๘หนังสือชดุ ฝกึ ทักษะภาษาไทยระดับพืน้ ฐาน
ตามหลักสูตรภาษาไทยพื้นฐานสำ�หรบั คนไทยในตา่ งแดน
เรียบเรยี งโดย สาล่ี ศิลปสธรรม
๘หนงั สือชดุ ฝึกทักษะภาษาไทยระดับพ้ืนฐาน
ตามหลักสตู รภาษาไทยพน้ื ฐานส�ำ หรับคนไทยในตา่ งแดน
เรยี บเรยี งโดย สาล่ี ศิลปสธรรม
คำ�นำ�
การสร้างเสริมความเข้มแข็งให้กับชุมชนไทยในต่างแดนเป็นเรื่องที่มีความสำ�คัญ
มาก โดยเฉพาะการส่งเสริมคุณค่าความเป็นไทยในด้านการเรียนการสอนภาษาไทยให้กับเยาวชน
ไทยที่อยู่ในต่างแดนซึ่งมีอยู่ทั่วโลก
ตั้งแต่ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๓ ทางกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศเกี่ยวกับการใช้
หลักสูตรภาษาไทยพื้นฐานสำ�หรับคนไทยในต่างแดนทำ�ให้เกิดมีหนังสือ ชุดสวัสดี ๑ - ๖ จำ�นวน
๑๘ เล่มขึ้น ซึ่งหนังสือชุดสวัสดี ได้จัดทำ�ขึ้นเพื่อเป็นสื่อที่ใช้ประกอบการเรียนการสอนตามที่
หลักสูตรกำ�หนด ในการจัดพิมพ์หนังสือชุดสวัสดีครั้งแรก ๆ ได้รับการสนับสนุนจากหลาย ๆหน่วย
งาน เช่น สมาคมเพื่อนในบาเซิล สวิตเซอร์แลนด์ สำ�นักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการ
ศึกษาตามอัธยาศัย เป็นต้น ต่อมาทางสมาพันธ์ครูไทยในยุโรปได้ติดต่อของบประมาณในการจัด
พิมพ์จาก บริษัท ไทยเบฟ ทำ�ให้หนังสือชุดสวัสดี มีปริมาณเพียงพอตอ่ การน�ำ ไปใช้ในโรงเรยี นสอน
ภาษาไทยในประเทศตา่ งๆ โดยเฉพาะประเทศในทวีปยุโรป
อย่างที่เคยกล่าวไว้ว่าเมื่อเด็กและเยาวชนไทยในต่างประเทศเรียนจบสวัสดี ๑ - ๖
แล้วความรู้ที่ได้จะอยู่ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ของเมืองไทยเท่านั้น และที่ผ่านมามีนักเรียน
หลายคน เมื่อเรียนจบสวัสดี ๑ - ๖ แล้ว มีผู้ปกครองและครูอาสาสมัครต้องการให้รักเรียนมีความ
รู้ด้านภาษาไทยเพิ่มขึ้น จึงเรียกร้องให้มีการจัดทำ�หนังสือชุดสวัสดีเพิ่มขึ้นอีก หนังสือสวัสดี ๘ จึง
เป็นหนังสือชุดฝึกทักษะภาษาไทยระดับพื้นฐาน เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ด้านภาษาไทยเทียบเท่า
ระดับประถมศึกษา ๑ - ๖ ของเมืองไทย
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือชุดฝึกทักษะภาษาไทยพื้นฐานสวัสดี ๘ เล่มนี้ จะเป็น
ประโยชน์ต่อครูอาสาสมัคร นักเรียน ผู้ปกครอง และผู้สนใจทุกคน ในการที่จะนำ�ไปใช้พัฒนา
ทักษะด้านภาษาไทยให้กับเด็กและเยาวชนไทยในต่างแดนให้มีความรู้ด้านภาษาไทยดีขึ้น
สาลี่ ศลิ ปสธรรม
ค�ำ ช้แี จง
หนังสือชุดฝึกทักษะภาษาไทยระดับพื้นฐาน สวัสดี ๘ เป็นสื่อที่สร้างขึ้นเพื่อพัฒนาเด็ก
และเยาวชนไทยในต่างแดนให้มีความรู้ความสามารถด้านภาษาไทย เทียบเท่าเด็กที่เรียนในระดับชั้น
ประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๖ ในประเทศไทย และเป็นสื่อที่จัดทำ�ในรูปแบบไฟล์อิเล็คทรอนิกส์ (E-Book)
หนังสือชุดฝึกทักษะภาษาไทยระดับพื้นฐาน สวัสดี ๘ เป็นสื่อที่นำ�ไปใช้กับผู้เรียนที่เรียน
ด้วยสื่อการเรียนการสอนชุดสวัสดี ๑ - ๖ จำ�นวน ๑๘ เล่มมาแล้ว
หนังสือชุดฝึกทักษะภาษาไทยระดับพื้นฐาน สวัสดี ๘ รปู แบบการน�ำ เสนอจะมคี วามแตก
ตา่ งกับชุดสวัสดี ๑ - ๖ สำ�หรับเนื้อหาต่าง ๆ ในหนังสือสวัสดี ๘ จะเป็นการสรุปรวบรวมหลักไวยก
รณ์ที่จำ�เป็นในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๖ และนำ�เสนอในรูปแบบของการอ่านเรื่อง การศึกษา
ใบความรู้ การศึกษาใบงาน และการทำ�แบบทดสอบ เพื่อให้ง่ายต่อการจัดการเรียนการสอนไทยสำ�หรับ
เด็กและเยาวชนในต่างแดน เป็นการเรียนทีละน้อย จากง่ายไปหายาก ที่สำ�คัญมากในการจัดการเรียน
