The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือชุดฝึกทักษะภาษาไทยระดับพื้นฐาน ตามหลักสูตรภาษาไทยพื้นฐานสำหรับคนไทยในต่างแดน เขียนโดย สาลี่ ศิลปสธรรม สนับสนุนการจัดทำโดย สถานกงสุลใหญ่ ณ นครลอสแอนเจลิส

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nitradee.pang, 2023-09-20 09:17:13

สวัสดี ๗

หนังสือชุดฝึกทักษะภาษาไทยระดับพื้นฐาน ตามหลักสูตรภาษาไทยพื้นฐานสำหรับคนไทยในต่างแดน เขียนโดย สาลี่ ศิลปสธรรม สนับสนุนการจัดทำโดย สถานกงสุลใหญ่ ณ นครลอสแอนเจลิส

๙๕ ใบงานที่ ๗.๒ ๑) เขียนคำ ตามที่กำ หนดให้ อย่างละ 5 คำ คำ พยางค์เดียว คำ ๒ พยางค์ คำ ๓ พยางค์ คำ ๔ พยางค์


๙๖ ใบงานที่ ๗.๓ ๑) นำ คำ ที่กำ หนดให้ไปเขียนให้ถูกต้อง จะ แก้ว เปลวเทียน เอะอะ กระจก ประตู จำ ใจ ต้นไม้ วิทยุ จุกอก เสาไฟ สุนัข พรรค ไข่เจียว หอยลาย เพชร สงบ สีเขียว งูเห่า ราบเรียบ รักมาก หกสิบ นํ้าใส ยิ้มแย้ม คำ เป็น คำ ตาย


๙๗ ๑) ระบายสีชนิดของคำ ไทย ๗ ชนิด ใบงานที่ ๘.๑ คำ ประสม คำ บุพบท คำ มูล คำ นาม คำ ซ ํ้า คำอุทาน คำ พ้อง คำกริยา คำสรรพนาม คำ ซ้อน คำ ควบกล ํ้า คำวิเศษณ์ คำสันธาน


๙๘ ใบงานที่ ๘.๒ ๑) หาคำ นามมาเติมให้ถูกต้อง สามานยนาม วิสามานยนาม อาการนาม ลักษณะนาม สมุหนาม บ้าน โรงเรียน มาลี วันอาทิตย์ สมุด เล่ม ปืน กระบอก ฝูงนก คณะลิเก การฟัง ความดี


๙๙ ๑) แต่งประโยคโดยใช้สรรพนามที่กำ หนดให้ ใบงานที่ ๘.๓ สรรพนามแทนบุคล บุรุษสรรพนาม ฉัน เธอ เรา เขา ท่าน วิภาคสรรพนาม สรรพนามแยกฝ่าย ต่าง บ้าง กัน สรรพนามเชื่อม ประพันธ์สรรพนาม ที่ ซึ่ง อัน สรรพนามชี้เฉพาะ นิยมสรรพนาม นี่ นั้น โน่น สรรพนามไม่ชี้เฉพาะ อนิยมสรรพนาม ใคร อะไร ไหน ใด สรรพนามถาม ปฤจฉาสรรพนาม อะไร ใคร ไหน


๑๐๐ ๑) จากประโยคโยงเส้นให้ตรงกับคำสรรพนามแต่ละชนิด ใบงานที่ ๘.๔ ดิฉันชื่อมาลีค่ะ อะไรทำ ให้เธอยิ้มทั้งวัน ใครๆก็รู้ว่าเธอฉลาด นี่หนังสือของเธอ ครูที่สอนเก่งเด็กจะรัก เด็กๆจะไปอ่านหนังสือกัน สรรพนามบุรุษ สรรพนามบุคคล ประพันธ์สรรพนาม สรรพนามเชื่อม วิภาคสรรพนาม สรรพนามแยกฝ่าย นิยมสรรพนาม สรรพนามชี้เฉพาะ อนิยมสรรพนาม สรรพนามไม่ชี้เฉพาะ ปฤจฉาสรรพนาม สรรพนามคำถาม


๑๐๑ ใบงานที่ ๘.๕ ๑) เขียนประโยคตามคำกริยา อกรรมกริยา กริยาที่ไม่ต้องมี กรรมมารับ สกรรมกริยา กริยาที่ต้องมี กรรมมารับ กริยานุเคราะห์ ช่วยกริยาอื่นให้ ชัดเจน วิกตรรถกริยา ต้องอาศัยคำ นาม สรรพนามหรือคำ วิเศษณ์มาขยาย ฉันเสียใจ ครูอ่านหนังสือ เด็ก ๆ ควรดื่มนม แม่เป็นพยาบาล


๑๐๒ ๑) แต่งประโยคโดยใช้คำกริยาที่กำ หนดให้ หัวเราะ ยืน เขียน สอน ต้อง ควร อยู่ คล้าย ใบงานที่ ๘.๖


๑๐๓ ใบงานที่ ๘.๗ ๑) โยงเส้นคำวิเศษณ์แต่ละชนิด คำวิเศษณ์บอกลักษณะ คำวิเศษณ์บอกจำ นวน คำวิเศษณ์บอกเวลา คำวิเศษณ์บอกสถานที่ คำวิเศษณ์บอกความชี้เฉพาะ คำวิเศษณ์บอกความไม่ชี้เฉพาะ คำวิเศษณ์บอกคำถาม คำวิเศษณ์บอกปฏิเสธ คำวิเศษณ์บอกคำ ขานรับ คำวิเศษณ์เชื่อมคำ หรือข้อความ เช้า สาย บ่าย เย็น ก่อน ทีหลัง สูง เตี้ย โต ยาว แหลม หนัก นี้ นั้น โน้น ใด อะไร ทำ ไม ไหน อย่างไร มาก น้อย ทั้งหมด ตัวเลขต่าง ๆ บน ล่าง ใต้ ใกล้ ไกล เหนือ จ้า จ๋า จ๊ะ คะ ค่ะ ครับ ไหน อะไร ใคร ทำ ไม เท่าไร ที่ อัน ซึ่ง ไม่ ไม่ใช่ ไม่ได้


