____ ง. พระสง_____ ๑๑. ๑๒. ข้อใดเขียนถูกทุกคำ ก. บริสุทธิ์ – วิจารย์ ข. เสน่ห์ – เท่ห์ ค. โทรทัศน์ – วันจันทร์ ง. สมบูรย์ – วันเสาร์ ๑๓. ข้อใดต่างจากคำอื่น ก. อุปกรณ์ ข. ประโยชน์ ค. สงกรานต์ ง. บริสุทธิ์ ๑๔.


ข้อใดคือคำ พ้อง ข้อใดไม่ใช่คำ พ้องรูป ข้อใดเป็นคำ พ้องรูป ข้อใดไม่ใช่คำ พ้องเสียง ก. วันพุธ ดอกพุด ข. สีสัน สุขสันต์ ค. เงินบาท มีดบาด ง. เพลารถ เพลาเช้า ข้อใดเขียนไม่ถูกต้อง ก. โทรศัพท์ ข. มะม่วงสุก ค. ลำธาร ง. โอกาศ ประโยคใดมีคำ พ้องเสียงมากที่สุด ๑๕. ๑๖. ๑๗. ๑๘. ๑๙. ๒๐. ก. คำ ที่เขียนเหมือนกัน และ ความหมายเหมือนกัน ข. คำ ที่อ่านเหมือนกันและ ความหมายเหมือนกัน ค. คำ ที่เขียนหรืออ่านเหมือนกัน แต่ความหมายต่างกัน ง. ถูกทุกข้อ ก. เพลา ข. ครุ ค. สระ ง. บาตร ก. สลัด ข. ปรัก ค. กรี ง. ถูกทุกข้อ ก. แม่ขับรถไปซื้อสัปปะรดที่มี รสหวาน ข. พี่โทรศัพท์ในห้างสรรพสินค้า ค. มาลีมีความสุขที่ได้กินมะม่วงสุก ทุกวัน ง. ปู่ยานั่งที่สนามหญ้าหน้าบ้าน ๑๗๔


ชื่อ สาลี่ ศิลปสธรรม วุฒิทางการศึกษา ครุศาสตรมหาบัณฑิต ( ค.ม. ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตำแหน่งปัจจุบัน ข้าราชการบำ นาญ เกียรติภูมิที่ได้รับ พ.ศ. ๒๕๔๑ ครูผู้สอนดีเด่น ของเขตการศึกษา ๕ พ.ศ. ๒๕๔๒ ครูแห่งชาติสาขาการสอนภาษาอังกฤษของสำ นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ประสบการณ์ในการทำ งาน - เป็นคณะกรรมการจัดทำ หลักสูตรภาษาอังกฤษ ปีพุทธศักราช ๒๕๓๙ และ หลักสูตรกลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ปีพุทธศักราช ๒๕๔๔ และ ๒๕๕๑ - วิทยากรอบรมเกี่ยวกับเทคนิคการสอนภาษาอังกฤษให้หน่วยงานราชการและหน่วยงานทั่วไป - มีผลงานด้านวิจัยและเอกสารทางวิชาการจำ นวนหลายเล่ม - เข้าร่วมโครงการสอนภาษาไทยและวัฒนธรรมไทยในต่างแดนกับคณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยโดยไปสอนที่ประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศออสเตรเลีย -อบรมเกี่ยวกับเทคนิคการสอนภาษาอังกฤษที่ประเทศอังกฤษและออสเตรเลีย - ได้รับเชิญจากสถานเอกอัครราชทูตไทยและสมาคมไทยต่างๆในประเทศสหรัฐอเมริกา เบลเยียม ฝรั่งเศส เกาหลีใต้อินโดนีเซีย สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี เยอรมันนี สวีเดน สเปน เดนมาร์ก ลักซัมเบิร์ก และนอร์เวย์ ให้ไปเป็นวิทยากรอบรมครูอาสาสมัครสอนภาษาและวัฒนธรรมไทยรวมทั้งดำ เนินการสอนเด็กไทย และเด็กสองชาติพันธุ์ ณ ประเทศนั้น ๆ ประวัติผู้เขียน


Click to View FlipBook Version