การสอนคือ เมื่อนักเรียนศึกษาใบความรู้แล้ว ครูและนักเรียนต้องร่วมกันสรุปบทเรียนจากใบความรู้
ทุกครั้ง เพื่อช่วยให้นักเรียนเข้าใจบทเรียนมากยิ่งขึ้น
ขอยํ้าเตือนอีกครั้งว่าเด็กและเยาวชนที่จะเรียนด้วยสื่อสวัสดี ๘ จะต้องมีความรู้ด้านการ
ฟัง - พูด อ่านและเขียนภาษาไทยตามที่หลักสูตรการเรียนภาษาไทยพื้นฐานสำ�หรับคนไทยในต่างแดน
กำ�หนดและเรียนจบสื่อชุดสวัสดี ๑ - ๖ จำ�นวน ๑๘ เล่มมาแล้ว จึงจะสามารถเรียนด้วยสื่อชุดสวัสดี ๘
ได้ ซึ่งแน่นอน การเรียนของเด็กและเยาวชนไทยต้องเรียนอย่างค่อยเป็นค่อยไป เรียนทีละน้อยๆ และ
เรียนอย่างเข้าใจจึงจะทำ�ให้การเรียนการสอนภาษาไทยสำ�หรับเด็กและเยาวชนไทยในต่างแดนมีความ
รู้ความสามารถด้านภาษาไทยเทียบเท่ากับเด็กที่เรียนภาษาไทยในระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๖ ของ
เมืองไทย
สาลี่ ศลิ ปสธรรม
สารบญั หน้า
เรอ่ื ง ๑
๒๐
๘ อักษรนำ�และวสิ รรชนีย์ ๓๙
๙ คำ�ราชาศัพท์และสำ�นวนไทย
๑๐ เครอื่ งหมายวรรคตอน ๕๕
และพจนานกุ รม ๘๘
๑๑๙
๑๑ บทกลอน วรรณคดี
และวรรณกรรมไทย
๑๒ ทกั ษะเพอ่ื การสอ่ื สาร
เฉลยแบบฝึกหดั ท้ายบท
๑
๘๒ บทท่ี
อกั ษรน�ำ และวสิ รรชนยี ์
ครดู ารานำ�บัตรค�ำ มาใหน้ กั เรยี นอ่าน
ขยะ ตลาด อยา่ หนี อรอ่ ย
สภา สบาย ชนะ จมูก ภมู ใิ จ
นักเรียนบางคนอา่ นได้ บางคนอา่ นไมไ่ ด้ ครดู าราจงึ อา่ น
คำ�แล้วให้นักเรียนอา่ นตาม
ขยะ ขะ – หยะ สภา สะ – ภา
ตลาด ตะ – หลาด สบาย สะ - บาย
อย่า อย่า ชนะ ชะ – นะ
หนี หนี จมูก จะ – หมูก
อรอ่ ย อะ – หร่อย ภูมใิ จ พูม – ใจ
๓
โอลิเวยี : เรื่องนดี้ ยู ากนะคะ
ครูดารา : ครูจะให้นกั เรียนศึกษาใบความรทู้ ่ี ๑๙ – ๒๑
แลว้ ครจู ะอธบิ ายในแต่ละเรอื่ งให้นกั เรยี น
เข้าใจ นกั เรียนคงจ�ำ เรอ่ื ง อ น�ำ และ ห น�ำ
ไดน้ ะคะ นักเรียนเคยเรียนมาแล้ว ใครพอ
สรุปได้บ้างคะ
ไชยา : ผมสรุปเรอ่ื ง อ นำ� ไดค้ รบั
อกั ษร อ น�ำ ย เวลาอา่ นไมต่ อ้ งออกเสยี ง อ ซ่ึงใน
ภาษาไทย มีอยู่ ๔ ค�ำ ครับ คือ
อยา่ อยู่ อยา่ ง อยาก
มาลี : ส่วน คำ�ท่มี ี ห นำ� คอื อักษรต่าํ แบ่งเปน็
อักษรน�ำ คู่ และอกั ษรเด่ยี ว ในภาษาไทยสามารถ
เอา ห มาน�ำ อกั ษรเด่ียว เวลาอ่านไม่ตอ้ งออก
เสียงสระ อะ ให้ออกเสียงตัวตามทมี่ ี ห น�ำ ได้
เลยคะ และออกเสียงพยางค์เดียว เช่น
หมี หรือ ใหญ่ เหนือ หนาม หมอก
ใหม่ หนี หนอน หม่อม ไหว ไหล
๔
ครดู ารา : เกง่ มากคะ่ วันนีค้ รูจะสอนเร่อื ง อกั ษรนำ�และ
เรอื่ ง วสิ รรชนยี ์
ครูดาราแจกใบความรูท้ ่ี ๑๙ – ๒๑ ให้นกั เรียนศกึ ษา
และให้นกั เรยี นท�ำ ใบงานที่ ๑๙.๑ - ๑๙.๒ , ๒๐.๑
– ๒๐.๒ , ๒๑.๑ – ๒๑.๒ ครูและนักเรียนรว่ มกนั สรปุ
บทเรียน จากนน้ั นักเรียนทำ�แบบทดสอบทา้ ยบท
ใบความรูท้ ่ี ๑๙ ๕
อกั ษรนำ�
อกั ษรนำ� คอื คำ�ทม่ี ีพยญั ชนะ ๒ ตัว ประสมดว้ ยสระเดยี วกนั
ออกเสยี ง ได้ ๒ แบบ
แบบท่ี ๑
คือ อา่ นออกเสยี งพยางค์เดียว คือ คำ�ที่มี อ น�ำ ย และคำ�ทม่ี ี
ห นำ� หนา้ อกั ษรต่ําเดีย่ ว
ง ญ ณ น ม ย ร ล วฬ
อ นำ� ย มีอยู่ ๔ ตวั คอื
อยา่ อยู่ อยา่ ง อยาก
ห น�ำ อกั ษรต่ํ�ำ เด่ียว เช่น
หวี หงอน ใหญ่ หนอน หรู หลาน หวาน
แบบที่ ๒
คือ อา่ นออกเสียง ๒ พยางค์
- อกั ษรสงู นำ�อกั ษรตา่ํ เดยี่ ว
- อกั ษรกลางนำ�อักษรตํา่ เด่ยี ว
การออกเสยี งพยางค์แรกจะออกเสียง อะ กงึ่ เสียงพยางค์ที่ ๒
จะออกเสียง แบบมี ห นำ�
๖
ค�ำ อกั ษรสงู นำ�อักษรต่าํ เดีย่ ว
ขยะ ขะ – หยะ สงบ สะ – หงบ
สยอง สะ – หยอง เฉลมิ ฉะ - เหลมิ
สลัด สะ – หลดั สวา่ ง สะ – หว่าง
สนทิ สะ – หนิด ผวา ผะ – หวา
สมอง สะ – หมอง ฉลาด ฉะ– หลาด
คำ�อกั ษรกลางนำ�อักษรต่ําเดี่ยว
จมูก จะ – หมูก ปลัด ปะ– หลดั