๑๐๔ ๑) แต่งประโยคโดยเลือกใช้คำวิเศษณ์ที่กำ หนดให้ ๑ ประโยค ใบงานที่ ๘.๘ คำวิเศษณ์บอกลักษณะ สูง เตี้ย ใหญ่ คำวิเศษณ์บอกจำ นวน มาก น้อย (จำ นวนเลขต่างๆ) คำวิเศษณ์บอกเวลา เช้า เที่ยง เย็น คำวิเศษณ์บอกสถานที่ บน ล่าง ใต้ คำวิเศษณ์บอกคำถาม อะไร ใคร ทำ ไม คำวิเศษณ์บอกคำขานรับ ครับ ค่ะ จ๋า คำวิเศษณ์บอกปฏิเสธ ไม่ ไม่ได้ ไม่ใช่ คำวิเศษณ์บอกความชี้เฉพาะ นี้ นั้น โน้น


๑๐๕ ใบงานที่ ๘.๙ ๑) นำ คำวิเศษณ์ที่กำ หนดให้ไปเติมให้ถูกต้อง ที่ มาก บน โน้น ยาว ใครๆ เท่าไร ครับ ไม่ได้ ตอนเช้า ยีราฟมีคอ___________ พระอาทิตย์ขึ้น ___________ นกทำรังอยู่__________ ต้นไม้ เครื่องบินบินเร็ว___________ ตลาด__________ อยู่ไกลมาก __________ ก็ชอบของใหม่ เสื้อตัวนี้ราคา ___________ พ่อ __________วันนี้ผมขอไปเตะบอลกับเพื่อน แม่ทำ งานบ้านทั้งวัน ___________ พักเลย ฉันซื้อกางเกงตัวนี้ดีนะ___________ ราคาถูก ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐


๑๐๖ ๑) นำ คำ บุพบทที่กำ หนดให้ไปใส่ให้ถูกต้อง ใบงานที่ ๘.๑๐ เมื่อ กับ แก่ แห่ง ไกล โต บน เพื่อ จนกระทั่ง ใน แค่ ตั้งแต่ ของ สำ หรับ ริม คำ บุพบทบอกเวลา คำ บุพบทบอกสถานที่ คำ บุพบทบอกความเป็น เจ้าของ คำ บุพบทบอกความ เกี่ยวข้อง


๑๐๗ ใบงานที่ ๘.๑๑ ๑) วงกลมคำ บุพบทในประโยค ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ กระเป๋าใบนี้ฉันทำกับมือ ฉันเก็บเงินไว้ในกระเป๋าสีดำ สอบเสร็จฉันจะไปเชียงใหม่กับครอบครัว สมศักดิ์ไปทำ งานโดยรถจักรยานยนต์ ครูแจกรางวัลให้นักเรียน แตงโมซีกนี้สำ หรับเธอ เขาไปประชุมที่ธนาคารแห่งประเทศไทย มะลิสอบเสร็จตั้งแต่เดือนมีนาคม นักเรียนฟังด้วยความสงบ พ่อแม่ทำ งานหนักเพื่อลูก รถใหม่ของเธอสวยจริง ๆ บ้านฉันอยู่ใกล้ทะเล


๑๐๘ ๑) โยงเส้นคำสันธานกับชนิดของคำสันธาน ใบงานที่ ๘.๑๒ คำสันธาน เชื่อมใจความคล้อยตามกัน คำสันธาน เชื่อมความขัดแย้งกัน คำสันธาน เชื่อมความให้เลือกอย่างใด อย่างหนึ่ง คำสันธาน เชื่อมใจความเป็นเหตุ เป็นผลกัน หรือ มิฉะนั้น ไม่เช่นนั้น กับ และ เมื่อ…ก็ ทั้ง…ก็ แต่ แต่ว่า ถึง …ก็ กว่า…ก็ แม้….ก็ ดังนั้น เพราะ ฉะนั้น เพราะ….จึง


๑๐๙ ใบงานที่ ๘.๑๓ ๑) โยงเส้นชนิดของคำอุทานกับประโยค คำอุทานบอกอาการ คำอุทานเสริมบท เดินไปที่มืด ๆ ระวังงู เงี้ยวเขี้ยวขอ อ้าว!ลืมไปว่าวันนี้ เป็นวันเสาร์ โธ่เอ๋ย! น่าสาร ทำ ไมไม่ซักเสื้อแสง มันสกปรกมาก ฉันทำ งานจนหมดเรียว หมดแรง โอ้โฮ! แต่งตัวสวยจังวันนี้ ไชโย! ฉันสอบผ่านวิชา คณิตศาสตร์


๑๑๐ ๑) นำ คำอุทานที่กำ หนดให้ไปเติมในประโยค ใบงานที่ ๘.๑๔ ไชโย ! โอ้โฮ! โอ้ย! ว๊าย! เอ๊ะ! รถรา พยาบงพยาบาล อาบนํ้าอาบท่า ฝนฟ้า ไม่รู้ไม่ชี้ ___________ ปวดหัวจัง ___________ ฉันสอบได้ที่หนึ่ง ______________ไปไหนกันหมด คนไข้รอนานแล้ว ___________ ใครเอาหนังสือไป มาเหนื่อย ๆ__________ก่อนกินข้าว __________ กระเป๋าเงินหาย เธอเป็นคนเอาหนังสือไป อย่าทำ เป็น ___________ พื้นดินแห้งเพราะ__________ไม่ตก จะข้ามถนนดู___________ ให้ดี ___________ เสื้อใหม่ของเธอสวยดี ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐


๑๑๑ แบบทดสอบบทที่ ๔ เรื่อง คำ ในภาษาไทย คำชี้แจง : ให้นักเรียนทำ เครื่องหมาย X ทับข้อที่มีคำตอบที่ถูกต้อง ข้อใดถูกต้อง คำ คือ.... พยางค์ คือ คำว่า “สถานี” มีกี่พยางค์ ก. ๑ ข. ๒ ค. ๓ ง. ๔ คำ ใดมี ๕ พยางค์ ก. พุทธศาสนา ข. พฤหัสบดี ค. ทรัพยากร ง. โทรทัศน์ คำ ที่ประสมด้วยสระเสียงยาว สะกดด้วยแม่กง กน กม เกย เกอว เป็นคำชนิดใด ก. คำ เป็น ข. คำตาย ค. คำ นาม ง. คำสรรพนาม ข้อความนี้มีคำตายกี่คำ “คุณครูคะ วันนี้อากาศดี บน ท้องฟ้ามีนกบินและเมฆสีขาว” ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ก. เสียงที่เปล่งออกมาแล้วมี ความหมาย ข. การนำ พยัญชนะ สระ มา ประสมกัน ค. เสียงที่เปล่งออกมาแล้วไม่มี ความหมาย ง. การนำวรรณยุกต์มาผันให้ ถูกต้อง ก. คำ ที่ต้องประกอบด้วยเสียง พยัญชนะ และสระ ข. คำ ที่เปล่งเสียงออกมาครั้งเดียว ค. คำ ที่เปล่งเสียงออกมาแล้วจะต้อง มีความหมาย ง. เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่งๆ จะ มีความหมายหรือไม่มีความหมายก็ได้ ก. ๔ ข. ๕ ค. ๖ ง. ๗


๑๑๒ ข้อใดเป็นคำ นามเฉพาะ ก. โรงเรียน ข. เสื้อผ้า ค. วันจันทร์ ง. ตลาด ๗. คำ ในข้อใดเป็นคำสรรพนาม ทั้งหมด ก. ฉัน เรา แก นก ข. มัน แมว นั่น เธอ ค. เธอ นั่น ใดๆ ใคร ง. ใคร โรงเรียน ข้าพเจ้า อะไร ๘. ประโยคใดเป็นประโยคที่มีกรรม มารองรับ ก. ฉันวิ่งเร็วมาก ข. มานะหัวเราะ ค. ไชโยเสียใจ ง. มาลีฟังวิทยุ ๙. คำ ที่มีหน้าที่ขยายคำ นาม คำ กริยา คำสรรพนาม เรียกว่าคำ อะไร ก. คำวิเศษณ์ ข. คำอุทาน ค. คำสันธาน ง. คำ บุพบท ๑๐. ข้อใดเป็นคำกริยาไม่มีกรรม ก. ม้ากินหญ้า ข. น้องร้องไห้ ค. แดงอ่านหนังสือ ง. ป้าฟังเพลง ข้อใดมีสรรพนามบุรุษที่ ๓ ก. ฉันและเธอเราเป็นเพื่อนรักกัน ข. เธอจะไปกับฉันหรือเปล่า ค. เขาไม่ใช่เพื่อนเราอีกต่อไป ง. ครูบอกฉันว่าเธอเป็นคนดี ๑๒. ข้อใดมีคำสรรพนามชี้เฉพาะ ก. คนที่พูดมากไม่มีคนชอบฟัง ข. เขาไม่ชอบฟังวิทยุและดูทีวี ค. ใครๆก็รู้ว่าเธอเก่ง ง. นี่กระเป๋าใหม่ของเธอใช่ไหม ๑๓. ๑๑. “เรื่องนี้ห้ามบอกใครเด็ดขาด” คำ ใดเป็นคำสรรพนามไม่ชี้ เฉพาะ ก. นี้ ข. ห้าม ค. เรื่อง ง. ใคร ๑๔.


๑๑๓ ประโยคใดไม่มีคำกริยานุเคราะห์ ประกอบอยู่ ก. หนูนัดชอบกินผัก ข. แม่กำลังกวาดบ้าน ค. เธออย่ากินอาหารที่มีรสจัดนะ ง. แดงเคยไปเที่ยวที่เชียงราย คำวิเศษณ์มักอยู่ในตำแหน่งใด ก. อยู่หลังคำ ที่นำ มาขยาย ข. อยู่หน้าคำ ที่นำ มาขยาย ค. อยู่ระหว่างคำ ที่นำ มาขยาย ง. ถูกทุกข้อ ๑๖. ข้อใดมีกาลวิเศษณ์ ก. มาลีเป็นคนขยัน ข. พ่อพูดเสียงดังมาก ค. ดำ นอนตื่นสาย ง. เดือนเมษายนอากาศร้อน ๑๗. ๑๕. ข้อใดไม่มีคำ บุพบท ก. บ้านของฉันอยู่ใกล้ทะเล ข. พ่ออายุมากกว่าลุง ค. เขาให้ทุนการศึกษาแก่เด็ก ยากจน ง. เขาไปเที่ยวทำ ไม ๑๘. ข้อใดมีคำสันธาน ก. น้องนั่งร้องไห้อยู่ริมหน้าต่าง ข. เธอไม่ควรไปเที่ยวกลางคืน ค. มาลีไปเชียงใหม่ ง. พ่อฉันเป็นตำ รวจแต่พ่อเธอ เป็นหมอ ๑๙. ข้อใดไม่มีคำอุทาน ก. เร็วๆ หน่อยซิเธอ ข. มาเหนื่อยๆกินข้าวกินปลาก่อน ค. โอ้โฮ! บ้านสวยจัง ง. ลูกจ๋ากินข้าวหน่อยจ๊ะ ๒๐.