อร่อย อะ – หรอ่ ย องนุ่ อะ - หงุ่น
ตลาด ตะ – หลาด ตลอด ตะ – หลอด
ตลก ตะ – หลก ตลงิ่ ตะ – หลงิ่
อร่าม อะ – หร่าม ปรอท ปะ– หรอด
ใบความรูท้ ่ี ๒๐ ๗
วิสรรชนยี ์
วิสรรชนยี ์
คือ รูป สระ -ะ ใช้เขียนไวห้ ลังพยัญชนะ
วิสรรชนยี แ์ บ่งออกได้ ๒ แบบ คือ
แบบที่ ๑
เรยี กวา่ คำ�ท่ปี ระวิสรรชนยี ์ คือ ค�ำ มรี ูปสระ –ะ ประสมอยู่ และ
เวลาอ่านออกเสยี งจะออกเสยี ง อะ เต็มเสยี งวสิ รรชนยี ์ แบบนี้ท่ี
๑ สระ –ะ จะอยู่ที่พยางค์หนา้ และ พยางคท์ า้ ย
ประวสิ รรชนยี พ์ ยางค์หน้า ประวสิ รรชนีย์ท้าย
มะลิ เกะกะ
อะไร เอะอะ
มะระ พาชนะ
ตะปู ลักษณะ
กระทะ ธุระ
ประตู สาธารณะ
๘
แบบที่ ๒
เรยี กวา่ คำ�ท่ไี มป่ ระวสิ รรชนยี ์ หรือคำ�ทเ่ี วลาอ่านออกเสยี ง
จะมเี สยี ง สระ –ะ ก่ึงเสียง วิสรรชนยี ์ แบบท่ี ๒ เสียง –ะ
จะอยทู่ พี่ ยางคห์ น้าและอยรู่ ะหว่างค�ำ
ไมป่ ระวิสรรชนยี ์พยางคห์ นา้ ไม่ประวิสรรชนยี ท์ ้าย
ขนุน ราชการ
สบาย วิทยุ
ฉลาม ตุ๊กตา
ชนะ ตัก๊ แตน
พยาน ศาสนา
ชบา สขุ ภาพ
ใบความร้ทู ี่ ๒๑ ๙
ค�ำ ท่ีมตี วั พยัญชนะและสระไมอ่ อกเสียง
ค�ำ ท่ีมีตวั พยัญชนะและสระไมอ่ อกเสียง คอื คำ�ท่ีมตี วั
พยญั ชนะและสระอย่ใู นคำ� แตเ่ วลาอ่านจะไม่ออกเสียงตวั
พยัญชนะหรอื สระนน้ั ๆ เชน่
๑) ไม่ออกเสียงตัว ร ที่อยหู่ ลังตัวสะกด
ค�ำ ค�ำ อา่ น คำ� คำ�อา่ น
เพชร เพด จกั ร จัก
มติ ร มิด เกษตร กะ – เสด
๒) ไมอ่ อกเสียงตัว ร ทีอ่ ยู่กลางค�ำ
ค�ำ คำ�อา่ น ค�ำ ค�ำ อา่ น
สามารถ สา–มาด เกยี รตบิ ัตร เกยี ด – ติ – บัด
ปรารถนา ปราด–ถะ–หนา ชลมารค ชน - ละ - มาก
๑๐
๓) ไมอ่ อกเสยี ง –ิ หรือ สระ –ุ ท่อี ย่กู บั ตวั สะกดบางคำ�
ค�ำ คำ�อา่ น คำ� คำ�อา่ น
ประวัติ ประ – หวัด ภมู ิใจ พูม – ใจ
ญาติ ยาด สมมติ สม – มดุ
สาเหตุ สา – เหด สัญชาติ สนั - ชาด
ใบงานที่ ๑๙.๑ ๑๑
๑) ทำ�เครื่องหมาย / หน้าคำ�ทเี่ ปน็ อกั ษรน�ำ
๑. อยู่ ๑๑. ราชการ
๒. หนอน ๑๒. หนา้
๓. ศาสนา ๑๓. เสมอ
๔. หลาน ๑๔. ประตู
๕. สมอง ๑๕. อรอ่ ย
๖. สขุ ภาพ ๑๖. ตลก
๗. ขยะ ๑๗. ขนนุ
๘. จมกู ๑๘. ปรอท
๙. พยาน ๑๙. องนุ่
๑๐. ตลาด ๒๐. ฉลาม
๑๒
ใบงานที่ ๑๙.๒
๑) หาคำ�มาเติมไม่น้อยกวา่ ๔ ค�ำ
คำ�ที่มี อ นำ� ย
คำ�ท่ีมี ห น�ำ
คำ�ทม่ี ี อกั ษรสงู น�ำ อกั ษรตํ่าเด่ียว
คำ�ที่มี อกั ษรกลางน�ำ อกั ษรตาํ่ เด่ียว
๑๓
ใบงานที่ ๒๐.๑
๑) โยงค�ำ ให้ถกู ต้อง สบาย
กระโปรง
ค�ำ ทีป่ ระวิสรรชนีย์
ค�ำ ที่ไมป่ ระวิสรรชนยี ์ ขนม
พยาบาล
ธนู
ชะโงก
มะขาม
ชรา
มะลิ
กระทะ
๑๔
ใบงานท่ี ๒๐.๒
๑) จากภาพใหเ้ ขียนค�ำ ท่ีไม่ประวิสรรชนยี ์
ใบงานที่ ๒๑.๑ ๑๕
๑) เขยี นค�ำ อา่ นจากค�ำ ทีก่ �ำ หนด
คำ� ค�ำ อา่ น
สมคั ร
เพชร
สามารถ
ปรารถนา
จกั รเยบ็ ผ้า
เกียรตบิ ัตร
ญาติ
ภมู ใิ จ
ประวตั ิ
เกษตร
แร่ธาตุ
สาเหตุ
๑๖
ใบงานที่ ๒๑.๒
๑) เขยี นเติมคำ�ชนิดละไมน่ อ้ ยกวา่ ๓ คำ�
ค�ำ ทไ่ี ม่ออกเสยี ง ร ทอี่ ยหู่ ลังตวั สะกด
คำ�ทีไ่ ม่ออกเสียง ร ทอ่ี ยกู่ ลางค�ำ
ค�ำ ท่ไี มอ่ อกเสียงสระ –ิ หรอื สระ –ุ ท่ีอยู่กับ
ตวั สะกด
แบบทดสอบบทที่ ๘ ๑๗
เร่ือง อักษรน�ำ และวสิ รรชนยี ์
ค�ำ ชแ้ี จง : ให้นักเรียนท�ำ เครือ่ งหมาย X ทับข้อทีม่ ีค�ำ ตอบทถ่ี ูกตอ้ ง
๑. ค�ำ ใดเขยี นถกู ตอ้ ง ๔. ข้อใดไมใ่ ชอ้ กั ษรนำ�
ก. มีพยญั ชนะตนั ๒ ตวั รวมกนั ก. อย่า
และอย่ใู นสระเดยี วกัน ข. หรูหรา
ค. กลิน่
ข. เวลาอ่านออกเสยี งพยางค์ ง. จมูก
เดยี วหรือ ๒ พยางคเ์ ดยี วกไ็ ด้
๕. ขอ้ ใดอักษรสงู น�ำ อกั ษรเดย่ี ว
ค. มี ห น�ำ และ อ น�ำ ย และ
อักษรสูง และอักษรกลางนำ� ก. จมูก
อักษรตา่ํ เดยี่ ว ข. สนาม
ค. ตลาด
ง. ถูกทุกขอ้ ง. องนุ่
๒. ข้อใดเป็นอักษรนำ� ๖. ข้อใดเปน็ อ น�ำ ย
ก. ขนนุ ก. อย่า
ข. สบาย ข. อยู่
ค. ลกั ษณะ ค. อยาก
ง. ฉลาด ง. ถูกทุกข้อ
๓. ค�ำ คู่ใดเปน็ อกั ษรน�ำ ท้ังหมด
ก. ชนะ ธนาคาร
ข. อยาก หนกั
ค. สวา่ ง ประตู
ง. วทิ ยุ ธนู
๑๘
๗. ขอ้ ใดอกั ษรกลางน�ำ อักษรตํ่าเดี่ยว ๑๑. คำ�ท่ีไม่ประวิสรรชนยี ์คือ
ก. ตลก อรอ่ ย ก. ค�ำ ท่อี อกเสียง ะ ก่งึ เสียง
ข. สงบ ฉลาด พยางค์หนา้
ค. ขยะ ผวา
ง. หวี ฉลอง ข. ค�ำ ทีอ่ อกเสียง ะ กึ่งเสยี ง
ค. คำ�ทอี่ อกเสยี ง ะ เต็มเสีย
๘. อักษรน�ำ ขอ้ ใดอา่ นไม่ถูกตอ้ ง
และ กงึ่ เสยี ง
ก. ตลาด ตะ – หลาด ง. ถกู ทกุ ขอ้
ข. องนุ่ อะ – หงนุ่
ค. สนทิ สะ – หนทิ ๑๒. ขอ้ ใดเขยี นถกู
ง. ปรอท ปะ – รอด
ก. ชะรา
๙. ข้อใดมอี กั ษรน�ำ มากทีส่ ดุ ข. ขะโมย
ก. พอ่ ชอบกินขนมทองหยิบและ ค. ลลาย
ง. สบาย
ทองหยอด
ข. จังหวัดล�ำ ปางอย่ภู าคเหนอื ๑๓. ข้อใดเขยี นผดิ
ค. นกตัวใหญบ่ นิ อ่อนเพราะอยาก ก. สะดวก
กนิ หนอน ข. สะอาด
ง. ปู่ซ้ือขนุนกบั องุ่นท่ตี ลาด ค. ชนะ
ไปหลาน ง. ชะรา
๑๐.ค�ำ ท่ีประวสิ รรชนีย์คือ
๑๔. ค�ำ ท่อี ่านออกเสียง อะ พยางค์
ก. ค�ำ ทอ่ี อกเสยี ง ะ เตม็ เสยี ง
ข. ค�ำ ทอ่ี อกเสยี ง ะ กง่ึ เสยี ง หนา้
ค. ค�ำ ทอ่ี อกเสยี ง ะ เตม็ เสยี ง ก. สบู่
ข. ราชการ
และกง่ึ เสยี ง ค. ต๊กั แตน
ง. ถกู ทกุ ขอ้ ง. วทิ ยุ
๑๙
๑๕. ค�ำ ท่ีอ่านออกเสียง อะ ที่ ๑๘. ข้อใดอา่ นผิด
พยางค์ กลาง ก. เกยี รติ เกีย – ระ – ติ
ก. ธนู ข. สมมติ สม – มุด
ข. พยาน ค. เกษตร กะ – เสด
ค. โทรทศั น์ ง. สมคั ร สะ – หมกั
ง. ขนนุ ๑๙. ขอ้ ใดมีตวั ร ที่ไมอ่ อกเสยี ง
ก. ปริศนา
๑๖. คำ�ใดเขียนถกู ข. ประวตั ิ
ก. อนญุ าต ค. ปรารถนา
ข. สาเหต ง. เคารพ
ค. สงั เกตุ
ง. จกั ระยาน ๒๐. ค�ำ วา่ อุ – บัด – ติ – เหด เขยี น
อย่างไร
๑๗. คำ�ใดเขยี นผดิ ก. อบุ ตั ติเหตุ
ก. เพชร ข. อบุ ัตติเหตุ
ข. สามาถ ค. อุบตั ิเหต
ค. มติ ร ง. อบุ ัติเหตุ
ง. ญาตสิ นทิ
๒๐
๙บทที่ ๒๑
คำ�ราชาศัพท์ และสำ�นวนไทย
วันนค้ี รูดารานำ�ภาพเกี่ยวกบั พระมหากษัตรยิ ์ พระ
สงฆ์ และภาพบคุ คลมาให้นักเรยี นดูและถามนักเรยี น
ครดู ารา : นักเรียนร้จู กั ค�ำ ราชาศัพทไ์ หม เเละคำ�ราชาศัพท์
นำ�ไปใชกบั บุคคลใด
นกั เรียน : พระมหากษัตริย์
ครดู ารา : ค�ำ ราชาศัพท์ หมายถึง ค�ำ สภุ าพไพเราะ ทใ่ี ช้ให้
เหมาะสมกับฐานะของบุคคลในสังคม ซง่ึ ไดแ้ ก่
พระมหากษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์ พระภกิ ษุ
สงฆ์ ขา้ ราชการ และสุภาพชน ดงั นนั้
คำ�ราชาศัพทไ์ มไ่ ดใ้ ชแ้ ต่เฉพาะกับพระมหากษัตริย์
เท่านน้ั
๒๒
ครดู าราให้นกั เรียนศกึ ษาใบความรู้ที่ ๒๒ และทำ�ใบงาน
ที่ ๒๒.๑ – ๒๒.๒
ครูดาราน�ำ ภาพมาใหน้ ักเรียนดู และให้นกั เรยี นบอก
ลักษณะของภาพ
นก ๒ หวั ลูกไก่ในก�ำ มือ กระตา่ ยต่ืนตูม
ปิดทองหลังพระ ปลาใหญก่ ินปลาเลก็ ก้งิ ก่าได้ทอง
นักเรียนส่วนใหญ่ พูดขอ้ ความจากภาพได้
ครดู ารา : นกั เรียนดจู ากภาพแรกนะคะ มีความหมายว่าอยา่ งไรคะ
ไชยา : ผมไม่เคยเห็นนกมี ๒ หวั เลยครับ แตภ่ าพกระตา่ ยตืน่
ตูม ผมรู้ความหมายครับ หมายถึง คนทีแ่ สดงอาการ
ตกใจง่ายโดยไม่สำ�รวจวา่ เปน็ เรื่องจรงิ หรือไม่ ผมเคย
เรยี นเรอ่ื งกระต่ายตนื่ ตูมมาแลว้ ครับ
๒๓
ครดู ารา : ดีมากคะ่ ไชโย จากภาพทคี่ รนู �ำ มาให้นักเรยี นดูใน
วันน้ี เป็นภาพท่ีข้อความมคี วามหมายแฝงอยู่ ใช้ใน
การเปรยี บเทียบสง่ิ ต่าง ๆ เพ่อื เปน็ การส่งั สอนหรอื
เตือนสติให้คดิ นักเรยี นดูภาพใหม่นะคะ
นก ๒ หัว
หมายถึง คนทีท่ ำ�ตวั เข้ากับคนทงั้ ๒ ฝ่ายทเ่ี ปน็
ศัตรูกนั โดยหวงั ประโยชนเ์ ข้าตน
ปดิ ทองหลังพระ