๑๑๔


บทที่๕ ลักษณะนาม คำ มูล และคำ ประสม ครูดาราบอกนักเรียนให้แสดงสิ่งของที่มีอยู่แล้วพูด เช่น ผมมีปากกา ๑ แท่ง ฉันมีสมุด ๑ เล่ม โอลิเวียพูดว่า : ฉันมียางลบ ๑ ยางลบ ครูดาราบอกโอลิเวียว่า : ฉันมียางลบ ๑ ก้อน, ๑ แท่ง หรือ ๑ อัน ถึงจะถูกต้อง วันนี้ครูจะสอนเรื่องลักษณะนามอีกครั้งเพื่อ ให้นักเรียนเข้าใจยิ่งขึ้น ลักษณะนาม คือ คำ นามชนิดหนึ่ง ที่ทำ หน้าที่ประกอบนามอื่นเพื่อบอกรูปลักษณะ ขนาด หรือปริมาณของนาม มักใช้ตามหลังตัวเลขที่ บอกจำ นวน โอลิเวีย : เรื่องลักษณะนามเป็นเรื่องยาก ฉันพูดผิดตลอด ครูดารา : คนไทยเองก็ใช้ผิดกันบ่อย เพราะคำ บางคำก็ใช้ ลักษณะนามได้หลายอย่าง ๑๑๕ ครูดาราให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ ๙ และให้นักเรียน ทำ ใบงาน ที่ ๑๙.๑ – ๑๙.๒ ครูดาราและนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียน


ครูดาราเขียนคำว่า ดี บนกระดาน ครูดารา : คำว่า ดี เป็นการประสมคำ ที่ประกอบด้วยอะไรบ้าง นักเรียน : พยัญชนะ ตัว ด และ สระ –ี ครูดารา : คำว่า ดี เป็นการประสมคำ ที่ประกอบด้วย พยัญชนะ ด สระ –ี วรรณยุกต์ เสียงสามัญ นักเรียน : แต่คำว่าดีไม่มีรูปวรรณยุกต์ ครูดารา : คำ ทุกคำ มีเสียงของวรรณยุกต์ ต่อไปให้นักเรียนดูคำว่า ป้า เป็นการประสมคำ ที่ประกอบด้วยอะไรบ้าง นักเรียน : พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ (เสียงโท) ๑๑๖ ครูดารา : ครั้งนี้นอกจากเราจะเรียนเรื่อง ลักษณะนามแล้ว เรามาเรียนเรื่อง คำ มูล คำ ประสม และการประสมคำ ครูดาราให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ ๑๐ – ๑๒ และให้ นักเรียนทำ ใบงานที่ ๑๐.๑ – ๑๐.๒ , ๑๑.๑ - ๑๑.๒ และ ๑๒.๑ - ๑๒.๒ ครูดาราและนักเรียนร่วมกันสรุปการเรียน แต่ละเรื่อง จากนั้นนักเรียนทำแบบทดสอบท้ายบท


๑๑๗ ใบความรู้ที่ ๙ ลักษณะนาม ลักษณะนามบอกชนิดของคำ นาม เช่น ปื้น เลื่อย ตัว โต๊ะ เก้าอี้ หมา รูป รูป เลื่อย ภิกษุ เลา ปี่ ขลุ่ย เชือก ช้าง เล่ม สมุด เข็ม เกวียน เรือน นาฬิกา องค์ พระพุทธรูป พระภิกษุ ลักษณะนามออกอาการของนาม เช่น กำ ผัก ฟ่อน ข้าว มวน บุหรี่ ม้วน กระดาษ พับ ผ้า จีบ พลู ลักษณะนามบอกสัณฐานลักษณะของนาม เช่น ก้อน อิฐ หิน ยางลบ สาย ถนน แม่นํ้า แท่ง ดินสอ เหล็ก ผืน ผ้า หลัง บ้าน มุ้ง คัน ช้อน ร่ม เบ็ด ลักษณะนามบอกหมวดหมู่ของนาม เช่น ฝูง คน สัตว์ คณะ คน กอง ทหาร วง ดนตรี


๑๑๘ ลักษณะนามบอกจำ นวนและมาตราของคำ นาม เช่น โหล ไข่ ตัว ช้างสาร คู่ ถุงเท้า บาท เงิน ตัวอย่าง ลักษณะนาม แปรง ไม้เท้า กระบอง ปรอท บันได ดินสอ ปากกา อิฐ หิน กฎหมาย หนังสือพิมพ์ โฉนด จดหมาย ประกาศนียบัตร กระจก หน้าต่าง ประตู กระดาษ ขนมปัง กระเบื้อง เจดีย์ พระราชา พระพุทธรูป พระภิกษุ ถนน ลำคลอง แม่นํ้า ว่าว นํ้าพุ แห อวน สวิง โพงพาง มุ้ง กุฏิ บ้าน เปียโน จักรเย็บผ้า ซุง เสา ต้นไม้ เทียนพรรษา ไม้ไผ่ อ้อย เรือ เครื่องบิน โต๊ะ เก้าอี้ ตะปู ตุ๊กตา สัตว์ เข็มกลัด กรรไกร ตะไบ มีด เข็ม จอบ หนังสือ สมุด มีด เทียนไข ซอ พิณ ธนู ร่ม รถ เบ็ด ช้อน ส้อม ปืน ไฟฉาย ข้าวหลาม พระสงฆ์ สามเณร นักบวช ดาว ดวงตา ดวงใจ แสตมป์ วิญญาณ อัน แท่ง , ด้าม ก้อน ฉบับ บาน แผ่น องค์ สาย ปาก หลัง ต้น ลำ ตัว เล่ม คัน กระบอก รูป ดวง คำ นาม ลักษณะนาม