หมายถงึ คนท่ีท�ำ ความดี แต่ไม่ได้รับการยกยอ่ ง
เพราะไมม่ ีใครเห็นคุณค่า
ลูกไกใ่ นกำ�มือ
หมายถงึ เปน็ ผู้ทอี่ ยู่ในอ�ำ นาจที่เหนอื กว่าจะทำ�
ใคร อย่างไรกไ็ ด้
ปลาใหญ่กนิ ปลาเลก็
หมายถึง คนหรอื ผูใ้ หญ่ที่มอี �ำ นาจ กดข่ีขม่ เหงผ้ทู ี่
ออ่ นแอกวา่ หรือผู้นอ้ ย
กิ้งกา่ ไดท้ อง
หมายถงึ คนท่ีไดล้ าภยศแลว้ ทะนงตัว ลืมฐานะ
เดิมของตน
๒๔
ค�ำ ทง้ั หมดเหล่านเ้ี ป็นส�ำ นวน สุภาษิต ค�ำ พังเพย ถ้อยคำ�หรอื
ข้อความเหล่านี้ คนไทยนิยมใช้กนั มานานมาก เป็นพฤตกิ รรม
การใชช้ ีวติ ประจ�ำ วันของผคู้ น จนทำ�ใหเ้ กิดเหตุการณ์ต่าง ๆ ขน้ึ ทั้ง
ดีและรา้ ย ขอ้ ความหรอื ถ้อยคำ�เหลา่ น้มี คี วามหมายลึกซึ้งกวา่ คำ�
ธรรมดา
ครดู าราใหน้ ักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ ๒๓ และทำ�
ใบงานที่ ๒๓.๑ - ๒๓.๒ ครูดาราและนกั เรยี นรว่ มกนั
สรปุ บทเรยี น จากนัน้ นกั เรียนทำ�แบบทดสอบท้ายบท
ใบความรูท้ ่ี ๒๒ ๒๕
คำ�ราชาศพั ท์
ค�ำ ราชาศพั ท์ คือ ค�ำ ท่ีใชก้ บั พระมหากษตั รยิ ์ พระบรมวงศานวุ งศ์
พระสงฆ์ และบคุ คลทัว่ ไป
ค�ำ ราชาศัพท์ส�ำ หรบั บคุ คลทว่ั ไปเรยี กว่า ค�ำ สุภาพ
คำ�ราชาศัพท์ส�ำ หรบั พระมหากษัตริย์
ค�ำ สามัญ ค�ำ ราชาศพั ท์ คำ�สามญั ค�ำ ราชาศพั ท์
กิน เสวย ค�ำ พูด พระราชดำ�รัส
นอน บรรทม คำ�ส่ัง พระราชโองการ
ปาก พระโอษฐ์ ค�ำ สั่งสอน พระราชาโอวาท
หัว พระเกศา แต่งหนังสอื พระราชนิพนธ์
ผ้านุ่ง พระภูษา ไปเที่ยว เสด็จประพาส
รองเทา้ ฉลองพระบาท เล่นดนตรี ทรงดนตรี
แวน่ ตา ฉลองพระเนตร ขมี่ า้ ทรงม้า
* ค�ำ กริยา ส่วนใหญ่ใช้ทรงน�ำ หนา้ ยกเวน้ ค�ำ กริยาท่เี ป็นราชาศพั ท์
อยูห่ นา้ เช่น สรง ประชวร เสด็จ โปรด ประทาน ตรสั
เสวย บรรทม ผนวช ประทบั กร้ิว
๒๖
คำ�ราชาศพั ท์ส�ำ หรับพระสงฆ์
ค�ำ สามัญ คำ�ราชาศพั ท์
รบั ประทาน / กนิ ฉนั
นอน จำ�วดั
อาบนาํ้ สรงน้าํ
เชิญ นิมนต์
ท่ีนงั่ อาสนะ
ปจั จยั เงิน
กฏุ ิ
ที่พกั ในวดั ภตั ตาหาร
อาหาร อาพาธ
ป่วย ปลงผม
โกนผม ไตรจวี ร
เคร่อื งนุ่งห่ม ลิขิต
จดหมาย
๒๗
คำ�ราชาศัพท์ (ค�ำ สุภาพ) ส�ำ หรับสุภาพชน
คำ�สามญั ค�ำ สุภาพ
ววั โค
หมู สุกร
หมา สุนัข
ขนมช้นั ขนมทราย
ผัว สามี
เมยี ภรรยา
คนจน ยาจก
สากกะเบือ ไม้ตพี ริก
ผักตบ ผักสามหาว
ผกั บ้งุ ผักทอดยอด
ผักกระเฉด ผกั รู้นอน
ไสเ้ ดือน รากดนิ
ปลาสลดิ ปลาใบไม้
กล้วยบวชชี นารจี ำ�ศีล
ขนมจีน ขนมเสน้
๒๘ ใบความรู้ท่ี ๒๓
สำ�นวน สภุ าษิต และค�ำ พงั เพย
ส�ำ นวน หมายถงึ ข้อความหรือถ้อยคำ�ทนี่ ิยมใช้กันมากเปน็ เวลา
นานและแพรห่ ลาย มีความหมายไมต่ รงตามตัว หรือมีความหมายอืน่
แฝงอยู่ ใช้เปรยี บเทียบเพื่อใหเ้ ขา้ ใจยิง่ ขน้ึ
ถอ้ ยค�ำ / ข้อความ ความหมาย
คางคกขนึ้ วอ คนทม่ี ฐี านะตา่ํ ตอ้ ย พอไดด้ บิ ไดด้ กี ม็ กั แสดงกริ ยิ าอวดดี
ลมื ตวั
ขม้นิ กับปนู ชอบทะเลาะกนั เมอ่ื อยใู่ กลก้ นั , ไมถ่ กู กนั , เขา้ กนั ไมไ่ ด้
ขิงก็ราข่าก็แรง ตา่ งฝา่ ยตา่ งไมย่ อมกนั , ตา่ งฝา่ ยตา่ งอารมณร์ อ้ นพอๆกนั
เขียนเสือใหว้ วั กลัว ท�ำ อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ เพอ่ื ขม่ ขวญั อกี ฝา่ ย
นํา้ พึ่งเรือ เสอื พึ่งป่า การพง่ึ พาอาศยั กนั
เข็นครกขึ้นภเู ขา การท�ำ งานทย่ี ากล�ำ บาก เกนิ ความสามารถของตน
ขช่ี า้ งจบั ตกั๊ แตน ลงทนุ มากแตไ่ ดผ้ ลนดิ หนอ่ ย
ขวานผ่าซาก พดู จาโผงผางไมเ่ กรงใจใคร
ดาวลอ้ มเดือน มบี รวิ ารแวดลอ้ มมาก
ปากปราศรยั นา้ํ ใจเชอื ดคอ คนพดู ดดี ว้ ยแตใ่ นใจไมบ่ รสิ ทุ ธ์ิ มงุ่ คดิ รา้ ยอาฆาตผอู้ น่ื
ตลอดเวลา
๒๙
สภุ าษติ หมายถึง ถอ้ ยค�ำ หรือข้อความทีม่ ีจดุ มงุ่ หมายเพื่อ
สงั่ สอน มคี ตสิ อนใจ เป็นสัจธรรมนำ�ไปปฏิบตั ิได้
ถอ้ ยคำ� / ขอ้ ความ ความหมาย
ท�ำ ดไี ดด้ ี ท�ำ ชว่ั ไดช้ ว่ั คนเราท�ำ อยา่ งไรกจ็ ะไดอ้ ยา่ งนน้ั
ความไมม่ โี รค เปน็ ลาภอนั ประเสรฐิ การปราศจากโรคภยั ไขเ้ จบ็ เปน็ สง่ิ วเิ ศษทส่ี ดุ
ไกง่ ามเพราะขน คนงามเพราะแตง่ คนจะดดู ไี ดต้ อ้ งเสรมิ แตง่
คนดตี กน�ำ้ํ ไมไ่ หล ตกไฟไมไ่ หม้ ตกอยใู่ นทค่ี บั ขนั อยา่ งไรกไ็ มเ่ ปน็ อนั ตราย
คบคนใหด้ หู นา้ ซอ้ื ผา้ ใหด้ เู นอ้ื จะพจิ ารณาคนหรอื สง่ิ ใดสง่ิ หนง่ึ ใหพ้ จิ ารณา
อยา่ งละเอยี ดรอบคอบ
อยา่ ไวใ้ จทาง อยา่ วางใจคน จะจนใจเอง อยา่ วางใจหรอื ไวว้ างใจใครคนอน่ื งา่ ยเกนิ ไป
จะเปน็ เราทเ่ี ดอื ดรอ้ นในภายหลงั ได้
ไมอ้ อ่ นดดั งา่ ย ไมแ้ กด่ ดั ยาก อบรมสง่ั สอนเดก็ ใหป้ ระพฤตดิ ไี ดง้ า่ ยกวา่
อบรมสง่ั สอนผใู้ หญ่
เรยี นผกู ตอ้ งเรยี นแก้ รวู้ ธิ ที าํ กต็ อ้ งรวู้ ธิ แี กไ้ ข รกู้ ลอบุ ายทกุ ทางทง้ั
ทางกอ่ และทางแก้
นา้ํ ขนุ่ ไวใ้ น นา้ํ ใสไวน้ อก แมจ้ ะไมพ่ อใจกย็ งั แสดงสหี นา้ ยม้ิ แยม้
ชงิ สกุ กอ่ นหา่ ม ท�ำ สง่ิ ทย่ี งั ไมส่ มควรแกว่ ยั หรอื ยงั ไมถ่ งึ เวลา
(มกั หมายถงึ การลกั ลอบไดเ้ สยี กนั กอ่ น
แตง่ งาน)
๓๐
คำ�พงั เพย หมายถงึ ถ้อยค�ำ หรือข้อความท่ีเปรยี บเทียบเหตุการณ์
หรอื เรื่องราวมคี วามหมายให้คตเิ ตอื นใจ จะมกี ารเสยี ดสีหรือติชม ไม่
เน้น การสั่งสอน
ถอ้ ยคำ� / ขอ้ ความ ความหมาย
ปากปราศรยั นา้ํ ใจเชอื ดคอ คนพดู ดดี ว้ ยแตใ่ นใจไมบ่ รสิ ทุ ธ์ิ มงุ่ คดิ รา้ ยอาฆาตผอู้ น่ื
ตลอดเวลา
นา้ํ กลง้ิ บนใบบอน คนทม่ี จี ติ ใจกลบั กลอก ปลน้ิ ปลอ้ น พดู แกต้ วั ไปเรอ่ื ย
อยา่ เหน็ ขด้ี กี วา่ ไส้ เหน็ บคุ คลนอก ดกี วา่ คนในครอบครวั ของตนเอง
ออ้ ยเขา้ ปากชา้ ง สง่ิ หรอื ประโยชนท์ ต่ี กอยใู่ นมอื แลว้ ไมย่ อมคนื
ใกลเ้ กลอื กนิ ดา่ ง ทอ่ี ยใู่ กลส้ ง่ิ ทด่ี มี คี ณุ คา่ แตม่ องไมเ่ หน็ คณุ คา่ นน้ั กลบั ไป
หลงชน่ื ชมกบั สง่ิ ทไ่ี รค้ า่ ดอ้ ยราคา
นา้ํ ลดตอผดุ ในเวลาทค่ี นหมดอ�ำ นาจ ถา้ ท�ำ ความชว่ั ไว้ ความชว่ั นน้ั ก็
จะปรากฏขน้ึ มา
ปลาหมอตายเพราะปาก คนทพ่ี ดู พลอ่ ยจนไดร้ บั อนั ตราย หรอื คนทพ่ี ดู จาไมร่ ะวงั
จนน�ำ อนั ตรายหรอื ความล�ำ บากมาสตู่ นเอง
จบั ปลาสองมอื คนทม่ี งุ่ หวงั อยากจะไดท้ เี ดยี วพรอ้ ม ๆ กนั สองอยา่ ง
โดยไมค่ �ำ นงึ วา่ ตนเองมคี วามสามารถทจ่ี ะท�ำ ไดห้ รอื ไม่
ขงิ กร็ า ขา่ กแ็ รง ตา่ งฝา่ ยตา่ งไมย่ อมกนั , ตา่ งฝา่ ยตา่ งอารมณร์ อ้ นพอ ๆ
กนั
ต�ำ นา้ํ พรกิ ละลายแมน่ า้ํ การกระท�ำ ทม่ี กี ารลงทนุ ลงแรงไปจ�ำ นวนมากแตผ่ ลลพั ธ์
ทไ่ี ดก้ ลบั มามผี ลเลก็ นอ้ ยมากหรอื แทบไมม่ ปี ระโยชนใ์ ดๆ
ใบงานท่ี ๒๒.๑ ๓๑
๑) โยงเส้นคำ�ราชาศพั ท์
และพพรระะมบหรามกวษงศตั ารนยิ วุ์ งศ์ ฉลองพระบาท
พระสงฆ์ นมิ นต์
สุภาพชน
รบั ประทาน
ปลาใบไม้
ทรงมา้
ฉนั
ขนมทราย
เสวย
กระบอื
ประเคน
ปลงผม
พระราโชวาท
๓๒ ใบงานท่ี ๒๒.๒
๑) จากคำ�ทีก่ �ำ หนดเขียนคำ�ราชาศัพทใ์ หถ้ กู ต้อง
พระมหากษตั รยิ ์ และพระบรมวงศานวุ งศ์ พระสงฆ์
คำ� ค�ำ ราชาศัพท์ คำ�ราชาศพั ท์
ไป
มองดู
นอน
ป่วย
หวั
คำ�
กิน
อาหาร
ที่นงั่
ปว่ ย
ตาย
สภุ าพชน ๓๓
ค�ำ ค�ำ สภุ าพ
เมีย
หมา
สาก
กะเบือ
กลว้ ย
๓๔ ใบงานที่ ๒๓.๑
๑) จบั คู่ ส�ำ นวน สภุ าษติ และคำ�พังเพยกบั
ความหมาย โดยนำ�พยัญชนะมาใสห่ นา้ ขอ้
ส�ำ นวน สุภาษติ ค�ำ พงั เพย ความหมาย
๑. ท�ำ ดไี ดด้ ี ท�ำ ชว่ั ไดช้ ว่ั ก. ท�ำ งานสองอยา่ งพรอ้ มกนั
๒. จบั ปลาสองมอื ข. คนฐานะต�ำ่ ตอ้ ยไดด้ ลี มื ตวั