๑๑๙ ใบความรู้ที่ ๑๐ คำ มูล เป็นคำ ที่มีในภาษามาแต่เดิม จะเป็นคำ ไทยแท้ หรือคำ ที่มาภาษาอื่นก็ได้ คำ มูลมีพยางค์เดียว และหลายพยางค์ คำ มูล ๑. คำ มูลพยางค์เดียว คือ พยางค์เดียวที่มีความหมายชัดเจนในตัวเอง พยางค์ไทย กิน นอน เดิน วิ่ง พยางค์จีน เจี๊ยะ แป๊ะ เกี้ยะ เกี้ยว พยางค์อังกฤษ ฟุต ชอล์ก เมตร ปอนด์ ๒.คำ มูลหลายพยางค์ คือ คำ ที่ออกเสียงตั้งแต่พยางค์เดียวขึ้นไปแต่ถ้า แยกพยางค์ออกมาแล้วจะไม่มีความหมาย หรือมี ความหมายก็จะไม่ไกลเคียงกับคำ ที่ รวมพยางค์อยู่ กระดาษ นาฬิกา เก้าอี้ กะปิ คะแนน นักเรียน


๑๒๐ ใบความรู้ที่ ๑๑ คำ ประสม คำ ประสม คือ การนำคำ มูลตั้งแต่ ๒ คำขึ้นไปมาเรียง ต่อกัน จะทำ ให้เกิดคำ ที่มีความหมาย ใหม่ หรือมีเค้า ความหมายเดิม ๑) คำ ประสมที่มีความหมายใหม่เปลี่ยนไปจากเดิม ๒) คำ ประสมที่มีเค้าความหมายเดิม ๓) คำ ประสมที่คัดจากการย่อคำ ให้กะทัดรัดขึ้น ลูกเสือ ปากมาก ราดหน้า ปากกา แม่นํ้า ผีเสื้อ ม้านํ้า กล้วยไม้ เตาถ่าน ถุงเท้า แว่นตา รถไฟ เตารีด งูเห่า พัดลม ไข่ดาว ปูม้า มักมีคำว่า ชาว การ ความ นัก ผู้ ช่าง ฯลฯ เช่น ชาวนา ชาวไร่ การค้า ความชัด นักเรียน ผู้หญิง ช่างไฟ ช่างภาพ


๑๒๑ คำ ประสม ทำ หน้าที่ดังนี้ หน้าที่ของคำ ประสม คำ นาม แม่นํ้า น ํ้าตก ตู้เย็น ลูกเสือ น ํ้าปลา คำสรรพนาม พระคุณเจ้า ทูลกระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้า คำกริยา กินแรง แก้ไข เต้นรำ ติดใจ ขนส่ง คำวิเศษณ์ ใจร้าย น่าเกลียด ปากร้าย คอแข็ง ปากตลาด คำอุทาน อุ๊ยตาย! แม่เจ้าโว๊ย!


๑๒๒ ใบความรู้ที่ ๑๒ การประสมอักษร การประสมอักษร คือ การนำ พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ มา ประสมกัน ทำ ให้เกิดเป็นพยางค์หรือคำ ๑. การประสมอักษร ๓ ส่วน คือ คำ ที่ประสมด้วย พยัญชนะ + สระ + วรรณยุกต์ ไป ดี ป้า ๒. การประสมอักษร ๔ ส่วน คือ คำ ที่ประสมด้วย พยัญชนะ + สระ + วรรณยุกต์ + ตัวสะกด ข้าว เลย กุ้ง ๓.การประสมอักษร ๔ ส่วน คือ คำ ที่ประสมด้วย พยัญชนะ + สระ + วรรณยุกต์ + ตัวการันต์ เลห์ เคราะห์ เสน่ห์ ๔. การประสมอักษร ๕ ส่วน คือ คำ ที่ประสมด้วย พยัญชนะ + สระ + วรรณยุกต์ + ตัวสะกด + ตัวการันต์ วงศ์ สัตว์ แพทย์ ศิษย์ ศักดิ์ * คำ ที่ประสมด้วยสระ อำ ไอ ใอ เอา และมีตัวการันต์ การเป็นการประสม ๕ ส่วน เช่น เสาร์ พยัญชนะ + สระเอา (ว สะกด) + วรรณยุกต์ + ตัวสะกด (ว) + ตัวการันต์


๑๒๓ ใบงานที่ ๙.๑ ๑) เขียนบอกลักษณะนามให้ถูกต้อง คำ นาม ๑. โต๊ะ ตะปู ว่าว ๒. ปี่ ขลุ่ย ๓. อิฐ หิน ยางลบ ๔. ผี ยักษ์ ฤๅษี ๕. ถุงเท้า รองเท้า ตะเกียบ ๖. ปากกา ดินสอ ๗. จดหมาย หนังสือพิมพ์ ๘. แห อวน เรือ ๙. ไม้ไผ่ อ้อย เรือ ๑๐. รถ เบ็ด ธนู คำลักษณะนาม


๑๒๔ ใบงานที่ ๙.๒ ๑) นำ คำลักษณะนามที่กำ หนดไปเติมให้ถูกต้อง ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ สุดามีแปรงสีฟัน ๒ ___________ มีขนมปังเหลืออยู่ ๓___________ ในจาน กรรไกร______________ นี้คมมาก วัดนี้มีพระ ๑๐ ___________ พ่อซื้อไฟฉายมา ๒ __________ หน้าต่าง ๒__________ นั้นปิดไม่สนิท ที่โรงเรียนมีจักรเย็บผ้า ๘___________ เมืองนครสวรรค์มีแม่น้า ๔ __________ ํ ไหลมารวมกัน บ้านของไชโยมีเสา ๘ ___________ เครื่องบิน___________ นั้นใหญ่มาก เล่ม รูป กระบอก บาน หลัง แผ่น อัน สาย ต้น ลำ


๑๒๕ ใบงานที่ ๑๐.๑ ๑) นำ คำ มูลพยางค์เดียวที่กำ หนดไปใส่ให้ถูกต้อง เมตร เกี๊ยว เดิน แป๊ะ เกี๊ยะ วิ่ง กิน เจี๊ยะ ฟุต ไก่ ปอนด์ ชอล์ก คำ ไทย คำ ภาษาจีน คำ ภาษาอังกฤษ


๑๒๖ ใบงานที่ ๑๐.๒ ๑) ใส่เครื่องหมาย/ในช่องที่บอกจำ นวนพยางค์ของคำ มูล กระทะ แดง มะละกอ โกโรโกโส นักเรียน นาฬิกา สำ มะเลเทเมา กะรุ่งกะริ่ง ไข่ จระเข้ คำ นาม พยางค์เดียว สองพยางค์ สามพยางค์ สี่พยางค์ ห้าพยางค์


๑๒๗ ใบงานที่ ๑๑.๑ ๑) โยงเส้นคำ ให้ถูกต้อง มังคุด ตู้เย็น แจกัน แม่น้าํ วิ่งเต้น กระต่าย เสื้อผ้า ไข่ดาว ชาวนา เก้าอี้ คำ มูล คำ ประสม


๑๒๘ ใบงานที่ ๑๑.๒ ๑) หาคำ ต้นมาประสมให้ถูกต้อง ____สวน ____น ํ้า ____เรียน ____ใจ ____เสื้อ ____ไฟ ____ลม ____ร้อง ____ภาพ ____รีด ____ตา ____น้อย


๑๒๙ ใบงานที่ ๑๒.๑ ๑) จากคำ ที่กำ หนดให้ จงประสมอักษรให้ถูกต้อง ไป พ่อ ลิง ข้าว เล่ห์ สัตว์ น้าํ ก้าง หิว แพทย์ คำ พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ตัวสะกด ตัวการันต์


๑๓๐ ใบงานที่ ๑๒.๒ ๑) หาคำ ๓ คำ ไปใส่ประสมอักษรให้ถูกต้อง การประสมอักษร ๓ ส่วน พยัญชนะ + สระ + วรรณยุกต์ พยัญชนะ + สระ + วรรณยุกต์ + ตัวสะกด พยัญชนะ + สระ + วรรณยุกต์ + ตัวการันต์ พยัญชนะ+ สระ+วรรณยุกต์+ตัวสะกด+ตัวการันต์ การประสมอักษร ๔ ส่วน การประสมอักษร ๔ ส่วนพิเศษ การประสมอักษร ๕ ส่วน


๑๓๑ แบบทดสอบบทที่ ๕ เรื่อง ลักษณะนาม คำ มูล คำ ประสม คำชี้แจง : ให้นักเรียนทำ เครื่องหมาย X ทับข้อที่มีคำตอบที่ถูกต้อง พี่มีขลุ่ย ๓ _____ ข้อใดเป็นลักษณะนามของ นาฬิกา วัดนี้มีพระ ๕ _______ พ่ออ่านหนังสือพิมพ์วันละ ๓____ ก. เล่ม ข. แผ่น ค. ชิ้น ง. ฉบับ ข้อใดใช้ลักษณะนามไม่ถูกต้อง ก. เมื่อวานฉันได้รับจดหมาย ๒ ฉบับ ข. หมู่บ้านโน้นมีถนนตัดกันหลาย ถนน ค. เธอมีเทียนไขกี่เล่ม ง. ในรถฉันมีร่ม ๓ คัน ข้อใดใช้ลักษณะนามผิด ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ก. อัน ข. เลา ค. เล่ม ง. แท่ง ก. อัน ข. นาฬิกา ค. เรือน ง. หลัง ก. องค์ ข. รูป ค. องค์ รูป ง. พระองค์ ก. แม่นํ้า สาย, เจดีย์ องค์ ข. ตะปู ตัว, แห ปาก ค. กระดาษ ชิ้น, เรือ หลัง ง. แสตมป์ ดวง,กระเบื้อง แผ่น


๑๓๒ มีทหารอยู่ ๑ กอง กำลังซ้อม ยิงปืน คำว่า กอง เป็น คำ มูลคืออะไร ข้อใดคือคำ มูล ข้อใดไม่ใช่คำ มูล ก. นักเรียน ข. เก้าอี้ ค. นาฬิกา ง. เสื้อผ้า คำ ประสมคือ ก. คำ ที่นำคำ มูล ๒ คำ มาประสมกัน แล้วมีความหมายใหม่ ข. คำ ที่นำ มาจากภาษาอื่น ค. คำ ที่นำคำจากภาษาอื่นๆมารวม กันแล้วมีความหมายใหม่ ง. คำ ที่นำคำจากภาษาอื่น ๆ มา รวมกันแล้วไม่มีความหมายใหม่ ข้อใดเป็นคำ ประสม ๗. ๘. ๙. ๑๐. ก. ลักษณะนามบอกชนิดคำ นาม ข. ลักษณะนามบอกอาการคำ นาม ค. ลักษณะนามบอกสัญฐาน ลักษณะของนาม ง. ลักษณะนามบอกหมวดหมู่ของ นาม ก. เน้นคำ ไทยแท้มี ๑ พยางค์ ข. เป็นคำ ที่มาจากภาษาไทยหรือ ภาษาอื่น ค. เป็นคำจากภาษาอื่นมี ๒ พยางค์ ขึ้นไป ง. เป็นคำ ที่เกิดจากการประสมคำ ๒ พยางค์ ก. เก้าอี้ ข. แม่น้าํ ค. รถไฟ ง. หมอดู ก. มะนาว ข. กุญแจ ค. กระดาษ ง. ปากกา ๑๑. ๑๒. ข้อใดไม่ใช่คำ ประสม ก. แม่นํ้า ข. ไฟฟ้า ค. คะแนน ง. รูปภาพ ๑๓.