๓. ออ้ ยเขา้ ปากชา้ ง ค. สอนเดก็ งา่ ยกวา่ สอนผใู้ หญ่
๔.เขน็ ครกขน้ึ ภเู ขา ง. ลงทนุ มากแตไ่ ดผ้ ลนอ้ ย
๕.เงยี บเปน็ เปา่ สาก จ. ท�ำ งานยากทเ่ี กนิ ความสามารถ
๖.คางคกขน้ึ วอ ฉ. ท�ำ อยา่ งไรไดผ้ ลอยา่ งนน้ั
๗.ขช่ี า้ งจบั ตก๊ั แตน ช. พดู ดแี ตใ่ จคดิ รา้ ย
๘.ขวานผา่ ซาก ซ. เงยี บมากไมม่ เี สยี งอะไร
๙.ไมอ้ อ่ นดดั งา่ ย ไมแ้ กด่ ดั ยาก ฌ. สง่ิ ทม่ี ปี ระโยชนต์ กอยใู่ นมอื ไมย่ อมคนื
๑๐.ปากปราศรยั นา้ํ ใจเชอื ดคอ ญ. พดู โผงผาง ไมเ่ กรงใจใครๆ
ใบงานท่ี ๒๓.๒ ๓๕
๑) เติมคำ� ส�ำ นวน สุภาษติ และค�ำ พงั เพยที่กำ�หนด
๑ นา้ํ กลง้ิ บน ___________
๒ อยา่ เหน็ ข้ี ____________
๓ นา้ํ ลด ____________
๔ ขงิ กร็ า __________
๕ เขยี นเสอื ให้ __________
๖ นา้ํ พง่ึ เรอื _____________
๗ ไกง่ ามเพราะขน _____________
๘ คบคนใหด้ หู นา้ _____________
๙ นา้ํ ขนุ่ ไวใ้ น _____________
๑๐ ใกลเ้ กลอื ____________
๓๖ แบบทดสอบบทท่ี ๙
เรื่อง คำ�ราชาศพั ท์ ส�ำ นวนไทย
คำ�ช้ีแจง : ให้นักเรยี นท�ำ เครอ่ื งหมาย X ทบั ข้อท่มี ีคำ�ตอบทถี่ ูกตอ้ ง
๑. ค�ำ ราชาศัพท์ คือ ๔. ข้อใดใชค้ �ำ ราชาศพั ท์วา่ “ ผกั บงุ้ ”
ก. คำ�ท่ีใชก้ บั พระมหากษัตรยิ ์ ได้ถกู ต้อง
ข. ค�ำ ท่ีใช้กบั พระสงฆ์ ก. ผกั สามหาว
ค. ค�ำ ที่ใชก้ ับขา้ ราชการผู้ใหญ ข. ผักทอดยอด
ค. ผกั รนู้ อน
และสุภาพชน ง. ผกั บุ้งจีน
ง. ถูกทกุ ข้อ
๒. ขอ้ ใดใช้ค�ำ ราชาศัพทไ์ มถ่ ูกต้อง ๕. “ คำ�สงั่ ” ค�ำ ราชาศัพท์ คอื
ก. ทรงเรอื ใบ ก. พระราชด�ำ รัส
ข. ทรงบรรทม ข. พระราชาโอวาท
ค. ทรงโปรด ค. พระราชนิพนธ์
ง. ทรงตรสั ง. พระบรมราชโองการ
๓. ข้อใดใชค้ �ำ ราชาศัพทไ์ มถ่ ูกตอ้ ง ๖. “ พระภษู า ” คอื
ก. ผ้านุ่ง
ก. บรรทม ข. รองเทา้
ข. เสดจ็ ค. หมวก
ค. ทรงดนตรี ง. แหวน
ง. ทรงเสวย
๓๗
๗. คำ�วา่ “กิน” ส�ำ หรบั พระสงฆ์ ๑๑. ขอ้ ใดเป็นคำ�สุภาษิต
ก. ฉนั ก. ขวานผ่าซาก
ข. จ�ำ วัด ข. ขมิ้นกบั ปูน
ค. ภัตตาหาร ค. กง้ิ ก่าได้ทอง
ง. เสวย ง. ท�ำ ดไี ดด้ ี ทำ�ช่ัวได้ชว่ั
๘. ค�ำ ว่า “อาพาธ” ส�ำ หรบั พระสงฆ์ ๑๒. “ หลอกลวงให้เข้าใจผดิ ” ตรง
ก. นอน กับส�ำ นวนใด
ข. เชญิ ก. ตบตา
ค. อาบนา้ํ ข. มอื ถือสาก ปากถือศีล
ง. ปว่ ย ค. ขม้ินกบั ปนู
ง. ดาวลอ้ มเดอื น
๙. คำ�ว่า “สกุ ร” สำ�หรบั สภุ าพชน ๑๓. “ถงึ แม้จะไมพ่ อใจ แต่ก็ต้องยม้ิ
ก. ววั แย้ม” ตรงกับสุภาษิตใด
ข. หมู ก. รไู้ วใ้ ช่วา่ ใส่บ่าแบกหาม
ค. หมา ข. ชงิ สุกก่อนห่าม
ง. ควาย ค. ไมอ้ อ่ นดดั งา่ ย ไมแ้ กด่ ัดยาก
ง. น้าํ ขุน่ ไวใ้ น นาํ้ ใสไวน้ อก
๑๐.“ ปลาสลดิ ” ใช้กับสภุ าพชน
๑๔. “ลงทนุ มากแตไ่ ด้ผลน้อย” ตรง
ก. ปลามัจฉะ
ข. ปลาหาง กบั คำ�พังเพย
ค. ปลาใบไม้ ก. หนกั ไม่เอา เบาไม่สู้
ง. ปลายาง ข. ข่ชี ้างจับตั๊กแตน
ค. น้าํ พง่ึ เรือ เสอื พึง่ ปา่
ง. จบั ปลาสองมอื
๓๘
๑๕. “กิ้งก่าได้ทอง” หมายถึง ๑๘. “ตา่ งคนตา่ งกไ็ มย่ อมกัน” ตรงกบั
ก. เย่อหยง่ิ เพราะรวยข้ึน ส�ำ นวนใด
ข. ไมม่ ีความอดทน ก. นกสองหวั
ค. คนท่ที �ำ ตัวแตกตา่ งจากคนอ่นื ข. คางคกขึ้นวอ
ง. คนทีห่ าเร่ืองเดือดรอ้ นใส่ตัว ค. ขงิ ก็รา ขา่ ก็แรง
ง. ขวานผ่าซาก
๑๖. ส�ำ นวนใดมุ่งสอนผู้หญงิ โดย ๑๙. “คนทท่ี ำ�ดี แตไ่ มไ่ ด้รบั การยกย่อง”
เฉพาะ
ตรงกบั ส�ำ นวนใด
ก. ลกู ไกใ่ นก�ำ มอื ก. ขายผา้ เอาหน้ารอด
ข. กาคาบพรกิ ข. ลกู ไก่ในก�ำ มอื
ค. นา้ํ กลง้ิ บนใบบอน ค. ปลาใหญก่ ินปลาเล็ก
ง. ชงิ สกุ กอ่ นหา่ ม ง. ปดิ ทองหลังพระ
๑๗. สำ�นวนใดมคี วามหมาย ๒๐. เติมค�ำ สุภาษติ “ความไม่มีโรค
เปรียบเทียบ ________”
ก. เงยี บเปน็ เปา่ สาก ก. เป็นคนมีสขุ ภาพดี