๑๓๓ ข้อใดเป็นคำ ประสมที่มีความ หมายเปลี่ยนไปจากเดิม คำ ประสมข้อใดเป็นคำกริยา การประสมอักษร คือ การประสมอักษรแบ่งเป็นกี่ชนิด ก. ๓ ข. ๔ ค. ๕ ง. ๖ คำว่า ยาว มีส่วนประกอบอะไรบ้าง ก. พยัญชนะ + สระ + วรรณยุกต์ ข. พยัญชนะ + สระ + วรรณยุกต์ + ตัวสะกด ค. พยัญชนะ + สระ + ตัวสะกด ง. พยัญชนะ + สระ ข้อใดเป็นการประสมอักษร ๔ ส่วน ๑๔. ๑๕. ๑๖. ๑๗. ก. ผีเสื้อ กล้วยไม้ ข. ถุงเท้า ราดหน้า ค. แม่นํ้า ปูม้า ง. แว่นตา ราดหน้า ก. ปากร้าย ข. เต้นรำ ค. ตู้เย็น ง. น่าเกลียด ก. การนำ พยัญชนะ สระ และ วรรณยุกต์มาประสมกัน ข. การนำคำ มูลตั้งแต่ ๒ คำขึ้น ไปมาประสมกัน ค. การนำ พยัญชนะ กับสระมา ผสมกันเป็นคำ ง. การนำ พยัญชนะ กับวรรณยุกต์ มาประสมกันเป็นคำ ก. เสน่ห์ ข. กุ้ง ค. วงศ์ ง. เลย ๑๘. ๑๙. ข้อใดเป็นการประสมอักษร ๕ ส่วน ก. แพทย์ เคราะห์ ข. ทุกข์ เล่ห์ ค. ศิษย์ ศักดิ์ ง. เสาร์ ข้าว ๒๐.


๑๓๔ วลี และประโยค


๑๓๕ บทที่๖ วลี และประโยค ครูดาราให้นักเรียนนำ คำ ตั้งแต่สองคำ ขึ้นไปมาเรียงต่อกัน เช่น ปากกาสีแดง ปลาตัวใหญ่ นักเรียน : บ้านหลังเล็ก , อากาศเย็น , รองเท้าสีแดง , หิวข้าว , ขี้เกียจทำการบ้าน , รักการอ่าน ครูดารา : ข้อความต่างๆ ที่นักเรียนพูดมาเราเรียกว่า วลี วลี คือ กลุ่มคำตั้งแต่ ๒ คำขึ้นไปมารวมกัน มีความหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง แต่ใจความยัง ไม่สมบูรณ์ แต่ถ้าเป็นข้อความที่ได้ใจความ สมบูรณ์ รู้ว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน เป็นอย่างไร เราเรียกว่า ประโยค รองเท้าสีแดง เป็น วล ี มาลีชอบใส่รองเท้าสีแดง เป็นประโยค ซึ่ง รูปประโยค จะต้องมีส่วนประกอบที่สำคัญ คือ ประธาน และ กริยา


๑๓๖ ประโยคมีหลายลักษณะ เช่น ประโยคบอกเล่า ประโยคปฏิเสธ ประโยคคำถาม ประโยค คำสั่ง เป็นต้น ครูดาราให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ ๑๓ – ๑๔ และ ให้นักเรียนทำ ใบงานที่ ๑๓.๑ – ๑๓.๒ และ ๑๔.๑ - ๑๔.๖ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่องที่ เรียน จากนั้นนักเรียนทำแบบทดสอบท้ายบท


๑๓๗ ใบความรู้ที่ ๑๓ วลี วลี หมายถึง กลุ่มคำตั้งแต่ ๒ คำ ขึ้นไปมารวมกันมีความหมาย อย่างใด อย่างหนึ่ง แต่ใจความยังไม่สมบูรณ์ รองเท้าสีขาว หูใหญ่ ตาโต บ้านหลังเล็ก อากาศยามเย็น หมวกสีแดง เด็กๆทุกคนในโรงเรียน ในเรือลำ นั้น


๑๓๘ ใบความรู้ที่ ๑๔.๑ ประโยค คือ ข้อความที่ได้ใจความสมบูรณ์ รู้ ว่าใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร ส่วน ประกอบสำคัญ ดังนี้ ประโยค ๑. ภาคประธาน คือ ส่วนสำคัญของผู้กระทำกริยา อาการในประโยค ฉันกินข้าว นักเรียนไปโรงเรียน หมอรักษาคนไข้ ๒. ภาคแสดง คือ ส่วนที่แสดงกริยาของประธาน สุดาว่ายนํ้าในทะเล คุณครูสอนหนังสือ


๑๓๙ ใบความรู้ที่ ๑๔.๒ รูปประโยค ประโยคที่ขึ้นต้นด้วยประธาน ไชยาไปโรงเรียน ประโยคที่ขึ้นต้นด้วยกริยา มีดินสอบนโต๊ะ เกิดพายุในทะเล ประโยคที่ขึ้นต้นด้วยกรรม นักเรียนถูกครูทำ โทษ ที่มาโรงเรียนสาย นํ้าแข็งถูกเก็บไว้ในตู้เย็น


๑๔๐ ใบความรู้ที่ ๑๔.๓ ประโยคแบ่งออกเป็น ๒ ชนิด ประโยคความเดียว ประกอบด้วย ประโยคความเดียว ๒ ส่วน และ ประโยคความเดียว ๓ ส่วน เป็นประโยคที่มีเนื้อหาความเดียว มี ประธานกับกริยาเป็นหลัก ฝนตก รถวิ่งเร็ว พี่นอนหลับ ช้างตัวใหญ่เดินช้า ฝน รถ พี่ ช้าง - - - ตัวใหญ่ ตก วิ่ง นอน เดิน - เร็ว หลับ ช้า ประโยคความ เดียว ๒ ส่วน ประธาน ขยายประธาน กริยา ขยายกริยา ส่วนประกอบ ครูรักนักเรียนมาก แมวตัวอ้วนจับนก ตัวเล็กทุกวัน ประโยคความเดียว ๓ ส่วน ประธาน ขยายประธาน กริยา ขยายกริยา กรรม ขยายกรรม ส่วนประกอบ ครู แมว - ตัวอ้วน รัก จับ มาก ทุกวัน นักเรียน นก - ตัวเล็ก ชนิดของประโยค


๑๔๑ ๒. ประโยคความรวม ประโยคความรวมเป็นประโยคที่นำ ประโยคความเดียวตั้งแต่ ๒ ประโยคขึ้นไปมารวมกันโดยมีคำสันธานเป็นตัวเชื่อม แบ่งออก เป็น ๔ ชนิด คือ ๒.๑ ประโยคความรวมที่มีเนื้อหาคล้อยตามกัน พ่อกับแม่ทำความสะอาดสวนดอกไม้ (พ่อทำความสะอาดสวนดอกไม้ - แม่ทำความสะอาดสวนดอกไม้) ๒.๒ ประโยคความรวมที่มีเนื้อหาขัดแย้งกัน ไชยาชอบฟังเพลง แต่มาริสาชอบดูละคร ๒.๓ ประโยคความรวมที่มีเนื้อหาเป็นเหตุเป็นผล ไชโยขยันเรียนภาษาไทยจึงสอบได้คะแนนดี ไชโยขยันเรียนภาษาไทย ไชโยสอบได้คะแนนดี เหตุ ผล ๒.๔ ประโยคความรวมที่มีเนื้อหาเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอจะไปเชียงใหม่ หรือไปภูเก็ต


๓. ประโยคความซ้อน ประโยคความซ้อนเป็นประโยคที่มีประโยคความเดียว 1 ประโยค เป็นประโยคหลัก และมีประโยคความเดียวอื่น ๆ มา ขยายเป็นประโยคย่อย มักมีคำ เชื่อม เช่น ที่ ซึ่ง อัน เมื่อ จน เพื่อ เพราะ เป็นต้น ๓.๑ ประโยคย่อยที่ทำ หน้าที่แทนนาม ครูชมนักเรียนที่มีความรับผิดชอบ ๓.๒ ประโยคย่อยที่ทำ หน้าที่ เป็นขยายประธานหรือขยายกรรม ลุงจับปลาซึ่งอยู่กลางทุ่งนา ประโยคหลัก ประโยคย่อย ครูชมนักเรียน ที่มีความรับผิดชอบ ประโยคหลัก ประโยคย่อย ลุงจับปลา (ปลา)ซึ่งอยู่กลางทุ่งนา ๓.๓ ประโยคย่อยที่ทำ หน้าที่ เป็นบทขยายกริยา หรือ ขยาย คำวิเศษณ์ เขาเรียนดี เพราะเขาตั้งใจเรียน เขาเรียนดีเพราะเขาตั้งใจเรียน ประโยคหลัก ประโยคย่อย เขาเรียนดี (เขา)ตั้งใจเรียน ๑๔๒


๑๔๓ ประโยคที่มีใจความบอกให้รู้ว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร เช่น พ่อแม่รักลูก ไชยาเป็นคนดี ประโยคที่มีใจความไม่ตอบรับ เช่น นัดไม่ชอบไปโรงเรียน สุดาไม่ได้ทำการบ้าน ประโยคที่มีใจความให้ตอบสงสัย เช่น เธอชอบผลไม้ไหม เธอชื่ออะไร ประโยคปฏิเสธคำถาม ประโยคที่มีใจความเป็นเชิงปฏิเสธ เช่น ทำ ไมเธอไม่ทำการบ้าน ใครไม่ได้กินอาหารกลางวัน ประโยคบอกเล่า ประโยคปฏิเสธ ประโยคคำถาม คำสั่ง อย่าคุยเสียงดัง ต้องการ เด็ก ๆ ต้องการไปทะเล ประโยคคำสั่ง แสดงความต้องการ ขอร้อง กรุณาถอดรองเท้า ชักชวน ไปทะเลกันนะ ประโยคขอร้อง ชักชวน ใบความรู้ที่ ๑๔.๔ ลักษณะของประโยค


๑) ทำ เครื่องหมาย / หน้าข้อความที่เป็นวลี ใบงานที่ ๑๓.๑ ทำ งานทุกวัน สุดาชอบร้องเพลง อากาศเย็น ครูตีนักเรียน บนหลังคาบ้าน หิวข้าว ไม่น่าเลย แมวถูกหมากัด กระโปรงสั้น ช้างตัวใหญ่ ใครจะไปเที่ยวนํ้าตก หวานชื่นใจ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๔๔


Click to View FlipBook Version