ข. เรยี นผกู ตอ้ งเรยี นแก้ ข. เป็นเครอื่ งหมายของคนสขุ ดี
ค. คบคนใหด้ หู นา้ ซอ้ื ผา้ ใหด้ ู ค. ถือวา่ เป็นความโชคดี
เนอ้ื ง. เปน็ ลาภอันประเสรฐิ
ง. คนดตี กนา้ํ ไมไ่ หล ตกไฟไม่
ไหม้
๓๙
๔๐
๑๐บทที่
เครื่องหมายวรรคตอน และพจนานกุ รม
ครดู าราน�ำ แผ่นภาพสญั ลกั ษณต์ ดิ บนกระดานแล้วถาม
นักเรียนวา่ เครื่องหมายของแตล่ ะภาพมชี ื่อภาษาไทยวา่
อย่างไร
๑ ! ๒ ? ๓( )
๔ ฯ ๕ . ๖ “”
นกั เรยี น : ๔ ไปยาลนอ้ ย
๕ จดุ
๑ เครอ่ื งหมาย ตกใจ ๖ เครอ่ื งหมาย ค�ำ พดู
๒ เครอ่ื งหมายค�ำ ถาม
๓ วงเลบ็
ครูดารา : ๔๑
เครอื่ งหมายทัง้ หมดทน่ี กั เรยี นเห็นเรยี กว่าเครอ่ื งหมาย
วรรคตอนวันน้คี รูจะสอนเร่อื งเครอ่ื งหมายวรรคตอน
วา่ มชี ่ือและน�ำ ไปใชอ้ ย่างไร ตวั อยา่ ง
ภาพท่ี ๑ เรียกวา่ อศั เจรยี ์
ภาพท่ี ๒ เรียกวา่ ปรศั นี
ภาพที่ ๓ เรียกวา่ นขลิขติ
นักเรยี น : โอโ้ ฮ ! ไม่ร้จู ักชอ่ื ภาษาไทยเลย
ครดู ารา : วันนี้นกั เรียนจะได้เรยี นเรื่อง เครื่องหมายวรรคตอน
ค๒ร๔ดู า.๑รา–ให๒น้ ๔ัก.๓เรียแนลศ้วึกคษราดู ใาบรคาวแาลมะรน้ทู ัก่ี เ๒ร๔ยี นแรลว่ ะมทก�ำ นั ใสบรงปุานกาทรี่ ใช้
เคร่อื งหมายวรรคตอน
จากนนั้ ครดู าราน�ำ คำ�มาตดิ บนกระดานใหน้ กั เรียนอา่ นคำ�
นก น้ําตาล กาล หวาน หวิ
แลว้ ครดู าราแบ่งนักเรยี นเป็น ๔ กลุม่ ให้ แตล่ ะกลุ่มชว่ ยกนั เรียงคำ�ทั้ง
๔ คำ� ตามพจนานกุ รม กลมุ่ ไหนเรยี งได้เรว็ และถูกต้องเปน็ ฝา่ ยชนะ
ครูใหน้ ักเรยี นศึกษาใบความรทู้ ี่ ๒๕ และท�ำ ใบงานที่ ๒๕.๑ –
๒๕.๒ ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันสรปุ เร่ืองการใช้พจนานุกรม จากนนั้
นักเรยี นท�ำ แบบทดสอบท้ายบท
๔๒
ใบความร้ทู ี่ ๒๔
เครอ่ื งหมายวรรคตอน
เครอื่ งหมายวรรคตอน เป็นเครอื่ งหมายที่ใช้เขยี นประกอบตวั
อักษรตวั เลข คำ� ประโยค หรือข้อความเพ่อื ใหม้ คี วามเขา้ ใจ
ชดั เจนและอา่ นไดถ้ ูกต้อง
, จลุ ภาค ๑) ใช้คนั่ ตวั เลข ๓,๐๐๐,๐๐๐
หรอื จดุ ลกู นา้ํ ๒) ใช้เขยี นแยกค�ำ
วันจนั ทร์ , วนั องั คาร , วันพธุ
: ทวภิ าค ๑) ใชแ้ สดงมาตราส่วนในแผนท่ี
หรอื จดุ คู่ ๑ : ๒๐๐๐๐๐
๒) ใช้แสดงอตั ราส่วน
๑:๓
/ ทบั ๑) ใช้ขดี ค่นั บา้ นเลขที่ ๑๕/๑๐
๒) ใชข้ ดี คน่ั วัน เดือน ปี ๑๕/๑๐/๑๙
( ) นขลขิ ติ ๔๓
หรอื วงเลบ็
๑) ใช้กับขอ้ ความทตี่ ้องอธิบายของข้อความ
หนา้ อักษรกลาง ( ก จ ด ต บ ป อ ฎ ฏ )
๒) ใชก้ ับตัวเลขข้อย่อย
(๑)
(๒)
? ปรศั นี
หรอื เครอ่ื งหมาย ใชเ้ มอ่ื สิ้นสุดประโยคคำ�ถาม
ค�ำ ถาม
! อศั เจรยี ์ ใชเ้ ขยี นไว้ข้างหลังคำ�หรือกลุ่มคำ�ทแ่ี สดง
หรอื เครอ่ื งหมาย อารมณแ์ ละความร้สู กึ ตา่ ง
ตกใจ โอ้ย! เจบ็ จัง
โถ่! นา่ สงสารจงั
ฯ ใช้ละบางสว่ นของค�ำ ที่รู้จกั กนั ดี
ไปยาลนอ้ ย กรุงเทพฯ อ่านวา่ กรุงเทพมหานคร
ฯลฯ ใชล้ ะคำ�ท่ีมีอีกมาก เครือ่ งใช้ไฟฟา้ เชน่
ไปยาลใหญ่ ตู้เย็น ทีวี พดั ลม ฯลฯ
๔๔
“” ๑) ใชเ้ พ่ือกำ�กับข้อความที่เป็นคำ�สนทนา ค�ำ ท่ยี ก
อญั ประกาศ มาจากท่ีอ่นื
“ฉนั ช่ือมาลีค่ะ” มาลตี อบ
. มหพั ภาค ๑) ใชเ้ ขยี นได้หลงั ตัวอักษรเพอื่ แสดงใหร้ ู้ว่าเปน็ ตัว
หรอื จดุ อกั ษรยอ่ ช่วยเขยี นใหส้ นั้ ลง
ธ.ค. ย่อมาจาก ธนั วาคม
พ.ศ. ย่อมาจาก พทุ ธศักราช
ค.ร.ม ย่อมาจาก คณะรัฐมนตรี
๒) ๑.๑ อา่ นวา่ หน่ึงจุดหน่ึง
๓) ใช้ค่นั ชว่ั โมงนาที ๑๐.๕๐
ๆ ไมย้ มก ๑) ใช้ซํา้ ค�ำ
เดก็ ๆ อา่ นวา่ เด็กเด็ก
๒) ใชซ้ ้าํ ขอ้ ความ
มาลตี นื่ เชา้ ทุกวัน อ่านว่า ทกุ วัน ทกุ วนั
๓) ใช้ซา้ํ ประโยค
แดงตะโกนว่า “แม่ซื้อรถใหม่แลว้ ๆ ”
อา่ นวา่ แม่ซ้อื รถใหมแ่ ลว้ แมซ่ ้อื รถใหมแ่ ล้ว
๔) ไม่ใชไ้ มย้ มกในคำ�ประพนั ธ์